Buon Giorno,italia

Page 1

I

นักบุญอันตนแหงปาดัว นักบุญแหงอัศจรรย โดย พอสุรชัย ชุมศรีพันธุ

นักบุญอันตนแหงปาดัว มีชื่อเสียงอยางมาก ในเรื่องอัศจรรยตางๆ ที่เกิดขึ้น คริ สตชนทั้งหลายตางพากั นไปขออั ศจรรย จากท านอยูเสมอ ใครที่เคยไปแสวงบุ ญที่ มหาวิหารนักบุญอันตนที่เมืองปาดัว (Padova) คงตองตื่นเตนที่ไดเห็นคําขอบคุณตอทาน นักบุญจํานวนมากมายสําหรับอัศจรรยที่ตนไดรับ นอกจากนี้ ยังไดสวดภาวนาตอหนาหลุม ศพของทานดวยตนเอง เพราะเหตุนี้ พอจึงขอแนะนําใหรูจักกับนักบุญอันตน และมหา วิหารของทาน นักบุญอันตน เปนชาวโปรตุเกส เกิดที่เมืองลิสบอน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 1195 เดิมชื่อ Fernando de Boullion จากครอบครัวขุนนางซึ่งมาจากสงครามครูเสด (Crusade) อายุ เ พี ย ง 15 ป สมั ค รเป น โนวิ ส ในคณะออกั ส ติ เ นี ย น ที่ อ าราม San Vincenzo ที่เมือง Coimbra ป ค.ศ. 1219 บวชเปนพระสงฆเมื่ออายุ 24 ป ป ค.ศ. 1220 มรณสักขี 5 ทาน คณะฟรังซิสกัน ซึ่งถูกตัดศีรษะที่ Morocco ถูกนํามาที่ เมือง Coimbra เปนแรงดลบันดาลใจใหทานตองการเปนมรณสักขีในการ ประกาศพระวรสาร และดวยการอนุญาตของเจาคณะออกัสติเนียน และ เจาคณะฟรังซิสกัน ทานไดเขาเปนสมาชิก “คณะฟรังซิสกัน” ไดรับชื่อวา “อันโตนิโอ” (Antonio) และสมัครเปนมิชชันนารีในอัฟริกา แตทานเปน มาเลเรียระหวางเดินทาง จึงถูกสงกลับระหวางการสมัชชาคณะฟรังซิส กันที่เมือง Assisi วันที่ 30 พฤษภาคม 1221 ทานไดรับหนาที่อภิบาล สมาชิกคณะที่เปนฆราวาสที่เมือง Montepaolo ที่นี่เอง ทานไดมีโอกาส เทศนในระหวางพิธีบวชพระสงฆ โดยไมมีการเตรียมตัวมากอนและเทศน ไดอยางอัศจรรย ทานไดรับมอบหมายจากนักบุญฟรังซิส ใหทานเปนผู เทศนสอนของคณะและเปนอาจารยเทววิทยา ทานไดประจําอยูหลาย แหง ในอิตาลีและฝรั่งเศส เปนนักเทศนที่มีชื่อเสียงมาก ป 1223 ทาน กอตั้งสํานักเทววิยาเพื่อสอนสมาชิกคณะ ซึ่งตอมาสํานักนี้ไดกลายเปน ส ว นหนึ่ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย โบโลญา ในระหว า งนี้ เ องนั ก บุ ญ ฟรั ง ซิ ส แหงอัสซีซีไดเสียชีวิต 3 ตุลาคม 1226 และไดประจักษมาสนทนากับทาน ดวย ป ค.ศ. 1227 เจาคณะแขวงอิตาลีภาคเหนือ แตขอลาออกจากตําแหนงนี้และกลับไป ประจําที่อารามที่ทานกอตั้งขึ้นที่ปาดัว ป ค.ศ. 1228 รับเชิญจากพระสันตะปาปา เกรกอรี่ ที่ 9 ใหเทศนในเทศกาลมหาพรต ผูฟงเทศนในสันตะสํานักมาจากประเทศตาง ๆ และตางก็ไดยินบทเทศน


เป น ภาษาของตนเอง และพระกุ ม ารเยซู ไ ด ป ระจั ก ษ ม าหาท า นด ว ย พระสันตะปาปาตั้งฉายาใหทานวา หีบพระสัญญา (Ark of the Covenant) ที่ฝงศพปจจุบันของทานในมหาวิหารจึงถูกเรียกวา The Ark 13 มิถุนายน 1231 ปวยหนักและขอกลับมาที่ Padova แตทานมาไมถึง เพราะเสียชีวิตในอารามคณะ Clarisse ที่ Convent dell’ Arcella ใกล ๆ เมือง Padova ดวยอายุรวมเพียง 35 ปเทานั้น วัดที่ทานเคยประจําที่เมือง Padova ไดแก Convento di Santa Maria Mater Domini ดําเนินเรื่อง ขอศพของทาน แต Convent dell’ Arcella ไมยอม ในที่สุด เจาคณะฟรัง ซิสกันสั่งใหฝงทานที่ Santa Maria Mater Domini ปจจุบัน วัดนี้ได กลายเปน วัดนอยที่อยูภายในมหาวิหารนักบุญอันตน ตรงแทน “แมพระ ดํา” ป ค.ศ. 1232 พระสันตะปาปา เกรกอรี่ ที่ 9 ประกาศใหทานเปน “นักบุญ” เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 1232 นั่นคือ 1 ปหลัง จากความตาย (สมัยนั้น ขบวนการ แตงตั้งนักบุญแตกตางจากปจจุบันมาก) ป ค.ศ. 1263 ยายศพของทานจากที่เดิมมาอยูกลางมหาวิหาร ในการยายครั้งนี้ มีการ ตรวจศพของทาน นักบุญโบนาแวนตูราไดพบวา ลิ้นของทานไมเนาเปอย จึงแยกมาเก็บรักษาไว (ชมไดที่ Treasury Chapel ภายในมหาวิหาร) ป ค.ศ. 1946 พระสันตะปาปา ปโอ ที่ 12 ประกาศใหทานเปน “นักปราชญของพระ ศาสนจักร”

อัศจรรยตาง ๆ ของนักบุญอันตน

มีผูรวบรวมเรื่องราวอัศจรรยตาง ๆ ของทาน และพิมพเปนหนังสือ มีผูศรัทธาใน ทา นมากมาย มิ ใช แ ตเ พี ยงอัศ จรรย ในระหว างที่ ทา นมีชี วิต อยู แตร วมถึ ง อัศ จรรย ที่ เกิดขึ้นหลังจากความตาย จนกระทั่งปจจุบัน แมเวลาจะลวงเลยมานานถึง 800 ปแลวก็ ตาม - นักบุญอันตน เปนองคอุปถัมภของผูอดอยาก ผูที่ทําสิ่งของหาย และผูยากจน - ทานเคยทําหนังสือสวด Breviary หายไป และทานก็ไดพบโดยอัศจรรย เปนที่มาของ องคอุปถัมภผูที่ทําของหาย - ทานเคยไลผี ทํานายเหตุการณ รักษาโรคตาง ๆ ผูประสบภัยทางเทา ขา เพราะทาน เคยตอขาใหชายคนหนึ่ง ซึ่งเสียใจที่เตะแมตนเอง เขาตัดขาทิ้ง แตทานนักบุญตอขา ให ผูที่เปนโรคหัวใจ เทศนใหปลาฟง เพราะพวกเฮเรติ๊กที่เมือง Rimini ไมยอมฟงทาน ทานสั่งใหลาคุกเขาตอหนาศีลมหาสนิท มีคนเห็นทานอยูในสถานที่ 2 แหงในเวลา เดียวกัน เห็นทานอุมพระกุมารเยซู ฯลฯ อีกมากมาย

2


มหาวิหารนักบุญอันตน เปนสมบัติของนครรัฐวาติกัน ในรูปแบบ Extra Territory

มหาวิหารนี้สรางขึ้นตั้งแตทานไดรับประกาศเปนนักบุญ ใชระยะเวลากอสรางและ ตอเติมเรื่อยมา มีวัดเล็กวัดนอยภายในมากมาย พอขอแนะนําผูแสวงบุญเยี่ยมชมสวนที่ สําคัญ ๆ ของมหาวิหาร ดังตอไปนี้ : 1. วัดนอยหลุมศพของนักบุญอันตน ที่นี่ เราจะเห็ นเครื่องหมายแหง การขอบคุ ณสํา หรับ อัศจรรยที่ ไดรั บมากมาย ผูแสวงบุญจะเดินสวดและรําพึง พรอมทั้งลูบหลุมศพของทาน มาถึงที่นี่ทั้งที ก็ควร ที่จะวอนขออะไรบางนะครับ สถานที่นี้เปนที่รูจักกันในชื่อวา Ark แตเดิม ศพทานตั้งอยูที่วัดนอย Santa Maria Mater Domini ปจจุบัน เปนวัด นอย “แมพระดํา” ภายในมหาวิหารนี้เอง ค.ศ. 1231-1263 อยูที่วัดนอย Santa Maria Mater Domini ค.ศ. 1263-1310 อยูกลางมหาวิหาร ใตโดมบริเวณที่นักบวชสวดทําวัตร (Presbytery) ค.ศ. 1310-1350 ไมระบุวาศพของทานอยูที่ใด ค.ศ. 1350-ปจจุบัน บริเวณดานหลังของพระแทนนี้ มีการแสดงใหเห็นถึงชีวิตและอัศจรรยตาง ๆ ของ ทาน เชน ทานรับเสื้อเขาคณะฟรังซิสกัน, สามีขี้อิจฉา, เด็กหนุมกลับคืนชีพ, เด็กสาว กลับคืนชีพ และ เด็กนอยคืนชีพ รวมถึงหลานชายของทานดวย, ตอขาใหหนุมที่ตัด ขาของตน เพราะเสียใจที่ไปเตะแมตัวเอง, เด็กเกิดใหมพูดได 2. วัดนอยขุมทรัพย (Treasury Chapel) วัดนอยนี้ตั้งอยูทหี่ ลังพระแทนกลาง เกือบสุดปลายมหาวิหาร ที่นี่เอง ผูแสวงบุญ ทุกคนตองการจะเห็น ไดแก ลิ้นที่ไมเนาของทานนักบุญ (อยาคาดหวังวาจะพบลิ้นสี แดงนะครับ แตเปน ลิ้นที่ไมเนาเปอยไปอยางที่ควรจะเปน ), รัดประคดและตรา ประทับ ที่เคยอยูในโลงศพของทาน, ผาคลุมที่ทานเองเคยใช (Tunic), กรามของทาน รวมทั้งแขนซายและพระธาตุอื่ น ๆ อีก อยาลืมสวดภาวนาเมื่อมาถึง ที่นี่ นักบุ ญ บอนาแวนตูราเมื่อพบลิ้นของทานไมเนาใน ป ค.ศ. 1263 นั้น ทานไดภาวนาวา: “โอ ลิ้นที่ไดรับพระพร เจาไดสรรเสริญพระเจา และนําพาคนอื่น ๆ ทั้งหลายให สรรเสริญพระองค พวกเราเขาใจแจมแจงแลววา เจาเปนผูมีบุญตอเฉพาะพระพักตร พระเจาไดอยางไร” 3. วัดนอยแมพระดํา (Chapel of the Black Madonna) เคยเปนวัด Santa Maria Mater Domini ทานเคยสวดและประจําที่นี่ ศพของ ทานเคยอยูที่นี่จนถึงป ค.ศ. 1263 กอนยายไปกลางมหาวิหาร ที่นี่เอง ปจจุบัน เปนที่ ฝงศพของบุญราศี Luca Belludi เพื่อนและผูสืบตําแหนงของนักบุญอันตน นักเรียนนักศึกษามักจะมาภาวนาที่นี่ เพื่อวอนขอสําหรับงานยาก ๆ ที่ไดรับมอบหมาย 3


รวมทั้งสําหรับการเตรียมสอบและการสอบ เรายังสามารถเห็นโลงศพที่วางเปลาของ ทานนักบุญอันตนดวย 4. วัดแหงพระพร (Chapel of Benedictions) ผูที่ซื้อรูปพระ สายประคํา วัตถุตาง ๆ ที่ตองการใหเสก ก็จะมาที่วัดนอยแหงนี้ เชื่อกันวา ทานนักบุญอันตนเปนผูเสกใหเอง เราจะพบภาพที่ทานนักบุญเทศนใหปลา ฟงที่เมือง Riminiมหาวิหารใหญมาก มีอีกหลายแหงภายในที่นาชม แตเสนอใหสวด ภาวนาภายในนี้ ให ม าก ๆ เพราะคํ าภาวนาของเราจะได รั บการตอบสนองเสมอ ขอถวายมิสซาที่นี่ไดที่หองซาคริสตี มิสซาแรกของการจาริกแสวงบุญ ปแหงความเชื่อ ขอแนะนําสําหรับการรับพระคุณ การุณยครบบริบูรณ ดังนี้ครับ 1. ตั้งใจเวลานี้เลยวา เราขอรับพระคุณการุณยครบบริบูรณวันนี้ เพื่อ ก. รับการยกโทษของบาปทั้งสิ้นของตัวเราเองหรือ ข. รับการยกโทษบาปทั้งสิ้นของ ผูที่ตายไปแลว (วิญญาณหนึ่งดวงในไฟชําระ นั่นเอง) 2. เยี่ยมชมและรําพึงถึงชีวิตของทานนักบุญอันตน ในมหาวิหารและที่หลุมศพของทาน 3. สวดภาวนาตามจุดประสงคของสมเด็จพระสันตะปาปา ก. บทขาพเจาเชื่อถึงพระเจา ข. บทขาแตพระบิดา ค. บทวันทามารีย ง. พระสิริรุงโรจน 4. แกบาป (กรณีที่มีบาป) และรับศีลมหาสนิทอยงดี ภายใน 7 วัน (แนะนําใหแกบาป กอนเดินทาง) และรับศีลมหาสนิทไดตลอดการเดินทางทุกครั้งที่มีมิสซา ใครตองการ แกบาปเปนภาษาอังกฤษ ก็เตรียมหนังสือ เตรียมรับศีลอภัยบาปที่มีภาษาอังกฤษไปดวย)

II

Abbazia และ Basilica Santa Giustina

ไมไกลจากมหาวิหารนักบุญอันตนมากนัก มีวัดที่นาสนใจมากสําหรับคาทอลิก อีกวัดหนึ่งครับ แปลใหฟงกอนนะครับ แปลวา อารามฤาษีและมหาวิหารนักบุญจุสตินา ในอิตาลีและในยุโรป เราจะพบกับคําวาBasilica หรือมหาวิหารมากมาย มหาวิหารมีทั้ง แบบ major และแบบ minor จะอธิบายตอนนี้ก็จะยาวไป มหาวิหารแหงนี้สรางขึ้นมา จากซากปรั กหั กพั ง ของวิ หารเทพเจ า เป น วิ หารที่ เ กา แก ที่สุ ด และมี ค วามสํ าคั ญ ทาง สถาปตยกรรมมากที่สุดของเมือง ปาโดวา สรางขึ้นราวๆ ศต.ที่ 5 เหนือหลุมศพของ มรณสักขี Giustina ชาวเมืองนี้เองที่ถูกฆาตาย ป 304 สมัยจักรพรรดิ Massimiliano (ปตอมาจักรพรรดิผูนี้พายแพสงครามใหแกจักรพรรดิ Constantino ซึ่งชนะสงครามนี้ 4


ดวยอัศจรรยแหงไมกางเขน ในป 305 ทําใหยุติการเบียดเบียนศาสนาคริสต และให คริสตเปนศาสนาประจําชาติโรมัน) บิดาของ Giustina ชื่อ Vitaliano เปนขาราชการของจักรพรรดิ ไดกลับใจมา เปนคริสตโดยนักบุญ Prosdocimo เปนผูเริ่มสรางสวนสําคัญของวิหาร และตอมาได กลายเปนวิหารที่เปนศูนยกลางของเมืองๆนี้ ตอมาวิหารนี้ ไดสรางอารามเบเนดิกติน ซึ่ง ทําให วิหารนี้มีค วามเจริ ญกาวหนา และเต็ม ไปด วยพระธาตุของบรรดานั กบุญ ตางๆ วิหารนี้ไดรับการบูรณะหลังจากแผนดินไหวในป 1117 เรื่อยมาจนเปนสถานที่เห็นใน ปจจุบันนี้ สําเร็จลงในป 1579 โดยสถาปนิกที่มีชื่อเสียงหลายคนโดยเฉพาะ Andrea Moroni และ Andrea da Valle การตกแตงดานหนาของมหาวิหารนี้ใช เวลานานมาก เพราะใชหินออนสีแดง ของเวโรนา ตกแตงหลังคาดานหนาอยางเดียวถึง 85 ป เพราะใชเงินและวัสดุที่มีราคา แพงจํานวนมาก ที่เมืองนี้ เวลาที่คิดถึงงานที่ทําแลวไมรูจักเสร็จสักที เขาจะมีสํานวนพูด วา longo come a fabrica de Santa Giustina มหาวิหารนี้ มีโดมทั้งหมด 8 โดมดวยกัน และหอระฆังเกาแกที่มีตั้งแตสมัยกลาง ยาวทั้งหมด 122 เมตร แสงสวางเขาทางกระจกที่อยูบโดมใหญเปนอันดับที่ 9 ของโลก ภายในมี Pozzo dei Martiri (1566) มีพระธาตุของนักบุญที่เปนชาวปาโดวา มากมาย ทางดานขวา มีพระธาตุนักบุญลูกา และวัดนอยสําหรับ น. Prosdocimo หลุม ฝงศพของ สาวชาวเวนิช หญิงคนแรกที่จบการศึกษาสูง สุดแบบชาย ในป 1678 ชื่ อ Elena Lucrezia Cornaro Piscopia เสียชีวิต ป 1684 อายุเพียง 38 ปเทานั้น(ศิลาจาริก เปนหินออนสีดํา) อารามฤาษี เ บเนดิ ก ติ น แห ง นี้ ถู กป ด ไปโดย จั กรพรรดิ นโปเลี ย น ในป 1818 เปลี่ยนเปน คายทหารและโรงพยาบาล พวกฤาษีไดรับคืนในป 1919 และฟนฟูอารามขึ้น ใหม ป 1943 ภายในอารามมีศิลปะมากมาย หองสมุดสมัยกลาง ตู ชั้นวางของนโปเลียน สั่งใหปด และขาวของทรัพยสินสําคัญๆ ทางศิลปะ สูญหายไปจํานวนมาก

นักบุญลูกา ผูนิพนธพระวรสาร

นอยคนนักที่จะรูวาศพของนักบุญลูกาไดถูกยายมาอยูที่นี่ ตั้งแตศตวรรษที่ 5 แลว พระสงฆชาวอิตาเลียนบางองคก็ยังไมทราบมากอนเลย พระธาตุของนักบุญลูกา เป นหนึ่ งในจํา นวนไม กี่ คน ที่ ไ ดรั บการยื น ยัน ว าเปน ของแท จากการตรวจสอบทาง วิทยาศาสตรตามการสืบคนทางประวัติศาสตร น.ลูกา เสียชีวิตตอนแก ราวๆ 74-84 ป ที่ Bitinia ราวๆ ป 130 A.D. หองทดลองระบุวา กระดูกนี้เปนของชายอายุประมาณ 80 ป สูง 1.65 ม. มหาวิทยาลัย Padova,Oxford และ Tucson ของ Arizona เห็น เหมือนกันวา อยูในชวงเวลาที่ทานนักบุญเสียชีวิต จากการตรวจสอบ DNA มหาวิทยลัย Ferrara ระบุวา เปนของชาวซีเรีย (เชื้อชาติของ น.ลูกา) ยายจาก Constantinople มาที่ 5


Padova ในหีบตะกั่ว ใหนับจากการเบียดเบียน สมัย Giuliano ซึ่งตองการทําลายพระ ธาตุตางๆ ลงให หมด ใน ศต.ที่ 4 ภายในโลงของท าน นักวิทยาศาสตรพบซากโครง กระดูกของงูอยูสิบกวาโครงและพบวาเปนงูที่มีอยูเฉพาะในเขตเมืองปาโดวาเทานั้นดวย แสดงวาศพของทานไดถูกยายมาอยูที่เมืองนี้แลวตั้งแตศตวรรษที่หา มีหนังสือรับรอง จากจักรพรรดิ ชารลที่ 4 ที่มอบกะโหลกศีรษะใหแก อาสนวิหารแหงปราก ซึ่งเก็บรักษา ไวจนถึง ศต.ที่ 14 และพระผูใหญของอาสนวิหารรับรูถึงกระดูกที่อยูที่ปาโดวา จึงสั่ง กระโหลกมาให ด ว ย และรอยต อ ของกระโหลกกั บ กระดู ก ๆ อื่ น ๆ นั้ น เข า กั น พอดี ทั้งหมดนี้มีหลักฐานทางประวัติศาสตรที่ไดรับการบันทึกไว

III

เวนิซ, Venice, Venezia

มาถึงแลวครับ เมืองเวนิซ ถาจะเรียกใหถูกนาจะเรียกวา นครเวนิซมากกว า เพราะเปนเมืองที่มีอิทธิพลทางการเมือง การคา เศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม การกอสราง วรรณกรรม และสําหรับ พวกเราก็คือ ทางศาสนาดวย นับเปนรัฐที่ไดรับเกียรติพิเศษ จากพระศาสนจักรคาทอลิกเสมอมา พระสังฆราชแหงเวนิซ จะไดรับเกียรติเปนพระคาร ดินัลเสมอมา รูจักกันในตําแหนง Patriarch และหลายๆ องคที่เรารูจักกันดีก็ไดเปน พระสั นตะปาปาและนั กบุ ญดว ย เชน พระสันตะปาปา ป โอ ที่ 10, พระสั นตะปาปา ยอหน ที่ 23 ซึ่งเวลานี้เปนบุญราศีแลว เปนตน เมื่อเราถึ งมหาวิหารนักบุญ เปโตรที่ กรุงโรม เราก็จะเขาไปคํานับและสวดภาวนาตอหนาหลุมฝงศพของพระองคดวยครับ , Pope John Paul I ก็มาจากเวนิซเหมือนกันและกําลังไดรับการดําเนินเรื่องเปนบุญราศี ดวย ผูคนอยากมานครเวนิซ ก็เพราะเหตุผลหลายประการ เรารูจักเวนิซ เพราะการ กอสรางบานเมืองบนน้ําอยางอัศจรรย คูคลองที่มีมากมาย พรอมเรือกอนโดลา ที่มี ชื่อเสียงของความโรแมนติก อยาลืมวา เมืองนี้ เปนเมืองที่กลาวขวัญถึงนักรักกองโลก อยาง คาสโนวา ผลิตผลของงานกระจกแบบ มูราโน การเปาแกว ที่เปนเอกลักษณ ของเวนิซ รวมไปถึงหนากากรูปแบบตางๆ ซึ่งในสมัยกอน โดยเฉพาะในยุคกลาง พวก ขุนนาง เจาครองนครตางชอบจัดงานเลี้ยงเตนรําแบบใสหนากาก นี่แหละรวมไปถึง พระสังฆราช คารดินัล ในสมัยยุคเสื่อมของศาสนาดวย (ที่เสื่อมก็เพราะมีความร่ํารวย มากไป จนลืมฐานะทางศาสนา ไปหนทางของโลกมากไปนั้น ) แตพวกเรามาที่นครแหงนี้ มีจุดมุงหมายที่จะมาสวดภาวนาตอหนาหลุมศพของนักบุญ 2 องคครับ คือ 1. นักบุญมารโก ผูนิพนธพระวรสาร ตนฉบับแหงความเชื่ออีกผูหนึ่ง นักบุญ องคอุปถัมภเมืองเวนิซ ที่จริงเราจะเห็นรูปของนักบุญ Theodore ที่เมืองเวนิซนี้ เพราะ เปนนักบุญองคอุปถัมภของเวนิซองคแรก เปนนักบุญ นักรบชาวกรีก เคยมีวัดนอยมอบ ใหทานนักบุญดวย อยูขางๆวัดนักบุญมารโกหลังปจจุบันนั่นเอง ในป 828-829 ไดมีการ 6


นําพระธาตุของทานนักบุญมารโก มาที่เมืองเวนิซ จากเมือง Alexandria ในประเทศ อียิปต ชาวเมืองและ Doge ผูครองนครรับมาเปน นักบุญองคอุปถัมภของเมือง เพราะ เป น นั กบุ ญ ที่ ทํ า ให แ ถบเมื อ งเวนิ ซ นี้ ก ลั บ ใจ และทํ า ให เ มื อ งมี ค วามสํ า คั ญ จนกระทั้ ง สามารถเปนอิสระจาก Byzantine ได - วัดหลังแรกสรางสมัย ศต.ที่ 9 หลังปจจุบันนี้เปนหลังที่ 2 สรางในศต.ที่ 12 - หินออนและเสาหินตางๆ ถูกนํามาจาก Constantinople ตอนที่สงครามครูเสด เขายึดนครนี้และนําสิ่งตางๆ จากเมืองนี้มาที่ เวนิซมากมาย ป 1204 ครูเสดครั้งที่ 4 (ดานหนาของ มหาวิหารนี้) นอกจากนี้ก็มีรูปสําริดที่เรียกวา Tetrarch เขาใจวาเปนลูกๆ ของจักรพรรดิคอนแสตนติน (เดิมคิดวาเปนผูแทน 4 คนที่ปกครองอาณาจักรโรมัน สมัย Diodetian) เทาขางหนึ่งที่หายไปจากรูปนี้ถูกพบที่เมืองคอนสแตนติโนเปล เปนหลักฐาน ชี้วารูปนี้ ถูกนํามาจากที่นั่นจริงๆ - มา 4 ตัวและสิงโตทองบรอนซมีปกและมีอาวุธ ที่จริ งสิงโตเปนรูปสัญลักษณ ของนักบุญมารโก ถูกยายไป Paris สมัยนโปเลียน ในป 1797 และ พอแตงตั้งลูกเลี้ยง มาครองนครนี้ แลว ไดขยายวัดมารโกและอาคารรอบๆ จตุรัสอีกสวนหนง นโปเลียนจึง ใหยายมาทั้งสี่ตัวนี้ กลับมาไวที่เวนิซทั้งหมด ในป 1814 แตในระหวางการขนยายสิงโต ทองบรอนซแตก ตองซอมจนถึงป 1816 สวนมาทั้งสี่ตัวนั้น ปจจุบันตั้งอยูในพิพิธภัณฑใน มหาวิหาร สวนที่แสดงอยูดานหนามหาวิหารนั้นเปนรูปจําลอง * ที่จริงเวนิซมีที่ใหเที่ยวชมมากมาย เปนเกาะเล็กเกาะนอย นักทองเที่ยวจะชอบไปเยี่ยม ชม มูราโน บูราโนและตอรแชลโล มีวัดวาอารามอยูแทบจะทุกแหงหน มีประวัติศาสตร อันยาวนานมาก มีมนตเสนหในหลากหลายรูปแบบ บางคนอยากจะหยุดเวลาไวที่นี่เลย อาหารทะเลที่นี่แพงมาก โรงแรมในสถานที่ เปนสถานที่ทองเที่ยวแบบนี้ บอกไดเลยวา ไปหาโรงแรมนอกเมืองแลวเดินทางมาเที่ยวดีกวากันเยอะเลยครับ * ถนนที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ Rialto ถนนสินคา การคาขาย และเศรษฐกิจของเวนิซ ลวน สรางโดย Doge สินคาที่ผูคนสนใจจากเวนิซ ก็มีพวกเครื่องแกวมูราโน สวยงามมากครับ แตการขนยาย อาจลําบากหนอย เพราะแตกงาย เนื่องจากการตกแตงที่วิจิตรก็จะมีสวน ที่หักงายมาก แลวก็เปน พวกหนากากรูปแบบตางๆ แตราคาสูงมาก ที่ผานมาก็มีคนไทย ชอบซื้อนาฬิกาที่มีแกวมูราโนประดับอยู สวยและเกดี ราคาตกประมาณ 13 ถึง 15 ยูโร มีแบบและสีใหเลือกมากมาย 2. Basilica San Marco มหาวิหาร น.มารโก - ภายในมหาวิหารมี Treasure และ Museum การตกแตงมหาวิหารแหงนี้ ลวน ถูกนํามาจาก Constantinople จากผลของสงครามครูเสด ครั้งที่ 4 ซึ่งนําโดยชาวเวนิซ

