Stiuation Labour of Phuket Report in 4/2559

Page 35

แผนภูมิที่ ๓-๗ อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมายความปลอดภัย ในการทางานของสถานประกอบการ

ที่มา : สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต หมายเหตุ : อัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถานประกอบการจังหวัด = จานวนสถานประกอบการที่ทาผิดกฎหมายคุ้มครองแรงงานจังหวัด x 100 จานวนสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจกฎหมายคุ้มครองแรงงานจังหวัด อัตราการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายความปลอดภัยของสถานประกอบการจังหวัด = จานวนสถานประกอบการที่ทาผิดกฎหมายความปลอดภัยในจังหวัด x 100 จานวนสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจกฎหมายความปลอดภัยจังหวัด

๓.๘ อัตราการเกิดข้อพิพาทแรงงาน/ข้อขัดแย้งในสถานประกอบการ การเกิดข้อพิพาทแรงงานและข้อขัดแย้งในสถานประกอบการ เป็นตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง นายจ้างและลูกจ้าง การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเกิดข้อพิพาทแรงงานจะแสดงให้เห็นถึงทิศทางความสัมพันธ์ ระหว่าง นายจ้างและลูกจ้าง ว่ามีทิศทางหรือมีแนวโน้มไปทางใด การเกิดข้อพิพาทแรงงานนั้น มีผลมาจากการที่ ลูกจ้ างได้แจ้ง ข้อเรี ยกร้ องต่อนายจ้างและหากไม่ส ามารถยุติหรือตกลงกันได้ ก็จะเกิดเป็นข้อพิ พาทแรงงานขึ้น สาหรับอัตรา สถานประกอบการที่เกิดข้อพิพาทแรงงานในจังหวัดต่อสถานประกอบการ 100,000 แห่ง พบว่า ในช่ ว ง ปี ๒๕58-๒๕๕9 จนถึ ง ปั จ จุ บั น มี อั ต ราในช่ ว ง 0.01 ซึ่ ง หมายความว่ า ในสถานประกอบการ 100,000 แห่ง เกิดข้อพิพาทและข้อขัดแย้ง 1 แห่ง ในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งนับว่าเป็ นอัตราที่ต่ามาก บ่งบอกว่าที่ ผ่านมาความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในจังหวัดภูเก็ตอยู่ในระดับดีมาก เนื่องจาก กระทรวงแรงงานได้ ประสานและบูรณาการให้ทุกหน่วยงานในสังกัดดาเนินการ ตรวจเยี่ยมพร้อมส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างตลอดเวลา (ตารางที่ ๓-๘)

สถานการณ์แรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส 4 ปี 2559

หน้า 25


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.