data information knowledge

Page 1

1


ข้อมูล(data) คือ ข้ อเท็จจริงทีม่ ีการรวบรวมไว้ และมีความหมาย อาจเกีย่ วข้ องกับ คน สิ่ งของหรือเหตุการณ์ อนื่ ๆ เป็ นส่ วนพืน้ ฐานสาหรับการ ประมวลผลของงานเพือ่ ให้ ได้ สารสนเทศสาหรับช่ วยตัดสิ นใจและ นาเอาไปใช้ ประโยชน์ อนื่ ๆตามต้ องการ

2


Text

Number

Audio

Vector graphic

Rester graphic

........ . ไบต์ บิต

Video

3


ในการพิจารณาว่าข้อมูลใดมีขนาดมากน้ อยเพียงไร เรามีหน่ วยในการวัด ขนาดของข้อมูลดังต่อไปนี้

- 8 Bit = 1 Byte - 1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์) - 1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์) - 1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์) - 1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)


คุณสมบัตพิ นื้ ฐานทีค่ วรมีดงั นี้ 1. ความถูกต้อง (Accuracy) 2. ความสมบูรณ์ (Complete) 3.ถูกต้องตามเวลามีความเป็ นปัจจุบนั (Update) 4. ความสอดคล้องกันของข้อมูล (Accord) 5


 ข้ อมูลที่ไม่เป็ นจริ งอาจก่อให้ เกิดความเสียหายได้

 ต้ องคัดเลือกข้ อมูลที่ถกู ต้ อง

6


 บางครัง้ อาจเก็บรวบรวมข้ อมูลมากกว่าหนึง่ ครัง้ เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่

สมบูรณ์ เช่น การเก็บข้ อมูลเชิงสถิติ หรื อวัดค่าเฉลี่ย อาจต้ องเก็บทัง้ ข้ อมูลปฐมภูมิ (primary data) และข้ อมูลทุติยภูมิ (secondary data)  ข้ อมูลที่สมบูรณ์อาจต้ องคานึงถึงความครบถ้ วนของข้ อมูลด้ วย เช่น อายุ เพศ การศึกษา ศาสนา เชื ้อชาติ ของบุคลากร เป็ นต้ น

7


- ข้อมูลที่ดีตอ้ งมีการปรับปรุ งแก้ไขให้มีความเป็ นปั จจุบนั อยูเ่ สมอ - เหตุการณ์ต่างๆมักเกิดขึ้นใหม่อยูต่ ลอด เช่น จานวนผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้ง ในสมัยก่อนกับปัจจุบนั ย่อมไม่เท่ากัน - ข้อมูลที่ลา้ สมัยหากนาไปใช้ประโยชน์อาจให้ผลลัพธ์ที่คลาดเคลื่อน หรื อผิดพลาดได้

8


 ข้ อมูลที่มีแหล่งที่มาหลายๆแห่งจะต้ องตรวจสอบให้ มี

ความสอดคล้ องกัน  หากไม่สอดคล้ องกับความต้ องการก็ไม่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ อย่างเต็มที่

9


10


อักขระ 0 หรือ 1

11


 ลาดับชันของหน่ ้ วยข้ อมูลที่เล็กที่สดุ

 ข้ อมูลที่จะทางานร่ วมกับคอมพิวเตอร์ ได้ ต้ องแปลงให้ อยูใ่ นรู ป

ของเลขฐานสองเสียก่อนเมื่อแปลงแล้ วจะได้ ตวั เลขแทนสถานะ เปิ ดและปิ ดของสัญญาณไฟฟ้าที่เรี ยกว่าบิต คือ บิต 0 และบิต 1

12


 เมื่อนาบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้ หน่วย

ข้ อมูลกลุม่ ใหม่ที่เรี ยกว่า ไบต์ (byte)  จานวนของบิตที่ได้ ในแต่ละกลุม ่ อาจมีมากบ้ าง หรื อน้ อยตามแต่ชนิดของรหัสที่ใช้ เก็บ  สาหรับรหัสแอสกี 1 ตัวอักษรหรื อ 1 ไบต์ = 8 บิต 13


 ประกอบด้ วยกลุม ่ ของตัวอักษรหรื อไบต์ตงแต่ ั ้ 1 ตัวขึ ้นไปมา

ประกอบกันเป็ น  หน่วยข้ อมูลที่ใหญ่ขึ ้นเพื่อแสดงลักษณะหรื อความหมาย อย่างใดอย่างหนึง่  ยกตัวอย่างเขตข้ อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น รหัสนักเรี ยน ชื่อ นามสกุล ชันเรี ้ ยน ห้ องเรี ยน เป็ นต้ น

