20170515 pcsgh ar2017 th 04

Page 1

ANNUAL REPORT 2016

Solar Rooftop Project (Self Consumption) 5 MWdc.

WORLD CLASS METAL PARTS MANUFACTURER


รายงานประจ�ำปี 2559 บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)



สารบัญ

รายงานประจ�ำปี 2559

หน้า 2

ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน

หน้า 3

สารจากคณะกรรมการ

หน้า 7

วิสัยทัศน์และพันธกิจ

หน้า 8

ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลส�ำคัญอื่น

หน้า 10

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หน้า 16

โครงสร้างรายได้ของบริษัท

หน้า 17

กลยุทธ์ในอนาคตของบริษัท

หน้า 18

ปัจจัยความเสี่ยง

หน้า 21

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และนโยบายการจ่ายเงินปันผล

หน้า 23

โครงสร้างการจัดการ

หน้า 44

การถือครองหุ้นของกรรมการและผู้บริหาร

หน้า 45

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

หน้า 49

การก�ำกับดูแลกิจการ

หน้า 56

การต่อต้านการคอร์รัปชั่น

หน้า 63

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หน้า 65

ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

หน้า 67

ผู้สอบบัญชี

หน้า 68

รายการระหว่างกัน

หน้า 71

รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

หน้า 72

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

หน้า 73

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

หน้า 75

การวิเคราะห์ฐานะการเงินและค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

หน้า 77

รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

หน้า 81

งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน

หน้า 147

รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม


¢ŒÍÁÙÅÊÓ¤ÑÞ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ งบการเงินรวม ผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน 3,707.2

4,092.3

4,013.9

5,124.5

5,293.7

3,174.3

รายไดรวม ้ (ลานบาท) ้

3,742.1

4,145.9

4,094.8

5,162.3

5,302.1

3,180.8

กำไรขั้นตน้ (ลานบาท) ้

516.4

666.3

807.5

1,522.7

1,861.8

915.2

กำไรสุทธิ (ลานบาท) ้

382.1

541.7

717.2

1,376.6

1,704.9

788.6

สินทรัพย์รวม (ล้านบาท)

5,193.2

5,371.2

5,464.5

5,566.9

5,944.6

5,072.8

309.1

496.2

346.3

3,883.6

3,803.7

1,191.6

สวนของผู ถื้ อหุน้ (ลานบาท) ่ ้

4,884.1

4,874.9

5,118.2

1,683.3

5,140.9

3,881.2

13.9

16.3

20.1

29.7

35.2

28.8

10.2

13.1

17.5

26.7

32.2

24.8

อัตราผลตอบแทนตอส ถื้ อหุน้ (%) ่ วนของผู ่

7.8

10.8

21.1

40.3

37.8

22.6

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%)

7.3

10.1

13.0

24.0

31.0

17.4

อัตราหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

0.1

0.1

0.1

2.3

0.2

0.3

รายได้จากการขาย (ล้านบาท)

หนี้สินรวม (ลานบาท) ้

อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำไรขั้นต้น (%) อัตรากำไรสุทธิ (%)

PCF 0.7% PCD 33.0%

0.65%

PCW 66.3%

3,707.2

-4.71% YoY 7.5%

0%

-9.4% YoY

รายไดจ้ ากการขาย (ล้านบาท)

Nissan Other 6.2% 3.7% GM 10.0%

0%

-7.46% YOY 7.5%

สัดส่วนการส่งออก

รายได้จากชิ้นส่วนนอกกลุ่มกระบะ

197.6 ลบ. รายได้นอกกลุ่มเครื่องยนต์

13.9%

10.2%

24.9%

516.4 ลบ.

382.1 ลบ.

932.7 ลบ.

Mitsubishi 20.7%

Ford/Mazda 20.7%

0%

81.6 ลบ.

-2.35% YoY

Isuzu 19.8%

1.10% YOY 7.5%

5.33%

24.2 ลบ.

Toyota 12.1%

2

2.20%

0%

กำไรขั้นตน้

30%

-2.86% YoY

0%

กำไรสุทธิ

-2.61% YoY

21%

0%

EBITDA

42%

ANNUAL

REPORT 2016


สารจากคณะกรรมการ

ปี 2559 อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยยังชะลอตัวอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยผลกระทบจากโครงการลดหย่อนภาษีสรรพสามิตส�ำหรับ ผู้ซื้อรถยนต์คันแรก ตามนโยบายของรัฐบาลในอดีต ภาวะราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ กลุ่มยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดเผยข้อมูลภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2559 มียอดขายรถยนต์ในประเทศทั้งสิ้น 768,788 คัน ลดลงร้อยละ 3.86 เมื่อ เทียบกับปี 2558 และมียอดการผลิตรถยนต์รวม 1.94 ล้านคัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 จากปี 2558 โดยยอดการผลิตรถกระบะ 1 ตัน รวมรถกระบะดัดแปลง 1.1 ล้านคัน ลดลงร้อยละ 1.17 เมื่อเทียบกับปี 2558

ผลการด�ำเนินงานของบริษัท

ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมียอดรายได้จากการขาย 3,707.2 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 9.4 เมื่อเทียบกับปี 2558 เนื่องจากปัจจัยลบทางเศรษฐกิจดังกล่าว และการสิ้นสุดโครงการส่งออกชิ้นส่วนไปประเทศบราซิล

ต้นทุนขายและก�ำไรสุทธิ

ปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต้นทุนขาย 3,192.8 ล้านบาท โดยมีอัตราส่วนต้นทุนขายต่อรายได้จากการขายสูงขึ้น ร้อยละ 2.54 เมื่อเทียบกับปี 2558 เนื่องจากรายได้จากการขายที่ลดลงและค่าใช้จ่ายสูงขึ้น จากปัญหาผนังเตาหลอมสึกหรอผิดปกติ เครื่องฉีดอลูมิเนียมเสีย ในช่วงไตรมาส 2-3

เหตุการณ์ส�ำคัญ

• กรกฎาคม 2559 บริษัทได้เริ่มผลิตและจ่ายกระแสไฟฟ้าจากโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดติดตั้งบน หลังคา ( Solar Rooftop) ขนาด 5 เมกะวัตต์ อย่างเต็มรูปแบบสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าได้ราว 20-25 ล้าน บาทต่อปี • สิงหาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยรวม 4 บริษัท ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์ และสวัสดิการแรงงาน ระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ANNUAL REPORT 2016

3


• ตุ ล าคม 2559 ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ม ติ รั บ ทราบการลาออกจากความเป็ น กรรมการบริ ษั ท ของ นายกุญชร เรามานะชัย และมีมติอนุมัติแต่งตั้ง นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ เป็นกรรมการบริษัทแทน • ตุลาคม 2559 บริษัทฯ ได้รับทราบผลประเมินด้านการก� ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจ�ำปี 2559 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2016) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ร่วม กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในระดับดีมาก (4 โลโก้) • พฤศจิกายน 2559 บริษัทฯ ได้รับการประกาศให้อยู่ในรายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่อยู่ในกลุ่ม “หุ้นยั่งยืน” หรือ Thailand Sustainability Investment 2016 (THSI) โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • พฤศจิกายน 2559 บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่โดยนางวรรณา เรามานะชัย ได้ขายหุ้นผ่าน ตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้แก่นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ (บุตร) จ�ำนวน 230 ล้านหุ้น คิดเป็นร้อยละ 15.08 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง หักด้วยหุ้นซื้อคืน

โครงการผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ส�ำคัญ

บริษทั ฯ ด�ำเนินกลยุทธ์การขยายธุรกิจไปในกลุม่ ชิน้ ส่วนใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ บริษทั ฯ ได้รบั ความไว้วางใจให้ผลิตชิน้ ส่วน ในโครงการต่าง ๆ ซึ่งเริ่มการส่งมอบในปี 2559 ได้แก่ • โครงการผลิตชิ้นส่วน Pressure Plate มูลค่าโครงการกว่า 90 ล้านบาท ส�ำหรับลูกค้าผู้ผลิตและจ�ำหน่ายรถยนต์นั่ง ส่วนบุคคล หรือ Passenger Car จากค่ายรถญี่ปุ่น ในช่วงไตรมาส 2 • โครงการผลิตชิ้นส่วน Duct EGR และ Bracket Converter มูลค่าโครงการกว่า 12 ล้านบาท ส�ำหรับลูกค้าผู้ผลิตและ จ�ำหน่าย รถบรรทุกขนาดใหญ่ หรือ Big Truck จากค่ายรถญี่ปุ่นในช่วงไตรมาส 4 • โครงการผลิตชิน้ ส่วน Crank Case มูลค่าโครงการกว่า 200 ล้านบาท ส�ำหรับลูกค้าผูผ้ ลิตและจ�ำหน่ายรถจักรยานยนต์ ขนาดใหญ่ หรือ Big Bike ในช่วงไตรมาส 4

ความรับผิดชอบต่อสังคม

บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงความยั่งยืน โดยด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ค�ำนึงถึงประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และยึดมั่นการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน รวมทั้งการเข้าร่วมประกาศ เจตนารมย์ตอ่ ต้านการคอร์รปั ชัน่ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ในการพัฒนาส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวติ ของสังคมและชุมชน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งชุมชนใกล้เคียงให้มีคุณภาพดีขึ้นพร้อม ๆ ไปกับการเติบโตของบริษัทฯ เป็นผลให้บริษัทฯ ได้รับการพิจารณาจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยน�ำบริษัทฯ เข้าเป็น 1 ใน 51 รายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” (Thailand Sustainability Investment หรือ THSI) ประจ�ำปี 2559 ด้านสังคม ชุมชน และส่วนราชการ บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคม โดยในปี 2559 บริษัทฯ ได้ร่วมสนับสนุน กิจกรรม ต่าง ๆ ได้แก่ 1. บริษัทฯ มีส่วนในการสร้างงานให้กับคนในพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 86 2 สนั บ สนุ น โครงการพั ฒ นาบุ ค ลากรเข้ า สู ่ อุ ต สาหกรรมด้ ว ยความร่ ว มมื อ กั บ วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค นครราชสี ม าและ วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ในโครงการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี โดยในปีการศึกษา 2559 เป็นรุ่นแรก มีนักศึกษา เข้าเรียนรู้ฝึกงานในโครงการจ�ำนวน 72 คน และจะส�ำเร็จการศึกษาในเดือนเมษายน 2560 นี้ 3. สนับสนุนการพัฒนา และต่อยอดด้านการศึกษา โดยเปิดให้นกั ศึกษาเข้าศึกษาดูงานในสายการผลิต 5 รุน่ จ�ำนวน 313 คน จาก 3 สถาบันการศึกษา 4. ร่วมกิจกรรมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมรวมทั้งกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในเขต ต�ำบลโคกกรวด จ�ำนวน 5 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมรดน�้ำขอพรเทศกาลสงกรานต์ กิจกรรมปลูกป่า กิจกรรมคลองสวยน�้ำใส และร่วมท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาในโครงการธนาคารบุญถวายเทียนพรรษาแก่วัดในเขต ต�ำบลโคกกรวด 5. ดำ� เนินโครงการคอมพิวเตอร์เพือ่ น้องต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 3 โดยมอบเครือ่ งคอมพิวเตอร์จำ� นวน 30 เครือ่ ง ให้กบั 4 โรงเรียนในเขต จังหวัดนครราชสีมา 4

ANNUAL

REPORT 2016


6. มอบทุนการศึกษาให้กบั โครงการห้องสมุดอุตสาหกรรม ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยและสภาอุตสาหกรรม จังหวัดนครราชสีมา ตลอดจนร่วมสนับสนุนชุดกีฬาให้แก่เยาวชนในนามทีมราชสีห์ เอฟซี 7.ร่ ว มกั บ อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ส� ำ นั ก งานสวั ส ดิ ก ารคุ ้ ม ครองแรงงานจั ง หวั ด นครราชสี ม า และวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน จังหวัดอุบลราชธานี สนับสนุนผลิตภัณฑ์ข้าวเพื่อแจกให้กับลูกค้าและพนักงานรวมจ�ำนวน 16.5 ตัน 8. จัดพื้นที่ภายในบริษัทเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวนาได้เข้ามาจ�ำหน่ายข้าวสารให้พนักงาน 9. สนับสนุนกลุ่มผ้าไหมทอมือบ้านหลุ่งประดู่ อ�ำเภอห้วยแถลง ในการทอผ้าคลุมไหล่ และกลุ่มผ้าไหม อ�ำเภอปักธงชัย ในผลิตภัณฑ์เนคไทจากผ้าไหม เพื่อเป็นของขวัญมอบให้กับลูกค้าในโอกาสต่าง ๆ

ด้านการดูแลพนักงาน พนักงาน เป็นปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของการบรรลุเป้าหมายของบริษัทฯ และเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง บริษัทฯ ส่งเสริมให้ พนักงานได้พัฒนาตนเองไปสู่ความมั่นคงและความก้าวหน้า ให้เกิดศักยภาพในการพัฒนาอย่างมืออาชีพ อีกทั้งยังได้สนับสนุนให้ พนักงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม ผ่านแนวคิดองค์กรแห่งความสุข 8 ประการ หรือ Happy work place ภายใต้ ค�ำนิยาม Work Life Balance ความสมดุลระหว่างชีวิตและการท�ำงาน ในรูปแบบของคณะกรรมการ อีกทั้งยังให้พนักงานได้เข้าไป มีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมของบริษัทอยู่อย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ บริษทั ได้สนับสนุนทีมฟุตบอลของพนักงาน ด้วยการส่งเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอล 6 คน รายการ “มิตรภาพคัพ” ซึ่งมีองค์กรชั้นน�ำในจังหวัดนครราชสีมาเข้าร่วมแข่งขันรวม 24 ทีม จนทีมฟุตบอลตัวแทนของบริษัทฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในแต่ละวันบริษทั ฯ ใช้กระแสไฟฟ้าในกระบวนการผลิตมากกว่า 80,000 KWh. มกี ารด�ำเนินกิจกรรมลดการใช้ไฟฟ้ามาอย่าง ต่อเนื่อง ในปี 2559 นี้ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop) ขนาด 5 MWdc. เพื่อใช้ภายใน บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด จ�ำนวน 8 อาคาร คิดเป็นพื้นที่มากกว่า 29,000 ตารางเมตร สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 21,000 KWh. ต่อวัน เริ่มเปิดใช้งานเมื่อเดือนกรกฎาคม 2559 คาดว่าจะสามารถลดค่าใช้จ่ายด้าน พลังงานไฟฟ้าได้มากกว่าปีละ 20-25 ล้านบาท และบริษัทฯ ยังเปิดโอกาสให้ผู้สนใจทั้งภาครัฐและเอกชนได้เข้ามาดูงานโครงการ โดยในปี 2559 มีผู้เข้าเยี่ยมชมโครงการจ�ำนวน 10 คณะ รวม 152 คน บริษัทฯ ขอขอบคุณผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ตลอดจนผู้บริหารและพนักงานทุกท่านที่ให้การสนับสนุนการด�ำเนินกิจการ ของบริษทั ฯ ในด้านต่าง ๆ จนประสบความส�ำเร็จด้วยดีเสมอมา บริษทั จะมุง่ มัน่ ด�ำเนินธุรกิจต่อไปอย่างโปร่งใส ภายใต้การก�ำกับดูแล กิจการที่ดี เพื่อสร้างการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ยังประโยชน์สูงสุดแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างสม�่ำเสมอต่อไป

การวิเคราะห์ฐานะการเงิน

บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 5,193.2 ล้านบาท ลดลง 177.9 ล้านบาท จากยอด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 188.4 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนลดลง 366.4 ล้านบาท เนื่องจาก การคิดค่าเสื่อมราคา หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 309.1 ล้านบาท ลดลง 187.1 ล้านบาท จากยอด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการซื้อวัตถุดิบและเครื่องจักรลดลง ส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 จ� ำ นวน 4,884.1 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 9.2 ล้ า นบาท จากยอด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

การวิเคราะห์งบกระแสเงินสด

บริษัทฯ มีกระแสเงินสดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ทั้งสิ้น 1,062.0 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน ทั้งสิ้น 878.0 ล้านบาท ใช้ไปในกิจกรรมการลงทุนในโครงการผลิตภัณฑ์ใหม่ ตลอดจนบ�ำรุงรักษาและปรับปรุงก�ำลังการผลิตทั้งสิ้น 203.5 ล้านบาท และใช้ไปในกิจกรรมการจัดหาเงินจ�ำนวนทั้งสิ้น 366.0 ล้านบาท โดยใช้ไปในการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น

ANNUAL REPORT 2016

5


แนวโน้มธุรกิจยานยนต์ปี 2560

เงื่อนไขการถือครองรถยนต์อย่างน้อย 5 ปี ส�ำหรับผู้ร่วมโครงการลดหย่อนภาษีสรรพสามิตในการซื้อรถยนต์คันแรก ตาม นโยบายของรัฐบาลในอดีต เริ่มทยอยครบก�ำหนดในราวไตรมาส 4 ปี 2559 คาดว่าจะส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศ เริ่มมีทิศทางการปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ ในปี 2560 ดังที่กลุ่มยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประกาศเป้าหมาย การผลิตรถยนต์ทุกประเภทในปี 2560 ไว้ที่ 2.0 ล้านคัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.86 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยแบ่งเป็นการผลิตเพื่อจ�ำหน่าย ในประเทศ 800,000 คัน คิดเป็นร้อยละ 40 ของยอดการผลิตรวม และผลิตเพื่อการส่งออก 1.2 ล้านค้น คิดเป็นร้อยละ 60 ของยอด การผลิตรวม

ทิศทางบริษัทฯ ปี 2560

บริษัทฯ และบริษัทย่อยยังคงให้ความส�ำคัญกับกลยุทธ์การรักษาตลาดการผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วนส�ำหรับกระบะ 1 ตัน ต่อไป รวมทัง้ การขยายธุรกิจไปสูก่ ารผลิตชิน้ ส่วนทีไ่ ม่ใช่รถกระบะ 1 ตัน (Non 1-Ton Pickup) ได้แก่ รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ (Big Bike) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (Big Truck) รถยนต์นั่ง (Passenger Car) รวมไปถึงการผลิตชิ้นส่วนที่ไม่ใช่ยานยนต์ เช่น เครื่องจักร กลทางการเกษตร (Agricultural Machinery) และ เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน (Home Appliance) เป็นต้น เพื่อขยายฐานธุรกิจให้ กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ในปี 2560 นี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ยังให้ความส�ำคัญกับการขยายโอกาสไปในตลาดต่างประเทศ ซึ่งอาจ เป็นการส่งออกชิ้นส่วนไปต่างประเทศโดยตรงหรือ การลงทุนในต่างประเทศตามความเหมาะสม ทั้งยังเป็นการกระจายความเสี่ยง และสร้างการเจริญเติบโตให้กับธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างมั่นคงและยั่งยืนเป็น “บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วน ที่ลูกค้าเลือก ด้วยคุณภาพระดับโลก” เพื่อประโยชน์สูงสุดกับผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายต่อไป

นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช ประธานกรรมการ

6

นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ANNUAL

REPORT 2016


วิสัยทัศน์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ของบริษัท (Vision) “The Manufacturer of Choice for Customers with World Class Quality” “ผู้ผลิตที่ลูกค้าเลือกด้วยคุณภาพระดับโลก”

บริษัทในกลุ่ม พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง มุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ผลิตที่ลูกค้าเลือก โดยการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้ กับลูกค้า และสร้างความเชื่อมั่นไว้วางใจตลอดจนความผูกพันที่ยั่งยืนระหว่างบริษัทฯ กับลูกค้า ด้วยการส่งมอบสินค้าที่มี คุณภาพระดับโลก และบริการที่ลูกค้าประทับใจภายในปี 2562

พันธกิจของบริษัท (Mission)

เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจประสบความส�ำเร็จตามวิสัยทัศน์ บริษัทฯ ตระหนักถึงพันธกิจที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วยพันธกิจด้านต่างๆ ดังนี้

Premium Quality for Customer

Global Supply for growing with Business Partner

Corporate Governance for Social

Happy Workplace for Satisfy Employee

ให้ความส�ำคัญด้านคุณภาพในทุกขั้นตอนตั้งแต่การ สร้างความไว้วางใจจากลูกค้า สามารถเป็นฐานการ ออกแบบการผลิตจนถึงการส่งมอบ เพื่อสร้างความพึงพอใจ ผลิตและส่งมอบสินค้าให้กบั ลูกค้าทัง้ ในและต่างประเทศ เจริญ สูงสุดให้กับ ลูกค้า เติบโตไปอย่างมั่นคงพร้อมกับ คู่ค้า จัดให้มีการก�ำกับดูแลที่ดีตามมาตรฐานสากลเพื่อ สร้างเสริมบรรยากาศการท�ำงานที่ดี มีการพัฒนา สร้างการเติบโตที่ยั่งยืนและช่วยเหลือ ส่งเสริมชุมชนรอบข้าง ศักยภาพบุคลากรอย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ ง เกิดความสมดุล และ สังคม ระหว่างชีวิตการท�ำงานและชีวิตส่วนตัวของ พนักงาน

Shareholder Benefits for Shareholder

Synergy

ท�ำงานเป็นทีม มีความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจ มีความ สัมพันธ์ที่ดี ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า สังคม ผู้ถือหุ้น คู่ค้า และพนักงาน ANNUAL REPORT 2016

: พนักงาน For Satisfy Employee

H APPY WORKPLACE

: คู่ค้า For Growing With Business Partner

GLOBAL SUPPLY

: สังคม

: ลูกคา้

: ผู้ถือหุ้น For Shareholder

SHAREHOLDERS BENEFITS

ใส่ใจลูกค้า และให้ความส�ำคัญกับลูกค้า มุง่ สร้างความ พึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าทั้งภายนอกและภายในองค์กร

For Social

Customer – focus

CORPORATE GOVERNANCE

เป็นมืออาชีพ ยึดมั่นคุณธรรม มีความมุ่งมั่นทุ่มเท ท�ำงานเป็นระบบ มีการวางแผนเชิงรุก และติดตามปรับปรุง พัฒนาอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง

FOR CUSTOMERS WITH WORLD CLASS QUALTY

ผูผลิ ้ ตที่ลูกคาเลื ้ อกดวยคุ ้ ณภาพระดับโลก

For Customer

วัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture) Professional

THE MANUFACTURER OF CHOICE

PREMIUM QUALITY

ส่งเสริมให้เกิดการขยายธุรกิจ และสนับสนุนกิจกรรม การปรับปรุงพัฒนาต่างๆ เพือ่ ลดต้นทุนอย่างต่อเนือ่ ง และสร้าง ผลตอบแทนอย่างสม�่ำเสมอให้กับ ผู้ถือหุ้น

P ROFESSIONAL CUSTOMER-FOCUS ใส่ใจลูกค้า S YNERGY

7


ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

ชื่อบริษัท : บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ชื่อบริษัท (ภาษาอังกฤษ) : P.C.S. MACHINE GROUP HOLDING PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อหลักทรัพย์ : PCSGH ประเภทธุรกิจ : ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) ที่ประกอบธุรกิจ

ผลิตและจ�ำหน่าย ชิน้ ส่วน โดยมีสดั ส่วนการลงทุน 100% ใน 3 บริษทั ย่อย ได้แก่

เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนประเภทที่ใช้ความแม่นย�ำสูง (High Precision Machining)

ประเภทเครื่องยนต์ ระบบเกียร์ และระบบบังคับรถ

1) บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด

2) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด

เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนประเภทอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป มีความช�ำนาญเป็นพิเศษในการผลิตชิ้นส่วน

อลูมิเนียมขนาดใหญ่ โดยมีเครื่องจักรที่มีขนาดแรงฉีดตั้งแต่ 350 ตัน ถึง 2,500 ตัน

3) บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด

เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนประเภทเหล็กขึ้นรูป (Forging Products) มีความช�ำนาญเป็น

พิเศษในการผลิตชิ้นส่วนจ�ำพวกเหล็กแปรรูปร้อนจ�ำพวก Micro Alloy Steel โดยมี

เครื่องจักรที่มีแรงตีเหล็กสูงตั้งแต่ 750 ตัน ถึง 6,000 ตัน

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

: เลขที่ 2/1-4 หมู่ที่ 3 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลโคกกรวด อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา

จังหวัดนครราชสีมา 30280

โทรศัพท์ : 044-701 300 โทรสาร : 044-701 399 ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร : เลขที่ 193/105 อาคารชุดเลครัชดา คอมเพล็กซ์ ชั้น 25 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย

โทรศัพท์ โทรสาร เลขทะเบียนบริษัท เว็บไซต์ ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว

8

เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 : 02-264 0621-3 : 02-264 0624 : 0107556000426 : http://www.pcsgh.com : 1,545,000,000 บาท

ANNUAL

REPORT 2016


ข้อมูลส�ำคัญอื่น

นายทะเบียนหลักทรัพย์

: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

โทรศัพท์ 02-009 9000 โทรสาร 02-009 9991

ผู้สอบบัญชี

: บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด

เลขที่ 195 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 48-51 ถนนสาทรใต้

แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์ 02-677 2000 โทรสาร 02-677 2222

1) นางมัญชุภา สิงห์สุขสวัสดิ์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6112

2) นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068

3) นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4195

ที่ปรึกษาทางกฎหมาย

: บริษัท วีระวงศ์ ชินวัตร และเพียงพนอ จ�ำกัด

เลขที่ 540 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์ 02-264 8000 โทรสาร 02-657 2222

ANNUAL REPORT 2016

9


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “PCSGH”) ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัท อื่น (Holding Company) ที่ประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วน ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีรายได้หลักมาจากเงินปันผลที่ได้รับจากการ ลงทุนในบริษัทย่อย ปัจจุบัน บริษัทฯ ลงทุนในหุ้นของบริษัทย่อยที่เป็นธุรกิจหลักทั้งหมด 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด (“PCW”) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด (“PCD”) และบริษัท พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด (“PCF”) ซึ่งเป็นบริษัทที่อยู่ใต้การควบคุม เดียวกันกับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

ความเป็นมาและพัฒนาการที่ส�ำคัญของบริษัทฯ ในช่วง 3 ปี ปี 2559

• กรกฎาคม 2559 บริษัทได้เริ่มผลิตและจ่ายกระแสไฟฟ้าจากโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดติดตั้ง บนหลังคา ( Solar Rooftop) ขนาด 5 เมกะวัตต์ อย่างเต็มรูปแบบสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าได้ราว 20-25 ล้านบาทต่อปี • สิงหาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยรวม 4 บริษัท ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์ และสวัสดิการแรงงาน ระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน • ตุลาคม 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติรับทราบการลาออกจากความเป็นกรรมการบริษัทของ นายกุญชร เรามานะชัย และมีมติอนุมัติแต่งตั้ง นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ เป็นกรรมการบริษัทแทน • ตุลาคม 2559 บริษัทฯ ได้รับทราบผลประเมินด้านการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจ�ำปี 2559 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2016) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในระดับดีมาก (4 โลโก้) • พฤศจิกายน 2559 บริษัทฯ ได้รับการประกาศให้อยู่ในรายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่อยู่ในกลุ่ม “หุ้นยั่งยืน” หรือThailand Sustainability Investment 2016 (THSI) โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • พฤศจิกายน 2559 บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดย นางวรรณา เรามานะชัย ได้ขายหุ้นผ่าน ตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้แก่ นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ (บุตร) จ�ำนวน 230 ล้านหุ้น คิดเป็นร้อยละ 15.08 ของจ�ำนวนหุ้นที่มี สิทธิออกเสียงหักด้วยหุ้นซื้อคืน

• รางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงานระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน • ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศให้เป็นหนึ่งในรายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่อยู่ในกลุ่ม “หุ้นยั่งยืน” หรือ “Thailand Sustainability Investment 2016 (THSI)” • ได้รับรางวัล 2015FY Supplier Evaluation Score จากบริษัท อีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ปี 2558

10

• สารสนเทศแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเรื่องอนุมัติโครงการซื้อหุ้นคืนของบริษัทเพื่อบริหารทางการเงิน เมือ่ วันที่ 7 มกราคม 2558 โดยใช้วงเงินสูงสุดไม่เกิน 400 ล้านบาท เพือ่ ซือ้ หุน้ คืนในจ�ำนวนไม่เกิน 45 ล้านหุน้ ในช่วงระยะ เวลาตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2558 ถึง 21 กรกฎาคม 2558 และแจ้งสิ้นสุดโครงการซื้อหุ้นคืนเพื่อบริหารทางการเงิน ซึ่ง บริษทั ฯ ได้ซอื้ หุน้ คืนแล้วเป็นจ�ำนวนรวม 20 ล้านหุน้ คิดเป็นร้อยละ 1.29 ของหุน้ ทีจ่ ำ� หน่ายได้แล้วทัง้ หมดโดยใช้เงินในการ ซื้อหุ้นคืนรวมทั้งหมด 175.02 ล้านบาท • มีนาคม 2558 บริ ษั ท เข้ า ร่ ว มการประกาศเจตนารมณ์ เ ป็ น แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า น การทุจริต ANNUAL

REPORT 2016


• เข้าร่วมโครงการส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจ�ำปี 2558 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2015) เป็นปีแรก และได้รับคะแนนการประเมินอยู่ในระดับดี (3 โลโก้) •กรกฎาคม 2558 บริษัทจัดการประชุมผู้ส่งมอบ (Supplier Meeting) ขยายแนวร่วมและประกาศนโยบายต่อต้าน การคอร์รัปชั่น • กันยายน 2558 บริษทั ท�ำพิธลี งนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการพัฒนาความรู้ และเทคโนโลยีการผลิต กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี • กันยายน 2558 สารสนเทศแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องการลาออกของกรรมการ นายพลเอก รุ่งโรจน์กิติยศ และการแต่งตั้งนายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช เป็นกรรมการอิสระ และประธานกรรมการบริษัท • กันยายน 2558 สารสนเทศแจ้งตลาดทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัทฯ

• Ford Q1 Preferred Quality Status • Delivery Performance Award, Hitachi Automotive System Asia, Ltd. • The Best Quality FY2014, KYB Steering (Thailand) Co.,Ltd. • รางวัลด้านการพัฒนาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ •รางวัลสถานประกอบการณ์ดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ระดับจังหวัด กระทรวงแรงงาน

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ปี 2557

• บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PCSGH จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2557 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,545,000,000 บาท • กันยายน 2557 สารสนเทศแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรือ่ งการเข้าซือ้ หุน้ ของผูบ้ ริหารจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ • พฤศจิกายน 2557 บริษทั ฯ ได้ทำ� พิธลี งนามบันทึกข้อตกลงทางวิชาการเพือ่ การจัดการศึกษาด้านอาชีวะระบบทวิภาคีกบั วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี • ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ ได้ทำ� พิธลี งนามบันทึกข้อตกลงทางวิชาการเพือ่ การจัดการศึกษาด้านอาชีวะระบบทวิภาคีกบั วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา

• The Best in Quality FY2013-KYB Steering (Thailand) Co.,Ltd. • รางวัลด้านผลการปฏิบัติงานดีเด่นในแผนงานที่ 3 การสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดประเภทสถานประกอบการ สีขาวจากผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา • รางวัลองค์กรต้นแบบเสริมสร้างความสุของค์กร จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ANNUAL REPORT 2016

11


โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “PCSGH”) ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัท อื่น (Holding Company) ที่ประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วน ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีรายได้หลักมาจากเงินปันผลที่ได้รับจากการ ลงทุนในบริษัทย่อย ปัจจุบัน บริษัทฯ ลงทุนในหุ้นของบริษัทย่อยที่เป็นธุรกิจหลักทั้งหมด 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด (“PCW”) ซึ่งเป็นบริษัทแกน บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด (“PCD”) และบริษัท พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด (“PCF”) ซึ่งเป็นบริษัท ที่อยู่ใต้การควบคุมเดียวกันกับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ โดยลักษณะการประกอบธุรกิจของแต่ละบริษัทมีรายละเอียดดังนี้

1) บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด (“PCW”) จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2545 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 20,000,000 บาท PCW เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนประเภทที่ใช้ความแม่นย�ำสูง (Machining Products) ประเภทเครื่องยนต์ ระบบเกียร์ และ ระบบบังคับรถ โดยวัตถุดบิ หลักที่ PCW ใช้ในการผลิต ได้แก่ วัตถุดบิ ประเภทปฐมภูมิ เช่น เหล็กเส้น และวัตถุดบิ ประเภททุตยิ ภูมิ เช่น เหล็กแปรรูป เหล็กหล่อ และอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป

12

ANNUAL

REPORT 2016


กลุ่มลูกค้าของ PCW แบ่งได้เป็นหลักๆ 2 ประเภท คือ • ผู้ผลิตและประกอบรถยนต์ เช่น Mitsubishi, GM Group, Isuzu Motors, Toyota Motors, Auto Alliance (Thailand), Triumph เป็นต้น ซึ่งในการขายให้ลูกค้าประเภทนี้ PCW จะท�ำหน้าที่เป็น OEM Supplier Tier 1 • OEM Supplier Tier 1 หรือผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อจ�ำหน่ายให้ผู้ผลิตและประกอบรถยนต์ในข้อ 1 อีกทอดหนึ่ง เช่น Continental Automotive, GKN, Kayaba เป็นต้น ซึ่งในการขายให้ลูกค้าประเภทนี้ PCW ก็จะท�ำหน้าที่เป็น OEM Supplier Tier 2

โครงสร้างสายการผลิตของผู้ผลิตและประกอบรถยนต์ และผู้ผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ ผู้ผลิตและประกอบรถยนต์ (OEM) ผลิตและจำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ให้กับผู้ผลิตและประกอบรถยนต์

OEM Supplier Tier 1 ผลิตและจำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ให้กับ OEM Supplier Tier 1

บริษัทฯ เป็นผู้ผลิต ชิ้นส่วนประเภท Tier 1 และ Tier 2

OEM Supplier Tier 2 ผลิตและจำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ให้กับ OEM Tier 2

OEM Supplier Tier 3 ประเภทสินค้าของ PCW จะแบ่งหลักๆ ได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ • กลุ่มเครื่องยนต์ เช่น Camshaft, Engine Gear, Common Rail, Balance Mass Module • กลุ่มระบบเกียร์ (Power Transmission System) เช่น Transmission Shaft, Transmission Coupling • กลุ่มระบบบังคับรถ เช่น Knuckle, ABS Rotor, Brake Caliper และ Wheel Spindle

ANNUAL REPORT 2016

13


นอกจากนี้ สินค้าที่ลูกค้าส่งค�ำสั่งผลิตมาให้ PCW มีลักษณะเป็น 2 แบบ คือ • Module Level ซึ่งเป็นการสั่งชิ้นส่วนยานยนต์ที่ต้องน�ำชิ้นส่วนยานยนต์แต่ละชิ้นมาประกอบกันเป็น Module ขนาดใหญ่ เช่น Camshaft Assembly, Front Case Cover, Balance Mass Moduleและ Common Rail Assembly เป็นต้น • Part Level ซึ่งเป็นการสั่งชิ้นส่วนยานยนต์เป็นชิ้นๆ ไม่ต้องมีการน�ำชิ้นส่วนยานยนต์มาประกอบกันเป็น Module ขนาดใหญ่ เช่น Gear, Shaft และ Knuckle เป็นต้น เมื่อได้รับค�ำสั่งซื้อจากลูกค้าแล้ว PCW ก็จะส่งค�ำสั่งซื้อวัตถุดิบทุติยภูมิ ให้กับทาง PCF และ PCD เป็นหลักก่อน ขึ้นกับประเภทของสินค้าว่าต้องใช้สินค้าจาก PCF หรือ PCD โดยสินค้าประเภทที่ต้องมีการแปรรูปเหล็ก (Forging) เช่น ชิ้นส่วน Common Rail จะต้องส่งค�ำสัง่ ซือ้ ไปที่ PCF และสินค้าประเภทอลูมเิ นียม ต้องส่งค�ำสัง่ ซือ้ ไปที่ PCD และหาก PCF และ PCD ไม่รบั ผลิต ทางบริษัท PCW ก็จะไปหาผู้รับจ้างช่วงผลิตวัตถุดิบรายอื่น ปัจจุบัน PCW มีทุนจดทะเบียนที่ช�ำระแล้ว 450,000,000 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญ 45,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยมีบริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนที่ช�ำระแล้ว 2) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด (“PCD”) จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2547 ด้วยทุนจดทะเบียน 350,000,000 บาท โดยประกอบธุรกิจ เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนประเภทอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป

กลุ่มลูกค้าของ PCD แบ่งได้หลักๆ 2 ประเภท คือ • ผู้ผลิตและประกอบรถยนต์ เช่น Isuzu Motors, Auto Alliance (Thailand), Toyota Motors, Renault Cleon, Nissan, Ducati เป็นต้น ซึ่งในการขายให้ลูกค้าประเภทนี้ PCD ก็จะท�ำหน้าที่เป็น OEM Supplier Tier 1 • OEM Supplier Tier 1 หรือผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อจ�ำหน่ายให้ผู้ผลิตและประกอบรถยนต์ในข้อ 1 อีกทอดหนึ่ง เช่น PCW, Kayama เป็นต้น ซึ่งในการขายให้ลูกค้าประเภทนี้ PCD จะท�ำหน้าที่เป็น OEM Supplier Tier 2 ผลิตภัณฑ์ของ PCD เป็นชิ้นส่วนประเภทอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป โดยที่ PCD มีความช�ำนาญเป็นพิเศษในการผลิตชิ้นส่วน อลูมิเนียมขนาดใหญ่เนื่องจากเครื่องจักรส่วนมากมีขนาดแรงฉีดตั้งแต่ 350 ตัน ถึง 2,500 ตัน ซึ่งสามารถผลิตชิ้นส่วนขนาดใหญ่ จ�ำพวก Engine Crank Case, Engine Oil Pan, Engine Cover และ Case Housing เป็นต้น