7


เขายึดกรุง Constantinople และนําสมบัติตางๆมาที่เวนิซ สงครามครั้งนั้นไปไมถึง แผนดินศักดิ์สิทธิ์ แตนําความยิ่งใหญมาใหเวนิซอยางมาก - การออกแบบมหาวิหาร เปนรูปกางเขนกรีก มีโดม 5 โดม อยูบนกางเขนนั้น หมายถึง การประทับอยูของพระเจา - ของมีคามากมาย แตมากที่สุดคือ Pala d’Oro ที่ใสพระธาตุนักบุญมารโก เปน ฉากหลังแทนบูชา - มา 4 ตัว ทองบรอนซ นํามาจาก Constantinople, Napoleon นําไป Paris และนํามาคืน หลังจากใหลูกชายเปนผูครองนคร เวลานี้อยูในพิพิธภัณฑ 4 ตัว ภายนอก เปนรูปลําจอง เปน มา 4 ตัว ประดับที่ Arch of Trajen สําหรับการเขาชมมหาวิหาร มีนักทองเที่ยวมาเวนิซจํานวนมากทุกวัน การเขาแถวซื้อบัตร เขาชมภายใน จึงใชเวลามากจนบางคนอาจทอใจได ผูที่ตองการชมจริงๆ จึงควรวางแผน จัดการเวลาใหเ หมาะสมด วย ภายในเขา หา มการบรรยายใดๆ จึง เป นการเยี่ย มชม สวนตัวโดยสวนใหญ 3. San Geremia และ Santa Lucia สถานีรถไฟที่มาถึงเวนิซชื่อวาสถานี Santa Lucia ที่จริงแตเดิมมีวัดนอยนักบุญลูเชียที่นี่ และเมื่อมีการสรางสถานีรถไฟที่นี่ จึงจําเปนตองรื้อวัดออกไป ตอนนั้นก็จําเปนตองยายพระธาตุอัฐิของนัก บุญลูเชียไปไวที่ อื่น และที่นั่น ก็คือ วั ดนักบุญเยเรมีอ า ไมหา งจากสถานี รถไฟมากนั ก เดินถึ งภายใน 5 นาทีเทานั้น - เรื่องที่นาแปลกใจอยูตรงนี้ครับ นักบุญลูเชียเปนชาวเมือง Siracusa ซึ่งอยูที่ เกาะ Sicilia ทางใตของประเทศอิตาลี เปนมรณะสักขีที่เมืองนี้เอง แตทําไมศพของทาน จึงมาอยูที่เมืองเวนิซ นักบุญ Lucia เปนชาวเมือง Siracusa, องคอุปถัมภผูมีปญหาเรื่อง ตา ชื่อเธอมาจากคําวา Lux แปลวา แสงสวางครับ เธอมาจากครอบครัวร่ํารวย Eutichia และ Lucio เปนมารดาและบิดาของเธอ Lucia มาจากจดหมายของ Paolo บุตรแหงความสวาง ถวายตัวแดพระตั้งแตเด็กอยาง ลับๆโดยแมแตแม ก็ไมทราบมากอนวาจะถือความบริสุทธิ์ - เธอกับแมที่ปวยเปนโรคที่รักษาไมได ไปที่ Catania เมืองที่อยูไมไกลจากเมือง ของเธอมากนัก ฉลองนักบุญอากาทา เพราะมีอัศจรรยมากมาย เธอแนะนําแมใหไปจับ หินศพของทาน เพื่อใหหายจากโรค เธอและแมกลับหลับไหลไปภายในวัดอากาทานั้นเอง นักบุญอากาทามาเขาฝนบอกวา ทําไมมาขอใหรักษาแม ในเมื่อเธอเองก็ทําใหหายได และที่ สุ ด แม ของเธอก็ ม องเห็ น ได อ ย า งดี เธอแนะนํ า ให แ ม ข ายทรั พ ย สิ น ทั้ ง หมด แจกจายใหแกคนยากจน - ในสมัยของการเบียดเบียนศาสนา เธอถูกบังคับใหถวายของแดพระเท็จเทียม แตเธอยอมตาย ไมยอมทําตามนั้นดวยการถูกตัดศีรษะ 8


- ศพของเธอถูกฝงไว คาตาคอมบ ภายหลังการเบียดเบียนยายมาอยูวัดนอยที่ สรางเปนเกียรติใหแกเธอ และที่สุดก็ไดสราง Basilica มีอารามดวยที่ Siracusa ตอมา อีกไมนานนัก แขกอาหรั บ บุ กยึ ด Siracusa มี ค นนํ า ศพเธอไปซ อ นไว ในป 1039 กองทัพ Byzantine ไลแขกอาหรับไปได จึงนําพระธาตุไปไวที่ Constantinople และในป 1204 Doge ของเวนิซ หลังจากยึดครองเมืองคอนแสตนติโนเปลแลวนําศพกลับมาที่ Venice พรอมกับพระธาตุของอากาทาดวย แรกทีเดียวอยูที่ San Giorgio Maggiore มี คนมาแสวงบุ ญ มาก จนเกิ ด โศกนาฎกรรมจมน้ํ า ตาย ย า ยมาอยู ที่ วั ด S. Maria Annunziata มีการแหอยางยิ่งใหญ ป 1280 และในป 1313 มีวัด S.Lucia ตั้งอยูในที่ที่ เปนสถานีที่รถไฟมาเวนิซ จนกระทั่งในป 1860 ยายมาที่วัด S.Geremia เพราะตองรื้อวัด ซานตา ลูเชีย เพื่อสรางสถานีรถไฟ บุญราศี Pope John 23 เปนผูแนะนําใหทําหนากาก เงินสําหรับพระธาตุเธอดวย เราจะเห็นที่ใบหนาของทานมีหนากากเงินสวมอยู เราอาจจะไมสามารถถวายมิสซาที่มหาวิหารนักบุญมารโก แตเราก็จะถวายมิสซา ที่วัดซานเยเรมีอา สวดขอทานนักบุญลูเชีย ตัวอยางความเชื่อของเราคริสตชน

IV

Firenze หรือ Florence

ผานมาถึงเมืองฟเรนเซหรือที่รูจักกันในภาษาอังกฤษวา ฟลอเรนซ ก็ตองแวะให สักหนอย ถาไมแวะเลยก็ออกจะเสียดาย แตแวะนานไปก็ไมได เพราะเวลาบังคับมาก เหลือเกิน หากจะชมฟลอเรนซใหจุใจจริงๆ ก็ควรอยูที่นี่เลยอยางนอยก็สามวันครับ แต ถารักศิลปะและศิลปนแบบที่เรียกวาอยูในสายเลือด ก็ตองอยูเปนเดือนๆละครับ ที่นี่มี พิพิธภัณฑและที่แสดงงานศิลปะอยูเกือบรอยแหง มีงานทางสถาปตยกรรมอีกมากมาย พรอมทั้งประวัติศาสตรอันยาวนานของเมืองนี้ มีสถานที่ที่นาสนใจอยูหลายแห ง จะ แนะนําเล็กนอย อยางนอยรูไวใชวานะครับ แหงแรก ขอแนะนําใหรูจักกับ Duomo ของเมืองนี้ เกือบทุกเมืองในอิตาลีจะมี Duomo เพราะคืออาสนวิหาร วัดประจําตําแหนงสังฆราชของเมืองนั่นเอง ที่นี่เขาไม คอยชอบใชคําวา Cathedral หรือ Cattedrale เขาใชคําวา Duomo บางแหงใชจนเปน ชื่อของวิหารไปเลยก็มี เชน Duomo ที่มิลาน เปนตน

Duomo Santa Maria del Fiore

สําหรับวิหารแหงนี้มีชื่อเปนทางการวา อาสนวิหารพระนางมารียแหงดอกไม Santa Maria del Fiore คงมีประวัติเกี่ยวกับที่มาของชื่อนี้ เพราะเปนชื่อแมพระที่เราไม คอยไดยินและรูจัก วิหารนี้สรางโดย Giotto ศิลปนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้น เริ่มสรางในป 1334 และเมื่อเขาตายไป งานนี้ก็สืบตอโดย Andrea Pisano จนกระทั่ง มาถึงสมัยของ Brunelleschi วัดนี้สรางในแบบโกธิคที่มีความหมายว า นําไปสูสวรรค 9


ครับ ลักษณะเดนก็คือศิบปะที่มียอดแหลมนําทุกคนไปหาพระเจา สรางในตําแหนงที่ครั้ง หนึ่งเคยเปนวัดของนักบุญ Santa Reparata องคนี้ก็เหมือนกันครับ ยังไมคอยรูจัก เปนวัดเดิมที่สรางตั้งแตศตวรรษที่ 7 ซากของวัดเดิมนี้ยังถูกเก็บรักษาไวที่วัดนอยใตดิน ของอาสนวิหารนี้เอง แมวาการเขาชมอาสนวิหารจะไมมีคาเขา แตจะลงไปในคริปตใต ดินนี้จะตองเสียสตางค จากภายนอกของอาสนวิหารจุดเดนของวิหารนี้คือ การใชหิน ออน 3 สีคือ สีชมพู สีขาวและสีเขียว ทําใหวิหารดูมีชีวิต ตางจากภายในวิหารที่ใชสีโทน เดียวกันและเรียบงาย ทั้งนี้ เพื่อใหลวดลายของการปูหินโมเสส Mosaic โดดเดนขึ้น นอกจากนี้แสงสว างที่ เขา มาทางหนาต างของวิหาร ยั งชว ยให การชมวิ หารมีรสชาติ เพิ่มขึ้นดวย เหนือทางเขาภายในวิหาร มีนาฬิกาเรือนหนึ่งแขวนอยู ออกแบบในป 1443 โดย Paolo Uccello เวลาของอิตาลีสมัยนั้น ชั่วโมงที่ 24 ซึ่งเปนสิ้นสุดวันคือ เวลาพระ อาทิตยตก นาฬิกาเรือนนี้ถูกออกแบบใหใชเวลาตามนั้น ปจจุบันก็ยังคงทํางานอยูครับ แตใครจะดูออกและเขาใจแคไหนก็คงแลวแตการสังเกตของแตละคนละครับ เขาวิหาร แลวแหงนดูเปนขวัญตาหนอยก็ดีครับ แลวมาเลาใหฟงหนอยวามันทํางานอยางไร จุดเดนของวิหารนี้อีกอยางหนึ่งก็คือ โดมแปดเหลี่ยม ชาวอิตาเลียนเขาเรียกวา Cupola สรางโดย Filippo Brunelleschi ซึ่งชนะการประกวดออกแบบในป 1418 เปน รูปไขและในการยกโดมขึ้น ไมมีการใชนั่งรานอีกดวย โดมนี้ถือวา เปนโดมที่ใหญที่สุดใน โลกสมัยนั้นทีเดียวครับ สรางเสร็จในป 1436 และทําการเสกทันที ทั้งๆที่สวนอื่นๆของ วิหารยังไมเสร็จดีดวยซ้ํา เขาไปในวิหารแลวมองขึ้นไปที่โดมก็ จะพบกับภาพวาดแบบ เฟรซโค เปนการวาดบนปูนที่เปยกหมาดๆ ตองใชความสามารถและการเตรียมการ ลวงหนาอยางดี ภาพจะติดแนนกับปูนนานเทานาน ออกแบบโดย Visari ในป 1572 แต คนวาดคือลูกศิษยของเขาชื่อ Zuccari เสร็จในป 1579 เปนภาพการตัดสินครั้งสุดทาย ของพระหรือที่เราเรียกวา การพิพากษา ประมวลพรอมนั่นแหละครับ ไหนๆก็แหงนหนา ดูที่โดมแลวก็ดูอีกนิดหนึ่ง เราจะเห็นระเบียงใตโ ดมดวย ที่นาสังเกตก็คือระเบียงแปด เหลี่ยมนี้ มีเพียงระเบียงเดียวที่สรางเสร็จ อี กเจ็ดดานยังเปนเพียงหินหยาบๆเทานั้น ไมไดรับการตกแตงอะไร ระเบียงสรางโดย Baccio d’Agnolo ในป 1507 หลังจากสราง เสร็จไปหนึ่งดาน มีคนไปถามความเห็นของ Michelangelo ซึ่งทุกคนเคารพและถือวา เปนปรมาจารยแหงศิลปะ ไมเคิ้ล แอนเยโล ตอบวา มันดูเหมือนกรงจิ้งหรีด คําตอบนี้ ทําใหงานที่เหลือทั้งเจ็ดดานหยุดไปทันทีจนถึงทุกวันนี้ ผูที่ตองการขึ้นไปชมภาพวาดเฟรซ โคชัดๆ และชมวิวเมืองฟเรนเซก็สามารถซื้อตั๋วขึ้นไปชมได ที่นี่ไมมีลิฟทบริการ ตองเดิน ขึ้นบันไดไป มีทั้งหมดแค 463 ขั้นเทานั้นเอง ภาพเฟรซโคนี้ เพิ่งไดรับการทําความสะอาด ลาสุดในป 1996 นี้เอง ใชเงินไปมหาศาล จนกระทั่งชาวเมืองฟเรนเซเองยังตําหนิวา ใช เงินไปมากมาย โดยไมมองความจําเปนของประชาชน ขอแนะนําเฉพาะคนหนุมคนสาว หากมีโอกาสก็ขึ้นไปนะครับ เปนประสบการณที่จะไมมีวันลืมเลย แตถาอายุมากพอควร 10


แลวหัวใจไมดีก็อยาเสี่ยงชีวิตเลยครับ ดูรูปภาพเอาเองดีกวา สวยกวาที่เราจะขึ้นไปดูเอง นะครับ

Baptistery สถานที่ลางบาป

ไมแนใจนักวา จะไดเขาชมหรือไมเพราะตองเสียคาใชจายและมีผูเขาชมมาก แต สถานที่ไมใหญมากนัก นับเปนสิ่งกอสรางที่เกาแกที่สุดหลังหนึ่งในฟเรนเซ ไมรูเวลาที่แน ชัด ในยุคกลางเชื่อกันวา เปนวิหารของชาวโรมันมอบถวายแด เทพอังคารโดยดูจากการ ตกแตงและการออกแบบ แตยังไมมีหลักฐานแนชัดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ในบานเราไมมีที่ลางบาปในลักษณะนี้เลย อยางมากที่สุดก็จะมีอางลางบาปที่ทํา เฉพาะ เพื่อการลางบาปเทานั้น เชน ที่วัดอัสสัมชัญของเรา แตเดิมผูที่ยังไมไดรับศีลลาง บาป ไมสามารถเขารวมในพิธีมิสซาไดเลย พวกเขาตองอยูภายนอกวัด แมแตผูที่กําลัง เตรียมตัวเปนคริสตชนก็ยังเขาไดเพียงบางสวนเทานั้น การลางบาปจึงทํากันภายนอกวัด จึงมีการสรางที่ลางบาปขึ้น และเนื่องจากการลางบาปเปนการเกิดใหมในพระเจา เปน ลูกของพระเจา การสรางนี้จึงสรางอยางสงางามและสมเกียรติ ในอิตาลีที่เรายังพบเห็น อยูก็มีที่ ปซา และที่เมืองซีเอนา จึงไมนาแปลกใจ ที่เราจะเห็นที่ลางบาปแตละแหงสราง อยางวิจิตรบรรจง เพื่อตอนรับตริสตชนใหมนั่นเอง จากนั้นพวกเขาจะสามารถเขาไปใน วัดวิหาร รวมพิธีกรรมอยางสมบูรณ ที่ฟเรนเซนี้ เราจะเห็นการแกะสลักประตูของที่ลางบาปนี้ เปนงานแกะที่สําคัญ ที่สุด ในแควนทัสโคนีเลย ประตูถูกแกะสลัก ทําดวยทองสําริด ประตูทิศใตเปนฝมือของ Andrea Pisano ในป 1336 ประตูทางทิศเหนือและตะวันออกเปนฝมือของ Lorenzo Ghiberti ในป 1427และ 1452 มีชื่อเรียกวา ประตูแหงสวรรค Gate of Paradise นับเปนศิลปะที่ดีที่สุดชิ้นหนึ่ง ประตูแทๆ เวลานี้อยูในพิพิธภัณฑของอาสนวิหาร ที่แสดง อยูภายนอกนี้เปนของจําลอง อีกชิ้นหนึ่งที่แสดงอยูในพิพิธภัณฑก็คือ งานสลักหิน ออนที่ อยูเหนือประตูที่เปนรูปพระเยซูเจารับพิธีลาง ฝมือของ Andrea Sansovino ที่เห็นอยูนี้ เปนรูปจําลองครับ ถาดูไดแคภายนอกก็แนะนําใหไปดูประตูแหงสวรรคนะครับ แม เปนรูปจําลอง แตก็คลายของจริงมากๆ มีทั้งหมด 10 รูปดวยกัน เราคริสตชนดูแลวพอนึกเรื่องออก แตถาไมใชก็คงเขาใจไดยากมาก ดูเอาเองนะครับวา รูปไหนอยูไหน รูปอาดัมกับเอวา กา อินกับอาแบล นอแอเมาเหลา อาบราฮัมและอิซาอัค เอเซากับยากอบ โยเซฟถูกขายเปน ทาส โมเสสกับบัญญัติสิบประการ เมืองเยริโคลมสลาย เดวิดกับโกไลแอท โซโลมอนกับ ราชินีแหงเชบา นอกจากนี้ก็มีงานสลักอีกมากที่สามารถชมไดจากภายนอก เขาไปภายใน กันบาง ถาเขาได เราจะพบงานหินโมสาอิคทั้งที่โดมเองและที่พื้นดวย เปนงานในสมัย ศตวรรษที่ 12 และ 13 มีงานทางดาราศาสตรชิ้นแรกอยูในงาน โมซาอิคครั้งนี้ดวย และ ยังมีงานปนตางๆภายในที่นาสนใจสําหรับผูที่ชื่นชอบศิลปะเปนพิเศษ รวมทั้งงานของ 11


Cimabue ซึ่งเปนอาจารยของ Giotto ผูสรางอาสนวิหารดวย ภายในยังมีหลุมฝงศพ ของ ยอหนที่ 23 ซึ่งเปนแอนตี้โปป และมาตายที่เมืองฟเรนเซในป 1426 เรื่องของแอนตี้ โปปนี้ มีหลายองคมาก เปนเรื่องสมัยที่พระศาสนจักรมีพระสันตะปาปาพรอมกันถึงสอง องค และตอมาพรอมกันถึงสามองค องคที่ไมใชพระสันตะปาปาแทถูกเรียกวา แอนตี้ โปปครับ คิดวาคงจบการชมฟเรนเซแลว ก็อยางที่บอกเขาชมอาสนวิหารไมเสียตัง แตเขา อาจจะขอรองใหเชาหูฟงเพื่อไมไหใชเสียงมากในวิหาร การเขาชมพิพิธภัณฑ การชมวัด นอยใตดิน การขึ้นไปชมโดมและชมวิวเมือง การขึ้นชมวิวเมืองโดยใชทางขึ้นหอระฆัง ชม ที่ลางบาป ลวนแตตองซื้อตั๋ว เขามีหลายประเภท ถาเขาชมทุกอยาง ราคาก็จะถูกลง ครับ ถาซื้ออยางเดียวก็แพงหนอย อิตาเลียนไมแพใครเรื่องการคานะครับ ก็อยางที่บอกครับ ฟเรนเซมีที่นาชมอีกมากมาย แตเฉพาะผูที่มีเวลาและรักศิลปะ อยางเชนที่ Galleria dell’ Accademia ถามใครที่นี่ตองรูจัก เพราะตองการไปดูงานชิ้น เอกของไมเคิ้ล แอนเยโล รูปสลักหินออนเดวิ ด แตเดิมรูปนี้ตั้งอยูที่ Piazza della Signoria ซึ่งตั้งรูปจําลองไวใหชมกันเหมือนกัน พิพิธภัณฑที่มีชื่อเสียงอีกแหงหนึ่งก็คือ Galleria Uffizi อีกแหงหนึ่งที่นาสนใจ ก็คือ สะพานเกา Ponte Vecchio เดิมเปนตลาด ขายเนื้อนะครับ ตอมาเปนที่ขายทองคํา รูปพระทองคําที่นี่ก็ไมเลวเลยนะครับ แตก็แพง มาก เป น สะพานที่ส ามารถชมความงามของเมื องไดจ ากกลางสะพาน วา กั นว าเป น สะพานเดียวที่ไมไดรับความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่ส อง เวลาเย็นคือเวลาที่ สวยงามที่สุด สงสัยเราจะอยูไมถึงเย็นนะครับ ใครที่จะมาอีกครั้งหนึ่งที่นี่ ก็อยาลืมจัด เวลาหลายวันหนอยจะดีกวา สําหรับพวกเราสวดภาวนากันที่นี่ ชมศิลปะทางศาสนาก็อิ่ม ใจแลวละครับ

V

Assisi อัสซีซี

เมื อ งเล็ กๆที่ทั ว ร ไ ทยทั่ ว ไปไม พ านั กท องเที่ ย วมา ยกเว น ทั ว ร ค าทอลิ กเท า นั้ น ผูที่มาก็เปนคาทอลิกที่รูจักหรือรับรูความศักดิ์สิทธิ์ ของนักบุญฟรังซิสแหงอัสซีซีและ นักบุญคลารา ครั้งหนึ่ง เคยมีภาพยนตรเรื่อง Brother Sun and Sister Moon มาฉาย ในเมืองไทยดวย จําไมไดวาตั้งชื่อเรื่องเปนภาษาไทยวาอยางไร ทําใหเรารูจักชีวิตสวน หนึ่งของนักบุญทั้งสองดีขึ้น แนนอนวาหนังเรื่องนี้ไมสามารถทําเงินไดมากนักในบานเรา เราจะมาเยี่ยมนักบุญทั้งสองกันที่อัสซีซี เมืองที่นักบุญฟรังซิสเกิดและตาย เมืองที่เกิด คณะที่เรารูจักในนามคณะฟรังซิสกัน ชื่อคณะคือ Friars Minor หรือภราดานอย

12


Basilica Papale di San Francesco

มหาวิ ห ารแห ง นี้ ว างศิ ล าฤกษ โ ดยพระสั น ตะปาปา เกรโกรี ที่ 9 วั น ที่ 16 กรกฎาคม 1228 วันเดียวกับที่พระองคประกาศใหทานเปนนักบุญ พระองคประกาศดวย วามหาวิหารนี้เปนสมบัติโดยตรงของพระสันตะปาปา มหาวิหารมีสองชั้น ชั้นลางสราง เสร็จในป 1230 และในวันสมโภชพระจิตเจา 25 พฤษภาคม 1230 มีพิธีแหแหนรางกายที่ ไมเนาเปอยของทาน จากที่ฝงศพชั่วคราว ของทานที่วัดนักบุญ George (ปจจุบันก็คือ มหาวิหารนักบุญคลาราแหงอัสซีซี)มาไวที่มหาวิหารชั้นลางนี้เอง ทําไมศพของทานไปอยู ที่วัดชั่วคราว ก็เพราะวา หากไมนําไปซอนแลวศพของทาน อาจถูกขโมยได เพราะทุกคน ตองการพระธาตุของทาน สวนมหาวิหารชั้นบน สรางเสร็จในป 1253 มหาวิหารทั้งสอง ชั้นนี้เสกโดยพระสันตะปาปา อินโนเซนตที่ 4 ในป 1253 จัตุรัสที่อยูหนามหาวิหารเต็มไป ดวยเสาหินมากมายนี้ เปนอาคารที่พักสําหรับผูจาริกแสวงบุญมากมายมหาศาล ที่มายัง สถานที่แหงนี้ ในสมัยพระสันตะปาปา ปโอที่ 9 พระองคสั่งใหสรางวัดนอยใตดินเพื่อเปน ที่เก็บศพของทานนักบุญ และสรางเสร็จสมบูรณในป 1932 โลงศพหินเดิมพรอมทั้งเหล็ก ยึดตั้งแสดงอยูเหนือแทนของวัดนอยใตดินนี้ รอบๆแทนนี้ติดกําแพง เพื่อนๆบราเดอร ของทานนักบุญ ไดถูกนํามาฝงไวที่นี่ดวย มีบราเดอร รูฟโน บราเดอรอันเยโล บราเดอร มาสเซโอ บราเดอรเลโอเน และบริเวณทางเขาวัดนอยใตดินมีที่เก็บศพของสตรีผูหนึ่งชื่อ Jacopa dei Settesoli เปนสตรีสูงศักดิ์ชาวโรมัน เปนเพื่อนที่ซื่อสัตยและผูอุปถัมภ นักบุญฟรังซิสเสมอมา เธอเปนผูที่อยูขางๆทานนักบุญในเวลาที่ทานเสียชีวิต เมื่อพูดถึง มหาวิหารวา เปนมหาวิหารพระสันตะปาปา Basilica Papale ก็ยอมหมายความวา มหาวิหารนี้มีสิทธิพิเศษ การตัดสินใจเกี่ยวกับมหาวิหารนี้ การเปลี่ยนแปลง ตอเติมการ ขออนุญาตตางๆตองมาจากพระสันตะปาปากอนเสมอประหนึ่งวาพระองคเปนเจาวัดเอง ดั ง นั้ น พรที่ ไ ด รั บ จากที่ นี่ ก็ เ ป น พรพระสั น ตะปาปาด ว ยนะครั บ เรามี สิ ท ธิ์ รั บ พระคุ ณ การุณยเสมอทุกครั้งที่มาที่นี่ วันที่ 27 ตุลาคม 1986 พระสันตะปาปา ยอหนปอลที่ 2 จัดใหมีการสวดภาวนา สากล เพื่อสันติภาพที่อัสซีซีโดยมีผูแทนจากศาสนาตางๆทั่วโลก 120 ทาน ทั้งนี้ก็เพราะ บทภาวนาของทานนักบุญฟรังซิส ที่สวดใหเราทุกคนเปนผูนําสันติภาพนั่นเอง บทนี้เราทุก คนคงเคยไดยิน และไดสวดมาแลว มีการนําไปแตงเปนเพลงดวยนะครับ มีขาวดีก็ตองมี ขาวราย วันที่ 26 กันยายน 1997 เกิดแผนดินไหวระดับ 5.5 และ 6.1 ริคเตอรทําใหมหา วิหารเสียหายอยางหนัก ระหวางการสํารวจความเสียหาย ก็เกิดอาฟเตอรช็อค ทําใหมี ผูเชี่ยวชาญและบราเดอรสองทานเสียชีวิตไปดวย ภาพเฟรซโกประวัติชีวิตของทาน นักบุญฝมือของ Giotto ถูกทําลายจากการลมครืนของมหาวิหาร มหาวิหารถูกปดซอม เปนเวลาสองป ที่สุดตามมาดวยขาวดีที่วา องคการสหประชาชาติใหมหาวิหารนี้เปน มรดกโลกตั้งแตป 2000 เปนตนมา

13


เรื่องราวสั้นๆเกี่ยวกับนักบุญฟรังซิส

- วันอาทิตยใบลานป 1211 ที่วัด Santa Maria degli Angeli คลาราขอฟรังซิสรับเขา คณะดวย คลาราไดรับมอบเสื้อนักบวชจากทานนักบุญ ตอมามีนองสาวของคลาราและ เพื่อนๆอีก ขอรวมคณะดวย ที่สุดก็เปนคณะคลาริสต จนถึงปจจุบัน ตอมาก็มีการปฎิรูป คณะจนมีคณะเพิ่มขึ้น เชน คณะกาปูชิน เปนตน - คริสตสมภพป 1223 ที่ Greccio ทานไดทําถ้ําพระกุมารขึ้นเปนครั้งแรก และใชสัตวที่มี ชีวิต มาประกอบถ้ําดวย ในระหวางมิสซารูปพระกุม ารที่ทานอุมอยูไดมีชีวิตในออมแขน ของทานดวย ตั้งแตนั้นมาก็มีธรรมเนียมทําถ้ําพระกุมารในเทศกาลคริสตสมภพ - รอยแผลศักดิ์สิทธิ์ วันที่ 17 กันยายน 1224 สองปกอนที่ทานจะตาย ขณะที่กําลังสวด ภาวนา ทานไดเห็นเทวดาเซราฟมองคหนึ่งถูกตรึงกางเขน กอนที่ภาพนิมิตจะจบก็ปรากฏ รอยแผลที่มือและที่เทาของทาน และสีขางดานขวาก็ปรากฏรอยแผลที่หอกแทงดวย จนกระทั่งวันตายทานพยายามที่จะปดบังรอยแผลนี้อยูเสมอ ดวยเหตุนี้เอง ทานจึงไดรับ ฉายาหนึ่งวา เปน Alter Christus - ทานเจ็บปวยอยูนาน ป 1226 ทานอยูที่เมืองโบโลญา ทานขอกลับไปตายในสถานที่ทาน ชอบเปนพิเศษคือ Porziuncola ทานเสียชีวิตที่นี่เอง วันที่ 3 ตุลาคม 1226 ศพของทานถู ถนํามาที่อัสซีซี มายังวัด San Damiano เพื่อให Chiara และนักบวชในคณะไดคํานับเปน ครั้งสุดทาย แลวจึงถูกนําไปที่วัด San Giorgio

Santa Maria degli Angeli: Patriarchal Basilica and Papal Chapel

มาถึงอัสซีซี ก็ควรมาเยี่ยมวัดที่สําคัญที่สุดอีกแหงหนึ่งของพระศาสนจักรดวยนั่น คือ วัดแมพระแหงเทวดา แปลแบบไทยก็คงเชยแบบนี้ เพราะหาคําตรงๆไมได แตถาพูด ถึงเมืองลอส แอนเจอลีส Los Angeles แลวเราก็คงคุนกันดีนะครับ ตอนที่เสปนตั้งชื่อ เมืองนี้ในทวีปอเมริกา พวกเขานําชื่อนี้มาจากมหาวิหารแหงนี้ โดยกลาวถึงแมพระที่ Porziuncola ซึ่งเปนสถานที่นักบุญ ฟรังซิสพบกระแสเรียกและเปนอารามแหงแรกของ ทานอีกดวย ตั้งอยูภายในมหาวิหารนี้เอง ตอนนี้มารูจักกับ Patriarchal Basilica และ Papal Chapel กันกอนนะครับ มหาวิหารนักบุญฟรังซิสไดรับแตงตั้งเปน Papal Basilica แตมหาวิหารแมพระนี้ เปน Patriarchal Basilica ก็หมายความวา ขึ้นโดยตรงตอผูมีตําแหนง Patriarch หรือ แปลเปนไทยวา สังฆอัยกา เปนตําแหนงเกียรติยศสําหรับเมืองสําคัญๆของพระศาสน จักร ใครก็ตามเปนสังฆราชปกครองเมืองเหลานี้ ก็จะไดรับตําแหนงนี้ รวมถึงตําแหนง พระคารดินัลดวย อยางเชน ที่เวนิซที่เคยเลาใหฟงไปแลว สวน Papal Chapel ก็ หมายความวามหาวิหารนี้ไดรับเกียรติเปนวัดนอยของ พระสันตะปาปาอีกดวย ตามปกติ ผูไดรับตําแหนงจิตตาภิบาลวัดนอยแบบนี้ จะไดรับตําแหนง มอนซินญอร หวังวาคงไม งงกันมากนักนะครับ 14


