PCSGH: Annual Report 2018

Page 1

2018 ANNUAL REPORT

WORLD CLASS METAL MANUFACTURER 1


สารบัญ รายงานประจําป 2561 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

ขอมูลสําคัญทางการเงิน ผลการดําเนินงานของบริ​ิษัท ป 2561 สารจากคณะกรรมการ วิสัยทัศนพันธกิจและวัฒนธรรมองคกร ขอมูลทั่วไป และขอมูลสําคัญอื่น ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสรางรายไดของบริษัท ยุทธศาสตรธุรกิจ 3 - 5 ป ขอมูลหลักทรัพยของผูถือหุน โครงสรางการจัดการ คณะกรรมการบริษัท การถือครองหุนของกรรมการและผูบริหาร คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร การกํากับดูแลกิจการ การตอตานการคอรรัปชั่น ความรับผิดชอบตอสังคม ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การบริหารจัดการความเสี่ยง ผูสอบบัญชี รายการระหวางกัน รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ การวิเคราะหฐานะการเงินและคําอธิบายของฝายจัดการ รายงานผูสอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน

1 2 3 4 6 9 18 19 21 25 41 47 48 51 64 72 73 75 79 80 83 84 85 87 91 96

3


1

ขอมูลสําคัญทางการเงิน งบการเงินรวม

ป 2561

ป 2560

ป 2559

ป 2558

รายไดจากการขาย (ลานบาท)

5,579.9

3,927.5

3,707.2

4,092.3

รายไดรวม (ลานบาท)

5,698.9

3,984.4

3,742.1

4,145.9

กําไรขั้นตน (ลานบาท)

970.8

770.2

516.4

666.3

กําไรสุทธิ (ลานบาท)

340.8

641.5

382.1

541.7

5,587.0

5,544.0

5,193.2

5,371.2

547.5

446.4

309.1

496.2

5,039.5

5,097.6

4,884.1

4,874.9

อัตรากําไรขั้นตน (%)

17.3

19.6

13.9

16.3

อัตรากําไรสุทธิ (%)

6.0

16.1

10.2

13.1

อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%)

6.7

12.9

7.8

10.8

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (%)

6.1

12.1

7.3

10.1

อัตราหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา)

0.1

0.1

0.1

0.1

ผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน

สินทรัพยรวม (ลานบาท) หนี้สินรวม (ลานบาท) สวนของผูถือหุน (ลานบาท) อัตราสวนทางการเงิน

หมายเหตุ ; บริษทั ไดเริม่ ประกอบกิจการในตางประเทศและผลการดําเนินงานไดถกู รวมในขอมูลสําคัญทางการเงินของป 2561

1


2

ผลการดําเนินงานของบริษัท ป 2561 การผลิตรถยนตของไทย (ลานคัน) 1.88

1.91

1.94

1.99

2.17

2557

2558

2559

2560

2561

รายไดจากการขาย (พันลานบาท) 4.014

2557

4.092

2558

3.707 3.927

2559

2560

1.11

1.12

1.10

2557

2558

2559

1.13 1.25

2560

2561

กําไรขั้นตน (ลานบาท)

5.586

2561

กําไรสุทธิ (ลานบาท)

807.5

666.3

516.4 770.2

970.8

2557

2558

2559

2561

2560

EBITDA (ลานบาท)

715.1

548.4

386.3

647.8 346.8

2557

2558

2559

2560

2561

ROA

1,278.0 1,141.5 932.7 1,120.9 870.4

2557

2558

2559

2560

2561

ROE 13.09% 10.1% 12.1% 7.3% 6.1%

2557

2

การผลิตรถกระบะ 1 ตันของไทย (ลานคัน)

2558

2559

2560

2561

21.1%

2557

10.8% 7.8% 12.9% 6.7%

2558

2559

2560

2561


3

สารจากคณะกรรมการ ในป 2561 อุตสาหกรรมยานยนตไทยแสดง การฟนตัวอยางชัดเจนและตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภายหลังการครบกําหนดเงื่อนไขระยะเวลาการถือครอง รถยนตคันแรก 5 ป สําหรับโครงการประชานิยมของ รัฐบาล ณ ขณะนั้น ซึ่งสิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุมยานยนต สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เปดเผยขอมูลภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนตป 2561 มี ยอดขายรถยนตในประเทศทัง้ สิน้ 1,041,739 คัน เพิม่ ขึน้ รอยละ 19.5 เมื่อเทียบกับป 2560 และมียอดการผลิต รถยนตรวม 2,167,694 คัน เพิ่มขึ้นรอยละ 9.0 จากป 2560 โดยยอดการผลิตรถกระบะ 1 ตัน รวมรถกระบะ ดัดแปลง 1,250,483 คัน เพิ่มขึ้นรอยละ 10.7 เมื่อเทียบ กับป 2560 สําหรับผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ยอยในป 2561 มีรายไดจากการขายและใหบริการจํานวน 5,586 ลานบาท เพิ่มขึ้น รอยละ 42.2 จาก 3,927.5 ลานบาทในป 2560 อันเปนผลเนื่องมาจากการรวมบันทึกรายไดจากการขายสําหรับบริษัทยอย ในตางประเทศที่บริษัทฯ ไดเขาซื้อสินทรัพยและรับโอนสินทรัพยในประเทศเยอรมนีและฮังการีในชวงตนป 2561 สําหรับกําไรสุทธิ ของบริษัทฯ และบริษัทยอยในป 2561 มีจํานวน 340.8 ลานบาท ลดลงรอยละ 46.9 จากจํานวน 641.5 ลานบาท เมื่อเทียบกับ ป 2560 ทั้งนี้ สาเหตุที่กําไรสุทธิลดลงในป 2561 เนื่องจากยังคงมีผลขาดทุนในการดําเนินงานของบริษัทยอยในตางประเทศรวมถึง คาใชจายในการเขาซื้อกิจการและการปรับโครงสรางภายใน สําหรับทิศทางในการดําเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ยอยในป 2562 ยังคงใหความสําคัญกับกลยุทธการรักษาตลาดการ ผลิตและจําหนายชิน้ สวนเครือ่ งยนต และชิน้ สวนรถกระบะ 1 ตัน ตอไป พรอมขยายเขารับการผลิตชิน้ สวนยานยนตไฟฟา รวมทัง้ ชิน้ สวนทีไ่ มใชรถกระบะ 1 ตัน (Non-Pickup) ไดแก รถจักรยานยนตขนาดใหญ (Big Bike) รถบรรทุกขนาดใหญ (Big Truck) รถยนตนงั่ (Passenger Car) รวมไปถึงการผลิตชิ้นสวนที่ไมใชยานยนต เชน เครื่องจักรกลทางการเกษตร (Agricultural Machinery) และ เครื่องใชไฟฟาภายในบาน (Home Appliance) เปนตน เพื่อขยายฐานธุรกิจใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้น จากการที่บริษัทฯ ไดเขาไปลงทุนในบริษทั ยอยทีต่ า งประเทศเปนการขยายฐานการผลิตชิน้ สวนสําคัญสําหรับเครือ่ งยนตสมัยใหมในภูมภิ าคทีม่ คี วามใกล ชิดกับลูกคามากขึ้นและขยายโอกาสในการรับงานในกลุมชิ้นสวนยานยนตไฟฟา (EV - Electrical Vehicles) ถือเปนการกระจาย ความเสี่ยง และสรางการเจริญเติบโตใหกับธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอยอยางมั่นคงและยั่งยืนในระยะยาว สําหรับความรับผิดชอบตอสังคม บริษทั ฯ และบริษทั ยอยดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงความยัง่ ยืน ดําเนินกิจกรรมตาง ๆ คํานึง ถึงประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และยึดมั่นการปฏิบตั ิตนเปนพลเมืองที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของ อยางครบถวน บริษทั ฯ มุง มัน่ ในการพัฒนาสงเสริมและยกระดับคุณภาพชีวติ ของสังคมและชุมชน โดยเฉพาะอยางยิง่ ชุมชนใกลเคียง ใหมีคุณภาพดีขึ้นพรอม ๆ ไปกับการเติบโตของบริษัทฯ เปนผลใหบริษัทฯ ไดรับการพิจารณาจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นําบริษัทฯ เขาเปนหนึ่งในรายชื่อ “หุนยั่งยืน” (Thailand Sustainability Investment หรือ THSI) ประจําป 2561 สุดทายนี้ ในนามของคณะกรรมการบริษัท ขอขอบคุณผูถือหุน ผูมีสวนไดเสีย พนักงาน และผูบริหารทุกทานสําหรับการ ดําเนินการที่ผานมา คณะกรรมการบริษัทจะยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใสภายใตหลักการกํากับดูแลกิจการดวยความ รับผิดชอบตอสังคม เพื่อใหบริษัทเติบโตไดอยางมั่นคงและยั่งยืนตลอดไป

(จักรมณฑ ผาสุกวนิช) ประธานกรรมการ

(ศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ) รักษาการประธานเจาหนาที่บริหาร 3


4

วิสัยทัศน พันธกิจ และวัฒนธรรมองคกร วิสัยทัศนของบริษัท (Vision)

“The Manufacturer of Choice for Customers with World Class Quality” “ผูผลิตที่ลูกคาเลือกดวยคุณภาพระดับโลก” บริษัทในกลุม พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง มุงมั่นที่จะเปนผูผลิตที่ลูกคาเลือก โดยการสรางความพึงพอใจ สูงสุดใหกับลูกคา และสรางความเชื่อมั่นไววางใจตลอดจนความผูกพันที่ยั่งยืนระหวางบริษัทฯ กับลูกคา ดวยการสง มอบสินคาที่มีคุณภาพระดับโลก และบริการที่ลูกคาประทับใจ

Premium Quality for Customer ใหความสําคัญดานคุณภาพในทุกขัน้ ตอนตัง้ แตการออกแบบ การ ผลิตจนถึงการสงมอบ เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับ ลูกคา

Corporate Governance for Social จัดใหมกี ารกํากับดูแลทีด่ ตี ามมาตรฐานสากลเพือ่ สรางการเติบโต ที่ยั่งยืนและชวยเหลือ สงเสริมชุมชนรอบขางและ สังคม

พันธกิจของบริษัท (Mission)

เพือ่ ใหการดําเนินธุรกิจประสบความสําเร็จ ตามวิสัยทัศน บริษัทฯ ตระหนักถึงพันธ กิจทีม่ ตี อ ผูม สี ว นไดสว นเสียประกอบดวย พันธกิจดานตางๆ ดังนี้

Shareholder Benefits for Shareholder ส ง เสริ ม ให เ กิ ด การขยายธุ ร กิ จ และสนั บ สนุ น กิ จ กรรมการ ปรับปรุงพัฒนาตางๆเพื่อลดตนทุนอยางตอเนื่อง และสรางผล ตอบแทนอยางสมํ่าเสมอใหกับ ผูถือหุน

Global Supply for growing with Business Partner สรางความไววางใจจากลูกคา สามารถเปนฐานการผลิตและ สงมอบสินคาใหกับลูกคาทั้งในและตางประเทศ เจริญเติบโตไป อยางมั่นคงพรอมกับ คูคา

Happy Workplace for Satisfy Employee สร า งเสริ ม บรรยากาศการทํ า งานที่ ดี มี ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพ บุคลากรอยางเปนระบบและตอเนื่อง เกิดความสมดุลระหวาง ชีวิตการทํางานและชีวิตสวนตัวของ พนักงาน

4


Professional เปนมืออาชีพ ยึดมั่นคุณธรรม มีความมุงมั่นทุมเท ทํางานเปนระบบ มีการวางแผนเชิงรุก และติดตาม ปรับปรุงพัฒนาอยางใกลชิดและตอเนื่อง

Customer – focus

วัฒนธรรมองคกร (Corporate Culture)

ใสใจลูกคา และใหความสําคัญกับลูกคา มุงสรางความ พึงพอใจสูงสุดใหกบั ลูกคาทัง้ ภายนอกและภายในองคกร

Synergy ทํางานเปนทีม มีความสามัคคี รวมแรงรวมใจ มีความ สัมพันธที่ดี คํานึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดสวน เสียตางๆ ไมวาจะเปนลูกคา สังคม ผูถือหุน คูคา และ พนักงาน

THE MANUFACTURER OF CHOICE FOR CUSTOMERS WITH WORLD CLASS QUALTY

: พนักงาน

: ผูถือหุน

SHAREHOLDERS BENEFITS For Shareholder

HForAPPYSatisfy WORKPLACE Employee

: สังคม

CORPORATE GOVERNACE For Social

GForLOBALGrowing SUPPLY with Business Parther : คูคา

: ลูกคา

PREMIUM QUALITY For Customer

ผูผลิตที่ลูกคาเลือกดวยคุณภาพระดับโลก

PROFESSIONAL เปนมืออาชีพ CUSTOMER-FOCUS ใสใจลูกคา SYNERGY ทํางานเปนทีม 5


5

ขอมูลทั่วไปและขอมูลสําคัญอื่น 5.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัท

6

ชื่อบริษัท ชื่อบริษัท (ภาษาอังกฤษ) ชื่อยอหลักทรัพย ประเภทธุรกิจ

: : : :

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

โทรศัพท โทรสาร ที่ตั้งสํานักงานกรุงเทพมหานคร

: : :

โทรศัพท โทรสาร เลขทะเบียนบริษัท เว็บไซต ทุนจดทะเบียนชําระแลว

: : : : :

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) P.C.S. MACHINE GROUP HOLDING PUBLIC COMPANY LIMITED PCSGH ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (Holding Company) ที่ประกอบธุรกิจผลิตและจําหนายชิ้นสวน โดยมีสัดสวนการลงทุน 100% ใน 3 บริษัทยอยในประเทศไทย และ 6 บริษัทยอยในประเทศเยอรมนี และฮังการี เลขที่ 2/1-4 หมูท ี่ 3 ถนนมิตรภาพ ตําบลโคกกรวด อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30280 044-701 300 044-701 399 เลขที่ 193/105 อาคารชุดเลครัชดา คอมเพล็กซ ชั้น 25 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 02-264 0621-3 02-264 0624 0107556000426 http://www.pcsgh.com 1,525,000,000 บาท