14

ANNUAL

REPORT 2016


3) บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด บริ ษั ท พี . ซี . เอส. ฟอร์ จ จิ้ ง จ� ำ กั ด (“PCF”) จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 21 สิ ง หาคม 2546 ด้ ว ยทุ น จดทะเบี ย น 350,000,000 บาท โดยประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วน ประเภท OEM Supplier Tier 2 และ OEM Supplier Tier 3 ซึ่งเป็นการผลิต สินค้าจ�ำพวกวัตถุดิบแปรรูปตามค�ำสั่งของลูกค้า

ปัจจุบัน PCF มีรายได้จาก PCW เป็นสัดส่วนร้อยละ 92.08 ในปี 2559 ทั้งนี้เนื่องจาก PCF จะผลิตชิ้นส่วนประเภท เหล็กแปรรูป (Forging Products) เพื่อขายให้ PCW น�ำไปใช้ต่อในการผลิตสินค้าส�ำเร็จรูปบางกลุ่มของ PCW โดย PCF มีความ ช�ำนาญพิเศษในการผลิตชิ้นส่วนประเภทเหล็กแปรรูปร้อนจ�ำพวก Micro Alloy Steel ซึ่งเป็นเหล็กที่มีลักษณะพิเศษมีค่าความแข็ง สูงหลังจากการผ่านการขึ้นรูปร้อนแล้ว เช่น Common Rail, ชิ้นส่วนปั๊มหัวฉีดดีเซล, Knuckle, Gear, และ Drive Shaft เป็นต้น นอกจากนั้น PCF มีความช�ำนาญเป็นพิเศษในการผลิตเหล็กแปรรูปร้อน ที่มีขนาดใหญ่มีแรงตีเหล็กสูงตั้งแต่ 750 ตัน ถึง 6,000 ตัน เช่น เพลาข้อเหวี่ยง,Knuckle และ เพลาถ่วงสมดุล เป็นต้น

ANNUAL REPORT 2016

15


โครงสร้างรายได้ของบริษัท บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด(มหาชน)และบริษัทย่อย

บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจการลงทุนในบริษทั อืน่ (Holding Company) จึงมีรายได้หลักเป็นเงินปันผลทีไ่ ด้จากการลงทุนถือหุน้ ในบริษัทย่อย โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีการลงทุนในบริษัทย่อย 3 บริษัท ได้แก่ PCW, PCF และ PCD

ประเภทรายได้ ผลิตภัณฑ์ Forging (PCF) ผลิตภัณฑ์ Die Casting (PCD) ผลิตภัณฑ์ Machining (PCW) รายไดรวมสามบริ ษัท ้

ปรับปรุงตัดรายการซื้อของสินคา้ ระหวางบริ ่ ษัท

งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ปี2558 ปี2559 ลา้ นบาท รอ้ ยละ ลา้ นบาท รอ้ ยละ 304.68 420.83 9.23 7.59 1,266.74 24.79 1,249.94 31.14 2,870.89 62.98 2,459.54 61.27 4,558.46 100.00 4,014.16 100.00

งบการเงินรวม ม.ค.-ธ.ค. 2559 ลา้ นบาท รอ้ ยละ 304.68 7.59 1,249.94 31.14 2,459.54 61.27 4,014.16 100.00

466.14

306.93

306.93

รายได้จากการขายตามงบการเงินรวม 4,092.32 เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ และงบการเงินรวม

3,707.23

3,707.23

หมายเหตุ : ร้อยละของรายได้จากการขายรวม

16

ANNUAL

REPORT 2016


กลยุทธ์ในอนาคตของบริษท ั การตลาดและการแข่งขัน

เพื่อให้สามารถแข่งขันกับตลาดภายนอกได้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดกลยุทธ์ในการขยายธุรกิจเพิ่มเติมไปในกลุ่มชิ้นส่วนที่ไม่ใช่ รถกระบะ 1 ตัน และนอกกลุ่มยานยนต์ ซึ่งบริษัทฯ ได้มีการด�ำเนินการอย่างเต็มที่จนได้รับความไว้วางใจทั้งจากกลุ่มลูกค้าใหม่และ กลุ่มลูกค้าเดิมที่ส�ำคัญ ชิ้นส่วนที่บริษัทฯ ผลิตนั้น เป็นชิ้นส่วนที่ใช้ความแม่นย�ำสูงในกระบวนการผลิต จึงท�ำให้มีคู่แข่งขันน้อยราย และบ่อยครั้งที่คู่แข่งของบริษัทฯ คือบริษัทลูกค้า หรือบริษัทในเครือของลูกค้าเอง บริษัทฯ สามารถออกแบบและผลิตชิ้นส่วนได้อย่างครบวงจร (One-Stop Services) มีศูนย์ออกแบบและพัฒนาเป็นของ ตัวเองโดยวิศวกรเฉพาะทาง ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยส�ำหรับการออกแบบ อาทิเช่น Catia, UG, Solid Work, AutoCAD และยัง มีซอฟแวร์ที่ช่วยในการวิเคราะห์การออกแบบ เช่น Magma Flow และ Finite Element สามารถออกแบบและท�ำเครื่องมือที่ใช้ใน สายการผลิตได้ด้วยตนเอง เป็นแบบเฉพาะของแต่ละเครื่อง และสามารถปรับแต่งให้สอดคล้องกับสายการผลิตนั้นๆ ซึ่งถือเป็นการ ลดต้นทุนอย่างหนึ่ง พร้อมทั้งห้องทดสอบและตรวจสอบคุณภาพที่ได้มาตรฐานก่อนส่งมอบชิ้นงานให้กับลูกค้า ในปี 2559 บริษัทฯ มีโครงการผลิตชิ้นส่วนที่ได้งานใหม่จากลูกค้า ซึ่งได้แก่ 1) โครงการผลิตชิ้นส่วน Pressure Plate มูลค่าโครงการกว่า 90 ล้านบาท ส�ำหรับลูกค้าผู้ผลิตและจ�ำหน่าย รถยนต์นั่งส่วนบุคคล หรือ Passenger Car จากค่ายรถญี่ปุ่น ในช่วงไตรมาส 2 2) โครงการผลิตชิ้นส่วน Duct EGR และ Bracket Converter มูลค่าโครงการกว่า 12 ล้านบาท ส�ำหรับลูกค้า ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายรถบรรทุกขนาดใหญ่ หรือ Big Truck จากค่ายรถญี่ปุ่นในช่วงไตรมาส 4 3) โครงการผลิตชิ้นส่วน Crank Case มูลค่าโครงการกว่า 200 ล้านบาท ส�ำหรับลูกค้าผู้ผลิตและจ�ำหน่าย รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ หรือ Big Bike ในช่วงไตรมาส 4

แนวโน้มธุรกิจยานยนต์ปี 2560

เงื่อนไขการถือครองรถยนต์อย่างน้อย 5 ปี ส�ำหรับผู้ร่วมโครงการลดหย่อนภาษีสรรพสามิตในการซื้อรถยนต์คันแรก ตาม นโยบายของรัฐบาลในอดีต เริ่มทยอยครบก�ำหนดในราวไตรมาส 4 ปี 2559 คาดว่าจะส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศ เริ่มมีทิศทางการปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ ในปี 2560 ดังที่กลุ่มยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประกาศเป้าหมาย การผลิตรถยนต์ทุกประเภทในปี 2560 ไว้ที่ 2.0 ล้านคัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.86 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยแบ่งเป็นการผลิตเพื่อจ�ำหน่าย ในประเทศ 800,000 คัน คิดเป็นร้อยละ 40 ของยอดการผลิตรวม และผลิตเพื่อการส่งออก 1.2 ล้านค้น คิดเป็นร้อยละ 60 ของยอด การผลิตรวม

ทิศทางบริษัทฯ ปี 2560

บริษัทฯ และบริษัทย่อยยังคงให้ความส�ำคัญกับกลยุทธ์การรักษาตลาดการผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วนส�ำหรับกระบะ 1 ตัน ต่อไป รวมทัง้ การขยายธุรกิจไปสูก่ ารผลิตชิน้ ส่วนทีไ่ ม่ใช่รถกระบะ 1 ตัน (Non 1-Ton Pickup) ได้แก่ รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ (Big Bike) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (Big Truck) รถยนต์นั่ง (Passenger Car) รวมไปถึงการผลิตชิ้นส่วนที่ไม่ใช่ยานยนต์ เช่น เครื่องจักร กลทางการเกษตร (Agricultural Machinery) และ เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน (Home Appliance) เป็นต้น เพื่อขยายฐานธุรกิจให้ กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ในปี 2560 นี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ยังให้ความส�ำคัญกับการขยายโอกาสไปในตลาดต่างประเทศ ซึ่งอาจ เป็นการส่งออกชิ้นส่วนไปต่างประเทศโดยตรงหรือ การลงทุนในต่างประเทศตามความเหมาะสม ทั้งยังเป็นการกระจายความเสี่ยง และสร้างการเจริญเติบโตให้กับธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างมั่นคงและยั่งยืนเป็น “บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วน ที่ลูกค้าเลือก ด้วยคุณภาพระดับโลก” เพื่อประโยชน์สูงสุดกับผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายต่อไป

ANNUAL REPORT 2016

17


ปัจจัยความเสี่ยง

1. ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักที่บริษัทฯ ใช้ในการผลิต แบ่งเป็นสองกลุ่ม ก. กลุ่มวัตถุดิบปฐมภูมิ (Primary Material) จ�ำพวก เหล็กเส้น(Steel Bar) และอลูมิเนียมแท่ง (Aluminum Ingot) เพื่ อ ป้ อ นเข้ า สู ่ ส ายการผลิ ต และแปลงสภาพให้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ทุติยภูมิ หรือ สินค้าส�ำเร็จรูป ข. กลุ่มวัตถุดิบทุติยภูมิ (Secondary Material) เช่น ผลิตภัณฑ์ขึ้นรูปร้อน (Hot Forging) ผลิตภัณฑ์ขึ้นรูปเย็น (Cold Forging) ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป (Die Casting) และ ผลิตภัณฑ์เหล็กผงอัดขึ้นรูป (Sintering) เป็นต้น โดยวัตถุดิบ ทุติยภูมินี้จะผ่านการแปรสภาพเป็นสินค้าส�ำเร็จรูปเพื่อส่งมอบ ให้ลูกค้าต่อไป วั ต ถุ ดิ บ ทั้ ง 2 กลุ ่ ม ดั ง กล่ า ว มี ลั ก ษณะเป็ น สิ น ค้ า โภคภัณฑ์ (Commodity) การเปลี่ยนแปลงของราคาจะขึ้นอยู่ กับอุปสงค์และอุปทานของวัตถุดบิ ในตลาดโลกในแต่ละช่วงเวลา ซึง่ อยูน่ อกเหนือการควบคุมของบริษทั ฯ ดังนัน้ ความผันผวนของ ราคาวัตถุดิบ จึงอาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตของบริษัทฯ เช่นกัน โดยทั่วไป บริษัทฯ สามารถเจรจาปรับราคาอันเนื่องมา จากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบตามรอบ ระยะเวลาทีไ่ ด้ตกลงกับลูกค้าแต่ละราย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมี การด�ำเนินกิจกรรมเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้วตั ถุดบิ เพือ่ ลดต้นทุน อย่างต่อเนื่อง 2. ความเสีย่ งจากการผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น บริษัทฯ มีการน�ำเข้าวัตถุดิบปฐมภูมิประเภทเหล็กเส้น จากประเทศญี่ปุ่นเป็นส่วนมาก และบางส่วนจากยุโรป รวมถึงมี การน�ำเข้าเครือ่ งจักรต่าง ๆ จากต่างประเทศอีกด้วย โดยราคาซือ้ ส่วนใหญ่ถูกก�ำหนดเป็นสกุลเงินต่างประเทศ เช่น เงินเยน หรือ เงินเหรียญสหรัฐฯ เป็นต้น ดังนั้นความผันผวนของอัตราแลก เปลี่ยนจึงอาจมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษทั ฯ สามารถน�ำเงินตราต่างประเทศทีไ่ ด้รบั จากการ ส่งออกชิ้นส่วนให้กับผู้ผลิตรถยนต์ในต่างประเทศมาซื้อวัตถุดิบ ดังกล่าว เพื่อลดความเสี่ยงโดยตรงจากความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนได้เช่นกัน (Natural Hedge) ส�ำหรับส่วนต่างที่เหลือ อยู่ บริษทั ฯ ได้มกี ารใช้เครือ่ งมือเพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากอัตรา แลกเปลี่ยนในบางส่วน ส�ำหรับวัตถุดิบทุติยภูมินั้น ทางบริษัทฯ ซื้อจากผู้ผลิต ภายในประเทศเป็นหลัก อาจได้รับผลกระทบจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนบ้างแต่ไม่มากนัก อย่างไรก็ดี แม้ในปีที่ผ่านมาค่าเงินบาทค่อนข้างมี 18

เสถียรภาพ แต่บริษัทก็ได้มีการเฝ้าติดตามและประเมินผลกระ ทบที่อาจเกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด 3. ความเสี่ ย งจากการย้ า ยฐานการผลิ ต ไปยั ง ประเทศอื่นของบริษัทผลิตรถยนต์ที่เป็นลูกค้ารายส�ำคัญ ของบริษัทฯ ประเทศเพื่อนบ้านของไทย โดยเฉพาะเพื่อนสมาชิกใน กลุม่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ต่างมุง่ มัน่ พยายามเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน เชิญชวนให้ผู้ผลิตรถยนต์ราย ใหญ่จากต่างประเทศขยายการลงทุน หรือ ย้ายฐานการผลิตไป ยังประเทศต่าง ๆ เหล่านั้น ผู้ผลิตรถยนต์รายต่าง ๆ อาจมีความ สนใจที่จะย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีต้นทุนต�่ำสุด ประเทศไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์มาเป็นเวลายาวนาน ความสามารถในการ แข่งขันอยูใ่ นระดับสูง อีกประการหนึง่ รถยนต์สำ� เร็จรูปเป็นสินค้า ที่มีขนาดใหญ่ การขนส่ง การส่งมอบมีความยุ่งยาก และหาก พิจารณาประกอบกับความนิยมประเภทของรถยนต์ที่แตกต่าง กันในแต่ละภูมิภาค ฐานการผลิตรถยนต์ก็ควรจะแยกประเภท ตามความนิยมของแต่ละภูมิภาค เพื่อลดค่าใช้จ่ายในด้านขนส่ง และการส่งมอบ จึงมีความเป็นไปได้ค่อนข้างน้อยที่จะเกิดการ ย้ายฐานการผลิตออกไปจากประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการวางแผนระยะกลางในการ ขยายตลาดเข้าสูก่ ลุม่ ลูกค้าในประเทศอืน่ ๆ ในภูมภิ าคมากขึน้ ไม่ ว่าจะเป็นที่อินโดนีเซีย หรือญี่ปุ่น โดยมีแผนที่จะใช้เทคโนโลยีใน การผลิตที่มีอยู่แล้วของบริษัทฯ เป็นตัวกลางในการขยายกิจการ 4. ความเสี่ยงจากสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น จากการเข้ามาลงทุนของผู้ออกแบบและผลิตชิ้นส่วนต่าง ชาติ ที่มีความพร้อมทั้งในเรื่องของเงินทุนและเทคโนโลยี ในการผลิต หลังจากการก้าวขึ้นเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อย่างเต็มรูปแบบ จะท�ำให้คู่แข่งรายใหม่จากต่างชาติสามารถ เข้ามาแข่งขันกับบริษัทฯ ได้ง่ายขึ้น ผ่านทางการน�ำชิ้นส่วนเข้า มาขาย หรือการตัง้ โรงงานผลิตในประเทศ เนือ่ งจากมีการเคลือ่ น ย้าย ของสินค้า แรงงาน และ เงินทุน อย่างอิสระ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังมีปัจจัยหลายอย่างที่ท�ำให้ได้เปรียบคู่แข่ง เช่น • บริษัทฯ มีนโยบายการท�ำธุรกิจที่มุ่งเน้นการผลิตชิ้น ส่วนที่ต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิต เช่น ระบบส่งก�ำลังใน เครื่องยนต์ดีเซล ระบบเบรค และชุดเกียร์ เป็นต้น จึงท�ำให้มีผู้ ผลิตน้อยราย • ผู้ผลิตชิ้นส่วนเป็นรายใหม่จะต้องผ่านกระบวนการ ประเมินผู้ผลิตใหม่ทั้งหมด ซึ่งอาจต้องใช้เวลามากและท�ำให้มี ANNUAL REPORT 2016


ความเสี่ยงในเรื่องคุณภาพของสินค้า • บริษัทฯ มีความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้ามาโดยตลอด โดยมุ่งเน้นเรื่องคุณภาพของชิ้นส่วนและการส่งมอบงานให้ทัน เวลา นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการวางแผนระยะกลางในการ ขยายตลาดเข้าสูก่ ลุม่ ลูกค้ารถยนต์นงั่ (Passenger Car), รถยนต์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Eco Car) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (Big Truck) รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ (Big Bike) และชิ้นส่วนนอก กลุ่มยานยนต์ (Non-Auto) อีกด้วย 5.ความเสี่ ย งจากการพึ่ ง พิ ง การใช้ ที่ ดิ น ในการ ด�ำเนินการจากกลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ ปัจจุบันบริษัทฯ และบริษัทย่อยทั้ง 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด (PCW), บริษัท พี.ซี.เอส. ไดคาสติ้ง จ�ำกัด (PCD)และ พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด (PCF) เช่าที่ดินจากบริษัท พี.ซี.เอส.เอสเตท จ�ำกัด ซึ่งมี นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ และ นางวรรณา เรามานะชัย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ และเป็นกรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามของบริษัทฯ เพื่อใช้เป็นที่ตั้ง โรงงานทั้งหมด และด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยมีสัญญาเช่า ที่ดินเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2557 และในวันที่ 30 กันยายน 2556 ได้ท�ำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม เปลี่ยนอัตราค่าเช่าเป็นราคาตลาดที่ประเมินโดยผู้ประเมินราคา อิสระมีผลตั้งแต่วันที่1 ตุลาคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2557 และ สามารถต่อได้อีก 7 คราวๆ ละ 3 ปี ภายใต้เงื่อนไขให้ปรับราคา ค่าเช่าตามราคาตลาดทีป่ ระเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระในทุกๆ รอบการต่อสัญญา บริ ษั ท ฯ ถื อ สิ ท ธิ ใ นการเลื อ กต่ อ สั ญ ญาเช่ า ได้ อี ก 7 คราวๆ ละ 3 ปี รวมมีอายุการเช่าทั้งหมดประมาณ 22 ปี 6 เดือน นับแต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2578 โดยค่าใช้จา่ ยทีเ่ ป็นค่าเช่าตามสัญญาเช่าปัจจุบนั รวมทัง้ สิน้ ปีละ 15.7 ล้านบาท (ค�ำนวณจากค่าเช่าตารางวาละ 23.5 บาท บน เนื้อที่รวม 138-3 - 49.0 ไร่ หรือ 55,549.0 ตารางวา) คิดเป็น สัดส่วนเพียงแค่ร้อยละ 0.4 ของรายได้จากการขายของบริษัทฯ ในปีที่ผ่านมา นอกจากนี้การบริหารจัดการทรัพย์สินด้วยการเช่า ยังช่วยให้บริษัทฯ สามารถรักษาสภาพคล่องทางการเงินที่สูง ของบริษัทฯ ได้ โดยที่ไม่ต้องน�ำเงินสดในจ�ำนวนที่สูงมาซื้อที่ดิน และยังส่งผลดีต่อประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานซึ่งสะท้อนจาก อัตราส่วนทางการเงิน เช่น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ และ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวรที่อยู่ในระดับที่สูง เป็นต้น ทั้งนี้ ภายหลังการสิ้นสุดสัญญาดังกล่าว หรือนับตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2579 เป็นต้นไป บริษัทฯ ต้องมีการตกลงท�ำ สัญญาเช่าที่ดินใหม่กับผู้ให้เช่า ANNUAL REPORT 2016

6. ความเสี่ยงจากค่าเสียหายเนื่องจากปัญหาด้าน คุณภาพของสินค้า ปัจจุบันประเทศไทยมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติ ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 (พ.ร.บ.ความรับผิดชอบ) ซึ่ง พ.ร.บ.ความรับผิดชอบ นี้ก�ำหนดให้ผู้ประกอบการทุกคนซึ่งในที่นี้หมายถึง ผู้ผลิต หรือ ผู้ว่าจ้างให้ผลิต ผู้น�ำเข้า ผู้ขายสินค้าที่ไม่สามารถระบุตัวผู้ผลิต และผูน้ ำ� เข้าได้ ต้องร่วมกันรับผิดต่อผูเ้ สียหายในความเสียหายที่ เกิดจากสินค้าทีไ่ ม่ปลอดภัย ทีไ่ ด้มกี ารขายให้แก่ผบู้ ริโภคแล้ว ไม่ ว่าความเสียหายนัน้ จะเกิดจากการกระท�ำโดยจงใจหรือประมาท เลินเล่อของผูป้ ระกอบการหรือไม่กต็ าม เพราะฉะนัน้ หากรถยนต์ ที่ลูกค้าของบริษัทฯ เป็นผู้ผลิตถูกฟ้องร้องจากผู้บริโภค บริษัทฯ อาจจะต้องร่วมช�ำระค่าเสียหายด้วย หากความผิดพลาดดังกล่าว เกิดจากความผิดพลาด ในชิ้นส่วนที่บริษัทฯ เป็นผู้ผลิต ในขณะเดี ย วกั น บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต รถยนต์ ที่ เ ป็ น ลู ก ค้ า โดยตรงของบริษัทฯ ก็ยังสามารถเรียกค่าชดเชยจากการช�ำรุด ของผลิตภัณฑ์ได้โดยตรงเช่นกัน ซึ่งปกติระยะเวลาการประกัน โดยเฉลี่ยของชิ้นส่วนที่บริษัทฯ ผลิตจะอยู่ที่ 3 ปี หรือ 100,000 กิโลเมตร โดยลูกค้าหลักของบริษัทฯ ที่เป็นบริษัทผลิตรถยนต์ ชั้นน�ำจะให้ความส�ำคัญเรื่องคุณภาพสินค้าและการส่งมอบให้ ตรงเวลาเป็นอย่างมาก เนื่องจากความผิดพลาดของชิ้นส่วนใน รถยนต์จะท�ำให้เกิดความเสียหายในวงกว้างและอาจต้องถึงขั้น เรียกคืนรถยนต์ที่จ�ำหน่ายไปแล้วกลับมาท�ำให้เกิดความสูญเสีย ทัง้ ในรูปแบบของตัวเงิน และชือ่ เสียง และการส่งสินค้าไม่ตรงเวลา จะท�ำให้การผลิตต้องหยุดชะงักและไม่สามารถผลิตได้ตามเป้า หมาย ดังนัน้ บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์จงึ ได้กำ� หนดกฎเกณฑ์มาตรฐาน ส�ำหรับการผลิตชิน้ ส่วนรถยนต์อย่างเข้มงวดอาทิ เช่น ก�ำหนดให้ ผู้ผลิตชิ้นส่วนต้องได้รับรองมาตรฐานสากล เช่น ISO/TS16949 เป็นต้น และหากไม่สามารถควบคุมมาตรฐานได้ตามที่ก�ำหนด บริษัทฯ อาจถูกลดค�ำสั่งซื้อและถูกยกเลิกสัญญา ท�ำให้ส่งผล กระทบต่อผลการด�ำเนินงานได้ ทั้ ง นี้ ชิ้ น ส่ ว นที่ บ ริ ษั ท ฯ ผลิ ต เช่ น ชิ้ น ส่ ว นส� ำ หรั บ เครื่องยนต์ดีเซล กลุ่มระบบส่งก�ำลัง และ กลุ่มระบบเบรค เป็น กลุ่มชิ้นส่วน ที่จะได้รับการทดสอบประสิทธิภาพอย่างมากจาก ผู้ผลิตรถยนต์ก่อนส่งถึงมือลูกค้า ถ้าพบปัญหาก็จะพบได้ตั้งแต่ สินค้าของบริษัทฯ ยังอยู่ในสายการผลิตของลูกค้าของบริษัทฯ ซึ่งถ้าเกิดปัญหาเรื่องคุณภาพระหว่างสินค้ายังอยู่ในสายการ ผลิตของลูกค้า ก็จะมีการชดเชยค่าใช้จ่ายในการคัดแยกงานให้ กับทางลูกค้าของบริษัทฯ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้น ปัญหาด้านคุณภาพสินค้าที่จะต้องถูกเรียกคืนกลับจากผู้บริโภค จึงมีความเป็นไปได้ต�่ำ แม้จะยังไม่มีเหตุการณ์ถูกเรียกคืนสินค้าจากผู้บริโภค เกิดขึ้นกับบริษัทฯ การรับผิดชอบจากกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ก็ยังเป็นประเด็นความเสี่ยงส�ำคัญที่บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญมา 19


โดยตลอด โดยได้ก�ำหนดแนวทางและมาตรการที่มุ่งเน้นไปสู่ การป้องกันปัญหาที่ต้นเหตุ โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีการพัฒนา คุณภาพการผลิตอย่างต่อเนื่องโดยมีระบบควบคุมคุณภาพที่ ได้มาตรฐานสากล และได้รับประกาศนียบัตร ISO14001:2004 และยังได้รบั รองคุณภาพมาตรฐานส�ำหรับผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ ISO/TS16949 : 2009 อีกด้วย 7. ความเสี่ ย งจากการเกิ ด วิ น าศภั ย และภั ย ธรรมชาติกับโรงงานหรือเครื่องจักรของบริษัทฯ ความเสียหายต่อโรงงานและเครื่องจักรของบริษัทฯ ที่ อาจเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด เช่นการเกิดวินาศภัย หรือ ภัยธรรมชาติตา่ ง ๆ อาจท�ำให้บริษทั ฯ ไม่สามารถท�ำการผลิตหรือ ด�ำเนินธุรกิจได้ นอกจากจะมีโอกาสสูญเสียรายได้ แล้ว ยังมีความ เป็นไปได้ ที่จะสูญเสียลูกค้าเนื่องจากลูกค้าจะต้องหาผู้ผลิตราย อื่นมาทดแทนเพื่อให้สายการผลิตของลูกค้าด�ำเนินไปอย่างต่อ เนื่อง ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารท� ำ สั ญ ญาประกั น ภั ย เพื่ อ ป้องกันความเสี่ยงของเหตุการณ์ที่จะมีผลกระทบรุนแรงต่อ บริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายจากการเกิดอัคคีภัย ภัย ธรรมชาติต่างๆ หรือการถูกลักทรัพย์ (All Risk) โดยมีจ�ำนวนเงิน เอาประกันภัยครอบคลุมความเสียหายทีจ่ ะเกิดกับอาคาร โรงงาน เครื่องจักร สินค้าคงคลัง ฯลฯ กว่า 7,100 ล้านบาท นอกจากการท� ำ ประกั น ภั ย ดั ง ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว นั้ น บริษัทฯ ยังมีระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO14001:2004 และได้มีการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของหน่วย งานของรัฐต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดเพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดกับบุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ และ สถานที่ประกอบการ

20

8. ความเสี่ ย งจากการที่ รั ฐ บาลไทยสนั บ สนุ น รถยนต์เพื่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ในอดีตรัฐบาลไทยมุ่งเน้นให้รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ (Commercial Vehicles) ด้วยการส่งเสริมอย่างจริงจังในฐานะ ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย (Product Champion) จะประสบความ ส�ำเร็จอย่างสูง ในปี 2558 ทีผ่ า่ นมามียอดการผลิตรถยนต์ประเภท นี้สูงเป็นอันดับ 6 ของโลก อย่างไรก็ดี แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ด้ า นเทคโนโลยี ที่ มุ ่ ง เน้ น ความเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม การประหยัดพลังงาน และ ความปลอดภัย ส่งผลให้เกิดการพัฒนา ไปในทิศทาง การลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) การเพิ่มประสิทธิภาพและสมรรถนะของเครื่องยนต์ ให้ มีอัตราการสิ้นเปลืองน�้ำมันเชื้อเพลิงต�่ำ หรือหันไปใช้พลังงาน ทดแทนอื่น เช่น เอทานอล และ ไบโอดีเซล ตลอดจนการพัฒนา เทคโนโลยีเพือ่ อนาคต เช่น รถยนต์ไฮบริด (Hybrid) ซึง่ เป็นรถยนต์ ที่ใช้น�้ำมันเป็นเชื้อเพลิงร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า และ การยก ระดับมาตรฐานความปลอดภัยเพื่อลดอุบัติเหตุและป้องกันผู้ ขับขี่และผู้ใช้รถใช้ถนน (ข้อมูลจากแผนแม่บทอุตสาหกรรมยาน ยนต์ 2555 – 2559) ภาครัฐมีการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Eco Car) มากขึ้น โดยจะผลักดันให้ เป็นผลิตภัณฑ์เป้าหมายทีส่ อง ประกอบกับการผลักดันมาตรฐาน ไอเสี ย ของเชื้ อ เพลิ ง ที่ ใ ช้ ใ ห้ ดี ขึ้ น โดยมี แ ผนจะน� ำ เชื้ อ เพลิ ง มาตรฐานไอเสียยูโร 5 มาใช้ในปี 2558 ด้ ว ยศั ก ยภาพในด้ า นการผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นของบริ ษั ท ฯ ที่สามารถผลิตชิ้นส่วนส�ำหรับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ได้เช่นกัน จึงได้ มีการวางแผนระยะกลางในการขยายตลาดเข้าสู่กลุ่มลูกค้า รถยนต์นั่ง (Passenger Car), รถยนต์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Eco Car) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (Big Truck) รถจักรยานยนต์ ขนาดใหญ่ (Big Bike) และชิ้ น ส่ ว นนอกกลุ ่ ม ยานยนต์ (Non-Auto) อีกด้วย

ANNUAL

REPORT 2016


ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และนโยบายการจ่ายเงินปันผล ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรกของบริษัทพี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

จากข้อมูลวันปิดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2559 บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“PCSGH”) มีรายละเอียดผู้ถือหุ้นดังนี้

รายชื่อผูถ้ ือหุน้

จำนวนหุน้

รอ้ ยละ*

1. นายอังกฤษ รุง่ โรจนก์ ิติยศ

230,457,100

15.11

2. นายพลเอก รุง่ โรจนก์ ิติยศ

230,000,010

15.08

3. นายบัลลังก์ รุง่ โรจนก์ ิติยศ

230,000,000

15.08

4. นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ

230,000,000

15.08

5. นางวรรณา เรามานะชัย

220,000,000

14.62

6. กองทุนเปิด บัวหลวงหุน้ ระยะยาว

50,701,300

3.32

7. น.ส.รังสิกาญจน์ โมรินทร์

34,372,590

2.25

8. น.ส.กัญญาภัทร ศิริศรีอัจฉราพร

21,548,700

1.41

9. กองทุนเปิด บัวหลวงหุ้นระยะยาว 75/25

17,807,300

1.16

16,000,000

1.04

10. นายมิน เธียรวร

หมายเหตุ*ร้อยละของหุ้นทั้งหมด 1,525,000,000 หุ้น (หักหุ้นซื้อคืน 20,000,000 หุ้นแล้ว)

ข้อจ�ำกัดของการถือหุ้นของชาวต่างชาติ

หุ้นของบริษัทฯ สามารถโอนได้อย่างเสรีโดยไม่มีข้อจ�ำกัด และหุ้นที่ถือโดยชาวต่างชาติต้องมีจ�ำนวนรวมกัน ไม่เกินร้อยละ 49 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ จากข้อมูลปิดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2559 บริษัทมีผู้ถือหุ้นที่เป็น ชาวต่างชาติ คิดเป็นร้อยละ 0.46 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยทั้ง 3 บริษัท

(1) บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด (“PCW”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 PCW มีรายละเอียดผู้ถือหุ้นดังนี้

รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป๊ โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)

จำนวนหุ้น

ร้อยละ*

44,999,998

100.00

2. นางวรรณา เรามานะชัย

1

0.00

3. นายพลเอก รุงโรจน ่ กิ์ ติยศ

1

0.00

45,000,000

100.00

รวม

ANNUAL REPORT 2016

21


(2) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด (“PCD”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 PCD มีรายละเอียดผู้ถือหุ้นดังนี้

รายชื่อผูถื้ อหุน้

จำนวนหุน้

1. บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป๊ โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)

รอยละ* ้

34,999,998

100.00

2. นางวรรณา เรามานะชัย

1

0.00

3. นายพลเอก รุงโรจน ่ กิ์ ติยศ

1

0.00

35,000,000

100.00

รวม

(3) บริษัท พี.ซี.เอส.ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด (“PCF”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 PCF มีรายละเอียดผู้ถือหุ้นดังนี้

รายชื่อผูถื้ อหุน้

จำนวนหุน้

1. บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป๊ โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)

รอยละ* ้

34,999,998

100.00

2. นางวรรณา เรามานะชัย

1

0.00

3. นายพลเอก รุ่งโรจน์กิติยศ

1

0.00

35,000,000

100.00

รวม

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

1. นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ จะจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหักภาษีและหลังหักส�ำรอง ตามกฎหมาย โดยคณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นเป็นหลัก เช่น การด�ำรง เงินไว้เพื่อลงทุนในอนาคต หรือเพื่อจ่ายช�ำระคืนเงินกู้ยืม หรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัทฯ 2. ข้อมูลการจ่ายเงินปันผลของบริษัทที่ผ่านมา

รายละเอียด กำไรสุทธิ (หลังหักภาษีและสำรองตามกฎหมาย) อัตราเงินปันผลต่อหุ้น จำนวนเงินปันผลจา่ ย

อัตราส่วนการจ่ายเงินปันผลต่อกำไรสุทธิ

374.73 ลา้ นบาท 0.24 บาท

593.08 ลา้ นบาท 0.40 บาท

756.63 ลา้ นบาท 0.37 บาท

366.00 ลา้ นบาท 97.67 %

610.00 ลา้ นบาท 102.85 %

571.65 ลา้ นบาท 75.55 %

3. นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย PCW, PCD และ PCF จะจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของก�ำไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหักภาษีและ หลังหักส�ำรองตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี คณะกรรมการและ/หรือผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อย จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลโดยพิจารณาตาม ความเหมาะสมของสภาพธุรกิจ เช่น พิจารณาจากแผนการลงทุนในการขยายกิจการของบริษัทย่อย หรือเพื่อจ่ายช�ำระคืนเงินกู้ยืม หรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัท

22

ANNUAL

REPORT 2016


โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร

หน่วยงานตรวจสอบภายใน

เลขานุการบริษัท ประธานเจา้ หนา้ ที่บริหาร

ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ

ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายการเงิน

ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายการตลาด

ฝ่ายวิจัยและ พัฒนาวิศวกรรม

ฝ่ายบัญชีและการเงิน

ฝ่ายสนับสนุน วิศวกรรม

ฝ่ายจัดซื้อ

ฝ่ายดำเนินการ และจัดหา

ฝ่ายบริหารองคก์ ร

PCW

PCD

PCF

ฝ่ายบริหารความสัมพันธ์ ภายนอกองค์กร หนว่ ยงานสง่ เสริมการเพิ่ม ผลผลิต ANNUAL REPORT 2016

23


คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และคณะกรรมการบริษัทย่อย

1. คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย ชื่อ - สกุล

ลำดับ

ตำแหนง่

นายจักรมณฑ์

ผาสุกวนิช

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ

นายศิริพงษ์

รองประธานกรรมการ

นายปราโมทย์ นายวีระชัย นางศรีไทย

รุ่งโรจน์กิติยศ

เตชะสุพัฒนก์ ุล เชาวช์ าญกิจ เหมโสรัจ

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

6

นางวรรณา

เรามานะชัย

กรรมการ

7

นายอังกฤษ

กรรมการ

8 9

นายประสงค์ นายกุญชร

รุ่งโรจน์กิติยศ

อดุลยรัตนนุกุล เรามานะชัย*

กรรมการ กรรมการ

10

นายธิเบต

รุง่ โรจนก์ ิติยศ**

กรรมการ

1 2 3 4 5

หมายเหตุ*นายกุญชร เรามานะชัย ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัท ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2559 **นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่12 ตุลาคม 2559

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท ประกอบด้วย นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกุล ลงลายมือชื่อร่วมกับกรรมการสอง ในสี่ท่าน ได้แก่ นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ นางวรรณา เรามานะ ชัย นายอังกฤษ รุ่งโรจน์กิติยศ และ นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ รวม เป็น 3 ท่าน และประทับตราส�ำคัญของบริษัท

ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั

1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ มติคณะกรรมการบริษัทและมติที่ประชุมผู้ ถือหุ้นด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์ สุจริต 2. พิจารณาก�ำหนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ตามทีค่ ณะกรรมการและฝ่ายจัดการจัดท�ำ 3. ก�ำกับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบตั งิ านของ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึง่ ได้รบั มอบ หมายให้ทำ� หน้าทีด่ งั กล่าวของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด 4. ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนิน งานและงบประมาณของบริษัทฯ 5. ด�ำเนินการให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยน�ำระบบงาน บัญชีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งจัดให้มีระบบ 24

ควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน 6. จัดให้มีการท�ำงบดุลและงบก�ำไรขาดทุน ณ วันสิ้น สุดรอบปีบัญชีของบริษัทฯ และลงลายมือชื่อเพื่อรับรองงบการ เงินดังกล่าวเพือ่ น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในการประชุมสามัญ ประจ�ำปีเพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. พิจารณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือกและเสนอ แต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทย่อยและพิจารณาค่า ตอบแทนที่เหมาะสม ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบน�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. จัดให้มีนโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยตามหลักธรรมาภิบาลที่เป็นลายลักษณ์ อักษร และการปรับใช้นโยบายดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้เชือ่ มัน่ ได้วา่ บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุก กลุ่มด้วยความเป็นธรรม 9. พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ บุคคลของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยที่มีคุณสมบัติและไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามที่ก�ำหนดใน พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการ แก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) รวมถึง ประกาศ ข้อ บังคับ และ/หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ในกรณี ที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากออกตามวาระ และพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ ออกตามวาระ และการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการเพือ่ น�ำเสนอ ANNUAL