มหาวิหารนี้ สรางอยูเหนือสถานที่สําคัญๆหลายแหงที่เกี่ยวของกับชีวิตศักดิ์สิทธิ์ ของนักบุญฟรังซิส ทําใหมีผูมาแสวงบุญที่นี่มากมาย หลังจากความตายของทานในป 1226 เรื่อยมา จนในที่สุดพระสันตะปาปา ปโอที่ 5 สั่งใหยายสิ่งกอสรางตางๆ บริเวณนี้ ออกไป เพื่อสรางมหาวิหารในป 1569 การกอสรางเสร็จสิ้นลงในป 1679 ใชเวลารวม นานถึง 110 ปใกลเคียงกับการสรางมหาวิหารนักบุญเปโตรทีเดียว นอกจากนี้ก็มีการตอ เติมสรางเริ่มเรื่อยมา ในที่สุดวันที่ 11 เมษายน 1909 พระสันตะปาปา ปโอที่ 10 ยก ฐานะใหเปน Patriarchal Basilica and Papal Chapel เรามาทําความรูจักกับสถานที่ สําคัญๆภายในกันดีกวาครับ

Porziuncola

เป น สถานที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด สํ า หรั บ คณะฟรั ง ซิ ส กั น เป น ที่ ร กร า งมานาน ท า นพบ กระแสเรียกที่นี่ และกอตั้งคณะภราดานอยของทานที่นี่เอง ในป 1209 อุทิศวัดนอยนี้ใน ความอุปถัมภของแมพระ คณะเบเนดิกตินมอบใหทานทําเปนศูนยกลางของคณะใหม ใน วันที่ 28 มีนาคม 1211 Chiara ขอเขาคณะของฟรังซิสที่นี่ และเธอไดรับเสื้อนักบวชจาก มือของทานที่นี่เองและเปนจุดเริ่มตนของคณะนักบวชหญิง Poor Clare หรือ clarist ตนกําเนิดแรกของคณะกาปูชินที่เรารูจักกันดี เปนสถานที่ไดรับสิทธิพิเศษจากพระเยซูเจาและจากพระสันตะปาปาดวย นั่นคือ สามารถรั บ พระคุ ณ การุ ณ ย ค รบบริ บู ร ณ ไ ด เ สมอทุ ก ครั้ ง ที่ ม าที่ นี่ รู จั ก กั น ในนามว า พระคุณการุณยแหงการยกโทษ Indulgence of Porziuncola คืนหนึ่งในป 1216 ฟรังซิส กําลังสวดภาวนาอยู พลันก็มีแสงสวางเขามา ทานเห็นพระเยซูเจา แมพระและเทวดา มากมายยืนอยูเหนือพระแทนบูชา พระเยซูเจาถามทา นวา ทานจะขออะไร เพื่อความ รอดของวิญญาณทั้งหลาย ทานตอบวา ขาพเจาขอใหทุกคนที่ มาที่นี่ ที่เปนทุกขและรับ ศีลอภัยบาปไดรับการยกบาปและโทษบาปทั้งหมด พระองคตอบวา ที่ทานขอนั้นยิ่งใหญ มาก และทานสมควรที่จะไดรับสิ่งที่ยิ่งใหญและมากกวานั้นดวย เรารับคําวอนขอนี้ แต ทานตองไปขออนุญาตจากผูแทนของเราบนโลกนี้กอนดวย สําหรับพระคุณการุณยนี้ ฟรังซิสไปพบพระสันตะปาปา โอโนรีโอที่ 3 ซึ่งตั้งใจฟงทานและที่สุดก็ใหการรับรอง พระองคถามทานวา ฟรังซิส พระคุณการุณยที่ทานขอนี้สําหรับกี่ป ฟรังซิสตอบพระ สันตะปาปาวา ขาพเจาไมไดขอจํานวนป แตขอวิญญาณ ( non anni, ma anime) ใน วันที่ 12 สิงหาคม1216 พระสันตะปาปาประกาศตอหนาพระสังฆราชของแควนนี้และ ตอหนาคริสตชนที่วัดแหงนี้วา พี่นองของเรา เราตองการสงพวกทานทุกคนไปสวรรค

Il Transito : the transit

เปนซอกหินเรียบๆ ธรรมดาๆ ใชเปนที่พยาบาลรักษาตัวของอาราม ทานมาพัก ที่นี่ในชวงปลายของชีวิต ที่นี่เอง ทานเปลือยเปลาอยูบนพื้นแผนดินที่วางเปลา และ 15


หลังจากไดแตงบทเพลงแหงสิ่งสรางที่ตองตายแลว ทานก็เสียชีวิตที่นี่เอง ในเย็นวันที่ 3 ตุลาคม 1226 ทุกวันที่ 3 ตุลาคม จะมีพิธีเฉลิมฉลองทานนักบุญที่นี่ พรอมทั้งขบวนแห ของสมาชิกฟรังซิสกัน ทานเปนองคอุปถัมภของอิตาลี

Il Roseto กุหลาบแหงอัสซีซี

สถานที่มีกุหลาบนี้ อยูในสวนที่บรรดานักพรตอาศัยอยู ฟรังซิสกําลังถูกประจญ ใหสงสัยและใหตกในการประจญลอลวงเรื่องชีวิตบริ สุทธิ์ ทานตอสูและตัดสินใจกรโดด เขาไปในดงกุหลาบเพื่อเอาชนะการประจญนั้น กุหลาบเหลานั้นไดกลายเปนกุหลาบไร หนามและมีอยูเฉพาะที่อัสซีซีเทานั้น รูจักกันในนาม กุหลาบแหงอัสซีซี ที่มหาวิหารแหงนี้เปนสถานที่สําหรับสวดภาวนา รําพึงถึงชีวิตศักดิ์สิทธิ์ของทาน นักบุญ และเมื่อมาถึงแลว ก็ควรทําพระคุณการุณยดวย เพราะเปนสิทธิพิเศษ บาปทุก บาปไมวาบาปใด สามารถไดรับการยกที่นี่ดวย ที่จริงที่อัสซีซี ยังมีสถานที่สําคัญอีกหลาย แหงสําหรับเรา เชน วัด San Damiano วัดที่พระเยซูเจาตรัสกับทานจากกางเขนของวัด ใหไปซอมแซมบานของพระองค เปนตน ทิ้งบางอยางไวบางก็ดีเหมือนกันนะครับ เพราะ เราจะไดมีเหตุผลกลับมาเยี่ยมที่นี่อีก ดีมั้ยครับ

San Damiano Cross

กางเขนซาน ดามีอาโน หรือที่เรารูจักกันในชื่อ กางเขนนักบุญฟรังซิส สําหรับเรา กางเขนแบบนี้ อาจจะมีรูปรางหนาตาแปลกสักหนอย เพราะเต็มไปดวยเรื่องราว มีรูป บุคคลตางๆมากหลายปรากฏในกางเขนนี้ดวย ที่จริงก็เปนกางเขนศิลปะ ไอคอน เปน ศิล ปะที่ นิย มกัน มากในศตวรรษที่ 12 ใหค วามหมายของเหตุ การณ และให ความเชื่ อ เขมแข็งมากขึ้น นิกายออรโธดอกชอบศิลปะแบบนี้มาก ในยุโรปเองก็มีมากแถบบริเวณ แควนอุมเบรีย อิตาลี เมืองอัสซีซีเองก็อยูในแควนนี้ดวย ชื่อกางเขน ซาน ดามีอาโนก็เพราวา วันหนึ่งฟรังซิสเดินผานวัดนี้ซึ่งเปนวัดเกาแก มากและ ผุพัง ทานไดรับการดลใจใหเขาไปสวดภาวนา คุกเขาตอหนากางเขนนี้ ทานเห็น ริมฝปากของพระเยซูเจาตรัสวา ฟรังซิส จงไปซอมบานของเรา ที่เจาก็เห็นแลววากําลังผุ พังเกือบหมดแลว ฟรังซิสตอบวา ลูกพรอมที่จะทําพระเจาขา ทานทําการซอมแซมโบสถ ซาน ดามีอาโน ตอมาทาน เสริมสรางชีวิตคริสตชน และทานก็สรางพันธกิจของคณะฟ รังซิสกัน พระสันตะปาปาอินโนเซนต ที่ 3 ฝนเห็นมหาวิหาร ยอหน ลาเตรันกําลังจะลม และมีบุรุษรางเล็กมาค้ําไวไมใหลม พระองครับรองคณะและวินัยของคณะฟรังซิสกัน ที่ หนามหาวิหารลาเตรันยังมีอนุสาวรียรูปนักบุญฟรังซิสขอใหพระสันตะปาปารับรองวินัย คณะตั้งอยูดวย ตั้งแตนั้นมากางเขนนี้ไดกลายเปนสัญลักษณแหงพันธกิจของคณะฟรัง ซิ ส กั น เราอาจจะไม ไ ด ไ ปวั ด ซาน ดามี อ าโนนี้ แต เ ราสามารถพบเห็ น และเข า ใจถึ ง ความหมายของกางเขนนี้ ปจจุบันกางเขนที่เคยตรัสกับฟรังซิสตั้งอยูที่วัดนักบุญกลารา 16


เมืองอัสซีซี ถาหากใครมีกางเขนนี้แลวตองการสวดภาวนาแบบที่นักบุญฟรังซิสสอนก็ใช บทนี้นะครับ ขาแตพระเจาผูทรงพระสิริรุงโรจนอันสูงสุด โปรดสองสวางความมืดในดวงใจ ข า พเจ า โปรดประทานความเชื่ อ ที่ ถู กต อ ง ความวางใจที่ มั่ น คงและความรั ก ที่ ค รบ บริบูรณ โปรดประทานความเขาใจและความเฉลียวฉลาด เพื่อขาพเจาจะไดปฏิบัติตาม พระบัญชาอันศักดิ์สิทธิ์และเที่ยงแทของพระองคดวยเทอญ อาแมน

VI

บทนํา

โรมา : นครอมตะ (Città Eterna)

โรมา หรือ กรุงโรม ไดรับฉายาวา อมตะนคร หรือนครที่ไมมีวันตาย เปนศูนย กลางแหงอารยธรรม ศูนยกลางแหงศิลปวัฒนธรรม ศูนยกลางการปกครองและอํานาจ ของอาณาจักรโรมัน นอกจากนี้ ยังเปนศูนยกลางทางศาสนาคริสต นับตั้งแตตนศตวรรษ ที่ 4 เปนตนมาอีกดวย ผูที่มาเยี่ยมชมกรุงโรมจึงมีจุดประสงคแตกตางกัน บางคนมากรุง โรมเพราะศิลปะ บางคนมา เพราะโบราณคดี บางคนก็มาเพราะประวัติศาสตร และ บางคนก็มาดวยเหตุผลทางศาสนา ทุกอยางเหลานี้ กรุงโรมร่ํารวยดวยศิลปะ โบราณคดี ประวัติศาสตร และศาสนาคริสต กรุงโรมจึงเต็มไปดวยเสนห มิใชจากสิ่งของวัตถุแตอยาง เดียว แมกับผูคนและวัฒนธรรมความเปนอยูก็มีเสนหไมแพกัน ผูคนสนใจจะมากรุงโรม สมกับคําโบราณของโรมที่วา : “ถนนทุกสายมุงสูกรุงโรม” ใครก็ตามที่รูเกี่ยวกับศาสตร แขนงตาง ๆ เหลานี้ ยิ่งมีความรูมากเทาใด ก็เที่ยวกรุงโรมดวยความสนุกมากเทานั้น กรุง โรมมีอะไร ๆ ใหคนหาไมรูสิ้นสุดจริง ๆ หากจะถามวาเที่ยวกรุงโรมกี่วันจึงจะพอ ตอบได เลยวาไมมีวันพอ ดวยเหตุนี้ จึงมีผูคนที่ตองการหวนกลับมากรุงโรมอยูเสมอ แตจะทํา อยางไรละ จึงจะไดกลับมาที่โรมอีก และนี่แหละ เปนสวนหนึ่งของฉายาของกรุงโรม “อมตะนคร” เพื่อจะไดพบกับคําตอบ “ทําอยางไรละ จึงจะไดกลับมาที่โรมอีก” ขอนําทานมาให รูจักกับ “น้ําพุเทรวี” (Fontana di Trevi) เพราะที่นี่มีคําตอบ เปนปรัมปราที่เลาขานสืบ ตอกันมา แตก็เลาขานไมเหมือนกันนัก แมจะไมเหมือนกัน แตก็มีสิ่งเหมือนกันก็คือ ทุก ตํานานจะพูดถึงการกลับมา กรุงโรมอีกครั้งหนึ่ง ตํานานเรื่องแรก เลาวา ผูที่โยนเหรียญ 1 เหรียญลงไปในน้ําพุเทรวี จะไดกลับมา กรุงโรมอีกครั้ง แตหากโยน 2 เหรียญจะพบคูครองและไดแตงงาน แตถาใครอยากจะ หยารางกับคูครอง ใหโยน 3 เหรียญ พูดงาย ๆ ก็คือ ใครอยากจะหยารางกับคูครอง ก็ ตองลงทุนมากหนอย ใครจะไปรู อาจจะมีผูคนอธิษฐานเรื่องนี้ไวมากก็ไดนะ 17


ตํานานเรื่องที่ส อง เลา วา ผูที่ โยนเหรี ยญ 1 เหรียญลงไปในน้ําพุเทรวี จะได กลับมากรุงโรมอีกครั้ง แตใครที่ปรารถนาจะไดโชคลาภ ก็ตองโยนเหรียญ 3 เหรียญ ดวยมือขวา โดยโยนผานไหลซายของตน วิธีเดียวที่ทําเชนนี้ได จึงตองหันหลั งใหกับ “น้ําพุเทรวี” เพราะเหตุนี้ ปจจุบันใคร ๆ ที่โยนเหรียญก็มักจะหันหลังใหกับน้ําพุ ที่จริงก็ไม จําเปนนัก แตก็สนุกดีเหมือนกัน เพราะเวลาที่เราหันหลังโยนเหรียญ จะทําใหเราถายรูป ไดสวย และสามารถมองเห็นทั้งหนาเราและก็น้ําพุดวย และก็มีหลักฐานวา เราไดไปโยน เหรียญที่น้ําพุแหงนี้มาแลวดวย ตํานานเรื่องที่สาม เปนตํานานที่เลาอยูในหลักสูตรและในตําราเรียนของอิตาเลียน เลาวา ผูใดปรารถนาจะพบกับรักแท รักเดียวใจเดียว ใหโยนเหรียญ 1 เหรียญ ผูใดปรารถนาจะไดโชคลาภ ใหโยนเหรียญ 2 เหรียญ เลข 2 มีความหมายเทากับ ทวีคณ ู ผูใดปรารถนาจะกลับมาที่กรุงโรมอีกครั้ง ก็ใหโยนเหรียญ 3 เหรียญ เลข 3 มีความ หมายถึงนิรันดรกาล ความหมายนี้อาจจะมาจากความหมายในความเชื่อทางศาสนา คริสตดวย ใครอยากจะเชื่อตํานานใดก็เชื่อได เพราะทั้งหมดนี้ เปนตํานาน (Legend) แตที่ แน ๆ ก็คือ มีการประมาณกันว า แตละวันมีผูโยนเหรียญลงในน้ําพุเฉลี่ยแลววันละ 3,000 ยูโร เหรียญเหลานี้ จะถูกเก็บไปโดยเจาหนาที่ของกรุงโรม บางครั้งก็อาจจะ หลาย ๆ วันติดกัน ในกรณีที่มีนักทองเที่ยวมาก ๆ แตบางครั้งก็เวนระยะดวย กรุงโรม นําเงินทั้งหมดนี้ไปสมทบกองทุนชวยเหลือคนยากจนของกรุงโรม อยางไรก็ตาม ก็มีคน บางคนที่หาทางขโมยเงินเหลานี้ดวยวิธีตาง ๆ อยูเสมอ ขโมยมีอยูทั่วไปจริง ๆ เสนหของ “น้ําพุเทรวี” ทําใหภาพยนตรหลายเรื่องพากันมาถายทําที่นี่ เรื่องที่มี ชื่อเสียงมากหนอย เห็นจะเปนเรื่อง “Three coins in the fountain” และก็เรื่อง “La Dolce Vita” บางคนอานแลวอาจจะรูสึกอยากวายน้ําหรืออาบน้ําที่มีน้ําพุแหงนี้เสียเลย ที่จริง เขาไมมีอนุญาตใหอาบน้ําที่น้ําพุนี้นะครับ ขอมูลบางอยางที่ควรรูเกี่ยวกับ “น้ําพุเทรวี” ก็มีประโยชน อยางนอยก็รูอะไรไว บาง เวลาเลาใหเพื่อน ๆ ฟง จะไดมีเสนหเชนเดียวกับ “น้ําพุเทรวี” 1. ชื่อ Trevi : เทรวี มาจากคําภาษาอิตาเลียน Tre vie หมายความถึง ถนน 3 สาย น้ําพุแหงนี้ สรางตรงจุดเชื่อมตอของถนน 3 สาย และเปนจุดปลายทางของทอสง น้ํา (Aqueduct) ที่มีชื่อวา “Aqua Virgo” ซึ่งเปนทอสงน้ําที่เกาแกที่สุดอันหนึ่งของ กรุงโรม จากจุดนี้ น้ําไดถูกสงไปหลอเลี้ยงกรุงโรมไกลถึง 13 กิโลเมตร ไปถึงบอ อาบน้ําของอากริปปา ซึ่งเปนญาติของจักรพรรดิ Ottaviano ทอสงน้ํานี้ใชงาน ตั้งแตสมัยอาณาจักรโรมันรุงเรือง จนกระทั่งถูกพวกโกธ (Goth) ที่เขาปลนกรุง 18


โรม ไดทําลายไปในป ค.ศ. 537-538 ตามปกติแลว ชาวโรมันจะสรางน้ําพุไวบริเวณ ปลาย ทางของทอสงน้ํา 2. “น้ําพุเทรวี” เปนน้ําพุที่ใหญที่สุดในกรุงโรม โดยใชศิลปะแบบบารอค (Baroque) ศิลปะ แบบนี้ เปนความสงางามและความยิ่งใหญ 3. - พระสันตะปาปา นิโคลาส ที่ 5 ซอมแซมทอสงน้ํา “Aqua Virgo” ขึ้นมาใชการใหม ในป ค.ศ. 1453 และไดสรางน้ําพุขึ้นมา - พระสันตะปาปา อูรบาโน ที่ 8 ใหศิลปนผูมีชื่อเสียงมาก ไดแก Bernini ออกแบบ บูรณะน้ําพุแหงนี้ใหดูตระการตามากขึ้น ในป ค.ศ. 1629 Bernini ไดขยายน้ําพุแหง นี้ และใหหันหนาน้ําพุแหงนี้ไปยังพระราชวัง Quirinale อันเปนพระราชวังที่ประทับ ของพระสันตะปาปา ทั้งนี้ เพื่อใหพระองคสามารถชมความงามของน้ําพุแหง นี้ได (พระราชวัง Quirinale ปจจุบัน เปนวังของประธานาธิบดีแหงประเทศอิตาลี) - ตอมา ในป ค.ศ. 1730 พระสันตะปาปา เคลเมนต ที่ 12 มอบหมายให Nicola Salvi ออกแบบและเสริมสรางน้ําพุนี้ใหเปนศิลปะแบบบารอค งานนี้เริ่มตนขึ้นในป ค.ศ. 1732 และสําเร็จบริบูรณในป ค.ศ. 1762 Nicola Salvi เสียชีวิตกอนงานเสร็จ ผูที่ทําจนงานนี้สําเร็จ ไดแก Giuseppe Pannini 4. ปราสาทดานหลังของน้ําพุ ชื่อเต็มวา Palazzo Conti Duca di Poli เปนปราสาท ประจําตระกูล Conti มีตําแหนงเปนทานดยุค (Duke) 5. ชื่อทอสงน้ํา “Aqua Virgo” มาจากเรื่องเลาที่สืบตอกันมาวา ทหารโรมันไดรับคํา สั่งใหมาหาแหลงน้ํา เด็กหญิงคนหนึ่งไดชี้ใหมาพบแหลงน้ํานี้ และปรากฏวา เปนน้ํา บริสุทธิ์ มีคุณภาพดีมาก จึงตั้งชื่อน้ํานี้วา “น้ําแหงผูบริสุทธิ์” หรือ Aqua Virgo เทากับ Virgin Water เรื่องสุดทายสําหรับคํานํานี้ ก็คือ กรุงโรมมีเสนหมากขึ้นมาก โดยเฉพาะสําหรับ บรรดา คริสตชน เพราะที่นี่เปนศูนยกลางของศาสนาคริสต มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และวัด วาอาราม มีเรื่องราวของพระสันตะปาปา บรรดานักบุญที่มีชื่อเสียงมากมาย โรมเปนจุด ศูนยรวมของวิทยาการความรูดานตางๆและทางดานศาสนาดวย

1. มหาวิหาร (Basilica)

กอ นจะพาชมมหาวิ ห าร ขออธิ บ ายสั กเล็ กน อ ยถึ ง ความหมายของมหาวิ ห าร แต ก อ นจะอธิ บ ายถึ ง เรื่ อ งนี้ ก็ ต อ งบอกกั น ก อ นว า ทางศาสนาคริ ส ต เ ขามี ชื่ อ เรี ย ก “วัด” หลายชื่อและแตละชื่อนั้นก็มีความหมายไมเหมือนกัน ขอเริ่มตั้งแต - Cathedral ภาษาไทยเราเรี ยกว า “อาสนวิ หาร” ภาษาอิ ตาเลี ยนเขาใช คํ าว า Cattedrale (คัทเทดราเล) หรือคําวา Duomo (ดูโอโม) โดยทั่ว ๆ ไป เราหมายถึงวัดประจําตําแหนง ของพระสั ง ฆราชปกครอง ตามปกติ แ ล ว อาสนวิ ห ารจะเป น วั ด ที่ ไ ด รั บ เกี ย รติ สู ง 19


การกอสราง การตกแตงตาง ๆ จึงไดรับการดูแลเอาใจใส และเปนวัดที่มีความสวยงาม เดนสงา เปนพิเศษ - Church ภาษาไทยเราเรียกวา วัดหรือโบสถ ภาษาอิตาเลียนเขาใชคําว า Chiesa (คิเอ-ซา) วัดหรือโบสถนี้จะตองไดรับการกอสรางอยางเปนทางการ มีพระสงฆเจาอาวาส ปกครองดูแล อภิบาลสัตบุรุษของตน ขึ้นโดยตรงตอพระสังฆราชของตนเอง - Chapel ภาษาไทยเราใชคําวา “วัดนอย” ภาษาอิตาเลียนใชคําวา Cappella (คับ-แปลลา) เปนวัดที่ตั้งขึ้น เพื่อใชตามจุดประสงคของคณะนักบวชหรือหนวยงาน องคกรตาง ๆ โดยทั่วๆ ไป ไมมีเจาอาวาสหรือการปกครองดูแลอภิบาลสัตบุรุษเต็มรูปแบบของ “วัด” สวน Basilica ซึ่งผมใชคําวา “มหาวิหาร” นั้น เปนอีกรูปแบบหนึ่งของวัด ผมก็ขอ อธิ บ ายมากหน อ ย เวลาที่ เ ราเยี่ ย มชมวั ด ต า ง ๆ ในยุ โ รป เราก็ จ ะได มี ค วามเข า ใจ ความสําคัญของสถานที่ไดมากขึ้น การใชคําวา "มหาวิหาร" เพื่อใชแทนความหมายของคําวา “Basilica” อาจจะเปน การใชคําที่ไมถูกตองตามความหมายที่แทจริงมากนัก แตก็ไมผิดไปจากความหมายแบบ คริสตชนจนเกินไป ทั้งนี้ เปนเพราะวา เราจําเปนจะตองแยกแยะความหมายของคําๆ นี้ เปน 2 ความหมาย คือ ความหมายดั้งเดิม และความหมายแบบคริสตชน ความหมายดั้งเดิม คําวา Basilica เปนคําภาษากรีก ภาษาลาตินใชคําวา “Basilica” หมายถึงรูปแบบ ของสิ่งกอสรางสาธารณะแบบโบราณ เปนศิลปะการกอสรางแบบผสมผสานกันระหวาง กรีกและโรมัน เพราะเหตุวา ในสมัยที่จักรวรรดิโรมันเรืองอํานาจนั้น อิทธิพลของกรีกได เขามาอยูในอารยธรรมของชาวโรมัน และในทางตรงกันขาม อิทธิพลของโรมันก็ไดเขาไป อยูในอารยธรรมของกรีกดวย ศิลปะการกอสรางแบบนี้เริ่มตนที่เมืองเอเธนส (Athens) ในประเทศกรีก แตในสมัยอาณาจักรโรมันเรืองอํานาจ มหาวิหารแหงแรกที่เราสามารถ พบได คือ มหาวิหารที่เมืองปอมเปอี (Pompei) ซึ่งตามหลักฐานที่ไดมาจากการศึกษา ที่เมืองปอมเปอีนี้ ปรากฏวา มีมหาวิหารที่นี่ ในป 78 กอนคริสตศักราช แตหาก พิจารณาจากศิลปะ การเขียนตัวอักษร การตกแตง ฯลฯ แลว ก็ทําใหสรุปไดวา มหาวิหาร แหงนี้มีมาตั้งแตศตวรรษที่ 2 กอนคริสตศักราช และถือวาไดเลียนแบบมาจากมหาวิหาร ที่เมืองเอเธนส ตามความสําคัญของมหาวิหารที่เมืองปอมเปอีนี้ ยังไดแก การเปนแมแบบ ของมหาวิหารอื่น ๆ ทั้งในโลกตะวันออกและในโลกตะวันตกดวย ป 47 กอนคริสตศักราช จักรพรรดิซีซาร (Caesar C.) ไดสรางมหาวิหารที่เมืองอันทิโอก (Anthioch) ในโลกตะวัน ออก เพราะตองการใหอารยธรรมโรมันเขามามีอิทธิพลอยางเต็มที่ในโลกของชาวกรีก

20


1. จุดมุงหมายของการสรางมหาวิหารตามความหมายดั้งเดิม ชาวโรมันสมัยโบราณใชชื่อมหาวิหาร “Basilica” เพื่อหมายถึงสิ่งกอสราง สาธารณะเพื่อใชเปน Corpus Iuris หรือ Law Court ทําการตัดสินความตาง ๆ และ เนื่องจาก ชาวโรมันกุมอํานาจทั้งหมดในดานการคาเอาไว การตัดสินความตา ง ๆ สวนใหญจึงเปนเรื่องของการคา นอกจากนี้ ยังเปนที่รวมของการคาในรูปแบบตาง ๆ ดวย เพราะตามโครงสราง มหาวิหารจะมีสวนหนึ่งใชสําหรับคาขาย (Commercial Exchange) 2. โครงสรางของมหาวิหารตามความหมายดั้งเดิม ตามกฎเกณฑแลว มหาวิหารจะตองถูกสรางขึ้นโดยมีชองทางเดินตรงกลาง ใหญ มีกําแพงสูงประกอบอยูทั้ง 2 ขาง และชองทางเล็ก โดยมีกําแพงที่ต่ํากวา ขนานอยูทั้ง 2 ขางของชองทางเดินใหญนั้น ชองทางเดินเหลานี้จะถูกแบงออกโดย เสาหิน และโดยสวนใหญ (แมวาจะไมเสมอไป) ตอนปลายสุดของชองทางเดินกลาง ใหญ จะมี ที่ทําการบริหารด านความยุ ติธรรมหรื อศาล โดยมี บัลลังกผูตั ดสิ นความ ตั้งอยู นอก จากนี้ ยังมีสวนที่แยกออกจากชองทางเดินตรงนี้ เพื่อใชดานการคาขาย หรือเปนที่สาธารณะดานตางๆ เรียกรวมๆ วา “ฟอรุม” (Forum) หลายครั้งจึงถูก เรียกพรอมๆ กันวา Forum et Basilica เชน ที่ Forum Romanum มี Basilica Giulia, Basilica di Costantino เปนตน ความหมายแบบคริสตชน เราไมพบความหมายของมหาวิหารแบบคริสตชนนี้ กอนสมัยจักรพรรดิคอนสแตน ติน (Constantine) ความหมายของมหาวิหารแบบคริสตชนนี้ เริ่มมีมาตั้งแตศตวรรษที่ 4 โดยใชศิลปะกรีก-โรมัน นักเขียนตาง ๆ ในศตวรรษที่ 4 ถึงศตวรรษที่ 6 ใชคําวา “มหาวิหาร” ในลักษณะตาง ๆ กันไป เชน ใชในความหมายของบาน ความหมายของวัด ไมไดหมายถึงเฉพาะสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา แตยังหมายถึงที่อยูของพระสังฆราช ดวย ความหมายของมหาวิหารจึงแตกตางจากซีนาโกก (Sinagoque) ของชาวยิว เพราะ ซีนา โกกหมายถึงที่ชุมนุมของหมูคณะเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา แตมหาวิหารหมายถึง การสถิตอยูอยางลึกลับของพระ โดยมีพระสังฆราชเปนประธาน และควบคุมดูแลหมู คริสตชน จุดมุงหมายของการสรางมหาวิหารตามความหมายแบบคริสตชน จึงเปนการสราง เพื่อเปนสถานที่นมัสการพระเจา โครงสรางของการสราง พวกคริสตชนไดใชลักษณะของการกอสรางแบบกรีก-โรมันนี้ ผสมผสานกับลักษณะ บางอยางของวัดนอย (Chapels) ที่พวกคริสตชนสมัยถูกเบียดเบียนไดสรางไวในกาตาคอมบ (Catacomb) และตั้งแตหลังการเบียดเบียน คือตั้งแตหลังการกลับใจของจักรพรรดิ 21