ขอมูลทั่วไปของบริษัทยอยในประเทศไทย บริษัทยอย บ. พี.ซี.เอส.พรีซชิ นั่ เวิรค จํากัด (PCW) สํานักงานเลขที่ 2/1-4 หมู 3 ตําบล โคกกรวด อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครราชสีมา บ. พี.ซี.เอส ได คาสติง้ จํากัด (PCD) สํานักงานเลขที่ 2/5,2/6,2/7,2/9 หมู 3 ตําบลโคกกรวด อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา บ. พี.ซี.เอส ฟอรจจิ้ง จํากัด (PCF) สํานักงานเลขที่ 2/8 หมู 3 ตําบล โคกกรวด อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครราชสีมา

สัดสวน ทุนจดทะเบียน มูลคาทีต่ ราไว ทุนชําระแลว การถือหุน ประเภทธุรกิจ (ลานบาท) ตอหุน (บาท) (ลานบาท) (%) 450 10 450 100 เป น ผู  ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว นประเภทที่ ใช ค วาม แมนยําสูง (High Precision Machining) ประเภทเครือ่ งยนต ระบบเกียร และระบบ บังคับรถ 350 10 350 100 เปนผูผลิตชิ้นสวนประเภทอลูมิเนียมฉีด ขึ้นรูป มีความชํานาญเปนพิเศษในการ ผลิตชิ้นสวนอลูมิเนียมขนาดใหญ โดยมี เครื่องจักรที่มีขนาดแรงฉีดตั้งแต 350 ตัน ถึง 2,500 ตัน 350 10 350 100 เป น ผู  ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว นประเภทเหล็ ก ขึ้ น รู ป (Forging Products) มีความชํานาญเปน พิ เ ศษในการผลิ ต ชิ้ น ส ว นจํ า พวกเหล็ ก แปรรูปรอนจําพวก Micro Alloy Steel โดยมีเครื่องจักรที่มีแรงตีเหล็กสูงตั้งแต 750 ตัน ถึง 6,000 ตัน

ขอมูลทั่วไปของบริษัทยอยในประเทศเยอรมนีและฮังการี บริษัทยอย P.C.S. Machine Group Holding GmbH (“PHG”) P.C.S. Precision Works Germany GmbH (“PWG”)

P.C.S. Precision Works Hennef GmbH (“PWH”)

P.C.S. Machine Group Holding Hungary Kft. (“PHK”) P.C.S. Precision Works Hungary (“PWK”)

สัดสวน ทุนจดทะเบียน มูลคาที่ตราไว ทุนชําระแลว การถือหุน ประเภทธุรกิจ (ยูโร) ตอหุน (ยูโร) (ยูโร) (%) ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุน ในบริษทั อืน่ 12,000,000 1 12,000,000 100 (Holding Company) ประเทศเยอรมนี ผลิตชิ้นสวนประเภทที่ใชความแมนยําสูง 10,000,000 1 10,000,000 1001 ประเภท Machining of Cast and Forged Parts (Steel/Iron/Aluminum) ชิ้นสวน สําคัญประเภท Automatic Transmission Housings, Turbo Housings, Clutch Housings 1 400,000 1001 ผลิตชิ้นสวนประเภทที่ใชความแมนยําสูง 400,000 ประเภท Machining of Cast and Forged Parts (Steel/Iron/Aluminum) ชิ้นสวน สํ า คั ญ ประเภท Turbo Modules, Compressor Housings, ThrottleControlled Turbo ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุน ในบริษทั 15,000 1 15,000 1001 อืน่ (Holding Company) ประเทศฮังการี 1 500,000 1001 ผลิตชิ้นสวนประเภทที่ใชความแมนยําสูง 500,000 ประเภท Machining of Cast and Forged Parts (Steel/Iron/Aluminum) ชิ้นสวน สําคัญประเภท Automatic Transmission Housings, Clutch Housings ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย 25,000 1 25,000 851

Eisenwerk Heiligenhaus GmbH (“EWH”) หมายเหตุ : 1 ถือหุนโดย P.C.S. Machine Group Holding GmbH (“PHG”)

7


5.2 ขอมูลสําคัญอื่น

8

นายทะเบียนหลักทรัพย

: บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02-009 9000 โทรสาร 02-009 9991

ผูสอบบัญชี

: บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด เลขที่ 1 เอ็มไพรทาวเวอร ชั้น 48-51 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 02-677 2000 โทรสาร 02-677 2222 1) นางสาวสุจิตรา มะเสนา ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 8645 2) นายวีระชัย รัตนจรัสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4323 3) นางสิรินุช วิมลสถิตย ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 8413

ที่ปรึกษาทางกฎหมาย

: บริษัท วีระวงค ชินวัฒน และพารท เนอรส จํากัด เลขที่ 540 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 02-264 8000 โทรสาร 02-657 2222


6

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “PCSGH”) ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือ หุนในบริษัทยอยอื่น (Holding Company) ที่ประกอบธุรกิจ ผลิตและจําหนายชิ้นสวนยานยนต ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีรายได หลักมาจากเงินปนผล ที่ไดรับจากการลงทุนในบริษัทยอย

ในปจจุบันบริษัทฯ ลงทุนในบริษัทยอย 3 แหงใน ประเทศไทย ไดแก PCW, PCD, PCF และบริษัทยอยที่จัดตั้ง ขึ้นในประเทศเยอรมนีและฮังการี 6 แหง ไดแก PHG, PHK, PWG, PWH, PWK และ EWH

โครงสรางการถือหุนของบริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ครอบครัวรุงโรจนกิติยศ 76.31 %

ผูถือหุนรายยอย 23.69 %

บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) (PCSGH)

บริษัท พี.ซี.เอส.พรีซิชั่น เวิรค จํากัด(PCW) 100 %

P.C.S. Precision Works Germany GmbH (PWG) 100 %

บริษัท พี.ซี.เอส.ได คาสติ้ง จํากัด (PCD) 100 %

P.C.S. Precision Works Hennef GmbH (PWH) 100 %

บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด (PCF) 100 %

P.C.S. Machine Group Holding Hungary Kft. (PHK) 100 %

P.C.S. Machine Group Holding GmbH (PHG) 100 %

P.C.S. Precision Works Hungary Kft. (PWK) 100 %

Eisenwerk Heiligenhaus GmbH (EWH) 85 %

หมายเหตุ * ไมมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงถือหุนในบริษัทที่เกี่ยวของนี้เกินรอยละ 10

9


6.1 ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทยอย บริษัทยอยในประเทศไทยมีดังนี้

1) บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด (“PCW”) จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2545 ดวยทุน จดทะเบียน 450,000,000 บาท PCW เปนผูผลิตชิ้นสวน ประเภทที่ ใช ค วามแม น ยํ า สู ง (Machining Products,

กลุมลูกคาของ PCW แบงไดเปนหลักๆ 2 ประเภท คือ • ผูผลิตและประกอบรถยนต เชน Mitsubishi Motors, General Motors, Isuzu Motors, Toyota Motors, AutoAlliance, Triumph, Mazda Motors เปนตน ซึ่งในการขายใหลูกคาประเภทนี้ PCW จะทําหนาที่ เปน OEM Supplier Tier 1

Semi-Assembly) ประเภทเครือ่ งยนต ระบบเกียร และระบบ บังคับรถ โดยวัตถุดบิ หลักที่ PCW ใชในการผลิต ไดแก วัตถุดบิ ประเภทปฐมภูมิ เชน เหล็กเสน และวัตถุดิบประเภททุติยภูมิ เชน เหล็กแปรรูป เหล็กหลอ และอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป

• OEM Supplier Tier 1 หรื อ ผู  ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว นยานยนต เพื่อจําหนายใหผูผลิตและประกอบรถยนตในขอ 1 อีก ทอดหนึ่ง เชน Continental Automotive, GKN Drive Line, Kayaba เปนตน ซึ่งในการขายใหลูกคาประเภทนี้ PCW ก็จะทําหนาที่เปน OEM Supplier Tier 2

โครงสรางสายการผลิตของผูผลิตและประกอบรถยนต และผูผลิตและจําหนายชิ้นสวนยานยนต ผูผลิตและประกอบรถยนต (OEM) ผลิตและจําหนายชิ้นสวนยานยนตใหกับผูผลิตและประกอบรถยนต

OEM Supplier Tier 1 ผลิตและจําหนายชิ้นสวนยานยนตใหกับ OEM Supplier Tier 1

OEM Supplier Tier 2 ผลิตและจําหนายชิ้นสวนยานยนตใหกับ OEM Tier 2 OEM Supplier Tier 3

10

บริษัทฯ เปนผูผลิตชิ้นสวน ประเภท Tier 1 และ Tier 2


ประเภทของสิ น ค า ของ PCW จะแบ ง หลั ก ๆ ได เ ป น 3 ประเภท ไดแก • กลุมเครื่องยนต เชน Camshaft, Balancer Shaft, Idle Shaft, Engine Gear, Fuel Rail • กลุมระบบเกียร (Power Transmission System) เชน Transmission Shaft, Transmission Coupling • กลุม ระบบบังคับรถ เชน Knuckle, ABS Rotor, Brake Caliper และ Wheel Spindle

นอกจากนี้ สินคาทีล่ กู คาสงคําสัง่ ผลิตมาให PCW มีลกั ษณะ เปน 2 แบบ คือ • Module Level ซึง่ เปนการสัง่ ชิน้ สวนยานยนตทตี่ อ ง นําชิน้ สวนยานยนตแตละชิน้ มาประกอบกันเปน Module ขนาดใหญ เชน Camshaft Assembly, Front Engine Case Cover, Balance Mass Module และ Fuel Rail Assembly เปนตน • Part Level ซึ่งเปนการสั่งชิ้นสวนยานยนตเปนชิ้นๆ ไมตองมีการนําชิ้นสวนยานยนตมาประกอบกันเปน Module ขนาดใหญ เชน Gear, Shaft และ Knuckle เปนตน เมือ่ ไดรบั คําสัง่ ซือ้ จากลูกคาแลว PCW ก็จะสงคําสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ ทุตยิ ภูมิ ใหกบั ทาง PCF และ PCD เปนหลักกอน ขึน้ กับ ประเภทของสิ น ค า ว า ต อ งใช สิ น ค า จาก PCF หรื อ PCD โดยสินคาประเภทที่ตองมีการแปรรูปเหล็ก (Forging) เชน ชิ้นสวน Fuel Rail จะตองสงคําสั่งซื้อไปที่ PCF และสินคา ประเภทอลูมิเนียม ตองสงคําสั่งซื้อไปที่ PCD และหาก PCF และ PCD ไมรับผลิต ทางบริษัท PCW ก็จะไปหาผูรับจางชวง ผลิตวัตถุดิบรายอื่น ปจจุบัน PCW มีทุนจดทะเบียนที่ชําระ แลว 450,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ 45,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวน รอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว

11


2) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จํากัด บริษทั พี.ซี.เอส. ได คาสติง้ จํากัด (“PCD”) จดทะเบียนจัด ตัง้ เมือ่ วันที่ 6 มกราคม 2547 ดวยทุนจดทะเบียน 350,000,000 บาท โดยประกอบธุรกิจ เปนผูผลิตชิ้นสวนชิ้นสวนประเภท อลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป กลุมลูกคาของ PCD แบงไดหลักๆ 2 ประเภท คือ • ผูผ ลิตและประกอบรถยนต เชน Isuzu Motors, Auto Alliance (Thailand), Toyota Motors, Renault Cleon, Nissan Renault, Ducati, Bernina เปนตน ซึ่งในการขายใหลูกคาประเภทนี้ PCD ก็จะทําหนาที่ เปน OEM Supplier Tier 1 • OEM Supplier Tier 1 หรือผูผลิตชิ้นสวนยานยนต เพือ่ จําหนายใหผผู ลิตและประกอบรถยนตในขอ 1 อีก ทอดหนึ่ง เชน PCW, Kayama เปนตน ซึ่งในการขาย ใหลูกคาประเภทนี้ PCD จะทําหนาที่เปน OEM Supplier Tier 2 ผลิตภัณฑของ PCD เปนชิ้นสวนประเภทอลูมิเนียม ฉีดขึ้นรูป โดยที่ PCD มีความชํานาญเปนพิเศษในการผลิตชิ้น

12

สวนอลูมเิ นียมขนาดใหญเนือ่ งจากเครือ่ งจักรสวนมากมีขนาด แรงฉีดตั้งแต 350 ตัน ถึง 2,500 ตัน ซึ่งสามารถผลิตชิ้นสวน ขนาดใหญจําพวก Engine Crank Case, Engine Oil Pan, Engine Cover และ Case Housing เปนตน 3) บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด (“PCF”) จด ทะเบียนจัดตัง้ เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2546 ดวยทุนจดทะเบียน 350,000,000 บาท โดยประกอบธุรกิจเปนผูผลิตชิ้นสวน ประเภท OEM Supplier Tier 2 และ OEM Supplier Tier 3 ซึ่งเปนการผลิตสินคาจําพวกวัตถุดิบแปรรูปตามคําสั่งของ ลูกคา ปจจุบัน PCF มีรายไดจาก PCW เปนสัดสวนรอยละ 93.76 ในป 2561 ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก PCF จะผลิตชิน้ สวนประเภท เหล็กแปรรูป (Forging Products) เพื่อขายให PCW นําไป ใชตอในการผลิตสินคาสําเร็จรูปบางกลุมของ PCW โดย PCF มีความชํานาญพิเศษในการผลิตชิ้นสวนประเภทเหล็กแปรรูป รอนจําพวก Micro Alloy Steel ซึ่งเปนเหล็กที่มีลักษณะ พิเศษมีคา ความแข็งสูงหลังจากการผานการขึน้ รูปรอนแลว เชน Common Rail, ชิน้ สวนปม หัวฉีดดีเซล, Knuckle, Gear, และ Balance Shaft เปนตน นอกจากนั้น PCF มีความชํานาญ เปนพิเศษในการผลิตเหล็ก แปรรูปรอนที่มีขนาดใหญ มีแรง ตีเหล็กสูงตั้งแต 750 ตัน ถึง 6,000 ตัน เชน เพลาขอเหวี่ยง, Knuckle และ เพลาถวงสมดุล เปนตน


บริษัทยอยในประเทศเยอรมนีและฮังการี มีดังนี้ 1) P.C.S. Precision Works Germany GmbH (“PWG”) จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศเยอรมนี เมือ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2560 ดวยทุนจดทะเบียน 10,000,000 ยูโร โดยเปนผูผลิตชิ้น สวนประเภททีใ่ ชความแมนยําสูง ประเภท Machining of Cast and Forged Parts (Steel / Iron / Aluminum) และชิ้น สวนสําคัญประเภท Automatic Transmission Housings, Turbo Housings , Clutch Housings เปนตน

