แผ่นพับหมอประเวศ

Page 1

โดยใชการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติในสถานการณจริงเปน เครือ่ งมือ การเรียนรูร ว มกันในการปฏิบตั ใิ นสถานการณจริง เปนการเรียนรู ที่สําคัญที่สุด เพราะทําใหเกิดพลังของความสําเร็จ สามารถฝาความยาก ทุกชนิด สรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ จิตใจที่ดีงาม สังคมที่เอื้ออาทรตอกัน อนุรักษสิ่งแวดลอม และจัดการการใชทรัพยากรอยางเปนธรรมและยั่งยืน สรางตําบลสุขภาวะ เปนตน พรอมกับเกิดความเสมอภาค ภราดรภาพ และ ความปติสุขรวมกัน การเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติในสถานการณจริง จึงสรางชุมชน ทองถิน่ ใหเปนสังคมอุดมปญญา สังคมอุดมสุข ตําบลทัง้ ตําบลเปนทีอ่ ยูข อง ปญญาอันยิ่งใหญหรือมหาวิชชาลัย ผูน าํ ชุมชนทองถิน่ สามารถทําใหทกุ ตําบลเปนมหาวิชชาลัยตําบล และทุกตําบลรวมกันทําใหประเทศไทยเปนมหาวิชชาลัยประเทศไทย

โรงเรียน องคกรพัฒนา เอกชน

กล า วคื อ โรงเรี ย น และองค ก รต า งๆ สามารถมาเรี ย นรู  ไ ด จ าก มหาวิชชาลัยตําบล ขณะเดียวกันองคกรตางๆ เหลานั้นก็มีความรูและ ประสบการณบางอยาง ทีเ่ ปนประโยชนตอ มหาวิชชาลัยตําบล เชนนีจ้ ะเกิด เครือขายของการเรียนรูร วมกันในการปฏิบัติเต็มประเทศ โดยมีฐานอยูที่ ชุมชนทองถิ่นอันเปนความจริง สถานการณจริง และปฏิบัติการจริงของ ประเทศไทย นี้คือการปฏิรูปการศึกษาที่แทจริง คนทั้งหมดจะมีโอกาสสัมผัสแผนดิน สายนํ้า ตนไม ตนขาว ฝูงปลา ฝูงนก อันเปนตนธารชีวิตของมนุษยชาติ และสรรพสัตว มีสวนรวม ในการผลิตและกระบวนการชุมชน อันเปนไปเพือ่ การอยูร ว มกันอยางสมดุล ระหวางคนกับคน และคนกับธรรมชาติแวดลอม และชวยกันถักทอ สรางเสริมใหดียิ่งๆ ขึ้น โดยรักษาฐานแหงดุลยภาพไว เปนชีวิตที่เจริญ และการอยูรวมกันดวยความสุข สําหรับทุกคน

หนวยงานของรัฐ

มหาวิชชาลัย ตําบล

งานยุติธรรม

องคกรสนับสนุน การพัฒนา เชน พอช. สสส. ฯลฯ

วิทยาลัย มหาวิทยาลัย

วัด

สังคมขางบนเต็มไปดวยเรือ่ งอํานาจและมายาคติตา งๆ ระบบการศึกษา ก็เปนมายาคติอยางหนึ่ง ผูนําชุมชนทองถิ่นตองมีศรัทธาและความมั่นใจ ในความเปนระบบปญญาของชุมชนทองถิน่ และเห็นคุณคาของการเรียนรู รวมกันในการปฏิบัติในสถานการณจริง ซึ่งสามารถสรางสังคมสันติสุขใน ระดับตําบลได ดังที่ตําบลดอนแกว อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม ไดเรียก ระบบการศึกษาของตนวา “มหาวิชชาลัยดอนแกว-สรางสุข” “ปญญาบัตร” ทีม่ หาวิชชาลัยตําบลมอบใหมคี ณ ุ คาทีแ่ ทจริงมากกวาประกาศนียบัตร หรือ ปริญญาบัตรที่ไดจากการศึกษาประเภททองวิชา แตทําอะไรไมเปน การเรียนรูร ว มกันในการปฏิบตั ใิ นสถานการณจริง หรือมหาวิชชาลัย ตําบล จะตองเปนตัวตั้งแลวเชื่อมโยงโรงเรียนและสถาบันการเรียนรูอื่นๆ เขามาอยางเกื้อกูลกัน ทั้ง ๘ ทิศ ดังในรูป

สถานประกอบการ

๔. คิดถึงพระเจาอยูหัว รวมสรางพลังแผนดินหรือภูมิพละ

บัดนี้ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชสวรรคตแลว และคนไทย ทั้งชาติกําลังคิดถึงคุณงามความดีของพระองคทานที่มีตอประชาชนและ ประเทศไทย เราตองแปรความคิดถึงพระเจาอยูหัวมาสรางพลังแผนดิน หรือภูมิพละ ซึ่งอาจทําไดดังนี้ (๑) แตละปจเจกบุคคลเกิดสํานึกในศักดิ์ศรีและศักยภาพแหง ความเปนมนุษยของตนเอง และลงมือทําอะไรดีๆ ถาคนไทยทุกคนเกิด จิตสํานึกใหมและลงมือทําอะไรดีๆ ตามความถนัดของตนเอง จะเกิดเปน พลังแผนดินอันมหาศาล