คอน สแตนติ น พวกคริสตชนก็ไ ดใชเพื่ อเปน สถานที่ นมัสการพระเจา โดยมี ลักษณะ การสรางโดยทั่ว ๆ ไปดังตอไปนี้ : 1. มีชองทางเดินกลางและขาง ๆ โดยมีแนวเสาหินแบงออก มีประตูที่จะนําไปสูมหาวิหาร และชองทางเดินเหลานี้อยางนอย 3 ประตู นอกจากนี้ ยังมีลานกวางภายนอกเพื่อใช เปนที่สาธารณะตางๆ (forum) 2. มี แ ท น ที่ แ ยกออกจากกํ า แพง สร า งอยู ภ ายในมหาวิ ห าร โดยมี ป ะรํ า คลุ ม แท น ไว ภายใตแทนจะเปน Confessio ซึ่งมักจะใชเปนที่เก็บรางกายหรือพระธาตุขององค อุปถัมภ หรือเปนตําแหนงที่เกิดเหตุการณสําคัญ ๆ เชน Confessio ของมหาวิหาร นักบุญ เปโตร เปนที่ฝงศพของทานนักบุญเปโตร เปนตน 3. ที่นั่ง หรือ บัลลั งกข องพระสังฆราชจะตั้ งอยูที่กํ าแพงดา นหลั งที่ เปน มุขยื่ นออกไป โดยมีที่นั่งของพวกนักบวชอยู 2 ขาง เปนรูปครึ่งวงกลม และพระสังฆราชหันหนา เขาหาสัตบุรุษ เราสามารถสังเกตไดวา ที่นั่งของพระสังฆราชนี้ ก็คือที่นั่งของ ผูพิพากษาในความหมายแบบดั้งเดิ ม ทั้งนี้ เพื่อควบคุมประชากรของพระ อีก ประการหนึ่ง พิธี กรรมที่พระสังฆราชจะทํา ก็กระทําตอหนาสัตบุรุษ มิใชหันหลังให การตกแตงอื่น ๆ ภายในมหาวิหารก็มีแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับจุดประสงคของ การสราง และตําแหนงทางภูมิศาสตร แนวทางดานสถาปนิกก็แตกตางกันไป ขึ้น อยูกับ จุดประสงคของการสรางดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม การสรางมหาวิหารถูกเรียกวา เป น รู ปแบบแรกของโครงสร า งที่ ถู กสร า งขึ้ นสํ า หรับ การนมั ส การพระของคริ ส ตชน เป น ชื่ อ ที่ ถู ก มอบให กั บ วั ด ต า งๆ ที่ มี ค วามเก า แก มี ศั ก ดิ์ ศ รี มี ค วามสํ า คั ญ ทาง ประวัติศาสตรหรือทางเทววิทยา หรือมีความหมายในฐานะเปนศูนยกลางพิเศษของการ นมัสการพระเจา ชนิดของมหาวิหาร ในสมัยปจจุบันนี้ มหาวิหารมีอยู 2 ชนิดใหญ ๆ คือ Major และ Minor Major Basilica มีพระแทนของพระสันตะปาปา และอาจจะมีประตูศักดิ์สิทธิ์ดวย เพื่อจะเปดรับ ปศักดิ์สิทธิ์ ในบรรดามหาวิหารแบบนี้ที่เรารูจักกันดี ไดแก Patriarchal Basilicas หรือจะ แปลเปนภาษาไทย คงแปลไดวา “Basilica แหงอัยกาของพระศาสนจักร” 1. มหาวิหารนักบุญยวง ลาเตรัน (St.John Lateran) เปนมหาวิหารเอก เปนมารดาของ พระศาสนจักร ไดรับเกียรติสูงสุดในพระศาสนจักร เป นมหาวิหารของสังฆอัยกา (Patriarch) แหงพระศาสนจักรตะวันตก หรือพระสันตะปาปา 2. มหาวิหารนักบุญเปโตร(St.Peter) เปนมหาวิหารสําหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แหง คอนสแตนติโนเปล (Constantinople) 22


3. มหาวิหารนักบุญเปาโล (St.Paul) นอกกําแพง สําหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แหง อเล็กซานเดรีย (Alexandria) 4. มหาวิหารแมพระ (Santa Maria Maggiore) สําหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แหง อันทิโอก (Anthioch) พระแทนของพระสันตะปาปาที่กลาวถึงนี้ มีแตพระสันตะปาปาและผูรับมอบอํานาจ โดยตรงเทานั้นที่จะประกอบพิธีบนพระแทนนี้ได Minor Basilica ไดรับสิทธิพิเศษตาง ๆ เกี่ยวกับการจัดพิธีหลาย ๆ อยางในมหาวิหาร มีจํานวน มากมาย ทั้งที่กรุงโรมและที่อื่น ๆ ทั่วโลก เปนที่นาสังเกตวา วัด St. Francis และ St. Mary of the Angels ที่เมืองอัสซีซี (Assisi) ถูกจัดเปน Major Basilica อีกประการ หนึ่ง สังคายนาสากลที่เมือง Ferrara-Firenze-Rome ป ค.ศ. 1439 ไดรวมพระศาสน จักรตะวันตกและตะวันออกเขาดวยกัน ดังนั้น มหาวิห ารที่ถูกมอบใหกับ สังฆอัยกา (Patriarch) ตาง ๆ จึงเปนเพียงเกียรติและศักดิ์ศรีที่มอบใหเทานั้น

2. มหาวิหารนักบุญเปโตร (Basilica S. Pietro)

มหาวิหารนักบุญเปโตร มีความสําคัญอยางยิ่งในพระศาสนจักรคาทอลิก เพราะ เหตุวา : 1. เป น สถานที่ นั ก บุ ญ เปโตร (St.Peter) ได พ ลี ชี พ เป น มรณสั ก ขี ด ว ยการตรึ ง บนไม ก างเขน โดยศี ร ษะลงดิ น ในระหว า งการเบี ย ดเบี ย นศาสนา ในสมั ย ของ จั ก รพรรดิ เ นโร ราว ค.ศ. 64 นั ก บุ ญ เปโตร เป น ผู ที่ มี ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง ใน พระศาสนาจักรคาทอลิก เพราะทานเปนพระสันตะปาปาองคแรก เปนผูแทนของ พระเยซูเจาบนแผนดินนี้ 2. เป น ผู แ ทนและศู น ย ก ลางของพระศาสนจั กรคาทอลิ ก ทั้ ง ทางด า นพิ ธี ก รรม ขอความเชื่อและ การบริหาร อีกทั้งที่ประทับขององคพระสันตะปาปาก็อยูบริเวณ เดียวกัน 3. เปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และเปนเงื่อนไขหนึ่งในการแสวงบุญของบรรดาคริสตชน 1) อนุสาวรียรูปเสาแหลม (Obelisk) - บริเวณปจจุบันที่เปนจตุรัสเซนตปเตอร แตเดิมเปนสนามกีฬาของชาวโรมัน มีชื่อวา สนามกีฬาคาลิโกลา ซึ่งจักรพรรดิคาลิโกลา (Caligola) ไดทรงสรางขึ้นในป ค.ศ. 33 และตองการตั้งเสาหินที่เรียกวา Obelisco นี้ที่กลางสนาม เพื่อเปนศูนยกลางของ สนามกีฬา เสาหินนี้ ไดถูกสรางขึ้นที่ Eliopoli ในประเทศอียิปต โดย Pharaoh Pheros และถูกยายมาที่เมืองอเล็กซาน เดรีย จักรพรรดิคาลิโกลาทรงมีรับสั่งให ยายจากเมืองอเล็กซานเดรีย มาที่กรุงโรม ในสมัยกลาง ที่กรุงโรมมีตํานานเรื่องหนึ่งเลาวา เสาหินนี้ถูกสรางขึ้นโดยกษัตริย ซาโลมอน และฝุนขี้เถาของกษัตริยซาโลมอนถูกเก็บรักษาไวในกลองทองแดง 23


ซึ่งอยูบนยอดเสาหินนี้ ตอมา จูลีอุส ซีซาร มาที่กรุงเยรูซาแลม ไดสั่งใหยายเสา หิ น นี้ ม าที่ ก รุ ง โรม และได เ อาขี้ เ ถ า ของกษั ต ริ ย ซ าโลมอนออกไป เมื่ อ ซี ซ าร สิ้นพระชนมแลว ไดมีรับสั่งใหนํากระดูกของพระองคมาใสแทนที่ ถึงแมวาเรื่องนี้ จะเปนตํานานที่เลาสืบกันมา แตบนเสาหินนี้มีอักษรลาตินจารึกไววา : “ซีซารเปน บุคคลที่ยิ่งใหญเทียบเทากับโลก และเวลานี้ ถูกเก็บอยูในกลองขางบนนี้” ถึงกระนั้นก็ดี เมื่อมีการสรางมหาวิหารใหม และตองทําการยายเสาหินนี้ โดย Domenico Fontana เขาพบวากลองขางบนนี้เปนกลองที่ไมสามารถบรรจุสิ่ง ใดไวภายในไดเลย พระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 ไดนําเอาพระธาตุไมกางเขนของพระเยซูเจา มาบรรจุไวภายในกางเขนบรอนซที่อยูบนยอดของเสาหินนี้ - สนามกีฬาที่จักรพรรดิคาลโกลาไดสรางขึ้นนี้ ตอมา ไดชื่อวาสนามกีฬาของจักรพรรดิ เนโร เพราะที่นี่เอง ในสมัยที่มีการเบียดเบียนพวกคริสตัง สาเหตุมาจากจักรพรรดิ เนโรเผากรุงโรม และปายความผิดใหกับพวกคริสตัง ไดมีการทรมานและฆาพวก คริสตังอยางทารุณมากมาย และในสนามกีฬาแหงนี้เองที่เปนสถานที่ใชตรึงกางเขน นักบุญเปโตร เลากันวา มีมรณสักขี ที่สนามกีฬาแหงนี้หลายรอยคน แตไมทราบ จํานวนที่แนนอน นอกจากนี้ ยังเปนสถานที่ใชฝงศพของนักบุญเปโตร ซึ่งอยูใกล ๆ กับบริเวณที่ถูกตรึงกางเขนดวย 2. หลุมฝงศพของนักบุญเปโตร - สมัยเบียดเบียนโดยจักรพรรดิวาเลรีอาโน (Valeriano) ป ค.ศ. 258 พวกคริสตังได ยายศพของนักบุญเปโตรมาอยูที่กาตาคอมบเซบาสเตียน และอีก 60 ปตอมา พระสันตะปาปาซิลเวสโตร ที่ 1 (Silvestro I) ไดยายศพมาอยูที่วาติกันอยางเดิมมี เรื่องเลาวา ความศรัทธาตอนักบุญเปโตรมีมากในสมัยนั้น จนถึงกับมีการแยงชิง พระธาตุกันจากพระศาสนจักรตะวันออก รวมทั้งประเทศตาง ๆ ในยุโรปสมัยนั้น เชน ฝรั่งเศส อังกฤษ - อยางไรก็ดี ความเชือ่ ที่วาศพของนักบุญเปโตรถูกฝงที่นั่น ยังคงมีอยูตลอดเวลา แต การคนหาหลุมศพของทานนักบุญอยางจริงจัง เริ่มมีขึ้นในป ค.ศ. 1939, 1950 และ ในป ค.ศ. 1953 ก็คนพบหลุมศพนี้ ในป ค.ศ. 1962 ไดมีการนําเอากระดูกออกมา เพื่อพิสูจน และมีการถกเถียงกันตาง ๆ นานา ในที่สุด พระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ไดใหการรับรองอยางไมเปนทางการวา พระธาตุเหลานี้คือพระธาตุของนักบุญเปโตร ปจจุบัน ก็ยังคงมีการทํางานนี้ ศึกษา คนควากันอยูตอไป 3. มหาวิหารแรกเริ่ม สรางโดยจักรพรรดิคอนสแตนติน ตามความปรารถนาของพระมารดา คือ พระนางเฮเลนา และของพระสันตะปาปา ซิลเวสโตร ที่ 1 ในป ค.ศ. 326 และสราง เสร็จในป ค.ศ. 349 (23 ป) โดยสรางคลุมหลุมฝงศพของนักบุญเปโตร ดังนั้น จึง ตองรื้อสนามกีฬาของจักรพรรดิ เนโรออกไป ดานหนาของมหาวิหารสรางเปนวังที่ ประทับของพระสันตะปาปา

24


ป ค.ศ. 848 ไดเกิดเพลิงไหมที่วงั ของพระสันตะปาปานี้ แตมหาวิหารรอดพน จากเพลิงไหมครั้งนี้ ชาวโรมันเชื่อกันวา นี่เปนเพราะพระสันตะปาปา เลโอเน ที่ 4 ได หยุดเพลิงไหมครั้งนี้ดวยการทําเครื่องหมายกางเขน 4. การสรางมหาวิหารในปจจุบัน ป ค.ศ. 1451 พระสันตะปาปา Niccolus V (ค.ศ. 1447-1455) ไดมอบหมาย ให Leon Battista Alberti สํารวจสภาพของมหาวิหาร พบวา สภาพของตัวอาคาร ทรุดโทรมมาก จนไมสามารถที่จะซอมแซมได สิ่งเดียวที่สามารถทําไดคือ การสราง มหาวิหารหลังใหม มิฉะนั้น มหาวิหารเกานี้อาจจะลมพังลงมาได พระสันตะปาปาจึง มอบให Bernardo Rossellino เปนผูออกแบบกอสราง พระองคตองการใหสราง มหาวิหารหลังใหมโดยใชโครงสรางเดิม อยางไรก็ดี พระองคไดสิ้นพระชนมกอน เรื่อง นี้จึงหยุดพักไป พระสันตะปาปา จูลีอุส ที่ 2 (ค.ศ. 1503-1513) เปนพระสันตะปาปาที่รักงาน กอสรางและงานศิลปะ พระองคไดรวบรวมนักศิลปะชื่อดังหลายทาน มารวมทํางาน กับพระองค เช น ไมเคิลแองเจลโล ราฟาแอลโล และบรามันเต ไดมอบหมายให บรามันเต วางแผนสรางมหาวิหารนักบุญเปโตรหลังใหม มีพิธีวางศิลาฤกษวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1506 และเตรียมหาเงินสําหรับการกอสรางดวยการขายพระคุณการุณย ซึ่งตอมาเปนที่วิพากษวิจารณอยางหนักโดยพวกโปรเตสแตนทลูเธอรัน การออกแบบมหาวิหารหลังใหมนี้ กําหนดใหเปน 4 สวน คลายกับรูปทรงของ ไมกางเขน หมายถึง 4 มุมของโลก และโดม (Cupola) ที่อยูตรงกลางนั้น หมายถึง สวรรค บรามันเตเปนผูออกแบบ Cupolo หรือโดมยักษที่เราเห็นในปจจุบัน ผูรับงาน ตอมาไดแก Antonio da Sangallo ป ค.ศ. 1546 ไมเคิล แองเจลโล ไดรับมอบหมาย และรับงานอยางไมเต็มใจจากพระสันตะปาปา เปาโล ที่ 3 (ค.ศ. 1534-1549) เขา ทํางานชิ้นนี้โดยไมรับเงินและรางวัลตอบแทน แตทําเพราะความนบนอบตอพระ สันตะปาปา และ "เพื่อพระสิริมงคลของพระเจา เพื่อเปนเกียรติแดนักบุญเปโตร และ เพื่อความรอดของวิญญาณ" หลังจากไมเคิล แองเจลโล แลว งานนี้ถูกมอบตอมาโดย Giacomo della Porta ในสมัยพระสันตะปาปา ซีสตุส ที่ 5 (ค.ศ. 1585-1590) งานสรางโดมมหา วิหารนี้สําเร็จเรียบรอย ในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1590 (ใชเวลาในการกอสรางถึง 84 ป) การเคลื่อนยายเสาหิน (Obelisco) จากดานซายของมหาวิหาร มาไวที่กลาง จตุรัส ทําโดย Domenico Fontana ในป ค.ศ.1585 ตามดําริของพระสันตะปาปา ซิสโต ที่ 5 ใชคนถึง 800 คน และมา 140 ตัว โดยใชกลองตีเปนจังหวะเพื่อใหสัญญาณ ใน ระหวางที่ทําการเคลื่อนยายเสาหินนี้ ผูทําการเคลื่อนยายตองมีสมาธิ ตองไมถูกรบกวน โดยเสียงจากภายนอกเลย พระสันตะปาปาออกคําสั่งและคาดโทษถึงตาย หากผูหนึ่ง ผูใดเขามารบกวนการเคลื่อนยายนี้ หรือกอใหเกิดเสียงรบกวนก็ตาม

25


งานกอสรางตัวมหาวิหารก็เริ่มตอไป ที่สุดในป ค.ศ. 1614 Carlo Maderno ก็ทําการสรางดานหนา (Facciata) ของมหาวิหารเสร็จ Gian Lorenzo Bernini ได สรางแขนของมหาวิหารดวยเสาหิน ระหวางป ค.ศ. 1656-1667 แบรนินี เปนผู สราง แนวเสาหิ น ที่ เ ราเรี ย กกั น ว า “อ อ มแขนของพระศาสนจั ก ร” ในระหว า งป 1656 ถึง 1667 ทําใหมหาวิหารเปนดังมารดาของพระศาสนจักร และอาแขนตอนรับทุกคน เขามาในพระศาสนจักรนี้ ไมวาจะเปนบรรดาคริสตชน พวกเฮเรติ๊ก (ผูยึดถือความ เชื่อคาทอลิกแบบไมถูกตอง) หรือผูที่ไมมีความเชื่อเลย หรือมีความเชื่อตางศาสนา เปนแนว คิดที่แบรนินี เปนผูแสดงออกมาใหทราบดวยตนอง อันที่จริง แบรนินีมี โครงการที่จะทําแนวเสาหิน แนวที่ 3 คือ เพื่อเปนแนวปด Piazza หรือลานหนา มหาวิหารดวย แตแบรนินีก็เสียชีวิตกอนที่จะเริ่มตน และโครงการนี้เปนโครงการ เดียว ซึ่งยังไมมีใครทําใหสําเร็จเลย บริเวณกลางลานมหาวิหาร มีจุดใหชมแนวเสาหินของทั้ง 2 ดาน แนวเสาหิน ทั้ง 2 ดานนี้ ประกอบไปดวย แนวเสาหิน 4 ตน แตจากจุดชมแนวเสาหินนี้ จะเห็น เสาหินเพียงตนเดียวเทานั้น นับวา ทั้งการออกแบบและการกอสรางจะตองเปนไปดวย ความถูกตอง แมนยํา และนาอัศจรรยใจอยางยิ่ง ความสมบูรณของโครงสรางมหา วิหารนี้มาเสร็จเอาจริง ๆ ในป ค.ศ. 1784 โดย Carlo Marchionni เมื่อเขาสรางหอง ซาคริสเตีย (Sagrestia) เสร็จลง (รวมเวลา 278 ป) งานทั้งหมดนี้สิ้นคาใชจายในการกอสราง 46,800,488 scudi (มาตราเงินสมัย โบราณ) แตพระศาสนจักรไดจายสําหรับงานนี้คือการแยกตัวออกไปของโปรเตสตันท ลูเธอรัน นับวา เปนการสูญเสียความเปนสากล (Universality) Bernini สรางและ ออกแบบวงแขนโดยใชเสาหิน เพื่อเปนเครื่องหมายถึงการเปดแขนรับมนุษยชาติเขา มาสูความรอด โดมนั้นเปรียบเหมือนกับศีรษะ (แตดูเหมือนวาโครงสรางนี้กอใหเกิด ผลตรงขามแลว) เรื่องการแยกตัวของพวกโปรเตสตันทนี้เปนเรื่องยาวและซับซอน มาก ผูที่สนใจจะตองศึกษาเพิ่มเติม มหาวิหารไดรับการเสกโดยพระสันตะปาปา อูรบัน ที่ 8 ในวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1626 นับตั้งแตการวางศิลาฤกษ เมื่อป 1506 จนถึงไดรับการเสกในป 1626 รวมเวลาการกอสรางทั้งสิ้น 120 ป เฉพาะการสรางโดม (Cupola) ใชเวลาทั้งสิ้น 84 ป หากนับตั้งแตการวางศิลาฤกษจนถึงการสรางออมแขนเสาหินเสร็จ ใชเวลาทั้งสิ้น 161 ป และหากนับการสรางทั้งสิ้นจบสิ้นลงโดยสมบูรณในป 1784 แลว มหาวิหารนี้ ใชเวลาสรางทั้งสิ้น 278 ป มหาวิหารนี้บรรจุคนได 20,000 คน มีความยาว 190 เมตร กวาง 58 เมตร ความสูงจนถึงกางเขนยอดโดม รวม 136 เมตร

26


5. สถานที่สําคัญๆ ในมหาวิหาร - ศิลปะที่อยูเหนือแทนพระจิตนั้นมีชื่อวา Gloria ผลงานของ Bernini เปนแทนที่อยู ดานลึกสุดของมหาวิหาร เปนที่ตั้งบัลลังกของนักบุญเปโตรที่เรียกวา Cattedra di S. Pietro แตผลการศึกษาในป ค.ศ. 1969 บัลลังกนี้เปนบัลลังกที่จักรพรรดิ Carlo il Calvo มอบใหแกพระสันตะปาปา ยอหน ที่ 8 ในโอกาสที่พระสันตะ ปาปาทรง อภิเษกพระองคเปนจักรพรรดิในป ค.ศ. 875 ปะรําที่อยูเหนือพระแทนกลาง และ Confessio สรางโดย Bernini ทําดวยทองบรอนซทั้งหมด - Confessio เปนสถานที่แสดงเหตุการณพิเศษ หรือบุคคล หรือวัตถุ ที่มีความ หมายพิเศษ อันเปนสัญลักษณของมหาวิหารเอง ในที่นี้ หมายถึงเปนที่ฝงศพของ นักบุญเปโตร พระสันตะปาปาองคแรกของพระศาสนจักรคาทอลิก ในการสร าง ปะรําที่อยูเหนือพระแทนกลางนี้ ตองใชทองบรอนซจํานวนมาก พระสันตะปาปา จึงไดสั่งใหวัดตางๆ ในกรุงโรม ยอมสละทองบรอนซในวัดของตน เพื่อนํามาใชใน การสรางครั้งนี้ เรื่องนี้ไดรับ การวิพากษวิจารณ อยางกวางขวางในสมัยนั้นดวย หากเราไปเยี่ยมโบสถตาง ๆ ในกรุงโรม บางแหงจะลงประวัติเกี่ยวกับเรื่องนี้เอาไว ดวยวา ในรูปนักบุญบางรูป แทนบางแทน เคยมีทองบรอนซ แตถูกนําไปสรางแทน ทองบรอนซในมหาวิหารนักบุญเปโตร - ผลงานของ ไมเคิล แองเจลโล (ค.ศ. 1475-1564) มีดังตอไปนี้ : 1. Pietà เปนรูปที่แกะสลักจากหินออนทั้งแทง ใชเวลาในการทําถึง 7 ป ใบหนา ของแมพระ เปนใบหนาของหญิงสาวชาวตะวันออก เปนใบหนาที่ออนวัยกวา ใบหนาของพระเยซูเจา เพื่อแสดงวา แมพระไดรับรูชะตากรรมของพระนาง ลวง หนา และรําพึงอยูนานแลว เปนรูปแกะสลักที่มีชื่อเสียง มีความกลมกลืน และใหความรูสึกที่ดีมาก เปนรูปพระแมมารีอารับพระศพของพระเยซูเจาลงจากกางเขน ความ ทุกขของแมคนหนึ่งที่มีลูกชายของตนนอนตายอยูที่ตักของตน เปนสวนหนึ่ง ของความรู สึกที่บรรดาคริสตชนมีตอพระแมมารีอา จนเรียกพระนางวา “แม พระมหาทุกข” (Mother of Sorows) รูปแมพระมหาทุกขนี้ของไมเคิ้ล แอน เจโล เปนรูปแมพระมหาทุกขที่มีชื่อเสียงที่สุด ไมเคิ้ล แอนเจโล สลักรูปนี้เสร็จ เมื่อมีอายุเพียง 24 ปเทานั้น ในป ค.ศ. 1499 และเปนผลงานเพียงชิ้นเดียว ของทานที่ไดสลักชื่อของทานไวดวย โดยมีเหตุผลอยู 2 ประการ ไดแก : 1) เพราะทานพอใจในผลงานชิ้นนี้มาก

27


2) เพราะมี ศิ ล ป นบางคนในยุ ค ของท านไปแอบอ างว าเป น ผู สลั ก และ ประชาชนไมเชื่อวา ศิลปนหนุมอายุ 24 ปจะสามารถแกะสลักรูปจาก หินแทงเดียวไดสวยงามถึงขนาดนี้ ชื่อของทานถูกสลักไวที่แถบผาที่พาดอยูบริเวณอกของแมพระ โดยสลักเปน ภาษาลาตินไววา “ไมเกิ้ล บัวนารอตติ ชาวฟลอเรนซ เปนผูทํา ” ตอมา ทานก็ รูสึกเสียใจที่ไดสลักชื่อไว เอกลักษณประการหนึ่งของรูปนี้ ก็คือ ใบหนาของแมพระและพระเยซูเจา จะเปนวัยใกลเคียงกัน หรือวัยเดียวกัน เรื่องนี้ ไมเคิล แองเจลโล อธิบายไววา เพื่อใหความหมายวา พระเยซูเจาเปนกษัตริ ย และพระนางมารีอาเปนราชินี แหงสากลจักรวาล อีกทั้งความสาวของพระนางมารีอายังเปนเครื่องหมายแหง ความบริสุทธิข์ องพระนางอีกดวย ในป ค.ศ. 1972 ชายคนหนึ่งชื่อ Laszlo Toth ไดใชฆอนอันหนึ่ง เขาไปทุบ บริเวณนิ้วมือของพระนางมารีอาจนเสียหาย ตอมา ชายคนนี้ไดถูกจั บ แตก็ พบวาเปนคนเสียสติคนหนึ่งเทานั้น อยางไรก็ตาม มหาวิหารนักบุญเปโตรจึงได สรางหองกระจก และไมยอมใหใครเขาไปถึงรูปสลักนี้อีกเลย นอกจากแขก พิเศษของมหาวิหารเทานั้น 2. แทนที่มุมมหาวิหาร คือ 4 ดานของแทนกลาง 3. โดมทั้งหมด 4. ชองทางเดินดานขางทั้ง 2 ดาน - สถานที่ฝงพระศพของพระสันตะปาปา มีพระศพของพระสันตะปาปาในสถานที่แหง นี้ประมาณ 130 องค ที่ฝงพระศพของพระสันตะปาปาที่มีชื่อเสียง และมีผูนิยมมา เยี่ยมชมและสวดภาวนามากที่สุดในเวลานี้ ไดแก หลุมศพของพระสันตะปาปา ยอหน ที่ 23 และหลุมศพของพระสันตะปาปา ยอหน ปอล ที่ 2 เพราะทั้ง 2 พระองคนี้ บรรดาคริสตชนใหความเคารพยกยองอยางสูง และวันขางหนา อาจจะไดเปนนักบุญ ดวย - รูปนักบุญเปโตรนั่งบัลลังก (ธรรมาสนนักบุญเปโตร) ทําดวยทองบรอนซทั้งหมด เปนผลงานในศตวรรษที่ 5 แตนักศึกษาคนหนึ่งชื่อ Wickhoff ไดยืนยันวาเปน ผลงาน ในศตวรรษที่ 13 ความจริงหากพิจารณาเปรียบเทียบกับศิลปะในสมัย จักรวรรดิโรมัน งานชิ้นนี้ตองเปนผลงานในสมัยศตวรรษที่ 5 เปนรูปที่ถูกเก็บรักษาไว เพื่อเปนสัญลักษณอันหมายถึงอํานาจที่พระเยซูเจาทรงมอบใหแกพระสันตะปาปา การยอมรับอํานาจนี้ถูกแสดงออกโดยการจูบเทาของทานนักบุญเปโตรนี้ รูปนี้ถูก รักษาไวจนถึงปจจุบัน และยังมีอีกหลายมหาวิหารที่ไดสรางเลียนแบบรูปนี้ ไปตั้ง แสดงความจงรักภักดีตอพระสันตะปาปาดวย 28