REPORT 2016


ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 10. แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือคณะกรรมการชุดย่อยอื่นใดและก�ำหนด อ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวเพื่อช่วยเหลือและ สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 11. พิ จ ารณาก� ำ หนดและแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงชื่ อ กรรมการซึ่งมีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ได้ 12. พิจารณาแต่งตั้งผู้บริหารของบริษัทฯ และบริษัท ย่อย (โดยผู้บริหารให้เป็นไปตามค�ำนิยามที่ก�ำหนดโดยคณะ กรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ห รื อ คณะ กรรมการก�ำกับตลาดทุน) และเลขานุการบริษทั รวมทัง้ พิจารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารดังกล่าว 13. ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หาก มีความจ�ำเป็นเพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม 14. ส่งเสริมให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ เข้า ร่วมหลักสูตรสัมมนาต่าง ๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการและผูบ้ ริหารนัน้ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ยัง มีหน้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลและบริหารจัดการบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ดังนี้ 15. เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถควบคุมดูแลการจัดการ และ รับผิดชอบการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมได้เสมือน เป็นหน่วยงานหนึ่งของบริษัทฯ และเพื่อให้บริษัทฯ มีกลไกก�ำกับ ดูแลบริษัทย่อยและบริษัทร่วมทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมทั้งมี มาตรการในการติดตามการบริหารงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริษัท โดยให้ กรณีดังต่อไปนี้ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท หรือที่ประชุม ผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) 16. กรรมการของบริษัทฯ จะติดตามผลการด�ำเนิน งานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมให้เป็นไปตามแผนงานและงบ ประมาณอย่างต่อเนื่อง และติดตามให้บริษัทย่อยเปิดเผยข้อมูล รายการเกี่ยวโยง และรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ต่อบริษัทฯ ตามประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุนและประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ (แล้วแต่ กรณี) มาบังคับใช้โดยอนุโลม อย่างครบถ้วนและถูกต้อง 17. กรรมการของบริ ษั ท ฯ ต้ อ งจั ด ให้ บ ริ ษั ท ย่ อ ยที่ ประกอบธุรกิจหลัก มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและ รัดกุมเพียงพอ เพื่อป้องกันการทุจริตที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทย่อย รวมทั้งควรให้บริษัทย่อยจัดให้มีระบบงานที่ชัดเจน เพื่อแสดงได้ ว่า บริษทั ย่อยมีระบบเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดได้อย่างต่อเนือ่ งและน่าเชือ่ ถือ และมีช่องทางให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ สามารถ ได้รับข้อมูลของบริษัทย่อยในการติดตามดูแลผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงิน การท�ำรายการระหว่างบริษทั ย่อยกับกรรมการ ANNUAL REPORT 2016

และผู้บริหารของบริษัทย่อย และการท�ำรายการที่มีนัยส�ำคัญ ของบริษัทย่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ต้องจัดให้ บริษัทย่อยมีกลไกในการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวในบริษัท ย่อย โดยให้ทีมงานผู้ตรวจสอบภายในและกรรมการอิสระของ บริษัทฯ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง และให้มีการรายงานผล การตรวจสอบระบบงานดังกล่าวให้กรรมการและผู้บริหารของ บริษทั ฯ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั ย่อยมีการปฏิบตั ติ ามระบบงาน ที่จัดท�ำไว้อย่างสม�่ำเสมอ ทั้งนี้การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษทั นัน้ จะไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือมอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริษัทหรือผู้รับมอบ อ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษทั สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือ บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (ตามทีน่ ยิ ามไว้ในประกาศคณะกรรม การกลต. หรือประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) อาจมีสว่ น ได้เสียหรืออาจได้รับประโยชน์ในลักษณะใดๆหรืออาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของ บริษัทฯ ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และ หลักเกณฑ์ทที่ ปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั พิจารณา อนุมัติไว้

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษัท

ในการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามั ญ ประจ� ำ ปี ทุ ก ครั้ ง ให้ กรรมการออกจากต�ำแหน่งเป็นอัตราจ�ำนวนหนึง่ ในสาม (1/3) ถา้ จ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ก็ให้ออก โดยจ�ำนวนใกล้ทสี่ ดุ กับอัตราหนึง่ ในสาม (1/3) กรรมการทีจ่ ะต้อง ออกจากต�ำแหน่งในปีแรก และปีทสี่ องภายหลังการแปรสภาพนัน้ ให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคน ทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง กรรมการซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งอาจได้รับเลือกตั้งใหม่ได้โดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น กรณีกรรมการอิสระ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนื่อง นับจากวันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการอิสระครัง้ แรก ไม่เกิน 9 ปี

กรรมการอิสระ

คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระ 4 ท่าน จากกรรมการทั้งหมด 9 ท่าน โดยกรรมการอิสระ มี คุณสมบัติตามที่ประกาศคณะกรรมการตลาดทุนก�ำหนดไว้ โดย ยึดหลักปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ดัง ต่อไปนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออก เสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยบริษัทร่วม ผู้ถือ หุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทโดยให้นับรวมการถือ หุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เคยหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหาร ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำหรือผู้มีอ�ำนาจ 25


ควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย ล�ำดับเดียวกันผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือของผูม้ อี ำ� นาจควบคุมบริษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ทั้งนี้ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระ เคยเป็นข้าราชการหรือที่ปรึกษาของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัท 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้องและบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ผมู้ อี ำ� นาจควบคุมหรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอ ให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วมผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมบริษัทในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตนรวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือ หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี �ำนาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจ กับบริษทั บริษทั ใหญ่บริษทั ย่อย ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมบริษัทเว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจวรรคหนึง่ รวมถึงการท�ำรายการ ทางการค้าที่กระท�ำเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้ เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับทรัพย์สนิ หรือบริการหรือการ ให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงินด้วยการรับ หรือให้กู้ยืมค�้ำ ประกันการให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สินรวมถึงพฤติการณ์ อื่นท�ำนองเดียวกันซึ่งเป็นผลให้บริษัท หรือคู่สัญญามีภาระหนี้ ที่ต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึ่งตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัว ตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวน ใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้การค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธี การค�ำนวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะ กรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการท�ำรายการที่

คณะกรรมการชุดย่อย ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมด 3 ชุด ได้แก่

1. คณะกรรมการตรวจสอบ มีจ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย ชื่อ - สกุล

ลำดับ 1 2 3

26

เกีย่ วโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนีด้ งั กล่าว ให้นับรวมภาระหนี้สินที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วมผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัยผู้มีอ�ำนาจ ควบคุม หรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชีซงึ่ มีผสู้ อบบัญชี ของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วมผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู่เว้นแต่จะได้พ้น จากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงินซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจาก บริษัท บริษัทใหญ่บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทและไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมหรือหุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วยเว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ย กว่า 2 ปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็น ตัวแทนของกรรมการบริษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ถือหุ้นซึ่ง เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วนหรือเป็นกรรมการ ที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงานที่ปรึกษาที่รับเงิน เดือนประจ�ำ หรือถือหุ้น เกิน 1% ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออก เสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่าง เดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือ บริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความ เห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท

นายปราโมทย์ นายวีระชัย นางศรีไทย

เตชะสุพัฒนก์ ุล เชาวช์ าญกิจ เหมโสรัจ

ตำแหน่ง

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

ANNUAL

REPORT 2016


หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

1. สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. ดูแลให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะ สมและมีประสิทธิผลและพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายในตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้ายเลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน และ/หรือ การว่าจ้างบริษัทตรวจสอบภายในหรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีภายนอก ของบริษทั ตลอดจนพิจารณาเลิกจ้างผูส้ อบบัญชีภายนอกดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วม ประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีของบริษัทโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อขอความเห็นจาก ผู้สอบบัญชีในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท 6. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 7.จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วนเป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอระบบควบคุมภายในของบริษัท (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (6) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) (8) รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 8. ด�ำเนินการตรวจสอบเรื่องที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชีของบริษัท ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีพบพฤติกรรมอันสมควรสงสัย ว่ากรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษัทได้กระท�ำความผิดตามที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้นให้แก่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบภายในเวลา 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี 9. พิจารณาการจัดท�ำ และทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบโดยสม�่ำเสมอ 10. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบจะมีวาระอยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยนับปีตามรอบการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น กรรมการที่พ้นจาก ต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งใหม่ ส่วนกรรมการที่ประสงค์จะลาออกจากต�ำแหน่งระหว่างที่ยังไม่หมดวาระจะต้องแจ้งเหตุผล ต่อคณะกรรมการบริษัท

ANNUAL REPORT 2016

27


2. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ประกอบด้วยคณะกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร (Non-executive Director) จ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่ง 2 ใน 3 เป็นกรรมการอิสระ

ได้แก่

ชื่อ - สกุล

ลำดับ 1

นายวีระชัย

2

นายปราโมทย์ นายศิริพงษ์

3

ตำแหน่ง

เชาว์ชาญกิจ

ประธานกรรมการสรรหาฯ

รุง่ โรจนก์ ิติยศ

กรรมการสรรหาฯ

เตชะสุพัฒนก์ ุล

กรรมการสรรหาฯ

หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

1. พิจารณาโครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษทั ทัง้ ในเรือ่ งของจ�ำนวนทีเ่ หมาะสมกับธุรกิจและคุณสมบัติ ของกรรมการแต่ละคนในด้านทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2. ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ ชุดย่อย และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 3. สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อเป็นกรรมการบริษัท กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. จัดท�ำแผนการสืบทอดงาน (Succession Plan) เพื่อเตรียมความพร้อมให้มีผู้สืบทอดงานในกรณีที่ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารเกษียณอายุหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ เพื่อให้การบริหารงานของบริษัทสามารถด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง 5. ก�ำหนดรูปแบบและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการบริษทั กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติ 6. ก�ำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 7. ปฏิบัติการอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

1. กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยครบรอบออกตามวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งของกรรมการบริษัท และเมื่อครบก�ำหนดตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทอีกก็ได้ นอกจากการพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระดังกล่าวข้างต้น กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนพ้นจากต�ำแหน่งเมื่อพ้น จากการเป็นกรรมการของบริษัท, ลาออก, ตาย หรือที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติพิจารณาให้พ้นจากต�ำแหน่ง 2. เมื่อกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนพ้นจากต�ำแหน่งก่อนครบวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งกรรมการ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนเป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนแทน โดยอยูใ่ นต�ำแหน่งเพียงเท่าวาระของกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนซึ่งตนเข้ามาแทน 3. คณะกรรมการบริหาร มีจ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย

ลำดับ 1

นายวีระชัย

2

นายประสงค์ นายธิเบต

3

28

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

เชาว์ชาญกิจ

ประธานคณะกรรมการบริหาร

อดุลยรัตนนุกุล

กรรมการบริหาร

รุง่ โรจนก์ ิติยศ

กรรมการบริหาร

ANNUAL

REPORT 2016


หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร

1. พิจารณากลั่นกรองและก�ำหนดนโยบายทิศทาง กลยุทธ์ แผนการด�ำเนินงานประจ�ำปีและแผนระยะกลาง 5 ปี รวมถึง งบประมาณประจ�ำปี เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2. ติดตามและดูแลการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนการด�ำเนินงานและงบประมาณ ประจ�ำปีทไี่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเอือ้ ต่อสภาพธุรกิจ พร้อมให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ ใน เรื่องการบริหารจัดการแก่ผู้บริหารระดับสูง 3. พิจารณาอนุมัติการใช้จ่ายเงินเพื่อการลงทุน วงเงินตั้งแต่ 5 – 100 ล้านบาท ในโครงการลงทุนที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ จากคณะกรรมการบริษัทแล้ว 4. พิจารณาอนุมัติการก�ำหนด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กรระดับฝ่าย รวมทั้งพิจารณาโยกย้ายและแต่งตั้ง พนักงานระดับผู้อ�ำนวยการฝ่าย และรายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ 5. ปฏิบัติงานเรื่องอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 6. พิจารณาการบริหารความเสี่ยงของบริษัท

นโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหาคณะกรรมการบริษัท

1. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะพิจารณาสรรหาบุคคลจากแหล่งต่างๆ ดังนี้ 1.1) กรรมการของบริษัทเป็นผู้แนะน�ำ 1.2) ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นและมีสิทธิออกเสียงรวมกันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัท 1.3) บริษัทที่ปรึกษาภายนอก 1.4) ฐานข้อมูลกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2. พิจารณาความเหมาะสมของความรูแ้ ละประสบการณ์ในธุรกิจหรืออุตสาหกรรมทีบ่ ริษทั ด�ำเนินกิจการอยู่ ความเชีย่ วชาญ เฉพาะด้านทีเ่ ป็นประโยชน์กบั บริษทั หรือทีบ่ ริษทั ต้องการ ความหลากหลายในด้านต่าง ๆ เช่น ความเป็นอิสระ ทักษะวิชาชีพ อายุ เพศ ฯลฯ โดยจัดท�ำเป็นตาราง Board Skill Matrix 3. ตรวจสอบบุคคลทีจ่ ะถูกเสนอชือ่ ว่ามีคณ ุ สมบัตติ ามกฎหมายและข้อก�ำหนดของหน่วยงานก�ำกับดูแล เช่น พระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ.2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 (รวมทั้งที่ มีการแก้ไขเพิ่มเติม) รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 4. กรณีเป็นกรรมการเดิมทีจ่ ะกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งอีกวาระ คณะกรรมการสรรหาฯ อาจพิจารณาการอุทศิ เวลาของกรรมการ และผลการปฏิบตั งิ านในช่วงทีด่ ำ� รงต�ำแหน่ง รวมถึงพิจารณาจ�ำนวนบริษทั จดทะเบียนทีก่ รรมการท่านนัน้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ซึง่ รวมแล้วไม่ควรเกิน 3 บริษัทจดทะเบียน 5. กรณีแต่งตัง้ กรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาฯ จะพิจารณาความเป็นอิสระของบุคคลทีจ่ ะเสนอให้เป็นกรรมการอิสระ ตามหลักเกณฑ์ที่ส�ำนักงาน กลต. ก�ำหนดและหลักเกณฑ์ของบริษัทประกอบการพิจารณาโดยหากเป็นกรรมการอิสระเดิมที่จะกลับ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งอีกวาระ ควรมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนื่องนับจากวันที่ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระครั้งแรกไม่ เกิน 9 ปี 6. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะคัดเลือกและจัดท�ำรายชื่อบุคคลที่เหมาะสมที่สุดให้คณะกรรมการ บริษัทเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติแต่งตั้งหรือให้คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากออกตามวาระ 7. ด�ำเนินการทาบทามบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ เพื่อจะได้มั่นใจว่าบุคคลดังกล่าวมีความยินดี จะมารับต�ำแหน่งกรรมการของบริษัท หากได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการหรือผู้ถือหุ้น

ANNUAL REPORT 2016

29


การประชุมคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัท มีการก�ำหนดตารางการประชุมคณะกรรมการไว้เป็นการล่วงหน้าทุกปี โดยจะจัดให้มีการประชุม มากกว่า 6 ครั้งต่อปี ก่อนการประชุมแต่ละครั้ง เลขานุการบริษัทจะจัดส่งหนังสือเชิญประชุม ซึ่งมีการระบุวาระการประชุม และ เอกสารประกอบการประชุมให้กับคณะกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันท�ำการ คณะกรรมการได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับจ�ำนวนองค์ประชุมขั้นต�่ำ ณ ขณะที่คณะกรรมการบริษัทจะลงมติในที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท โดยต้องมีกรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด

จ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยในปี 2559 สรุปได้ดังนี้ ชื่อ - สกุล 1.นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช 2.นายศิริพงษ์

รุง่ โรจนก์ ิติยศ

3.นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒนก์ ุล 4.นายวีระชัย

เชาวช์ าญกิจ

5.นางศรีไทย

เหมโสรัจ

6.นางวรรณา 7.นายอังกฤษ 8.นายประสงค์

เรามานะชัย รุ่งโรจน์กิติยศ อดุลยรัตนนุกุล

9.นายกุญชร 10.นายธิเบต

เรามานะชัย* รุ่งโรจน์กิติยศ**

ตำแหนง่ - ประธานกรรมการ - กรรมการอิสระ - รองประธานกรรมการ - กรรมการสรรหา - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ - กรรมการสรรหาฯ - ประธานกรรมการสรรหาฯ - ประธานกรรมการบริหาร - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการ - กรรมการ - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการ - กรรมการ - กรรมการบริหาร

การเข้าประชุม / การจัดประชุมทั้งหมด (ครั้ง) กรรมการ กรรมการ กรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ สรรหาฯ บริหาร

8/8 6/8

3/3

8/8

4/4

3/3

8/8

4/4

3/3

7/8

3/4

1/1

7/8 7/8 8/8

1/1

6/6 1/2

1/1

หมายเหตุ *นายกุญชร เรามานะชัย ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัท ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2559 **นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่12 ตุลาคม 2559

30

ANNUAL

REPORT 2016


การพัฒนากรรมการ

บริษัทฯ ส่งเสริมให้กรรมการและผู้บริหารเข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่าง ๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหารนั้น ปี 2559 มีกรรมการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรสัมมนาของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จ�ำนวน 1 คน ดังนี้

ชื่อ - สกุล

ลำดับ 1

นายปราโมทย์

เตซะสุพัฒน์กุล

หลักสูตร - Role of the Chairman Program (RCP)

คณะกรรมการบริษัทย่อยทั้ง 3 บริษัท

(1) บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด ชื่อ - สกุล

ลำดับ 1 2 3 4 5

อดุลยรัตนนุกุล

นายกุญชร

เรามานะชัย

นายพชร นายหัสพงศ์ นายณัฐวัฒน์

ทนงเกียรติศักดิ์ วาริพันธว์ รกุล อัสดรมิ่งมิตร

(2) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด ลำดับ ชื่อ - สกุล 1 2 3 4 5

นายประสงค์

นายประสงค์

อดุลยรัตนนุกุล

นายกุญชร

เรามานะชัย

นายพชร นายหัสพงศ์ นายณัฐวัฒน์

ทนงเกียรติศักดิ์ วาริพันธว์ รกุล อัสดรมิ่งมิตร

(3) บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด ลำดับ ชื่อ - สกุล 1 2 3 4 5

นายประสงค์

อดุลยรัตนนุกุล

นายกุญชร

เรามานะชัย

นายหัสพงศ์ นายพชร นายณัฐวัฒน์

วาริพันธว์ รกุล ทนงเกียรติศักดิ์ อัสดรมิ่งมิตร

ANNUAL REPORT 2016

ตำแหนง่

ประธานกรรมการ(ผูม้ ีอำนาจลงนาม) กรรมการ(ผู้มีอำนาจลงนาม) กรรมการ(ผูม้ ีอำนาจลงนาม) กรรมการ กรรมการ

ตำแหนง่

ประธานกรรมการ(ผูม้ ีอำนาจลงนาม) กรรมการ(ผู้มีอำนาจลงนาม) กรรมการ(ผูม้ ีอำนาจลงนาม) กรรมการ(ผูม้ ีอำนาจลงนาม) กรรมการ

ตำแหนง่

ประธานกรรมการ(ผูม้ ีอำนาจลงนาม) กรรมการ(ผู้มีอำนาจลงนาม) กรรมการ(ผูม้ ีอำนาจลงนาม) กรรมการ กรรมการ

31


รายชื่อผู้บริหาร บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“PCSGH”)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผู้บริหารของบริษัทฯ มีจ�ำนวน 8 ท่านประกอบด้วยรายชื่อดังต่อไปนี้

ชื่อ - สกุล

ลำดับ

ตำแหน่ง

ประธานเจา้ หนา้ ที่บริหาร

นายประสงค์

อดุลยรัตนนุกุล

นายกุญชร

เรามานะชัย

3

นายณัฐวัฒน์

อัสดรมิ่งมิตร

4

นายพชร

ทนงเกียรติศักดิ์

ประธานเจา้ หนา้ ที่ฝ่ายการเงิน และผูอ้ ำนวยการฝ่าย บริหารองคก์ ร ประธานเจา้ หนา้ ที่ฝ่ายการตลาด

5

นายพสิษฐ์

ฐากุลจิรัฏฐ์

ผูอ้ ำนวยการฝ่ายดำเนินการและจัดหา

1 2

6 7 8

นางสาวบุษรา

บัวเผื่อน

นางสุนทรี นางลัดดาวัลย์

รอดประจง นันทศรี

ประธานเจา้ หนา้ ที่ฝ่ายปฏิบัติการ และผูอ้ ำนวยการฝ่าย วิจัยพัฒนาวิศวกรรม

ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน

ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหารความสัมพันธภ์ ายนอกองคก์ ร ผูอ้ ำนวยการหนว่ ยงานสง่ เสริมการเพิ่มผลผลิต

ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

32

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 มีมติก�ำหนดขอบเขตและอ�ำนาจหน้าที่ของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารไว้ดังนี้ 1. การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ โดยรวมเพือ่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และตาม ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 2. ก�ำหนดกลยุทธ์ และแผนการทางธุรกิจ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามกลยุทธ์ และแผนการทางธุรกิจที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 3. ด�ำเนินการและปฏิบัติภารกิจที่คณะกรรมการมอบหมาย และตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท 4. สั่งการ ออกระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบาย 5. อนุมตั ิ และ/หรือ มอบอ�ำนาจการท�ำนิตกิ รรมเพือ่ ผูกพันบริษทั ฯ ส�ำหรับธุรกรรมปกติของบริษทั ฯ รวมถึงธุรกรรมทีป่ ระธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ได้รบั มอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษทั ให้ดำ� เนินการแทน ทัง้ นีใ้ ห้รวมถึง ธุรกรรมใดๆ ทีไ่ ม่เป็นการผูกพันทรัพย์สนิ ของบริษัทฯ โดยตรง 6. ประสานงาน ผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อปฏิบัติตามนโยบายและทิศทางทางธุรกิจที่ได้รับจากคณะกรรมการบริษัท 7. แสวงโอกาสทางธุรกิจและการลงทุนใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ บริษัทฯ 8. พิจารณาการน�ำสิทธิและทรัพย์สินของบริษัทฯ ไปก่อภาระผูกพันใดกับบุคคล บริษัท ห้าง ร้าน หรือสถาบันการเงิน เพื่อ น�ำเสนอคณะกรรมการอนุมัติ 9. พิจารณาอนุมัติการจ่ายค่าใช้จ่ายการด�ำเนินงานปกติในวงเงินตามที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติมอบหมายไว้ 10. พิจารณาอนุมัติการลงทุนในตราสารและหลักทรัพย์ เพื่อบัญชีบริษัทฯ ในวงเงินตามที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติมอบ หมายไว้ 11. อนุมัติในหลักการการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจนการร่วมทุนกับผู้ประกอบกิจการอื่นๆ และให้น�ำเสนอคณะ กรรมการบริษัท เพื่ออนุมัติในที่ประชุมคราวถัดไป 12. อนุมตั กิ ารใช้จา่ ยเงินลงทุนทีส่ ำ� คัญๆ ทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ในงบประมาณรายจ่ายส�ำหรับปี หรือทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้เคย มีมติอนุมัติในหลักการไว้แล้ว 13. ดูแลการท�ำงานของพนักงานให้เป็นไปตามนโยบาย กฎระเบียบต่างๆ รวมถึงการปฏิบัติงานด้วยหลักธรรมาภิบาล ใน การท�ำธุรกิจ ANNUAL REPORT 2016


14. ส่งเสริมพัฒนาความรู้ความสามารถ และศักยภาพของพนักงานเพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กร 15. พิจารณาแต่งตั้งที่ปรึกษาต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินการของบริษัทฯ 16. พิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีเ่ ป็นเงือ่ นไขปกติทางการค้า เช่น ซือ้ ขายสินค้าด้วยราคาตลาด การคิดค่า ธรรมเนียมบริการในอัตราค่าธรรมเนียมปกติ และการให้เครดิตเทอมเหมือนลูกค้าทั่วไป เป็นต้น ทั้งนี้ภายใต้นโยบายที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท 17. อนุมัติการแต่งตั้ง โยกย้าย และเลิกจ้างพนักงานระดับผู้บริหาร 18. ด�ำเนินกิจการงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท เป็นกรณีๆ ไป ทั้งนี้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ไม่มอี ำ� นาจในการอนุมตั เิ รือ่ งหรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีไ่ ม่ใช่เป็นเงือ่ นไขปกติทางการค้า รายการได้มาจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์สำ� คัญ ของบริษัทฯ และ/หรือ รายการที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ในลักษณะอื่นใดที่จะท�ำขึ้นกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นรายการที่เป็นเงื่อนไขปกติทางการค้าที่ได้มีการก�ำหนด นโยบายและหลักเกณฑ์ โดยได้อนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติไว้และ ได้ขอความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้น ในการท�ำรายการเกี่ยวโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ หรือ บริษัทย่อยแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่องดังกล่าว

เลขานุการบริษัท

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 ได้มีมติแต่งตั้งนางสาวบุษรา บัวเผื่อน ให้ท�ำ หน้าที่เป็นเลขานุการบริษัท เพื่อท�ำหน้าที่รับผิดชอบด�ำเนินการดังต่อไปนี้ 1. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ • ทะเบียนกรรมการ • หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ • หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 3. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด

ANNUAL REPORT 2016

33


คณะกรรมการบริษัท

34

ชื่อ – สกุล : นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช ต�ำแหน่ง : • ประธานกรรมการ • กรรมการอิสระ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 11 กันยายน 2558 อายุ : 69 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ California State University • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ปี 2557 • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 • อบรมหลักสูตร Current Issue Seminar (CIS) ปี 2551 • อบรมหลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP) ปี 2551 • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2549 • อบรมหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) ปี 2549 • อบรมหลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FN) ปี 2547 • อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2547 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2556 - 2557 ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย จ�ำกัด (มหาชน) • 2558 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ANNUAL REPORT 2016


ชื่อ – สกุล : นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ ต�ำแหน่ง : • รองประธานกรรมการ(ผู้มีอ�ำนาจลงนาม) • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 67 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 15.08% (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • เป็นสามี นางวรรณา เรามานะชัย • เป็นบิดา นายอังกฤษ รุ่งโรจน์กิติยศ • เป็นบิดา นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2558 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ (ผู้มีอ�ำนาจลงนาม)และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ANNUAL REPORT 2016

35


ชื่อ – สกุล : นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล ต�ำแหน่ง : • ประธานกรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 65 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Advance Management Program, Harvard Business School ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) ปี 2559 • อบรมหลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ปี 2557 • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.02% (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2556 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2556 – ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท สยามสินธร จ�ำกัด • 2556 – ปัจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) • 2546 – 2555 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เอสซีจี ซีเมนต์ จ�ำกัด

36

ANNUAL

REPORT 2016


ชื่อ – สกุล : นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ ต�ำแหน่ง : • ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน • ประธานกรรมการบริหาร • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 65 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ปี 2557 • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2555 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา กลุ่มบริษัทสมบูรณ์ • 2555 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต์ จ�ำกัด • 2554 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาอาวุโส บริษัท นอริตาเก้ เอส เอ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ANNUAL REPORT 2016

37


ชื่อ – สกุล : นางศรีไทย เหมโสรัจ ต�ำแหน่ง : • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 6 ตุลาคม 2557 อายุ : 64 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาตรีการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ปี 2558 • อบรมหลักสูตร Director Certification Program Update (DCPU) ปี 2558 • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2548 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2557 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2553 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวลล็อปเมนต์ จ�ำกัด • 2546 – 2552 ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่-สายบริหาร บริษัท ทาทาสตีล (ประเทศไทย) จ�ำกัด • 2543 – 2545 ผู้จัดการส่วนจัดหา บริษัท สยามคูโบต้าอุตสาหกรรม จ�ำกัด • 2540 – 2542 พนักงานจัดการ บริษัท ปูนซิเมนต์ จ�ำกัด (มหาชน) ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท เสฉวนซิเมนต์ไทย แมชีนเนอรี่ จ�ำกัด (ประเทศจีน) • 2521 – 2540 ผู้จัดการส่วนบัญชีและการเงิน บริษัท สยามคูโบต้าอุตสาหกรรม จ�ำกัด

38

ANNUAL

REPORT 2016


ชื่อ – สกุล : นางวรรณา เรามานะชัย ต�ำแหน่ง : • กรรมการ (ผู้มีอ�ำนาจลงนาม) วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 66 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.20% (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • เป็นภรรยา นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ • เป็นมารดา นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ • เป็นมารดา นายอังกฤษ รุ่งโรจน์กิติยศ • เป็นพี่สาว นายกุญชร เรามานะชัย ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ANNUAL REPORT 2016

39


ชื่อ – สกุล : นายอังกฤษ รุ่งโรจน์กิติยศ ต�ำแหน่ง : • กรรมการ (ผู้มีอ�ำนาจลงนาม) วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 7 ตุลาคม 2556 อายุ : 40 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 15.11% (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • เป็นบุตรชาย นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ และ นางวรรณา เรามานะชัย • เป็นน้องชาย นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2557 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท พี.ซี.เอส. แคลิเบรชั่น จ�ำกัด • 2556 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2556 – ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท พี.ซี.เอส. เอสเตท จ�ำกัด • 2554 – 2556 กรรมการผู้จัดการ บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด • 2551 – 2556 กรรมการ บริษัท เอสดับบลิว แอนด์ ซันส์ (ชิงหยวน) จ�ำกัด

40

ANNUAL

REPORT 2016


ชื่อ – สกุล : นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกุล ต�ำแหน่ง : • กรรมการ (ผู้มีอ�ำนาจลงนาม) • กรรมการบริหาร วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 51 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.13% (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2556 – ปัจจุบัน กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2553 – 2556 ผู้จัดการฝ่ายผลิตแทรกเตอร์ บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • 2551 – 2553 ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท สยามคูโบต้าแทรกเตอร์ จ�ำกัด

ANNUAL REPORT 2016

41


ชื่อ – สกุล : นายกุญชร เรามานะชัย ต�ำแหน่ง : • กรรมการ (ผู้มีอ�ำนาจลงนาม) วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 56 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตพระนครเหนือ ประวัติการฝึกอบรม : • อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • เป็นน้องชาย นางวรรณา เรามานะชัย ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2556 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2551 – 2556 ผู้จัดการใหญ่ฝ่ายพัฒนาวิศวกรรม บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด • 2551 – 2556 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเทคนิค บริษัท เอสดับบลิว แอนด์ ซันส์ จ�ำกัด

42

ANNUAL

REPORT 2016


ชื่อ – สกุล : นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ ต�ำแหน่ง : • กรรมการ (ผู้มีอ�ำนาจลงนาม) • กรรมการบริหาร วันที่ได้รับการแต่งตั้ง : 12 ตุลาคม 2559 อายุ : 42 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า Operation Research & Industrial Engineer, Computer Science, Cornell University • ปริญญาตรีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ University of Miami ประวัติการฝึกอบรม : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 15.08% (ณ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • เป็นบุตรชาย นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ และ นางวรรณา เรามานะชัย • เป็นพี่ชาย นายอังกฤษ รุ่งโรจน์กิติยศ ประสบการณ์ท�ำงาน : • 2559 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2556 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสดับบลิว แอนด์ ซันส์ จ�ำกัด • 2544 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอส ดับบลิว เอส มอเตอร์ส จ�ำกัด • 2542 – 2544 Senior Engineering Management, AT&T, USA

ANNUAL REPORT 2016

43


การถือครองหุน ้ ของคณะกรรมการและผูบ ้ ริหาร การถือครองหุ้นของคณะกรรมการและผู้บริหาร ลำดับ

ชื่อ-สกุล

1

นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช

2

นายศิริพงษ์

3 4 5 6 7 8

นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒนก์ ุล นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ นางศรีไทย เหมโสรัจ นางวรรณา เรามานะชัย นายอังกฤษ รุง่ โรจนก์ ิติยศ นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกลุ

9

นายกุญชร

เรามานะชัย*

10 11

นายธิเบต นายณัฐวัฒน์

รุ่งโรจน์กิติยศ** อัสดรมิ่งมิตร

12

นายพชร

ทนงเกียรติศักดิ์

13

นางสุนทรี

รอดประจง

14

น.ส.บุษรา

บัวเผื่อน

15

นางลัดดาวัลย์ นันทศรี

16

นายพสิษฐ์

รุ่งโรจน์กิติยศ

ฐากุลจิรัฏฐ์

ตำแหน่ง ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการและประธาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย การเงิน ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย การตลาด ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร ความสัมพันธ์ภายนอก องค์กร ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีและ การเงิน ผู้อำนวยการหน่วยงาน ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิต ผูอ้ ำนวยการฝ่ายดำเนินการ และจัดหา

จำนวนหุน้ สามัญ (หุน้ ) การเปลี่ยนแปลง

31 ธ.ค. 58

เพิ่มขึ้น / (ลดลง)

31 ธ.ค. 59 -

-

-

230,000,000

230,000,000

-

300,000 223,000,000 230,457,100 2,000,000

300,000 3,000,000 (220,000,000) 230,457,100 2,000,000

1,500,000

-

-

230,000,000 230,000,000 1,500,000

1,500,000

1,500,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

หมายเหตุ *นายกุญชร เรามานะชัย ลาออกจากการเป็นกรรมการของบริษัท ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2559 **นายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่12 ตุลาคม 2559

44

ANNUAL

REPORT 2016


ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร นโยบาย และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ

คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผูเ้ สนอค่าตอบแทนของกรรมการจากผลการด�ำเนินงานของบริษทั และเปรียบเทียบกับบริษทั จดทะเบียนในอุตสาหกรรมเดียวกัน และบริษทั ทีม่ ี ขนาดใกล้เคียงกัน โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม และสอดคล้องกับภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะน�ำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติเห็นชอบให้น�ำเสนอ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อขออนุมัติเป็นประจ�ำทุกปี ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2559 ได้มีมติอนุมัติอัตราค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการบริษัท โดยมี รายละเอียดดังนี้

ตำแหน่ง

ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม (บาท/ครั้ง) รายเดือน (บาท/เดือน)

คณะกรรมการบริษัท - ประธานกรรมการ - กรรมการ

25,000 17,500

40,000 30,000

คณะกรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการ - กรรมการ

-

37,500 25,000

คณะกรรมการสรรหาฯ - ประธานกรรมการ - กรรมการ

-

37,500 25,000

จายให ่ไมเป็ ่ เฉพาะกรรมการที ้ ่ น ผูบริ ้ หาร วงเงินไมเกิ ่ น 2,000,000 บาท

อัตราค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคล ในปี 2559 มีดังนี้

1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน รายชื่อกรรมการ 1. นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช 2. นายศิริพงษ์ รุง่ โรจน์กิติยศ 3. นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล 4. นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ 5. นางศรีไทย เหมโสรัจ 6. นางวรรณา เรามานะชัย 7. นายอังกฤษ รุง่ โรจนก์ ิติยศ 8. นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกุล 9. นายกุญชรANNUAL เรามานะชัย REPORT 2016 10. นายธิเบต รุงโรจน ์กิติยศ ่

ค่าตอบแทน รายเดือน (บาท)

เบี้ยประชุม กรรมการ บริษัท

เบี้ยประชุม กรรมการ ตรวจสอบ

เบี้ยประชุม กรรมการ สรรหาฯ

บำเหน็จ กรรมการ

รวม (บาท)

300,000 210,000 210,000 210,000 210,000 210,000 210,000 210,000 164,500 45,500

320,000 180,000 240,000 240,000 210,000 210,000 210,000 240,000 180,000 30,000

150,000 100,000 75,000 -

75,000 75,000 112,500 -

270,000 190,000 190,000 190,000 190,000 190,000 190,000 -

890,000 655,000 865,000 852,500 685,000 610,000 610,000 450,000 344,500 75,500

45


2. นายศิริพงษ์ รุง่ โรจนก์ ิติยศ 210,000 180,000 75,000 190,000 655,000 210,000 240,000 3. นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒนก์ ุล 150,000 75,000 190,000 865,000 210,000 240,000 100,000 112,500 190,000 852,500 4. นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ 210,000 เบี้ย210,000 190,000 685,000 75,000 ค่าตอบแทน ประชุม เบี้ยประชุ ม เบี้ยประชุม- บำเหน็ จ รวม (บาท) 5. นางศรีรายชื ไทย ่อเหมโสรั จ กรรมการ รายเดื อน กรรมการ 210,000 210,000 กรรมการ - กรรมการ - กรรมการ 190,000 610,000 6. นางวรรณา เรามานะชัย (บาท) บริ ษัท ตรวจสอบ สรรหาฯ 210,000 210,000 190,000 610,000 7. นายอังกฤษ รุ่งโรจน์กิติยศ 8. ลยรักตวนินนุช กุล 210,000 240,000 - 270,000- 450,000 300,000 320,000 1. นายประสงค นายจักรมณฑ์ อดุ 890,000 ์ ผาสุ 164,500 180,000 9. 2. นายกุ นายศิญ ริพชร งษ์ เรามานะชั รุ่งโรจน์กิตยิยศ 210,000 655,000 75,000- 190,000- 344,500 10.นายปราโมทย นายธิเบต รุงโรจน ก์ ิตพิยัฒศ นก์ ุล 45,500 30,000 75,500 210,000 240,000 3. 150,00075,000- 190,000- 865,000 ่ ์ เตชะสุ 210,000 รวม 240,000 852,500 100,000 112,500 190,000 6,037,500 4. นายวีระชัย เชาวช์ าญกิจ 5. นางศรี2.ค่ 210,000 210,000 - 190,000 685,000 75,000 ไทยาตอบแทนอื เหมโสรัจ ่น -ไม่ มี- ย 210,000 210,000 - 190,000 610,000 6. นางวรรณา เรามานะชั 210,000 210,000 - 190,000 610,000 นายอังกฤษ รุง่ โรจน์กิติยศ ค่7.าตอบแทนผู ้บริหาร ลยรัษตัทนนุ 450,000ส ์ อดุบริ 8. นายประสงค ในปี 2559 พี.กซีุล.เอส. แมชีน210,000 กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำ240,000 กัด (มหาชน) ได้จ่ายค่า- ตอบแทนอันประกอบด้ วยเงิน-เดือนและโบนั 180,000 - 344,500 ให้9.กับนายกุ ผู้บริหญารชรจ�ำเรามานะชั นวน 8 รายย รวมเป็นเงินทั้งสิ164,500 ้น 27,867,758.47 บาท ศ นส�ำรองเลี้ยงชี45,500 10. นายธิบริเบต ษัทได้รุงโรจน พให้แก่ผู้บริหาร30,000 โดยบริษัทได้สมทบในอั น- เดือน 75,500 โดยในปี - ตราส่วนร้อยละสามของเงิ ่ จัดให้มก์ ิตีกิยองทุ 2559 บริษัทได้จ่ายเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับรวม ผู้บริหาร จ�ำนวน 8 ราย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 712,875.60 บาท6,037,500

