อินเตอร์เน็ต

Page 1

บทที่ 5 อินเตอร์เน็ต (Internet)


หัวข้อการศึกษาเรี ยนรู้ 1. เกี่ยวกับอินเทอร์ เน็ต 2. บริ การบนอินเทอร์เน็ต ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦

การรับส่ ง email การใช้งาน Social Network Blog Microblog Wikipedia Rss E-commerce และการสร้างเว็บไซต์สาเร็ จรู ปค่ะ

3. รู ้ลึกเรื่ องโปรแกรมไม่พึงประสงค์


ความหมายของอินเตอร์เน็ต คือ ระบบที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในที่ต่างๆ ทัว่ โลกเข้าด้วยกัน ผ่านทาง ระบบการสื่อสาร เช่น สายเคเบิล สายโทรศัพท์ โมเด็ม และดาวเทียม ซึ่ง อินเตอร์เน็ ตเป็ นสื่อสาธารณะ โดยใน ปั จจุบนั มีผใู้ ช้แล้วจานวนมากกว่า 100 ล้านคนกระจายอยูท่ วั ่ โลก มีอตั ราการ เติบโตเป็ น 2 เท่าทุกปี


อินเทอร์ เน็ต มาจากคา ภาษาอังกฤษว่ า Internet ย่อมา จาก Inter Connection Network เป็ นระบบเครือข่ าย คอมพิวเตอร์ หลายๆ เครือข่ าย ที่มีการ เชื่อมโยงเข้ าด้ วยกัน โดยที่คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะสามารถเชื่อมต่ อถึงกันได้ ทวั่ โลก ระบบแตกต่ างกันก็เชื่อมต่ อกันได้ นะ


ความเป็ นมาของอินเตอร์เน็ต 

เริ่มก่อตั้งโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา ภารกิจหลักเพื่อใช้ใน งานวิจยั ทางทหารโดยใช้ชื่อว่า “อาร์ปา” (ARPA : Advances Research Project Agency) หลังการทดลองอาร์ปาสาเร็จ จึงปรับปรุงมาเป็ น “ดาร์พา” ซึ่งมีการ เชื่อมต่อกันโดยใช้ โปรโตคอล TCP/IP (Transmission Contorl Protocol / Internet Protocol) จากนั้นมีการขยายเครือข่าย นี้ ออกไปอีก จนมีชื่อเรียกว่า INTERNET ซึ่งมาจากคาว่า Interconnection Network


อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย  เริ่ มขึ้นเมื่ อปี พ.ศ.2530 โดยการเชื่ อมต่อ มินิคอมพิวเตอร์ ของ ม.สงขลานคริ นทร์ และ สถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชีย (AIT) ไปยัง ม. เมลเบิ ร์ น ประเทศออสเตรี ย ผ่า นทาง สายโทรศัพท์ ซึ่ งส่ งข้อมูลได้ล่าช้าและไม่ถาวร กระทัง่ ปี พ.ศ.2535 ศูน ย์เทคโนโลยีอิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์แ ละ คอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ของสถาบันและมหาลัย 6 แห่ง ได้แก่ ม.จุฬาฯ ,ม.สงขลานครินทร์,ม. ธรรมศาสตร์,ม.เกษตรศาสตร์,สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) และ NECTEC เข้าด้วยกัน เรียกเครือข่ายนี้ ว่า “ไทยสาร”


ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต ด้ านการศึกษา

•ห้ องสมุดขนาดใหญ่

•คลังความรู้ ขนาดมโหฬาร ทุกสาขา ทุกระดับ ทุกภาษา •ส่ งการบ้ าน (นักเรียน, นักศึกษา)

•สั่ งการบ้ าน (ครู ) •ทดสอบความรู้ •ฝึ กฝนตนเอง •เรียนนอกเวลา ทุกเวลาที่ต้องการ ทุกทีท่ พี่ อใจ •เรียนภาษาฟรี


ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต ด้ านธุรกิจ

• ประชาสั มพันธ์ หลากหลาย รวดเร็ว กว้ างไกล • ลูกค้ าปริมาณมาก • ติดต่ อธุรกิจได้ รวดเร็ว ด้ วย E-Mail, WWW, Chat, Video Conference, …. • สั่ งซื้อสิ นค้ า (ไม่ เหนื่อยกับการเดินทาง) • ลดต้ นทุน • สื่ อน่ าสนใจ ดึงดูดลูกค้ าได้ ดี • จาลองสภาพสิ นค้ าได้ ชัดเจน • ช่ วยตัดสิ นใจก่อนซื้อ • E-Commerce • ฯลฯ


ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต ส่ งเสริมเผยแพร่ วัฒนธรรม

• วัฒนธรรมไทย • ศิลปพืน้ บ้ าน • เพลงไทย • การแสดง • อาหารไทย • ภูมิปัญญาท้ องถิ่น • การละเล่น • บุคคลทีน่ ่ าเคารพ นับถือของชาติ • กีฬา ศิลปการป้องกันตัว • ฯลฯ


หาเพือ่ น

ส่ งเพจ

หาผู้ร้าย

สอบถาม ข้ อสงสั ยต่ างๆ

ส่ งข้ อความ ผ่ านมือถือ

แปลภาษา/ศัพท์

หาโปรแกรม

ประกาศหาคนหาย

อัลบั้มภาพ

ฟังเพลง อ่านข่ าว

ประกาศข่ าวต่ างๆ

อีกเยอะเลยน่ ะนี่ นึกออกไหม!


ทายังไงถึงจะมีอนิ เตอร์ เน็ตใช้ สาหรับท่ านทีม่ ีคอมพิวเตอร์ หรือใช้ คอมพิวเตอร์ เป็ นประจาอยู่แล้ ว ก็เพียงแต่ …..

• ติดตั้งโมเด็ม เข้ ากับคอมพิวเตอร์ ทีม่ อี ยู่เดิม • สมัครเป็ นสมาชิกของ ISP • ปรับระบบคอมพิวเตอร์ ตามข้ อกาหนดของ ISP ทีเ่ ป็ นสมาชิก


โมเด็ม โมเด็ม เป็ นอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ชนิดหนึ่ง ทีช่ ่ วยให้ สามารถนาคอมพิวเตอร์ ของเรา เข้ าสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ตได้ มีชื่อตรงกับภาษาอังกฤษว่ า MODEM

มีหน้ าที่แปลงสั ญญาณคอมพิวเตอร์ (เรียกว่ า สั ญญาณดิจิทอล - Digital) เป็ นสั ญญาณของ ระบบโทรศัพท์ (เรียกว่ า สั ญญาณอะนาล็อก - Analog) และแปลงกลับกันได้ ด้วย


โมเด็มน่ ะ

PCMCIA MODEM

External MODEM

Internal MODEM


ISP สาหรับ ISP ก็คือ บริษัท หรือหน่ วยงาน ทีใ่ ห้ บริการอินเทอร์ เน็ตนั่นเอง ISP เป็ นคาย่ อของ Internet Service Provider ปัจจุบันมีให้ เลือก หลายบริษัทแล้วน่ ะครับ


ผูใ้ ห้บริการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet Service Providers) 

ในการสื่อสารติดต่ออินเตอร์เน็ ตในแต่ละพื้ นที่หรือแต่ละประเทศจะต้องรับผิดชอบ เอง เพื่อเชื่อมต่อกับระบบที่ใหญ่กว่าหรือติดต่อออกไปยังภายนอก จึงเป็ นหน้าที่ของ Internet Proviceders (ISP) ซึ่งได้แก่ องค์กรที่ ทาหน้าที่ ให้บริการเชื่อมต่อ สายสัญญาณจากที่ต่างๆ ของผูใ้ ช้บริการ เช่น จากที่บา้ น สานั กงาน สถานบริการ และแหล่งอื่นๆ เพื่อเชื่อมต่อออกภายนอก  ผูใ้ ห้บริการ (ISP) ในประเทศไทย เช่น KSC , Loxinfo , Samart , เอเน็ ต , เอเซีย แอคเซส (M-GROUP) ฯ


คอมพิวเตอร์ รู้จักกันได้ อย่ างไร

192.168.177.104

203.150.243.179


TCP/IP (Transmisson Control Protocol / Internet Protocol) 

การสื่ อสารระห ว่ า งคอมพิ วเตอ ร์ จ ะต้ อ งมี สื่ อกล างที่ คอมพิ วเตอ ร์ สามารถสื่อสารกันได้ ซึ่งมีชื่อทางเทคนิ คว่า “โปรโตคอล” (Protocol) สาหรับ โปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารบนอินเตอร์เน็ ตมีชื่อเรียกว่า TCP/IP

IP Address เป็ นหมายเลขประจาตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ อง ซึ่ งจะไม่ซ้ า กับเครื่ องอื่น จะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุดต่อกัน โดยมีจุด (.) เป็ นตัว แบ่งชุดตัวเลข ตัวเลขแต่ละชุดจะมีค่าตั้งแต่ 0 – 255 เช่น 208.49.20.16 หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลจัดสรร IP Address คือ interNIC (Internet Network Information Center) ซึ่ งผูเ้ ล่นอินเตอร์ เน็ตทัว่ ไปจะได้รับ IP Address จากผูใ้ ห้บริ การ (ISP)