นอกจากนี้ ในมหาวิหารยังมีผลงานของนักศิลปะตาง ๆ มากมาย เฉพาะผูที่ สนใจศิลปะเทานั้นจะคนพบถึงความสามารถและความละเอียดออนของศิลปะเหลานั้น สิ่งที่นาชมเปนบุญตา และความชื่นใจของนักทองเที่ยวไทย ถาหากมีโอกาส และมีกําลัง ก็คือ แผนศิลาจารึกการเสด็จเยี่ยมมหาวิหารของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ในป ค.ศ. 1897 ซึ่งติดตั้งไวบนกําแพงของทางบันไดขึ้นไปยัง โดมขางบน (Cupola) เขียนเปนภาษาอิตาเลียน ลองสังเกตดู คําวา Siam ก็ได แต การขึ้นบันไดจนถึงยอดโดม เพื่อดูทิวทัศน กรุงโรมนั้นก็เหนื่อยเอาการอยูนะครับ ปจจุบัน การเขาชมมหาวิหารจะตองผานการตรวจจากเจาหนาที่รักษาความ ปลอดภัยและเจาหนาที่ตํารวจ การเยี่ยมชมก็แบงชองการเดินไวอยางชัดเจน คือ ชอง ทางสําหรับเยี่ยมชมมหาวิหาร ชองทางเดินสําหรับเยี่ยมชมสุสาน ซึ่งอยูใตดินของมหา วิหาร สุสานนี้เปนที่ฝงพระศพของพระสันตะปาปา ราชินี พระคารดินัลผูมีชื่อเสียง และชองทางเดินเพื่อไปขึ้นชมโดม เพราะฉะนั้น แมจะเป นเพียงมหาวิหารแหงเดียว แตรวมการเดินชมทั้งหมดแลว ก็คงตองเหนื่อยกันหนอย

3. มหาวิหารแมพระ (Santa Maria Maggiore)

มหาวิหารแหงนี้ตั้งอยูบนเนิน Esquiline กอสรางโดยพระสันตะปาปา ลิแบรีโอ (Liberio) ในป ค.ศ. 352 พระสันตะปาปาองคนี้มีชีวิตอยูระหวางป ค.ศ. 352-366 ใน ฐานะที่พระสันตะปาปาเปนผูสราง มหาวิหารแหงนี้จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งวา Basilica Liberiana ในป ค.ศ. 366 หลังจากที่พระสันตะปาปา ลิแบรีโอ สิ้นพระชนม ปรากฏวามี การเลือกตั้งพระสันตะปาปาขึ้นมา 2 องค คือ พระสันตะปาปา ดามาซุส (Damasus) และพระสันตะปาปา อูรซีนุส (Antipope Ursinus) ความจริง ในสมัยของพระสันตะปาปา ลิแบริโอ ก็มีพระสันตะปาปา 2 องคเชนกัน คือมี พระสันตะปาปาเฟลิกซ (Antipope Felix II ค.ศ. 355-365) และเพราะเหตุนี้เอง เมื่อพระสันตะปาปาทั้งสองพระองคนี้ สิ้ น พระชนม ผู ที่ สนั บสนุ น แต ละฝ า ยต างก็ เ ลื อ กพระสั น ตะปาปาของตนขึ้ นมา ฝ า ย พระสันตะปาปา ลิแบรีโอ ไดเลือกอูรซีนุส (ค.ศ. 366-367) ฝายพระสันตะปาปา เฟริก ไดเลือกดามาซุส แตเนื่องจากอูรซีนุส ทําการอภิเษกตนเองเปนพระสังฆราชกอนกําหนด การอภิเษกนี้จึงเปนไมถูกตอง (illegal) ประชาชนตองการใหอูรซีนุสออกจากกรุงโรมไป และใหดามาซุสเปนพระสันตะปาปาแตเพียงผูเดียว พระสันตะปาปา อูรซีนุส ไดเขายึด ครองมหาวิหารแหงนี้ไว ฝายพระสันตะปาปา ดามาซุส ไดวางแผนโจมตีมหาวิหาร โดย ลงมาจากหลังคามหาวิหาร และไดเกิดการสังหารหมูในที่นี้ ฝายพระสันตะปาปา อูรซีนุส เสียชีวิตไป 137 คน จักรพรรดิวาเลนตีเนียน (ค.ศ. 364-375) อนุญาตใหพระสันตะปาปา อูรซีนุส กลับมาที่กรุงโรมได และพวกนี้จึงเขามาตั้งหลักที่มหาวิหาร โดยถือเปนที่ประทับ (Sede) ของพระสันตะปาปาองคนี้ในป ค.ศ. 367 แตในปเดียวกันนี้เอง พวกเขาก็ถูก เนรเทศอีก เพราะเปนตัวการยึดครองบัลลังกของพระสันตะปาปา ดามาซุส มหาวิหาร แหงนี้ บางครั้งถูกเรียกชื่อวา มหาวิหารอูรซีนีอานาดวย 29


โครงสรางของมหาวิหารปจจุบันนี้ มาจากการสรางขึ้นใหมของพระสันตะปาปา ซีกตุส ที่ 3 (ค.ศ. 432-440) และยกถวายใหแดแมพระ ในฐานะที่เปนมารดาของพระเจา หลังจากสังคายนาที่ Efeso ป ค.ศ. 431 ที่ยืนยันขอความเชื่อนี้ตอตานพวกเนสตอเรียนที่ สอนวาพระนางมารีอาเปนมารดาของพระเยซู ไมใชเปนมารดาของพระเจา และนับ ตั้งแตในปนั้นเปนตนมา มหาวิหารไดรับการซอมแซม ตกแตงใหสวยงามขึ้นมาหลายสมัย มุขที่ยื่นออกไปดานหลังพระแทนกลางนั้นไดรับการตกแตงโดยพระสันตะปาปา Niccolo IV (ค.ศ. 1288-1292) สวนดานหนาของมหาวิหารไดรับการซอมแซมตกแตงโดยพระสันตะ ปาปา เคลเมนต ที่ 10 (ค.ศ. 1670-1676) นับตั้งแตป ค.ศ. 1400 เปนตนมา มหาวิหารแหงนี้ไดรับสิทธิ์ใหเปนหนึ่งในสี่ของ มหาวิหารที่จําเปน เพื่อรับพระคุณการุณยในปศักดิ์สิทธิ์ ตามประเพณีนิยมในสมัยกลาง (ศตวรรษที่ 8 ถึงศตวรรษที่ 14) ไดมีตํานานเลา วา แมพระตองการใหสรางวัดถวายแดพระนางบนเนินแหงนี้ โดยใหเครื่องหมายคือ รอยเทาของพระนางบนหิมะที่ตกมาในฤดูรอนบนเนินแหงนี้ ตํานานเรื่องนี้ทําใหเกิดมีวัน ฉลอง The Feast of Our Lady of Snows (แมพระแหงภูเขาหิมะ) ทุกวันที่ 5 สิงหาคม ของทุกป และยังถือเปนวันฉลองมหาวิหารแหงนี้สืบตอมาจนถึงปจจุบัน มหาวิหารแหงนี้ แมวาจะเปนมหาวิหารที่เล็กกวามหาวิหารอีก 3 แหงก็ตาม แตก็ เปนวัดที่ยกถวายแดแมพระที่ใหญที่สุดในกรุงโรม ในกรุงโรมมีวัดที่ถวายแดแมพระอยู ทั้งหมด 80 วัดดวยกัน สมบัติที่ล้ําคาของมหาวิหารแหงนี้ มีอยู 2 ชิ้นคือ : 1. สวนหนึ่งของรางหญาที่พระกุมารประทับ ภายหลังที่ถือกําเนิดมาในโลกนี้ 2. รูปวาดแมพระ ที่เชื่อกันวาเปนของนักบุญลูกา รางหญาพระกุมาร รางหญาพระกุมารนี้ถูกนํามาจากเบธเลเฮมในป ค.ศ. 642 ในสมัยพระสันตะปาปา เทโอโดโร ที่ 1 (Teodoro I) มหาวิหารนี้จึงถูกเรียกวา Ad praesepe และรางหญานี้ ไดรับการประดับประดาอยางสวยงาม นับตั้งแตปนั้นเปนตนมา ก็เกิดมีธรรมเนียมที่กําหนด วา พระสันตะปาปาจะมาถวายมิสซาเที่ยงคืนในโอกาสพระคริสตสมภพที่มหาวิหารนี้ แตในปจจุบันธรรมเนียมนี้ไดถูกยกเลิกไป ตามธรรมเนียมนี้ มิสซาพระคริสตสมภพมี 3 มิสซาคือ : 1. มิสซาเที่ยงคืน จะทําที่มหาวิหารแมพระ 2. มิสซารุงอรุณ จะทําที่มหาวิหารนักบุญอานาสตาซีโอ (Basilica di S. Anastasio) 3. มิสซาเชา จะทําที่มหาวิหารนักบุญเปโตร หรือมหาวิหารแมพระ ปจจุบัน มิสซาทั้งหมดไดทําที่มหาวิหารนักบุญเปโตร รูปวาดแมพระ เชื่อกันวาวาดโดยนักบุญลูกาผูเปนทั้งแพทยและนักวาดภาพ พระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 3ไดนํารูปนี้มาทําพิธีแหที่กรุงเยรูซาแลมในโอกาสพิเศษตางๆ ในป ค.ศ. 590 พระสันตะปาปาเกรโกรี (Pope Gregory, the Great) ไดทรงจัดใหมีการแหรูปนี้จาก 30


มหาวิหารแมพระมาที่มหาวิหารนักบุญ เปโตร เพื่อปองกันโรคระบาด (กาฬโรค) ที่กําลัง คุกคามกรุงโรมอยูในเวลานั้น รูปนี้เปนศิลปะไบแซนทีน และศิลปะนี้มีอยูจนถึงศตวรรษที่ 12 ซึ่งเชื่อกันวานักบุญลูกาเปนผูวาด และเปนรูปเดียวกับที่พระสันตะปาปาเกรโกรี ทรงใช ตอมา วันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1835 พระสันตะปาปาเกรโกรี ที่ 16 ไดทรงใชรูปนี้ อีกครั้งหนึ่งในการแหจากมหาวิหารแมพระมาจนถึงมหาวิหารนักบุญเปโตร เพื่อปองกัน อหิวาตตกโรคที่กําลังระบาดอยูในเวลานั้น

Basilica di Santa Prassede

เราคนไทยคงไม เ คยได ยิ น ชื่ อ นั ก บุ ญ องค นี้ แ น ๆ อย า ว า แต ค นไทยเลยครั บ ฝรั่งหลายคนก็ ไมรูจักเหมือนกัน ตามที่บอกแลวในพระศาสนจักรเรามีมหาวิหารหรือ Basilica ทั้งแบบเมเจอร ไมเนอร มากมาย ดังนั้นถาหากเราเดินชมเมืองตางๆในยุโรป แลวเห็นเขียนวา Basilica หนาวัดไหนก็ตาม เขาไปชมเถอะครับจะมีบางสิ่งบางอยางที่ พิเศษเสมอในวัดหลังนั้น ออกจากประตูหนามหาวิหารแมพระแลวขามถนนดานขวา แลว ก็เลี้ยวขวาตรงซอยแรกที่เจอทางขวามือ เราจะพบกับมหาวิหารนักบุญ ปราซเซเดครับ ประตูท างเข า อาจจะแปลกตาสั กหน อ ยแต ก็ เป น ประตูค รั บ เข าได ทั น ที ที่อ ยู ภายใน เราจะรับรูถึงความเกาแกของวัดจากบรรยากาศและศิลปะที่อยูในวัด มารูจักกับนักบุญ ปราซเซเดกันเล็กนอย นักบุญองคนี้เปนพี่นองกับนักบุญ Pudentiana ทั้งสองคนเปนลูก สาวของนักบุญ Pudens นักบุญเปาโลเคยมาพักที่บานของทาน และครอบครัวนี้ก็เปน คริ สตชนที่กลับ ใจโดยเปาโลเปน กลุม แรกๆ เลยดว ย ปราซเซเด ปละปูเ ดน ซี อานา ถูกประหารชีวิตตามกฎหมายโรมันเพราะลักลอบทําพิธีฝงศพใหแกมรณสักขีในสมัยนั้ น ดังนั้นสัญลักษณของปราซเซเดก็คือรูปหญิงสาวที่กําลังรวบรวมเลือดของบรรดามรณ สักขี วั ด น อ ยหลั ง แรก สร า งเหนื อ ที่ ฝ ง ศพของปราซเซเดในราวป 112 และก็ มี การสรางและบูรณะขึ้นใหมเปนระยะ หลังปจจุบันนี้สรางโดยพระสันตะปาปา ปาสกัลป ที่ 1 ในป 822 ตอนนั้นปาสกัลและจักรพรรดิ ชารลเลอมาญ ตองการนําพาพระศาสน จักรไปสูรากฐานเดิมของเทววิทยาและศิลปะจึงสรางวัดนี้ ขึ้นใหม ปาสกัลปนําพระธาตุ กระดูกและขี้เถาของมรณสักขีที่อยูในคาตาคอมบประมาณสามหมื่นคนมาไวที่วัดนอยใต ดินที่ นี่ และอีกจํา นวนมากมายแจกจา ยไปอยู วัด ตา งๆในกรุง โรม ประมาณ 100 วั ด หากเราไปเยี่ยมคาตาคอมบที่นั่ น ไมมีพระธาตุของนักบุญเหลื อแลว แต คนที่ไปและ พยายามเอาดินหรือฝุนดินกลับบานมาดวยเลาวาไดพบกับอะไรๆที่ไมอยากพบ จนตอง ขอโทษและนํากลับมาคืน สิ่งที่นาสนใจมากอีกอยางหนึ่งก็คือ ศิลปะ โมซาอิคหรือโมเสด ที่นี่ นับวาเปน โมเสดที่เกาแกควรแกการศึกษาอยางยิ่ง เหนือพระแทนกลางะจมีรูปพระเยซูจาเปน ศูนยกลาง แลวก็รูปของนักบุญเปโตรและเปาโล เปาโลกําลังถวายนักบุญปราซเซเดและ 31


ปูเดนซีอานาแดพระเยซู สวนไกลๆทางซายมือเปนรูปของพระสันตะปาปา ปาสกัลป กําลังถวายวัดนี้แดพระเยซูเจา ที่ศีรษะมีรัศมีสี่เหลี่ยมแทนที่จะเปนวงกลม เพื่อบอกวา พระองคยังมีชีวิตอยูตอนที่กําลังทําโมเสดนี้ มีเขียนอธิบายไวดวยวา หวังวาของถวายนี้ จะเพียงพอที่จะใหพระองคมีที่ในสวรรค ที่ ค วรดู อี ก อย า งหนึ่ ง ที่ นี่ ก็ คื อ วั ด น อ ยนั ก บุ ญ เซโน(Zeno) ปาสกั ล สร า งขึ้ น เพื่ อ เป น ที่ ฝ ง ศพของมารดาชื่ อ ธี โ อโดรา ประดั บ ประดาด ว ยโมเสด ถ า จะดู ใ ห ชั ด ตองจายเงินกอนครับ หยอดเหรียญแลวไฟจะติด สวยงามมาก นอกจากโมเสดแลวอีก มุมหนึ่งของวัดนอยนี้ แสดงเสาหินที่พระเยซูเจาถูกมัดและถูกเฆี่ยนบนจวนปลาตกอนที่ จะถูกนําตัวไปตรึงกางเขน เราจะเห็นทาทางที่พระองคถูกมัดและถูกเฆี่ยน อยาลืมสวด ดวยนะครับเวลาชม หินสวนหนึ่งจากเสาหินนี้ก็ถูกนําไปไวที่วัด กางเขนศักดิ์สิทธิ์แหง เยรูซาแลม ในกรุงโรมดวย(Basilica Santa Croce di Gerusalemme) ซึ่งเราก็จะไปเยี่ยมชม เหมือนกัน เสาหินนั้น นักบุญเฮเลนา มารดาของจักรพรรดิ คอนสแตนตินเปนผูคนพบ ตอนอายุ 80 ป พ ระนางไปแผ น ดิ น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เพื่ อ รวบรวมพระธาตุ ต า งๆที่ เ กี่ ย วกั บ พระเยซูเจาและสรางวัดตางๆที่นั่น พระนางพบหลายสิ่งหลายอยาง เชน ไมกางเขน ตะปู มงกุฎิหนามของพระเยซูเจา เปนตน ในระหวางสงครามครูเสด เสาหินนี้ถูกนํามา จากเมืองคอนสแตนตินโนเปลในป 1223 มีผูพยายามพิสูจนวาเปนของแทหรือไม แตที่สุด แลวก็ไมมีหนทางทางวิทยาศาสตรหรือทางนิติเวชศาสตรใดๆสามารถทําได ทั้งหมดจึง ขึ้นอยูกับประเพณีปฏิบัติที่สืบตอกันมาหรือความเชื่อนั่นเอง

วัดพระมารดานิจจานุเคราะห

วัดนี้อยูไมหางจากวัดนักบุญปราซเซเดเลย ออกมาถึงถนนใหญแลวเลี้ยวขวาเดิน ไปไมกี่กาว ก็ขามถนนก็ถึงวัดพระมารดานิจจานุเคราะหแลวละครับ รูปพระมารดานิจจา นุเคราะหตนฉบับอยูที่นี่ครับ ตั้งแตพระสันตะปาปามอบใหคณะสงฆมหาไถรับผิดชอบ เผยแพรความศรัทธาตอพระรูปนี้ มีมีใครรูวาใครวาด แตรูปนี้มีอัศจรรยมากมายเกิดขึ้น กรอบรูปของแมพระไดนําไปเปนพระธาตุและนําไปใหคริสตชนไดภาวนา รวมถึงประเทศ ไทยของเราด วย เราก็ จ ะไปสวดภาวนาที่นี่ กัน เล็กนอ ย ที่ นี่ ยัง มีข องที่ ร ะลึ กเกี่ ยวกั บ พระมารดานิจจานุเคราะหจําหนาย นาสนใจมากครับ

มารีย มารดานิจจานุเคราะห

พระเยซู เ จ า ได ท รงประทานแม พ ระให เ ป น แม ข องพวกเราทุ ก คนคอยดู แ ล ชวยเหลือพวกเราอยูตลอดเวลา แมพระเปยมไปดวยความรัก ความเมตตา แมพระ สุภาพและออนโยนอยางหาที่สุดมิได แมวาเวลาจะผานไปปแลวปเลา แมพระยังคอย

32


ชวยเหลือพวกเราและเชื้อเชิญเราใหมาสัมผัสความรักความเมตตาอันมิรูสิ้นสุดของ พระเยซูคริสตเจาอยูตลอดเวลา รูปแมพระนิจานุเคราะห เปนรูปไอคอนวาดบนแผนไม ขนาด 17 x 21 นิ้ว เปน รู ป ที่ มี ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละผู ค นให ค วามศรั ท ธาต อ พระรู ป นี้ เ ป น อั น มาก มี บั น ทึ กว า รูปไอคอนรูปนี้เดิมทีเดียวถูกประดิษฐานอยู ณ วัดแหงหนึ่งที่เกาะครีต (Crete) เปนรูปที่ มีชื่อเสียงและเกิดอัศจรรยมากมายผานทางพระรูปนี้ ไมมีหลักฐานบงชี้แนนอนวาใคร เปนผูวาดภาพนี้และมาอยูที่เกาะครีตไดอยางไร เรื่องราวที่เราพอจะรูไดก็คือ ในราวป ค.ศ.1450 พอคาชาวกรีกผูหนึ่งไดขโมยพระรูปนี้และนําติดตัวไปขณะเดินทางโดยเรือมุง หนาสูกรุงโรม หลังจากที่เขาถึงกรุงโรมแลว พอคาผูนี้เกิดปวยหนัก ขณะที่ใกลจะสิ้นใจ เขาไดสารภาพตอเพื่อนชาวโรมันถึงรูปแมพระที่เขาไดขโมยมา และขอรองใหนํารูปแม พระนี้ไปมอบใหกับวัดที่เหมาะสม เพื่อใหผูคนทั้งหลายไดแสดงความเคารพบูชาอยาง สงา เพื่อนผูนี้ตกลงยินยอมที่จะทําตามคําขอรองนั้น แตภรรยาของเขาไมยอม ตอมา เพื่อนชาวโรมันผูนี้ก็ลมปวยลงและสิ้นใจในที่สุด หลังจากนั้น แมพระไดปรากฏมาและบอกใหลูกสาวของเขานํารูปของพระแม ไป ประดิษฐานยังวัดนักบุญมัทธิว ซึ่งตั้งอยูระหวางมหาวิหารเซนตแมรี่ เมเจอร และมหา วิหารเซนตจอหน ลาเตรัน และแลวรูปแมพระนิจจานุเคราะหไดถูกนําไปประดิษฐานที่วัด นักบุญมัทธิว โดยมีนักบวชเอากุสติเนียนดูแลอยู ในวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1499 และอยู ที่นี่เกือบ 300 ป จนกระทั่งกองทัพนโปเลียนบุกกรุงโรม ในป ค.ศ. 1798 ราว 5 ป ตอมา วัดนักบุญมัทธิวไดถูกทําลายลง นักบวชเอากุสติเนียน ไดนําพระรูปนี้ไปซอนไวยังอาราม แหงหนึ่งของพวกเขา อยางไรก็ตาม บราเดอรทานหนึ่งมักจะเลาถึงเรื่องราวอัศจรรยตางๆ ที่ผูคน ได รั บ ผ า นทางรู ป ไอคอนนี้ ใ ห กั บ เด็ กช ว ยมิ ส ซาที่ ชื่ อ ไมเคิ ล มาร ชี่ ฟ ง อยู เ สมอ ต อ มา ภายหลังเขาไดบวชเปนพระสงฆในคณะพระมหาไถ เมื่อมารชี่พูดถึงเรื่องราวของพระรูป นี้ใหเพื่อนพระสงฆในคณะฟง พวกเขาพบวาวัดนักบุญอัลฟอนโซของพวกเขานั้นถูกสราง ขึ้นใกลกับบริเวณเดิมของวัดนักบุญ มัทธิว เมื่อไดศึกษาประวัติศาสตรและมีหลักฐาน ชัดเจนแลว คณะพระมหาไถจึงไดถวายคํารองตอพระสันตะปาปาปโอที่ 9 เพื่อนํารูปแม พระนิจจานุเคราะหมาประดิษฐานที่วัดนักบุญอัลฟอนโซ ใกลกับบริเวณเดิมที่พระรูปเคย ประดิษฐานอยู ตอมาในวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ.1865 พระสันตะปาปา ปโอที่ 9 ไดใหคุณ พอมารชี่และคณะผูใหญเขาเฝา พระองคไดรับฟงคําบรรยายถึงความเปนมาของพระรูป และคํารองขอของคณะพระมหาไถในเรื่องนี้ ในที่สุด พระสันตะปาปาปโอที่ 9 ไดอนุมัติ ให นํ ารู ป แม พ ระนิ จ จานุ เคราะห ไ ปประดิ ษ ฐานยัง วั ด นักบุ ญอั ล ฟอนโซ และรั บสั่ ง แก คณะพระมหาไถวา “จงทํารูปนี้ใหเปนที่รูจักทั่วโลก” รูปแมพระนิจจานุเคราะหไดถูกนํามา ประดิษฐานอยางสงาที่วัดนักบุญอัลฟอนโซ ในวันที่ 26 เมษายน ค.ศ.1866 และยังคง ประดิษฐานอยูที่นั่นจนถึงทุกวันนี้ 33


4. มหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกําแพงกรุงโรม (St. Paul's outside the walls)

ตามหนังสือ Liber Pontificalis ป ค.ศ. 251-253 สตรีใจศรัทธาชาวโรมันผูหนึ่ง ชื่อลูซีนา (Lucina) ไดยายศพของนักบุญเปาโล (รวมทั้งของนักบุญเปโตรดวย) จาก กาตาคอมบ (Catacomba) และไดนําศพของนักบุญเปาโลมาตั้งไวในที่ดินของตน ที่ถนน Ostian Way (Via Ostiense) แตศพของเธอถูกฝงที่ Appian Way ใน Crypt of Lucina จักรพรรดิคอนสแตนตินไดสรางอาคารหลังแรกเหนือพระธาตุของนักบุญเปาโลใน ป ค.ศ. 324 และจักรพรรดิโฮโนรีอุส (Honorius) ไดสรางใหเปนมหาวิหารใหญโตสมบูรณ ในป ค.ศ. 395 ไดรับการประดับประดาดวย เงิน ทอง และเพชรพลอยมากมาย ใหเปน เกียรติแดทานนักบุญเปาโล พวกแขกซาราเซ็น (Saracen) พยายามบุกเขามาปลนมหาวิหารแหงนี้ในหลาย ศตวรรษ จนในที่สุด พระสันตะปาปา ยอหน ที่ 8 (ค.ศ. 872-882) ไดมีพระประสงคที่จะ สรางกําแพงลอมรอบมหาวิหารแหงนี้เพื่อเปนการปองกัน สาเหตุนี้ เอง มหาวิหารแหงนี้ จึงถูกเรียกวา St. Paul's outside the walls เพราะกําแพงที่สรางขึ้นไดทําใหมหาวิหาร แหงนี้อยูนอกกรุงวาติกันไป อันเนื่องมาจาก การบุกปลนและการทําลายของพวกแขก ซาราเซ็นหลายครั้ง ทําใหตองทําการซอมแซมหลายครั้ง ในการซอมแซมแตละครั้งไดมี การนําเอาศิลปะที่ล้ําคาตาง ๆ มากมายเขามาดวย เชน โคมระยาสําหรับเทียนปาสกา (ฐานตั้งเทียนปาสกา) ของศตวรรษที่ 12 ศิลปะโมซาอิค ผลงานของ Cavallini และ Ciborio ที่มีชื่อเสียงในป ค.ศ. 1285 ออกแบบโดย Arnolfo di Cambio มหาวิหารแหงนี้ นับตั้งแตปศักดิ์สิทธิ์ครั้งแรกในป ค.ศ. 1300 (สมัย พระสันตะปาปาบอนิฟาส ที่ 8) ไดรับเกียรติเทียบเทากับมหาวิหารนักบุญเปโตร พวกจาริกแสวงบุญที่ตองการรับพระคุณการุณย จะตองมาเยี่ยมมหาวิหารและสวด ภาวนา ทางเขาไปสูหองซาคริสเตีย มีหองเก็บพระธาตุที่มีชื่อเสียงมาก เชน พระคั มภีร โบราณ ที่เขียนดวยลายมือของนักบุญเยโรม (ค.ศ. 342-420) นอกจากนี้ ยังมีหองเก็บ พระธาตุของนักบุญ สเตฟาโน (St. Stefano) และนักบุญอันนา (St. Anna) ดวย ในหอง เก็บพระธาตุยังมีกางเขนเล็ก ๆ ที่มาจากกางเขนแทของพระเยซูเจา ฝุนกระดูกของบรรดา อัครสาวก โซเหล็กที่ใชลามนักบุญเปาโล(St. Paolo) สวนหนึ่งของไมเทาของนักบุญ เปาโล และพระธาตุของนักบุญองคอื่นๆ ดวย นอกจากนี้ มหาวิหารนี้ยังไดรับการซอมแซมอีกหลายครั้งในสมัยของพระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 และพระสันตะปาปา เบเนดิกโต ที่ 13 พระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 ทรงซอม แซมเพดานของมหาวิหารใหม สวนพระสันตะปาปา เบเนดิกโต ที่ 13 ทรงซอมแซมเสาหิน ทั้งสองดานภายในมหาวิหาร 34


วันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 ไดเกิดเพลิงไหมนานถึง 5 ชั่วโมง เพลิงไดเผา ผลาญทําลายมหาวิหารเกือบหมด เหลือเพียงอาคารครึ่งหนึ่ง ประตูชัย และโมซาอิค เทานั้นที่เปนของเกาดั้งเดิมมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งเราอาจเรียกไดวา มุขที่ยื่นออกไปหลัง แทนนั้น ที่ตั้งเทียนปาสกา Ciborio และ Chiostro (อาราม) ที่หลงเหลือจนทุกวันนี้ พระสันตะปาปา ลโอเน ที่ 12 ไดทรงสรางขึ้นใหม โดยไดรับเงินชวยเหลือจาก กษัตริยแหง Sadegna ผูปกครองประเทศ Paesi Bassi ฝรั่งเศส Sicily และ Zar แหง รัสเซีย การสรางนี้ไดใชโครงสรางที่ใกลเคียงกับโครงสรางเดิมมากที่สุด มหาวิหารนักบุญเปาโลไดรับการเสกอีกครั้งหนึ่งในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1854 นั่นคือสองวันหลังจากการประกาศขอความเชื่อ Immaculate Conception ในวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1854 โดยพระสันตะปาปาปโอ ที่ 9 ปจจุบัน มหาวิหารแหงนี้ไดรับการดูแลโดยนักบวชคณะเบเนดิกติน มหาวิหารแหง นี้ มีความกวางใหญถึง 132×65 เมตร สองขางระหวางเสาหินภายในมหาวิหารนี้ มีรูปโม ซาอิคของพระสันตะปาปาตาง ๆ จนถึงองคปจจุบัน เลาขานกันสืบตอมาวา เมื่อใดก็ตาม เมื่อรูปโมซาอิคของพระสันตะปาปาตางๆ ในมหาวิหารนี้เต็มจนไมสามารถมีรูปโมซาอิค ไดอีก เมื่อนั้นจะเปนวันสิ้นโลก โดยที่เขาไปชมมหาวิหารนี้ ก็มักจะชอบไปนั่งดูวายังเหลือ อีกกี่ชอง และจะเหลืออีกกี่ป ผมไปนับมาครั้งสุดทายเมื่อเดือนมิถุนายน 2007 นับได 13 ชอง ก็ยังไมรูวาจะเหลืออีกกี่ป บนกําแพงใหญขางพระทานกลาง จะมีรูปวาดของศิลปนผูหนึ่ง เปนรูปโลงศพของ พระนางมารีอา โดยมีบรรดาอัครสาวกของพระเยซูเจาอยูขาง ๆ โลงศพนี้ เปนเครื่อง หมายวา พระนางมารีอาไดรับเกียรติยกขึ้นสวรรคทั้ งกายและวิญญาณ หากเราอยูดาน ริมสุดของรูป โลงศพก็หันมาทางเรา และหากเราเดินไปอีกดานหนึ่งของรูป โลงศพก็จะ หันตามเราไปเสมอ เพื่อเตือนใจเราวา “ไมวาเราจะเปนใคร ไมวาจะอยูที่ไหน เราลวน ตองตาย” หากไปเยี่ยมมหาวิหารนักบุญเปาโลก็อยาลืมไป ชมภาพนี้เปนขวัญตา พระสันตะปาปา เบเนดิ๊กต ที่ 16 ไดประกาศเพื่อเฉลิมฉลอง 2,000 ปของนักบุญ เปาโล จึงประกาศใหปนักบุญเปาโลเริ่มตนขึ้นตั้งแตวันที่ 29 มิถุนายน 2008 จนถึงวันที่ 28 มิถุนายน 2009 ดังนั้น ตลอดปนักบุญเปาโล จะมีกิจกรรมเฉลิมฉลองตลอดทั้งปที่มหา วิหารนักบุญเปาโล สําหรับสถานที่ที่ทานนักบุญเปาโลถูกตัดศีรษะนั้น อยูหางออกไปจากมหาวิหาร เรียก บริเวณนั้นวา “Tre Fontane” อันเปนชื่อที่มาจากการตัดศีรษะของทานนักบุญเปาโล ศีรษะของทานไดตกลงมาบนทางเนิน และกอใหเกิดน้ําพุขึ้น 3 แหง จึงเรียกสถานที่นี้วา “Tre Fontane” นอกจากนี้ ตรงขามกับสถานที่นี้ ยังเปนบริเวณสวนสาธารณะ ซึ่ง ปจจุบันมีวัดนอย ตั้งเปนพยานถึงการประจักษมาของพระแมมารีอา โดยประจักษใหแกชาย คนหนึ่ง ชื่อ บรูโน เปนที่รูจักกันในนามของแมพระแหง การเปดเผย (Mother of Revelation) วันที่ 12 เมษายนของทุกปเปนวันฉลองของแมพระแหงการเปดเผยนี้ มีผูที่เชื่อและเห็น ดวยวา ทุก ๆ ป ในวันนี้ จะมีปรากฏการณพระอาทิตยหมุนในระหวางมิสซาฉลองดวย ใครบังเอิญมาชวงวันนี้ ก็ลองมาดูดวยตาตนเองก็ได

35


5. มหาวิหารนักบุญยวง ลาเตรัน (Basilica St. John Lateran)

เมื่อพูดถึงมหาวิหารแหงนี้ จําเปนตองพูดถึง Palazzo ที่ถูกเรียกชื่อวา Domus Faustae ควบคูกันไป Fausta นามสกุล Laterani ลูกสาวของ Massenzio และเปนภรรยา คนที่สองของคอนสแตนติโน Fausta ไดมอบปราสาทนี้ใหเปนที่จัดสังคายนาเพื่อตัดสิน Donatism และนับตั้งแตป ค.ศ. 313 พระสันตะปาปาก็เริ่มมาพักที่นี่ โดยถือเปนที่อยู ถาวรของพระสันตะปาปาและคูเรียดวย จึงตองนับวาเปนที่ประทับของพระสันตะปาปา ถาวร และสืบมาจนหมดสมัยกลาง (Medioeval) แตจะใหถูก ก็คือ จนถึงป ค.ศ. 1309 เมื่อ พระสันตะปาปายายไปพํานักที่อาวียอง สวนสถานที่ปจจุบัน เปนบานเณรใหญและมหาวิทยาลัย Lateranense เปนสวน หนึ่งที่จักรพรรดิคอนสแตนตินไดยกถวายแดพระสันตะปาปา และจักรพรรดิองคนี้เองได เริ่มตนสรางมหาวิหารแหงนี้ขึ้นมาโดยตั้งชื่อวา S. Salvatore เพื่อใหยึดถือเปนเหมือน “หัวหนา และสุดยอด (vertice) ของวัดทั้งหลายในโลกจักรวาลนี้” อาจกลาวไดวาใหเปน วัดเอก (Primato) เหนือวัดทั้งหลายในกรุงโรม ใหถือเปนมารดาของพระศาสนจักร (Mater Ecclesiae) ของพระศาสนจักรโรมัน สําหรับพระศาสนจักรตะวันออกและ ตะวันตก มหาวิหารนี้ถูกทําลายลงเพราะแผนดินไหวในป ค.ศ. 896 พระสันตะปาปา Sergius III (ค.ศ. 904-911) ไดสรางขึ้นมาใหม และเปลี่ยนชื่อจาก S. Salvatore มามอบ ใหแกนักบุญยอหน บัปติสต (St. John Baptist) และนักบุญยอหนอัครสาวก (John the Apostle) เวลาเดียวกัน ก็ไดสรางตึกบริหารงาน อารามนักบวช โรงพยาบาล และที่พัก สําหรับพวกแสวงบุญ ขึ้นมาดวย ตั้งแตป ค.ศ. 1192 มีหลักฐานแนชัดวา ที่นี่เปนสถานที่ เลือกตั้ง พระสันตะปาปา และดังนี้เอง กลางศตวรรษที่ 12 จึงมีตัวอักษร ตัวใหญเขียนอยูเหนือทางเดิน 2 ขางในวัดวา “โดยผานทางคําสอน Dogma ของ พระสันตะปาปาและของจักรพรรดิ ถูกกําหนดวา ขาพเจาเปนมารดาและหัวหนาของวัด ทั้งหลาย” ป ค.ศ. 1308 มหาวิหารถูกไฟเผาเกือบหมด (ชวงสมัยที่พระสันตะปาปา เคลเมนต ที่ 5 ยายจากกรุงโรมไปประทับที่อาวียอง) หลังจากซอมแซมแบบขอไปทีได ไมนาน ก็ถูกไฟไหมอีก ในป ค.ศ. 1361 มหาวิหารถูกซอมแซม แตตัวพระราชวัง (Palazzo) ไมสามารถใชการไดอีก เพื่อเปนที่ประทับของพระสันตะปาปา เพราะชวงนี้กําลังมีขาววา พระสันตะปาปาจากอาวียองจะกลับมาที่กรุงโรม วาติกัน และมหาวิหารนักบุญเปโตร ในฐานะที่มีเกียรติของนักบุญเปโตร จึงไดรับเกียรติเปนที่ประทับของพระสันตะปาปา จึงมีการถกเถียงกันวาที่ใดสําคัญกวากัน ระหวางลาเตรันและเซนตปเตอร พระสันตะปาปา เกรโกรี ที่ 11 จากอาวียอง ไดออกกฤษฎีกา (Bull) และประกาศ อยางเปนทางการวา Laterano ยังคงเปนสํานักเอก (Principal see) และเปนที่หนึ่ง เหนือวัดทุกแหงของกรุงโรมและของจักรวาล และเปนที่หนึ่ งเหนือมหาวิหารทั้งหลาย รวมทั้งเหนือเซนตปเตอรดวย พระสันตะปาปา ปโอ ที่ 5 ในป ค.ศ. 1569 ไดออก Bull ยืนยันเชนเดียวกับพระสันตะปาปา เกรโกรี ที่ 11 เพราะสมัยในของพระสันตะปาปา 36


ปโอ ที่ 5 นี้ ก็เริ่มมีการถกเถียงกันอีก ตอมาในสมัยพระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 (Sisto V) ไดทําการสรางใหมทั้งหมด เพราะโครงสรางเกานั้นใชไมไดแลว สิ่งที่ยัง เหลืออยูที่เปนของเกาแท ๆ ที่ เราพอจะเห็นไดก็คือ Private Chapel ของ พระสันตะปาปาที่เรียกชื่อวา Sancta Sanctorum ที่บรรจุพระธาตุนักบุญตาง ๆ มากมาย และบันได 28 ขั้นที่เรียกวา Scala Santa ทั้งหมดนี้คือ Sancta Sanctorum และ Scala Santa ถูกยายมาอยูที่ตึกเล็ก ๆ ที่สรางและออกแบบโดย Domenico Fontana สถาปนิกและนักศิลปะที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น ในการออกแบบนี้ไดมีแบบที่จะ สรางพระราชวังใหมขึ้นมาระหวางป ค.ศ. 1585-1589 เพื่อใชเปนที่ประทับในฤดูรอนของ พระสันตะปาปา แตพระสันตะปาปาไมไดประทับที่นี่ เพราะเปลี่ยนมาเปน Quirinale มาถึงตรงนี้ก็นาจะพูดถึง “บันไดศักดิ์สิทธิ”์ (Scala Santa) สักเล็กนอย บันไดศักดิ์สิทธิ์นี้เรียกอีกชื่อหนึ่งวา Scala Pilati หรือบันไดของ Pilato เปนบันได ที่ทําดวยหินออน มีทั้งหมด 28 ขั้น ปจจุบันถูกคลุมดวยไม ตามความนิยมดั้งเดิม (Tradition) ไดบอกและยืนยันวา พระเยซูเจาหลังจากไดถูกตัดสินประหารชีวิตแลว ไดเดินลงมาทางบันไดนี้ และนักบุญเฮเลนา (ค.ศ. 255-330) พระมารดาของจักรพรรดิ คอนสแตนติน (ป ค.ศ. 326 จาริกแสวงบุญไปที่แผนดินศักดิ์สิทธิ์ และเปนผูคนพบ ไมกางเขนที่ตรึงพระเยซูเจาดวย) ไดเปนผูนําบันไดนี้มาที่กรุงโรม ดังนั้น สถานที่แหงนี้จึง เปนสถานที่จาริกแสวงบุญ ผูจาริกแสวงบุญจะเดินขึ้นไปบนบันไดนี้โดยใชเขาเดินขึ้ นไป และบนยอดของบันไดนี้เปนที่ตั้งของ Sancta Sanctorum ที่สรางขึ้นตั้งแตป ค.ศ. 1278 ดังที่กลาวมาแลว มหาวิหารปจจุบันไดรับการซอมแซมและกอสรางเพิ่มเติมตั้งแตสมัยพระสันตะปาปา อูรบัน ที่ 5 ป ค.ศ. 1362-1370 เรื่อยมาจนถึงป ค.ศ. 1737 โดยใชสถาปนิกที่มีชื่อเสียง ในสมัยนั้นหลายคนดวยกันเปนผูออกแบบ เชน D. Fontana (ค.ศ. 1543-1604) F. Borromini (ค.ศ. 1599-1667) และ Alessandro Galilei (ค.ศ. 1691-1737) ปจจุบัน ยังตองถือวาวัดนี้เปน Omnium urbis et orbis ecclesiarum mater et caput ดังนั้น หลังจากที่พระสันตะปาปาถูกเลือกตั้งขึ้นมา จําเปนจะตองมาทําพิธีรับเปน เจาของมหาวิหารในฐานะที่เปน Sede ของตน (เรียกเปนภาษาอิตาเลียนวา presa di possesso) พระสันตะปาปา ปโอ ที่ 12 วางแผนที่จะใหมหาวิหารแหงนี้เปนสถานที่ทํางานของ สังฆมณฑลโรม แตตองทําการบูรณะเสียใหม พระสันตะปาปา ยอหน ที่ 23 ไดทําการบูรณะซอมแซมมหาวิหารแหงนี้ โดยมี พระประสงคจะใชเปน Vicariate of Rome หมายถึงศูนยกลางการบริหารงานสังฆมณฑล โรม พระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ไดทําตามพระประสงคของพระสันตะปาปาทั้งสอง องคที่กลาวมาแลว โดยจัดใหมหาวิหารแหงนี้เปน Vicariats of Rome ตามเกียรติที่มหา วิหารแหงนี้ ควรจะไดรับ เรื่องนารูอีกประการหนึ่งก็คือ ตําแหนงของพระสันตะปาปา ที่จริงแลวก็คือ สังฆราชแหงสังฆมณฑลโรม ใครก็ตามที่มีตําแหนงพระสันตะปาปาก็เปน สังฆราชแหงโรมนั่นเอง 37


มหาวิหารลาเตรัน (Laterano) ตามธรรมเนียมเกา พระสันตะปาปาจะตองลางเทาอัครสาวก 12 องค ในพิธีวัน พฤหัสศักดิ์สิทธิ์ที่นี่ แตนับตั้งแตป ค.ศ. 1834 เปนตนมา พระสันตะปาปา เกรโกรี ที่ 16 ไดยายมาทําพิธีดังกลาวที่มหาวิหารนักบุญเปโตร แตตามธรรมเนียมเกานั้น พระสันตะปาปา จะลางเทาอัครสาวก 12 องค ณ มหาวิหารแหงนี้ รูปนักบุญเปโตร ปกติจะตองมีกุญแจอันเปนสัญลักษณหมายถึงอํานาจหนาที่ (Autorità) แตหลาย ๆ รูปก็แตกตางกัน บางรูปนักบุญเปโตรถือกุญแจดอกเดียว บางรูปถือ 2 ดอก และบางรูปถือ 3 ดอกก็มี กุญแจ 1 ดอก หมายถึงพระศาสนจักรที่เปน una, santa, catholica e apostolica ซึ่ง หมายถึง พระศาสนจักรที่เปนหนึ่งเดียว มีฝูงแกะฝูงเดียว และนาย ชุมพาบาลเพียงผูเดียว กุญแจ 2 ดอก ดอกหนึ่งจะเปนสีทอง และอีกดอกหนึ่งจะเปนสีเงิน ดอกสีทอง หมายถึงอํานาจดานวิญญาณที่จะผูกหรือแก ที่จะเปดหรือ ปดประตูสวรรค นอกจากนี้ ยังหมายความถึง Potenza หรือการมีอํานาจ บางคนใหความหมายวา หมายถึงความ สามารถ (Potestà) ที่จะตัดสินในเรื่องการใชโทษบาป (Penitenza) ดอกสีเงิน หมายถึ ง อํ า นาจในการปกครองพระศาสนจั กรและยั ง หมายถึงความรู (scienza) บางคนใหความหมายวา หมายถึ ง อํ า นาจที่ จ ะกํ า หนดถึ ง การตั ด สิ น เฮเรติ๊ ก (Anatema) และขั บ ไล อ อกจากพระศาสนจั ก ร (ex-communication) ก็ได ในพระราชวังลาเตราโน ในสวนที่เรียกวา Triclinium มีรูปนักบุญเปโตรที่ถือ กุญแจ 3 ดอก เปนกุญแจที่หมายถึง ความรู (scienza) อํานาจปกครอง (potenza) และ อํานาจการตัดสิน (Giurisdizione) ของพระสันตะปาปา หากจะตีความหมายวาหมาย ถึง กุญแจที่เปดและปดประตูสวรรคดวย การใชโทษบาป (penitenza) พระคุณการุณ (indulgenza) และการขับไล (scomunica) ก็ถูกตองเหมือนกัน ในระหวางพิธีเขารับตําแหนง (presa di possesso) ที่ลาเตราโนของ พระสันตะปาปาพระสันตะปาปาจะคาดเข็มขัดที่ประกอบไปดวยกุญแจ 7 ดอก และตรา ประทับ (Sigilli) 7 ดวง เปนเครื่องหมายถึงพระคุณของพระจิต 7 ประการ และศีล ศักดิ์สิทธิ์ 7 ศีล ซึ่งพระสันตะปาปาจะตองเปนผูโปรดใหแกประชากร

38


Basilica Santa Croce di Gerusalemme แปลไดวา มหาวิหารนอยกางเขน

ศักดิ์สิทธิ์แหงเยรูซาแลม หางจากมหาวิหารลาเตรันไมมากนัก แตก็ไมใกลชนิดเดินไดนะครับ ตองนั่งรถไป ก็จะเปนมหาวิหารไมกางเขนศักดิ์สิทธิ์แหงเยรูซาแลม มหาวิหารนี้เปนการแสดงออกของ ความเชื่อและศิลปะที่ไดรับการดลใจจากกางเขนของพระเยซูเจาอยางแทจริง ตั้งอยูบน เนินเขาที่ชื่อวา Esquilina แรกทีเดียวก็เปนวัดนอยสวนตัวของเฮเลนา แตหลังจากนั้นก็ ไดรับการบูรณะตกแตงเพิ่มเติมเรื่อยมาจนถึงสมัยนี้ พระสันตะปาปาทุกพระองคให ความสําคัญตอที่นี่มากเพราะเปนสถานที่เก็บรักษา พระธาตุตางๆที่เกี่ยวกับพระมหา ทรมานของพระเยซูเจาเอง นักบุญเฮเลนาเกิดป 250 ชอบเก็บตัวมากกวาและไดเปนคริสตชนอยางลับๆแลว จนกระทั่งลูกชายคือจักรพรรดิ คอนสแตนตินไดรับชัยชนะจากเครื่องหมายกางเขน การ สงครามที่ควรแพ นะครับ จากนั้นเธอไดรับตําแหนงเปน Augusta นักประวัติศาสตร ชื่อ เอวเซบีอุส 265-340 บันทึกไววา จักรพรรดิเฮเดรียนไดสรางวิหารเทพเจาไวที่เขากัล วารีโอและที่ที่ฝงศพพระเยซู เพื่อใหคริสตชนลืมความเชื่อเรื่องนี้ไป จนกระทั่งคอนสแตน ตินประกาศใหศาสนาคริสตพนจากการเบียดเบียนในป 313 พระองคใหสรางและนํา วิหารหลายแหงของเทพเจามาเปนวัดวาอารามตางๆของคริสตศาสนา ชวงเวลานี้เองที่ เฮเลนาเริ่มเดินทางไปแผนดินศักดิ์สิทธิ์ ตอนนั้นอายุราว 80 ปแลว นักบุญอัมโบรซีโอยก ยองคุณธรรมของเฮเลนาอยางมากและเชื่อวาเธอเปนผูที่พบกางเขนแทของพระเยซูเจา เธอพบกางเขนสามอันที่เขากัลวารีโอ มีการแหเ ขากรุงเยรูซาแลมอยางยิ่งใหญ นักบุญ มาคารีอุส สังฆราชแหงเยรูซาแลม ตอนนั้นภาวนาขอเครื่องหมายจากพระเจา เพื่อจะได แยกออกวาอันไหนเปนกางเขนของพระเยซูเจา ทานนําเด็กหนุมที่เสียชีวิตแลวมาและจับ มือสัมผัสกางเขน ไมกางเขนนี้ทําใหเด็กหนุมฟนจากความตาย เฮเลนาแบงกางเขนแทออกเปนสามสวน สวนหนึ่งเก็บไวที่เยรูซาแลม สวนที่สอง ใหลูกชายเก็บไวที่คอนสแตนติโนเปล สวนที่สามเธอนํากลับมาไวที่กรุงโรม คือที่วัดนอย ของเธอเอง เธอนํากลับมาพรอมกับตะปูที่ตอกตรึงพระเยซูหนึ่งตัวและดินจํานวนมาก จากเขากัลปวารีโอ เธอนําดินเหลา นั้นมาโปรยลงยังที่ที่จะสรางเปนวัดนอยของเธอ นั่นเอง กางเขนนี้ถูกเก็บไวที่วัดนอยนี้ประมาณพันป หลังจากนั้นก็มีการยายไปหลายแหง เพื่อใหคริสตชนไดสวดภาวนาและรําพึง เคยเก็บไวในอารามนักพรตที่นี่ดวย แตที่สุดตอง เปลี่ยนเพราะคริสตชนเขาชมไดลําบากมาก ในปศักดิ์สิทธิ์ป 1925 มีโครงการสรางวัดให ใหญขึ้น เพื่อเก็บรั กษาพระธาตุนี้ พระสันตะปาปาจอหน ปอลที่ 2 เสด็จเยี่ ยมที่นี่ 25 มีนาคม 1979 ไมกี่เดือนหลังจากเปนพระสันตะปาปาและทรงเรียกที่นี่วา Sanctuary of the Cross และเรียกดวยชื่อนี้มาจนถึงปจจุบัน มีคนสงสัยทุกยุคทุกสมัยวากางเขนนี้เปนของแทหรือไม แตพระสันตะปาปาทุก ยุคทุกสมัยไมเคยสงสัยเลย เพราะประวัติศาสตรเรื่องนี้ไดรับการตรวจสอบและเชื่อกัน 39


มานาน ในหนังสือระเบียบพิธีของพระสันตะปาปาเองก็ระบุแนวทางปฏิบัติทางพิธีกรรม ไวชัดเจนดวย ในอดีตทุกวันศุกรศักดิ์สิทธิ์พระสันตะปาปาจะนําขบวนแหดวยเทาเปลา พรอมกับคณะสงฆและมวลสัตบุรุษจากมหาวิหารลาเตรันมายังมหาวิหารนอยแหงนี้ เพื่อ นมัสการกางเขนนี้ และพระสันตะปาปายังไดแจกจายสวนหนึ่งเล็กๆจากไมกางเขนนี้ ใหแกบรรดาพระสังฆราชในสมัยกอนดวยเพื่อยืนยันวา เปนไมกางเขนของพระเยซูเจา และทุกคนตองแบกกางเขนเดียวกันนี้เชนเดียวกับพระอาจารย เสียดายที่ระเบียบพิธีนี้ เปลี่ยนไปแลว เพราะวันศุกรศักดิ์สิทธิ์พระสันตะปาปาจะนําการเดินรูป 14 ภาคที่โค โลเซียมแทน ปจจุบันการมอบชิ้นไมกางเขนใหแกพระสังฆราชก็ไมมีแลวครับ อาจเปน เพราะไมมีเพียงพอที่จะมอบไหอีกตอไปนั่นเอง ที่ นี่ เ องยั ง ได เ ก็ บ รั กษาตะปู ที่ ต อกตรึ ง พระเยซู เ จ า ด ว ย นั กประวั ติ ศ าสตร ใ น ศตวรรษที่ 4 บันทึกไววาเฮเลนาไดพบตะปูสามตัว ตัวหนึ่งเธอไวที่บังเหียนมาของลูกชาย คือจักรพรรดิคอนสแตนติน อีกตัวหนึ่งไวที่มงกุฎของลูกชายและตัวที่สามเธอนํามาไวที่นี่ ดวย เราจะไดพบกับปายชื่อเหนือไมกางเขนที่จารึกสามภาษาคือ ฮีบรู กรีกและลาติน ตามที่มีอยูในประวัติ หนามสองอันซึ่งเคยถูกยายไปหลายแหงทั้งที่ คอนสแตนติโนเปล ที่ ฝรั่งเศสในชวงเวลาสงครามครูเสด นอกจากนี้ก็มีสวนของหินที่มาจากถ้ําที่ฝงศพพระเยซู เจ า หิ น ที่ม าจากเสาหิน ที่ มัด และเฆี่ย นพระองค มี กางเขนของโจรผู เป น ทุกข กลั บ ใจ ดานขวาของพระองค ที่สุดก็มีนิ้วมือของนักบุญโทมัสมาวางไวที่นี่ดวย ใครพอจะบอกได วาทําไมจึงเกี่ยวของกับนักบุญโทมัส ที่สุดใกล ๆ กับหองนี้เอง เปนที่เก็บศพของเด็กหญิงเล็กๆคนหนึ่งชื่อ Antonietta Meo รูจักกันในชื่อ Nennolina (1930-1937) ตั้งแตป 1999แลว เธอเคยมีชีวิตอยูใกลชิด กับสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แหงนี้ ตายดวยโรคมะเร็งกระดูกตั้งแตอายุหกขวบครึ่ง แตเธอมี ชีวิตที่พิเศษมาก มีจดหมายหลายฉบับที่เธอเขียนถึงพระเจา ถึงพระเยซู พระจิตและแม พระ เปนเด็กที่มีชีวิตจิตสนิทกับพระอยางนาประหลาด บางทีอาจเปนเพราะเธอมีโอกาส ใกล ชิ ด กั บ สิ่ ง ที่ ใ กล ชิ ด กั บ พระเยซู เ จ า มากที่ สุ ด ก็ ไ ด น ะครั บ ที่ นี่ เ ราควรขั บ ร อ งเพลง กางเขนชัย พรอมกันนะครับ คงดีสําหรับความเชื่อของเราที่ไดมีโอกาสนมัสการกางเขน ที่พระเยซูเจาใช เพื่อไถบาปเราดวยชีวิตของพระองคเอง อยาลืมแบกกางเขนของเรา ดวยนะครับ

6. Colosseo หรือ Coliseum

มีชื่อเต็มวา Flavian Amplitheatre นับวา เปนสนามกีฬาที่ใหญที่สุดที่ถูกสราง ขึ้นมา ในสมัยอาณาจักรโรมัน เปนงานที่แสดงใหเห็นถึงความยิ่งใหญทางดานการออก แบบสถาปตยกรรม และวิศวกรรม (Architecture and Engineering) อาณาจักรโรมัน สรางสนามกีฬาไวหลายแหงดวยกัน อาจจะกลาวไดวา เกือบทุกแหงที่อาณาจักรโรมันแผ

40


อิทธิพลไปถึงก็วาได แมแตในกรุงโรมเองก็มีอยูหลายแหง ยกตัวอยางเชน สนามกีฬาโค ลิโกลาที่เนินวาติกัน เปนตน แตสนามกีฬาโคโลเซโอแหงนี้นับวายิ่งใหญที่สุด สนามกีฬาโคโลเซโอ ตั้งอยูทางดานตะวันออกของ Romano Foro ถูกสรางขึ้น ในระหวาง ป ค.ศ. 70-72 สมัยจักรพรรดิ Vespasian สําเร็จบริบูรณในป ค.ศ. 80 สมัย Titus และไดรับการปรับปรุงเพิ่มเติมในสมัยของ Domitian สามารถบรรจุผูชมได 50,000 คน ใชเพื่อชมการแขงขันการตอสูของนักสูซึ่งรูจักกันในนามของ Gladiators และชมการ แสดงตาง ๆ ถูกใชงานเปนเวลานานถึง 500 ป นอกเหนือจากการชมการตอ สูของ นักรบแลว การแสดงอื่นๆ ที่นาสนใจก็มี การแสดงการตอสูทางทะเล ชาวโรมันสามารถ ปรับเปลี่ยนสนามกีฬาใหเปนสมรภูมิทางทะเลไดอยางนาอัศจรรยทีเดียว ทั้งนี้ ก็ มาจาก การออกแบบโครงสราง ระบบทอสงน้ําและระบบน้ําของชาวโรมันนั่นเอง นอกจาก นี้ ยัง ใชเปนที่ประหารชีวิตนักโทษ นักโทษของอาณาจักรโรมันมีอยูหลากหลาย เปนทั้งนักโทษ การเมือง นักโทษจากการทําสงคราม และนักโทษทางศาสนา ซึ่งหมายถึงบรรดา คริสต ชนในสมัยนั้น บรรดาคริสตชนถูกอาณาจักรโรมันเบียดเบียนเปนเวลาถึง 200 กวาป นับตั้งแตจักรพรรดิเนโรกลาวรายวา พวกคริสตชนเปนผูที่เผากรุงโรม ในป ค.ศ. 60 เพลิงเผากรุงโรมนาน 5 วัน ทําลาย 4 เขตของโรมโดยสิ้นเชิง และเสียหายอยางมากใน อีก 7 เขต มีอยูเพียง 3 เขตของโรมเทานั้นที่รอดพนจากไฟไหมครั้งนั้น ศาสนาคริสตก็ กลายเปนศาสนาตองหาม และมีโทษอยางหนัก จนถึงประหารชีวิต คริสตชนตองหลบ ซอนอยูในอุโมงคใตดิน ซึ่งรูจักกันในนามของ Catacomba อุโมงคที่มีชื่อเสียงและเปน สถานที่ที่นักทองเที่ยวไปชม ไดแก Catacomba di S. Callisto อันที่จริง อุโมงคเหลานี้มี อยูหลายแหงทีเดียวในกรุงโรม การเบียดเบียนศาสนานี้มาสิ้นสุดในสมัยจักรพรรดิคอนส แตนติ น (Constantine) ซึ่ ง หลั ง จากได รั บ ชั ย ชนะจากสงครามอย า งอั ศ จรรย ด ว ย เครื่องหมายกางเขนบนทองฟา ไดประกาศใหคริสตศาสนาเปนศาสนาประจําชาติของอาณา จักรโรมัน ตั้งแตป ค.ศ. 305 เปนตนมา ในระหวางการเบียดเบียนศาสนา 200 กวาปนี้ คริสตชนถูกจับและประหารชีวิต ในรูปแบบตาง ๆ มากมาย ทั้งการตรึงกางเขน การถูกเผาทั้งเปน การทรมานและจําคุก ตลอดชีวิต การตัดศีรษะ รวมถึงการตอสูกับสัตวรายที่หิวกระหายในสนามกีฬาตาง ๆ บรรดาคริสตชนเสียชีวิตในสนามกีฬาโคลิโกลาที่เนินวาติกันมากที่สุด แตก็มีคริสตชนจํานวน หนึ่งเสียชีวิตที่สนามกีฬาโคลิเซโอแหงนี้ดวย และเนื่องจาก คริสตชนเหลานี้ยอมสละชีวิต เพื่อความเชื่อในพระเยซู ไมยอมประกาศละทิ้งศาสนา พระศาสนจักรคาทอลิกประกาศ ใหพ วกทานเป นมรณสั กขี (Martyrs) และเพื่อ เป นเกี ยรติแ ดพวกท านเหล านี้ สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาจะเสด็ จ มาทํ า พิ ธี ท างศาสนา ซึ่ ง เรี ย กกั น ว า “มรรคาศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ” (The Way of the Cross) ในวันศุกรศักดิ์สิทธิ์ (Good Friday) ของทุกป