บุคลากร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทและบริษัทย่อยมีพนักงานทั้งหมด 2,137 คน โดยในปี 2559 บริษัทได้จ่ายผลตอบแทน ให้แก่พนักงานจ�ำนวนทั้งสิ้น 580,059,490.35 บาท ซึ่งผลตอบแทนได้แก่ เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ ค่ารถ ค่า อาหาร โบนัส เงินประกันสังคม และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น พนักงานปฏิบัติการ (คน) พนักงานบริหาร (คน) รวม (คน) ค่าตอบแทนพนักงาน (บาท)

บริษัท PCSGH 54 34 88 43,920,477.69

บริษัท PCW 1,170 144 1,314 346,975,870.35

บริษัท PCD 517 56 573 140,097,513.55

บริษัท PCF 140 22 162 49,065,628.76

การประเมินตนเองของกรรมการ

46

คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการ (Board Self-Assessment) เป็น ประจ�ำทุกปี โดยใช้แบบประเมินทีบ่ ริษทั ฯ ปรับปรุงจากตัวอย่างของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้วจัดท�ำแบบประเมินขึน้ จ�ำนวน 3 ชุด ดังนี้ 1) การประเมินตนเองของกรรมการทั้งคณะ 2) การประเมินตนเองของ คณะกรรมการชุดย่อยแบบรายคณะ ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการชุดย่อย 2 ชุด คือ 2.1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2.2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3) การประเมินตนเองของคณะกรรมการ และ คณะกรรมการชุดย่อยรายบุคคลเพือ่ ใช้เป็นกรอบในการตรวจสอบการปฏิบตั ิ งานในหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ว่าได้ด�ำเนินการตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ได้อนุมัติไว้และ/หรือตามแนว ปฏิบัติที่ดี (Good Practices) เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทให้สอดคล้องกับแนวนโยบายที่ก�ำหนด ไว้และเพื่อทบทวนปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา (1) กระบวนการประเมินผลงานของคณะกรรมการทั้งคณะ / คณะกรรมการชุดย่อยรายบุคคล มีดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้อนุมัติและทบทวนแบบประเมินผลเพื่อให้เกิดความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่หน่วยงานก�ำกับดูแลก�ำหนด ANNUAL REPORT 2016


2. เลขานุการบริษัท จัดส่งแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการให้กรรมการบริษัทภายในต้นเดือนธันวาคมของ ทุกปี 3. กรรมการบริษัท ท�ำแบบประเมินผลและส่งคืนเลขานุการบริษัท ภายในสิ้นเดือนธันวาคมของทุกปี 4. เลขานุการบริษัท เป็นผู้สรุปและวิเคราะห์ผลการประเมินประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของคณะกรรมการบริษัท และรายงาน ผลการวิเคราะห์จากการประเมินให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบ 5. เลขานุการบริษัท น�ำผลวิเคราะห์และความเห็นเพิ่มเติมจากคณะกรรมการบริษัท ไปจัดท�ำแผนเพื่อด�ำเนินการ ปรับปรุง (2) หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินผลงานของคณะกรรมการทั้งคณะ / คณะกรรมการชุดย่อยรายบุคคล / รายบุคคล ครอบคลุม เนื้อหาดังนี้

หัวขอ้ การประเมิน

คณะกรรมการทั้ง คณะกรรมการชุด คณะ ยอ่ ย

รายบุคคล

โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ

/

/

/

บทบาท/หน้าที่/ความรับผิดชอบของกรรมการ

/

/

/

การประชุมของคณะกรรมการ

/

/

/

การปฏิบัติหนาที ้ ่ของคณะกรรมการ

/

-

-

ความสัมพันธก์ ับฝา่ ยบริหาร

/

-

-

การพัฒนาตนเองและผูบริ ้ หาร

/

-

-

(3) ผลการประเมินของคณะกรรมการทั้งคณะ / คณะกรรมการชุดย่อยรายบุคคล / รายบุคคล ประจ�ำปี 2559 มีดังนี้ ชุดที่ 1 ผลการประเมินตนเองของกรรมการทั้งคณะประจ�ำปี 2559 - คะแนนเฉลี่ย 4.31 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวข้อประเมิน 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ ค่าเฉลี่ย 4.17 2) บทบาท/หน้าที่/ความรับผิดชอบของกรรมการ ค่าเฉลี่ย 4.29 3) การประชุมของคณะกรรมการ ค่าเฉลี่ย 4.23 4) การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ค่าเฉลี่ย 4.69 5) ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร ค่าเฉลี่ย 4.57 6) การพัฒนาตนเองและผู้บริหาร ค่าเฉลี่ย 3.86 ชุดที่ 2 การประเมินตนเองของ คณะกรรมการชุดย่อย แบบรายคณะ ประจ�ำปี 2559 1) คณะกรรมการตรวจสอบ - คะแนนเฉลี่ย 4.26 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวข้อประเมิน 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ ค่าเฉลี่ย 4.00 2) การประชุมของคณะกรรมการชุดย่อย ค่าเฉลี่ย 4.50 3) บทบาท/หน้าที่/ความรับผิดชอบของกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการตรวจสอบ ค่าเฉลี่ย 4.83

ANNUAL REPORT 2016

47


2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน - คะแนนเฉลี่ย 4.07 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวข้อประเมิน 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ ค่าเฉลี่ย 4.29 2) การประชุมของคณะกรรมการชุดย่อย ค่าเฉลี่ย 4.25 3) บทบาท/หน้าที่/ความรับผิดชอบของกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ค่าเฉลี่ย 3.67 ชุดที่ 3 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ และ คณะกรรมการชุดย่อยรายบุคคล ประจ�ำปี 2559 - คะแนนเฉลี่ย 4.12 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวข้อประเมิน 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ ค่าเฉลี่ย 4.50 2) การประชุมของคณะกรรมการ ค่าเฉลี่ย 3.75 3) บทบาท/หน้าที่/ความรับผิดชอบของกรรมการชุดย่อย ค่าเฉลี่ย 4.10

การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

คณะกรรมการบริษทั ฯ มีหน้าทีใ่ นการก�ำหนดเป้าหมายการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี และระยะยาวของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร รวมทัง้ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านดังกล่าว เปรียบเทียบกับเป้าหมายว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์และมีความเชือ่ มโยงกับแผนยุทธศาสตร์ โดยตัวแทนของคณะกรรมการจะเป็นผู้แจ้งผลการประเมินให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทราบ และผลของการประเมินดังกล่าวจะถูก น�ำมาใช้ประกอบในการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนและเงินรางวัลจูงใจที่เหมาะสมของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

48

ANNUAL

REPORT 2016


การก�ำกับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญในการปฏิบตั ติ ามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในการด�ำเนินกิจการ โดยได้ยึดถือตาม แนวทางปฏิบัติการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจด ทะเบียนปี 2549 (Good Corporate Governance) ตามที่ ก�ำหนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งครอบคลุม หลักการ 5 หมวดโดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น

บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้น ในการได้รับข้อมูลของบริษัทฯ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียง พอ ทันเวลา และเท่าเทียมกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจใน ทุกๆ เรื่อง ดังนั้น คณะกรรมการบริษัทจึงมีนโยบายดังนี้ • ให้บริษัทฯ จัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมทั้ง ข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่าง ๆ ให้เพียงพอ โดย ระบุวัตถุประสงค์และเหตุผล ตลอดจนความเห็นของคณะ กรรมการในทุกวาระเพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้ศกึ ษาข้อมูล อย่างครบถ้วนล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 14 วัน ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วย ตนเองได้ บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะ ให้กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมแทนตน ได้ โดยใช้หนังสือมอบฉันทะที่บริษัทฯ ได้จัดส่งไปพร้อมกับ หนังสือเชิญประชุม • อ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่า เทียมกันในการเข้าร่วมประชุมทั้งในเรื่องสถานที่ และเวลาที่ เหมาะสม • ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ จะพิจารณาและลงคะแนน เรียงตามวาระที่ก�ำหนด โดยไม่เปลี่ยนแปลงข้อมูลส�ำคัญ หรือเพิ่มวาระการประชุมในการประชุมอย่างกะทันหัน และ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิเท่าเทียมกันในการตรวจสอบการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ สอบถาม แสดงความคิดเห็นและข้อ เสนอแนะต่าง ๆ และกรรมการและผูบ้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้องจะเข้า ร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบค�ำถามในที่ประชุมด้วย • ให้เพิ่มช่องทางในการรับทราบข่าวสารของผู้ถือ หุ้นผ่านทาง website ของบริษัทฯ โดยน�ำข่าวสารต่าง ๆ และ รายละเอียดไว้ที่ website ของบริษัทฯ โดยเฉพาะ ในกรณี หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นให้เผยแพร่ก่อนวันประชุมล่วง หน้า เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์โหลดข้อมูลระเบียบวาระ การประชุมได้อย่างสะดวกและครบถ้วน • นโยบายให้กรรมการทุกท่านเข้าร่วมประชุมเพื่อ ANNUAL REPORT 2016

ตอบข้อซักถามจากผู้ถือหุ้นโดยพร้อมเพรียงกัน • การจดบันทึกรายงานการประชุม ให้บันทึกให้ครบ ถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส และบันทึกประเด็นซักถามและข้อคิด เห็นที่ส�ำคัญไว้ในรายงานการประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ตรวจสอบได้ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได้มีการบันทึกวีดิทัศน์ภาพ การประชุมเพื่อเก็บรักษาไว้อ้างอิง นอกจากนี้ ให้บริษัทฯ น�ำ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อ ให้ผู้ถือหุ้นได้พิจารณา รวมถึงส่งรายการประชุมดังกล่าวไปยัง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายใน 14 วัน นับแต่วันที่มี การประชุมผู้ถือหุ้นนั้น • เพิม่ ความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการได้รบั เงินปันผล โดยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร (ถ้ามีการจ่ายเงินปันผล) เพื่อ อ� ำ นวยความสะดวกให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ให้ ไ ด้ รั บ เงิ น ปั น ผลตรงเวลา ป้องกันปัญหาเรื่องเช็คช�ำรุด สูญหาย หรือส่งถึงผู้ถือหุ้นล่าช้า

หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน ดังนั้น คณะกรรมการบริษัทจึงมีนโยบายดังนี้ • ให้บริษัทฯจัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมทั้งข้อมูล ประกอบการประชุมให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่ น้อยกว่า 14 วัน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ศึกษาข้อมูลอย่าง ครบถ้วนก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น • ให้ศึกษาแนวทางเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย สามารถเสนอชือ่ กรรมการ หรือเสนอวาระการประชุมเพิม่ เติมได้ ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น • ให้ เ พิ่ ม การอ� ำ นวยความสะดวกแก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ไ ม่ สามารถเข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเอง โดยให้ผู้ถือหุ้นสามารถ มอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือให้มีกรรมการอิสระอย่าง น้อย 1 คนเข้าร่วมประชุมและลงมติแทนได้ และแจ้งรายชื่อ กรรมการอิสระดังกล่าวไว้ในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น • ให้ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่า จะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือ หุ้นชาวไทยหรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ

หมวดที่ 3 การค�ำนึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

บริษทั ฯ ตระหนักและรับรูถ้ งึ สิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุก กลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน 49


และผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ คู่แข่ง ภาครัฐ และหน่วยงานอื่นๆ รวมทั้งชุมชนใกล้เคียงที่เกี่ยวข้อง เนือ่ งจากบริษัทฯ ได้รับการสนับสนุนจากผูม้ ีสว่ นได้เสียต่างๆ ซึ่ง สร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้างก�ำไรให้บริษัทฯ ซึ่ง ถือว่าเป็นการสร้างคุณค่าในระยะยาวให้กับบริษัทฯ โดยมีการ ก�ำหนดนโยบาย ดังนี้ 3.1) นโยบายและแนวปฏิบัติต่อพนักงาน บริษัทฯ ตระหนักว่า พนักงานเป็นปัจจัยแห่งความ ส�ำเร็จของการบรรลุเป้าหมายของบริษัทฯ ที่มีคุณค่ายิ่ง จึงเป็น นโยบายของบริษัทฯ ที่จะให้การปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็น ธรรมทัง้ ในด้านโอกาส ผลตอบแทน การแต่งตัง้ โยกย้าย ตลอดจน การพัฒนาศักยภาพ เพือ่ ให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว บริษทั ฯ จึงมีหลักปฏิบัติดังนี้ • ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความสุภาพ และให้ความ เคารพต่อความเป็นปัจเจกชน • ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อพนักงาน รวมทั้งมีการ จัดตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพพนักงาน และให้ความส�ำคัญในด้าน การดูแลสวัสดิการของพนักงาน • ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มีความ ปลอดภัยต่อชีวิต และทรัพย์สินของพนักงาน • การแต่งตั้ง โยกย้าย รวมถึงการให้รางวัลและการ ลงโทษพนักงาน กระท�ำด้วยความสุจริตใจ และตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน ความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงานนั้น • ให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ของพนักงาน โดยให้โอกาสอย่างทัว่ ถึงและสม�ำ่ เสมอ เพือ่ พัฒนา ความสามารถของพนักงานให้เกิดศักยภาพในการปฏิบัติงาน อย่างมืออาชีพ • รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะซึง่ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน ความรู้ทางวิชาชีพของพนักงาน • ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับพนักงานอย่างเคร่งครัด 3.2) นโยบายและแนวปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ระลึกอยู่เสมอว่าผู้ถือหุ้น คือ เจ้าของกิจการ และบริษัทฯ มีหน้าที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว จึงก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานต้องปฏิบัติตาม แนวทางดังต่อไปนี้ • ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ตลอดจน ตัดสินใจด�ำเนินการใดๆ ตามหลักการของวิชาชีพ ด้วยความ ระมัดระวัง รอบคอบ และเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทั้งรายใหญ่และ รายย่อย เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นโดยรวม • น�ำเสนอรายงานสถานภาพของบริษัทฯ ผลประกอบ การ ฐานะข้อมูลทางการเงิน การบัญชี และรายงานอื่น ๆ โดย สม�่ำเสมอ และครบถ้วนตามความเป็นจริง 50

• แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทุกรายทราบอย่างเท่าเทียมกันถึง แนวโน้มในอนาคตของบริษทั ฯ ทัง้ ในด้านบวกและด้านลบ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความเป็นไปได้ มีขอ้ มูลสนับสนุนและมี เหตุผลเพียงพอ • ห้ามไม่ให้แสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเอง และ ผู้อื่นโดยใช้ข้อมูลใดๆ ของบริษัทฯ ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อ สาธารณะ หรือด�ำเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ 3.3) นโยบายและแนวปฏิบัติต่อลูกค้า บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของลูกค้า จึงได้ ก�ำหนดนโยบายในการปฏิบัติต่อลูกค้าดังนี้ • บริการลูกค้าด้วยความสุภาพ มคี วามกระตือรือร้น พร้อมให้การบริการ ต้อนรับด้วยความจริงใจ เต็มใจ ตั้งใจ และใส่ใจ ดูแลผู้รับบริการดุจญาติสนิท บริการด้วยความ รวดเร็ว ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ • รักษาความลับของลูกค้าและไม่น�ำไปใช้เพื่อ ประโยชน์ของตนเอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ • ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันต่อ เหตุการณ์แก่ลกู ค้า เพือ่ ให้ทราบเกีย่ วกับบริการ โดยไม่มกี าร โฆษณาเกินความเป็นจริงที่เป็นเหตุให้ลูกค้าเข้าใจผิดเกี่ยว กับคุณภาพ หรือเงื่อนไขใด ๆ ของบริการของบริษัทฯ • ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับวิธกี ารให้บริการของบริษทั ฯ ให้มีประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์กับลูกค้าสูงสุด 3.4) นโยบายและแนวปฏิบัติต่อคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ บริษัทฯ มีนโยบายให้พนักงานปฏิบัติต่อคู่ค้า และ/ หรือเจ้าหนี้ทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม ซื่อสัตย์ และไม่เอารัดเอา เปรียบคู่ค้า โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ พื้น ฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย หลีก เลี่ยงสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การเจรจาแก้ปัญหาตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ทาง ธุรกิจ โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ • ไม่เรียก หรือรับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไม่ สุจริตในการค้ากับคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ • กรณีที่มีข้อมูลว่ามีการเรียก หรือรับ หรือการ จ่ายผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไม่สุจริตเกิดขึ้น ต้องเปิดเผยราย ละเอียดต่อคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ และร่วมกันแก้ไขปัญหา โดยยุติธรรมและรวดเร็ว • ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ตกลงกันไว้อย่าง เคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดได้ ต้อง รีบแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหา แนวทางแก้ไขปัญหา 3.5) นโยบายและแนวปฏิบัติต่อคู่แข่งขัน บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้า โดยไม่ละเมิดความลับหรือล่วงรู้ความลับทางการค้าของคู่ ANNUAL REPORT 2016


แข่งขันด้วยวิธีฉ้อฉล จึงก�ำหนดหลักนโยบายดังนี้ • ประพฤติปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขัน ที่ดี • ไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งทางการ ค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม • ไม่ท�ำลายชื่อเสี่ยงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการ กล่าวหาในทางร้าย 3.6) นโยบายและแนวปฏิบัติต่อสังคม / ชุมชน บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะด�ำเนินธุรกิจทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจ และสังคม และยึดมัน่ การปฏิบตั ติ นเป็นพลเมือง ที่ดี และปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องอย่าง ครบถ้วน บริษัทฯ จะมุ่งมั่นในการพัฒนาส่งเสริมและยก ระดับคุณภาพชีวิตของสังคม และชุมชนอันเป็นที่ที่บริษัทฯ ตั้งอยู่ให้มีคุณภาพดีขึ้นพร้อมๆ กับการเติบโตของบริษัทฯ 3.7) นโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น กิ จ กรรม ต่าง ๆ ที่เสริมสร้างคุณภาพ อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งานให้ มี ค วาม ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานอยู่เสมอ

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายที่จะเปิดเผยข้อมูล สารสนเทศทางการเงินและอื่นๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจและผล ประกอบการของบริษัทฯ ที่ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอ สม�่ำเสมอ ทันเวลา แสดงให้เห็นถึงสถานภาพ ทางการเงินและการประกอบการที่แท้จริงของบริษัทฯ รวม ทั้งอนาคตของธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษทั มุง่ มัน่ ทีจ่ ะดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการ เปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสอย่างเคร่งครัด จัดให้มีการ เผยแพร่ขอ้ มูลในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ทัง้ ภาษาไทย และภาษา อังกฤษ ผ่านช่องทางเผยแพร่ทางสื่อมวลชน สื่อเผยแพร่ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้ถือหุ้น และผู้ที่ เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้รับทราบข้อมูลของบริษัทฯ ได้อย่างทั่วถึง และจะท�ำการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงให้สอดคล้องกับแนวทาง ที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศใช้ บังคับ บริษัทฯ จัดให้มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพือ่ ท�ำหน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับนักลงทุน หรือผู้ถือหุ้น รวมถึงนักลงทุนสถาบันและผู้ถือหุ้นรายย่อย ANNUAL REPORT 2016

บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารประชุมเพือ่ วิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานเป็น ประจ�ำ รวมทัง้ จะเผยแพร่ขอ้ มูลขององค์กร ทัง้ ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทั่วไปให้แก่ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทจัด อันดับความน่าเชือ่ ถือ และหน่วยงานรัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ผ่านทางช่อง ทางต่าง ๆ ได้แก่ การรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความส�ำคัญ ในการเปิดเผยข้อมูลอย่างสม�่ำเสมอ ทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ข่าวสารเป็นประจ�ำ โดยผ่านช่องทาง เว็บไซต์ของบริษัทฯ ข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์จะมีการปรับปรุงให้ ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นวิสัยทัศน์ พันธกิจ งบการเงิน ข่าว ประชาสัมพันธ์ รายงานประจ�ำปี โครงสร้างบริษัท และผู้บริหาร โครงสร้างการถือหุ้นและผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อรายงานทางการ เงิน เพื่อให้แสดงถึงสถานะทางการเงินและผลการประกอบการ ที่แท้จริงของบริษัทฯ โดยอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลทางบัญชี ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอตามมาตรฐานการบัญชีซึ่งเป็น ที่ยอมรับโดยทั่วไป บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการ แต่ละท่าน ตลอดจนบทบาทและหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ ในรายงานประจ�ำปีของ บริษทั ฯ (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และจะเปิดเผยค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ (แบบ 56-2) และแบบ แสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1)

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษทั มีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เกีย่ ว กับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ การก�ำกับดูแลกิจการให้เป็นไป ตามเป้าหมายและแนวทางที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ และมติที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ โดยปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว และเพื่อให้มั่นใจว่าการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เป็นไปในทิศทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้นและผู้มี ส่วนได้เสีย คณะกรรมการบริษัทจะดูแลให้มีการจัดท�ำวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย นโยบาย ทิศทางการด�ำเนินงาน แผนกลยุทธ์ แผนงาน และงบประมาณประจ� ำ ปี ข องบริ ษั ท ฯ โดยคณะ กรรมการบริษัทจะร่วมแสดงความคิดเห็น เพื่อให้เกิดความ เข้าใจในภาพรวมของธุรกิจร่วมกันก่อนทีจ่ ะพิจารณาอนุมตั ิ และ ติดตามให้มีการบริหารงานเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 51


ที่จะพึงมี ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด ในการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามั ญ ประจ� ำ ปี ทุ ก ครั้ ง ให้ กรรมการออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวนหนึง่ ในสาม (1/3) ของจ�ำนวน กรรมการในขณะนั้น ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็น การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ สามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม และผู้บริหารสูงสุด (1/3) กรรมการซึ่งพ้นจากต�ำแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามา คณะกรรมการบริษัท รับต�ำแหน่งอีกได้ กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรก การสรรหากรรมการนั้น บริษัทฯ จะให้ความส�ำคัญ และปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จับสลากกัน ส่วน กับบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ มีประวัติการ ปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็น ท�ำงานทีด่ ี และมีภาวะผูน้ ำ � วิสยั ทัศน์กว้างไกล รวมทัง้ มีคณ ุ ธรรม ผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งอาจได้รับเลือก จริยธรรม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร สามารถอุทิศเวลา ตั้งใหม่อีกได้โดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น ให้ได้อย่างเพียงพออันเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินกิจการขอ นอกจากการพ้นต�ำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการพ้น งบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังจะค�ำนึงถึงคุณสมบัติที่เหมาะสมและ จากต�ำแหน่งเมื่อ สอดคล้องกับองค์ประกอบและโครงสร้างของกรรมการตาม (1) ตาย กลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทฯ อีกด้วย มีกระบวนการที่โปร่งใส (2) ลาออก สร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้น (3) ขาดคุ ณ สมบั ติ หรื อ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตาม คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน กฎหมาย 9 คน ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายก�ำหนดประกอบ (4) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก ด้วยคะแนนเสียงไม่ ด้วยกรรมการอิสระ 4 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 4 คน และ น้อยกว่าสามในสีข่ องจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออก กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 คน โดยประธานกรรมการไม่ใช่บุคคล เสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ถือ คนเดียวกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง บริ ษั ท มี ก ารแบ่ ง แยกอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องประธาน (5) ศาลมีค�ำสั่งให้ออก กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอย่างชัดเจน ตามทีแ่ สดง ขอบเขตและอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และประธาน คณะกรรมการตรวจสอบที่เป็นอิสระ เจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็น ในการแต่งตั้งกรรมการบริษัท คณะกรรมการที่ด�ำรง กรรมการอิสระจ�ำนวน 3 คน โดยมีวาระอยูใ่ นต�ำแหน่งคราวละ 3 ต�ำแหน่งในปัจจุบันจะร่วมกันหารือเพื่อพิจารณาคัดเลือกบุคคล ปี บริษทั ฯ มีนโยบายในการสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการ ทีจ่ ะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั โดยจะพิจารณาจากความ อิสระ ที่สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ รู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจ หรือ และตลาดหลักทรัพย์ ที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาตและ พิจารณาจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ที่มีประสบการณ์ การอนุญาตให้เสนอขายหุน้ ทีอ่ อกใหม่ ฉบับลงวันที่ 15 ธันวาคม ในธุรกิจที่จะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม การแต่ง พ.ศ. 2551 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ตั้งกรรมการใหม่จะต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุม นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่ กรณี) ตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน จะต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้และ ทั้งนี้ ข้อบังคับของบริษัทฯ ก�ำหนดให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้ง ประสบการณ์ดา้ นการบัญชีหรือการเงินเพียงพอทีจ่ ะสามารถท�ำ กรรมการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ หน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงินได้ นอกจาก (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 นี้ บริษัทฯ จะพิจารณาคุณสมบัติในด้านอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น เสียง ประสบการณ์ในธุรกิจ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับ (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมด ธุรกิจ และความมีจริยธรรม เป็นต้น ตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้แต่ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ ผู้บริหาร (3) บุคคลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา คณะกรรมการบริ ษั ท และ/หรื อ บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ มอบ เป็นผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมี หมายจากคณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาแต่งตั้งผู้บริหารจาก หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือก บุคลากรที่มีประสบการณ์และมีความรู้ความสามารถในการ ตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการ บริหารงานในสายงานที่เกี่ยวข้อง ANNUAL โดยจะยึดถือแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

52

REPORT 2016


การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

นโยบายการบริหารงานในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน 1. เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถควบคุมดูแลการจัดการ และรับผิดชอบการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมได้เสมือนเป็น หน่วยงานหนึง่ ของบริษทั ฯ และเพือ่ ให้บริษทั ฯ มีกลไกก�ำกับดูแลบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทัง้ ทางตรงและทางอ้อม รวมทัง้ มีมาตรการ ในการติดตามการบริหารงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม เพือ่ ดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริษทั ฯ โดยให้กรณีดงั ต่อไป นี้ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) 1.1 เรื่องที่ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท (ก) การแต่งตั้งหรือเสนอชื่อบุคคลเป็นกรรมการและผู้บริหารในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมอย่างน้อยตาม สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม โดยให้กรรมการและผูบ้ ริหารทีบ่ ริษทั ฯ เสนอ ชื่อหรือแต่งตั้งมีดุลยพินิจในการพิจารณาออกเสียงในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทั่วไปและการด�ำเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทย่อยและ บริษทั ร่วมได้ตามแต่ทกี่ รรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมจะเห็นสมควรเพือ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษัทฯ บริษัทย่อยและบริษัทร่วม เว้นแต่เรื่องที่ก�ำหนดไว้ในข้อ 1 ทั้งนี้ กรรมการและผู ้ บริ หารตามวรรคข้ า งต้ น ที่ ไ ด้ รั บการเสนอชื่ อนั้ น ต้ องมี คุณสมบัติ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตลอดจนไม่มีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการก�ำหนดลักษณะขาดความไม่น่า ไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท (ข) กรณีทบี่ ริษทั ย่อยตกลงเข้าท�ำรายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ย่อย หรือรายการ ทีเ่ กีย่ วกับการ ได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ของบริษทั ย่อย โดยน�ำหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ตามประกาศ ทเี่ กีย่ วข้อง ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาบังคับ ใช้โดยอนุโลม ทัง้ นี้ ต้องเป็นกรณีทเี่ มือ่ ค�ำนวณขนาดของรายการทีบ่ ริษทั ย่อยเข้าท�ำรายการเปรียบเทียบ กับขนาดของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวแล้วอยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติ จาก คณะกรรมการบริษัทด้วย (ค) พิจารณาการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี และเงินปันผลระหว่างกาล (หากมี) ของบริษัทย่อย (ง) การแก้ไขข้อบังคับของบริษัทย่อย รายการตัง้ แต่ขอ้ (จ) ถึงข้อ (ฎ) นีเ้ ป็นรายการทีถ่ อื ว่ามีสาระส�ำคัญ และหากเข้าท�ำรายการจะ มี ผ ลกระทบอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ ฐานะการเงิ น และผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ย ก่ อ นที่ จ ะ มีการประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อย กรรมการและผู้บริหารซึ่งบริษัทฯ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ในบริษทั ย่อยจะออกเสียงในเรือ่ งดังต่อไปนีต้ อ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั ก่อน ทัง้ นี้ ต้องเป็นกรณี ทเี่ มือ่ ค�ำนวณขนาดรายการทีบ่ ริษทั ย่อยเข้าท�ำรายการเปรียบเทียบกับขนาดของบริษทั ฯ โดยน�ำหลักเกณฑ์ ที่ก�ำหนดตามประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินมาบังคับใช้โดยอนุโลม แล้วอยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งรายการดังต่อไปนี้คือ (จ) การโอนหรือสละสิทธิประโยชน์ รวมตลอดถึงการสละสิทธิเรียกร้องที่มีต่อผู้ที่ก่อความเสียหายแก่ บริษัทย่อย (ฉ) การขายหรือโอนกิจการของบริษัทย่อยทั้งหมดหรือบางส่วนที่ส�ำคัญให้แก่บุคคลอื่น (ช) การซื้อหรือการรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเป็นของบริษัทย่อย (ซ) การเข้าท�ำ แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกีย่ วกับการให้เช่ากิจการของบริษทั ย่อยทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ ำ� คัญ การมอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าจัดการธุรกิจของบริษัทย่อย หรือการรวมกิจการกับบุคคลอื่นโดย มีวัตถุประสงค์จะแบ่งก�ำไรขาดทุนกัน (ฌ) การเช่า หรือให้เช่าซื้อกิจการหรือทรัพย์สินของบริษัทย่อยทั้งหมดหรือส่วนที่มีสาระส�ำคัญ ANNUAL REPORT 2016

53


(ญ) การกู้ยืมเงิน การให้กู้ยืมเงิน การให้สินเชื่อ การค�้ำประกัน การท�ำนิติกรรมผูกพันบริษัทย่อยให้ต้องรับ ภาระทางการเงินเพิ่มขึ้น ในกรณีที่บุคคลภายนอกขาดสภาพคล่องหรือไม่สามารถปฏิบัติการช�ำระหนี้ ได้ หรือการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินในลักษณะอื่นใดแก่บุคคลอื่น (ฎ) การเลิกกิจการของบริษัทย่อย 1.2 เรื่องที่ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ก่อนบริษัทย่อยเข้าท�ำ รายการ (ก) กรณีทบี่ ริษทั ย่อยตกลงเข้าท�ำรายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ย่อย หรือรายการ ทีเ่ กีย่ วกับการ ได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ของบริษทั ย่อย โดยน�ำหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ตามประกาศ ทเี่ กีย่ วข้อง ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ (แล้วแต่กรณี) มาบังคับ ใช้โดยอนุโลม ทัง้ นี้ ต้องเป็นกรณีทเี่ มือ่ ค�ำนวณขนาดของรายการทีบ่ ริษทั ย่อยเข้าท�ำรายการเปรียบเทียบ กับขนาดของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวแล้วอยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับความเห็นชอบจาก ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวด้วย (ข) การเพิม่ ทุนโดยการออกหุน้ เพิม่ ทุนของบริษทั ย่อยและการจัดสรรหุน้ รวมทัง้ การลดทุนจดทะเบียนซึง่ ไม่ เป็นไปตามสัดส่วนการถือหุน้ เดิมของผูถ้ อื หุน้ อันจะเป็นผลให้สดั ส่วนการถือหุน้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ของบริษัทฯ ในบริษัทย่อยไม่ว่าในทอดใด ๆ ลดลงเกินกว่าร้อยละ 10 ของทุนช�ำระแล้วของบริษัทย่อย นั้ น หรื อ เป็ น ผลให้ สั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ มในบริ ษั ท ย่ อ ยไม่ ว ่ า ในทอดใด ๆ ลดลงเหลือน้อยกว่าร้อยละ 50 ของทุนช�ำระแล้วของบริษัทย่อยนั้น (ค) การด�ำเนินการอืน่ ใดอันจะเป็นผลให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมในบริษทั ย่อย ไม่ว่าในทอดใดๆ ลดลงเกินกว่าร้อยละ 10 ของทุนช�ำระแล้วของบริษัทย่อย หรือเป็นผลให้สัดส่วน การถือหุ้นของบริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริษัทย่อยไม่ว่าในทอดใดๆ ลดลง เหลือน้อยกว่า ร้อยละ 50 ของทุนช�ำระแล้วของบริษัทย่อยในการเข้าท�ำรายการอื่นใด ที่มิใช่รายการธุรกิจปกติของ บริษัทย่อย (ง) การเลิกกิจการของบริษัทย่อย ทั้งนี้ ต้องเป็นกรณีที่เมื่อค�ำนวณขนาดของกิจการบริษัทย่อยที่เลิก นั้นเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ โดยน�ำหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุนและคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรือ่ ง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ มาบังคับใช้โดยอนุโลม ทั้งนี้ ต้องเป็นกรณีที่เมื่อค�ำนวณขนาดของรายการที่บริษัทย่อยเข้าท�ำรายการ เปรี ย บเที ย บกั บ ขนาดของบริ ษั ท ฯ แล้ ว อยู ่ ใ นเกณฑ์ ต ้ อ งได้ รั บ การพิ จ ารณาอนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (จ) รายการอื่นใดที่ไม่ใช่รายการธุรกิจปกติของบริษัทย่อยและเป็นรายการที่จะมีผลกระทบ ต่อบริษัทย่อย อย่างมีนัยส�ำคัญ 2. กรรมการของบริษทั ฯ จะติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมให้เป็นไปตามแผนงานและงบประมาณ อย่างต่อเนือ่ ง และติดตามให้บริษทั ย่อยเปิดเผยข้อมูลรายการเกีย่ วโยง และรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ตอ่ บริษทั ฯ ตาม ประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและประกาศคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์ (แล้วแต่กรณี) มาบังคับใช้โดย อนุโลม อย่างครบถ้วนและถูกต้อง 3. กรรมการของบริษัทฯ ต้องจัดให้บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลัก มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุมเพียง พอ เพื่อป้องกันการทุจริตที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทย่อย รวมทั้งควรให้บริษัทย่อยจัดให้มีระบบงานที่ชัดเจนเพื่อแสดงได้ว่า บริษัทย่อยมี ระบบเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล การท�ำรายการที่มีนัยส�ำคัญตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดได้อย่างต่อเนื่องและน่าเชื่อถือ และมีช่อง ทางให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษัทฯ สามารถได้รบั ข้อมูลของบริษัทย่อยในการติดตามดูแลผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน การท�ำรายการระหว่างบริษัทย่อยกับกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่อย และการท�ำรายการที่มีนัยส�ำคัญของบริษัทย่อยได้อย่าง มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ต้องจัดให้บริษัทย่อยมีกลไกในการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวในบริษัทย่อย โดยให้ทีมงานผู้ตรวจสอบ ภายในและกรรมการอิสระของบริษัทฯ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง และให้มีการรายงานผลการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวให้ กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า บริษัทย่อยมีการปฏิบัติตามระบบงานที่จัดท�ำไว้อย่างสม�่ำเสมอ 54

ANNUAL

REPORT 2016


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท

คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและเพื่อความโปร่งใสและป้องกันการแสวงหา ผลประโยชน์ส่วนตนจากการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทที่ยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการใช้ข้อมูลของ บริษัทดังนี้ • ให้ความรู้แก่กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่าย ขึ้นไปหรือเทียบเท่า เกี่ยวกับหน้าที่ที่ต้องจัดท�ำและส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตาม มาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 • ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการ ขึ้นไปหรือเทียบเท่า จัดท�ำและน�ำส่งเอกสารรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และของบุตรที่ไม่บรรลุนิติภาวะ ส่งผ่านมายังเลขานุการของบริษทั ก่อนน�ำส่งส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทกุ ครัง้ โดยให้ จัดท�ำและน�ำส่งภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการผู้บริหาร หรือรายงานการ เปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 วันท�ำการนับแต่วันที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์นั้น • ก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่าย ขึ้นไปหรือเทียบเท่า และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงเวลาก่อนทีจ่ ะเผยแพร่งบการเงินหรือเผยแพร่เกีย่ วกับ ฐานะการเงินและสถานะของบริษทั จนกว่าบริษทั จะได้เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนแล้ว โดยบริษทั จะแจ้งให้กรรมการและ ผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า งดการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นเวลาอย่างน้อง 30 วันล่วงหน้าก่อนการเปิดเผยข้อมูล ต่อสาธารณชน และควรรอคอยอย่างน้อย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปิดเผยข้อมูลให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทั้งห้ามไม่ให้ เปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระส�ำคัญนั้นต่อบุคคลอื่น • ก�ำหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝ่าฝืนน�ำข้อมูลภายในไปใช้หาประโยชน์ส่วนตนซึ่งเริ่มตั้งแต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน ซึง่ การลงโทษจะพิจารณาจากเจตนาของการกระท�ำและ ความร้ายแรงของความผิดนั้นๆ