2) P.C.S. Precision Works Hennef GmbH (“PWH”) จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศเยอรมนี เมือ่ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2561 ดวยทุนจดทะเบียน 400,000 ยูโร มีมูลคาหุนที่ตราไว หุนละ 1 ยูโร โดยเปนผูผลิตชิ้นสวนประเภทที่ใชความแมนยํา สูง ประเภท Machining of Cast and Forged Parts (Steel / Iron / Aluminum) และชิ้นสวนสําคัญประเภท Turbo Modules, Compressor Housings, Throttle-Controlled Turbo เปนตน

3) P.C.S. Precision Works KFT. (“PWK”) จัดตั้งขึ้นในประเทศฮังการี เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2561 ดวยทุนจดทะเบียน 500,000 ยูโร มีมูลคาหุนที่ตราไว หุน ละ 1 ยูโร โดยเปนผลิตชิน้ สวนประเภททีใ่ ชความแมนยําสูง ประเภท Machining of Cast and Forged Parts (Steel / Iron / Aluminum) และชิ้นสวนสําคัญประเภท Automatic Transmission Housings, Clutch Housings เปนตน

13


6.2 ความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญของบริษัทฯ ในชวง 3 ป การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ และการบริหารงานในรอบระยะเวลา 3 ป ที่ผานมาตั้งแตป 2559 ถึง ป 2561 สรุปไดดังนี้ เหตุการณ สําคัญป

2561

รายการไดมาซึ่งสินทรัพยในประเทศเยอรมนี และ ฮังการี 1 เมษายน 2561 บริษัทยอย 5 บริษัท ที่จัดตั้งขึ้น ได เขาซื้อสินทรัพยและรับโอนสินทรัพยของ SMT, ZEL และ KHU รวมมูลคาทั้งสิ้น 19,000,004 ยูโร ไดแก P.C.S. Machine Group Holding GmbH (“PHG”) จัดตั้งขึ้นในประเทศเยอรมนี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2560 มี ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 12,000,000 ยู โร ไดเขาซือ้ และรับมอบสินทรัพยประเภทอสังหาริมทรัพย ของ SMT และ ZEL รวมมูลคาทั้งสิ้น 7,000,000 ยูโร P.C.S. Precision Works Germany GmbH (“PWG”) จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศเยอรมนี เมือ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2560 มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 10,000,000 ยูโร ไดเขาซือ้ และ รับมอบสินทรัพยประเภทสังหาริมทรัพยของ SMT รวมมูลคาทั้งสิ้น 8,000,001 ยูโร P.C.S. Precision Works Hennef GmbH (“PWH”) จัดตั้งขึ้นในประเทศเยอรมนี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2561 มีทุนจดทะเบียนจํานวน 400,000 ยูโร ไดเขาซื้อ และรับมอบสินทรัพยประเภทสังหาริมทรัพยของ ZEL รวมมูลคาทั้งสิ้น 1,000,002 ยูโร P.C.S. Machine Group Holding Hungary Kft. (“PHK”) จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศฺฮงั การี เมือ่ วันที่ 9 มีนาคม 2561 ไดเขาซื้อและรับมอบสินทรัพยประเภทอสังหาริมทรัพยของ KHU รวมมูลคาทั้งสิ้น 1,406,000 ยูโร P.C.S. Precision Works Hungary Kft. (“PWK”) จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศฺฮังการี เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2561 มีทุน จดทะเบียนจํานวน 500,000 ยูโร ไดเขาซื้อและรับมอบ สินทรัพยประเภท สังหาริมทรัพยของ KHU รวมมูลคา ทั้งสิ้น 1,594,001 ยูโร

1 กรกฎาคม 2561 PHG ไดเขาซื้อสินทรัพยและรับโอน สินทรัพยประเภทอสังหาริมทรัพยของ HJK รวมมูลคาทั้งสิ้น 5,000,000 ยูโร การจดทะเบี ย นลดทุ น จากโครงการซื้ อ หุ น คื น เมื่ อ 24 สิงหาคม 2561 บริษัทไดดําเนินการจดทะเบียนลดทุน ชําระแลวของบริษัท จํานวนเงิน 20,000,000 บาท ตอกรม พัฒนาธุรกิจกระทรวงพาณิชย โดยภายหลังการจดทะเบียน ลดทุน บริษัทมีทุนจดทะเบียนจํานวน 1,525,000,000 บาท และทุนจดทะเบียนชําระแลว 1,525,000,000 บาท ซึ่งเปน หุนสามัญจดทะเบียนจํานวน 1,525,000,000 หุน มูลคา ที่ตราไวหุนละ 1 บาท การเปลีย่ นแปลงกรรมการของบริษิ ทั นายประสงค อดุลยรัตนนุกลุ ไดขอลาออกจากตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหารและ กรรมการบริษัท มีผลวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 และ คณะกรรมการบริษทั ไดมมี ติแตงตัง้ นายศิรพิ งษ รุง โรจนกติ ยิ ศ รองประธานกรรมการ เขาดํารงตําแหนงรักษาการประธาน เจาหนาที่บริหาร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 6/2561 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2561 อนุมัติแตงตั้งนายภควัต โกวิทวัฒนพงศ เขาดํารงตําแหนงกรรมการอิสระ มีผลวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล ไดขอลาออกจากตําแหนง กรรมการบริษัท, กรรมการอิสระ, กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน และประธานกรรมการตรวจสอบ เนื่องจากมีภารกิจหลายอยาง ทําใหไมสามารถปฏิบัติหนาที่ ไดอยางเต็มที่ โดยมีผลวันที่ 1 มกราคม 2562 ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2561 เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2561 อนุมัติแตงตั้งนายภควัต โกวิทวัฒนพงศ กรรมการอิสระ เขาดํารงตําแหนงกรรมการตรวจสอบ มีผล วันที่ 7 ธันวาคม 2561 และแตงตั้งนายจักร บุญ-หลง เปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ มีผลวันที่ 1 มกราคม 2562

14


เหตุการณ สําคัญป

2561 ตอ รางวัลแหงความภาคภูมิใจ บริษัทยอยในประเทศไทยไดรับรางวัลสถานประกอบ กิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน ระดับประเทศ ติดตอกันเปนปที่ 3 PCW : ไดรับรางวัล สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปนสุข โลเงินระดับประเทศ PCD : ผานการประเมินตามเกณฑโครงการธรรมาภิบาล สิง่ แวดลอมสถานประกอบอุตสาหกรรมประจําป 2561 PCSGH : ไดรบั ประกาศเกียรติคณ ุ เปนสถาบันทีใ่ หความ รวมมือจัดหาผูบ ริจาคโลหิตเปนหมูค ณะ เพือ่ ชวยเหลือ เพื่อนมนุษยอยางสมํ่าเสมอนานกวา 5 ป รวมเปน ปริมาณโลหิตที่ไดรับบริจาคเกินกวา 1,000 หนวย จากสภากาชาดไทย PCD : The Winner TCC TPS In-House Improvement Activity 2018 (Toyota) PCD : Q1 Awards (Ford) PCW : FY17 Supplier Evaluation Score (KYB) PCW : 2017 Quality Achievement (MMTh)

26 ธันวาคม 2561 แจงตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เกีย่ วกับการไดมาซึง่ สินทรัพย โดย P.C.S. Machine Group Holding GmbH ซึ่ ง เป น บริ ษั ท ย อ ยที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ภายใต กฎหมายของประเทศเยอรมนี ไดเขาถือหุนใน Eisenwerk Heiligenhaus GmbH (“Eisenwerk GmbH”) บริษทั ทีจ่ ดั ตั้งขึ้นในประเทศเยอรมนี ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย จํานวน 21,250 หุน มูลคารวมของสินทรัพยที่ไดมา เทากับ 21,250 ยูโร (หรือเทากับ 803,303.13 บาท) 19 ตุลาคม 2561 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ร ว มกั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย เผย ผลสํารวจโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจด ทะเบียนไทย ประจําป 2561 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2018) ซึ่งบริษัทฯ ไดรับคะแนนการประเมินอยูในระดับดีเลิศ (5 โลโก) 31 ตุลาคม 2561 บริษัทฯ ไดรับการประกาศใหอยูในราย ชื่ อ บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ อ ยู  ใ นกลุ  ม “หุ  น ยั่ ง ยื น ” หรื อ Thailand Sustainability Investment 2018 (THSI) ติดตอกันเปนปที่ 3 27 พฤศจิกายน 2561 บริษทั ฯ ไดรบั รางวัล SET AWARDS 2018 รางวัลดีเดนประเภทรางวัลบริษัทจดทะเบียนดานผลการ ดําเนินงานจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2562 อนุมตั กิ ารแตงตัง้ นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ ซึง่ ดํารงตําแหนงกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบของ บริษัท เปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยใหการ แตงตั้งมีผลแตงตั้งวันที่ 23 มกราคม 2562

15


เหตุการณ สําคัญป

2560

28 เมษายน 2560 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2560 มีมติอนุมตั ใิ หเพิม่ กรรมการบริษทั อีก 2 คน จาก 9 คน เปน 11 คน คือ นายกุญชร เรามานะชัย และนายพลเอก รุงโรจนกิติยศ 18 สิงหาคม 2560 บริษทั ฯ ไดรบั การรับรองเปนสมาชิกแนวรวม ปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต (Certified Company of Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption) 25 สิงหาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทยอยรวม 4 บริษัท ไดรบั รางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธ และสวัสดิการแรงงาน ระดับประเทศ และไดรับการรับรอง มาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถาน ประกอบการ จากกรมสวัสดิการคุมครองแรงงาน กระทรวง แรงงาน ติดตอกันเปนปที่ 2 12 กันยายน 2560 บริษัทฯ ไดรับประกาศเกียรติคุณเพื่อ แสดงวาไดมงุ มัน่ ในการนําหลักการแนวปฏิบตั กิ ารใชแรงงาน ที่ดี (Good Labor Practices: GLP) มาใชในการบริหาร จัดการดานแรงาน จากกรมสวัสดิการคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 17 ตุลาคม 2560 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รวมกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เผยผล สํ า รวจโครงการสํ า รวจการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การบริ ษั ท จดทะเบียนไทย ประจําป 2560 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2017) ซึ่งบริษัทฯ ไดรับคะแนนการประเมินอยูในระดับดีมาก (4 โลโก) โดย อยูใ นกลุม Top Quartile: 3,000 – 9,999 MB. Market Cap 8 พฤศจิกายน 2560 บริษทั ฯ ไดรบั การประกาศใหอยูใ นราย ชือ่ บริษทั จดทะเบียนทีอ่ ยูใ นกลุม “หุน ยัง่ ยืน” หรือ Thailand Sustainability Investment 2017 (THSI) ติดตอกันเปนปที่ 2 21 พฤศจิกายน 2560 แจงสารสนเทศตอตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยวา บริษทั ฯ ไดรบั คัดเลือกใหเปนผูผ ลิตชิน้ สวน อลูมิเนียมสําหรับยานยนตไฟฟา 2 โครงการใหม มูลคารวม ตลอดทั้งโครงการกวา 2,000 ลานบาท

16

12 ธันวาคม 2560 แจงสารสนเทศตอตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยเกี่ยวกับการไดมาซึ่งสินทรัพย โดย P.C.S. Machine Group Holding GmbH, P.C.S. Precision Works Germany GmbH ซึง่ เปนบริษทั ยอยทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ภาย ใตกฎหมายของประเทศเยอรมนี และบริษทั ยอยทีจ่ ะจัดตัง้ ขึน้ ภายใตกฎหมายของประเทศฮังการี จะเขาซื้อสินทรัพยจาก H.J. Küpper Metallbearbeitung GmbH (HJK), H.J. Küpper System & Modultechnik GmbH (SMT), Zelter GmbH (ZEL) และ Küpper Hungaria (KHU) รวมเรียกวา Küpper Group มูลคา 26.5 ลานยูโร รางวัลแหงความภาคภูมิใจ รางวัลสถานประกอบการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและ สวั ส ดิ ก ารแรงงานระดั บ ประเทศ จากกรมสวั ส ดิ ก าร คุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประกาศใหเปนหนึง่ ใน รายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่อยูในกลุม “หุนยั่งยืน” หรือ “Thailand Sustainability Investment 2017 (THSI)” มาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถาน ประกอบกิจการ ( Awards the standard on prevention and solution to drug ) ผานการประเมินตามเกณฑสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย การใจเปนสุข ระดับจังหวัด ในระดับ ดีเยี่ยม ผานการปะเมินตามโครงการ จังหวัดสะอาด โคราชไรขยะ ตามแนวทาง ประชารัฐ ในระดับ ดีเยี่ยม ผ า นการประเมิ น ตามเกณฑ โ ครงการธรรมาภิ บ าล สิ่งแวดลอมสถานประกอบอุตสาหกรรม ประจําป 2560 The winner outstanding performance supplier in quality ( Toyota ) ( PCW ) Runner up outstanding performance supplier in quality ( Toyota ) ( PCD ) 2017 TCC Safety activity target and achieving audit (Level B) ( PCW ) 2017 TCC Risk management activity (Fire & Flood assessment awareness ) ( PCW ) The best in delivery FY 2016 ( KYB Steering (Thailand) Co.,Ltd.) (PCW) The best in Quality FY 2016 ( KYB Steering (Thailand) Co.,Ltd.) (PCW)


เหตุการณ สําคัญป

2559 กรกฎาคม 2559 บริษัทฯ ไดเริ่มผลิตและจายกระแสไฟฟา จากโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยชนิดติดตั้ง บนหลังคา (Solar Rooftop) ขนาด 5 เมกะวัตต อยางเต็มระบบ สามารถลดคาใชจา ยดานพลังงานไฟฟาไดราว 20 – 25 ลานบาท ตอป 17 สิงหาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอยรวม 4 บริษัท ไดรบั รางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธ และสวัสดิการแรงงาน ระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการ คุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 12 ตุลาคม 2559 สารสนเทศแจงตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย เรือ่ งการลาออกของกรรมการ นายกุญชร เรามานะชัย และการแตงตั้ง นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ เปนกรรมการแทน 26 ตุลาคม 2559 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รวมกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เผยผลสํารวจ โครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนไทย ประจําป 2559 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2016) ซึ่งบริษัทฯ ไดรับคะแนน การประเมินอยูในระดับดีมาก (4 โลโก)

