00intro it

Page 1

เทคโนโลยีสารสนเทศ ครู ปิยาภรณ์ แสงนาค ศูนย์ เทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน โรงเรี ยนสตรี อ่างทอง


เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 1.1ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร  เทคโนโลยี  สารสนเทศ การสื่ อสาร


ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยี (technology) หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์ ความจริงเกีย่ วกับธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม มาทาให้ เกิดประโยชน์ ต่อมวลมนุษย์ เทคโนโลยีจึงเป็ นวิธีการในการสร้ าง มูลค่ าเพิม่ ของสิ่ งต่ างๆ ให้ เกิดประโยชน์ มากยิง่ ขึน้ ทราย / ซิลกิ อน

เทคโนโลยี + เทคนิควิธีการสร้ าง

ชิป (chip)


ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)... สารสนเทศ (information) หมายถึง ข้ อมูลที่เป็ นเรื่องเกีย่ วข้ องกับความ จริงของคน สั ตว์ สิ่ งของ ทั้งที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม ทีไ่ ด้ รับการ จัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกค้ น และสื่ อสารระหว่างกัน นามาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ได้ รับข้ อมูล

ประมวลผล

สารสนเทศ

คะแนนสอบ ของนักศึกษา

ตัด เกรด

เกรด


ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)...

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนาวิทยาการทีก่ ้ าวหน้ าทางด้ านคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร มาสร้ างมูลค่ าเพิม่ ให้ กบั สารสนเทศ ทาให้ สารสนเทศมีประโยชน์ และใช้ งานได้ กว้ างขว้ างมากขึ้น เทคโนโลยี สารสนเทศรวมไปถึงการใช้ เทคโนโลยีด้านต่ างๆ ทีจ่ ะรวบรวม จัดเก็บใช้ งาน ส่ งต่ อ หรือ สื่ อสารระหว่ างกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกีย่ วข้ องโดยตรงกับเครื่องมือเครื่องใช้ ในการ จัดการสารสนเทศ ได้ แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ รอบข้ าง ขั้นตอนวิธีการดาเนินการ ซึ่งเกีย่ วข้ องกับซอฟต์ แวร์ เกีย่ วข้ องกับตัวข้ อมูล เกีย่ วกับบุคลากร เกีย่ วข้ องกับกรรมวิธีการ ดาเนินงานเพือ่ ให้ ข้อมูลเกิดประโยชน์ สูงสุ ด


ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)...

การสื่ อสาร การสื่ อสาร คือกระบวนการสาหรับแลกเปลี่ยนสาร รู ปแบบอย่างง่ายของสาร คือ จะต้องส่ งจากผูส้ ่ งสารหรื ออุปกรณ์เข้ารหัส ไปยังผูร้ ับสารหรื ออุปกรณ์ถอดรหัส อาจอยูใ่ นรู ปแบบของท่าทางสัญลักษณ์ บ้างอย่างอยูใ่ นรู ปแบบของภาษา การ สื่ อสารเกิดจากความต้องการที่คนจะส่ งข้อมูลหากัน


องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศ


1.ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) • หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็ นเครื่ อง คอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเป็ นโครงร่ างสามารถมองเห็นด้วย ตาและสัมผัสได้ (รู ปธรรม)


2. ซอฟต์ แวร์ (Software) • ส่ วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็ นโปรแกรมหรื อชุดคาสัง่ ที่ ถูกเขียนขึ้นเพือ่ สัง่ ให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็ นเหมือน ตัวเชื่อมระหว่างผูใ้ ช้เครื่ องคอมพิวเตอร์และเครื่ องคอมพิวเตอร์

ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์


2.1. ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) • คือ ชุดของคาสัง่ ที่เขียนไว้เป็ นคาสัง่ สาเร็ จรู ป ซึ่งจะทางานใกล้ชิดกับ คอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรื อ โปรแกรมระบบ ที่รู้จกั กันดีกค็ ือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C


2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) • คือ ซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรมที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ ผูใ้ ช้ตอ้ งการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อ การทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรี ยกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรม การทาสิ นค้าคงคลัง 2.3 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทัว่ ไป เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผจู ้ ดั ทาไว้ เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ทัว่ ไป เช่น MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็ นต้น