(๒) รวมตัวรวมคิดรวมทําเปนกลุมสรางสรรค คนที่ถูกจริตหรือมี วัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่งรวมกัน มารวมตัวรวมคิดรวมทําเปนกลุม สรางสรรคในเรื่องตางๆ อยางหลากหลายใหเต็มประเทศ ชุมชนทองถิ่น เขมแข็งและมหาวิชชาลัยตําบลก็อยูใ นขอนี้ จะเกิดพลังแผนดินหรือภูมพิ ละ อันมหาศาล (๓) เชื่อมโยงกันเปนเครือขายสรางสรรค ปจเจกบุคคลสรางสรรค และกลุม สรางสรรคเชือ่ มโยงกันเปนเครือขาย ทําใหสงั คมเปลีย่ นโครงสราง เปนสังคมเครือขายคลายสมอง ซึง่ มีศกั ยภาพในการเรียนรูส งู สุด สังคมเครือขาย จะเปนสังคมอุดมปญญา สังคมอุดมสุข อันเปนสิ่งสูงสุดของมนุษยชาติ ฉันรักพระเจาอยูหัว ฉันจะรวมสรางมหาวิชชาลัยตําบลใหเปน ศูนยกลางของระบบการเรียนรูใหม ที่พาคนไทยไปสูสิ่งสูงสุด คือสังคม อุดมปญญา สังคมอุดมสุข

ฉันจะรวมสรางมหาวิชชาลัยตําบล ใหเปนศูนยกลางของระบบการศึกษาใหม ประเวศ วะสี ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงใชคําวา “มหาวิชชาลัย” ในพระราชนิพนธเรื่องพระมหาชนก ผูนําชุมชนทองถิ่นรวมสรางมหาวิชชาลัยตําบลใหครบทุกตําบลทั่วประเทศ


๑. การศึกษาแบบตาบอดคลําชาง

การศึกษาไทยทีท่ าํ มา ๑๐๐ กวาป ทําใหประเทศไทยออนแอทุกทาง เพราะเนนการทองวิชา ไมไดเรียนรูจากการลงมือทํา ทําใหทําอะไรไมเปน และไมรูความจริงของประเทศไทยที่ประกอบดวยชุมชนทองถิ่นตางๆ การไมรคู วามจริงทําใหทาํ อะไรไมถกู เพราะฉะนัน้ คนทีจ่ บการศึกษาอยางนี้ เมื่ อ ไปรั บ ราชการจึ ง ไม มี ค วามสามารถในการแก ป  ญ หาของประเทศ การทองวิชาเปนวิชาๆ ทําใหจดั การไมเปน คนไทยจึงเกือบจะขาดภูมปิ ญ  ญา ในการจัดการโดยสิ้นเชิง ทําใหทําอะไรไมสําเร็จ เพราะการจะทําอะไร ใหสาํ เร็จตองการการจัดการ การจัดการคือการเชือ่ มโยงองคประกอบตางๆ ใหครบจนเปนผล การทองวิชาเปนวิชาๆ เปนการแยกสวน รูเปนสวนๆ ไมเห็นทั้งหมด จึงเหมือนตาบอดคลําชาง

คนไทยนอกจากทําอะไรไมเปนแลวยังทะเลาะกันสูง เพราะรูเปน สวนๆ เหมือนคนตาบอดคลําชาง ทุกหนทุกแหงจึงเต็มไปดวยความขัดแยง โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย เพราะนักวิชาการถือ “ศาสตร” คนละสวนๆ โดยไมเห็นชางทั้งตัว ศาสตรก็เลยกลายเปนศาสตราไวใชทิ่มแทงกัน รัฐบาลออกกฎหมายทีเ่ กณฑคนทุกพืน้ ทีเ่ ขาไปสูก ารศึกษาทีเ่ หมือนๆ กัน ทําใหชุมชนออนแอหมดทั้งประเทศ เพราะเด็กๆ จากชุมชนทองถิ่น ที่ทองวิชาในโรงเรียนไมรูความจริงของชุมชนทองถิ่น ไมสามารถมีอาชีพ และมีชีวิตอยูในชุมชนทองถิ่นอีกตอไป ระบบการศึกษาที่เอาวิชาเปนตัวตั้ง แตไมไดเอาความจริงของชีวิต เปนตัวตั้ง ไดกอใหเกิดความขัดแยงและความออนแอใหประเทศไทย จนวิกฤต ถาประเทศจะกาวไปขางหนาได ออกจากสภาพวิกฤต และ มีความเขมแข็ง ประเทศไทยตองการการศึกษาใหม