IP Address / Internet Address

• หมายเลข IP เป็ นเลขฐานสอง มีขนาด 32 บิต (4 ไบต์ - 1 ไบต์ มี 8 บิต) • เขียนเป็ นเลขฐานสิ บ 4 ชุด แต่ ละชุดคัน่ ด้ วยเครื่องหมายจุด (dot) เลขฐานสอง 11111111.00000000.11111111.00000000

เลขฐานสิ บ 255. 0.255.0


IP Address / Internet Address • หมายเลข IP สามารถแบ่งได้ 5 แบบ หรือ 5 Class ดังนี้ Class A B C D E

0.0.0.0 128.0.0.0 192.0.0.0 224.0.0.0 240.0.0.0

Range ถึง ถึง ถึง ถึง ถึง

127.255.255.255 191.255.255.255 223.255.255.255 239.255.255.255 247.255.255.255


Domain Name 

คือ การนาเอาตัวอักษรที่จาได้ง่ายมาใช้แทน IP Address เพื่อความสะดวกในการ จดจาชื่อโดเมน นิ ยมตั้งให้สอดคล้องกับชื่อบริษัทหรือองค์กร

เช่น

203.107.175.2 www.sa.ac.th


DNS - Domain Name System • DNS คือ ระบบการแปลงกลับไป กลับมาระหว่ างชื่อโฮสต์ (Host) ให้ เป็ น หมายเลข IP • คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ สื่อสารต่ างๆ ในเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต จะมีหมายเลข IP ไม่ ซ้ากัน • การติดต่ อสื่ อสารระหว่ างเครื่องต่ างๆ จะใช้ หมายเลข IP เป็ นหลัก • หมายเลข IP จายากกว่ าการจาชื่อ จึงมีระบบ DNS เกิดขึน้ มา • ชื่อโดเมนไม่ ใช่ ชื่อที่ถอดมาจากเลขไอพี


DNS - Domain Name System edu intel

gov

...

...

uk

th

jp

co

or

go

nectec mentor

ite

nstda isd

...


DNS - Domain Name System • โดเมนทีม่ ตี ัวอักษร 3 ตัว เรียกว่ า Generic domain ส่ วนมากใช้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา com องค์ กรธุรกิจ -- commercial edu สถาบันการศึกษา -- education gov หน่ วยงานราชการ -- government int องค์ กรระหว่ างประเทศไทย -- international mil หน่ วยงาน ทหาร -- military net ผู้ให้ บริการเครือข่ าย -- network org องค์ กรอืน่ ๆ -- organization


DNS - Domain Name System • โดเมนทีม่ ีตวั อักษร 2 ตัว เรียกว่ า Country domain • เป็ นตัวอักษรที่ใช้ แทนประเทศต่ างๆ th Thailand jp Japan sg Singapore au Australia


DNS - Domain Name System • • • • • • •

โดเมนทางขวาใหญ่ กว่ าโดเมนทางซ้ าย ด้ านซ้ ายสุ ด => ชื่อคอมพิวเตอร์ ด้ านขวาสุ ด => โดเมนระดับบนสุ ด (Top-level domain name) แต่ ละโดเมนจะถูกเขียนคัน่ ด้ วยจุด ( . ) แต่ ละโดเมนจะมีผู้รับผิดชอบประจาโดเมน ชื่อโดเมนกับสถานทีต่ ้ังเครื่องไม่ จาเป็ นต้ องสั มพันธ์ กนั คอมพิวเตอร์ 1 เครื่องอาจมีได้ หลายชื่อ



บริการบนอินเตอร์เน็ต    

ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Mail : E-mail) ใช้รบั – ส่ง ข้อความผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การโอนถ่ายแฟ้มข้อมูล (File Transfer Protocol : FTP) การถ่ายโอนแฟ้ มข้อมูล จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ งไปยังอีกเครื่องหนึ่ ง กลุ่มอภิปรายกลุ่มข่าว (Newsgroup) เป็ นการรวมกลุ่มผูใ้ ช้อินเตอร์เน็ ตที่สนใจ ในเรื่องเดียวกัน การสนทนาในเครือข่าย (Internet Relay Chat : IRC) สนทนากันแบบโต้ตอบ ทันทีโดย การพิมพ์ หรือใช้เสียง เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web : WWW) เป็ นการสืบค้นสารสนเทศที่ อยูใ่ นอินเตอร์เน็ ตในระบบข้อความหลายมิติ (Hypertext)