ANNUAL REPORT 2016

55


การต่อต้านการคอร์รัปชั่น บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความส�ำคัญในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยยึดมั่นในการ ด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส เป็นธรรม และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริษัทจึงได้ ก�ำหนด “นโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ” ขึน้ เพือ่ เป็นแนวปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนแก่ผเู้ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั และสร้างความ เชื่อมั่นแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายไปพร้อมกับการพัฒนาสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนต่อไป

นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น

1. ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชาทุกระดับ และพนักงานทุกคนของบริษัทกระท�ำการใด ๆ ที่เป็นการทุจริตคอร์รัปชั่น ไม่ว่าจะทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยครอบคลุมถึงธุรกิจและรายการทั้งหมดในทุกหน่วยงานและทุกบริษัทย่อย 2. กรรมการ ผู ้ บ ริห าร และพนัก งานของบริ ษั ท ทุ กคน ทุ กระดั บ ต้ อ งปฏิ บัติ ต ามนโยบาย, แนวทางการปฏิ บั ติแ ละ มาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นที่บริษัทฯ ได้ก�ำหนดขึ้นเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถน�ำไป ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 3. บริษทั จะจัดให้มกี ารประเมินความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ภายในบริษทั ทุกปีรวมถึงการน�ำนโยบายการ ต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นและแผนการก�ำกับการปฏิบัติงานไปปฏิบัติ และจัดให้มีคู่มือ แนวทางในการด�ำเนินธุรกิจ แนวทางการปฏิบตั ิ และการพัฒนามาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ แก่ผบู้ ริหารและพนักงาน ทงั้ นีเ้ พือ่ ให้เกิดความชัดเจนในการด�ำเนินการในเรือ่ งทีม่ คี วามเสีย่ งสูงกับการเกิดการทุจริต คอร์รปั ชัน่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ทุกคน ทุกระดับต้องปฏิบตั อิ ย่างระมัดระวัง ต้องเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายของประเทศไทย ในการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นที่เกี่ยวข้อง 4. บริษัทจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้พนักงานมีการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม รับประกันให้มี การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และยกระดับค่านิยมความซื่อสัตย์ สุจริตและความรับผิดชอบให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร 5. บริษทั มีกลไกการรายงานสถานะทางการเงินทีโ่ ปร่งใส และถูกต้องแม่นย�ำ ครอบคลุมทัง้ ด้านการเงินและการด�ำเนินการ ของกระบวนการทางบัญชีและการเก็บบันทึกข้อมูล รวมถึงกระบวนการอื่นๆในบริษัทที่เกี่ยวข้องกับมาตรการ/ขั้นตอน ในการปฏิบตั เิ พือ่ ต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชัน่ มีการสอบทาน มีการตรวจสอบภายในเพือ่ ยืนยันประสิทธิผลของกระบวน การตามมาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างสม�่ำเสมอเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ของบริษทั และการเปลีย่ นแปลงของธุรกิจ รวมถึงข้อก�ำหนดของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ผลการตรวจ สอบตามมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ นี้ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการผูจ้ ดั การ และผูบ้ ริหารระดับสูงต้องรายงาน ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ 6. บริษัทมีนโยบายทีจ่ ะไม่ลดต�ำแหน่งลงโทษ หรือให้ผลทางลบต่อพนักงานทีป่ ฏิเสธการคอร์รปั ชัน่ แม้ว่าการกระท�ำนัน้ จะ ท�ำให้บริษัทสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ 7. กรรมการผูบ้ ริหาร ผูบ้ งั คับบัญชาทุกระดับชัน้ ของบริษทั ต้องเป็นผูน้ ำ� ตัวอย่างในการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ประกอบ ธรุ กิจตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และด�ำเนินธุรกิจด้วยหลักการในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ ด�ำเนินงานตามกรอบ และขั้นตอน ของแนวร่วมปฏิบัติ(Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต

ค�ำนิยามตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น

การคอร์รัปชั่น หมายถึง การให้หรือรับสินบน (giving or accepting bribes) ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใด ๆ โดยการน�ำเสนอ (offering) การให้ค�ำมั่นสัญญา (promising) การขอ (soliciting) การเรียกร้อง (demanding) ซึ่งเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่ ไม่เหมาะสมกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน หรือผูม้ หี น้าที่ ไม่วา่ จะโดยทางตรงและทางอ้อม ในทุก ๆ กิจกรรม ที่อยู่ภายใต้การควบคุม เพื่อผลประโยชน์ต่อธุรกิจ ตนเอง ครอบครัว หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่กรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ ขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่น หรือจารีตทางการค้า ให้กระท�ำได้และให้หมายความรวมถึง

56

ANNUAL

REPORT 2016


การบริจาคเพือ่ การกุศล การให้ของขวัญทางธุรกิจ การจ่ายค่าบริการต้อนรับและค่าใช้จา่ ยส�ำหรับการเลีย้ งรับรองทางธุรกิจ การให้เงินสนับสนุน (สปอนเซอร์) กิจกรรมใด ๆ ที่ถูกกระท�ำอย่างไม่โปร่งใสและมีเจตนาเพื่อโน้มน้าวให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐ/เอกชน ด�ำเนินการใด ๆ ที่ไม่เหมาะสม หรือไม่ถูกต้อง บริษัทมีนโยบายไม่ให้การช่วยเหลือทางการเมือง ทั้งทางตรงและทางอ้อม

หน้าที่และความรับผิดชอบ

คณะกรรมการบริษัท 1. ก�ำหนดและอนุมัตินโยบายต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น เพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจของบริษัท 2. ก�ำหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตภายในบริษัทอนุมัติการน�ำนโยบายแนวทางการปฏิบัติ และมาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นไปปฏิบัติอย่างถูกต้องและทั่วทั้งองค์กร 3. ก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติ และมาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น จัดให้มีระบบที่สนับสนุนการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้มั่นใจว่าฝ่ายบริหารได้ตระหนักและให้ ความส�ำคัญกับการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ในทุก ๆ รูปแบบ ในทุก ๆ กิจกรรมของบริษทั และปลูกฝังจนเป็นวัฒนธรรม องค์กร 4. ต้องปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่นแนวทางการปฏิบัติ และมาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการ ทุจริต คอร์รัปชั่นของบริษัทอย่างเคร่งครัด รวมถึงเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องของความซื่อสัตย์ โปร่งใสและเป็นธรรม และ ให้ค�ำปรึกษา ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีข้อสงสัย ข้อซักถามต่าง ๆ คณะกรรมการตรวจสอบ 1. การก�ำกับดูแลระบบรายงานทางการเงินและบัญชี ระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายในและระบบบริหาร ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ของบริษทั , การจัดท�ำรายงานทางการเงิน และกระบวนการอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ มาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลมีความรัดกุมเหมาะสม มีประสิทธิภาพ 2. สอบทาน และรายงานผลการสอบทาน การควบคุมภายใน และการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ 3. ต้องปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น แนวทางการปฏิบัติ มาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการ ทุจริต คอร์รัปชั่น รวมถึงเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องของความซื่อสัตย์ โปร่งใสและเป็นธรรม ให้ค�ำปรึกษา ค�ำแนะน�ำแก่ ผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีข้อสงสัย ข้อซักถามต่าง ๆ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการและผู้บริหารระดับสูง 1. ก�ำหนดให้มีระบบและให้การส่งเสริม สนับสนุนนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น การประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ การทุจริต คอร์รัปชั่นภายในบริษัท มาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น เพื่อสื่อสารไปยัง พนักงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุก ๆ ฝ่ายให้ปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง ทั่วถึง 2. สอบทาน ตรวจสอบ และทบทวนความเหมาะสมของระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามมาตรการ/ขัน้ ตอน ในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น การเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ และข้อก�ำหนดของกฎหมาย 3. รายงานผลการสอบทาน การทบทวน การควบคุมภายใน และการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการ/ขั้นตอนในการ ปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น ต่อคณะกรรมการตรวจสอบอย่างสม�่ำเสมอ และสามารถรายงานประเด็นที่พบ อย่างเร่งด่วน ต่อคณะกรรมการบริษัทโดยตรง (กรณีจ�ำเป็น เร่งด่วน) 4. ตอ้ งปฏิบตั ติ ามนโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ แนวทางการปฏิบตั ิ มาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นของบริษัท อย่างเคร่งครัด รวมถึงเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องของความซื่อสัตย์ โปร่งใสและเป็นธรรม 5. ต้องตระหนักถึงความส�ำคัญในการเผยแพร่ ให้ความรู้ ให้ค�ำปรึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการต่อต้านการ คอร์รัปชั่นให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีข้อสงสัย ข้อซักถามต่าง ๆ ANNUAL REPORT 2016

57


คณะท�ำงาน บริหารความเสี่ยงตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น 1. แต่งตั้งขึ้นจากผู้รับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ ในผังองค์กรมีหน้าที่ด�ำเนินการต่าง ๆ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า นโยบายต่อต้านการ คอร์รปั ชัน่ แนวทางการปฏิบตั แิ ละมาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ได้ถกู น�ำไปใช้ภายใน องค์กรอย่างเคร่งครัด ทั่วทั้งองค์กร 2. มีหน้าที่ในการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่นภายในบริษัท และจัดท�ำมาตรการ/ขั้นตอนในการ ปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นให้เหมาะสมกับความเสี่ยงที่ประเมินได้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ความเสี่ยงนั้น ๆ น�ำเสนอประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และคณะกรรมการบริษัท เพื่ออนุมัติและประกาศใช้ต่อไป 3. รายงานผลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย และมาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ต่อประธานเจ้าหน้าที่ บริหารอย่างต่อเนื่องตามระยะเวลาที่ก�ำหนด 4. ตระหนักและให้ความส�ำคัญในการเผยแพร่ ให้ความรู้ ให้ค�ำปรึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง 1. หมายถึง คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งท�ำหน้าที่และรับผิดชอบในการตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีมีข้อร้องเรียนกรรมการ บริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือกรรมการผู้จัดการ และให้รายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่อคณะกรรมการ บริษัท 2. หมายถึง ผู้บริหารระดับผู้อ�ำนวยการฝ่าย หรือผู้จัดการแผนกจากหน่วยงานที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องร้องเรียน หน่วยงานต้นเรื่องของผู้ถูกร้องเรียน และหน่วยงานทรัพยากรบุคคล ซึ่งบริษัทจะตั้งขึ้น เพื่อท�ำการพิจารณารายละเอียด ข้อเท็จจริง และหลักฐานต่างๆ เมื่อได้รับแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนทั้งภายในและภายนอกบริษัท และให้รายงาน ผลการการตรวจสอบข้อเท็จจริงทั้งหมด ต่อกรรมการผู้จัดการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ หรือคณะกรรมการบริษัท ตามความเหมาะสมของเรื่องร้องเรียนที่เกิดขึ้น

58

พนักงานทุกคน ทุกระดับ พนักงานทุกคน มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่นแนวทางการปฏิบัติ และมาตรการ/ขั้น ตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น ดังนี้ 1. ศึกษา ท�ำความเข้าใจในเนื้อหาสาระเพื่อให้สามารถปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง 2. ต้องถือเป็นวินัยในการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ไม่ละเว้น ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม หรือ มีพฤติกรรมที่ขัดแย้งกับนโยบาย และมาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นในทุก ๆ กรณี 3. ควรท�ำหน้าที่ให้ความรู้ ความเข้าใจกับบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของตน และบริษัท ให้ทราบและถือปฏิบัติ ตามนโยบาย และมาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นของบริษัท 4. เมื่อพบเห็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามนโยบาย และมาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชา หรือบุคคลที่รับผิดชอบทราบทันที และให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่าง ๆ กับหน่วยงานหรือบุคคลที่ บริษัทมอบหมาย 5. พนักงานระดับบริหาร และผู้บังคับบัญชา ทุกระดับชั้นในทุกหน่วยงานต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ในการปฏิบัติตามนโยบาย และมาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น ตลอดจนมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการให้ค�ำแนะน�ำในขั้นตอนการปฏิบัติ ก�ำกับดูแล สนับสนุน ส่งเสริม ให้พนักงานในบังคับบัญชาของตนทุกคนได้เข้าใจ และมีความสามารถปฏิบัติตามได้ อย่างถูกต้อง เคร่งครัด โดยทั่วถึง 6. กรณีมีข้อสงสัย ข้อซักถาม มีความไม่แน่ใจ ไม่อาจตัดสินใจได้ว่าการตัดสินใจของตนถูกต้องหรือไม่ในแนวทาง การปฏิบัติ มาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นให้หารือผู้ร่วมงาน ปรึกษาผู้บังคับบัญชา ตามล�ำดับขั้น หรือขอค�ำแนะน�ำจากเลขานุการบริษัทกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้ได้ ความกระจ่าง และสามารถด�ำเนินการต่าง ๆ ได้อย่างความมั่นใจ ถูกต้องและโปร่งใส 7. มีหน้าทีใ่ นการประเมินความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ภายในหน่วยงานของตน และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ภายในบริษัทร่วมจัดท�ำมาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นให้เหมาะสมกับความเสี่ยงที่ ประเมินได้ กับคณะท�ำงานที่ได้รับมอบหมายจากบริษัท ANNUAL REPORT 2016


แนวทางการปฏิบัติ และมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น

กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคน ต้องปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่นอย่างเคร่งครัดไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับ การคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม โดยคณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดแนวทางการปฏิบัติ และมาตรการต่อต้าน การคอร์รัปชั่น ดังนี้ 1. บริษัทมีนโยบายยึดมั่นในความเป็นกลางทางการเมือง ไม่สนับสนุนให้มีน�ำเงินทุนหรือความช่วยเหลือในรูปแบบอื่น ไป ช่วยเหลือทางการเมืองแก่พรรคการเมืองใด ทั้งทางตรงและทางอ้อมการช่วยเหลือทางการเมือง (Political Contributions) หมายถึง การช่วยเหลือไม่ว่าจะเป็นทางด้านการเงิน หรือการช่วยเหลือในรูปแบบอื่น (In-kind) เช่น การให้สิ่งของหรือบริการ การโฆษณาส่ง เสริมหรือสนับสนุนพรรคการเมือง การซื้อบัตรเข้าชมงานที่จัดเพื่อระดมทุนหรือบริจาคเงินให้แก่องค์กรที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ พรรคการเมือง การเป็นตัวแทนบริษัทเพื่อร่วมด�ำเนินการเกี่ยวกับการรณรงค์ทางการเมือง ฯลฯ 2. การใช้เงินหรือทรัพย์สินของบริษัทในการบริจาคเพื่อการกุศล จะต้องกระท�ำอย่างเปิดเผย กระท�ำในนามบริษัทเท่านั้น และด�ำเนินการผ่านขัน้ ตอนการอนุมัติโดยผูม้ ีอ�ำนาจของบริษัท โดยต้องเป็นการบริจาคให้กบั องค์กรเพือ่ ประโยชน์ต่อสังคมและไม่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ต่างตอบแทนใด ๆ เช่น มูลนิธิ องค์กรสาธารณกุศล วัด สถานศึกษา สถานพยาบาล เป็นต้น ทั้งนี้จะ ต้องมีการออกหลักฐานรับรองที่น่าเชื่อถือและสามารถตรวจสอบได้ ก�ำหนดวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท/ครั้ง 3. การใช้เงินหรือทรัพย์สินของบริษัทเพื่อเป็นเงินสนับสนุน (Sponsorships) จะต้องกระท�ำอย่างเปิดเผย กระท�ำในนาม บริษทั เท่านัน้ และด�ำเนินการผ่านขัน้ ตอนการอนุมตั โิ ดยผูม้ อี ำ� นาจของบริษทั โดยเงินสนับสนุนทีจ่ า่ ยไป ต้องมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ธุรกิจ สร้างภาพลักษณ์หรือชือ่ เสียงทีด่ ใี ห้กบั บริษทั ทัง้ นีจ้ ะต้องมีการออกหลักฐานรับรองทีน่ า่ เชือ่ ถือ ระบุวตั ถุประสงค์และผูร้ บั เงินทีช่ ดั เจน สามารถตรวจสอบได้ก�ำหนดวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท/ครั้ง 4. ต้องไม่รบั หรือให้ของขวัญ ของทีร่ ะลึกใด ๆ กับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในเรือ่ งงานทีต่ นรับผิดชอบอยู่ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม แก่เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชนและคูค่ า้ ทางธุรกิจ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ผลประโยชน์ในทางมิชอบและเป็นการชักน�ำ ให้เกิดการละเว้นในการปฏิบัติหน้าที่ของตน เว้นแต่เป็นการให้หรือรับของขวัญ ของที่ระลึกตามโอกาสหรือวาระต่าง ๆ ที่เหมาะสม เช่น การให้ตามขนบธรรมเนียม ประเพณีท้องถิ่นหรือจารีตทางการค้า และต้องมีมูลค่าไม่มากเกินปกติวิสัย ทั้งนี้การได้รับหรือจะ ให้ของขวัญ ของที่ระลึกใด ๆ ที่มูลค่าเกินกว่า 3,000 บาท/ชิ้น/ครั้ง หรือต่อคน ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาระดับตั้งแต่ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ทราบ และอนุมัติก่อนการด�ำเนินการต่อไป 5. การใช้จา่ ยส�ำหรับการเลีย้ งรับรองทางธุรกิจ และการใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั ติ ามสัญญาทางธุรกิจ สามารถ กระท�ำได้ แต่ต้องอยู่ในระดับและขอบเขตที่เหมาะสม มีความสมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได้ก�ำหนดวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท/ ครัง้ และเพือ่ ให้เกิดความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน บริษทั มีกระบวนการในการตรวจสอบงานขายและการตลาดอย่างสมํา่ เสมอ เกีย่ ว กับความเสี่ยงต่อการเกิดคอร์รัปชั่น รวมถึงการจัดให้มีวิธีการแก้ไขที่เหมาะสม 6. ในการจัดซื้อจัดจ้าง ต้องด�ำเนินการผ่านขั้นตอนของบริษัทอย่างเคร่งครัด มีความโปร่งใส รัดกุม และสามารถตรวจสอบ ได้ โดยบริษัทมีกระบวนการในการตรวจสอบงานจัดซื้อและท�ำสัญญาอย่างสมํ่าเสมอเกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการเกิดคอร์รัปชั่น รวม ถึงการจัดให้มีวิธีการแก้ไขที่เหมาะสม 7. กรรมการและผูบ้ ริหารต้องตระหนักถึงความส�ำคัญในการเผยแพร่ ให้ความรู้ ให้คำ� ปรึกษา เพือ่ สร้างความเข้าใจเกีย่ วกับ มาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ของบริษทั ให้แก่ผใู้ ต้บงั คับบัญชา รวมถึงเป็นแบบอย่างทีด่ ี ในเรือ่ งของความ ซือ่ สัตย์ โปร่งใสและเป็น ธรรมเพื่อส่งเสริมความซื่อสัตย์ สุจริต ความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามหน้าที่และความรับผิดชอบ รวมถึงสื่อให้เห็นถึงความมุ่งมั่น ขององค์กรในการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ดีของธุรกิจ • บริษัทมีกระบวนการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง แก่คณะกรรมการผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง เกี่ยวกับมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น และให้รู้ถึงบทลงโทษหากไม่ปฏิบัติตามมาตรการนี้ • บริษทั มีกระบวนการปฐมนิเทศให้แก่พนักงานใหม่ เพือ่ ให้พนักงานมีความเข้าใจเกีย่ วกับมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ และให้รู้ถึงบทลงโทษหากพนักงานไม่ปฏิบัติตามมาตรการนี้ 8. บริษทั จัดให้มกี ระบวนการบริหารงานบุคลากรทีส่ ะท้อนถึงความมุง่ มัน่ ของบริษทั ต่อมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ตัง้ แต่ การคัดเลือก การอบรม การประเมินผลงาน การให้ผลตอบแทน และการเลื่อนต�ำแหน่ง 9. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่ปฏิเสธการคอร์รัปชั่น แม้การกระท�ำนั้นจะท�ำให้บริษัทสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ ก็จะ ไม่ส่งผลทางลบต่อต�ำแหน่งหน้าที่การงาน หรือถูกลงโทษใด ๆ ANNUAL REPORT 2016

59


10. หากพนักงานพบเห็นการกระท�ำที่เข้าข่ายการคอร์รัปชั่นที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทั้งทางตรงและทางอ้อม ต้องไม่ละเลย หรือเพิกเฉยต่อพฤติกรรมดังกล่าว ควรแจ้งให้บริษัททราบทันที ผ่านช่องทางการแจ้งเบาะแสตามที่ได้ก�ำหนดไว้ในนโยบายนี้ 11. บริษทั จัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม เพือ่ ป้องกันไม่ให้พนักงานมีการปฏิบตั ทิ ไี่ ม่เหมาะสม โดยการตรวจ สอบ และควบคุมภายในโดยคณะท�ำงาน และหน่วยงานภายนอกตามที่บริษัทเห็นสมควร

การแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน

บริษัทก�ำหนดช่องทางในการติดต่อและรับเรื่องร้องเรียนไว้บนเว็บไซต์และรายงานประจ�ำปี โดยสามารถแจ้งเบาะแสหรือ ข้อร้องเรียนได้หลายช่องทาง ทั้งทางเว็บไซต์ อีเมล์ หรือไปรษณีย์ซึ่งเป็นช่องทางที่มีความปลอดภัยพนักงานสามารถเข้าถึงได้อย่าง มั่นใจ ทั้งกรณีการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน และการส่งข้อซักถาม ข้อสงสัย หรือการขอค�ำแนะน�ำต่าง ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติตาม มาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่นเนื่องจากบริษัทมีระบบการรักษาความลับและมาตรการคุ้มครองพนักงานทุกคน เพื่อไม่ให้มีความ เสี่ยงใด ๆ เกิดขึ้นในภายหลังการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน และข้อซักถามต่าง ๆ (ดูช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน ใน จรรยาบรรณบริษัท) กรณีที่ไม่แน่ใจ ไม่อาจตัดสินใจได้ว่าการตัดสินใจของตนถูกต้องหรือไม่ หรือมีข้อสงสัย ข้อซักถาม เกี่ยวกับการปฏิบัติตาม มาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น ให้พนักงานหารือผู้ร่วมงาน ปรึกษาผู้บังคับบัญชาตามล�ำดับขั้น หรือขอค�ำแนะน�ำจากเลขานุการ บริษัทกรรมการผู้จัดการ หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้ได้ความกระจ่าง และสามารถด�ำเนินการต่าง ๆ ได้อย่างความมั่นใจ ถูกต้องและโปร่งใสได้โดยตรงในทุกกรณี ทั้งในสถานการณ์ปกติหรือกรณีเร่งด่วน

การรักษาความลับและมาตรการคุ้มครอง

เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียนที่กระท�ำโดยเจตนาสุจริต บริษัทจะปกปิดข้อมูลที่สามารถระบุ ตัวผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียน โดยจ�ำกัดให้รู้ได้เฉพาะผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการด�ำเนินการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนหรือเป็นการ เปิดเผยตามหน้าที่ที่กฎหมายก�ำหนดเท่านั้น คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารหรือกรรมการผูจ้ ดั การบริษทั ย่อย (แล้วแต่กรณี)มีหน้าทีใ่ นการใช้ดลุ ยพินจิ สั่งการตามที่เห็นสมควร เพื่อคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียน พยานและบุคคลที่ให้ข้อมูลในการตรวจสอบหาข้อเท็จจริง โดย ค�ำนึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้น

การตรวจสอบข้อเท็จจริง

เมือ่ บริษทั ได้รบั แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนไม่ว่าจากภายในหรือภายนอก บริษทั จะตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง ซึง่ ประกอบด้วยผูบ้ ริหารระดับผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายหรือผูจ้ ดั การแผนกจากหน่วยงานทีไ่ ม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับเรือ่ งร้องเรียน หน่วยงานต้น เรื่องของผู้ถูกร้องเรียน และหน่วยงานทรัพยากรบุคคล เพื่อท�ำการพิจารณารายละเอียดข้อเท็จจริงและหลักฐานต่าง ๆ ในกรณีที่มีการร้องเรียนกรรมการบริษัทหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบจะท�ำหน้าที่เป็นคณะ กรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง หากมีเหตุอันควรเชื่อว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระท�ำการทุจริตจริง บริษัทจะแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหารับทราบและให้สิทธิพิสูจน์ โดย หาข้อมูลหรือหลักฐานแสดงความบริสุทธิ์มาแสดงต่อคณะกรรมการฯ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง มีหน้าที่รายงานข้อเท็จจริงทั้งหมดต่อกรรมการผู้จัดการบริษัทย่อย ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ หรือคณะกรรมการบริษัท ตามความเหมาะสมของเรื่องร้องเรียนที่เกิดขึ้น

การลงโทษและการแจ้งผลการด�ำเนินการ

1. การลงโทษพนักงานที่กระท�ำผิด ให้เป็นไปตามระเบียบการลงโทษทางวินัยของบริษัท และ/หรือโทษทางกฎหมาย ซึ่ง การลงโทษจะพิจารณาจากเจตนาของการกระท�ำ และความร้ายแรงของความผิดนั้น ๆ 2. หากกรณีผกู้ ระท�ำผิดเป็นกรรมการบริษทั หรือประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ให้คณะกรรมการตรวจสอบหารือร่วมกับประธาน กรรมการบริษทั ในการพิจารณาก�ำหนดโทษตามทีเ่ ห็นสมควรและ/หรือให้ดำ� เนินการตามกฎ ระเบียบว่าด้วยแนวทางการปฏิบตั ขิ อง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ� หนดบทลงโทษทางวินยั หาก 60

ANNUAL

REPORT 2016


มีการฝ่าฝืนซึ่งเริ่มตั้งแต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชั่วคราวโดยไม่ได้รับค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน ซึ่งการลงโทษจะ พิจารณาจากเจตนาของการกระท�ำและความร้ายแรงของความผิดนั้นๆ 3. กรณีที่สามารถติดต่อผู้ให้เบาะแสหรือผู้ร้องเรียนได้ บริษัทจะแจ้งผลการด�ำเนินการให้ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร

นโยบายการสือ่ สารและการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับนโยบายและมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่

เพื่อให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัท และสาธารณชน ได้รับทราบนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น และมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่นของบริษัทอย่างทั่วถึง บริษัทจึงก�ำหนดช่องทางในการสื่อสารและเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน ไว้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ดังนี้ 1. การสื่อสารและการเปิดเผยข้อมูลภายในองค์กร • ติดประกาศตามบอร์ดประชาสัมพันธ์ของบริษัทและบริษัทย่อย • เผยแพร่ใน intranet ของบริษัท • จัดการฝึกอบรมให้พนักงานทุกคน อย่างต่อเนื่อง • การจัดกิจกรรม หรือรณรงค์ร่วมกันระหว่างพนักงาน ผู้บริหาร โดยมีการสอดแทรกวัตถุประสงค์สนับสนุนแนว นโยบาย และมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. การสื่อสารและการเปิดเผยข้อมูลภายนอกองค์กร • เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์บริษัท • รายงานการเปิดเผยข้อมูลประจ�ำปี (56-1) รายงานประจ�ำปี (56-2) • การแจ้งโดยจดหมาย การจัดประชุมชี้แจงให้ ลูกค้า คู่ค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัททุกฝ่ายทราบ เกี่ยวกับนโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างสม�่ำเสมอ • จัดท�ำสัญลักษณ์ หรือสือ่ ใด ๆ ทีแ่ สดงถึง แนวนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ บนสิง่ ของเพือ่ ให้แก่ลกู ค้า หรือคู่ค้า เช่น ในช่วงเทศกาลต่าง ๆ หรือในโอกาสทางธุรกิจ หรือในการส่งเสริมการขายของบริษัท บริษัทจะเปิดเผยและแลกเปลี่ยนนโยบายภายใน ประสบการณ์ แนวปฏิบัติที่ดีและ แนวทางความส�ำเร็จในการสนับสนุน ให้เกิดการท�ำรายงานทางธุรกิจอย่างมีคุณธรรม ถูกต้องและโปร่งใสในประเทศไทย โดยการสนับสนุนให้มีการริเริ่มโครงการระดับ ประเทศเพื่อสร้างเงื่อนไขในการแข่งขันที่เป็นธรรม โปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงให้มั่นใจว่ามีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนีบ้ ริษทั จะมีสว่ นร่วมในการเสวนา และร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการประชุมต่าง ๆ เพือ่ สร้างความเข้าใจ ในข้อกังวลและปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่มีผลต่อธุรกิจเอกชนเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ สุจริตและความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทจะร่วมมือกับบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน คู่ค้า และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่น ๆ โดยการสร้างแนวร่วมปฏิบัติ และการ เข้าร่วมในกิจกรรมต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น ดังนี้ • บริษทั จะร่วมแบ่งปันแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี และกรอบความคิดเพือ่ มุง่ หวังให้ทกุ องค์กรทีเ่ ป็นแนวร่วมปฏิบตั ไิ ด้นำ� ไปใช้ เพื่อช่วยกันบรรลุเป้าหมายตามโครงการ • บริษัทจะเข้าร่วม Integrity Pacts กับองค์กรอื่น และหน่วยงานภาครัฐ ในการประมูลและจัดซื้อสิ่งของ วัตถุดิบ อุปกรณ์และการก่อสร้าง • บริษัทจะร่วมมือและร่วมคิดเพื่อพัฒนาจรรยาบรรณธุรกิจที่สามารถใช้ได้กับทุกองค์กร และเป็นที่ยอมรับจาก ทุกองค์กรที่เข้าร่วมโครงการ • บริษทั จะร่วมในการสร้างมาตรการและระบบตรวจสอบเพือ่ ส่งเสริมความโปร่งใส ซือ่ สัตย์ สุจริต ในการประกอบ ธุรกิจ • บริษทั จะร่วมมือกับภาคประชาสังคม และสือ่ ในการสร้างจิตส�ำนึกและการให้การศึกษาแก่สาธารณะ เพือ่ เปลีย่ น ค่านิยมไปสู่การต่อต้านและการประฌามการทุจริตในทุกรูปแบบ • บริษัทจะสนับสนุนการพัฒนาโครงการตรวจสอบและรับรองการปฏิบัติตามโครงการ พร้อมทั้งมีการจัดการฝึก อบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ให้ค�ำปรึกษาและผู้ตรวจสอบ เพื่อเป็นแนวทางให้กับบริษัทที่เข้าร่วมโครงการในการ ด�ำเนินธุรกิจตามหลักจริยธรรม และยกระดับกระบวนการนี้ให้อยู่ในวัฒนธรรมองค์กรเพื่อส่งเสริมความยั่งยืน ของโครงการแนวร่วมปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริตในภาคเอกชนไทย • บริษัทให้มีการตรวจสอบและรับรองโดยคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริต ทุก 3 ปี ANNUAL REPORT 2016

61


ช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน

บริษทั ฯ ก�ำหนดช่องทางในการติดต่อและรับเรือ่ งร้องเรียนไว้บนเว็บไซด์และรายงานประจ�ำปี โดยสามารถแจ้งเบาะแสหรือ ข้อร้องเรียน ดังนี้ ทางอีเมล์ นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล กรรมการอิสระ Pramote.t@pcsholding.com นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ กรรมการอิสระ Veerachai.c@pcsholding.com นางศรีไทย เหมโสรัจ กรรมการอิสระ Srithai.h@pcsholding.com นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Prasong.a@pcsholding.com นายพชร ทนงเกียรติศักดิ์ กรรมการผู้จัดการ PCW Potchara.t@pcsholding.com นายหัสพงศ์ วาริพันธ์วรกุล กรรมการผู้จัดการ PCD,PCF Hassapong.v@pchholding.com ทางไปรษณีย์ 1. บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด เลขที่ 2/1-4 หมู่ 3 ต�ำบลโคกกรวด อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30280 2. บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด เลขที่ 2/5,2/6 หมู่ 3 ต�ำบลโคกกรวด อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30280 3. บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด เลขที่ 2/8หมู่ 3 ต�ำบลโคกกรวด อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30280

ผลการด�ำเนินงานด้านการต่อต้านการคอร์รัปชั่น

ปี 2558 ปี 2559

62

• บริษัทได้เข้าร่วมการประกาศเจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต • จัดประชุมผู้ส่งมอบ (Supplier Meeting) ขยายแนวร่วมและประกาศแจ้งให้คู่ค้าทราบนโยบายการต่อต้านการคอร์รัปชั่น • ร่วมกิจกรรมแนวร่วมภาคประชาชนต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ จังหวัดนครราชสีมา ในการประกาศเจตนารมณ์ รณรงค์ตอ่ ต้าน คอร์รัปชั่นในทุกรูปแบบ ในวันต่อต้านคอร์รัปชั่นแห่งประเทศไทย วันที่ 9 กันยายน 2558 • บริษทั ได้ยดึ มัน่ และปฏิบตั ติ ามนโยบายการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ โดยได้จดั ฝึกอบรมให้กบั พนักงานทุกคนเพือ่ ให้เกิดความ เข้าใจและพัฒนาความรู้ ผู้บริหารของบริษัทฯ • ประชาสัมพันธ์ข่าวสารไปยังคู่ค้า ผู้ส่งมอบ เรื่องนโยบายการต่อต้านการคอร์รัปชั่น • ร่วมกิจกรรมแนวร่วมภาคประชาชนต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ จังหวัดนครราชสีมา ในการประกาศเจตนารมณ์ รณรงค์ตอ่ ต้าน คอร์รัปชั่นในทุกรูปแบบ ในวันต่อต้านคอร์รัปชั่นแห่งประเทศไทยติดต่อกันเป็นปีที่ 2

ANNUAL

REPORT 2016


ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงความยั่งยืน โดยด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ค�ำนึงถึงประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และยึดมั่นการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน รวมทั้งการเข้าร่วมประกาศ เจตนารมณ์ตอ่ ต้านการคอรัปชัน่ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ในการพัฒนาส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวติ ของสังคมและชุมชน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งชุมชนใกล้เคียงให้มีคุณภาพดีขึ้นพร้อม ๆ ไปกับการเติบโตของบริษัทฯเป็นผลให้บริษัทฯ ได้รับการพิจารณาจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยน�ำบริษัทฯ เข้าเป็น 1 ใน 51 รายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” (Thailand Sustainability Investment หรือ THSI) ประจ�ำปี 2559

ด้านสังคม ชุมชน และส่วนราชการ

บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคม โดยในปี 2559 บริษัทฯ ได้ร่วมสนับสนุน กิจกรรม ต่าง ๆ ได้แก่ 1. บริษัทฯ มีส่วนในการสร้างงานให้กับคนในพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 86 2. สนั บ สนุ น โครงการพั ฒ นาบุ ค ลากรเข้ า สู ่ อุ ต สาหกรรมด้ ว ยความร่ ว มมื อ กั บ วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค นครราชสี ม าและ วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ในโครงการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี โดยในปีการศึกษา 2559 เป็นรุ่นแรก มีนักศึกษา เข้าเรียนรู้ฝึกงาน ในโครงการจ�ำนวน 72 คน และจะจบการศึกษาในเดือนเมษายน 2560 นี้ 3.สนั บ สนุ น การพั ฒ นา และต่ อ ยอดด้ า นการศึ ก ษา โดยเปิ ด ให้ นั ก ศึ ก ษาเข้ า ศึ ก ษาดู ง านในสายการผลิ ต 5 รุ ่ น จ�ำนวน 313 คน จาก 3 สถาบันการศึกษา 4. ร่วมกิจกรรมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม รวมทั้งกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นใน เขตต�ำบลโคกกรวด จ�ำนวน 5 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมรดน�้ำขอพรเทศกาลสงกรานต์ กิจกรรมปลูกป่า กิจกรรมคลองสวยน�้ำใส และร่วมท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาในโครงการธนาคารบุญถวายเทียนพรรษาแก่วัดใน เขตต�ำบลโคกกรวด 5. ด�ำเนินโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อน้องต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 โดยมอบเครื่องคอมพิวเตอร์จ�ำนวน 30 เครื่อง ให้กับ 4 โรงเรียน ในเขตจังหวัดนครราชสีมา 6. มอบทุนการศึกษาให้กบั โครงการห้องสมุดอุตสาหกรรม ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยและสภาอุตสาหกรรม จังหวัดนครราชสีมาตลอดจนร่วมสนับสนุนชุดกีฬาให้แก่เยาวชนในนามทีมราชสีห์ เอฟซี 7. ร่วมกับอุตสาหกรรมจังหวัดส�ำนักงานสวัสดิการคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครราชสีมา และวิสาหกิจชุมชนจังหวัด อุบลราชธานี สนับสนุนผลิตภัณฑ์ข้าวเพื่อแจกให้กับลูกค้าและพนักงานรวมจ�ำนวน 16.5 ตัน 8. จัดพื้นที่ภายในบริษัทเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวนาได้เข้ามาจ�ำหน่ายข้าวสารให้พนักงาน 9. สนับสนุนกลุ่มผ้าไหมทอมือบ้านหลุ่งประดู่ อ�ำเภอห้วยแถลง ในการทอผ้าคลุมไหล่ และกลุ่มผ้าไหม อ�ำเภอปักธงชัย ในผลิตภัณฑ์เนคไทจากผ้าไหม เพื่อเป็นของขวัญมอบให้กับลูกค้าในโอกาสต่าง ๆ