๒. “มหาวิชชาลัย” คําที่ปรากฏ ในพระราชนิพนธเรื่องพระมหาชนก

ในพระราชนิพนธเรือ่ งพระมหาชนก ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมิพลอดุลยเดช ทรงตั้งพระทัยมากที่จะใหเปนบทเรียนอันทรงคุณคาแก ปวงชนชาวไทย นอกเหนือไปจากเรือ่ ง “ความเพียรอันบริสทุ ธิ”์ แลว พระราชนิพนธ เรื่องนี้ยังแฝงความคิดเรื่อง “วิชชา” ไวอยางลึกซึ้ง วิชชา (ช ชาง ๒ ตัว) เปนคําทางพุทธศาสนา หมายถึงปญญา “อวิชชา” หมายถึงความไมรู ความโง หรือความหลง (โมหะ) ในคํา สวดปฏิจจสมุปบาท ที่เราไดยินพระสวดเปนประจํา ดังที่เริ่มตนวา

อวิชชา ปจจยา สังขารา (ความไมรู เปนปจจัยใหเกิด สังขาร) ซึ่งจะผลักดันตอๆ ไป ๑๒ ขั้นตอนใหเกิดความทุกข ในพระราชนิพนธดังกลาว มีตอนหนึ่งที่กลาวถึงวา คนทั้งปวง ลวนตกอยูใน โมหภูมิ แลวพากันสราง เมืองอวิชชา ขึ้น ซึ่งเต็มไปดวย ความไมดีตางๆ เมื่อทรงใชคําวา “มหาวิชชาลัย” ทําใหกระตุกความคิดวา เรามี คํ า ว า “มหาวิ ท ยาลั ย ” อยู  แ ลว ดูเหมือ นจะไมเพียงพอที่จะนํา ผูคน ออกจากโมหภูมิ หรือความไมรู วิทยา แปลวา ความรู วิชชา แปลวา ปญญา

ปญญานั้นใหญกวาความรู ความรูอาจจะรูอะไรเปนเรื่องๆ แบบ ตาบอดคลําชางที่กลาวในตอนที่ ๑ แตปญญาหมายถึงรูรอบหรือรูทั้งหมด รวมทั้งรูตัวเองดวย การมีปญญานําไปสูความสัมพันธที่ถูกตองตอคนอื่น และสิ่งอื่น ความสัมพันธที่ถูกตอง คือ จริยธรรม เพราะฉะนั้นในปญญาจึง มีจริยธรรมอยูดวยเสมอ ในขณะที่ความรูไมแนวาจะมีจริยธรรมควบคูไป ดวย หรือกลับตรงขามก็ได ทั่วโลกมีมหาวิทยาลัยหรือที่อยูแหงความรูมากมาย แตโลกก็วิกฤต ไมสามารถจัดระบบการอยูรวมกันดวยสันติสุข แสดงวาวิทยาหรือความรู ไมเพียงพอเสียแลว หรือกลับเปนพิษเสียดวยซํา้ พระเจาอยูห วั จึงทรงกลาว ถึง “มหาวิชชาลัย” หรือที่อยูแหงปญญาอันยิ่งใหญ

๓. ชุมชนทองถิ่น-เนื้อนาบุญแหงการเกิดปญญา

ชุมชนทองถิ่น เปนฐานของการอยูรวมกันอยางสมดุล ระหวางคน กับคนและระหวางคนกับสิ่งแวดลอม การอยูรวมกันอยางสมดุลทําให มีความเปนปรกติสุขและความยั่งยืน หรือสังคมสันติสุข สังคมสันติสุข เปนสิ่งสูงสุดของความเปนมนุษย เวลานี้โลกไมเปนสังคมสันติสุข เพราะทิ้งความเปนชุมชนทองถิ่นเขมแข็ง ไปสูโลภจริต ฉะนั้น ผูนําชุมชนทองถิ่น ตองสลัดตัวออกจากมายาคติตางๆ สํานึก ในศักดิ์ศรีและศักยภาพในความเปนมนุษยของตนเอง รวมตัวรวมคิด รวมทํารวมสรางชุมชนทองถิน่ เขมแข็ง ทีจ่ ดั การตนเอง ใหมกี ารพัฒนาอยาง บูรณาการ ทั้ง เศรษฐกิจ-จิตใจ-สังคม-วัฒนธรรม-สิ่งแวดลอม-สุขภาพการศึกษา-ประชาธิปไตย

ชุมชนทองถิ่นเปนฐานหรือที่อยูของชีวิตจริงปฏิบัติจริง หรือฐาน ของความจริง ไมใชลองลอยอยูในนภากาศ สุญญากาศ เชน สถาบัน การศึกษาตางๆ การเรียนรูที่ดีที่สุด คือ เรียนรูจากการปฏิบัติ ลองดูธรรมชาติของการเรียนรูของเด็กเกิดใหม เด็กเกิดใหมยังไมรู อะไรเลย ยังทําอะไรไมเปนเลย เขาตองเรียนรูใ หดดู นมเปน เพือ่ ความอยูร อด เรียนรูที่จะนั่ง จะยืน จะเดิน และจะทําอะไรๆ เปน การเรียนรูใหทําอะไร เปน เปนความสุข และเปนประโยชนตอชีวิตและการอยูรวมกัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.