3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์  หมายถึง บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่ งมีความรู ้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สัง่ งานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ ทางานตามที่ตอ้ งการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ 1. ผูจ้ ดั การระบบ (System Manager) คือ ผูว้ างนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้ เป็ นไปตามเป้ าหมายของหน่วยงาน 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผูท้ ี่ศึกษาระบบงานเดิมหรื องานใหม่ และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผูเ้ ขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ทางานตามความต้องการ 4. ผูใ้ ช้ (User) คือ ผูใ้ ช้งานคอมพิวเตอร์ ทวั่ ไป ซึ่ งต้องเรี ยนรู ้วธิ ี การใช้เครื่ อง และ วิธีการใช้งานโปรแกรม


4. ข้อมูล (DATA) • ข้อมูลเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่ งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นสิ่ งที่ตอ้ ง ป้ อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมที่นกั คอมพิวเตอร์ เขียนขึ้นเพื่อผลิต ผลลัพธ์ที่ตอ้ งการออกมา ข้อมูลที่สามารถนามาใช้กบั คอมพิวเตอร์ ได้ มี 5 ประเภท คือ 1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) 2. ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) 3. ข้อมูลเสี ยง (Audio Data) 4. ข้อมูลภาพ (Images Data) 5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data)


5.ขั้นตอนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์

หน่วยรับข้อมูล เช่น -เมาส์ -คียบ์ อร์ด -สแกนเนอร์

หน่วยประมวลผล - CPU

หน่วยแสดงผลเช่น -จอภาพ -เครื่องพิมพ์


ประโยชน์ ที่ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการศึกษา ทาให้ เกิดการกระจายไปทั่วทุกหนแห่ ง ทาให้ มี การกระจายโอการการเรียนรู้ มีการใช้ ระบบการ เรียนการสอนทางไกล การกระจายการเรียนรู้ ไปยังถิ่นห่ างไกล การเรียนการสอนใน โรงเรียนมีการนาคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือ ประกอบช่ วยในการเรียนรู้ เช่ น วีดิทัศน์ คานวณระดับคะแนน


ประโยชน์ ที่ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้ านการแพทย์ ปัจจุบนั ทุกหน่ วยงานต่ างพัฒนาระบบ รวบรวมจัดเก็บข้ อมูลเพือ่ ใช้ ในองค์ การ ระบบเวชระเบียน ในโรงพยาบาล ทีช่ ่ วยในการดูแลช่ วยเหลือผุ้ป่วยอย่ างต่ อ เนื่อ หรือการใช้ เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ ไปใช้ ในการ รักษาผู้ป่วย


ประโยชน์ ที่ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ การผลิตในอุตสาหกรรม และการ พาณิชยกรรม การแข่ งขันทางด้ านการผลิตสิ นค้ า อุตสาหกรรมจาเป็ นต้ องหาวิธีการในการผลิตให้ ได้ มาก และราคาถูกลงทาให้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ ามามีบทบาทมาก มีการใช้ ข้อมูลข่ าวสารเพือ่ การ บริหารและการจัดการ การดาเนินการและยังรวมไปถึง การให้ บริการกับลูกค้ า เพือ่ ให้ ซื้อสิ นค้ าได้ สะดวกขึน้


ประโยชน์ ที่ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้ านการเงินการธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการเงินและการธนาคาร เป็ นการนา คอมพิวเตอร์ มา ช่วยในงานด้านการบัญชี และด้านการบริ หาร การ ฝากถอนเงิน การรับจ่าย การโอนเงิน แบบอิเล็กทรอนิกส์ การหัก บัญชีอตั โนมัติ ด้านสิ นเชื่อ ด้านแลกเปลี่ยนเงินตรา บริ การข่าว สาร การธนาคาร บริ การฝากถอนเงินนอกเวลาและบริ การอื่น ๆ


ประโยชน์ ที่ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ การสร้างเสริมคุณภาพชีวติ ที่ดีข้นึ ใช้ ในระบบติดต่ อสื่ อสาร คมนาคม เพือ่ ติดต่ อสื่ อสารให้ รวดเร็วขึน้ มีการประยุกต์ มาใช้ กบั เครื่อง อานวยความสะดวกภายในบ้ าน เช่ น ใช้ ควบคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้ าน เป็ นต้ น


เทคโนโลยีกบั แนวโน้ มโลก

สั งคมเกษตรกรรม

สั งคมอุตสาหกรรม สั งคมสารสนเทศ

Cyberspace


ตัวอย่ างการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเอทีเอ็ม การลงทะเบียนเรี ยน การบริ การและการทาธุรกรรมบนอินเทอร์เน็ต อื่นๆ


อาชีพทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ Programmer

System analyst

Technician

Database administrator

System administrator

Network administrator

Webmaster

Game maker


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.