รางวัลแหงความภาคภูมิใจ รางวัลสถานประกอบการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและ สวัสดิการแรงงานระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการ คุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประกาศใหเปน หนึ่ ง ในรายชื่ อ บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ อ ยู  ใ นกลุ  ม “หุ  น ยั่ ง ยื น ” หรื อ “Thailand Sustainability Investment 2016 (THSI)” ไดรับรางวัล 2015 FY Supplier Evaluation Score จากบริษัท อีซูซุ มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด

11 พฤศจิกายน 2559 บริษัทฯ ไดรับการประกาศใหอยูใน รายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่อยูในกลุม “หุนยั่งยืน” หรือ Thailand Sustainability Investment 2016 (THSI) 22 พฤศจิกายน 2559 สารสนเทศแจงตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย เรือ่ งการเปลีย่ นแปลงโครงสราง ผูถ อื หุน รายใหญ โดยนางวรรณา เรามานะชัย ไดขายหุน ผานตลาดหลักทรัพย ใหแก นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ (บุตร) จํานวน 230 ลานหุน คิดเปนรอยละ 15.08 ของจํานวนหุน ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง หักดวยหุนซื้อคืน

17


7

โครงสรางรายไดของบริษัทฯ โครงสรางรายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย แยกตามผลิตภัณฑหลัก ป 2559 ป 2560 ดําเนิน % การถือ ประเภทรายได การโดย หุนขอบริษัท รายได รอยละ รายได รอยละ ผลิตภัณฑ Forging PCF 100 304.68 7.59 273.95 6.51 ผลิตภัณฑ Die Casting PCD 100 1,249.94 31.14 1,438.04 34.18 ผลิตภัณฑ Machining PCW 100 2,459.54 61.27 2,495.66 59.31 ผลิตภัณฑ Machining PWG 100 ผลิตภัณฑ Machining PWH 100 หักรายการระหวางกัน (306.93) (280.19) รายไดจากการขายรวม 3,707.23 100 3,927.47 100 ที่มา : งบการเงินรวมของบริษัท

ป 2561 รายได รอยละ 318.78 5.37 1,467.93 24.75 2,922.53 49.27 746.73 12.59 476.24 8.03 (352.36) 5,579.85 100 (หนวย : ลานบาท)

โครงสรางรายไดของบริษทั ฯ และบริษทั ยอย แยกตามภูมศิ าสตร ทัง้ นีร้ ายไดของบริษทั แบงตามภูมภิ าค รอบปสนิ้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีรายละเอียดดังตอไปนี้ ป 2559 ป 2560 ป 2561 ประเภทรายได รายได รอยละ รายได รอยละ รายได รอยละ เอเชีย 3,684.14 99.38 3,860.20 98.29 4,278.20 76.67 ยุโรป 0.00 0.00 5.39 0.14 1,237.76 22.18 อื่น ๆ 23.09 0.62 61.88 1.58 63.89 1.15 รายไดจากการขายรวม 3,707.23 100 3,927.47 100 5,579.85 100 (หนวย : ลานบาท)

18


8

ยุทธศาสตรธุรกิจ 3 – 5 ป เตรียมความพรอมรับการเปลี่ยนแปลงสูผูนําดานการผลิตชิ้นสวนยานยนตอนาคต ในชวงระยะเวลาที่ผานมาการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยียานยนตไปสูยานยนตสมัยใหมในอนาคตที่ใชพลังงานไฟฟา เปนแรงขับเคลื่อนมีความชัดเจนเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ทามกลางกระแสความตื่นตัวดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม ผลกระทบจาก ภาวะโลกรอน การคาดการณความขาดแคลนนํา้ มันเชือ้ เพลิงในอนาคต รวมถึงราคานํา้ มันทีม่ คี วามผันผวนในปจจุบนั ตาง ๆ เหลา นีเ้ ปนตัวเรงสําคัญทีท่ าํ ใหการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยียานยนตทลี่ ดการใชเทคโนโลยีทเี่ ปนการสันดาปภายใน มีการพัฒนาการ ใชพลังงานขับเคลื่อนทางเลือกอื่นเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และไดรับการสนับสนุนอยางจริงจังในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก อยางไรก็ดี การเปลี่ยนแปลงดังกลาวอาจไมไดเปนไปอยางรวดเร็วมากนัก ดวยอุปสรรคและความไมพรอมในระบบ สาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวกดานตาง ๆ อาทิ เทคโนโลยีของแบตเตอรี่ ระยะเวลาในการประจุ ระยะทางที่ยานยนต ไฟฟาสามารถวิง่ ไปไดตอ หนึง่ รอบการประจุไฟฟา ความพรอมของสถานีประจุไฟฟา ความเพียงพอของแหลงพลังงานไฟฟา เปนตน ผูเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ ใหความเห็นในทิศทางเดียวกัน เชน Bloomberg New Energy Finance ประมาณการวา ในป พ.ศ. 2583 หรืออีกกวา 20 ป จากนี้ สวนแบงการตลาดของยานยนตไฟฟาจะเปนราวรอยละ 54 สวนที่เหลือ (รอยละ 46) ยังคงเปน ยานยนตขับเคลื่อนดวยเครื่องยนตสันดาปภายในแบบเดิม หากพิจารณาประกอบกับความพรอมในการนํายานยนตไฟฟามาใชใน แตละประเทศป พ.ศ. 2559 จะพบวา ใน 12 ประเทศชั้นนําที่ใหการสงเสริมการใชยานยนตไฟฟาอยางจริงจัง ยังคงเปนยานยนต ไฟฟาประเภทผสมหรือ Plug-in Hybrid Electric Vehicle ถึงรอยละ 37 จึงอาจจะพอนํามากลาวโดยรวมไดวา ยานยนตในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงนี้ จะยังมีเครื่องยนตสันดาป ภายในเปนตนกําลังหรือเปนแหลงกําเนิดพลังงานมากกวารอยละ 65 โดยเปนเครื่องยนตที่มีประสิทธิภาพสูง มีขนาดเล็ก ประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิง และการปลดปลอยมลพิษตํ่า ซึ่งชิ้นสวนที่เกี่ยวของจะตองผลิตดวยวัสดุคุณภาพสูง รวมถึงกระบวนการ ผลิตที่มีความแมนยําสูง นอกจากนีก้ ารทยอยประกาศจะไมผลิตยานยนตทขี่ บั เคลือ่ นเครือ่ งยนตสนั ดาปภายในของกลุม ประเทศผูน าํ ในการสงเสริม การใชยานยนตไฟฟา โดยเฉพาะทางภาคพื้นยุโรป จะสงผลใหปริมาณการผลิตจะมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นในภูมิภาคที่ยังคงพรอมที่ จะผลิตรถยนตสันดาปภายในแบบเดิมตอไปและมีตนทุนการผลิตที่ตํ่ากวา สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งคือ การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และการ มีบทบาทมากขึ้นของกลุมประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร และเวียดนาม (CLMV) ซึ่งลวนมีพื้นฐานเปนประเทศเกษตรกรรมเชน เดียวกับประเทศไทย คาดวาความนิยมรถกระบะ 1 ตัน ซึง่ มีความเหมาะสมและสะดวกอยางยิง่ ตอการขนสงผลผลิตทางการเกษตร การใชงานในชีวิตประจําวัน และงานกอสราง จะยังคงมีความตองการในการใชงานเพิ่มมากขึ้นในภูมิภาคแถบนี้ คงความเปนผูผลิตที่ลูกคาเลือก (Manufacturer of Choice) ในกลุมชิ้นสวนเครื่องยนตและรถกระบะ 1 ตัน จากการวิเคราะหและคาดการณสิ่งที่จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตน ยุทธศาสตรสําคัญประการแรกจึง เปนการรักษาระดับศักยภาพการแขงขัน และ/หรือ ลงทุนขยายกําลังการผลิตอยางระมัดระวัง ในกลุมชิ้นสวนเครื่องยนตและชิ้น สวนอื่น ๆ สําหรับรถกระบะ 1 ตัน เห็นไดจากคํารองขอใหเสนอราคาจากลูกคา มีแนวโนมที่จะเปนโครงการสําหรับ Asia Pacific Volume หรือ Global Volume มากขึ้น บริษัทและบริษัทยอย ยังคงเดินหนารักษาและพัฒนาความสัมพันธกับลูกคาทั้งที่เปนผู ผลิตรถยนต (Original Equipment Manufacturer: OEM) และผูสงมอบขั้นที่ 1 (Tier 1 Supplier) ใหดียิ่งขึ้น และ มุงมั่นยก ระดับคุณภาพ ปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุน เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยางตอเนื่อง

19


เขาสูการผลิตชิ้นสวนยายนตไฟฟาตั้งแตระยะเริ่มตน (Early Bird Entry into Electric Vehicle Industry) จากขอมูลการประมาณการเกี่ยวกับยานยนตไฟฟาดังกลาว บริษัทและบริษัทยอยจึงเริ่มยุทธศาสตรสําคัญในการเขาถึง กลุม ลูกคาทีผ่ ลิตชิน้ สวนยานยนตไฟฟาและประสบความสําเร็จในเบือ้ งตน จนไดรบั ความไววางใจจากลูกคากลุม ดังกลาวใหเริม่ วาง สายการผลิต ผลิตชิ้นสวนตัวอยาง และเตรียมการผลิตเพื่อสงมอบอยางตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. 2563 เปนตนไป ดวยมูลคาโครงการ กวา 2,000 ลานบาท และยังมีอีกหลายชิ้นสวนที่อยูในขั้นตอนการเจรจาประสานงาน นอกจากนี้ยังมีลูกคารายอื่น ๆ มีความสนใจ ที่จะใหบริษัทและบริษัทยอยผลิตชิ้นสวนยานยนตไฟฟา เพื่อสงมอบใหตอไปในอนาคตอันใกลนี้อีกดวย ขยายฐานลูกคาไปสูกลุมชิ้นสวนนอกกลุมเครื่องยนต (Non-Engine), นอกกลุมกระบะ (Non-Pickup), นอกกลุมญี่ปุน (Non-Japan) บริษทั และบริษทั ยอยมีความแข็งแกรงทางวิศวกรรมการผลิตเปนปจจัยหลักทีส่ าํ คัญ รวมถึงมีความเชี่ยวชาญในการผลิต ชิ้นสวนใด ๆ ที่อาศัยกระบวนการ Machining, Forging และ Die Casting ไมไดถูกจํากัดไวเฉพาะชิ้นสวนเครื่องยนต หรือชิ้นสวน รถกระบะ 1 ตัน เทานั้น การขยายฐานลูกคาไปนอกกลุมลูกคาเดิมไดแก นอกกลุมเครื่องยนต, นอกกลุมรถกระบะ 1 ตัน และนอก กลุม ญีป่ นุ จึงเปนอีกหนึง่ ยุทธศาสตรสาํ คัญทีจ่ ะสามารถสรางการเติบโตใหกบั บริษทั และบริษทั ยอยไดอยางมีนยั สําคัญในอนาคต จะ เห็นไดจากการตอบรับอยางดีจากกลุม ลูกคาอืน่ ๆ ทีบ่ ริษทั และบริษทั ยอยไดรบั ความไววางใจแลว และจะเริม่ ทยอยสงมอบชิน้ งาน อยางตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. 2561 เปนตนมา เชน กลุมรถยนตนั่ง (Passenger Car), กลุมจักรยานยนตขนาดใหญ (Big Bike), กลุม รถบรรทุกขนาดใหญ (Big Truck) และนอกกลุมยานยนต (Non-Auto) ประเภท เครื่องจักรกลการเกษตร, ระบบทําความเย็น และ จักรเย็บผา เปนตน ขยายฐานการผลิตในตางประเทศ (Oversea Investment) บริษัทฯ ดําเนินการสํารวจ และแสวงหาโอกาสการเติบโตดวยการควบรวมกิจการหรือการลงทุนในตางประเทศมาอยาง ตอเนื่อง โดยคัดสรรเปาหมายที่มีความเหมาะสม มีธุรกิจที่ใกลเคียง สอดคลองกับยุทธศาสตรของบริษัท และในตนป พ.ศ. 2561 นี้ บริษัทไดดําเนินการซื้อทรัพยสินบางสวนของกลุมบริษัท Küpper Group ประเทศเยอรมนี โดยทรัพยสินดังกลาวสวนใหญตั้ง อยูในประเทศเยอรมนี และบางสวนอยูในประเทศฮังการี โดยพิจารณาจากปจจัยหลักที่สําคัญดังตอไปนี้ 1. เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ ใ นกลุ  ม ทรั พ ย สิ น นี้ ส  ว นใหญ เ ป น เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ ที่ มี ลั ก ษณะเดี ย วกั น หรื อ คลายคลึงกับเครื่องจักรอุปกรณและกระบวนการผลิตที่บริษัทฯ มีความคุนเคย มีทักษะและความชํานาญอยูแลว สามารถที่จะปรับปรุงและพัฒนาตอไปไดโดยสะดวก 2. ชิ้นสวนที่กลุมทรัพยสินนี้ผลิตอยูสวนใหญเปนชิ้นสวน Turbo Charger และ Super Charge ซึ่งเปนชิ้นสวน ของระบบที่สําคัญที่จะตองมีอยูตอไปในเครื่องยนตสมัยใหม และเครื่องยนตที่อยูในรถยนต Plug-in Hybrid Electric Vehicle จึงเปนกลุมชิ้นสวนที่มีศักยภาพในการเจริญเติบโตสูง ซึ่งปจจุบันก็มีการผลิตใหกับรถยนต ประเภทดังกลาวแลวอยางตอเนื่อง 3. ที่ตั้งสําคัญแหงหนึ่งของกลุมทรัพยสินนี้ อยูในใจกลางเมืองที่รัฐบาลประเทศเยอรมนี ประกาศใหเปนศูนยกลาง การพัฒนาและผลิตยานยนตอนาคต หรือ Electro Mobility อีกดวย ดวยเหตุดงั กลาวนี้ จึงถือเปนยุทธศาสตรสาํ คัญอีกประการหนึง่ ทีจ่ ะทําใหบริษทั ฯ สามารถเขาถึงโอกาสในการเปนผูผ ลิต ชิ้นสวนสําหรับยานยนตอนาคตในภูมิภาคดังกลาว มุงมั่นดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน (Sustainability Business) บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกฝายอยูเสมอ จึงกําหนดนโยบายอยางชัดเจนที่จะ ดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส ภายใตการกํากับดูแลกิจการที่ดี นําไปสูการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน บริษัทฯ ไดรับการรับรอง จาก โครงการแนวรวมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนในการตอตานทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption: CAC) ไดรับการประเมินจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (Thailand Institute of Directors Association: IOD) ดาน Corporate Governance (CG Scoring) ระดับ ดีเลิศ (Excellent CG Scoring) หรือ 5 ดาว และผานการประเมินโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีรายชื่ออยูในกลุมบริษัทจด ทะเบียนที่มีการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน (Thailand Sustainability Investment: THSI (SET) ติดตอกันเปนปที่ 3