ด้านการดูแลพนักงาน

พนักงาน เป็นปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของการบรรลุเป้าหมายของบริษัทฯ และเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง บริษัทฯส่งเสริมให้ พนักงานได้พัฒนาตนเองไปสู่ความมั่นคงและความก้าวหน้า ให้เกิดศักยภาพในการพัฒนาอย่างมืออาชีพ อีกทั้งยังได้สนับสนุนให้ พนักงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม ผ่านแนวคิดองค์กรแห่งความสุข 8 ประการ หรือ Happy work place ภายใต้ ค�ำนิยาม Work Life Balance ความสมดุลระหว่างชีวิตและการท�ำงาน ในรูปแบบของคณะกรรมการ อีกทั้งยังให้พนักงานได้เข้าไป มีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมของบริษัทอยู่อย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ บริษทั ได้สนับสนุนทีมฟุตบอลของพนักงาน ด้วยการส่งเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอล 6 คน รายการ “มิตรภาพคัพ” ซึ่งมีองค์กรชั้นน�ำในจังหวัดนครราชสีมาเข้าร่วมแข่งขันรวม 24 ทีม จนทีมฟุตบอลตัวแทนของบริษัทฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศ

ANNUAL REPORT 2016

63


ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ในแต่ละวันบริษัทฯ ใช้กระแสไฟฟ้าในกระบวนการผลิตมากกว่า 80,000 KWh มีการด�ำเนินกิจกรรมลดการใช้ไฟฟ้ามา อย่างต่อเนื่อง ในปี 2559 นี้ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop) ขนาด 5 MWdc. เพื่อใช้ภายใน บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด จ�ำนวน 8 อาคาร คิดเป็นพื้นที่มากกว่า 29,000 ตาราง เมตร สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 21,000 KWh. ต่อวัน เริ่มเปิดใช้งานเมื่อเดือนกรกฎาคม 2559 คาดว่าจะสามารถลดค่าใช้จ่าย ด้านพลังงานไฟฟ้าได้มากกว่าปีละ 20-25 ล้านบาทและบริษทั ฯ ยังเปิดโอกาสให้ผสู้ นใจทัง้ ภาครัฐและเอกชนได้เข้ามาดูงานโครงการ โดยในปี 2559 มีผู้เข้าเยี่ยมชมโครงการจ�ำนวน 10 คณะ รวม 152 คน บริษัทฯ ขอขอบคุณผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ตลอดจนผู้บริหารและพนักงานทุกท่านที่ให้การสนับสนุนการด�ำเนินกิจการ ของบริษทั ฯในด้านต่าง ๆ จนประสบความส�ำเร็จด้วยดีเสมอมา บริษทั จะมุง่ มัน่ ด�ำเนินธุรกิจต่อไปอย่างโปร่งใส ภายใต้การก�ำกับดูแล กิจการที่ดี เพื่อสร้างการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ยังประโยชน์สูงสุดแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างสม�่ำเสมอต่อไป หมายเหตุ : รายละเอียดผลการด�ำเนินงานความรับผิดชอบต่อสังคมน�ำเสนอใน “รายงานความรับผิดชอบต่อสังคมประจ�ำปี 2559“ หน้า 148 - 175

64

ANNUAL

REPORT 2016


ระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 1.ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการจัดการระบบควบคุมภายในที่ดีเพื่อเป็นการสนับสนุนให้การด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย (“กลุม่ บริษทั ”) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษทั จัดให้กลุม่ บริษทั มีระบบควบคุมภายใน ที่ครอบคลุมทุกด้าน ทั้งด้านการเงิน และการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง และจัดให้มีกลไก การตรวจสอบและถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการปกป้องดูแลรักษาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทอยู่เสมอ จัดให้มีการก�ำหนด ล�ำดับขั้นของอ�ำนาจอนุมัติ และความรับผิดชอบของผู้บริหารและพนักงานที่มีการตรวจสอบและถ่วงดุลในตัว ก�ำหนดระเบียบการ ปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร มีหน่วยงานตรวจสอบภายในที่เป็นอิสระ ท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหน่วย งานให้เป็นไปตามระเบียบที่วางไว้ รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของการควบคุมภายในของหน่วยงานต่างๆ ใน กลุม่ บริษทั คณะกรรมการของบริษทั ฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ท�ำหน้าทีส่ อบทานให้กลุม่ บริษทั มีระบบการควบคุม ภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลสอดคล้องกับแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลัก มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุมเพียงพอ เพื่อ ป้องกันการทุจริตที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทย่อย รวมทั้งควรให้บริษัทย่อยจัดให้มีระบบงานที่ชัดเจน เพื่อแสดงได้ว่า บริษัทย่อยมีระบบ เพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล การท�ำรายการที่มีนัยส�ำคัญตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดได้อย่างต่อเนื่องและน่าเชื่อถือ และมีช่องทางให้ กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ สามารถได้รับข้อมูลของบริษัทย่อยในการติดตามดูแลผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน การ ท�ำรายการระหว่างบริษัทย่อยกับกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่อย และการท�ำรายการที่มีนัยส�ำคัญของบริษัทย่อยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ต้องจัดให้บริษัทย่อยมีกลไกในการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวในบริษัทย่อย โดยให้ทีมงานผู้ตรวจสอบ ภายในและกรรมการอิสระของบริษัทฯ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง และให้มีการรายงานผลการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวให้ กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า บริษัทย่อยมีการปฏิบัติตามระบบงานที่จัดท�ำไว้อย่างสม�่ำเสมอ จากการที่บริษัทฯ เป็นบริษัทที่จัดตั้งใหม่และด�ำเนินธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นของบริษัทอื่น การพิจารณาระบบการ ควบคุมภายในจึงเป็นการพิจารณาถึงระบบการควบคุมภายในที่ใช้อยู่ของบริษัทย่อยของบริษัทฯ โดยมีกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ 3 ท่าน เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการได้ประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทย่อยทั้ง 3อัน ประกอบด้วย บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด (“PCW”) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จ�ำกัด (“PCD”) และ บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จ�ำกัด (“PCF”) โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร และอ้างอิงจากรายงานผลการตรวจสอบภายในของ PCW, PCD และ PCF ที่ตรวจสอบและจัดท�ำโดยบริษัท พีแอนด์แอล อินเทอร์นอล ออดิท จ�ำกัด ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2559 ถึง ครั้ ง ที่ 4 เมื่ อ วั น ที่ 6 ตุ ล าคม 2559 ซึ่ ง ตรวจสอบเกี่ ย วกั บ ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท ย่ อ ย ทั้ง 3 บริษัท ในเรื่องของ 1. การบริหารงานจัดซื้อ จัดจ้าง 2. การบริหารงานจัดการงานจัดส่ง 3. การบริหารสินค้าคงเหลือ 4. การบริหารสินทรัพย์ถาวร ภายหลังการประเมินแล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่า กลุม่ บริษทั มีระบบควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม รวมทัง้ มี ระบบการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานทีจ่ ะสามารถป้องกันทรัพย์สนิ จากการทีผ่ บู้ ริหารน�ำไปใช้โดยมิชอบหรือโดยไม่มอี ำ� นาจ ได้

2. ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้จดั ให้มกี ารว่าจ้างบริษทั พีแอนด์แอล อินเทอร์นอล ออดิท จ�ำกัด (P&L) ซืงึ่ เป็นบริษทั ทีใ่ ห้บริการ ด้านการตรวจสอบภายในโดยที่ P&L ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียใดๆ กับบริษัท เพื่อเป็นการตรวจสอบภายในเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้พิจารณาแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี รายงานผลการตรวจสอบภายใน ติดตามผลการตรวจสอบภายในกับฝ่ายบริหารอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งให้ค�ำแนะน�ำและแนวทางในการตรวจสอบภายใน จากรายงานการตรวจสอบภายในบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษทั มีความเหมาะสม และเพียงพอ ANNUAL REPORT 2016

65


3. การบริหารจัดการความเสี่ยง ฝ่ายจัดการประเมินความเสี่ยงของปัจจัยต่างๆ ในปี 2559 พร้อมทั้งก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงานเพื่อตอบสนองความ เสี่ยงจากการประเมินในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 3.1 ความเสี่ยงจากสภาวะเศรษฐกิจโลกต่อการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ การออกจากสหภาพยุโรปของอังกฤษ และปัญหาในตะวันออกกลางอาจส่งผลในทางลบต่อยอดการส่งออกรถยนต์ในภาพ รวม ซึง่ จะเป็นการซ�ำ้ เติมสถานการณ์เศรษฐกิจภายใน มีความเสีย่ งทีล่ กู ค้าจะปรับลดค�ำสัง่ ซือ้ ลงอีก มาตรการควบคุมค่าใช้จา่ ยและ ลดต้นทุนการผลิตยังคงเป็นมาตรการส�ำคัญที่ต้องด�ำเนินต่อไปอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่อง 3.2 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบอลูมิเนียม ตั้งแต่ต้นปี 2559 เป็นต้นมา ราคาวัตถุดิบอลูมิเนียมมีสัญญาณปรับตัวขึ้นอย่างช้าๆ เนื่องจากภาวะขาดแคลน Scrap ใน ตลาด ฝ่ายจัดการเห็นสมควรทยอยเพิ่มปริมาณการจัดเก็บวัตถุดิบขึ้นตามความเหมาะสม และจะได้ด�ำเนินการเร่งรัดมาตรการลด ต้นทุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการลดอัตราของเสียอย่างเข้มงวด ให้เป็นไปตามแผนที่ก�ำหนด 3.3 ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ในครึ่งหลังของปี 2559 นี้ คาดว่าเงินเยนมีแนวโน้มแข็งค่ามากขึ้น อาจมีผลให้ค่าใช้จ่ายในการน�ำเข้าวัตถุดิบเหล็กสูงขึ้น ฝ่ายการเงินได้มีการเฝ้าระวังและติดตามการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินและอัตราแลกเปลี่ยนอย่างใกล้ชิดและสม�่ำเสมอ 3.4 ความเสี่ยงจากการที่ลูกค้าขอความร่วมมือลดราคาชิ้นส่วน จากสถานการณ์ยอดการจ�ำหน่ายรถยนต์ในประเทศลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ลกู ค้าขอความร่วมมือลดราคา ชิน้ ส่วนมาก ขึน้ ทัง้ นีน้ อกจากการขอให้ปรับปรุงกระบวนการผลิตแล้ว ยังขอความร่วมมือลดราคาโดยตรงในชิน้ ส่วน หรือขอส่วนลดโดยรวม ภาย ใต้สภาวะการแข่งขันสูงและรุนแรง บริษทั ฯ มีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้าดังกล่าว ซึง่ จะส่งผลกระทบ โดยตรงต่ออัตราก�ำไรบริษัทฯ จะลดลงกว่าที่ประมาณการ มาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายและลดต้นทุนการผลิตจึงยังคงเป็นมาตรการ ส�ำคัญที่ต้องด�ำเนินต่อไปอย่างเคร่งครัด 3.5 ความเสี่ยงจากแนวโน้มที่ลดลงทั้งการขายและการผลิตของรถกระบะ 1 ตัน ปี 2559 จะเห็นว่ายอดการจ�ำหน่ายในประเทศและยอดการผลิตรถกระบะ 1 ตัน ทัง้ ตอนเดียว สองตอน และกระบะดัดแปลง มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องทุกไตรมาส และอาจจะทรงตัวหรือลดลงอีกเล็กน้อยต่อเนื่องไปในปี 2560 มีความเสี่ยงที่จะกระทบต่อ รายได้จากการขายของบริษัท ซึ่งมีสัดส่วนรายได้จากการขายชิ้น ส่วนรถกระบะ 1 ตัน สูงมากกว่าร้อยละ 90 บริษัทฯ จึงจ�ำกัดการ ลงทุนในกลุ่มชิ้นส่วนนี้ และเร่งขยายฐานชื้นส่วนออกไปยังกลุ่มอื่นนอกเหนือจากรถกระบะ 1 ตัน เช่น รถยนต์นั่ง, รถมอเตอร์ไซค์ ขนาดใหญ่ และชิ้นส่วนนอกกลุ่มยานยนต์อื่นๆ เช่น เครื่องจักรกลการเกษตร เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น 3.6 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีไปสู่ยานยนต์สมัยใหม่ ปัจจุบนั เป็นช่วงระยะเวลาของการเปลีย่ นผ่านเทคโนโลยียานยนต์จากเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในไปสูย่ านยนต์สมัยใหม่ หรือ ยานยนต์ไฟฟ้า ทัง้ โดยปัจจัยราคาและการหมดไปของน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ตลอดจนกระแสการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม กลุม่ ประเทศทีพ่ ฒ ั นา แล้วในทุกมุมโลกประกาศนโยบายชัดเจนในการมุง่ ไปสูย่ านยนต์สมัยใหม่ บริษทั ฯ มีสดั ส่วนรายได้จากการขายกว่าร้อยละ 93 มาจาก เครื่องยนต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องยนต์ดีเซล บริษัทฯ จึงจ�ำกัดการลงทุนในกลุ่มชิ้นส่วนนี้ และเร่งขยายฐานชิ้นส่วนออกไปยังกลุ่ม อืน่ นอกเหนือจากชิน้ ส่วนเครือ่ งยนต์ เช่น ชิน้ ส่วนส่งก�ำลัง เบรก ชิน้ ส่วนส�ำหรับยานยนต์สมัยใหม่ และชิน้ ส่วนนอกกลุม่ ยานยนต์อนื่ ๆ เช่น เครื่องจักรกลการเกษตร เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เป็นต้น

66

ANNUAL

REPORT 2016


ผู้สอบบัญชี ในปี 2559 ผู้สอบบัญชีจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด (KPMG) ได้ปฏิบัติงานตรวจสอบงบแสดงฐานะการ เงินและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ให้กับบริษัทฯ โดยมีผลการปฏิบัติงานเป็นที่น่าพอใจ และผู้สอบบัญชีทั้ง 3 คน คือ 1. นางมัญชุภา สิงห์สุขสวัสดิ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 6112 2. นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4068 3. นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4195 แห่งบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด (KPMG) มีคุณสมบัติไม่ขัดกับหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ มีค่าตอบแทนการสอบบัญชีประจ�ำปี 2559 จ�ำนวน 1,200,000 บาท และผู้สอบบัญชีไม่ได้ให้บริการอื่น ๆ แก่บริษัทฯ และไม่มคี วามสัมพันธ์ และ/หรือการมีสว่ นได้เสียกับบริษทั /บริษทั ย่อย/ ผูบ้ ริหาร/ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับบุคคลดังกล่าว แต่อย่างใด

ANNUAL REPORT 2016

67


รายการระหว่างกัน นโยบายการท�ำรายการระหว่างกัน

บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการพิจารณารายการต่างๆ อย่างโปร่งใสและเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ เป็นที่ส�ำคัญ ดังนั้นจึงให้ ความส�ำคัญต่อการป้องกันรายการที่อาจเป็นความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างกันโดยมี นโยบายซึ่งสรุปได้ดังต่อไปนี้ - ผู้บริหารและพนักงานต้องปฏิบัติตามจรรยาบรรณของบริษัทฯ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ส�ำคัญที่ต้องยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด เพื่อเป็นที่เชื่อถือและไว้วางใจของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และจัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลความเข้าใจในการถือปฏิบัติของ พนักงานทั่วทั้งบริษัท - กรรมการบริษัทและผู้บริหารต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบถึงความสัมพันธ์หรือรายการที่เกี่ยวโยงในกิจการที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - มีการน�ำเสนอรายการที่เกี่ยวโยงกันต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นก่อนเสนอขออนุมัติต่อ คณะกรรมการบริษัท ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และดูแลให้มีการปฎิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและส�ำนักคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด

นโยบายการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์

คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการที่ว่าพนักงาน ทุกคนต้องปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั เท่านัน้ และไม่ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน รวมทัง้ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับบุคคล ดังกล่าว แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวที่ขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ และหลีกเลี่ยงการกระท�ำที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ นอกจากนี้ยังได้ก�ำหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณา ต้องแจ้งบริษัทฯ ทราบถึงความสัมพันธ์หรือการเกี่ยว โยงของคนในรายการดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสิน รวมถึงไม่มีอ�ำนาจอนุมัติในธุรกรรมนั้น ๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ซึ่งได้กระท�ำอย่างยุติธรรม ตามราคาตลาดและเป็นไปตามปกติธุรกิจการค้า ซึ่งมีการพิจารณาความเหมาะสม อย่างรอบคอบ รวมทั้งบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างเคร่งครัดในเรือ่ งการก�ำหนดราคาและเงือ่ นไขต่างๆกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ให้เสมือนท�ำรายการกับบุคคล ภายนอก โดยจะเปิดเผยการท�ำรายการไว้ในงบการเงิน รายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1 ) ด้วย

68

ANNUAL

REPORT 2016


รายการซื้อระหว่างกันส�ำหรับปี 2559 ชื่อ (ลักษณะความสัมพันธ์)

ลักษณะรายการ

1. บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน (ไทยแลนด์) จำกัด - บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ นคา่ ซื้อสินคาและบริ การ ้ - วัตถุดิบ - JIG & Fixture - เครื่องมือและอุปกรณ์ - คาบริ ่ การชุบ&Painting - คาบริ ่ การเจียร และ ซอม ่ - คาบริ ก าร Machining ่ - คาแม ่ พิ่ มพ์ 2. บริษัท เอสดับบลิวเอส มอเตอรส์ จำกัด - บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาซื การ ่ ้อสินคาและบริ ้ - คาบริ ่ การทำสี Parco - คาอะไหล และบริ การซอม ่ ่ ่ - คาบริ ก าร Regrinding & coating ่ - คา่ Tooling - คา่ JIG & Fixture - คาวั ่ สดุ / อุปกรณ์ 3. บริษัท เอส.ดับบลิว แอนด์ ซันส์ จำกัด

4. บริษัท พีซีเอส-นิสซิน จำกัด

5. บริษัท โคราชมัตซึชิตะ จำกัด

6. บริษัท พี.ซี.เอส.คาลิเบรชั่น แล็บ จำกัด

REPORT 2016

ของกระบวนการผลิตตามที่ลูกค้าก�ำหนดเพื่อ ผลิตและขายผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้า เช่น ซื้อ jig ค่าบริการชุบชิ้นงาน ค่าบริการเคลือบผิวเหล็ก ด้วย EDP ชนิดพ่น บริการเจียร์งาน ซื้อวัตถุดิบ ซื้ออุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงาน ฯลฯ

6.98 4.26 3.68 9.04 0.04 4.59 0.20 7.87 - เป็นรายการซื้อสินค้าและบริการที่มีลักษณะ เฉพาะ เช่น การชุบ Coating,Parco ในชิ้นส่วน 2.41 ยานยนต์

0.17 3.80 0.75 0.30 0.44

- บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาซื ่ ้อสินคา้ - เครื่องจักรและอุปกรณ์ - เครื่องมือและอุปกรณ์ - วัสดุสิ้นเปลืองโรงงาน

2.12 - เป็นรายการซื้อเครื่องจักรและวัสดุสิ้นเปลืองใน

- บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาซื การ ่ ้อสินคาและบริ ้ - วัตถุดิบ - คาบริ ่ การ Wire cut - บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาซื การ ่ ้อสินคาและบริ ้ - วัตถุดิบ

0.76 - เป็นรายการซือ้ สินค้าและบริการทีเ่ ป็นส่วนหนึง่

- บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาซื ่ ้อบริการ - คาบริ ่ การสอบเทียบ / ซอมเครื ่ ่องมือวัด 7. บริษัท แฟคตอรี่ แอนด์ ออฟฟิช ซัพพลาย - บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาซื จำกัด ่ ้อบริการ - คาอุ ่ ปกรณ์คอมพิวเตอร์, บริการ ANNUAL

28.79 - เป็นรายการซือ้ สินค้าและบริการทีเ่ ป็นส่วนหนึง่

โรงงานทัว่ ไปมีการเปรียบเทียบราคาและเงือ่ นไข 1.47 ตามธุรกิจปกติกับผู้ขายรายอื่น

0.51 0.14

ของกระบวนการผลิตเพือ่ ผลิตและขายผลิตภัณฑ์ 0.71 ให้กับลูกค้า

0.05

0.01 - เป็นรายการซือ้ สินค้าและบริการทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการผลิตเพือ่ ผลิตและขายผลิตภัณฑ์ 0.01 ให้กับลูกค้า

7.92 - เป็นรายการค่าบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด 7.92 0.83 - เป็ น รายการซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก ารเกี่ ย วกั บ อุปกรณ์ส�ำนักงาน, อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ 0.83 ระบบเครือข่าย

69


ชื่อ (ลักษณะความสัมพันธ)์ 8. บริษัท พี.ซี.เอส.เอสเตท จำกัด

9. บริษัท ไฮแลนด์ กอล์ฟ จำกัด

ลักษณะรายการ - บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาสาธารณู ปโภค ่ - คาเช ่ า่ - คาสาธารณู ปโภค ่ - บริษัทและบริษัทยอยจ ่ ายเงิ ่ น คาบริ ่ การใช้สนามกอล์ฟ - คาบริ ์ฟ ่ การใชสนามกอล ้

รวมรายการซื้อระหว่างกันกิจการอื่น

26.09 - เป็นรายการค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าบ้านพัก และ บริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ค่าน�้ำ ค่า 18.64 บริการส่วนกลาง และ ค่าบ�ำบัดน�้ำเสีย ฯลฯ

7.45

0.05 - เป็นรายการค่าบริการใช้สนามกอล์ฟ 0.05 74.43

รายการขายระหว่างกันส�ำหรับปี 2559 ชื่อ (ลักษณะความสัมพันธ)์

70

ลักษณะรายการ

1. บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน (ไทยแลนด์) จำกัด - บริษัทและบริษัทย่อยรับเงิน ค่าซื้อสินค้าและบริการ - สินค้า

2.68 - เป็นรายการขายสินค้าปกติในลักษณะโครงการ

2. บริษัท เอสดับบลิวเอส มอเตอรส์ จำกัด

- บริษัทและบริษัทยอยรั ่ บเงิน คาซื การ ่ ้อสินคาและบริ ้ - สินคา้

0.09 - เป็นรายการขายสินค้าปกติในลักษณะโครงการ

3. บริษัท เอส.ดับบลิว แอนด์ ซันส์ จำกัด

- บริษัทและบริษัทยอยรั ่ บเงิน คาซื การ ่ ้อสินคาและบริ ้ - สินคา้

6.99 - เป็นรายการขายสินค้าปกติในลักษณะโครงการ

4. บริษัท เอส.ดับบลิว แอนด์ ซันส์ (ไทยแลนด์) จำกัด

- บริษัทและบริษัทย่อยรับเงิน ค่าซื้อสินค้าและบริการ - สินค้า

5.83 - เป็นรายการขายสินค้าปกติในลักษณะโครงการ

ที่ตกลงกันในอดีตเมื่อเริ่มโครงการ โดย 2.68 สินค้าดังกล่าวเป็นชิ้นส่วน Non-Automotive

ที่ตกลงกันในอดีตเมื่อเริ่มโครงการ โดย 0.09 สินค้าดังกล่าวเป็นชิ้นส่วน Non-Automotive

ที่ตกลงกันในอดีตเมื่อเริ่มโครงการ โดย 6.99 สินค้าดังกล่าวเป็นชิ้นส่วน Non-Automotive

ที่ตกลงกันในอดีตเมื่อเริ่มโครงการ โดยสินค้าดัง 5.83 กล่าวเป็นชิ้นส่วน Non-Automotive และงานชุบ

รวมรายการซื้อระหวางกั ่ นกิจการอื่น

15.59

รวมรายการซื้อ - ขายระหวา่ งกันกิจการอื่น

90.02

ANNUAL

REPORT 2016


รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ของบริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)ประกอบ ด้วยกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร (Non-executive Director) จ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่ง 2 ใน 3 เป็นกรรมการอิสระ ได้แก่ นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ เป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน นายศิริพงษ์ รุ่งโรจน์กิติยศ และ นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล เป็นกรรมการฯ โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 3 ปี ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาฯ ชุดปัจจุบัน ได้รับการ แต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2557 ในปี 2559 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้จัดให้มีการประชุม 3 ครั้ง เพื่อพิจารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์ และนโยบายต่าง ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดังนี้ 1. พิจารณาสรรหากรรมการแทนกรรมการที่ลาออก โดยได้เสนอชื่อนายธิเบต รุ่งโรจน์กิติยศ ซึ่งเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมและไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการตลาดทุน ที่ ทจ. 24/2552 ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณา อนุมัติแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนายกุญชร เรามานะชัย กรรมการที่ลาออก โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2559 2. พิจารณาและเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งการก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 3. พิจารณาให้ความเห็นชอบการโยกย้ายและแต่งตั้งพนักงานระดับจัดการ 4. พิจารณาทบทวนอัตราค่าตอบแทนกรรมการ โดยเปรียบเทียบกับบริษัทจดทะเบียนที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน และที่มี ขนาดรายได้และก�ำไรใกล้เคียงกัน 5. พิจารณาอัตราการจ่ายเงินบ�ำเหน็จกรรมการ ประจ�ำปี 2559 6. พิจารณาและเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั เรือ่ ง งบประมาณการขึน้ ค่าจ้างและการจ่ายเงินรางวัลประจ�ำปี 2559 ส�ำหรับพนักงานและผู้บริหาร

ANNUAL REPORT 2016

(นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ) ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

71


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงิน เฉพาะกิจการ และงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี ซึ่ง งบการเงินส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 จัดท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบาย การบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ ใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่สมเหตุสมผลในการจัดท�ำ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้สามารถสะท้อนฐานะการเงิน ผลการด�ำเนิน งานและกระแสเงินสดได้อย่างถูกต้อง โปร่งใส เป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทัว่ ไป และได้ผา่ นการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึ่งให้ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข โดยในการตรวจสอบบริษัทได้ให้การ สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีและด�ำรงไว้ซึ่งระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการก�ำกับดูแลทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะด�ำรงรักษา ไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ และป้องกันความเสี่ยง ตลอดจนเพื่อไม่ให้เกิดการทุจริตหรือด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นอิสระทัง้ สิน้ เป็นผูด้ แู ลรับผิด ชอบการสอบทานนโยบายการบัญชี และรับผิดชอบเกีย่ วกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน การสอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลรายการเกี่ยวโยงระหว่างกันอย่างครบ ถ้วน เพียงพอ และเหมาะสม โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏอยู่ในรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดง ไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในโดยรวมของบริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม และ สามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้น สุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

72

(นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกุล) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ANNUAL

REPORT 2016


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่ง เป็นผู้มีประสบการณ์ในด้านการบริหารจัดการ บัญชี การเงิน การก�ำกับดูแลกิจการและการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ และนางศรีไทย เหมโสรัจ เป็นกรรมการตรวจสอบ ในรอบปีบญ ั ชี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเป็นอิสระ โดยได้ประชุมร่วมกับฝ่ายบริหาร ผูส้ อบบัญชี และผูต้ รวจสอบภายในตามวาระทีเ่ กีย่ วข้อง เป็นจ�ำนวนทัง้ สิน้ 4 ครัง้ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านจะปรากฏ อยูใ่ นตารางแสดงจ�ำนวนครัง้ การเข้าร่วมประชุมในส่วนการก�ำกับดูแลกิจการการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระส�ำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. การสอบทานการรายงานทางการเงิน • คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสอบทานงบการเงินและงบการเงินรวมของบริษทั ประจ�ำรายไตรมาสและงบการเงิน ประจ�ำปีร่วมกับฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี ก่อนน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท • ประชุมเป็นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชี และ/หรือ ผู้ตรวจสอบภายใน โดยไม่มีฝ่ายบริหารร่วมประชุมด้วย ส�ำหรับรายงานทางการเงินของบริษัทส�ำหรับรอบปีบัญชี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่ารายงานทางการเงินของ บริษัทได้จัดท�ำขึ้นอย่างถูกต้องเป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน และมีข้อมูลซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน 2. การสอบทานความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้จดั ให้มกี ารว่าจ้างบริษทั พีแอนด์แอล อินเทอร์นอล ออดิท จ�ำกัด (P&L) ซึง่ เป็นบริษทั ทีใ่ ห้บริการ ด้านการตรวจสอบภายใน โดยที่ P&L ไม่มีส่วนได้เสียใดๆ กับบริษัท เพื่อให้การตรวจสอบภายในเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้พิจารณาแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี รายงานผลการตรวจสอบภายในติดตาม ผลการตรวจสอบภายในกับฝ่ายบริหารอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งให้ค�ำแนะน�ำและแนวทางการตรวจสอบภายใน จากรายงานการตรวจสอบภายในของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษัทมีความ เหมาะสมและเพียงพอ 3. ความเหมาะสมของผู้สอบบัญชีของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้สังเกตการณ์การปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีจากบริษัท ส�ำนักงาน เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด โดยนางมัญชุภา สิงห์สุขสวัสดิ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6112 และ/หรือ นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4068 และ/หรือ นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4195 ซึ่งได้รับอนุมัติให้เป็นผู้สอบ บัญชีของบริษัทในการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าเป็นผู้สอบบัญชีมีความเป็นอิสระ เชี่ยวชาญในวิชาชีพ มีประสบการณ์เหมาะสม ปฏิบัติงานได้ผลเป็นอย่างดี และเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 4. รายการที่เกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีทเี่ กิดรายการเกีย่ วโยง หรือรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการดังกล่าวเห็นว่า มีความสมเหตุสมผลและเป็นรายการปกติทางธุรกิจ ไม่พบ รายการความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยเป็นไปตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างบริษัทและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ตามข้อ ก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ANNUAL REPORT 2016

73


5. การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ท�ำการตรวจสอบและสนับสนุนให้บริษัทมีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท อย่างเคร่งครัด ในรอบปีบัญชี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชี และฝ่ายบริหารได้พิจารณาและดูแล แนวทางการด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั และมีการริเริม่ วางแนวทางการปฏิบตั ใิ ห้เป็นลายลักษณ์ อักษร ตรวจสอบได้ และสามารถปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาแนวทางการด�ำเนินการของคณะกรรมการตรวจสอบให้มีความทันสมัย ทันต่อกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องมากทีส่ ดุ อีกทัง้ บริษทั ได้ทำ� การยืน่ ขอรับรองเรือ่ งการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ในโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition of the Private Sector Against Corruption(CAC))

74

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ANNUAL

REPORT 2016


การวิเคราะห์ฐานะการเงินและค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ขอแจ้งค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนิน งานส�ำหรับงวดปี 2559 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ดังนี้

ผลการด�ำเนินงาน รายงาน

ปี 2559

ปี 2558

เปลี่ยนแปลงรอ้ ยละ + / (-)

รายไดจ้ ากการขาย

3,707.2

4,092.3

(9.4)

ต้นทุนขาย

3,190.9

3,426.0

(6.9)

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

164.9

171.4

(3.8)

กำไรสุทธิสำหรับงวด

382.1

541.7

(29.5) (หน่วย : ล้านบาท)

รายได้

กลุ่มยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดเผยข้อมูลภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2559 ยังคงชะลอตัว มียอดจ�ำหน่ายรถยนต์ในประเทศ 768,788 คัน ลดลงร้อยละ 3.86 จากปี 2558 เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรยังอยู่ในระดับต�่ำ หนี้สิน ภาคครัวเรือนอยูใ่ นระดับสูง และผลกระทบต่อเนือ่ งจากนโยบายรถยนต์คนั แรกของอดีตรัฐบาล ขณะทีม่ กี ารส่งออกทัง้ สิน้ 1,188,515 คัน ลดลงร้อยละ 1.36 จากปี 2558 และยอดการผลิตรถยนต์ทั้งสิ้น 1,944,417 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 จากปี 2558 โดยมียอดการ ผลิตรถกระบะ 1 ตัน 1,102,807 คัน ลดลงร้อยละ 1.17 จากปี 2558 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้จากการขาย 3,707.2 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 9.4 จากปี 2558 จากการชะลอตัวของ อุตสาหกรรม และการสิ้นสุดโครงการส่งออกชิ้นส่วนไปยังประเทศบราซิล มูลค่ากว่า 200 ล้านบาท

ต้นทุนขาย

ปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต้นทุนขาย 3,190.9 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนต้นทุนขายต่อรายได้จากการขายเพิ่มขึ้นร้อย ละ 2.4 จากปี 2558 เนื่องจากสภาพการแข่งขันสูงในตลาด ท�ำให้บริษัทฯ ต้องรับภาระสัดส่วนต้นทุนขายต่อรายได้จากการขายเพิ่ม สูงขึ้น นอกจากนี้ในช่วงปลายไตรมาส 2 ต่อเนื่องต้นไตรมาส 3 บริษัทฯ ประสบปัญหาการสึกหรอผิดปกติรุนแรงของผนังเตาหลอม และการช�ำรุดกะทันหันของเครื่องฉีดอลูมิเนียมขนาดใหญ่ จ�ำเป็นต้องหยุดการผลิตไประยะเวลาหนึ่ง อีกประการหนึ่ง ยังมีการใช้ วัตถุดิบไปในการทดลองชิ้นงานในโปรแกรมใหม่ ๆ ท�ำให้สัดส่วนต้นทุนขายต่อรายได้จากการขายสูงขึ้นดังกล่าว

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

ปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 164.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับปีก่อน

ก�ำไรสุทธิ

ปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิ 382.1 ล้านบาท อัตราก�ำไรสุทธิลดลงร้อยละ 2.9 จากปี 2558 เนื่องจากต้นทุน ขายที่สูงขึ้นดังกล่าวข้างต้น

ANNUAL REPORT 2016

75


งบแสดงฐานะทางการเงิน รายงาน

ณ 31 ธ.ค. 2559

ณ 31 ธ.ค. 2558

เปลี่ยนแปลงร้อยละ + / (-)

สินทรัพยห์ มุนเวียน

2,350.4

2,162.0

188.4

สินทรัพย์ไม่หมุ่นเวียน

2,842.8

3,209.2

(366.4)

รวมสิ ทรัพพยย์ ์ รวมสินนทรั

5,193.2

5,371.2

(178.0)

หนี้สินหมุนเวียน

249.1

455.4

(206.3)

60.0

40.8

19.2

309.1

496.2

(187.1)

ทุนที่ออกและชำระแลว้

1,545.0

1,545.0

0.0

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

2,896.8

2,896.8

0.0

351.2

361.8

(10.6)

4,884.1

4,874.9

9.2

หนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี รวมหนี้ส้สินิน

กำไรสะสม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

(หน่วย : ล้านบาท)

สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี 5,193.2 ล้านบาท โดยสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 188.4 ล้านบาท จากยอด ณ 31 ธันวาคม 2558 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น 312.5 ล้านบาท สินค้าคงเหลือลดลง 68.5 ล้านบาท เนื่องจาก ซื้อวัตถุดิบลดลงตามยอดขายที่ลดลง และ ส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนลดลง 366.4 ล้านบาท เนื่องจากการคิดค่าเสื่อมราคา หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี 309.1 ล้านบาท ลดลง 187.1 ล้านบาท จากยอด ณ 31 ธันวาคม 2558 จากการ ซื้อวัตถุดิบลดลงตามยอดขายที่ลดลง ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี 4,884.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 9.2 ล้านบาท จากยอด ณ 31 ธันวาคม 2558

งบกระแสเงินสด รายงาน

ณ 31 ธ.ค. 2559

ณ 31 ธ.ค. 2558

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยกมา

749.6

797.6

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

878.0

961.8

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

(203.5)

(230.1)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

(366.0)

(785.0)

กระแสเงินสดสุทธิ

1,062.0

749.5 (หน่วย : ล้านบาท)

บริษัทฯ มีกระแสเงินสดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ทั้งสิ้น 1,062.0 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน ทั้งสิ้น 878.0 ล้านบาท ใช้ไปในกิจกรรมการลงทุนในโครงการผลิตภัณฑ์ใหม่ ตลอดจนบ�ำรุงรักษาและปรับปรุงก�ำลังการผลิตทั้งสิ้น 203.5 ล้านบาท และใช้ไปในกิจกรรมการจัดหาเงินจ�ำนวนทั้งสิ้น 366.0 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ใช้ไปในการจ่ายเงินปันผลให้กับ ผู้ถือหุ้น 76

ANNUAL

REPORT 2016


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ย่อย (“กลุ่มบริษัท”) และของเฉพาะบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) ตามล�ำดับซึ่งประกอบด้วยงบ แสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะ กิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วย สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและเรื่องอื่นๆ ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่ม บริษัทและบริษัท ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแส เงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบของ ผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุ่ม บริษัทและบริษัทตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ก�ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ใน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบด้านจรรยา บรรณอื่นๆ ซึ่งเป็นไปตามข้อก�ำหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็น เกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้น�ำเรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่าง หากส�ำหรับเรื่องเหล่านี้

ANNUAL REPORT 2016

77


มูลค่าของสินค้าคงเหลือ อ้างถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (จ) และ 7 เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ

ได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวอย่างไร

สินค้าคงเหลือของกลุ่มบริษัทเป็นสินค้าที่ผลิตและจ�ำหน่ายให้ กับอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งเป็น ตลาดที่มีการแข่งขันกันสูงและมุ่งเน้นการควบคุมต้นทุนในการ ผลิตเป็นปัจจัยส�ำคัญ ดังนั้นราคาขายของกลุ่มบริษัทจึงอาจ ขึ้นอยู่กับสภาวการณ์แข่งขันของตลาด ซึ่งอาจส่งผลต่อมูลค่า ของสินค้าคงเหลือของกลุ่มบริษัท เนื่องจากสินค้าคงเหลือของ กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าด้วยมูลค่าที่ต�่ำกว่าระหว่างราคาทุนและ มูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ในการวัดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ ผูบ้ ริหาร ท�ำการเปรียบเทียบต้นทุนของสินค้าคงเหลือกับมูลค่าสุทธิที่ จะได้รับ เพื่อพิจารณาประมาณการมูลค่าสินค้าคงเหลือที่ลด ลงให้เหมาะสม การประมาณการดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการใช้ ดุลยพินิจของผู้บริหาร นอกจากนี้กลุ่มบริษัทมีมูลค่าของสินค้า คงเหลือที่เป็นสาระส�ำคัญ ดังนั้นข้าพเจ้าจึงถือเป็นเรื่องส�ำคัญ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้า

วิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้าประกอบด้วย • การประเมินและสอบถามผู้บริหารซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ ในเรื่อง การประเมินมูลค่าสุทธิที่จะได้รับเพื่อให้ได้มาซึ่งความเข้าใจ เกีย่ วกับนโยบายของกลุม่ บริษทั ใน การประมาณการมูลค่าสุทธิ ทีจ่ ะได้รบั ของสินค้าคงเหลือ และทดสอบการประมาณการดัง กล่าวว่ามีความสอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุม่ บริษทั • ทดสอบการค�ำนวณการประมาณการมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ของ สินค้าคงเหลือ โดยการเปรียบเทียบต้นทุนของ สินค้าคงเหลือ กับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับที่คาดการณ์ไว้ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายใน การขายทีเ่ กีย่ วข้อง และทดสอบความถูกต้องของการค�ำนวณ ในรายงานสินค้าคงเหลือตลอดจนสุ่มทดสอบการประมาณ การมูลค่าสุทธิที่จะ ได้รับกับเอกสารที่เกี่ยวข้อง • การประเมินความเพียงพอของการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ข้อมูลอื่น ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วยข้อมูลซึ่งรวมอยู่ในรายงานประจ�ำปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและงบ การเงินเฉพาะกิจการและรายงานของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในรายงานนั้น ซึ่งคาดว่ารายงานประจ�ำปีจะถูกจัดเตรียมให้ข้าพเจ้าภายหลัง วันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมั่นต่อ ข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ คือ การอ่านข้อมูลอืน่ ตามทีร่ ะบุ ข้างต้นเมือ่ จัดท�ำแล้ว และพิจารณาว่าข้อมูลอืน่ มีความขัดแย้งทีม่ สี าระส�ำคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการหรือกับ ความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการทีป่ ราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริต หรือข้อผิดพลาด ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มบริษัทและบริษัท ในการด�ำเนินงานต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานต่อเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับ การด�ำเนินงานต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทและบริษัท หรือหยุดด�ำเนินงานหรือไม่สามารถด�ำเนินงาน ต่อเนื่องต่อไปได้ ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทและบริษัท 78

ANNUAL

REPORT 2016


ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดย รวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอ รายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้ เป็นการรับประกันว่าการปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ ส�ำคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระส�ำคัญเมื่อคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ งบการเงินจากการใช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึง • ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจ สอบเพือ่ ตอบสนองต่อความเสีย่ งเหล่านัน้ และได้หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ พียงพอและเหมาะสมเพือ่ เป็นเกณฑ์ ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสีย่ งทีไ่ ม่พบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญซึง่ เป็นผลมา จากการทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาดเนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง้ ใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลทีไ่ ม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือ การแทรกแซงการควบคุมภายใน • ท�ำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุม ภายในของกลุ่มบริษัทและบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทาง บัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร • สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับการด�ำเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหารและ จากหลักฐานการสอบบัญชีทไี่ ด้รบั สรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม่ สี าระส�ำคัญทีเ่ กีย่ วกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยส�ำคัญต่อความสามารถของกลุ่มบริษัทและบริษัทในการด�ำเนินงาน ต่อเนื่องหรือไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของ ผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยที่เกี่ยวข้องในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรือถ้าการ เปิดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปลีย่ นแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึน้ อยูก่ บั หลักฐานการ สอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทและบริษัทต้องหยุดการด�ำเนินงานต่อเนื่อง • ประเมินการน�ำเสนอโครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึง การเปิดเผยว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณ์ในรูปแบบที่ท�ำให้ มีการน�ำเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร • ได้รับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุ่มหรือ กิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุ่มบริษัทเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการก�ำหนด แนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว ต่อความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัย ส�ำคัญทีพ่ บจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องทีม่ นี ยั ส�ำคัญในระบบการควบคุมภายในซึง่ ข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบ ของข้าพเจ้า ข้ า พเจ้ า ได้ ใ ห้ ค� ำ รั บ รองแก่ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ใ นการก� ำ กั บ ดู แ ลว่ า ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำ หนดจรรยาบรรณที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความเป็นอิสระและได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลเกีย่ วกับความสัมพันธ์ทงั้ หมดตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่ามีเหตุผล ANNUAL REPORT 2016

79


ทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการทีข่ า้ พเจ้าใช้เพือ่ ป้องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความ เป็นอิสระ จากเรื่ อ งที่ สื่ อ สารกั บ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ใ นการก� ำ กั บ ดู แ ล ข้ า พเจ้ า ได้ พิ จ ารณาเรื่ อ งต่ า งๆ ที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ในการตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบันและก�ำหนดเป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่า นีใ้ นรายงานของผูส้ อบบัญชีเว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเกีย่ วกับเรือ่ งดังกล่าว หรือในสถานการณ์ทยี่ าก ที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระท�ำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกล่าว

(นางมัญชุภา สิงห์สุขสวัสดิ์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 6112 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 27 กุมภาพันธ์ 2560

80

ANNUAL

REPORT 2016


งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน

สินทรัพย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม

31 ธันวาคม

2559

หมายเหตุ

2558

2559

2558

(บาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

1,061,975,382

749,518,956

689,287,601

333,266,104

685,025,308

50,000,000 705,355,278

7,649,614

50,000,000 8,449,504

33,352 4,324,565

111,108 6,145,695

1,206,813

478,194

558,336,414 40,715,253

626,911,433 23,937,444

2,700,000,000 3,183

2,965,000,000 2,416,301 23,132

2,350,410,274

2,161,979,914

3,398,147,211

3,359,633,235

-

-

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

2,795,545,687 5,608,494 12,355,191 29,301,530 2,842,810,902

3,167,684,354 8,859,290 8,687,650 23,961,666 3,209,192,960

1,150,000,000 7,499,731 832,978 3,220,220 3,117,743 1,164,670,672

1,150,000,000 8,443,717 1,066,990 2,254,967 5,437,851 1,167,203,525

รวมสินทรัพย

5,193,221,176

5,371,172,874

4,562,817,883

4,526,836,760

เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่นกิจการอื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย สินคาคงเหลือ ดอกเบี้ยคางรับจากบริษัทยอย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

5 4, 6 4 4 7 4

รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

8 9 10 11

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ ANNUAL REPORT 2016

81


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม

31 ธันวาคม

2559

หมายเหตุ

2558

2559

2558

(บาท) หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคา

4, 12

172,733,681

268,362,814

-

-

เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่นกิจการอื่น

4 13

2,347,512 70,122,119

4,001,198 181,246,444

11,787 5,152,804

1,233 3,029,343

1,634,988 2,293,935

48,466 1,747,588

1,634,988 504,049

505,858

249,132,235

455,406,510

7,303,628

3,536,434

59,957,348

40,831,114

16,101,101

10,126,706

59,957,348

40,831,114

16,101,101

10,126,706

309,089,583

496,237,624

23,404,729

13,663,140

1,545,000,000 1,545,000,000 (175,021,425)

1,545,000,000 1,545,000,000 (175,021,425)

1,545,000,000 1,545,000,000 (175,021,425)

1,545,000,000 1,545,000,000 (175,021,425)

2,896,764,680

2,896,764,680

2,896,764,680

2,896,764,680

17

95,953,399

95,953,399

-

-

17 16, 17

91,126,458 175,021,425 255,287,056

71,403,958 175,021,425 265,813,213

91,126,458 175,021,425 6,522,016

71,403,958 175,021,425 4,982

รวมสวนของผูถือหุน

4,884,131,593

4,874,935,250

4,539,413,154

4,513,173,620

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

5,193,221,176

5,371,172,874

4,562,817,883

4,526,836,760

ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

14

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแลว หุนทุนซื้อคืน สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินมูลคาหุนสามัญ สวนเกินทุนจากการจัดโครงสรางธุรกิจ ภายใตการควบคุมเดียวกัน กําไรสะสม

15

16 17

จัดสรรแลว ทุนสํารองตามกฎหมาย สํารองเพื่อหุนทุนซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินนเป็ เปนนส่สววนหนึ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นหนึ่ง่งของงบการเงิ ของงบการเงินนีน้ นี้ 82

6

ANNUAL

REPORT 2016


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปสิ้นสุด

สําหรับปสิ้นสุด

วันที่ 31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม

2559

2558

2559

2558

(บาท) รายได รายไดจากการขาย

4, 24

3,707,234,028

4,092,324,851

-

-

รายไดจากการใหบริการ

4

-

-

87,590,236

83,726,017

รายไดเงินปนผล

4, 8

-

-

369,526,261

602,378,758

รายไดดอกเบี้ย

4

8,277,919

13,213,566

45,257,307

54,510,194

62,197

10,031,261

-

-

26,479,535

30,304,940

9

-

3,742,053,679

4,145,874,618

502,373,813

740,614,969

3,190,882,492

3,425,999,101

-

-

-

-

84,967,084

80,305,090

กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายไดอื่น

4

รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขาย

22 4, 7

ตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขาย

4, 19

43,226,892

46,575,161

-

-

คาใชจายในการบริหาร

4, 20

121,665,507

124,862,177

15,516,847

29,774,707

3,355,774,891

3,597,436,439

100,483,931

110,079,797

386,278,788 4,195,704

548,438,179 6,706,823

401,889,882

630,535,172

382,083,084

541,731,356

7,440,398 394,449,484

6,242,673 624,292,499

รวมคาใชจาย กําไรกอนภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินได

23

กําไรสําหรับป

หมายเหตุ วนหนึ ่งของงบการเงิ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนเปเป็นสนวส่นหนึ ่งของงบการเงิ นนี้ นนี้ ANNUAL REPORT 2016

8 83


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปสิ้นสุด

สําหรับปสิ้นสุด

วันที่ 31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม

2559

2558

2559

2558

(บาท) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไมถูกจัดประเภทรายการใหม เขาไปไวในกําไรหรือขาดทุน ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน พนักงาน

14

(8,608,426)

-

(2,762,438)

-

11

1,721,685

-

552,488

-

รายไดภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคประกอบของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป - สุทธิจาก ภาษีเงินได กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

(6,886,741)

-

(2,209,950)

-

375,196,343

541,731,356

392,239,534

624,292,499

การแบงปนกําไร สวนที่เปนของบริษัทใหญ

382,083,084

541,731,356

394,449,484

624,292,499

กําไรสําหรับป

382,083,084

541,731,356

394,449,484

624,292,499

การแบงปนกําไรเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของบริษัทใหญ

375,196,343

541,731,356

392,239,534

624,292,499

กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

375,196,343

541,731,356

392,239,534

624,292,499

0.25

0.35

0.26

0.41

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

25

หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนเปเป็นสนวส่นหนึ ่งของงบการเงิ นนี้ นนี้ หมายเหตุ วนหนึ ่งของงบการเงิ 84

8

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL

REPORT 2016

85

17 16, 17

16 26

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

1,545,000,000

-

-

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย โอนไปสํารองหุนทุนซื้อคืน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน การจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน หุนทุนซื้อคืน เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน

หมายเหตุ

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

-

(175,021,425)

-

(175,021,425) (175,021,425)

หุนทุนซื้อคืน

10

2,896,764,680

-

-

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุนสามัญ

95,953,399

-

-

95,953,399

31,214,625 71,403,958

-

-

40,189,333

งบการเงินรวม สวนเกินทุน จากการจัดโครงสราง ธุรกิจภายใตการ ทุนสํารอง ควบคุมเดียวกัน ตามกฎหมาย (บาท)

-

-

-

175,021,425 175,021,425

กําไรสะสม สํารอง หุนทุนซื้อคืน

(31,214,625) (175,021,425) 265,813,213

541,731,356 541,731,356

(609,998,800) (609,998,800)

540,316,707

ยังไมไดจัดสรร

4,874,935,250

541,731,356 541,731,356

(175,021,425) (609,998,800) (785,020,225)

5,118,224,119

รวมสวนของ ผูถือหุน


86

REPORT 2016

ANNUAL

17

26

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน การจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน

หมายเหตุ

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

1,545,000,000

-

-

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

(175,021,425)

-

-

(175,021,425)

หุนทุนซื้อคืน

11

2,896,764,680

-

-

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุนสามัญ

95,953,399

-

-

95,953,399

19,722,500 91,126,458

-

-

71,403,958

งบการเงินรวม สวนเกินทุน จากการจัดโครงสราง ธุรกิจภายใตการ ทุนสํารอง ควบคุมเดียวกัน ตามกฎหมาย (บาท)

175,021,425

-

-

175,021,425

กําไรสะสม สํารอง หุนทุนซื้อคืน

(19,722,500) 255,287,056

382,083,084 (6,886,741) 375,196,343

(366,000,000) (366,000,000)

265,813,213

ยังไมไดจัดสรร

4,884,131,593

382,083,084 (6,886,741) 375,196,343

(366,000,000) (366,000,000)

4,874,935,250

รวมสวนของ ผูถือหุน


ANNUAL

REPORT 2016

87

17 16, 17

16 26

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย โอนไปสํารองหุนทุนซื้อคืน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร รวมกําไรขาดทุนบ็ดเสร็จสําหรับป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน การจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน หุนทุนซื้อคืน เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน

หมายเหตุ

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

1,545,000,000

-

-

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

-

(175,021,425)

-

(175,021,425) (175,021,425)

หุนทุนซื้อคืน

12

2,896,764,680

-

-

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุนสามัญ

31,214,625 71,403,958

-

-

40,189,333

ทุนสํารอง ตามกฎหมาย (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

-

175,021,425 175,021,425

กําไรสะสม สํารอง หุนทุนซื้อคืน

(31,214,625) (175,021,425) 4,982

624,292,499 624,292,499

(609,998,800) (609,998,800)

191,947,333

ยังไมไดจัดสรร

4,513,173,620

624,292,499 624,292,499

(175,021,425) (609,998,800) (785,020,225)

4,673,901,346

รวมสวนของ ผูถือหุน


88

REPORT 2016

ANNUAL

17

26

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนบ็ดเสร็จสําหรับป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน การจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน

หมายเหตุ

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

1,545,000,000

-

-

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

13

(175,021,425)

-

-

(175,021,425)

หุนทุนซื้อคืน

2,896,764,680

-

-

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุนสามัญ

19,722,500 91,126,458

-

-

71,403,958

ทุนสํารอง ตามกฎหมาย (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

175,021,425

-

-

175,021,425

กําไรสะสม สํารอง หุนทุนซื้อคืน

(19,722,500) 6,522,016

394,449,484 (2,209,950) 392,239,534

(366,000,000) (366,000,000)

4,982

ยังไมไดจัดสรร

4,539,413,154

394,449,484 (2,209,950) 392,239,534

(366,000,000) (366,000,000)

4,513,173,620

รวมสวนของ ผูถือหุน


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด

หมายเหตุ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด

วันที่ 31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม

2559

2558

2559

2558

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับป

382,083,084

541,731,356

394,449,484

624,292,499

542,767,920 3,623,796 -

589,726,339 3,330,226 -

965,220 234,012 (369,526,261)

646,122 99,023 (602,378,758)

(8,277,919) 10,741,368 1,659,359 (4,157,450)

(13,213,566) 8,617,674 1,579,214 (4,764,002)

(5,285,791) 4,195,704 927,350,071

(338,580) 6,706,823 1,133,375,484

(45,257,307) 3,211,957 -

(54,510,194) 2,764,591 -

7,440,398 (8,482,497)

6,242,673 (22,844,044)

ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่นกิจการอื่น สินคาคงเหลือ

20,497,773 77,756 1,853,853 66,915,660

(149,240,595) (89,537) 2,511,433 (37,620,047)

799,890 (695,883) -

(2,026,564) (199,151) -

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่นกิจการอื่น จายภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

(16,777,809) (95,626,707) (4,635,938) (12,100,392) (223,560)

(18,178,778) (8,389,415) 70,268,814 (6,102,755) (12,283,396) -

19,949 2,320,108 10,554 2,123,461 -

1,271,088 (2,034,228) (382,222) (2,078,894) -

หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

546,347 887,877,054

(1,418,054) 972,833,154

(1,809) (3,906,227)

64,847 (28,229,168)

(9,894,902)

(11,062,003)

(6,218,175)

-

877,982,152

961,771,151

(10,124,402)

(28,229,168)

รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินปนผลรับ รายไดดอกเบี้ย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ผลขาดทุนจากการปรับลดมูลคาสินคา กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง กําไรจากการจําหนายและตัดจําหนายอุปกรณ

9 10 8 14 7

คาใชจายภาษีเงินได การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ ANNUAL

89

หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ REPORT 2016 14


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด

หมายเหตุ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด

วันที่ 31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม

2559

2558

2559

2558

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย

8,245,196

15,070,549

47,640,872

54,239,780

50,000,000 (153,827,692) 8,028,319 (115,585,770) (373,000)

50,673,742 (278,013,614) 9,285,498 (25,795,202) (1,290,897)

369,526,261 50,000,000 265,000,000 (21,234) -

602,378,758 50,673,742 (175,000,000) 40,000,000 (4,574,534) (1,137,900)

(203,512,947)

(230,069,924)

732,145,899

566,579,846

(366,000,000) -

(609,998,800) (175,021,425)

(366,000,000) -

(609,998,800) (175,021,425)

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(366,000,000)

(785,020,225)

(366,000,000)

(785,020,225)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราตางประเทศ คงเหลือสิ้นป

308,469,205 749,518,956

(53,318,998) 797,564,830

356,021,497 333,266,104

(246,669,547) 579,935,651

3,987,221

5,273,124

-

-

5

1,061,975,382

749,518,956

689,287,601

333,266,104

9

173,371,781

393,599,384

(19,544,089) 153,827,692

(115,585,770) 278,013,614

21,234 -

4,574,534 -

21,234

4,574,534

รับเงินปนผล เงินลงทุนชั่วคราว เงินสดจายเพื่อเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย เงินสดรับจากเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย ซื้ออาคารและอุปกรณ ขายอาคารและอุปกรณ จายชําระเจาหนี้คาซื้ออาคารและอุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน

4 4

10

เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายเงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท ซื้อหุนทุนซื้อคืน

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ขอมูลงบกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม อาคารและอุปกรณที่ซื้อทั้งหมดในระหวางปมีรายละเอียดดังนี้ อาคารและอุปกรณที่เพิ่มขึ้น หัก เจาหนี้คาซื้ออาคารและอุปกรณ

26

อาคารและอุปกรณที่จายเปนเงินสด

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 90

ANNUAL

REPORT 2016

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 14


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

30

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้

31

การจัดประเภทรายการใหม่

ANNUAL REPORT 2016

ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัทย่อย อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นกิจการอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น หุ้นทุนซื้อคืน ส่วนเกินทุนและส�ำรอง ส่วนงานด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

91


92

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

93


94

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

95


96

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

97


98

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

99


100

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

101


102

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

103


104

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

105


106

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

107


108

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

109


110

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

111


112

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

113


114

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

115


116

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

117


118

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

119


120

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

121


122

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

123


124

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

125


126

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

127


128

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

129


130

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

131


132

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

133


134

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

135


136

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

137


138

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

139


140

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

141


142

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

143


144

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

145


146

ANNUAL

REPORT 2016


รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม ประจ�ำปี 2559 บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)



สารบัญ ความรับผิดชอบต่อสังคมประจ�ำปี 2559 บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) หน้า 150

สร้างโอกาสการลงทุนด้วยหุ้นยั่งยืน

หน้า 152

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หน้า 153

ความรับผิดชอบต่อพนักงาน

หน้า 162

ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และส่วนราชการ

หน้า 166

ความรับผิดชอบต่อลูกค้า คู่ค้าและผู้ถือหุ้น

หน้า 171

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

หน้า 174

โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์


สร้างโอกาสการลงทุนด้วยหุ้นยั่งยืน Thailand Sustainability Investment “สร้างโอกาสการลงทุนด้วยหุ้นยั่งยืน”

Thailand Sustainability Investment หรือหุ้นยั่งยืน เป็นรายชื่อของบริษัทจดทะเบียนที่ด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนโดย ค�ำนึงถึง ESG ซึ่งจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งส�ำหรับผู้ลงทุนที่ต้องการลงทุนตามแนวคิดการลงทุนอย่างยั่งยืนที่น�ำปัจจัยด้าน ESG มา เป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจลงทุนควบคู่ไปกับการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินของบริษัทเพื่อสร้างผลตอบแทนอย่างต่อเนื่อง ในระยะยาว ทั้งนี้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ จัดให้มีการประกาศรายชื่อ Thailand Sustainability Investment เป็นครั้งแรกในปี 2558 Thailand Sustainability Investment คัดเลือกจากบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) และบริษทั จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ที่สมัครใจเข้าร่วมการประเมินความยั่งยืนและผ่านเกณฑ์การประเมินความยั่งยืนตามตัวชี้วัดในมิติ เศรษฐกิจ (รวมบรรษัทภิบาล) สิง่ แวดล้อมและสังคมทีต่ ลาดหลักทรัพย์ฯ จัดท�ำขึน้ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานทัง้ ในระดับประเทศและ ในระดับสากล โดยบริษทั จดทะเบียนต้องมีคะแนนจากการตอบแบบประเมินความยัง่ ยืนอย่างน้อย 50% ของคะแนนเต็มในแต่ละมิติ รวมทั้งผ่านการพิจารณาเกณฑ์ด้านคุณสมบัติเพื่อให้ได้หุ้นที่มีคุณภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด เช่น เกณฑ์ด้านผลประกอบ การและการคัดกรองด้านการก�ำกับดูแลต่าง ๆ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม สังคมและบรรษัทภิบาล โดยมีคณะท�ำงานเพื่อ การลงทุนอย่างยั่งยืน ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิด้านบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม และหน่วยงานในตลาดทุนไทย เป็นผู้กลั่นกรองให้กระบวนการคัดเลือก Thailand Sustainability Investment มีความโปร่งใสในทุกขั้นตอน

SET Sustainability Awards “บริษัทจดทะเบียนต้นแบบแห่งความยั่งยืน”

บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงความยั่งยืน โดยด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ค�ำนึงถึงประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และยึดมั่นการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน รวมทั้งการเข้าร่วมประกาศ เจตนารมย์ตอ่ ต้านการคอรัปชัน่ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ในการพัฒนาส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวติ ของสังคมและชุมชน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งชุมชนใกล้เคียงให้มีคุณภาพดีขึ้นพร้อม ๆ ไปกับการเติบโตของบริษัทฯ เป็นผลให้บริษัทฯ ได้รับการพิจารณาจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยน�ำบริษัทฯ เข้าเป็นหนึ่งใน 51 รายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” (Thailand Sustainability Investment หรือ THSI) ประจ�ำปี 2559

150

ANNUAL

REPORT 2016


ANNUAL REPORT 2016

151


ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายอย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง ในปี 2559 บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินกิจกรรมในด้านต่าง ๆ โดยมีจดุ เน้นในการด�ำเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ บริบท หรือสภาวะปัญหาของ สังคม ส่วนราชการ ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง และพนักงานในองค์กร

PCSGH Corporate Social Responsibility(CSR) แนวคิด “ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมขององค์กร หรือ CSR คือการท�ำให้ธรุ กิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม (EconomicSocial-Environment : ESG) มีสมดุล อยู่รวมกันได้อย่างยั่งยืน “

เป้าหมาย การพัฒนาร่วมกันขององค์กรและสังคมอย่างยั่งยืน หมายถึง การที่ธุรกิจให้ความส�ำคัญและด�ำเนินการในเรื่อง CSR ธุรกิจยังคงต้องมีความรับผิดชอบต่อ ผู้ถือหุ้น ในการบริหาร กิจการให้มผี ลก�ำไร เป็นทีย่ อมรับของ สาธารณชน รวมถึงสามารถ การปฏิบัติ ขยายกิจการให้เจริญเติบโตใน สังคมและชุมชน ทีธ่ รุ กิจด�ำเนินอยู่ “การด�ำเนินกิจการภายใต้หลักจริยธรรมและการจัดการ ในระยะยาว ทีด่ โี ดยรับผิดชอบสังคมและสิง่ เเวดล้อมทัง้ ในระดับไกลและใกล้”

PCSGH CSR Framework ผลิตสินค้าที่ดีมีคุณภาพ

ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า Economic (Production)

Social (People)

• สังคมภายในองคก์ ร • สังคมโดยรวม

152

Environment (Process)

• สิ่งแวดลอ้ มในกระบวนการ • สิ่งแวดลอ้ มภายนอก

ANNUAL

REPORT 2016


ความรับผิดชอบต่อพนักงาน

การเปิดช่องทางการมีส่วนร่วมของพนักงาน ตั้งแต่การส�ำรวจกิจกรรม CSR ในระดับบุคคล การน�ำเสนอกิจกรรม CSR ระดับองค์กร และการสร้างความผูกพันร่วมในหมูพ่ นักงาน ซึง่ ถือเป็นปัจจัยในการขับเคลือ่ นงาน CSR ให้เกิดผลส�ำเร็จ ทัง้ ภายในและ ภายนอกองค์กร บริษัทฯ จึงได้ก�ำหนดให้พันธกิจหลักในด้านที่ 5 เป็นเรื่องการพัฒนาความผาสุกของพนักงาน (Happy Workplace) และใช้ Happy 8 Menu เป็นโมเดลในการขับเคลื่อนกิจกรรม CSR ของพนักงาน และระบบแรงงานสัมพันธ์ที่ดีท�ำให้เราได้รับรางวัล สถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์ประจ�ำปี 2559 ทั้ง 4 บริษัท

ANNUAL REPORT 2016

153


ภายใต้การด�ำเนินการตามพันธกิจ Happy Workplace กล่องแห่งความสุขทั้ง 8 ประการ ประจ�ำปี 2559 ได้แก่ Happy Body มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ เป็นการส่งเสริมด้าน การดูแลสุขภาพร่างกาย ออกก�ำลังกาย และรับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์ เพื่อให้พนักงานมีร่างกายที่แข็งแรง จิตใจแจ่มใส เบิกบาน ซึ่งจะส่งผลให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 1. “PCSGH Annual Health Check up” การตรวจสุขภาพประจ�ำปีให้กับพนักงาน เราดูแลสุขภาพของพนักงานทุกคนอย่างทั่วถึง รวมถึง การเลือกรายการตรวจให้กบั พนักงานอย่างเหมาะสมกับช่วงอายุ และการตรวจตามปัจจัยเสีย่ งในการท�ำงาน โดยในปี 2559 สถาน พยาบาลทีไ่ ด้รบั การคัดเลือก ได้แก่ โรงพยาบาลโคราชเมมโมเรียล ด� ำ เนิ น การตรวจในช่ ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2559 พนักงานเข้าตรวจ 2,113 คน คิดเป็นร้อยละ 97.37 ของพนักงาน กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2. อบรมและให้ค�ำปรึกษาด้านสุขภาพ โดยแพทย์ อ าชี ว เวชศาสตร์ โรงพยาบาลกรุ ง เทพ ราชสีมา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2559 มีพนักงานเข้าร่วมจ�ำนวน 69 คน แบ่งเป็นกลุ่มปัจจัยเสี่ยง และกลุ่มโรค NCD ดังนี้ • กลุ่มการตรวจฮีโมโกลบิลในเลือด • กลุ่มการตรวจแอมโมเนียในเลือด • กลุ่มการตรวจโทลูอีในปัสสาวะ • กลุ่มการตรวจสมรรถภาพการได้ยิน • กลุ่มการตรวจสมรรถภาพปอด • กลุ่มน�้ำตาล ไขมันในเลือด ตับและไต ผิดปกติ 3. “PCSGH Sport League” ประเภทการแข่งขันเซปักตะกร้อ การแข่ ง ขั น เซปั ก ตะกร้ อ ลี ค ภายในจั ด การแข่ ง ขั น ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคมถึง 2 กันยายน 2559 ณ สนามเซปัก ตะกร้อระหว่างอาคาร 2-3 บริษัทพี.ซี.เอส. พริซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด มีพนักงานร่วมเข้าแข่งขันทั้งหมด 10 ทีม พนักงานร่วมกิจกรรม 60 คน โดยจัดตารางการแข่งในช่วงตอนเย็นหลังเลิกงาน กิจกรรม ดังกล่าวส่งเสริมให้พนักงานได้ออกก�ำลังกาย มีความสนุกสนาน และยังสร้างความสามัคคีในทีมอีกด้วย

154

ANNUAL

REPORT 2016


4. การแข่งขันฟุตบอล 6 คน “มิตรภาพคัพ ครัง้ ที่ 4 ประจ�ำปี 2559 ชิงถ้วยรางวัล ฯพณฯ ท่าน สุวัจน์ สิปตพัลลภ” เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรชั้นน�ำบนถนน มิตรภาพ จึงได้ส่งนักกีฬาฟุตบอลเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอล ระยะเวลาการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน - 22 ธันวาคม 2559 ณ สนามฟุตบอลหญ้าเทียม สีมาอารีน่า จ�ำนวนผู้ร่วมการ แข่งขันทั้งสิ้น 24 ทีม บริษัทฯ คว้ารางวัล “ชนะเลิศ” มาครองได้ ส�ำเร็จ

Happy Heart มีน�้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน เป็นการส่งเสริมความมี น�ำ้ ใจไมตรี เอือ้ อาทรต่อกันในทีท่ ำ� งาน เพือ่ ให้พนักงานเกิดความ รักใคร่ปรองดองสามัคคีกัน 5. “โครงการบริจาคโลหิต เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี“ เป้าหมาย 1 ล้าน ซี.ซี. ในปี 2559 มีผู้เข้าร่วมบริจาคโลหิตทั้งหมด1,061คน คิดเป็นปริมาณโลหิตจ�ำนวน 424,400 ซี.ซี. หลังจากมีการจัดท�ำ เสื้อเพื่อรณรงค์ให้มีการบริจาคโลหิตอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มการ รับบริจาคเป็นเดือนละ 2 ครั้ง มีพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น คิดเป็น 39 เปอร์เซ็นต์ จากปี 2558 ตลอดโครงการรวมปริมาณ โลหิต 914,400 ซี.ซี. ปริมาณโลหิต 184,000

306,000

2557

2558

424,400

2559

6.“การแสดงมุทิตาจิตแด่ผู้เกษียณอายุประจ�ำปี 2559” เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2559 ได้มีงานแสดงมุทิตาจิต เนื่องในโอกาสเกษียณอายุ ประจ�ำปี 2559 มีพนักงานที่เกษียณ อายุ จ�ำนวน 12 คน ภายในงานมีการรับประทานอาหารร่วมกัน มอบดอกไม้ให้กับพนักงานที่เกษียณอายุ และกล่าวค�ำอ�ำลา

ANNUAL REPORT 2016

155


Happy Relax รู ้ จั ก ผ่ อ นคลายต่ อ สิ่ ง ต่ า งๆ เป็ น การสร้ า งความ สนุกสนาน ผ่อนคลายความเมือ่ ยล้า ความเครียดจากการท�ำงาน ช่วยให้พนักงานมีขวัญและก�ำลังใจที่ดี และท�ำให้พนักงานมี โอกาสสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน

9. PCSGH Happy Birthday Activity บริษัทให้ความส�ำคัญกับพนักงานจึงจัดกิจกรรมพิเศษ ในเดือนเกิดของพนักงาน ท�ำบุญตักบาตรประจ�ำเดือน ร่วมปลูก ต้นไม้ และรับประทานเค้กวันเกิด พร้อมรับค�ำอวยพรจากผูบ้ ริหาร

7. ร่วมสืบสานประเพณีวันสงกรานต์ ในวันที่ 12 เมษายน 2559 จัดกิจกรรมรดน�้ำขอพรผู้บริหารและแต่งกายด้วยชุด ผ้าไทย ลายดอก

8. การประกวดเทพีสงกรานต์ มีพนักงานจากหน่วยงาน ต่าง ๆ เข้าร่วมประกวด จ�ำนวน 13 ท่าน บรรยากาศเต็ม ไปด้วยสนุกสนาน

Happy Brain มีการส่งเสริมการศึกษาหาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ให้ พนั กงานมี การพั ฒ นาตนเองตลอดเวลาจากแหล่ ง เรียนรู้ ต่างๆ โอกาสต่างๆ เพื่อน�ำไปสู่การเป็นมืออาชีพและความ มัน่ คงก้าวหน้าในการงานโดยทักษะทีเ่ ราจะต้องพัฒนามีอยูส่ อง ประเภท คือทักษะในการท�ำงาน (Work Skill) และ ทักษะในการ ใช้ชีวิต (Life Skill) เพราะปัจจุบันคนท�ำงานยุคใหม่ สามารถ เข้าถึงข้อมูลทางด้านเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะใน การท�ำงาน ดังนั้นการใช้ชีวิตจึงเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการพัฒนา บุคลากรให้มีความสุข 10.การพัฒนาตนเองด้านทักษะในการท�ำงาน (Work Skill) โดยเสริมสร้างการท�ำงานเป็นทีมผ่านกิจกรรม Team Building และการสื่อสารนโยบายส�ำหรับพนักงานระดับจัดการขึ้นไป เมือ่ วันที่ 5 – 6 มนี าคม 2559 ณ โรงแรมแมนดาริน โกลเด้นวัลเล่ย์ เขาใหญ่จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 63 ท่าน

156

ANNUAL

REPORT 2016


กิจกรรม Team Building

11. การพัฒนาตนเองผ่านกิจกรรม Skill Contest โดยในปีที่ผ่านมาบริษัทได้จัดแข่งขันจ�ำนวน 7 กิจกรรม มีพนักงานเข้าร่วมพัฒนาทักษะรวมทั้งสิ้น จ�ำนวน 243 คน

การตรวจเช็ค คุณภาพชิ้นงาน การ Set up แม่พิมพ์ Finishing Challenge การใช้ เครื่องมือวัด

การวัดชิ้นงาน และเลือกใช้ เครื่องมือวัด

ANNUAL REPORT 2016

การตรวจสอบ ความเรียบด้วย สายตา การใช้ IN-Check Sheet

157


12. ให้ทุนการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขางานเครื่อง มือกล เพื่อพัฒนาพนักงานให้มีศักยภาพและมีวุฒิการศึกษา ที่สูงขึ้น โดยร่วมมือกับวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี จัดการเรียนการ สอนในระบบทวิภาคีให้กบั พนักงานของบริษทั โดยในรุน่ ที่ 1 เริม่ ปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 27 คน 13. ด้านทักษะการใช้ชีวิต (Life Skill) บริษทั ได้จดั ฝึกอบรมหลักสูตรสมาธิกบั การท�ำงาน โดย อาจารย์จารุวรรณ สุรนันท์ จากสถาบันพลังจิตตานุภาพ วัดม่วง สระน้อย อ.ปักธงชัย เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2559 มีผเู้ ข้าร่วมอบรม ทั้งหมด 86 คน

Happy Money มีเงินเก็บ รู้จักใช้ ไม่เป็นหนี้สิน เป็นการส่งเสริมให้ พนักงานใช้จ่ายอย่างประหยัด มีเงินเก็บออมไว้ใช้ในยามจ�ำเป็น 14. บริษัทจัดอบรมให้ความรู้กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพเพื่อ ให้พนักงานมีความรู้เรื่องการออมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559 โดย บลจ. ไทยพาณิชย์ มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 84 คน โดยมี พนักงานเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น รวมเป็น 76.5 % จากพนักงาน ทั้งหมด 15. บริ ษั ท ยั ง สนั บ สนุ น การออมตามโครงการออมเงิ น ออมธรรมกับธนาคารออมสินและโครงการเงินฝากประจ�ำ ต่อเนื่อง 2 ปี กับธนาคารอาคารสงเคราะห์ โดยในปีนี้มีพนักงานเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นโดยมี พนักงานในโครงการรวม 162 คน มีเงินออมรวมกว่า 3 ล้านบาท

158

ANNUAL

REPORT 2016


Happy Soul

Happy Family

มีความศรัทธาในศาสนา และมีศีลธรรมในการด�ำเนิน มีครอบครัวที่อบอุ่น และมั่นคง เป็นการส่งเสริมการ ชีวิต เป็นการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้กับพนักงาน เพื่อให้ สร้ า งความรั กความผู กพั น ในครอบครั ว และสั มพั นธภาพที่ดี พนักงานมีความสุขสงบทางจิตใจ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ระหว่างครอบครัวของพนักงานกับองค์กร 16. บริษัทส่งเสริมให้พนักงานเข้าถึงพุทธศาสนา และ รู้จักการให้ ในโครงการธนาคารบุญ โดยมีกิจกรรมท�ำบุญ ตักบาตรประจ�ำเดือน อบรมธรรมะกับการท�ำงาน และ ท�ำบุญถวายเทียนพรรษาในเทศกาลเข้าพรรษา

17. กิจกรรมวันเด็ก บุตรพนักงานและกิจกรรมวันเด็ก ณ วัดหนองหว้า ในวันเด็กแห่งชาติได้จดั กิจกรรมวันเด็กโดยมีบตุ รหลาน พนักงานเข้าร่วมงานภายในงานมีการเล่นเกม แจกของรางวัล มากมาย และนอกจากนี้ยังได้จัดกิจกรรมวันเด็กร่วมกับชุมชน ใกล้เคียง