41


ปจจุบัน สนามกีฬาแหงนี้เปนสัญลักษณแหงความเจริญของอาณาจักรโรมัน และ ไดรับการยกยองใหเปนหนึ่งในสิ่งมหัศจรรยของโลกดวย ความยิ่งใหญของอาณาจักรโรมัน ปรากฏอยางชัดเจนในบริเวณที่เรียกวา “Romano Foro” ซึ่งอยูใกล ๆ กับสนามกีฬา สําหรับผูที่สนใจโบราณคดีหรือประวัติศาสตร ก็สามารถพบกับประตูชัยตาง ๆ ของอาณา จักรแหงนี้ พระราชวังของจักรพรรดิเนโร วิหารเทพเจาตาง ๆ และสิ่งปลูกสรางที่นาสน ใจอีกมากมาย Romano Foro ใหญมาก ปจจุบัน ประเทศอิตาลีก็กําลังขุดหาและบูรณะ เพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อันที่จริง กรุงโรมซึ่งเปนนครหลวงของประเทศ ควรจะมีบริการ รถไฟใตดินมากกวาที่เปนอยูนี้ แตก็ไมสามารถทําได เพราะเกรงวาการขุดอุโมงคสําหรับ รถไฟใตดิน จะเปนการทําลายโบราณสถานเหลานี้นั่นเอง

วัด il Foro et il Carcere Mamertino

คุกนี้ชื่อ Mamertino ตั้งอยูที่ Clivo Argentario ใตวัด S. Giuseppe dei Falegnami เปนคุกเกาแกและยาวนานที่สุดของกรุงโรม Tullianum เป น สถานที่ นั ก โทษของรั ฐ จะถู ก ทิ้ ง และขั ง ไว อ ย า งโดดเดี่ ย ว นักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลก็ถูกนํามาขังที่นี่ดวย ไมมีแสงสวางในหองขังเลย ที่นี่เอง ในขณะที่ทานนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลถูกนําตัวลงไปหองใตดิน นักบุญเปโตรไดหก ลม และศีรษะของทานกระแทกกําแพง รองรอยยังคงปรากฏอยูในที่ที่ทานถูกคุมขัง ก็ไดมีตาน้ําขึ้นมาอยางนาอัศจรรย (Tullus : ตาน้ํา, ชื่อ Tullianum มาจากเหตุนี้) ทานทั้งสองที่ไดทําให Processo และ Martiniano ซึ่งเปนผูคุมนักโทษดูแลคุกนี้กลับใจ คุก Mamertino ซึ่งนักบุญเปโตรและเปาโลถูกนํามาขังเปนนักโทษฉกรรจ แทนสัญลักษณการจับกุมและกักขังทานนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโล ตั้งอยูบริเวณ ทางเขาเยี่ยมชมคุก บริเวณที่นักบุญเปโตรเสียหลัก ศีรษะกระแทกกับกําแพงและเปน รองรอยที่ถูกเก็บรักษาไวใหเห็นจนถึงปจจุบันนี้ หองขังใตดินของนักบุญเปโตร และนักบุญเปาโลมี แผนหินออนเลาเรื่องการ กลับใจของ Processo และ Martiniano ผูคุมคุก รวมทั้งผูกลับใจอีก 47 คน โดยรับการ รับศีลลางบาปดวยน้ําจากตาน้ํา ที่เกิดขึ้นภายในหองขั งอยางอัศจรรย คุกแหงนี้ตั้งอยู ใกลกับ Foro Romano เวลาเราลงไปชมจะชมไดครั้งละไมมากเนื่องจากทางลงก็เล็ก และแคบ บริ่วณดานลางนั้นก็เล็ก มาถึงที่นี่ก็ควรลงไปชมนะครับ เราจะรูถึงความรูสึก ของทานนักบุญทั้งสองกอนที่จะรับเกรียรติเปนมรณสักขี แบบอยางความเชื่อของเรา

7. Pantheon

ขอแนะนําสถานที่นาเยี่ยมชมในกรุงโรมที่นาสนใจมากอีกแหงหนึ่ง นั่นคือ Pantheon หากไป เยี่ยมชมประมาณ 4-5 โมงเย็นละก็ จะมีเวลาเยี่ยมชมสักครึ่งชั่วโมง ดื่มกาแฟ 42


หอมกรุนที่อยูใกล ๆ นั่นคือ กาแฟ Tazza d’Oro แปลวา ถวยทอง จากนั้น ก็เดินลัดไป เยี่ยมชม Piazza Navona ดูบรรยากาศที่นั่น ตอนเย็นๆ ก็จะมีศิลปนมานั่งวาดรูปเหมือน และรู ปตลกๆ ใหดูมากมาย เป นสถานที่น าเดิน เลน และดูวิถีชี วิตของชาวเมือ งและ นักทองเที่ยว บริเวณรอบๆ Piazza แหงนี้ ก็มีรานอาหาร ไอศกรีม และเครื่องดื่มตางๆ มากมาย แตก็คอนขางแพงนะครับ เพราะเปนสถานที่ยอดนิยม กลับมาที่ Pantheon ของเราดีกวา ตั้งอยูใกลมากเลยกับ Largo Argentina เดิน เขาทางเล็ก ๆ กอนจะถึง Pantheon ก็จะผานรานตัดเสื้อที่มีชื่อเสียงมากรานหนึ่ง ชื่อวา Gammarelli ซึ่งเปนรานตัดเสื้อของพระสันตะปาปา คารดินัล สังฆราช สงฆชั้นผูใหญ สืบตอกันมานานมากทีเดียว ก็เพียงแครูไวเทานั้น ติดกันก็เปน Academy สถาบันอบรม นักการทูตของรัฐวาติกัน ที่นี่มีพระสงฆที่มาจากทั่วโลก เพื่อจะทําหนาที่ทาง การทูตใน อนาคต หนึ่งในจํานวนี้ก็มีพระสงฆไทยรวมอยูดวย 1 องค กลับมาที่ Pantheon ของเราอีกครั้งละกัน มาถึงซะที Pantheon เปนภาษากรีก นะครับ แปลวา “วิหารแหงเทพเจา” ทั้งนี้ เพราะพวกกรีกและชาวโรมันดั้งเดิม มีความ เชื่อถึงบรรดาเทพเจา วิหารนี้ถูกสรางขึ้นเปนเกียรติแดเทพเจา 7 องคแหงดาวทั้ง 7 ซึ่ง ศาสนาประจําชาติโรมันโบราณนั้นไดกลาวไว สมัยกอนนั้นก็รูจักดวงดาวแค 7 ดวง ไมใช 9 ดวงอยางในปจจุบัน ไดยินวา ปจจุบัน มีการคนพบดวงที่ 10 แลวดวย ดานหนาของ Pantheon มีอักษรจารึกเปนภาษาลาตินM·AGRIPPA·L·F·COS· TERTIUM·FECIT มาจากคําเต็มๆ วา MARCUS AGRIPPA Lucii Filius Consolatum Tertium Fecit แปลวา MARCUS AGRIPPA บุตรชายของ Lucius เปนผูสราง ในขณะ ดํารงตําแหนงเปนกงสุลครั้งที่ 3 Agrippa สราง Pantheon ในป 27 B.C. (กอนคริสตศักราช) เพื่อเปนอนุสรณถึง สงคราม แหง Actium ในป 31 กอนคริสตศักราช แตไฟไหมครั้งใหญ ป 80 A.D. ได ทําลาย Pantheon ที่ Agrippa ไดสรางไว หลังที่เราเห็นในปจจุบันนี้สรางขั้นในป 125 A.D. ในสมัยจักรพรรดิ Hadrian โดยใชอักษรสลักหนาวิหารนี้เหมือนของวิหารเดิม บาง คนอาจจะสงสัยนะครับวา สรางป 27 B.C. เปนอนุสรณถึงสงครามป 31 B.C. คําตอบก็ คือ การนับป B.C. หรือกอนคริสตศักราช เรานับถอยหลังจากมากไปหานอย ดังนี้ ป 31 B.C. เปนเหตุการณที่เกิดกอนป 27 B.C. ในป ค.ศ. 609 จักรพรรดิ Phocas แหงอาณาจักรใบซินติน ไดมอบ Pantheon นี้ ใหแกพระสันตะปาปา Boniface ที่ 4 ซึ่งไดทําการอภิเษกวิหารนี้ใหเปนวิหารของคริสต มี ชื่อวา “วิหารแหงพระแมมารีอาและนักบุญมรณสักขีทั้งหลาย” ตอมา ในป 663 A.D. จักรพรรดิ Constans ที่ 2 ไดสั่งใหนําทองบรอนซซึ่งอยูในวิหารนี้กลับไปกรุงคอนสแตนติน โนเปล (ปจจุบัน คือ เมืองอิสตันบูล) และตลอดเวลาหลายศตวรรษตอ ๆ มา สมบัติของ 43


วิหารนี้ก็ไดถูกนําไปยังที่ตาง ๆ เชน หินออนตกแตงดานนอก รูปแกะสลักตาง ๆ รูปปน ตาง ๆ ยังโชคดีที่หินออนตกแตงภายใน และประตูทองบรอนซยังคงอยู ในศตวรรษที่ 15 และศตวรรษที่ 16 วิหารนี้ถูกใชเปนที่ฝงศพของบุคคลสําคัญ เชน ศิลปน Raffaelo, Annibale Caracci และ Baldassare Peruzzi ซึ่งเปน Architect ที่มี ชื่อเสียง นอกจากนี้ ในศตวรรษที่ 15 วิหารนี้ยังไดรับการตกแตงดวยภาพวาดตาง ๆ รูปที่ เปนที่รูจักดีมีชื่อเสียง ไดแก Annunciation หรือเทวดาแจงสารแกแมพระ วาดโดย Melozzo da Forli, Brunelleschi เปนผูออกแบบ โดมของอาสนวิหารเมือง Florence ก็ ไดรับแรงบันดาลใจจากวิหารแหงนี้ ตน ๆ ศตวรรษที่ 17 พระสันตะปาปา อูรบาโน ที่ 8 สั่งใหหลอมทองบรอนซบน หลังคาของมุขทางเขาวิหาร เพื่อนําไปใชในการสรางปนใหญสําหรับปอมที่ปราสาท Castel Sant Angelo และสวนหนึ่ง Bernini ไดนําไปใชสรางปะรํา (Baldachin) ทองบรอนซที่อยู เหนือพระแทนหลุมศพของนักบุญเปโตร อยางไรก็ตาม ทองบรอนซสวนใหญที่ Bernini ใชนั้น นํามาจาก Venice และนี่เองจึงเปนที่มาของคําพูดที่มีอยูในบทประพันธของ Pasquino ที่กลาววา “Quod non fecerunt barbari, fecerunt Barberini” แปลไดวา “สิ่งที่พวกบารเบเรียน ไมไดทํา พวก Barberini ไดทํา” เพราะวา Barberini เปนชื่อตระกูลของพระสันตะปาปา อูรบาโน ที่ 8 นั่นเอง พูดถึงเรื่องหลุมศพของศิลปน Raffaelo ที่อยูในวิหารนี้ ผูนํากลุมทัวรบางคนก็ เขาใจผิด โดยคิดวา Raffaelo เปนชื่อของเทวดาองคหนึ่ง ที่จริงก็เขาใจไดถูกตอง เพราะ Raffaelo เปน 1 ใน 3 เทวดาองคใหญที่ทางศาสนาคริสตเชื่อถือ แตผูนําทัวรบางทานก็ อธิบายใหลูกทัวรคนไทยฟงวา “นี่แหละ หลุมศพของเทวดาราฟาเอโล” ลูกทัวรก็เลยเพิ่ง รูวาเทวดามีศพกับเขาดวย ผูที่มีใจศิลปน จึงมักชอบที่จะมาเยี่ยมหลุมศพของศิลปนผูมี ชื่อเสียงผูนี้ นอกจากนี้ ภายในวิหารยังเปนที่ฝงศพของบุคคลสําคัญอีกหลายคน ไดแก กษัตริย Vittorio Emanuele ที่ 2 และกษัตริย Umberto ที่ 1 พรอมทั้งราชินี Margherita เรื่องที่นารูอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ประเทศอิตาลีเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปน ระบบสาธารณรัฐ (Republic) ตั้งแตป ค.ศ. 1946 แตก็ยังคงมีองคกรบางองคกรที่ติด ยึดอยูกับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช พวกนี้จึงยังคงมาทําพิธีระลึกถึงระบอบนี้ ที่ หลุม ศพของกษัตริยในวิหารแหงนี้ ฝายสาธารณรัฐก็ตองประทวงเปนธรรมดา อยางไรก็ตาม วิหารนี้ก็อนุญาตใหทําพิธีระลึกถึงนี้ไดทุกป โครงสราง - ซุมประตูทางเขา ประกอบไปดว ยแนวเสาหิน แบบ Corinthian เปน เสาหิน แกรนิ ต ขนาดใหญ หนักประมาณ 5,000 ตัน - พื้นฐานภายในเปนรูปทรงกลม ดานบนเปน Dome ทําดวยคอนกรีต 44


- ใจกลางของโดมเปนชองวางเปด เรียกว า Oculus หมายถึง ดวงตาที่ยิ่งใหญ (Great Eye) จองมองทองฟา - บริเวณกําแพงดานในสุดจะเปนชองหินหลายชอง เขาใจวา สําหรับใสรูปปนของซีซาร , เอากุสตุส และอากริปปา หรือบรรดาเทพเจาตาง ๆ - ประตูขนาดใหญเขาสูวิหารทําดวยทองบรอนซ แตก็เคยถูกเคลือบดวยทองคํา ซึ่งปจจุบัน นี้ ทองคําเหลานั้นไมมีเหลือใหเห็นแลว - จั่วของวิหารถูกตกแตงดวยประติมากรรมทองบรอนซ เลาเรื่องสงคราม Titans - ความสูงของโดมคือ 43.3 เมตร เมื่อเรามองขึ้นไปยัง Oculus หรือ Great Eye เราจะพบกับสัญลักษณของ สวรรค Great Eye เปนตนกําเนิดของแสงสวาง และสัญลักษณของพระอาทิตย เวลา เดียวกัน ก็ทําหนาที่ใหความเย็น และถายเทอากาศดวย โดยมีคําอธิบายดังนี้ ขณะที่ลม ภายนอกพัดผาน Oculus จะทําใหภายใน มีแรงดันออก เราเรียกวา Venturi Effect ดัน อากาศออกไปภายนอกโดยผาน Oculus เวลาเดียวกัน ก็ดึงลมจากภายนอกโดยผานทาง ประตูทางเขาขนาดใหญดวย อยางไรก็ตาม เมื่อฝนตก น้ําฝนก็จะตกลงมาภายในวิหาร โดยผานทาง Oculus นี้ ดวย แตพื้นดานลางนั้นก็มีรูเล็ก ๆ เพื่อระบายน้ําออกไป ดังนั้น จะไมมีน้ําฝนขังอยูภาย ในวิหารเลย ในสมัยโบราณ เมื่อมีการบูชาบรรดาเทพเจาตาง ๆ ดวยไฟ ควันไฟเหลานี้จะ ทําใหน้ําฝนไมสามารถผานกลุมควันอันหนาทึบนี้ไดอีกดวย โครงสรางวิหารนี้ไดรับการศึกษา จากวิศวกรหลายคน และตางก็มีความเห็นเดียวกันวา โครงสรางของวิหารไมนาจะรับน้ํา หนักทั้งหมดของวิหารไดเลย และก็ยัง ไมเขาใจวาวิหารนี้สามารถตั้งอยูไดหลายศตวรรษ มาแลวไดอยางไร การตกแตงภายในปจจุบัน เปนการตกแตงแบบคริสต ไมมีความเชื่อในเรื่องของเทพเจาตาง ๆ โดยจะมีแทน และรูปวาดเลาเรื่องตาง ๆ ในศาสนาคริสต รูปวาด รูปปนของบรรดานักบุญ โดยศิลปน ของแตละสมัย สวนรูปแกะทองคําที่อยูเหนือหลุมศพของกษัตริย Emanuele ที่ 2 นั้น ตั้งไวเพื่อเปนเกียรติแดกษัตริย Vittorio Emanuele ที่ 3 ซึ่งสิ้นพระชนมในแดนเนรเทศ ในป ค.ศ. 1947 อยาลืมนะครับ อานอยางเดียว สูไปดูดวย อานไปดวย ไมไดเลย

8. บันไดสเปน (Spanish Steps)

พูดถึง “บันไดสเปน” ปจจุบันนี้เปนที่รูจักในฐานะที่เปนยานรานคา บรรดาสินคามี ชื่อแบรนดเนมทั้งหลาย เชน Cucci, Prada, Luis Vitton, Bulgari, Ferragamo, Valentino และอื่น ๆ อีกมาก นอกจากนี้ ก็ยังมีรานอาหารและรานกาแฟที่มีชื่อเสียง ไดแก Caffe 45


Greco เพราะเปนรานคาเกาแก ผูที่มีชื่อเสียงของอิตาลีตางก็เคยมาดื่มกาแฟรานนี้ ดวยกันทั้งนั้น ใครเดินผานจะแวกเขาไปลิ้มลองดู ก็เทไมเบา ที่จริง กาแฟของเขาก็อรอย จริง ๆ ดวย ทั้งรสชาติและราคา แต “บันไดสเปน” นั้นหมายถึงบันได 138 ขั้น สรางขึ้นดวยเงินทุนของนักการทูต ฝรั่งเศส ที่ชื่อวา Étienne Guffier ดวยเงิน 20,000 Scudi บันไดนี้สรางขี้นในระหวางป ค.ศ. 1723-1725 เชื่อมระหวางวัด Trinità des Monti ซึ่งกษัตริยราชวงศ Bourbon แหง ฝรั่งเศส เปนองคอุปถัมภกับสถานทูตสเปนประจําสันตะสํานัก (Holy See) ซึ่งตั้ง อยูใน Palazzo Monaldeschi ดานลาง บันไดนี้ชาวอิตาเลียนเขาเรียกวา Scalinata เปนบันไดที่ กวางและยาวที่สุดในทวีปยุโรป แตทําไมตั้งชื่อ “บันไดสเปน” ก็ไมทราบเหมือน กัน ทั้ง ๆ ที่ผูออกสตางคก็เป นฝรั่งเศส วั ด Trinità ดานบนก็อุป ถัมภโดยกษัต ริยฝรั่ ง เศส เพียงแตมีสถานทูตสเปนอยูดานลางเทานั้นเอง บันไดนี้มีประวัติมายาวนานกอนการ สราง นับตั้งแตป ค.ศ. 1580 เปนตนมา พระสันตะปาปาหลายองคสนพระทัยจะสรางบันได นี้ แตโครงการก็ถูกแชแข็งไวดวยเหตุผลตาง ๆ นานา จนกระทั่งมีการประกวดออกแบบ อยางจริงจัง ในป ค.ศ. 1717 ผูออกแบบบันไดนี้ ไดแก Francesco de Sanctis เรื่องที่ควรรูอีกเรื่องหนึ่งก็คือ เทศบาลกรุงโรมออกกฎระเบียบหามทานอาหารที่ บันไดแหงนี้ แตนักทองเที่ยวสวนใหญก็ชอบที่จะนั่งคุยกัน ทานอาหารจานดวน ดื่มน้ํา ดื่ม เครื่องดื่มตาง ๆ กันอยูเสมอ หลายครั้งก็มักจะมีการเลนดนตรี การแสดงเพื่อหาสตางค ของพวกศิลปนจําเปน ก็ทําใหบันไดสเปนมีบรรยากาศคึกคัก และเต็มไปดวยผูคน ผมก็ ยังไมเคยเห็นตํารวจมาตักเตือนพวกที่ทานอาหารกันที่นี่เลย ลานสเปน (Piazza di Spagna) ไมรูจะตั้งชื่อไทยวาอยางไรดี ก็เรียกวา “ลานสเปน” ก็แลวกัน เปนลานที่อยูดาน หนาของบันไดสเปน ตรงกลางลานจะมีน้ําพุซึ่งเปนรูปเรือโบราณ เรียกเปนภาษาอิตาเลียน วา La Fontana della Barcaccia แปลตรงตัวเลยวา “น้ําพุเรือโบราณ” สรางขึ้นใน ระหวางป ค.ศ. 1627-1629 โดยเปนศิลปะบารอคยุคตน สรางโดย Pietro Bernini ซึ่งเปน คนออกแบบและแตงเติม “น้ําพุเทรวี” ระวัง อยาไปสับสนปนเปกับลูกชายของเขา คือ Gian Lorenzo Bernini ซึ่งเปนผูออกแบบและสรางออมแขนของมหาวิหาร และแทนพระ จิ ต เจ า ในมหาวิ ห ารนั ก บุ ญ เปโตร ที่ ม าของการสร า งน้ํ า พุ เ รื อ โบราณนี้ มาจากพระ สันตะปาปา อูรบาโน ที่ 8 พบเรือลําหนึ่ง ถูกน้ําซึ่งทวมแมน้ํา Tiber พัดพามาจน ถึงบริเวณนี้ จึงมีความคิดที่จะสรางเรือน้ําพุนี้เปนอนุสรณ นี่แหละครับ เสนหของ “บันไดสเปน” หากไมรูวาจะนัดพบกันที่ไหนหลังจากแยก ยายกันไปจับจายใชสอย ก็นัดกันมาเจอกันที่ “น้ําพุเรือโบราณ” ก็ดีนะครับ

46


9. นครรัฐวาติกัน (Vatican State หรือ The Holy See)

วาติกัน เปนศูนยกลางของศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิก เปนรัฐอิสระเล็ก ๆ ตั้งอยูในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ทางการเมืองก็ถือวาเปนรัฐเล็กมากจนไมมีบทบาททาง การเมืองในสังคมโลก ปกครองโดยองคพระสันตะปาปา ไมมีกองทัพ มีแตทหารอารักขา หรือที่รูจักกันในชื่อ Swiss Guard ทําไมตองเปน Swiss Guard? เราจะเลาใหฟงตอไป เพราะมีประวัติอันยาวนานมาถึง 500 ปแลว แตในทางศาสนานั้น วาติกันมีความ สําคัญ ตอศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกอยางมาก เพราะเหตุวา พระสันตะปาปาเปนผูแทน องคพระเยซูคริสตบนแผนดินนี้ (Vicar of Christ) คริสตชนทั้งหลายเคารพ รัก พระองค ในฐานะที่เปน “บิดาผูศักดิ์สิทธิ”์ (Holy Father) และยังเปนความเชื่อของคาทอลิกดวยวา เมื่อไรก็ตาม ที่พระสันตะปาปาสอนสั่งในเรื่อง “ขอความเชื่อ” และในเรื่อง “ศีลธรรม” คํา สอนนั้นจะไมมีผิดพลาดเลย เราเรียกเปนภาษาลาตินวา “Ex Cathedra” หมายความวา ออกมาจากบัลลังก อํานาจหนาที่นี้พระองคไดรับสืบตอมาจากนักบุญเปโตร ซึ่งเปนพระ สันตะปาปาองคแรก ที่ไดรับมอบหมายโดยตรงจากองคพระเยซูคริสต ดังนั้น แมวา รัฐ วาติกันจะมีประชากรเปนทางการอยูประมาณ 1,000 กวาคน แตในทางปฏิบัติแลว รัฐ วาติกันมีความสําคัญอยางยิ่งตอบรรดาคริสตชนคาทอลิกทั่วโลก 1 พันกวาลานคน เรา มาทําความรูจักกับรัฐวาติกันกันหนอย 1. วาติกัน (Vatican) เปนภาษอิตาเลียน เปนชื่อเนินแหงหนึ่งในกรุงโรม แตเดิมเปนที่ ตั้งของสนามกีฬาคาลิโกลา (Caligola) ตอมา เปนที่ตั้งของมหาวิหารนักบุญเปโตร และวังพระสันตะปาปา ชื่อนี้มีคําแปลหรือไม ผมไมทราบจริง ๆ ครับ อันที่จริง จะ บอกวา คําวา “วาติกัน” ไมมีคําแปลก็ไมถูกตองนัก เนินวาติกันนี้ ภาษาลาตินใชคําวา “vaticanus mons” คําวา “Vaticanus” มาจากคําวา “Vates” ก็เปนภาษาลาตินอีก นั่นแหละ แปลวา ผูพยากรณ (prophet) หรือผูที่มองเห็น (Seer) ชื่อเนิ นวาติกัน นี้ มี มานานแลวนะครั บ มี อยูก อนที่ คริส ตศาสนาจะเขามา เผยแพรในกรุงโรมตั้งนาน คือ ตั้งแตสมัยพวก Etruscans ซึ่งเปนที่เขาใจวาเปนชน เผาแรก ๆ ที่เขามาอาศัยในภูมิภาคนี้ ตอนนั้น เปนชื่อของเมืองของพวกเขา ซึ่งก็ คือ “เมืองวาติกุม” (Vaticum) เนินวาติกันนี้ไมใชเปนเนิน 1 ใน 7 แหงที่มีชื่อเสียงของกรุงโรม อยาลืมนะ ครับ กรุงโรมถูกสรางขึ้นทามกลางเนิน 7 ลูก อาณาจักรโรมันสรางสนามกีฬาขึ้นที่ เนินวาติกันก็เพื่อผนวกบริเวณนี้เขามาในกําแพงเมืองของโรมดวย สนามกีฬาที่วานี้เรา ก็รูจักแลวนั้น ก็คือ สนามกีฬาคาลิโกลา และตอมา เปลี่ยนชื่อเปนสนามกีฬาเนโร ที่ เนินนี้เปนที่ฝงศพของนักบุญเปโตร พระสันตะปาปาองคแรกของคริสตศาสนานิกาย โรมันคาทอลิก ดังนั้น จึงเปนที่ตั้งของมหาวิหารนักบุญเปโตร จนกระทั่งทุกวันนี้

47


พูดถึงมหาวิหารแหงนี้แลวก็จบไมลง ขอเติมอีกหนอยละกันนะครับ มีเรื่อง นารู แตไมมีโอกาสไดเห็น ก็คือ ใตดินมหาวิหารเปนที่ฝงศพของบรรดาคริสตชนในยุค ที่มีการเบียดเบียนศาสนา การขุดคนเรื่องนี้ก็ยังคงทํากันอยู การขุดคนทํากันลึกมาก ถึง 3-4 ชั้น ใตดิน เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯเสด็จเยี่ยม พระองคยังได มีโอกาสเขาชมสวนนี้ดวย แตพวกเราคงเขาไปชมไมได เอาแครูไวก็พอ ภายในมหา วิหารยังมี museum เล็ก ๆ อยูดวย แสดงสมบัติเกาแกของมหาวิหาร(Tesoro do San Pietro) ใครสนใจเขาชมก็ได เสียคนละ 6 ยูโร แตก็คุมคาสตางค เพราะสมบัติ เหลานี้เกาแกและมีคุณ คาจริง ๆ ไปดูเปนบุญตา เพราะไมมีทางที่จะพบที่อื่น สวนผูที่สนใจจะขึ้นไปชมวิวกรุงโรมบนโดมของมหาวิหาร ก็สามารถทําได เชนกัน เขาเรียกโดมมหาวิหารนี้วา “Cupola” ถาเดินขึ้นไปดวยบันได ซึ่งมีทั้งหมด 500 กวาขั้น ก็เสียสตางคคนละ 5 ยูโร แตถาหากขึ้นลิฟทไป ก็จะเสีย 7 ยูโร เสีย สตางค ไ ม พ อ ยั ง ต อ งเดิ น อยู ดี ขึ้ น ไปอี ก 200 กว า ขั้ น ใครจะขึ้ น ไปก็ ค งต อ งฟ ต รางกายกันหนอย ใครเปนโรคหัวใจก็แนะนําวาดูรูปถายเอาดีกวา วิวขางบนนั้นตอง บอกวาสวยงามมาก ทานจะไดเห็นนครวาติกันทั้งหมด สวนอันสวยงามของวาติกัน พระราชวังพระสันตะปาปา ที่ทําการรัฐ หองสมุดวาติกัน หอจดหมายเหตุวาติกัน พิพิธภัณฑ นอกจากนี้ ยังสามารถมองเห็นกรุงโรมไดรอบทิศอีกดวย บอกไดเลยวา คุมคาเหนื่อย เพราะสวยงามมากจริง ๆ และทานจะรูสึกวากําลังลอยอยูบนเมือง สวรรค ประมุขของรัฐวาติกัน ไดแก พระสันตะปาปา คําวาสันตะปาปามาจากคํา ภาษาอิตาเลียนวา “Santo Papa” อานวา “ซันโต ปาปา” เราเรียกไปเรียกมาก็ กลายเปนสันตะปาปา Santo แปลวาศักดิ์สิทธิ์ Papa แปลวาบิดา เพราะฉะนั้น ภาษาอังกฤษเขาจึงเรียกพระสันตะปาปาวา Holy Father คํานําหนาพระสันตะปาปา จึงใชคําวา His Holiness หรือ Your Holiness คําวา Papa ซึ่งแปล วาบิดานี้ หาก ลง Accent ที่พยางคแรก ก็หมายถึง Pope แตหากลง Accent ที่พยางคหลัง ก็ หมายถึงพอของลูกนะครับ (เตี่ย, Daddy) Pope องคแรก ไดแก St. Peter, Pope John Paul II เปนองคที่ 264 Pope Benedict XVI เปนองคที่ 265 2. รัฐวาติกันเปนรัฐอิสระเล็ก ๆ เกิดขึ้นเปนทางการในป ค.ศ. 1929 โดยสนธิสัญญาที่ เรียกวา Lateran Treaty ลงนามโดยพระสันตะปาปา Pius XI และพระเจา Vittorio Emanuel III อาณาเขตก็นิดเดียวครับ ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร ประชากรก็ ประมาณ 1,000 คนเทานั้น อยางไรก็ตาม รัฐวาติกันก็ยังคงมีอาณาเขตพิเศษเปน ของตนดวย เรียกกันวา Extraterritory เชน มหาวิหารสําคัญ ๆ ในกรุงโรม ตึกสําคัญ บางตึก และที่ดินบางแหงในกรุงโรม มหาวิหารนักบุญอันตน ที่เมือง Padova ฯลฯ 48