20


9

ขอมูลหลักทรัพยและผูถือหุน 9.1 จํานวนทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลว ทุนจดทะเบียน

ทุนที่ออกและชําระแลว

: 1,525,000,000 บาท ประกอบดวยหุนสามัญจํานวน 1,525,000,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท : 1,525,000,000 บาท

9.2 ผูถือหุน

9.2.1) ผูถือหุนรายใหญ 10 อันดับแรกของบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) จากขอมูลวันปดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2561 บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) (“PCSGH”) มีรายละเอียดผูถือหุนดังนี้

รายชื่อผูถือหุน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ นายบัลลังก รุงโรจนกิติยศ นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ กองทุนเปดบัวหลวงหุนระยะยาว น.ส.กัญญาภัทร ศิริศรีอัจฉราพร น.ส.รังสิกาญจน โมรินทร กองทุนเปด บัวหลวงหุนระยะยาว 75/25 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด

จํานวนหุน 230,200,000 230,000,000 230,000,000 230,000,000 230,000,000 53,187,300 47,552,800 29,378,000 18,584,800 13,015,800

คิดเปนรอยละ* 15.10 15.08 15.08 15.08 15.08 3.49 3.12 1.93 1.22 0.85

หมายเหตุ *รอยละของหุนทั้งหมด 1,525,000,000 หุน

9.2.2) ขอจํากัดของการถือหุนของชาวตางชาติ หุน ของบริษทั สามารถโอนไดอยางเสรีโดยไมมขี อ จํากัด และหุน ทีถ่ อื โดยชาวตางชาติตอ งมีจาํ นวนรวมกันไมเกิน รอยละ 49 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท จากขอมูลปดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2561 บริษัทมีผู ถือหุนที่เปนชาวตางชาติ คิดเปนรอยละ 0.54 ของจํานวนหุนทั้งหมด

21


ผูถือหุนของบริษัทยอย 3 บริษัทในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีรายละเอียดผูถือหุนดังนี้ (1) บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด (“PCW”) รายชื่อผูถือหุน 1

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

2 3

จํานวนหุน

คิดเปนรอยละ*

44,999,998

100.00

นางวรรณา เรามานะชัย

1

0.00

นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ

1

0.00

45,000,000

100.00

รวม (2) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จํากัด (“PCD”) รายชื่อผูถือหุน 1.

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

2. 3.

จํานวนหุน

คิดเปนรอยละ*

34,999,998

100.00

นางวรรณา เรามานะชัย

1

0.00

นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ

1

0.00

35,000,000

100.00

รวม (3) บริษัท พี.ซี.เอส.ฟอรจจิ้ง จํากัด (“PCF”) รายชื่อผูถือหุน 1.

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

2. 3.

คิดเปนรอยละ*

34,999,998

100.00

นางวรรณา เรามานะชัย

1

0.00

นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ

1

0.00

35,000,000

100.00

รวม

22

จํานวนหุน


ผูถือหุนของบริษัทยอยในประเทศเยอรมนีและฮังการี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีรายละเอียดผูถือหุนดังนี้ บริษัท

รายชื่อผูถือหุน

1. P.C.S. Machine Group Holding Germany GmbH (“PHG”)

จํานวนหุน รอยละ

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

12,000,000 100.00

2. P.C.S. Precision Works Germany GmbH P.C.S. Machine Group Holding Germany GmbH 10,000,000 100.00 (“PWG”) (“PHG”) 3. P.C.S. Precision Works Hennef GmbH (“PWH”)

P.C.S. Machine Group Holding Germany GmbH (“PHG”)

400,000 100.00

4. P.C.S. Machine Group Holding Hungary KFT (“PHK”)

P.C.S. Machine Group Holding Germany GmbH (“PHG”)

15,000 100.00

5. P.C.S. Precision Works KFT (“PWK”)

P.C.S. Machine Group Holding Hungary KFT. (“PHK”)

500,000 100.00

6. Eisenwerk Heiligenhaus GmbH (“EWH”)

P.C.S. Machine Group Holding Germany GmbH (“PHG”)

15,000

85.00

9.3 การออกหลักทรัพยอื่น - ไมมี –

9.4 นโยบายการจายเงินปนผล 9.4.1) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) (“PCSGH”) บริษทั ฯ จะจายเงินปนผลไมนอ ยกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหักภาษีและหลัง หักสํารองตามกฎหมาย โดยคณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาการจายเงินปนผลโดยคํานึงถึงผลประโยชนตอผูถือหุนเปนหลัก เชน การดํารงเงินไวเพื่อลงทุนในอนาคต หรือเพื่อจายชําระคืนเงินกูยืม หรือเปนเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัทฯ 9.4.2) ขอมูลการจายเงินปนผลของบริษัทที่ผานมา รายละเอียด กําไรสุทธิ (หลังหักภาษีและสํารองตามกฎหมาย) (ลานบาท)

ป 2561

ป 2560

ป 2559

ป 2558

331.97

518.64

374.73

593.08

อัตรากําไรสุทธิตอหุน(กอนหักสํารองตามกฎหมาย) (บาท)

0.23

0.36

0.26

0.41

อัตราเงินปนผลตอหุน (บาท)

0.27

0.28

0.24

0.40

411.75

427.00

366.00

610.00

จํานวนเงินปนผลจาย (ลานบาท) อัตราสวนการจายเงินปนผลตอกําไรสุทธิ

124.03 % 82.33 %

97.67% 102.85%

23


9.4.3) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย บริษัทยอยจะจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 70 ของกําไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะกิจการ หลังหักภาษีและ หลังหักสํารองตามกฎหมาย อยางไรก็ดี คณะกรรมการ และ/หรือ ผูถือหุนของบริษัทยอย จะพิจารณาจายเงินปนผล โดยพิจารณา ตามความเหมาะสมของสภาพธุรกิจ เชน พิจารณาจากแผนการลงทุนในการขยายกิจการของบริษัทยอย หรือเพื่อจายชําระคืนเงิน กูยืม หรือเปนเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัท

24


1 10

โครงสรางการจัดการ 10.1 ผังการบริหารงานบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ( ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561)

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร

หนวยงาน ตรวจสอบภายใน

ประธานเจาหนาที่บริหาร เลขานุการบริษัท

ประธานเจาหนาที่ ฝายปฏิบัติการ

ประธานเจาหนาที่ ฝายการเงิน

ฝายวิจัยและพัฒนา

ฝายบัญชีและการเงิน

ประธานเจาหนาที่ ฝายการตลาด

ฝายการตลาด

ฝายจัดซื้อ ฝายบริหารองคกร ฝายบริหารงานทั่วไป

25


ผังการบริหารงานบริษัทยอย ( ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561)

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ หนวยงาน ตรวจสอบภายใน

ประธานเจาหนาที่ฝาย ปฏิบัติการ (COO)**

คณะกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร ประธานเจาหนาที่ ฝายการเงิน (CFO)*

P.C.S. Machine Group Holding GmbH (PHG) บ.พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด (PCW)

P.C.S. Precision Works Germany GmbH (PWG)

บ.พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จํากัด (PCD)

P.C.S. Precision Works Hennef GmbH (PWH)

บ.พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด (PCF)

P.C.S. Machine Group Holding Hungary (PHK) P.C.S. Precision Works Kft (PWK) Eisenwerk Heiligenhaus GmbH (“EWH”)

หมายเหตุ : * ประธานเจาหนาที่บริหารและประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน จะกํากับดูแลกิจการของบริษัทยอยตางประเทศในเชิงนโยบายและการจัดการ ทรัพยากรในภาพรวมขององคกรเทานั้น ** ประธานเจ า หน า ที่ ป ฏิ บั ติ ก าร จะกํ า กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของบริ ษั ท ย อ ยในประเทศไทยเท า นั้ น และให อํ า นาจาจการบริ ห าร จัดการงานดานการปฏิบัติงานแกประธานเจาหนาที่บริหาร PHG ในการกํากับดูแลงานในตางประเทศที่อยูภายใตสายการบังคับบัญชา อยางเบ็ดเสร็จ

26


10.2 คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดยอย และคณะกรรมการบริษัทยอย โครงสรางการบริหารของบริษัทฯ ประกอบดวยคณะกรรมการจํานวน 4 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะ กรรมการชุดยอยคือ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร โดยมี รายชื่อและขอบเขตอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวย ชื่อ – สกุล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

นายจักรมณฑ ผาสุกวนิช นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ* นายวีระชัย เชาวชาญกิจ นางศรีไทย เหมโสรัจ*** นายจักร บุญ-หลง** นางวรรณา เรามานะชัย นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ นายกุญชร เรามานะชัย

ตําแหนง ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการและรักษาการประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

หมายเหตุ * นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 ** นายจักร บุญ-หลง ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562 *** นางศรีไทย เหมโสรัจ ไดลาออกจากการเปนกรรมการ มีผลวันที่ 15 มกราคม 2562

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการผู  มี อํ า นาจลงนามผู ก พั น บริ ษั ท คื อ กรรมการสามในหกคน ดั ง ต อ ไปนี้ นายศิ ริ พ งษ รุ  ง โรจน กิ ติ ย ศ, นางวรรณา เรามานะชัย, นายอังกฤษ รุง โรจนกติ ยิ ศ, นายกุญชร เรามานะชัย, นายธิเบต รุง โรจนกติ ยิ ศ หรือ นายพลเอก รุง โรจนกติ ยิ ศ ลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท

27


ขอบเขตและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษัทฯ มติคณะกรรมการบริษัทและมติ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ดวยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตยสุจริต 2. พิจารณากําหนดรายละเอียดและใหความเห็นชอบ วิสยั ทัศน กลยุทธทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบาย ทางธุรกิจ เปาหมาย แนวทาง แผนการดําเนินงาน และ งบประมาณของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ย ตามที่ คณะกรรมการและฝายจัดการจัดทํา 3. กํากับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบัติงานของ ประธานเจาหนาที่บริหาร ฝายจัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึ่งไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ดังกลาวของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทรวม เพื่อใหเปนไปตามนโยบาย ที่คณะกรรมการบริษัทกําหนด 4. ติดตามผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ บริษทั ยอย และ บริษัทรวมอยางตอเนื่อง เพื่อใหเปนไปตามแผนการ ดําเนินงานและงบประมาณของบริษัทฯ 5. ดําเนินการใหบริษัทฯ และบริษัทยอยนําระบบงาน บัญชีทเี่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช รวมทัง้ จัดให มีระบบควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน 6. จัดใหมีการทํางบดุล และงบกําไรขาดทุน ณ วันสิ้นสุด รอบปบัญชีของบริษัทฯ และลงลายมือชื่อเพื่อรับรอง งบการเงินดังกลาว เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมผูถือหุน ในการประชุมสามัญประจําป เพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. พิ จ ารณาให ค วามเห็ น ชอบการคั ด เลื อ กและเสนอ แตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทยอย และ พิจารณาคาตอบแทนทีเ่ หมาะสม ตามทีค่ ณะกรรมการ ตรวจสอบนําเสนอ กอนนําเสนอตอที่ประชุมผูถือหุน ในการประชุมสามัญประจําป เพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. จัดใหมีนโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการของ บริษัทฯ และบริษัทยอยตามหลักธรรมาภิบาลที่เปน ลายลักษณอกั ษร และการปรับใชนโยบายดังกลาวอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ให เชื่ อ มั่ น ได ว  า บริ ษั ท ฯ มี ความรั บ ผิ ด ชอบต อ ผู  มี ส  ว นเกี่ ย วข อ งทุ ก กลุ  ม ด ว ย ความเปนธรรม 9. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต ง ตั้ ง บุ ค คลของบริ ษั ท ฯ และ บริษัทยอยที่มีคุณสมบัติและไมมีคุณสมบัติตองหาม ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติบริษัทมหาชจํากัด

28

10.

11. 12.

13. 14.

พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแกไขเพิม่ เติม) พระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 (รวมทั้ง ที่มีการแกไขเพิ่มเติม) รวมถึง ประกาศ ขอบังคับและ/ หรือ ระเบียบที่เกี่ยวของ เขาดํารงตําแหนง ในกรณีที่ ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากออก ตามวาระ และพิจารณาใหความเห็นชอบแตงตัง้ กรรมการ แทนกรรมการที่ อ อกตามวาระ และการกํ า หนด คาตอบแทนกรรมการเพือ่ นําเสนอตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพื่อพิจารณาอนุมัติ แตงตั้งคณะกรรมการชุดยอย เชน คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือคณะกรรมการชุดยอยอืน่ ใดและกําหนด อํ า นาจหน า ที่ ข องคณะกรรมการชุ ด ย อ ยดั ง กล า ว เพือ่ ชวยเหลือและสนับสนุนการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะ กรรมการ พิจารณากําหนดและแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการ ซึ่งมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯได พิจารณาแตงตั้งผูบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย (โดยผูบ ริหารใหเปนไปตามคํานิยามทีก่ าํ หนดโดยคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยหรือ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน) และเลขานุการบริษัท รวมทัง้ พิจารณากําหนดคาตอบแทนของผูบ ริหารดังกลาว ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองคกรภายนอก หาก มีความจําเปนเพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม สงเสริมใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ เขารวม หลักสูตรสัมมนาตาง ๆ ของสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย ในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับหนาที่ และความรับผิดชอบของกรรมการและผูบริหารนั้น

นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ยังมีหนาทีใ่ นการกํากับ ดูแลและบริหารจัดการบริษทั ยอย และบริษทั รวม ดังนี้ 1. เพื่ อ ให บ ริ ษั ท ฯ สามารถควบคุ ม ดู แ ลการจั ด การ และรั บ ผิ ด ชอบการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ย อ ยและ บริษัทรวมไดเสมือนเปนหนวยงานหนึ่งของบริษัทฯ และเพื่อใหบริษัทฯ มีกลไกกํากับดูแลบริษัทยอยและ บริษัทรวมทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งมีมาตรการ ในการ ติดตามการบริหารงานของบริษัทยอยและ บริษัทรวม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชนในเงินลงทุน ของบริษัท โดยใหกรณีดังตอไปนี้ตองไดรับการอนุมัติ


จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุม ผูถ อื หุน (แลวแตกรณี) 2. กรรมการของบริษัทฯ จะติดตามผลการดําเนินงาน ของบริษัทยอยและบริษัทรวมใหเปนไปตามแผนงาน และงบประมาณอยางตอเนือ่ ง และติดตามใหบริษทั ยอย เปดเผยขอมูลรายการเกี่ยวโยง และรายการไดมาหรือ จํ า หน า ยไปซึ่ ง สิ น ทรั พ ย ต  อ บริ ษั ท ฯ ตามประกาศ ที่ เ กี่ ย วข อ งของคณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น และ ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย (แลวแตกรณี) มาบังคับใชโดยอนุโลม อยางครบถวนและถูกตอง 3. กรรมการของบริษทั ฯ ตองจัดใหบริษทั ยอยทีป่ ระกอบ ธุ ร กิ จ หลั ก มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสม และรัดกุมเพียงพอ เพือ่ ปองกันการทุจริตทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั ยอย รวมทัง้ ควรใหบริษทั ยอยจัดใหมรี ะบบงาน ที่ชัดเจน เพื่อแสดงไดวา บริษัทยอยมีระบบเพียงพอ ในการเปดเผยขอมูลการทํารายการที่มีนัยสําคัญตาม หลักเกณฑที่กําหนดไดอยางตอเนื่องและนาเชื่อถือ และมีชองทางใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ สามารถไดรับขอมูลของบริษัทยอยในการติดตามดูแล ผลการดําเนินงานและฐานะการเงินการทํารายการ ระหว า งบริ ษั ท ย อ ยกั บ กรรมการและผู  บ ริ ห ารของ บริษทั ยอย และการทํารายการทีม่ นี ยั สําคัญของบริษทั ยอย ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ต อ งจั ด ให บริษัทยอยมีกลไกในการตรวจสอบระบบงานดังกลาว ในบริ ษั ท ย อ ย โดยให ที ม งานผู  ต รวจสอบภายใน และกรรมการอิสระของบริษัทฯ สามารถเขาถึงขอมูล ไดโดยตรง และใหมกี ารรายงานผลการตรวจสอบระบบ งานดังกลาวใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจไดวา บริษัทยอยมีการปฏิบัติตามระบบ งานที่จัดทําไวอยางสมํ่าเสมอ ทั้ ง นี้ การมอบหมายอํ า นาจหน า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทนั้น จะไมมี ลั ก ษณะเป น การมอบอํ า นาจ หรื อ มอบอํ า นาจ ชวงที่ทําใหคณะกรรมการบริษัทหรือผูรับมอบอํานาจ จากคณะกรรมการบริ ษั ท สามารถอนุ มั ติ ร ายการ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง (ตามที่นิยามไว ในประกาศคณะกรรมการ กลต. หรื อ ประกาศ คณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น ) อาจมี ส  ว นได เ สี ย หรืออาจไดรับประโยชนในลักษณะใด ๆ หรืออาจ

มี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน อื่ น ใดกั บ บริ ษั ท ฯ หรือบริษัทยอยของบริษัทฯ ยกเวนเปนการอนุมัติ รายการที่ เ ป น ไปตามนโยบายและหลั ก เกณฑ ที่ ที่ประชุมผูถือหุนหรือคณะกรรมการบริษัทพิจารณา อนุมัติไว วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการบริษัท ในการประชุ ม ผู  ถื อ หุ  น สามั ญ ประจํ า ป ทุ ก ครั้ ง ให กรรมการออกจากตําแหนงเปนอัตราจํานวนหนึง่ ในสาม (1/3) ถาจํานวนกรรมการทีจ่ ะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมไดกใ็ ห ออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับอัตราหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการ ที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรก และปที่สองภายหลังการ แปรสภาพนั้น ใหจับสลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอ ไปใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจาก ตําแหนง กรรมการซึ่งพนจากตําแหนง อาจไดรับเลือกตั้งใหม ไดโดยที่ประชุมผูถือหุน กรณีกรรมการอิสระ มีวาระการดํารงตําแหนงตอเนือ่ ง นับจาก วันที่ไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการอิสระครั้งแรกไม เกิน 9 ป กรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการอิสระ 4 ทาน จากกรรมการทั้งหมด 11 ทาน โดยกรรมการอิสระ มีคุณสมบัติตามที่ประกาศคณะกรรมการตลาดทุนกําหนดไว โดยยึดหลักปฏิบัติเพื่อใหสอดคลองกับการกํากับดูแลกิจการ ที่ดี ดังตอไปนี้ 1. ถื อ หุ  น ไม เ กิ น ร อ ยละ 1 ของจํ า นวนหุ  น ที่ มี สิ ท ธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุม บริษัท โดยใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของ กรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย 2. ไม เ คยหรื อ เคยเป น กรรมการที่ มี ส  ว นร ว มบริ ห าร ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจํา หรือ ผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุมบริษัท เวนแตจะไดพนจาก การมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป ทั้งนี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการ อิสระเคยเปนขาราชการหรือ ทีป่ รึกษาของสวนราชการ ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมบริษัท

29


3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปน บิ ด า มารดา คู  ส มรส พี่ น  อ ง และบุ ต ร รวมทั้ ง คู  สมรสของบุตร ของผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูม อี าํ นาจ ควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะไดรบั การเสนอใหเปนผูบ ริหาร หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 4. ไม มี ห รื อ เคยมี ค วามสั ม พั น ธ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญหรือ ผูมีอํานาจควบคุมบริษัท ในลักษณะที่อาจเปนการ ขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้ง ไมเปนหรือเคยเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั สําคัญ หรือผูม อี าํ นาจ ควบคุ ม ของผู  ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท บริษทั ใหญ บริษทั ยอย ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี าํ นาจ ควบคุ ม บริ ษั ท เว น แต จ ะได พ  น จากการมี ลั ก ษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป ความสั ม พั น ธ ท างธุ ร กิ จ วรรคหนึ่ ง รวมถึ ง การทํ า รายการทางการค า ที่ ก ระทํ า เป น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิจการ การเชา หรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับทรัพยสินหรือบริการ หรือการให หรื อ รั บ ความช ว ยเหลื อ ทางการเงิ น ด ว ยการรั บ หรือใหกูยืม คํ้าประกัน การใหสินทรัพยเปนหลัก ประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทํานองเดียวกัน ซึง่ เปนผลใหบริษทั หรือคูส ญ ั ญามีภาระหนีท้ ตี่ อ งชําระ ตออีกฝายหนึ่งตั้งแต รอยละ 3 ของสินทรัพยที่มี ตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต 20 ลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะตํ่ากวา ทั้งนี้การคํานวณภาระหนี้ ดังกลาวใหเปนไปตามวิธกี ารคํานวณมูลคาของรายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามประกาศคณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุนวาดวยหลักเกณฑในการทํารายการที่ เกีย่ วโยง กันโดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ให นั บ รวมภาระหนี้ สิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว า งหนึ่ ง ป กอนวันที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญหรือผูม อี าํ นาจ ควบคุมบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจ ควบคุม หรือหุนสวนของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมี สอบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญหรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษทั สังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไม

30

6.

7. 8.

9.

นอยกวา 2 ป ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่ง รวมถึ ง การให บ ริ ก ารเป น ที่ ป รึ ก ษากฎหมายหรื อ ที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น ซึ่ ง ได รั บ ค า บริ ก ารเกิ น กว า 2 ลานบาทตอปจากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญหรือผูมีอํานาจควบคุม ของบริ ษั ท และไม เ ป น ผู  ถื อ หุ  น ที่ มี นั ย ผู  มี อํ า นาจ ควบคุม หรือหุน สวนของผูใ หบริการทางวิชาชีพนัน้ ดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลว ไมนอยกวา 2 ป ไม เ ป น กรรมการที่ ไ ด รั บ การแต ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป น ตัวแทนของกรรมการบริษัท ผูถือหุนรายใหญหรือ ผูถือหุน ซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ ไม ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย า งเดี ย วกั น และ เป น การแข ง ขั น ที่ มี นั ย กั บ กิ จ การของบริ ษั ท หรื อ บริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุน เกิน 1% ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอยางเดียวกันและเปนการ แขงขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทยอย ไมมลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ าํ ใหไมสามารถใหความเห็นอยาง เปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท

2) คณะกรรมการชุดยอย ประกอบดวยคณะกรรมการ ทั้งหมด 3 ชุด ไดแก (1) คณะกรรมการตรวจสอบ มีจาํ นวน 3 ทาน ประกอบดวย ชื่อ – สกุล

ตําแหนง

1 นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2 นายวีระชัย เชาวชาญกิจ

กรรมการตรวจสอบ

3 นายจักร บุญหลง

กรรมการตรวจสอบ

หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินอยางถูกตอง และเพียงพอ 2. ดูแลใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลและพิจารณา


3.

4.

5. 6.

7.

ความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายในตลอดจน ให ค วามเห็ น ชอบในการพิ จ ารณาแต ง ตั้ ง โยกย า ย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน และ/หรือ การวาจางบริษทั ตรวจสอบภายในหรือหนวยงานอืน่ ใด ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน สอบทานใหบริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตัง้ และเสนอคาตอบแทน บุคคลซึง่ มีความเปนอิสระเพือ่ ทําหนาทีเ่ ปนผูส อบบัญชี ภายนอกของบริษทั ตลอดจนพิจารณาเลิกจางผูส อบบัญชี ภายนอกดังกลาว รวมทัง้ เขารวมประชุมกับผูส อบบัญชี โดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครัง้ ประชุมรวมกับผูส อบบัญชีของบริษทั โดยไมมฝี า ยบริหาร เขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครัง้ เพือ่ ขอความเห็น จากผูสอบบัญชีในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับบริษัท พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจ มีความขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนไปตามกฎหมาย และขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อให มัน่ ใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชน สูงสุดตอบริษัท จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผย ไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาว ตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและ ตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ 7.1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตองครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท 7.2) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความเพี ย งพอระบบ ควบคุมภายในของบริษัท 7.3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย วาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจ ของบริษัท 7.4) ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส อบ บัญชี 7.5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน 7.6) จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน

7.7) ความเห็ น หรื อ ข อ สั ง เกตโดยรวมที่ ค ณะ กรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ ตาม กฎบัตร (Charter) 7.8) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุน ทัว่ ไปควรทราบภายใตขอบเขตหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ ที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 8. ดําเนินการตรวจสอบเรื่องที่ไดรับแจงจากผูสอบบัญชี ของบริ ษั ท ในกรณี ที่ ผู  ส อบบั ญ ชี พ บพฤติ ก รรม อันควรสงสัยวากรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลซึ่ง รั บ ผิ ด ชอบในการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ได ก ระทํ า ความผิดตามทีก่ าํ หนดไวในพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และรายงานผลการตรวจสอบ ในเบือ้ งตนใหแกสาํ นักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และผูส อบบัญชีทราบภายในเวลา 30 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงจากผูสอบบัญชี 9. พิจารณาการจัดทํา และทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยสมํ่าเสมอ 10. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท มอบหมายด ว ยความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบจะมีวาระอยูใ นตําแหนงคราวละ 3 ป โดยนับปตามรอบการประชุมสามัญผูถือหุน กรรมการที่พน จากตําแหนงตามวาระอาจไดรับแตงตั้งใหม สวนกรรมการที่ ประสงคจะลาออกจากตําแหนงระหวางที่ยังไมหมดวาระจะ ตองแจงเหตุผลตอคณะกรรมการบริษัท

(2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีจาํ นวน 3 ทาน ประกอบดวย ประกอบดวยคณะกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร(Nonexecutive Director) จํานวน 3 ทาน ซึง่ 2 ใน 3 เปนกรรมการ อิสระ ไดแก ชื่อ – สกุล

1 นายวีระชัย เชาวชาญกิจ

ตําแหนง ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

2 นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ กรรมการสรรหาฯ 3 นายปราโมทย เตชะสุพฒ ั นกลุ * กรรมการสรรหาฯ หมายเหตุ : *นายปราโมทย เตชะสุพฒ ั นกลุ ขอลาออกจากการเปนกรรมการ มีผลวันที่ 1 มกราคม 2562

31


หนาที่และความรับผิดชอบของกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน 1. พิจารณาโครงสรางและองคประกอบของคณะกรรมการ บริษัท ทั้งในเรื่องของจํานวนที่เหมาะสมกับธุรกิจและ คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการแต ล ะคนในด า นทั ก ษะ ประสบการณ ความสามารถเฉพาะดานทีเ่ กีย่ วของกับ ธุรกิจ 2. กําหนดนโยบาย หลักเกณฑและวิธีการในการสรรหา และกําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดยอย และประธานเจาหนาที่บริหาร 3. สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่สมควรไดรับการเสนอ รายชือ่ เปนกรรมการบริษทั กรรมการในคณะกรรมการ ชุดยอย และประธานเจาหนาที่บริหาร เพื่อเสนอ ตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ทีป่ ระชุม ผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. จั ด ทํ า แผนการสื บ ทอดงาน (Succession Plan) เพื่อเตรียมความพรอมใหมีผูสืบทอดงานในกรณีที่ ประธานเจาหนาที่บริหารเกษียณอายุหรือไมสามารถ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด เพื่ อ ให ก ารบริ ห ารงานของบริ ษั ท สามารถดําเนินไปไดอยางตอเนื่อง 5. กําหนดรูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทน ใหแกกรรมการบริษทั กรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร เพือ่ เสนอคณะกรรมการ บริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผูถือหุนเพื่อขออนุมัติ 6. กํ า หนดแนวทางและหลั ก เกณฑ ก ารประเมิ น ผล การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ ชุดยอย และประธานเจาหนาที่บริหาร 7. ปฏิบัติการอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน 1. กรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค า ตอบแทนมี ว าระ การดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป โดยครบรอบออก ตามวาระการดํ า รงตํ า แหน ง ของกรรมการบริ ษั ท และเมือ่ ครบกําหนดตามวาระอาจไดรบั การแตงตัง้ จาก คณะกรรมการบริษัทอีกก็ได นอกจากการพ น จากตํ า แหน ง ตามวาระ ดั ง กล า วข า งต น กรรมการสรรหาและพิ จ ารณา คาตอบแทน พนจากตําแหนงเมื่อ พนจากการเปน