18. มอบทุนการศึกษาบุตรพนักงาน ทางบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญด้านการศึกษา จึงมี นโยบายทีจ่ ะสนับสนุนช่วยเหลือการศึกษาของบุตรพนักงาน และ สร้างขวัญก�ำลังใจให้กบั พนักงาน ด้วยการมอบทุนการศึกษาให้ กับบุตรพนักงานทีม่ ีผลการเรียนดีจ�ำนวนทั้งสิ้น 196 ทุน เป็นเงิน จ�ำนวน 333,500 บาท 19. กิจกรรมอบรมคลีนิกนมแม่ ทีมผูเ้ ชีย่ วชาญจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ให้การ แนะน�ำเกีย่ วกับการให้นมบุตร การดูแลตนเองของคุณแม่ทกี่ ำ� ลัง ตัง้ ครรภ์ โดยมี คุณดวงใจ ไทยประทุม ต�ำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มีผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด 25 คน

ANNUAL REPORT 2016

159


Happy Society สังคมดี เป็นการส่งเสริมความรัก สามัคคี เอื้อเฟื้อต่อ ชุมชนทีท่ ำ� งาน ชุมชนทีพ่ กั อาศัย ช่วยเหลือสังคมรอบข้าง ซึง่ หาก สังคมรอบข้างดี องค์กรที่อยู่ในสังคมนั้นย่อมมีความสุขไปด้วย 20. กิจกรรมชมรม เป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสามัคดีโดยเน้นการท�ำ กิจกรรมนอกเวลางาน พนักงานจะเลือกชมรมที่สนใจหนึ่งชมรม มีสว่ นร่วมในการออกแบบกิจกรรมและท�ำในสิง่ ทีช่ อบ สร้างความ รัก ความสามัคคีและความผูกพันในองค์กร

160

ANNUAL

REPORT 2016


ผลการดาเนินโครงการ Happy Workplace ประจาปี 2559 ผลการด�จากการด ำเนินโครงการ ประจ�ำปี 2559 าเนินงานเสริHappy มสร้างองค์Workplace กรแห่ง

ผลการประเมินความสุข 9 มิติ ผลการประเมินความสุข 9 มิติ

ความสุข ตามโมเดล Happy Workplace มาอย่าง จากการด�ำเนินงานเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุข ต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้ทาการประเมินสภาวะความสุขของ ตามโมเดล Happy Workplace มาอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้ กงานโดยเครื ่องมือ Happinometerดั ท�พนั ำ การประเมิ น สภาวะความสุ ข ของพนังนีก้ งานโดยเครื่ อ งมื อ เครื่องมือวัด งนี้ Happinometerดั แบบวั เครื ่องมืดอความสุ วัด ขส่วนบุคคลHappinometer ประกอบด้ แบบวั ความสุ56ขคส่วาถาม นบุคคล ประกอบ วยคดาถาม ใน 9Happinometer มิติ โดยเป็นแบบมี ด้วตัยค� วเลืำอถาม ก 5 ตั56วเลืค�อำถาม ก ใน 9 มิติ โดยเป็นแบบมีตัวเลือก 5 ตัว เลือก วิธีการประเมิน วิธีการประเมิน ใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ จากพนักงานในกลุ่ม ใช้การสุม่ แบบแบ่งชัน้ ภูมิ จากพนักงานในกลุม่ บริษทั ฯ ษัทฯ505จานวน 505นตัชุวดแทนพนั คิดเป็กนงานร้ ตัวแทนพนั งานร้อย จ�ำบรินวน ชุด คิดเป็ อยละ ก24.38 ละ 24.38

หมายเหตุ : ค่ามาตรฐานที่เป็นเกณฑ์ยอมรับมากกว่าร้อยละ 50 ** อ้างอิงจาก : เครื อ ่ งมื อ Happinometer จัยปรากรและสั งคมมหาวิ ยาลัยมหิ หมายเหตุ : ค่ามาตรฐานทีสถาบนวิ ่เป็นเกณฑ์ ยอมรับมากกว่ าร้อทยละ 50ดล 2555

** อ้างอิงจาก : เครื่องมือ Happinometerสถาบนวิจัยปรากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล 2555

Happy Body ปี 2559 57.9

Heart 63.7

Relax 45.0

Brain 54.7

Money 45.9

ผลการประเมิ นความสุนขความสุ 9 มิติ ข 9 มิติ ผลการประเมิ  จากผลการประเมิ • จากผลการประเมิ นความสุ ขของพนั กงานใน นความสุ ขของพนั กงานใน 9 มิติ 9 มิติ พนักงานมีระดับความสุขที่ร้อยละ 55.1 บุคลากรในองค์กรมี พนักงานมีระดับความสุขที่ร้อยละ 55.1 ลดลงจาก คะแนนความสุขอยู่ในระดับ “ มีความสุข” ปี 2558 คลากรในองค์กรมี คะแนนาร้อยละ • ใน 6ร้อตัยละ วชี้ว0.4 ัด มีผบุลคะแนนความสุ ขมากกว่ ขอยูเห็่ในนระดั “ มีความสุข”กรมีคะแนนอยู่ในระดับ 50 ซึ่งความสุ สะท้อนให้ ว่า บุบคลากรในองค์ “ มีความสุ ใน 6ขตั” วชี้วัด มีผลคะแนนความสุขมากกว่าร้อยละ 50 ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า บุคลากรในองค์กรมี คะแนนอยู่ในระดับ “ มีความสุข”

Soul 65.9

Family Society Work Life 54.0 54.7 45.1

Average 54.1

แนวทางการปรั บปรุ ฒนาในปี แนวทางการปรั บปรุ งพังฒพันาในปี 25602560 น�นำาผลการประเมิ ผลการประเมินนเสนอต่ เสนอต่ออคณะผู คณะผูบ้ ้บริหริาร หารคณะท�ำงานที่ เกีคณะท ย่ วข้อางานที ง เพือ่ รั่เกกีษามาตรฐานการด� ำเนินงาน กิจกรรมในด้านทีม่ ี ่ยวข้อง เพื่อรักษามาตรฐานการ ระดั ใ่ นเกณฑ์ามนที าตรฐาน วมกันวิ่ใเนเกณฑ์ คราะห์จดุ อ่อน ดาเนิบคะแนนอยู นงาน กิจกรรมในด้ ่มีระดับและร่ คะแนนอยู ข้อผิดพลาด ความต้องการของพนักงาน ปรับเปลีย่ นกิจกรรมให้ มาตรฐาน และร่วมกันวิเคราะห์จุดอ่อน ข้อผิดพลาด สอดคล้องกับความต้องการของพนักงานมากขึ้น ความต้องการของพนักงาน ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้ สอดคล้องกับความต้องการของพนักงานมากขึ้น

 ใน 3 ตัวชี้วัด มีผลคะแนนความสุขน้อยกว่าร้อยละ 50 ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า บุคลากรในองค์กรมี คะแนนอยู่ในระดับ “ ไม่มีความสุข”

ANNUAL REPORT 2016

161


ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และส่วนราชการ ความรับผิดชอบด้านสังคม ชุมชน และส่วนราชการ

บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคม โดยในปี 2559 บริษัทฯ ได้ร่วมสนับสนุน กิจกรรม ษัทฯ ให้ความส าคัญกัจบกรรม การมีสได้่วนร่ ต่าง ๆ ทั้งเล็บริ กและใหญ่ กว่า 14 กิ แก่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคม โดยในปี 2559 บริษัทฯ ได้ร่วมสนับสนุน กิจกรรมต่าง ๆ ทั้งเล็กและใหญ่กว่า 14 กิจกรรม ได้แก่ 1. บริษัทฯ มีส่วนในการสร้ กับคนในพื ้นที่ คิกดับเป็ นร้อยละ 1. บริษัทาฯงงานให้ มีส่วนในการสร้ างงานให้ คนในพื ้นที่ คิ86 ดเป็นร้อยละ 86

การสร้ งอาชีพพเป็เป็นการยกระดั นการยกระดั ณภาพชี วิตของคนในสั งคมและชุ มชนรอบข้ ให้มีควิตุณทีภาพชี การสร้าางงานสร้ งงานสร้าางอาชี บคุบณคุภาพชี วิตของคนในสั งคมและชุ มชนรอบข้ างบริษัทาฯงบริ ให้มษีคัทุณฯภาพชี ่ดีขึ้น วิตที่ดีขึ้น ไปพร้อม ๆไปพร้ กับการเติ บโตของบริษัทฯ โดยมีสัดส่วนพนักงานในเขตจังหวัดนครราชสีมา และภาคอีสาน ดังกราฟ อม ๆ กับการเติบโตของบริษัทฯ โดยมีสัดส่วนพนักงานในเขตจังหวัดนครราชสีมา และภาคอีสาน ดังตาราง ภาคอีสาน, 10.48%

ภาคกลาง, 2.20%

ภาคตะวันออก, 0.30%

นครราชสีมา, 86%

2. สนับสนุนโครงการพัฒนาบุคลากรเข้าสู่อุตสาหกรรม ด้วยความร่วมมื2.อกับสนัวิทบยาลั ยเทคนิคนครราชสีมาและวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ในโครงการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี สนุนโครงการพัฒนาบุคลากรเข้าสู่อุตสาหกรรม ด้วยความร่วมมือกับวิทยาลัยเทคนิค โดยในปีการศึกษา 2559 เป็นรุน่ แรก มีนกั ศึกษาเข้าเรียนรูฝ้ กึ งานในโครงการจ�ำนวน 72 คน และจะส�ำเร็จการศึกษาในเดือนเมษายน นครราชสีมาและวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ในโครงการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี โดยในปี 2560 นี้ การศึกษา 2559 เป็นรุ่นแรก มีนักศึกษาเข้าเรียนรู้ฝึกงานในโครงการจานวน 72 คน และจะจบ การศึกษาในเดือนเมษายน 2560 นี้

162

ANNUAL

REPORT 2016


3. สนับสนุนการพัฒนา และต่อยอดด้านการศึกษา โดยเปิดให้นักศึกษาเข้าศึกษาดูงานในสายการผลิต 5 รุ่น จ�ำนวน 313 คน จาก 3 สถาบันการศึกษา 1. คณะอาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ�ำนวน 98 คน 2. คณะอาจารย์และนักศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี รุ่นที่ 1 จ�ำนวน 82 คน 3. คณะอาจารย์และนักศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี รุ่นที่ 2 จ�ำนวน 48 คน 4. คณะอาจารย์และนักศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี รุ่นที่ 3 จ�ำนวน 30 คน 5. คณะอาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ�ำนวน 55 คน

4. ร่วมกิจกรรมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม รวมทั้งกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในเขตต�ำบล โคกกรวด จ�ำนวน 5 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมรดน�้ำขอพรเทศกาลสงกรานต์ กิจกรรมปลูกป่า กิจกรรม คลองสวยน�้ำใส และร่วมท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาในโครงการธนาคารบุญถวายเทียนพรรษาแก่วัดในเขตต�ำบลโคกกรวด

ANNUAL REPORT 2016

163


5. ด�ำเนินโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อน้อง ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 โดยมอบเครื่องคอมพิวเตอร์จ�ำนวน 30 เครื่อง ให้กับ 4 โรงเรียนใน เขตจังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2559 1. โรงเรียนบ้านฝ้ายนาตมส้มป่อยอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 10 เครื่อง 2. โรงเรียนบ้านหนองกระทุ่มอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 5 เครื่อง 3. โรงเรียนบ้านวังรางใหญ่อ�ำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 5 เครื่อง 4. โรงเรียนบ้านน้อยอ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 10 เครื่อง

6. มอบทุนการศึกษาให้กับโครงการห้องสมุดอุตสาหกรรม ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยและสภาอุตสาหกรรม จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2559

7. ร่วมกับอุตสาหกรรมจังหวัดส�ำนักงานสวัสดิการคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครราชสีมา และวิสาหกิจชุมชนจังหวัด อุบลราชธานี สนับสนุนผลิตภัณฑ์ข้าว รวม จ�ำนวน 16.5 ตัน มอบให้กับลูกค้าในโอกาสต่าง ๆ และแจกให้กับพนักงานเพื่อเป็น การสนับสนุนและส่งเสริมเกษตรกรชาวนาให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน

164

ANNUAL

REPORT 2016


8. จัดพื้นที่ภายในบริษัทเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรชาวนาได้เข้ามาจ�ำหน่ายข้าวสาร ให้พนักงานโดยไม่มีค่าใช้จ่าย ซึ่งมีเกษตรกร จากกลุ่มข้าวหอมมะลิปลอดสารพิษ อ.เมืองยาง กลุ่มผู้ผลิตข้าวเพื่อสุขภาพชุมชนมะเกลือใหม่ และสหกรณ์การเกษตรสูงเนิน

9. สนับสนุนกลุ่มผ้าไหมทอมือบ้านหลุ่งประดู่ อ�ำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมาในการทอผ้าคลุมไหล่ และกลุ่มผ้าไหม อ�ำเภอปักธงชัย ในผลิตภัณฑ์เนคไทจากผ้าไหม เพื่อเป็นของขวัญมอบให้กับลูกค้าในโอกาสต่าง ๆ

10. กิจกรรมวันแรงงานแห่งชาติ บริษัทร่วมกับส�ำนักงานสวัสดิการคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครราชสีมและเครือข่ายแรงงาน ได้รว่ มบริจาคเครือ่ งท�ำน�ำ้ เย็นและสิง่ ของเครือ่ งใช้ทจี่ ำ� เป็น ที่ สถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์ เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2559

ANNUAL REPORT 2016

165


ความรับผิดชอบต่อลูกค้า คู่ค้าและผู้ถือหุ้น ความรับผิดชอบต่อลูกค้า

เพราะเป้าหมายของเราคือ การส่งมอบงานและบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับ บริษัทฯ จึงมีนโยบายในการบริหารงานเชิงระบบ ในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า ดังนี้

1. บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ได้ รั บ รองระบบการบริ ห ารคุ ณ ภาพส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ต ามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2009

บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง พี.ซี.เอส. ฟอร์จิ้ง

วันที่รับรอง 13 กุมภาพันธ์ 2557 17 มกราคม 2557 20 มกราคม 2557

วันที่หมดอายุ 12 กุมภาพันธ์ 2560 16 มกราคม 2560 19 มกราคม 2560

2. บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้รับรองระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 จาก Bureau Veritas Certification

166

บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง พี.ซี.เอส. ฟอร์จิ้ง

วันที่รับรอง 25 มีนาคม 2557 16 กรกฎาคม 2557 24 สิงหาคม 2557

วันที่หมดอายุ 24 มีนาคม 2560 15 กรกฎาคม 2560 23 สิงหาคม 2560

ANNUAL

REPORT 2016


3. มีการน�ำระบบคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management : TQM) มาใช้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและผลผลิตในการ ปฏิบัติงาน (Productivity Improvement) การจัดการองค์กรด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่เหมาะสมตามบริบทขององค์กร ดังนี้ • กิจกรรมการลดต้นทุน ( Cost Reduction) • การพัฒนาและปรับปรุงอย่างด้วย Kaizen • การพัฒนาระบบการจัดการงานด้วย 5ส. เป็นต้น • การเพิ่มความตระหนักด้านคุณภาพผ่านกิจกรรมการให้รางวัล Q Award

4. ผลส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้า บริษทั มีการส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้าเป็นประจ�ำทุกปี โดยประเมินผลการด�ำเนิน งานของบริษทั ใน 2 หัวข้อหลัก ได้แก่ ด้านคุณภาพ และด้านการส่งมอบ โดยผลการส�ำรวจจะน�ำมาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ ต่าง ๆ ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพสูงที่สุด ความพึงพอใจของลูกคา้ 1. ดานคุ ้ ณภาพ (Quality)

87%

89%

89%

2. ด้านการส่งมอบ (Delivery)

97%

96%

95%

ความพึงพอใจโดยเฉลี่ย

92%

92%

92%

ผลการส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้าประจ�ำปี 2559 พบว่าลูกค้ามีความพึงพอใจด้านการส่งมอบเพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 1 และความพึงพอใจเฉลี่ยโดยรวมของปี 2559 อยู่ในระดับเดียวกับ ปี 2558

ANNUAL REPORT 2016

167


จากผลการประเมินของลูกค้า บริษัทฯ ยังได้รับ รางวัล 2015 FY Supplier Evaluation Score จากบริษัท อีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2559

5. การรักษาความลับของลูกค้า บริษทั มีนโยบายในการรักษาข้อมูลความลับของบริษทั ฯ ของลูกค้าหรือทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจการ ใด ๆ ที่บริษัทไม่เปิดเผยโดยเคร่งครัด ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการข้อมูลความลับให้มีมาตรฐานในการดูแล และจัดการอย่าง มีประสิทธิภาพ และเพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลข้อมูลความลับ และน�ำไปสู่การป้องกัน ข้อมูลความลับรั่วไหล

ความรับผิดชอบต่อคู่ค้า 1. นโยบายการปฏิบัติต่อคู่ค้า บริษัทมีนโยบายให้พนักงานปฏิบัติต่อคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม ซื่อสัตย์ และไม่เอารัดเอาเปรียบคู่ค้า โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัท พื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่ก่อให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การเจรจาแก้ปัญหาตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ทางงธุรกิจโดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ ก) ไม่เรียก หรือรับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตในการค้ากับคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ ข) กรณีทมี่ ขี อ้ มูลว่ามีการเรียก หรือรับ หรือการจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ทีไ่ ม่สจุ ริตเกิดขึน้ ต้องเปิดเผย รายละเอียด ต่อคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ และร่วมกันแก้ไขปัญหาโดยยุติธรรมและรวดเร็ว ค) ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใด ต้องรีบแจ้ง ให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา 2. นโยบายหลักด้านการจัดซื้อ บริษัทมีนโยบายให้การได้มาซึ่งสินค้าและบริการเป็นไปอย่างมีมาตรฐานและเป็นธรรม ยึดมั่นที่จะพัฒนาและรักษาความ สัมพันธ์ที่ยั่งยืนกับคู่ค้า โดยได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ราคาและระยะเวลาการส่งมอบที่เหมาะสมคู่ควรกับมูลค่าเงิน โดยมี ข้อปฏิบัติดังนี้ • บริษัทเปิดโอกาสในการท�ำทุกธุรกิจให้กับทุกคู่ค้าและการพิจารณาคัดเลือกคู่ค้า ตั้งอยู่บนพื้นฐานความ เสมอภาคและเป็นธรรม • บริษัทจะใช้สินค้าและบริการที่มีลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้าถูกต้อง และไม่สนับสนุนสินค้าหรือ การกระท�ำที่เป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา • จัดท�ำสัญญาทางธุรกิจที่เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน • ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ตกลงกันไว้กับคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด • ไม่มีนโยบายให้กรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือ พนักงาน รับผลประโยชน์ใด ๆ เป็นส่วนตัวจากคู่ค้า • จัดให้มีการประเมินผู้ส่งมอบหลักเป็นประจ�ำทุกเดือน และแจ้งผลการประเมิน พร้อมข้อเสนอแนะ เพื่อให้ผู้ส่ง มอบได้ปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง • เปิดโอกาสให้คู่ค้าสามารถแจ้งข้อร้องเรียนได้กรณีที่พบว่าได้รับการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม

168

ANNUAL

REPORT 2016


ในการด�ำเนินธุรกิจร่วมกันนั้น บริษัทมีนโยบายในการคัดเลือกผู้ส่งมอบที่ปฏิบัติตรงตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ก่อนเป็น ล�ำดับแรก • ผู้ส่งมอบที่ด�ำเนินธุรกิจถูกต้องตามกฎหมาย ค�ำนึงถึงสิทธิมนุษยชน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งปฏิบัติตาม นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น • ผ่านเกณฑ์การประเมินคู่ค้า ทั้งด้านคุณภาพและระยะเวลาการส่งมอบ ตามที่บริษัทก�ำหนด • ให้ความร่วมมือกับบริษัทในการท�ำกิจกรรมลดต้นทุนสินค้า และการปรับปรุงคุณภาพและบริการ • มีความสามารถด้านเทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผลิตภัณฑ์ของบริษัท • สามารถตอบสนองต่ อ ปริ ม าณความต้ อ งการสิ น ค้ า ที่ อ าจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงของอุ ป สงค์ แ ละอุ ป ทานได้ อย่างยืดหยุ่น • จัดให้มีการประเมินคู่ค้า และแจ้งผลการประเมินให้ทราบเป็นประจ�ำทุกเดือน พร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • จัดท�ำสัญญา/ข้อตกลงในการด�ำเนินธุรกิจร่วมกัน ส�ำหรับผู้ส่งมอบหลัก

ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น 1. การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำ ปี 2559 ในวันที่ 21 เมษายน 2559 ณ โรงแรมดุสิต ปริ๊นเซส • มีการจัดบริการรถรับ ส่ง จากตลาดหลักทรัพย์ถึงโรงแรม • มีผู้ถือหุ้นร่วมงาน จ�ำนวน 269 คน ( อ้างอิงจ�ำนวนตามรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ปี 2559 ) 2. ผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมโรงงานในวันที่ 26 พฤษภาคม 2559 • มีการจัดบริการรถรับ ส่ง จากตลาดหลักทรัพย์ถึงโรงงาน • มีผู้ถือหุ้นร่วมงาน จ�ำนวน 41 ท่าน 3. มีการจัดประชุมพบปะนักวิเคราะห์ 4 ครั้งในปี 2559 - ไตรมาสที่ 1 จัดในวันที่ 13 พฤษภาคม 2559 - ไตรมาสที่ 2 จัดในวันที่ 15 สิงหาคม 2559 - ไตรมาสที่ 3 จัดในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 - ไตรมาสที่ 4 จัดในวันที่ 3 มีนาคม 2560

ที่ส�ำนักงานอาคารเลครัชดา ที่ส�ำนักงานอาคารเลครัชดา ที่ส�ำนักงานอาคารเลครัชดา ที่ส�ำนักงานอาคารเลครัชดา

4. มีการจัดประชุม พบนักลงทุน จ�ำนวน 4 ครั้ง ในปี 2559 - ไตรมาสที่ 1 จัดในวันที่ 19 พฤษภาคม 2559 - ไตรมาสที่ 2 จัดในวันที 18 สิงหาคม 2559 - ไตรมาสที่ 3 จัดในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 - ไตรมาสที่ 4 จัดในวันที่ 9 มีนาคม 2560

ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

5. น�ำเสนอข้อมูลต่อนักลงทุนในประเทศ (Road Show ) จ�ำนวน 1 ครั้ง 6. การเผยแพร่ข่าว (Release) ในเรื่องการลงทุน หรือ กิจกรรมทางธุรกิจที่ส�ำคัญของบริษัท จ�ำนวน 6 ครั้ง

ANNUAL REPORT 2016

169


170

ANNUAL

REPORT 2016


ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

การจัดการสิง่ แวดล้อมในบริบทของความรับผิดชอบต่อสังคมตามกรอบการรายงานฉบับนี้ เป็นการคํานึงถึงการป้องกันผล กระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจและการดําเนินงานขององค์กร ทั้งในแง่ของการใช้ทรัพยากร ถิ่นที่ตั้งและบริเวณโดยรอบ ของสถานประกอบการ มลภาวะและของเสีย รวมถึงผลกระทบจากการดําเนินงานขององค์กรต่อแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของ พืชและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งนี้การป้องกันและลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมควรดําเนินการในลักษณะบูรณาการ โดยพิจารณาทั้งทาง ด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ สิ่งแวดล้อม ทั้งทางตรงและทางอ้อม 1. บริษทั ฯ รายงานข้อมูลปริมาณการใช้วสั ดุ วัสดุรไี ซเคิล พลังงาน และน�ำ ้ ข้อมูลปริมาณการปล่อยมลพิษอากาศ น�้ำทิ้ง และของเสีย รวมถึงการหกรั่วไหลที่มีนัยสําคัญ ดังนี้ • รายงานข้อมูลปริมาณการใช้ทรัพยากรน�้ำ ไฟฟ้าและพลังงานต่างๆ รวมทั้งปริมาณน�้ำทิ้ง ให้กับหน่วยงานราชการ และ หน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผลการตรวจวัดคุณภาพน�้ำทิ้ง คุณภาพอากาศ ความเข้มข้นสารเคมีและสภาพแวดล้อมในพื้นที่ การท�ำงาน ตามข้อกฎหมายและข้อก�ำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • รายงานปริมาณของเสียและวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่น�ำออกนอกโรงงานเพื่อก�ำจัด / บ�ำบัด ยังบริษัทที่ได้รับอนุญาตถูกต้อง ทั้งหมดประจ�ำปี • ของเสียหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วของปีที่ผ่านมานั้น มีปริมาณน้อยมาก เนื่องจากได้มีการปรับปรุงใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการใช้ งานนานขึน้ ปริมาณทีเ่ สือ่ มสภาพจึงน้อยหรือแทบไม่มี รวมทัง้ การรณรงค์และจัดท�ำโครงการเพือ่ ลดปริมาณการใช้งานทีแ่ หล่งก�ำเนิด • รายงานปริมาณการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคา หลังจากเริม่ การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากระบบ ดังกล่าว ไปยังส�ำนักงานก�ำกับและอนุรักษ์พลังงาน เพื่อประกอบการส่งเงินเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า เพื่อให้ชุมชนที่ต้องการน�ำไปใช้ พัฒนาชุมชน ต่อไป • ในส่วนของการหกรั่วไหลที่ส่งผลกระทบไปยังภายนอกนั้นไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น จึงไม่มีการรายงานแต่อย่างใด 2. บริษัทเปิดเผยข้อมูลการบรรเทาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากผลิตภัณฑ์และบริการ รวมถึงสัดส่วน ของผลิตภัณฑ์ที่จําหน่ายและวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่นํากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ตามประเภทผลิตภัณฑ์ • วัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ทบี่ ริษทั ฯ ใช้ทงั้ หมดของปีทผี่ า่ นมา จะเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากวัสดุทสี่ ามารถน�ำกลับมาใช้ซำ�้ และเข้าสู่ กระบวนการแปรรูปเพือ่ น�ำกลับมาใช้ซำ�้ ได้เกือบทัง้ หมด ซึง่ ส่งผลให้ปริมาณของบรรจุภณ ั ฑ์ทหี่ มดสภาพการใช้งานแล้ว จะมีปริมาณ ค่อนข้างน้อยมาก 3. บริษัทฯ เปิดเผยรายละเอียดที่ตั้งและขนาดของที่ดินในกรรมสิทธิ์หรือในครอบครองที่ตั้งอยู่ภายในหรือใกล้ เคียงกับพื้นที่คุ้มครอง ผลกระทบที่สําคัญจากการดําเนินงาน ผลิตภัณฑ์ และบริการที่มีต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งอาณาบริเวณที่มีคุณค่าเชิงความหลากหลายทางชีวภาพสูงนอกพื้นที่คุ้มครอง • ข้อมูลรายละเอียดที่ตั้งของบริษัทฯ นั้น ได้สื่อสารไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลายรูปแบบและหลากหลายช่องทางอย่าง สม�่ำเสมอ • ขนาดที่ดินหรือกรรมสิทธิ์ที่ดินในครอบครองนั้น จะเผยแพร่ผ่านหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่นเป็นประจ�ำ เพื่อสื่อสารไป ยังผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ และในปีที่ผ่านมารายละเอียดดังกล่าวยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากปีก่อนแต่อย่างใด 4. บริษัทฯ เปิดเผยมูลค่าของโทษปรับที่มีนัยสําคัญ และจํานวนครั้งของการถูกบังคับโทษที่ไม่เป็นตัวเงินจาก การละเมิดกฎหมายและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม • ในปีที่ผ่านมาไม่มีการละเมิดกฎหมายและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม และไม่มีโทษปรับที่เกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าวเกิดขึ้น

ANNUAL REPORT 2016

171


5. กิจกรรมส�ำคัญด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในปี 2559 • มีการติดตัง้ ระบบบ�ำบัดมลพิษอากาศทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิตชุบผิวเพือ่ เพิม่ ความแข็งของชิน้ งาน โดยควันละไอระเหย จากกระบวนการดังกล่าว จะถูกรวบรวมเข้าสูร่ ะบบบ�ำบัดเพือ่ ลดปริมาณสารปนเปือ้ นในอากาศ และควบคุมค่าปริมาณสารปนเปือ้ น ให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานก่อนปล่อยออกสูอ่ ากาศแบ่งออกเป็นระบบรวมรวมมลพิษอากาศและระบบบ�ำบัดมลพิศอากาศ โดยเริม่ เปิด ด�ำเนินการใช้งานอย่างเต็มระบบเมื่อเดือนสิงหาคม 2559 • ลดและป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านน�้ำเสียโดยน�ำน�้ำประปาที่เหลือจากขั้นตอนการผลิตน�้ำบริสุทธิ์ปราศจาก แร่ธาตุ Revers Osmosis (ส�ำหรับใช้เป็นน�้ำหล่อเย็นเตาชุบ)กลับมาใข้ประโยชน์ในกิจกรรมอื่นๆ เช่น กิจกรรมการซักล้างแทน การปล่อยทิ้งเป็นน�้ำเสีย • จากสภาวะเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมยานยนต์ในปีทผี่ า่ นมาเกิดการชลอตัว บริษทั ฯ จึงได้ทบทวนปริมาณการใช้ทรัพยากร และพลังงานต่างๆ รวมทั้งศึกษาวิธีการเพื่อก�ำหนดแนวทางในการลดต้นทุนที่เกิดขึ้น และจากสถานการณ์ความต้องการการใช้ พลังงานไฟฟ้าทีเ่ พิม่ มากขึน้ และเพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของภาครัฐ ทางบริษทั ฯ จึง ได้เริ่มโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา ขนาดก�ำลังการผลิต 5 เมกะวัตต์ เพื่อน�ำพลังงานสะอาดที่ผลิต ได้มาใช้ภายในโรงงาน โดยในปีที่ผ่านมาบริษัทฯ สามารถผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ทั้งสิ้นปริมาณ 3,673,668 กิโลวัตต์ ชัว่ โมง ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้ารวมของชุมชน ให้ชมุ ชนสามารถใช้ไฟฟ้าได้อย่างเสถียรและเพียงพอ ลดปริมาณวัตถุดบิ ประเภทน�ำ้ มัน และถ่านหินในการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งผลิตของภาครัฐ และสามารถลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เป็นต้นเหตุของภาวะโลกร้อนได้ ทั้งสิ้น 2,065 ตันคาร์บอน และทางบริษัทฯ ยังใช้โครงการดังกล่าวเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ ส�ำหรับองค์กรภาครัฐ ชุมชนโดยรอบและ ผู้ที่สนใจเข้าเยี่ยมชมและน�ำไปประยุกต์ใช้ต่อไป • โครงการรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย มีการอบรมการขับขี่ปลอดภัยและประชาสัมพันธ์สร้างวินัยจราจร • บริษัทมีการฝึกซ้อมเตรียมความพร้อมเพื่อตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินในกรณีต่าง ๆ เช่น สารเคมีรั่วไหล การฝึกซ้อมดับ เพลิงและอพยพหนีไฟโดยครอบคลุมการปฏิบัติงานทั้งในช่วงกลางวันและกลางคืน • มีการตรวจสอบและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการท�ำงานอยู่เป็นประจ�ำ เช่น การตรวจวัดความเข้มแสงในพื้นที่ปฏิบัติ งาน การปรับปรุงระบบแสงสว่างให้เพียงพอตามลักษณะงาน การตรวจสอบเพื่อควบคุมความเข้มข้นของปริมาณสารเคมีในพื้นที่ ปฏิบัติงาน การตรวจวัดและควบคุมความร้อนในพื้นที่ปฏิบัติงาน เพื่อให้สภาพแวดล้อมการท�ำงานปลอดภัยและเหมาะสมต่อการ ปฏิบัติงาน เป็นต้น • มีการอบรมระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม กฏหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง การประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม และระบบ การจัดการพลังงานภายในองค์กร เป็นต้น • มีการฝึกอบรมหัวข้อ การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ให้กับพนักงานใหม่ทุกคนตั้งแต่เริ่มปฐมนิเทศน์

ระบบรวบรวมมลพิษอากาศเตาชุบ 172

ระบบบ�ำบัดมลพิษอากาศเตาชุบ ANNUAL

REPORT 2016


ระบบบ�ำบัดมลพิษอากาศเตาอบชิ้นงาน

การน�ำน�้ำที่ไม่ผ่านการกรอง DI มาใช้ซักล้าง

การติดตั้งแผงโซล่าเซลล์บนหลังคาอาคารโรงงาน

ฝึกซ้อมดับเพลิงประจ�ำปี

การประชาสัมพันธ์รณรงค์ขับขี่ปลอดภัย

การตรวจสอบและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ANNUAL REPORT 2016

173


โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์

ในปัจจุบันความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานของการด�ำรงชีวิตทั้งของประเทศไทยและของโลก เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้แหล่งวัตถุดิบทางธรรมชาติที่น�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า ประกอบด้วย น�้ำมัน ถ่านหินและ ก๊าซธรรมชาติลดปริมาณลงอย่างรวดเร็วรวมทั้งจากการผลิตไฟฟ้าจากวัตถุดิบเหล่านั้นก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ทั้ ง ต่ อ ธรรมชาติ โ ดยตรง คนและสิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น ๆ ต้ อ งใช้ เ งิ น ลงทุ น ในการฟื ้ น ฟู จ� ำ นวนมหาศาลและที่ ส ่ ง ผลกระทบมากที่ สุ ด คือมลพิษที่เกิดขึ้นมีส่วนประกอบของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อน ส่งผล กระทบไปยังทั่วโลก

โครงการ Solar Rooftop ขนาด 5 เมกะวัตต์ จากสถานการณ์ พ ลั ง งานที่ เ กิ ด ขึ้ น และเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายส่ ง เสริ ม การผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานทดแทน

ของภาครัฐบาล บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ป โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จึงได้เริ่มโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ชนิดติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop) โดยเริ่มติดตั้งที่บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิร์ค จ�ำกัด เป็นสถานที่แรกเนื่องด้วยมี ปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อเดือนสูงสุดประมาณ 80,000 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อวัน โดยติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ขนาด 5 เมกะวัตต์ ใช้ พื้นที่หลังคาอาคาร 8 อาคาร ใช้แผงโซล่าเซลล์จ�ำนวน 19,200 แผง ใช้อินเวอร์เตอร์จ�ำนวน 160 ชุด ใช้หม้อแปลงไฟฟ้า จ�ำนวน 4 ลูก ใช้เงินลงทุนจ�ำนวน 175 ล้านบาท มีก�ำหนดระยะเวลาคืนทุน 7 ปี

การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Rooftop) ประจ�ำปี 2559 ส�ำหรับการผลิตไฟฟ้าจากโครงการ หลังได้รบั อนุญาตจากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน โครงการสามารถ

ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ได้เฉลี่ยอยู่ที่ 500,000 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อเดือน และใน 1 ปี สามารถผลิตไฟฟ้าได้เท่ากับปริมาณ การใช้ไฟฟ้าทั้งหมด 7 หมู่บ้าน หรือ 1,400 ครัวเรือน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบเป็นปริมาณ CO2 ที่ลดลงได้ จะเท่ากับ 3,500 ตัน หรือเทียบ เท่าการใช้ต้นยูคาลิปตัสที่อายุ 10 ปีขึ้นไปจ�ำนวน 200,000 ต้น ในการดูดซับก๊าซเรือนกระจกดังกล่าว ในปี 2559 หลังจากเริ่มเดินเครื่องผลิตในเดือนกรฎาคม สามารถผลิตไฟฟ้าได้รวม 3,673,668 กิโลวัตต์ชั่วโมง ท�ำให้ลดค่า ไฟฟ้าได้ทั้งสิ้นกว่า 15 ล้านบาท ลดปริมาณ CO2 ได้เท่ากับ 2,065 ตัน

174

ANNUAL

REPORT 2016


การดูแลและบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในการดูแลรักษาอุปกรณ์และระบบการผลิตไฟฟ้าจากโซล่าร์เซลล์เพือ่ ให้อปุ กรณ์สามารถท�ำการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุดจะต้องมีการท�ำความสะอาดและดูแลรักษาอยู่เป็นประจ�ำ

การเยีย่ มชมโครงการแหล่งศึกษาเรียนรูก้ ารผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Rooftop) ทางบริษัทฯ ได้ใช้โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Rooftop) เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ส�ำหรับองค์การ

ภาครัฐ ภาคเอกชนชุมชนและผู้สนใจทั่วไปได้เข้าเยี่ยมชมโครงการเพื่อน�ำข้อมูลรายละเอียดโครงการไปประยุกต์ใช้ต่อไป โดยในปี 2559 ที่ผ่านมา มีผู้เข้าเยี่ยมชมประกอบไปด้วย คณะตัวแทนโครงการ Korat Young FIT คณะตัวแทนสหกรณ์ภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ คณะสหกรณ์ปศุสัตว์ คณะสหกรณ์การเกษตร คณะอาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี คณะอาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะอาจารย์และนักศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี เป็นต้น ในการประกอบกิจการผลิตไฟฟ้านัน้ ทางบริษทั ฯ ได้สง่ เงินสมทบเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้าเป็นประจ�ำทุกเดือน ซึง่ เป็นอีกหนึง่ ช่องทางที่ชุมชนสามารถน�ำเงินสมทบกองทุนดังกล่าวไปใช้ในการก่อสร้างโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในชุมชนของ ตนเองหรือน�ำไปใช้ส�ำหรับกิจกรรมสาธรณะประโยชน์ อื่นๆ ต่อไป

รายการใบอนุญาตประกอบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ชนิดติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop)

ANNUAL REPORT 2016

175



E-Mail : ir@pscholding.com www.pcsgh.com

Business Center 193 / 105, 25th FIoor. Lake Rajada office complex building, Ratchadapisek Rd., Klongtoei, Bangkok 10110 GPS : 13.731670, 100.559932 Tel : +66 (0) 2264 0621-3 Fax : +66 (0) 2264 0624

Head Quarter & Factories 2/1-4 Moo 3, Mittraparp Rd., Kokgroad, Muang, Nakorn-Rajsima Thailand 30280 GPS : 14.913656, 101.944664 Tel : +66 (0) 4470 1300 Fax : +66 (0) 4470 1399


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.