เวิลด์ไวด์เว็บ ( World Wide Web)  WWW หรือ เว็บ (Web) เป็ นรูปแบบหนึ่ งของการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูล ใช้ในการ

ค้นหาข่าวสารบนอินเตอร์เน็ ต  WWW พัฒนาขึ้ นมาครั้งแรกที่สถาบัน CERN ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปี 2532 โดย Tim Berners-Lee เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์สามารถค้นหาผลการวิจยั ข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์จากศูนย์ขอ้ มูลสถาบันฯ ได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ  WWW จะแสดงผลในรูปแบบ Hypertext หมายความว่าภายในเอกสารHyperText นี้ จะมี เน้ นข้อความที่ สามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลรายละเอียดของข้อความนั้ น ซึ่ ง ข้อมูลดังกล่าวที่เชื่อมโยงไปอาจจะอยูภ่ ายในคอม คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันหรือ อยูก่ นั คนละเครื่องแต่อยูใ่ นเครือข่ายเดียวกันก็ได้โดยไม่คานึ งถึงว่าจะ อยูไ่ กลกันคนละจังหวัดกันหรืออยูก่ นั คนละประเทศ


Browser 

คือ โปรแกรมที่ใช้เรียกดูเว็บ เพจในอินเตอร์เน็ ต เช่นโปรแกรม Internet Explorer , Netscape , Monster ,Chrome , Opara ,Fire Fox เป็ นต้น Fire Fox


การใช้งานโปรแกรม Web browser 

คลิกที่ icon

หรือคลิกที่ เมนูบาร์ Start > Program > Mozilla fire fox

Menu bar

Address bar


Web Page 

หน้ากระดาษแต่ละหน้าใน WWW เรียกว่า “เว็บเพจ” ที่แสดงขึ้ นมาบน จอคอมพิวเตอร์ สามารถบรรจุขอ้ ความต่างๆ ได้แล้วมันยังสามารถบรรจุ รูปภาพ เสียง และไฟล์ภาพยนต์ได้อีกด้วย

Home Page

สาหรับเว็บเพจหน้าแรกจะเรี ยกว่า home page


Web site 

คือ แหล่งที่รวมหน้าเว็บเพจทุก ๆ หน้าขององค์กรแห่งนั้นไว้ ซึ่งเจ้าของ จะปรับปรุงข้อมูลเอง โดยเจ้าของเว็บไซต์ดังกล่าวอาจจะเป็ นองค์กรของ รัฐหรือเอกชน หรือเว็บไซต์ส่วนบุคคลก็ได้


URL (Uniform Resource Location) 

คือ ที่อยู่หรือตาแหน่ งของเว็บไซต์ มักขึ้นต้นด้วย http:// (Hyper Text Transfer Protocol) เช่น http://WWW.saac.th

Hyperlinks คือ เส้นทางเชื่อมต่อไปยังหน้าเพจอื่นๆ หรื อตาแหน่ง URL อื่นๆ บนอินเตอร์ เน็ต จะแสดงเป็ นตัวอักษรที่มีสีต่างกันออกไป หรื อมีการขีดเส้นใต้ล่างตัวอักษรกลุ่มนั้น อาจเป็ นรู ปภาพ


ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) 

คือ วิธีการติดต่อสื่อสารด้วย ตัวหนังสือข้อความ แทนจดหมายบน กระดาษ แต่ใช้วิธีการส่งในรูปของ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จาก คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ งไปยังผูร้ บั อีกเครื่องหนึ่ ง


จุดเด่นของไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) 

ความรวดเร็ว  ความประหยัด  ไม่จากัดระยะทาง

ทีอ่ ยู่ของไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-mail Address) ที่ อ ยู่ใ นอิ น เตอร์ เ น็ ต หรื อ ที่ อ ยู่ข อง ตู ้จ ดหมายของผูใ้ ช้อิ น เตอร์ เ น็ ต ใช้ สาหรับบอกตาแหน่งของผูร้ ับว่าอยูท่ ี่ ไหน


ส่วนประกอบของ E-mail 

ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. User name หรือชื่อสมาชิกของผูใ้ ช้ 2. เครื่องหมาย @ 3. Domain name เป็ นที่อยูข่ องอินเตอร์เน็ ตเซิรฟ์ เวอร์ที่เราสมัครเป็ น สมาชิกอยู่ เพื่ออ้างถึงเมล์เซิรฟ์ เวอร์ที่ให้บริการ เช่น info@northcm.ac.th info