32

กรรมการขอบริษทั , ลาออก, ตาย หรือที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัท มีมติพิจารณาใหพนจากตําแหนง 2. เมื่อกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนพน จากตําแหนงกอนครบวาระ ใหคณะกรรมการบริษัท แตงตั้งกรรมการที่มีคุณสมบัติครบถวนเปนกรรมการ สรรหาและพิ จ ารณาค า ตอบแทนแทน โดยอยู  ใ น ตํ า แหน ง เพี ย งเท า วาระของกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทนซึ่งตนเขามาแทน (3) คณะกรรมการบริหาร มีจํานวน 5 ทาน ประกอบดวย ชื่อ – สกุล

1 2 3 4 5

นายวีระชัย เชาวชาญกิจ นายศิรพิ งษ รุง โรจนกติ ยิ ศ นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ นายอังกฤษ รุง โรจนกติ ยิ ศ นายกุญชร เรามานะชัย

ตําแหนง

ประธานคณะกรรมการบริหาร ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. พิจารณากลัน่ กรองและกําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ แผนการดํ า เนิ น งานประจํ า ป แ ละแผนระยะกลาง 5 ป รวมถึงงบประมาณประจําป เพื่อนําเสนอคณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2. ติดตามและดูแลการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหเปน ไปตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ แผนการดําเนินงานและ งบประมาณประจําปที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษทั ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเอือ้ ตอสภาพ ธุรกิจ พรอมใหคําปรึกษา แนะนํา ในเรื่องการบริหาร จัดการแกผูบริหารระดับสูง 3. พิจารณาอนุมัติการใชจายเงินเพื่อการลงทุน วงเงิน ตัง้ แต 5 – 100 ลานบาท ในโครงการลงทุนทีไ่ ดรบั อนุมตั ิ งบประมาณจากคณะกรรมการบริษัทแลว 4. พิจารณาอนุมัติการกําหนด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง โครงสรางองคกรระดับฝาย รวมทั้งพิจารณาโยกยาย และแต ง ตั้ ง พนั ก งานระดั บ ผู  อํ า นวยการฝ า ย และ รายงานใหคณะกรรมการบริษัททราบ 5. ปฏิ บั ติ ง านเรื่ อ งอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย 6. พิจารณาการบริหารความเสี่ยงของบริษัท


10.3 นโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการสรรหาคณะ กรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน จะ พิจารณาสรรหาบุคคลจากแหลงตางๆ ดังนี้ 1.1) กรรมการของบริษัทเปนผูแนะนํา 1.2) ผูถือหุนที่ถือหุนและมีสิทธิออกเสียงรวมกันได ไมนอยกวารอยละ 5 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัท 1.3) บริษัทที่ปรึกษาภายนอก 1.4) ฐานขอมูลกรรมการของสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 2. พิจารณาความเหมาะสมของความรูแ ละประสบการณ ในธุรกิจหรืออุตสาหกรรมที่บริษัทดําเนินกิจการอยู ความเชี่ยวชาญเฉพาะดานที่เปนประโยชนกับบริษัท หรือที่บริษัทตองการ ความหลากหลายในดานตาง ๆ เชน ความเปนอิสระ ทักษะวิชาชีพ อายุ เพศ ฯลฯ โดยจัดทําเปนตาราง Board Skill Matrix 3. ตรวจสอบบุ ค คลที่ จ ะถู ก เสนอชื่ อ ว า มี คุ ณ สมบั ติ ตามกฎหมายและขอกําหนดของหนวยงานกํากับดูแล เชน พระราชบัญญัติบริษัท มหาชน จํากัด พ.ศ.2535 (รวมทั้ ง ที่ มี ก ารแก ไขเพิ่ ม เติ ม ) พระราชบั ญ ญั ติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 (รวมทั้ง ทีม่ กี ารแกไขเพิม่ เติม) รวมถึง ประกาศ ขอบังคับ และ/ หรือ ระเบียบที่เกี่ยวของ 4. กรณีเปนกรรมการเดิมที่จะกลับเขาดํารงตําแหนง อีกวาระ คณะกรรมการสรรหาฯ อาจพิจารณาการ อุทิศเวลาของกรรมการและผลการปฏิบัติงานในชวง ทีด่ าํ รงตําแหนง รวมถึงพิจารณาจํานวนบริษทั จดทะเบียน ที่กรรมการทานนั้นดํารงตําแหนงกรรมการ ซึ่งรวม แลวไมควรเกิน 3 บริษัทจดทะเบียน 5. กรณีแตงตั้งกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาฯ จะพิ จ ารณาความเป น อิ ส ระของบุ ค คลที่ จ ะเสนอ

ใหเปนกรรมการอิสระตามหลักเกณฑที่สํานักงาน กลต. กําหนดและหลักเกณฑของบริษัทประกอบ การพิจารณา โดยหากเปนกรรมการอิสระเดิมที่จะ กลับเขาดํารงตําแหนงอีกวาระ ควรมีวาระการดํารง ตําแหนงตอเนื่องนับจากวันที่ไดรับแตงตั้งใหดํารง ตําแหนงกรรมการอิสระครั้งแรกไมเกิน 9 ป 6. คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค า ตอบแทน จะคัดเลือกและจัดทํารายชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ให คณะกรรมการบริ ษั ท เสนอให ที่ ป ระชุ ม ผู  ถื อ หุ  น อนุมัติแตงตั้งหรือใหคณะกรรมการบริษัทแตงตั้งใน กรณีทตี่ าํ แหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอนื่ นอกจาก ออกตามวาระ 7. ดําเนินการทาบทามบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคลอง กับเกณฑทกี่ าํ หนดไว เพือ่ จะไดมนั่ ใจวาบุคคลดังกลาว มีความยินดีจะมารับตําแหนงกรรมการของบริษัท หากไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการหรือผูถือหุน 10.4 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ก ารกํ า หนดตารางการ ประชุมคณะกรรมการไวเปนการลวงหนาทุกป โดยจะจัดให มีการประชุมมากกวา 6 ครั้งตอป กอนการประชุมแตละครั้ง เลขานุการบริษัทจะจัดสงหนังสือเชิญประชุม ซึ่งมีการระบุ วาระการประชุม และเอกสารประกอบการประชุมใหกับคณะ กรรมการลวงหนาอยางนอย 7 วันทําการ คณะกรรมการไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับจํานวน องคประชุมขั้นตํ่า ณ ขณะที่คณะกรรมการบริษัทจะลงมติ ใน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยตองมีกรรมการอยูไมนอย กวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด ในป 2561 มีการประชุมคณะกรรมการจํานวน 7 ครั้ง เปนการประชุมที่กําหนดไวลวงหนา โดยกรรมการบริษัท ทั้งคณะเขาประชุมรอยละ 83.11 และกรรมการรายบุคคลเขา รวมประชุมนอยกวารอยละ 75 จํานวน 4 ทาน

33


จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอยในป 2561 สรุปไดดังนี้ จํานวนครั้งที่เขาประชุม/จํานวนการจัดประชุมทั้งป ชื่อ – สกุล

ตําแหนง

กรรมการ บริษัท

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ที่ไมเปน ตรวจสอบ สรรหา ฯ บริหาร ผูบริหาร

1. นายจักรมณฑ ผาสุกวนิช

- ประธานกรรมการ - กรรมการอิสระ

7/7

-

-

-

2.นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ

- รองประธานกรรมการ - กรรมการสรรหา

6/7

-

1/3

1/1

3.นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ - กรรมการสรรหาฯ

7/7

5/5

3/3

-

1/1

4.นายวีระชัย เชาวชาญกิจ

- ประธานกรรมการสรรหาฯ - ประธานกรรมการบริหาร - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

5/7

3/5

3/3

1/1

1/1

5.นางศรีไทย เหมโสรัจ

- กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

7/7

5/5

-

-

1/1

6.นางวรรณา เรามานะชัย

- กรรมการ

5/7

-

-

-

-

7.นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ

- กรรมการ

7/7

-

-

1/1

-

8.นายประสงค อดุลยรัตนนุกุล* - กรรมการ - กรรมการบริหาร

6/6

-

-

1/1

-

9.นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ

- กรรมการ - กรรมการบริหาร

3/7

-

-

1/1

-

10.นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ

- กรรมการ

5/7

-

-

-

-

11.นายกุญชร เรามานะชัย

- กรรมการ - กรรมการบริหาร

6/7

-

-

1/1

-

0/1

1/1

-

-

-

12.นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ** - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ

34

* นายประสงค อดุลยรัตนนุกลุ ไดขอลาออกมีผลวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 ** นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ตั้งแตวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561


10.5 การพัฒนากรรมการ บริษัทฯ สงเสริมใหกรรมการและผูบริหารเขารวม หลักสูตรสัมมนาตาง ๆ ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับหนาที่และความรับผิด ชอบของกรรมการและผูบ ริหาร สําหรับป 2561 ไมมกี รรมการ เขารับการอบรม 10.6 การประเมินตนเองของกรรมการ คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหมีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการ (Board Self-Assessment) เปนประจําทุกป โดยใชแบบประเมินทีบ่ ริษทั ฯ ปรับปรุง จากตัวอยางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยแลวจัดทํา แบบประเมินขึ้นจํานวน 3 ชุด ดังนี้ 1) การประเมินตนเองของกรรมการทั้งคณะ 2) การประเมินตนเองของ คณะกรรมการชุดยอยแบบ รายคณะ ซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการชุดยอย 3 ชุด คือ 2.1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2.2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 2.3) คณะกรรมการบริหาร 3) การประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการ และ คณะกรรมการชุดยอยรายบุคคล เพือ่ ใชเปนกรอบ ในการตรวจสอบการปฏิ บั ติ ง านในหน า ที่ ข อง คณะกรรมการบริษทั วาไดดาํ เนินการตามนโยบาย การกํากับดูแลกิจการที่ไดอนุมัติไวและ/หรือตาม แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) เพื่อปรับปรุง การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ใหสอดคลอง

กับแนวนโยบายทีก่ าํ หนดไว และเพือ่ ทบทวนปญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นในรอบปที่ผานมา (1) กระบวนการประเมินผลงานของคณะกรรมการ ทัง้ คณะ / คณะกรรมการชุดยอยรายบุคคล มีดงั นี้ 1) คณะกรรมการบริษทั เปนผูอ นุมตั แิ ละทบทวน แบบประเมินผลเพือ่ ใหเกิดความถูกตอง ครบถวน และเปนไปตามหลักเกณฑที่หนวยงานกํากับ ดูแลกําหนด 2) เลขานุการบริษัท จัดสงแบบประเมินตนเอง ของคณะกรรมการใหกรรมการบริษัทภายใน ตนเดือนธันวาคมของทุกป 3) กรรมการบริษทั ทําแบบประเมินผลและสงคืน เลขานุการบริษัท ภายในสิ้นเดือนธันวาคม ของทุกป 4) เลขานุการบริษัท เปนผูสรุปและวิเคราะหผล การประเมินประสิทธิภาพการดําเนินงานของ คณะกรรมการบริ ษั ท และรายงานผลการ วิเคราะหจากการประเมินใหคณะกรรมการ บริษัทรับทราบ 5) เลขานุ ก ารบริ ษั ท นํ า ผลวิ เ คราะห แ ละ ความเห็นเพิ่มเติมจากคณะกรรมการบริษัท ไปจัดทําแผนเพื่อดําเนินการปรับปรุง (2) หลั ก เกณฑ ที่ ใช ใ นการประเมิ น ผลงานของ คณะกรรมการทั้งคณะ / คณะกรรมการชุดยอย รายบุคคล / รายบุคคล ครอบคลุมเนื้อหาดังนี้ คณะกรรมการ ทั้งคณะ

คณะกรรมการ ชุดยอย

รายบุคคล

โครงสรางและคุณสมบัติของกรรมการ

/

/

/

บทบาท/หนาที่/ความรับผิดชอบของกรรมการ

/

/

/

การประชุมของคณะกรรมการ

/

/

/

การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ

/

-

-

ความสัมพันธกับฝายจัดการ

/

-

-

การพัฒนาตนเองของกรรมการและผูบริหาร

/

-

-

หัวขอการประเมิน

35


(3) ผลการประเมินของคณะกรรมการทั้งคณะ / คณะกรรมการชุดยอยรายคณะ / รายบุคคล ประจําป 2561 มีดังนี้ ชุดที่ 1 ผลการประเมินตนเองของกรรมการทั้งคณะประจําป 2561 - คะแนนเฉลี่ย 4.54 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวขอประเมิน 1) โครงสรางและคุณสมบัติของกรรมการ คาเฉลี่ย 4.75 2) บทบาท/หนาที่/ความรับผิดชอบของกรรมการ คาเฉลี่ย 4.12 3) การประชุมของคณะกรรมการ คาเฉลี่ย 4.87 4) การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ คาเฉลี่ย 4.43 5) ความสัมพันธกับฝายจัดการ คาเฉลี่ย 4.40 6) การพัฒนาตนเองของกรรมการและผูบริหาร คาเฉลี่ย 4.67 ชุดที่ 2 การประเมินตนเองของ คณะกรรมการชุดยอย แบบรายคณะ ประจําป 2561 1.) คณะกรรมการตรวจสอบ - คะแนนเฉลี่ย 4.52 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวขอประเมิน 1) โครงสรางและคุณสมบัติของกรรมการ คาเฉลี่ย 2) การประชุมของคณะกรรมการชุดยอย คาเฉลี่ย 3) บทบาท/หนาที่/ความรับผิดชอบของกรรมการชุดยอย คณะกรรมการตรวจสอบ คาเฉลี่ย 2.) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน - คะแนนเฉลี่ย 4.54 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวขอประเมิน 1) โครงสรางและคุณสมบัติของกรรมการ คาเฉลี่ย 2) การประชุมของคณะกรรมการชุดยอย คาเฉลี่ย 3) บทบาท/หนาที่/ความรับผิดชอบของกรรมการชุดยอย คณะกรรมการสรรหาและพิจาณาคาตอบแทน คาเฉลี่ย 3.) คณะกรรมการบริหาร - คะแนนเฉลี่ย 4.52 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวขอประเมิน 1) โครงสรางและคุณสมบัติของกรรมการ คาเฉลี่ย 2) การประชุมของคณะกรรมการชุดยอย คาเฉลี่ย 3) บทบาท/หนาที่/ความรับผิดชอบของกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริหาร คาเฉลี่ย