ขึ้นชื่อวาเปนรัฐอิสระ ก็ตองมีอะไร ๆ เปนของตนเอง นั่นก็คือมีเงินตราของ ตนเอง ปจจุบันก็ใชคาเงินยูโร มีแสตมป มีกองทหารสวิส มีเลขาธิการรัฐ มีกระทรวง ดานตาง ๆ มากมาย ผมก็จะคอย ๆ เลาใหฟงพอสังเขปก็แลวกัน เฉพาะที่นาสนใจ สําหรับนักทองเที่ยวที่มีเวลานอยอยางเรานะครับ 3. ทหารสวิส (Swiss Guard) วาติ กั น เป น รั ฐ ทางศาสนา ดั ง นั้ น จึ ง ไม มี ก องทั พ เรื อ กองทั พ อากาศ กองทัพบก ก็ดีเหมือนกันนะครับ จะไดไมมีการปฏิวัติ (Coup d’Etat) วาติกันมีแต กองทหารองครักษ กองทหารนี้ก็มีจํานวนไมมากนัก แตที่แปลกกวานี้ก็คือ เปนทหาร สวิส แทน ที่จะเปนชาวอิตาเลียน อยางนี้ก็ตอ งอธิบายกันเล็กนอย แมวา ประวัติ ของเรื่องนี้จะมีมายาวนานก็ตาม ในสมัยศตวรรษที่ 15 มีชาวสวิสเปนทหารรับจาง อยูในกองทัพของประเทศ ตาง ๆ ในยุโรป เพราะวา ทหารสวิสมีชื่อเสียงมากในดานระเบียบวินัยและความ จงรักภักดีตอผูวาจาง ปจจุบันมีอยูเฉพาะที่วาติกันเทานั้น กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1506 โดยพระสัน ตะปาปา จูเ ลี ยส ที่ 2 (1503-1513) ตอนนั้ น กษัต ริย ชาร ลที่ 8 แห ง ฝรั่งเศสกําลังจะทําสงครามกับอาณาจักรเนเปล (Naples) พระสันตะปาปา จูเลียส ที่ 2 เขารวมตอตานอาณาจักร Naples จึงไดขอวาจางทหารสวิสไว 200 นาย ทหาร สวิสกลุมแรกจํานวน 150 นาย เขาสูวาติกัน เมื่อวันที่ 22 มกราคม 1506 และก็ถือ วันนี้เอง เปนวันเริ่มตนกองทหารองครักษแหงวาติกันอยางเปนทางการ และมีการ เฉลิมฉลองครบรอบ 500 ปอยางยิ่งใหญในป ค.ศ. 2006 อยางไรก็ตาม ตอนนั้นก็ไม มีเหตุการณอะไรที่นาตื่นเตน เหตุการณที่เปนประวัติศาสตรของทหารสวิสเกิดขึ้นใน วันที่ 6 พฤษภาคม 1527 เมื่อจักรพรรดิชารลที่ 5 เขาปลนกรุงโรม ทหารสวิส 147 นาย ยอมสละชีวิต เพื่อใหพระสันตะปาปา เคลเมนต ที่ 7 มีเวลาหลบหนีไปได โดย มีทหารสวิสอีก 40 นาย คอยคุมกันอยางใกลชิด เหตุการณนี้ เปนเหตุการณที่ทําใหทหารสวิสสืบสานตํานานแหงความเสียสละ และ กลาหาญ ทําหนาที่เปนองครักษของพระสันตะปาปาและรัฐวาติกัน สืบมาจน ทุกวันนี้ ชาวสวิสถือเปนเกียรติอยางมาก หากมีโอกาสไดทําหนาที่นี้ในชีวิตของตน แตก็ไมใชงายนะครับ ที่จะมาเปนทหารสวิส เพราะเขามี คุณสมบัติเหมือนกัน ก็คือ ตองเปนคาทอลิก มีสัญชาติสวิส และเปนโสด อายุระหวาง 19-30 ป และสูงอยาง นอย 174 เซนติเมตร จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาของการปฏิบัติหนาที่ ก็คือ 2 ถึง 25 ป ทหารสวิสแตงตัวกันหลายแบบ แลวแตฤดูกาลและโอกาส เวลาที่แตงตัวเต็ม ยศ ดูสงางามมาก คลาย ๆ กับอัศวินโบราณ ชุดที่ดูสวยงามและเปนที่กลาวถึงมาก ที่สุด ก็เห็นจะเปนชุดลายทาง มีหลายสี คือ แดง น้ําเงิน สม เหลือง สวมหมวกแบเล ออกแบบเปนแบบของยุค Renaissance หลายคนเขาใจวา ไมเคิ้ล แอนเจโล เปน ผูออกแบบ แตที่จริงเปนนายทหารคนหนึ่งเทานั้น บางคนก็วาออกแบบโดยราฟาแอลโล ซึ่ง ก็ไ มใ ชอี ก เพี ย งแตว า ราฟาแอลโล เคยวาดรูป พระสั นตะปาปา จู เลี ยส ที่ 2 พรอมกับทหารสวิสเทานั้นเอง 49


ปกติทหารสวิสเปนหนุมหนาตาหลอเหลาเอาการ นักทองเที่ยวก็มักจะกล า ๆ กลัว ๆ จะขอถายรูปกับพวกเขาไดหรือไม ผมมีเพื่ อนเปนทหารสวิสอยูคนหนึ่ง ที่วา เปนเพื่อนก็เพราะเขามีแฟนเปนคนไทย เขาบอกวา พวกเขายินดีจะถายรูปเสมอ หาก วาไมทําใหเสียหนาที่ ก็คือ ถาพบเห็นที่ไหนก็ขอถายรูปได ไมตองกลัวพวกเขา นี่รวม ไปถึงพวกตํารวจชาวอิตาเลียนดวยนะครับ ชาวอิตาเลียนนอกจากจะหลอแลว ยัง แตงตัวเทหอีกดวย 4. พิพิธภัณฑวาติกัน สําหรับผูที่รักงานดานศิลปะ ไมวาจะเปนรูปวาด รูปปน รูปแกะสลัก ผูที่รัก โบราณคดี ไม ว า จะเป น ยุ ด ใด ๆ วั ต ถุ สิ่ ง ของ และความก า วหน า ทางวิ ท ยาการ ประวัติศาสตรอันนาสนใจ พิพิธภัณฑวาติกันมีทุกอยางเหลานี้ ภายในมีพิพิ ธภัณฑ ยอย ๆ หลายแหง โดยมีชื่อเรียกตาง ๆ กันไป เชน Etruscan Museum, Egyptian Museum มี Gallery อยูหลายตอหลายแหง และเมื่อเดือนกันยายน 2007 ที่ผานมา นี้ ก็ เ พิ่ ง จะเป ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ย อ ยอี ก 2 แห ง ภายใน ได แ ก พิ พิ ธ ภั ณ ฑ แ สตมป และ พิพิธภัณฑเหรียญ ซึ่งตองขอบอกวา แสตมปและเหรียญของวาติกันนั้นมีชื่อเสียงไม แพชาติใด ๆ ในโลก และเปนที่สนใจของผูที่ชื่นชอบแสตมปและเหรียญ ปลายทาง ของพิพิธภัณฑวาติกัน ไดแก โบสถซิสติน (Sistine Chapel) โบสถนี้นาสนใจมาก ๆ เพราะเป น สถานที่ ที่ บ รรดาพระคาร ดิ นั ล ใช ป ระชุ ม เลื อ กตั้ ง พระสั น ตะปาปา ที่ ภาษาอั ง กฤษใช คํ า ว า Conclave ซึ่ ง แปลว า ประชุ ม ภายในห อ งที่ ใ ส กุ ญ แจ หมายความวาเปนความลับเฉพาะ นอกจากนี้ ภายในโบสถซิสตินมีผลงานวาดภาพ ของจิตรกรระดับโลกหลายตอหลายทาน โดยเฉพาะภาพวาด “การตัดสินครั้งสุดทาย” ของไมเคิ้ล แอนเจโล นั้น นาดูที่สุด เพราะภายในภาพนั้นเต็มไปดวยความ หมาย และความเชื่อของศาสนาคริสต ผมเองตองเรียบเรียงภาพนี้ ภาพเดียวตั้ง 4 เดือน เพราะวา ทุกอยางในภาพมีความหมายไปหมด ตั้งแตสี บุคคล ตําแหนงของบุคคลใน ภาพ ความหมายของสวรรค แผ น ดิ น นรก นอกจากนี้ ภาพนี้ ยั ง เป น ภาพที่ ตอเนื่องมาจากภาพอื่น ๆ ภายในโบสถ มีความเชื่อมโยงกันตั้งแตการสรางโลกและ มนุ ษ ย จนกระทั่ ง ถึ ง วั น สุ ด ท า ยของมนุ ษ ยชาติ บรรยายเท า ใดก็ ไ ม มี ท างหมด บรรยายหมดก็ ไ ม เ หมื อ นไปชมด ว ยตนเอง นั ก ท อ งเที่ ย วยุ โ รปเขาขอบมาเยี่ ย ม พิพิธภัณฑแหงนี้มาก มายืนรอกัน ตั้งแตเชาทีเดียว เขาเปดเวลา 8.30 น. – 16.30 น. คาผานประตู 11 ยูโร แตถาหากเปนวันอาทิตยสุดทายของเดือน เขาใหเขาฟรี ตั้งแต 9.00 น. – 12.30 น. จะมีคิวยาวตั้งแตทางเขาออกมาตาม กําแพงวาติกัน สุดลูก หูลูกตาทีเดียว ฝรั่งก็ชอบของฟรีเหมือนกัน เดี๋ยวนี้ ทางเขาพิพิธภัณฑ ก็ทําใหม สวยงามและกวางขวางมาก บอกไดอีกคําหนึ่งวา ใครที่ชมพิพิธภัณฑวาติกันแลวจะ พบไดทันทีวา รัฐวาติกันไมใชรัฐเล็ก ๆ อยางที่เรารู แตเปนรัฐแหงจิตที่ยิ่งใหญจริง ๆ 50


10. Castel Sant’ Angelo

ไมทราบวาจะตั้งชื่อภาษาไทยวาอะไรดี ภาษาอิตาเลี ยนแปลวา “ปราสาทนักบุญ เทวดา” เราแปลงาย ๆ ก็คงจะราว ๆ ปราสาทเทวดาก็แลวกัน หากเรามองจากมหาวิหาร นักบุญเปโตร ไปทางแมน้ําไทเบอร (ภาษาอิตาเลียนใชคําวา Tevere : เตเวเร) เราก็จะ พบกับปราสาทเกา ๆ หลังหนึ่ง เปนรูปทรงกลม และมีรูปเทวดาองคหนึ่งตั้งอยูบนยอด ปราสาท นั่นแหละครับ ที่ผมหมายถึง ถามีคําถามวาปราสาทนี้คืออะไร และเขาใจวาคง ถามอยางเดียว แตไมเขาชมละก็ ตอบแบบนี้นะครับ ปราสาทนี้ คือ ที่ฝงศพของจักรพรรดิเฮเดรียน (Hadrian) และครอบครัวของ พระองค ตอมา ใชเปนปอมปราการและปราสาท ปจจุบันเปนพิพิธภัณฑ แตถ าหากยอม เสียสตางคไปเขาชมละก็ ตองอธิบายใหมากกวานี้หนอย ประการแรกก็คือ ปราสาทนี้ เกาแกมาก สรางตั้งแต ป ค.ศ. 135 หรือ 139 เกาจนไมรูวาปไหนกันแน จักรพรรดิ Hadrian และพระราชินี Sabina ถูกฝงอยูที่นี่ รวมทั้งจักรพรรดิโรมันองคตอ ๆ มาดวย จนถึงป ค.ศ. 401 ปราสาทนี้ถูกปรับเปลี่ยนใหเปนปอมปราการ แรกทีเดียว ก็มีชื่อวา “ที่ฝงศพของเฮเดรียน” ตอมา เปลี่ยนชื่อเปน “ปราสาท เทวดา” ก็เพราะวา มีตํานานเลาขานกันในป ค.ศ. 590 วา อัครเทวดามีคาแอล (Michael) ซึ่งเปนหนึ่งใน 3 เทวดาองคใหญในศาสนาคริสต ปรากฏองคขึ้นมาบนยอดปราสาท เพื่อ ยับยั้งกาฬโรคซึ่งกําลังระบาดอยูในเวลานั้น และกาฬโรคก็ไดยุติลงอยางอัศจรรย ปราสาท นี้ก็ไดรับชื่อใหมนี้ ตั้งแตนั้นเปนตนมา รูปเทวดานี้ทําดวยทองบรอนซในป ค.ศ. 1753 แทนรูปแรกของ Rafaello ที่ทําดวยหินออน พระสันตะปาปาหลายองคในศตวรรษที่ 14 ไดปรับเปลี่ยนโครงสรางของปอม ปราการนี้ ใหมาเปนปราสาท (Castle : Castello) และหากสังเกตดี ๆ นะครับ จากวัง พระสั นตะปาปา จะมีทางเดิน ในช องกํา แพงไปจนถึงปราสาทเทวดาหลังนี้ เลย ชอ ง ทางเดินนี้เขาเรียกวา Passetto di Borgo สรางโดย Pope Nicolas III ชองทางนี้มี ประโยชนในการติดตอกันระหวางวังพระสันตะปาปาและปราสาทหลังนี้ เวลาเดียวกัน ใน ยามฉุกเฉินก็ใชเปนทางหนีภัยของพระสันตะปาปาดวย เชน ตอนที่ Pope Clement VII หนีภัยจากพระเจา Charles V ในการบุกยึดกรุงโรมใน ป ค.ศ. 1527 เปนตน และตอ ๆ มา พระสันตะปาปาก็ ไดปรับปรุงปราสาทนี้ใหเปนที่ประทับของพระสันตะปาปาดวย ปราสาทหลังนี้ก็กลายเปนปราสาทสารพัดประโยชน เพราะตอมาก็ยังถูกปรับเปลี่ยนให เปนคุกขังบรรดานักโทษ และขังพระสันตะปาปาบางองคดวย ดวยเหตุผลทางการเมือง และยังเปนที่ประหารชีวิตนักโทษบางคนอีกดวย 51


ปจจุบันกลายเปนพิพิธภัณฑ ใครอยากชมปราสาทที่เกาแกมาก ๆ จริง ๆ ก็คือที่นี่ แหละครับ ภายในก็มีบารขายเครื่องดื่มใหนั่งชมทิวทัศนของกรุงโรม มีลานที่สวยงาม มี ประวัติศาสตรที่นาสนใจ สําหรับผม อะไร ๆ ก็นาสนใจไปหมด แตสําหรับผูอาน ผมไมรู วาจะนาสนใจขนาดไหนนะครับ ดานหนาของปราสาทก็มีสะพานขามแมน้ําไทเบอร สะพาน นี้มีชื่อเดียวกับปราสาทเลยนะครับ สรางในสมัยจักรพรรดิ Hadrian เหมือนกัน เปน สะพานที่เกาแกมาก เดี๋ยวนี้ไดรับการตกแตงดวยศิลปะบารอค ตั้งรูปเทวดาและรูปประวัติ พระเยซูเจาเพิ่มขึ้นมา นักทองเที่ยวชอบมาถายรู ปที่สะพานแหงนี้มาก เพราะไดความ เกาแกของสะพาน พรอมทั้งปราสาทที่เกาแก จนทําใหรูปของเราดูหนุมดูสาวขึ้นตั้งเยอะ

สักการสถาน DIVINO AMORE

ฉบับนี้พอขอแนะนําสักการสถานแหงหนึ่งใหเรารูจัก เพราะเห็นวามีประโยชน ที่จะรูและมีประโยชนในการแสวงบุญ คริสตังไทยไมคอยคุนเคยกับสักการสถานที่มีชื่อเสียงที่สุดแหงหนึ่งในประเทศ อิตาลี นั่นคือ สักการะสถาน ดิวิโน อะโมเร (Divino Amore) ถาจะใหแปล ก็ตอง แปลวา สักการสถาน “ความรักของพระเจา” นอยคนมากในประเทศอิตาลีที่จะไมรูจัก สถานที่แหง นี้ เปนความศรัทธาที่มีตอ รูปภาพของแม พระรูปหนึ่ ง ไมไดเ กี่ยวของกั บ การประจักษของแมพระแตอยางใด แตเกี่ยวของกับอัศจรรยที่เกิดขึ้นจากการภาวนาตอ หนารูปภาพรูปนี้ ซึ่งมีอยูมากมายจนถึงปจจุบันนี้

อัศจรรยครั้งแรกเกิดขึ้นในป ค.ศ. 1740 สถานที่เกิดอัศจรรย เปนปราสาทเกาแกแหงหนึ่งที่มีชื่อวา “ปราสาทแหงสิงโต” (Castello dei Leoni) ปราสาทหลังนี้สรางขึ้นบนที่ดิน ซึ่งแตเดิม ตั้งแตป ค.ศ. 1081 เปนทรัพยสินของอารามนักบุญเปาโล ตอมา ตกเปนของวัด Santa Sabina และตั้งแตป ค.ศ. 1295 ตกเป น ของครอบครั ว Savelli ระหว า งป นี้ เ องที่ ค รอบครั ว Savelli สรางปราสาทหลังนี้ขึ้น บริเวณหอของกําแพงปราสาทไดติดรูปภาพวาดรูปหนึ่ง เขาใจวา เปนรูปที่วาดโดยสํานักศิลปะของ Pietro Cavallini แตดวยสาเหตุใดแทจริงไมปรากฏ คาดเดาวา อาจเกิดจากแผนดินไหว ทําใหปราสาทแหงนี้พังลงมา และกลายเปนสถานที่ รกราง คง เหลือไวแตสวนหนึ่งของกําแพงและหอที่มีรูปวาดนี้ไวเทานั้น พวกคนเลี้ยง แกะที่เลี้ยงแกะอยูบริเวณนี้จึงใชเปนที่พักผอน และเปนที่สวดสายประคําตอหนารูปวาด รูปนี้

52


รูปภาพวาดนี้เปนรูปของพระนางพรหมจารีมารีอาประทับนั่งบนบัลลังก โดยมี พระเยซูกุมารในออนแขน และมีนกพิราบอยูเหนือศีรษะ นกพิราบนี้เปนสัญลักษณของ พระจิ ตเจา พระจิต เจ านี้ เป น “ความรัก ของพระเจ า ” จึง เป นที่ มาของชื่ อภาพวาดนี้ “แมพระแหงความรักพระเจา” นักเดินทางผูหนึ่ง บางทีอาจจะเปนนักแสวงบุญผูหนึ่ง เราไมทราบชื่อของเขา กําลังมุงหนาไปมหาวิหารนักบุญเปโตร สมัยนั้นมักจะมีผูแสวงบุญเดินทางไปสวดภาวนา หนาหลุมศพนักบุญเปโตรบอย ๆ แตการเดินทางก็เสี่ยงไมใชนอย ทั้งจากการทํารายและ การจี้ปลน แตชายคนนี้หลงทาง และกําลังวิตกกังวลไปตาง ๆ นานา มองเห็นหอกําแพง เกาแหงนี้ จึงมีความหวังวาจะไดรับความชวยเหลือ ในขณะที่กําลังจะเดินผานหอเขาไปภายในกําแพง เขาตองเผชิญหนากับฝูงสุนัขดุ ราย ซึ่งเขามาลอมเขาไว และดูเหมือนวา จะไมมีทางหลบหนีภัยมหันตนี้ได ทําใหเขา ตกใจและหวาดกลัวอยางมาก ชายผูนาสงสารผูนี้ไดมองขึ้นไปยังหอ และเห็นภาพวาดของ แมพระ เขาจึงเปลงเสียงทั้งหมดที่มีอยู กลาววา “พระมารดาของขาพเจา โปรดชวย ดวย” สุนัขทุกตัวหยุดขูกรรโชก และทั้งหมดก็สงบลงทันที ราวกับวามีใครสักคนหนึ่ง สั่งพวกมั นให ทํา เชน นั้น หลังจากนั้ น คนเลี้ยงแกะได มาพบเขา และพาเขาไปชี้ ทาง เพื่อเดินทางไปกรุงโรม ชายผูนี้ไดเลาเรื่องที่ตนเองพบ โดยไมรูจักเหน็ดเหนื่อยเลย คนเลี้ยงแกะหลาย คนก็ไดเลาเรื่องเหลานี้ดวย ทําใหมีผูเดินทางมาสวดภาวนาตอภาพวาดนี้มากขึ้น ๆ และที่ นาอัศจรรยก็คือ คําวอนขอตาง ๆ ไดกลับกลายมาเปนคําขอบคุณสําหรับพระหรรษทาน ต า ง ๆ ที่ ได รั บ จนเป นที่ รู จั กกั นทั่ วไป ในที่ สุ ด พระคาร ดิ นั ล Giovanni Antonio Guadagni ซึ่งเปน Vicario แหง Rome และเปนสมาชิกในคณะคารแมลไมสวมรองเทา ตัดสินใจมาเยี่ยมสถานที่นี้ และกําหนดสถานที่เหมาะสมสําหรับรูปภาพศักดิ์สิทธิ์รูปนี้ - ป ค.ศ. 1742 ยายรูปภาพจากหอเกาแกไปประทับไวที่วัดนอย Santa Maria ad Magor การยายรูปครั้งนั้น ทําใหเกิดความเสียหาย จนกระทั่งตองมีการซอมแซมกัน ตอมาอีกหลายครั้งทีเดียว - 8 มีนาคม 1743 ยายรูปนี้ไปเก็บไวที่ Conservatorio di Santa Caterina della Rota รอใหมีการสรางวัดใหมในสถานที่ที่เกิดอัศจรรย - 19 เมษายน 1745 สร างวั ดเสร็ จสิ้ น และย ายรู ปภาพนี้ มี ฝู งชนจํ านวนมากมาร วม ในขบวนแห ค รั้ ง นี้ พระสั น ตะปาปา เบเนดิ๊ ก ต ที่ 14 ได ม อบพระคุ ณ การุ ญ ครบ บริบูรณแดผูเขา รวมพิธีในโอกาสนี้ดวย และใครก็ตามที่มาเยี่ยมสถานที่นี้ภายใน 7 วัน หลังจากการยายพระรูป ก็ไดรับพระคุณการุญครบบริบูรณเชนเดียวกัน - 31 พฤษภาคม 1750 โอกาสป ศั กดิ์ สิ ทธิ์ ได ม อบถวายวั ดนี้ แด Divino Amore อยางสงา พรอมทั้งใหคําอธิบายไววา “สตรีซึ่งนอมรับที่จะเปนมารดาของพระผูไถนั้น 53


เต็มเปยมไปดวยพระจิตเจา” นั่นคือ Divino Amore ผูที่เปนประธานในวันนั้น ไดแก สังฆราชแหง Padova คารดินัล Carlo Renzonico ซึ่ง 8 ปตอมาไดรับเลือกเปน Pope Clemente XIII นับแตนั้นเปนตนมา สักการสถานแหงนี้ไดกลายเปนศูนยกลางของการจาริกแสวง บุญ โอกาสฉลองครบรอบ 100 ปแหงอัศจรรยแรก 7 มิถุนายน 1840 ไดมีการสราง สะพานและถนนหนทางเพิ่มขึ้น และกษัตริยแหงโปรตุเกส (Michele) ไดเขารวมพิธีดวย

อัศจรรยระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 4 มิ ถุ น ายน 1944 กองทั พ นาซี ถอนกํ าลั งออกจากกรุ งโรม ฝ า ยสั ม พั น ธมิ ต ร เดินเขากรุงโรมอยางสงา เหตุการณนี้เกิดขึ้นอยางอัศจรรย โดยไมมีการสูญเสียเลือดเนื้อ เลย ทหารนาซียึดกรุงโรมอยูเกือบ 9 เดือน ฝายสัมพันธมิตรจําเปนตองขับไลทหารนาซี ออกจากกรุงโรม การหลีกเลี่ยงโจมตีกรุงโรมจึงเปนเรื่องยากมาก พระสันตะปาปา ปโอ ที่ 2 เชิญชวนชาวโรมแหแหนพระรูป Divino Amore ไปตามถนนสายตาง ๆ ในกรุงโรม และไปสวดภาวนาร วมกันต อหนาพระรูปนี้ ที่วัดนักบุ ญอิกญาซีโอที่กรุงโรมเอง ขอให กรุงโรมพนจากการถูกโจมตี - รูปแมพระถูกนํามาที่กรุงโรม เมื่อวันที่ 24 มกราคม 1944 - สัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่ Anzio วันที่ 22 มกราคม 1944 - รูปแมพระไดรับการแหแหนไปตามวัดตาง ๆ ในกรุงโรม ตามถนนหนทาง และใน เดือนพฤษภาคม 1944 เนื่องจากมีคลื่นมหาชนซึ่งตองการเคารพพระรูป จึงถูกนําไป ตั้งไวที่วัด Lorenzo in Lucina - สัมพันธมิตรทราบดีวา 6 มิถุนายน 1944 เปน “วันดีเดย” (D-Day) จะยกพลขึ้นบก ที่ Normandie ดังนั้น จําเปนตองขับไลทหารนาซีออกจากกรุงโรม เพื่อเสริมกําลัง เขาประเทศเยอรมันนี - 11-12 พฤษภาคม เริ่มสงครามยึดกรุงโรม เวลา 23.00 น. วันที่ 11 พฤษภาคม เริ่มยิงปนใหญถลมเขตทหาร ที่ Eur, Appio เขตทหารใตอาราม Montecassino - 28 พฤษภาคม Pope Pio XII เริ่มอัฐมวารและนพวารแมพระแหง Divino Amore ชาวโรมมารวมพิธีวันละประมาณ 15,000 คน จนทําใหวัด Lorenzo ไมสามารถรับได ตองยายมาที่วัด Ignazio - 4 มิถุนายน 1944 วันสุดทายของอัฐมวารพระจิตเจา เวลา 18.00 น. อานคําบนบาน (Voto) ของชาวโรมตอพระแมแหง Divino Amore สัญญาวา ชาวโรมจะแกไขพฤติ กรรมทางศี ลธรรม จะปฏิ สั งขรณ สั กการสถาน และจะจั ดตั้งงานเมตตาขึ้นที่ ที่เกิ ด 54


อัศจรรยครั้งแรกนั้น Pope Pio XII ตองการจะมาอยูรวมดวย แตไมสามารถออกจาก Vatican ได แตแทบจะเปนเวลาเดียวกันนั้นเอง ฝายนาซีไดรับคําสั่งใหถอนกําลังออก จากกรุงโรม และฝายสั มพันธมิ ตรก็เดิน ทางเข ากรุงโรม เวลา 19.45 น. โดยไม มี การปะทะกันเลย - 11 มิถุนายน 1944 คลื่นมหาชนชาวโรม และ Pope Pio XII ไดนําสวดขอบพระคุณ แมพระที่วัด Ignazio ตอหนารูปพระแมแหง Divino Amore “พระแมปกครอง กรุงโรมใหพนภัย” ตั้งแตนั้น สักการสถานแหงนี้ถือเปนสักการสถานแหง Rome และ ของทุกคน

บุคคลสําคัญของสักการสถาน : Don Umberto Terenzi -

ฟนฟูสักการสถาน เปนเจาอาวาสที่นี่ ตั้งแตป ค.ศ. 1931-1974 23 มกราคม 2004 ดําเนินเรื่องเปนบุญราศีและนักบุญ ทานไดรับอัศจรรยจาก Divino Amore จากอุบัติเหตุทางรถยนต กอตั้งคณะสงฆ Oblati di Divino Amore กอตั้งคณะธิดาแมพระแหง Divino Amore ปจจุบัน คณะนี้ทํางานอยูในหลายประเทศ เชน โคลัมเบีย บราซิล เปรู ฟลิปปนส อินเดีย นิการากัว เปนตน

สักการสถานใหม - เริ่มสรางตั้งแตวันที่ 4 มิถุนายน 1944 - Pope John Paul II เปดและเสกวันที่ 4 กรกฎาคม 1999 - ปจจุบัน สักการสถานแหงนี้มีบานเขาเงียบอบรม และเปนที่สวดภาวนา มีคณะ นักบวชที่คุณพอ Terenzi ตั้งขึ้น เปนผูดูแลบานพักคนชรา

55


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.