ส่วนที่ 1

@ northcm.ac.th

ส่วนที่ 2

ส่วนที่ 3


ผูใ้ ห้บริการฟรี E-mail


การค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต

- Alta vista - Excite - WebCrawler

- Yahoo.com - hotmail.com - Infoseek Ultra - Hotbot - Lycos


Search Engine Web Site • ข้ อมูลใน WWW มีเยอะ จึงต้ องมี เว็บไซต์ ทที่ าหน้ าที่เป็ นเว็บไซต์ ท่า เรียกว่ า Search Engine • • • • •

www.yahoo.com www.siamguru.com www.altavista.com www.thaitop.com www.google.com


การค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต (ต่อ) 

หลักการค้นหา 1. ดูคาแนะนาจากแต่ล่ะ website ที่เข้าใช้บริการ 2. พิมพ์คาสาคัญหรือประโยคหลักของเนื้อหาที่ตอ้ งการ เช่น - ต้องการค้นหาข้อมูลหรือความหมายของ E- Commerce ก็ป้อนคาสาคัญคือ E-commerce ในการค้นหาจาก website ก็จะ แสดงรายชื่อ web ที่เกี่ยวข้องพร้อมคาอธิบายมาให้เราได้เข้าไป เยีย่ มชมรายละเอียด


บัญญัติ 10 ประการ ของการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต 1. ต้ องไม่ ใช้ คอมพิวเตอร์ ทาร้ าย หรือละเมิดผู้อนื่ 2. ต้ องไม่ รบกวนการทางานของผู้อนื่ 3. ต้ องไม่ สอดแนม แก้ไข หรือเปิ ดดูแฟ้มข้ อมูลของผู้อนื่ 4. ต้ องไม่ ใช้ คอมพิวเตอร์ เพือ่ การโจรกรรมข้ อมูลข่ าวสาร 5. ต้ องไม่ ใช้ คอมพิวเตอร์ สร้ างหลักฐานที่เป็ นเท็จ 6. ต้ องไม่ คดั ลอกโปรแกรมของผู้อนื่ ทีม่ ีลขิ สิ ทธิ์ 7. ต้ องไม่ ละเมิดการใช้ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยทีต่ นเองไม่ มีสิทธิ์ 8. ต้ องไม่ นาเอาผลงานของผู้อนื่ มาเป็ นของตน 9. ต้ องคานึงถึงสิ่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ กับสั งคมทีเ่ กิดจากการกระทาของท่ าน 10. ต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท


โทษของอินเทอร์ เน็ต • • • • • • • • •

อินเทอร์ เน็ตเป็ นระบบอิสระ ไม่ มเี จ้ าของ ทาให้ การควบคุมกระทาได้ ยาก มีข้อมูลทีม่ ีผลเสี ยเผยแพร่ อยู่ปริมาณมาก ไม่ มรี ะบบจัดการข้ อมูลทีด่ ี ทาให้ การค้ นหากระทาได้ ไม่ ดเี ท่ าทีค่ วร เติบโตเร็วเกินไป ข้ อมูลบางอย่ างอาจไม่ จริง ต้ องดูให้ ดเี สี ยก่ อน อาจถูกหลอกลวง-กลัน่ แกล้ งจากเพือ่ นใหม่ ถ้ าเล่นอินเทอร์ เน็ตมากเกินไปอาจเสี ยการเรียนได้ ข้ อมูลบางอย่ างก็ไม่ เหมาะกับเด็กๆ ขณะทีใ่ ช้ อนิ เทอร์ เน็ต โทรศัพท์ จะใช้ งานไม่ ได้


ข้ อควรปฏิบัติสาหรับเด็ก และเยาวชน ในการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต • เล่ าให้ ผู้ปกครองฟังถึงกิจกรรมในการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตในแต่ ละครั้ง • ใช้ นามแฝง อย่ าบอกชื่อและทีอ่ ยู่ให้ กบั บุคคลแปลกหน้ า • แจ้ งให้ ผู้ปกครองทราบก่ อนทีจ่ ะใช้ บัตรเครดิต หรือสั่ งซื้อสินค้า หรือ พบปะบุคคลทางอินเทอร์ เน็ต • ควรตกลงกับผู้ปกครอง ในการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต เกีย่ วกับกฎ กติกาต่ างๆ และปฏิบัตติ ามกฎทีไ่ ด้ กาหนดไว้ • ไม่ ใช้ คาพูด หรือถ้ อยคาทีห่ ยาบคาย หรือกระทบต่ อบุคคลอืน่


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.