14


 กลุม ่ ของเขตข้ อมูลหรื อฟี ลด์ที่มีความสัมพันธ์กนั และนามา

จัดเก็บรวมกันเป็ นหน่วยใหม่ที่ใหญ่ขึ ้นเพียงหน่วยเดียว  ข้ อมูลที่จดั เก็บอาจมีหลายเรคอร์ ดได้ Record

Field

15


 เป็ นการนาเอาข้ อมูลทังหมดหลายๆ ้ เรคอร์ ดที่ต้องการจัดเก็บมา

เรี ยงอยูใ่ นรูปแบบของแฟ้มตารางข้ อมูลเดียวกัน เช่น แฟ้ม ตารางข้ อมูลเกี่ยวกับคะแนนนักเรี ยนวิชาคอมพิวเตอร์ อาจ ประกอบด้ วย เรคอร์ ดของนักเรี ยนหลายๆคนที่เก็บข้ อมูล เกี่ยวกับ รหัสนักเรี ยน ชื่อ นามสกุล และคะแนนที่ได้ เป็ นต้ น

16


รหัสนักเรียน

17


18


ฐานข้ อมูลทะเบียนราษฎร์

ฐานข้ อมูลทะเบียนนักเรี ยน ฐานข้ อมูลบุคลากร

ฐานข้ อมูลสินค้ าคงคลัง ฯลฯ 19


สารสนเทศ(information) คือ ผลลัพธ์ จากการนาข้ อมูลมาประมวลผล เพือ่ ให้ ได้ สิ่ง ทีเ่ ป็ นประโยชน์ ในการนาไปใช้ งานมากขึน้

20


ความรู้(knowledge) คือ สิ่ งที่สกัดได้มาจากข้อมูลและสารสนเทศ มีความน่าสนใจ มี เอกลักษณ์ และเป็ นสิ่ งใหม่ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้

ความรู้ จัดรู ปแบบ ของข้ อมูล

ข้ อมูล รู ปแบบใหม่

ข้ อมูลก่ อนเข้ า สู่ กระบวนการ ข้ อมูลที่คดั สรร

ข้ อมูล 21


การจัดการความรู้ (Knowledge management)

คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด ความรู้ และ ปั ญญา เพื่อแบ่งปันภูมิปัญญา,เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพการทางาน, เพื่อความได้เปรี ยบทางการแข่งขัน, หรื อเพื่อเพิม่ ระดับนวัตกรรม ให้สูงขึ้น

22


ตัวอย่ างการใช้ IT ในการจัดการความรู้

23


คาว่าจริยธรรมเป็ นคาที่มีความหมายกว้างแม้กระทัง้ ใน ด้านคอมพิวเตอร์ ก็มีการกล่าวถึงในเรื่องจริยธรรม เช่นกัน ในที่นี้จะกล่าวถึงจริยธรรม ในความหมายที่ เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศประเด็นต่างๆดังนี้

24


 เมือ่ ข้อมูลปรากกอยูใ่ นโลกออนไลน์มากขึน ้ ทาให้การ

รวบรวมข้อมูลการเข้าถึง การค้นหา และการแบ่งปนั ข้อมูลส่วนบุคคลเป็ นเรือ่ งทีส่ ามารถทาได้งา่ ยและเร็วขึน้ ทาให้ขอ้ มูลบางประเภททีม่ คี วามเป็ นส่วนตัวสูง อาจ รัวไหลไปสู ่ ส่ าธารณะได้

25


 เพือ่ เป็ นการรักษาความปลอดภัยให้กบ ั ข้อมูล ในการเก็บ

ข้อมูลในฐานข้อมูลจะมีการกาหนดสิทธิ ์ในการเข้าถึงข้อมูล ของผูใ้ ช้แต่ละกลุม่  การเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รบ ั อนุญาต มีความผิดตาม พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทาความผิดเกีย่ วกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่เดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2550เป็ นต้นมา 26


มาตรา 5 ผูใ้ ดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตราการ ป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนัน้ มิได้มีไว้สาหรับตนต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ 27


มาตรา 7 ผูใ้ ดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มี มาตราการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนัน้ มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือ ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ 28


มาตรา 8 ผูใ้ ดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ื่นที่อยู่ ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นัน้ มิได้มีไว้เพื่อประโยชน์ สาธารณะหรือเพื่อให้บคุ คลทัวไปใช้ ่ ประโยชน์ ได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหก หมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

29


30


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.