4.69 4.87 4.00

4.69 4.87 4.08

4.69 4.87 4.00

ชุดที่ 3 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ และ คณะกรรมการชุดยอยรายบุคคล ประจําป 2561 - คะแนนเฉลี่ย 4.25 (จากคะแนนเต็ม 5.00) - คะแนนตามหัวขอประเมิน 1) โครงสรางและคุณสมบัติของกรรมการ คาเฉลี่ย 4.50

36


2) การประชุมของคณะกรรมการ 3) บทบาท/หนาที่/ความรับผิดชอบของกรรมการชุดยอย

คาเฉลี่ย คาเฉลี่ย

4.25 4.00

การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจาหนาที่บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่ในการกําหนดเปาหมายการปฏิบัติงานประจําป และระยะยาว ของประธาน เจาหนาที่บริหาร รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติงานดังกลาว เปรียบเทียบกับเปาหมายวาเปนไปตามหลักเกณฑ และมีความเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร โดยตัวแทนของคณะกรรมการจะเปนผูแจงผลการประเมินใหประธาน เจาหนาที่บริหารทราบ และผลของการประเมินดังกลาวจะถูกนํามาใชประกอบ ในการพิจารณากําหนดคาตอบแทน และเงินรางวัลจูงใจที่เหมาะสมของประธานเจาหนาที่บริหาร 10.7 คณะกรรมการบริษัทยอยทั้ง 3 บริษัทในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีดังนี้ ลําดับ 1 2 3 4 5

ชื่อ – สกุล นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ นางวรรณา เรามานะชัย นายกุญชร เรามานะชัย นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ

ตําแหนง

PCW

บริษัท PCD

PCF

กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม)

หมายเหตุ : = เปนกรรมการ , = ไมเปนกรรมการ

รายชื่อผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบริหารของบริษัทฯ มีจํานวน 9 ทาน ประกอบดวยรายชื่อดังตอไปนี้ ชื่อ-สกุล

ตําแหนง

1 นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ

รักษาการประธานเจาหนาที่บริหาร

2 นายกุญชร เรามานะชัย

ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ

3 นายกรวุฒิ ชิวปรีชา

ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน

4 นายอธิวัฒน อภิโชติ

ประธานเจาหนาที่ฝายการตลาด

5 นางสาวบุษรา บัวเผื่อน

ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน

6 นางสุนทรี รอดประจง

ผูอํานวยการฝายบริหารความสัมพันธภายนอกองคกร

7 นางลัดดาวัลย นันทศรี

ผูอํานวยการฝายจัดซื้อและฝายบริหารงานทั่วไป

8 นายเฉลิมศักดิ์ สนธิ์เจริญ

ผูอํานวยการฝายวิจัยและพัฒนาวิศวกรรม

9 นางวรารัตน จอมโคกกรวด

ผูอํานวยการฝายบริหารองคกร

37


ขอบเขตและอํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหาร ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2556 เมือ่ วัน ที่ 27 มิถุนายน 2556 มีมติกําหนดขอบเขตและอํานาจหนาที่ ของประธานเจาหนาที่บริหารไวดังนี้ 1. การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยรวม เพื่อเปนไปตามวัตถุประสงคของการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ และตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท 2. กํ า หนดกลยุ ท ธ และแผนการทางธุ ร กิ จ เสนอต อ คณะกรรมการบริษัท และดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปา หมายตาม กลยุทธและแผนการทางธุรกิจที่ไดรับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท 3. ดําเนินการและปฏิบตั ภิ ารกิจทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย และตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท 4. สั่งการ ออกระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อใหการปฏิบัติ งานเปนไปตามนโยบาย 5. อนุ มั ติ และ/หรื อ มอบอํ า นาจการทํ า นิ ติ ก รรมเพื่ อ ผูกพันบริษัทฯ สําหรับธุรกรรมปกติของบริษัทฯ รวมถึง ธุรกรรม ที่ประธานเจาหนาที่บริหาร ไดรับมอบอํานาจ จากคณะกรรมการบริษัทใหดําเนินการแทน ทั้งนี้ให รวมถึง ธุรกรรมใดๆ ที่ไมเปนการผูกพันทรัพยสินของ บริษัทฯ โดยตรง 6. ประสานงาน ผูบริหาร และพนักงาน เพื่อปฏิบัติตาม นโยบายและทิศทางทางธุรกิจทีไ่ ดรบั จากคณะกรรมการ บริษัท 7. แสวงโอกาสทางธุรกิจและการลงทุนใหมๆ ที่เกี่ยวของ กับธุรกิจหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ยอย เพือ่ เพิม่ รายได ใหแกบริษัทฯ 8. พิจารณาการนําสิทธิและทรัพยสินของบริษัทฯ ไปกอ ภาระผูกพันใดกับบุคคล บริษัท หาง ราน หรือสถาบัน การเงิน เพื่อนําเสนอคณะกรรมการอนุมัติ 9. พิจารณาอนุมตั กิ ารจายคาใชจา ยการดําเนินงานปกติใน วงเงินตามที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติมอบหมายไว 10. พิจารณาอนุมัติการลงทุนในตราสารและหลักทรัพย เพื่อบัญชีบริษัทฯ ในวงเงินตามที่คณะกรรมการบริษัท อนุมัติมอบหมายไว 11. อนุมตั ใิ นหลักการการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจน การรวมทุนกับผูประกอบกิจการอื่นๆ และใหนําเสนอ คณะกรรมการบริษัท เพื่ออนุมัติในที่ประชุมคราวถัดไป

38

12. อนุมัติการใชจายเงินลงทุนที่สําคัญๆ ที่ไดกําหนดไว ในงบประมาณรายจายสําหรับป หรือที่คณะกรรมการ บริษัทไดเคยมีมติอนุมัติในหลักการไวแลว 13. ดูแลการทํางานของพนักงานใหเปนไปตามนโยบาย กฎระเบียบตางๆ รวมถึงการปฏิบตั งิ านดวยหลักธรรมาภิบาล ในการทําธุรกิจ 14. สงเสริมพัฒนาความรูความสามารถ และศักยภาพของ พนักงานเพื่อเพิ่มศักยภาพขององคกร 15. พิจารณาแตงตัง้ ทีป่ รึกษาตางๆ ทีจ่ าํ เปนตอการดําเนินการ ของบริษัทฯ 16. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารทํ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ เ ป น เงือ่ นไขปกติทางการคา เชน ซือ้ ขายสินคาดวยราคาตลาด การคิ ด ค า ธรรมเนี ย มบริ ก ารในอั ต ราค า ธรรมเนี ย ม ปกติ และการใหเครดิตเทอมเหมือนลูกคาทั่วไปเปนตน ทั้งนี้ภายใตนโยบายที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัท 17. อนุมัติการแตงตั้ง โยกยาย และเลิกจางพนักงานระดับ ผูบริหาร 18. ดํ า เนิ น กิ จ การงานอื่ น ๆ ตามที่ ไ ด รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท เปนกรณีๆ ไป ทั้งนี้ประธาน เจาหนาที่บริหาร ไมมีอํานาจในการอนุมัติเรื่องหรือ รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีไ่ มใชเปนเงือ่ นไขปกติทางการคา รายการไดมาจําหนายไปซึง่ สินทรัพยสาํ คัญของบริษทั ฯ และ/หรือ รายการที่ประธานเจาหนาที่บริหาร หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีสวน ไดเสีย หรือมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดที่จะทําขึ้น กับบริษัทฯ และบริษัทยอย ยกเวนเปนรายการที่เปน เงื่ อ นไขปกติ ท างการค า ที่ ไ ด มี ก ารกํ า หนดนโยบาย และหลั ก เกณฑ โดยได อ นุ มั ติ ร ายการที่ เ ป น ไปตาม นโยบายและหลั ก เกณฑ ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ไดพจิ ารณาอนุมตั ไิ วและไดขอความเห็นชอบจากผูถ อื หุน ในการทํารายการเกีย่ วโยงกันและการไดมาหรือจําหนาย ไปซึง่ สินทรัพยทสี่ าํ คัญของบริษทั ฯ หรือบริษทั ยอยแลว เพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยในเรื่องดังกลาว 19. นโยบายการไปดํารงตําแหนงกรรมการที่บริษัทอื่นของ ประธานเจาหนาที่บริหาร ซึ่งสามารถไปดํารงตําแหนง กรรมการบริษทั อืน่ ทีไ่ มใชบริษทั ในเครือ ไดไมเกิน 3 บริษทั โดยตองผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท


10.8 รายชื่อผูบริหารของบริษัทยอย 10.8.1 บริษัทยอยในประเทศไทย (1) บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด (“PCW”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบริหารของ PCW มีจํานวน 8 ทาน ประกอบดวยรายชื่อดังตอไปนี้ ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8

ชื่อ-สกุล นายทาอิจิ อูชิโอดะ นายพสิษฐ ฐากุลจิรัฎฐ นางสาวอําไพพรรณ ธรรมาวัฒน นายปรีชา ศิริโสภา นายนิพนธ ภูศิริ นายสุขพงศ พุมหมื่นไวย นางสาววิมลมาศ ดุลยไธสง นายณรงค กลํ่ากลิ่น

ตําแหนง กรรมการผูจัดการ ผูชวยกรรมการผูจัดการ ผูอํานวยการฝายขายและโลจิสติกส ผูอํานวยการฝายวิศวกรรมและซอมบํารุง ผูอํานวยการฝายผลิต 1 ผูอํานวยการฝายผลิต 2 ผูอํานวยการฝายวางแผนและบริหารการผลิต ผูอํานวยการฝายวิศวกรรม

(2) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบริหารของ PCD มีจํานวน 5 ทาน ประกอบดวยรายชื่อดังตอไปนี้ ลําดับ 1 2 3 4 5

ชื่อ-สกุล นายทาอิจิ อูชิโอดะ นายจันทร วกสูงเนิน นายไดซุเกะ ซาโต นายทรงพล เห็นกลาง นายขวัญชัย ตระการกสิกิจ

ตําแหนง รักษาการกรรมการผูจัดการ ผูอํานวยการฝายผลิต ผูอํานวยการฝายพัฒนางานฉีดขึ้นรูป ผูอํานวยการฝายวิศวกรรม ผูอํานวยการฝายประกันคุณภาพ

(3) บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบริหารของ PCF มีจํานวน 2 ทาน ดังนี้ ลําดับ ชื่อ-สกุล 1 Mr.Ronald Theodore Kosinski 2 นายวุฒิชัย ตันสําโรง

ตําแหนง กรรมการผูจัดการ รองผูอํานวยการฝายประกันคุณภาพ

10.8.2 บริษัทยอยในประเทศเยอรมนีและฮังการี (1) P.C.S. Machine Group Holding Germany GmbH. & P.C.S. Machine Group Holding Hungary Kft. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบริหารของ PHG และ PHK ดังนี้ ลําดับ ชื่อ-สกุล 1 นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ

ตําแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร

39


(2) P.C.S. Precision Works Germany GmbH ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบริหารของ PWG มีจํานวน 3 ทาน ประกอบดวยรายชื่อดังตอไปนี้ ลําดับ ชื่อ-สกุล 1 Mr. Holger Schumann 2 Mr. Hans Ernst Ulrich Kaiser 3 Mr. Sven Ritscher

ตําแหนง กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ Plant Manager

(3) P.C.S. Precision Works Hennef GmbH ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบริหารของ PWH มีจํานวน 3 ทาน ประกอบดวยรายชื่อดังตอไปนี้ ลําดับ ชื่อ-สกุล 1 Mr. Holger Schumann 2 Mr. Hans Ernst Ulrich Kaiser 3 Mr. Harry Steinhauer

ตําแหนง กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ Plant Manager

10.9 เลขานุการบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 ไดมีมติแตงตั้งนางสาวบุษรา บัวเผื่อน ใหทํา หนาที่เปนเลขานุการบริษัท เพื่อทําหนาที่รับผิดชอบดําเนินการดังตอไปนี้ 1) จัดทําและเก็บรักษาเอกสารดังตอไปนี้ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานประจําปของบริษัทฯ หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานการประชุมผูถือหุน 2) เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบริหาร 3) ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด

40


1 11

คณะกรรมการบริษัท

8 9 2

3

7 4

10

1

5

6

1. นายจักรมณฑ ผาสุกวนิช 6. นางวรรณา เรามานะชัย ประธานกรรมการ กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) 2. นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ 7. นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ รองประธานกรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) รักษาการประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการบริหาร 8. นายกุญชร เรามานะชัย 3. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูบริหาร กรรมการอิสระ 9. นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ 4. นายวีระชัย เชาวชาญกิจ กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ 10. นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) 5. นายจักร บุญ-หลง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ 41


1. นายจักรมณฑ ผาสุกวนิช ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 11 กันยายน 2558 อายุ : 71 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโทเศรษฐศาสตร California State University ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ป 2557 อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2557 อบรมหลักสูตร Current Issue Seminar (CIS) ป 2551 อบรมหลักสูตร The Role of Chairman Program (RCP) ป 2551 อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2549 อบรมหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) ป 2549 อบรมหลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FN) ป 2547 อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2547 สัดสวนการถือหุนในบริษัท : ไมมี (ถือหุนโดยคูสมรส 0.06 %, ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2561)

2. นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ รองประธานกรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ที่ปรึกษากรรมการบริหาร รักษาการประธานเจาหนาที่บริหาร

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 69 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโทเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

42

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการ และผูบริหาร : ไมมี ประสบการณทํางาน : 2559 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย จํากัด (มหาชน) 2558 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) 2558 – ปจจุบัน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และกํากับดุแลกิจการ บริษัท อินโดรามา เวนเจอรส จํากัด (มหาชน) 2556-2557 ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) 2553-2557 ประธานกรรมการ บริษัท ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย จํากัด (มหาชน) 2552-2557 กรรมการอิ ส ระ และกรรมการ ตรวจสอบ บริษทั อินโดรามา เวนเจอรส จํากัด (มหาชน) จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : 2 บริษัท บริษัททั่วไป : ไมมี การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบริหารในกิจการอื่นที่อาจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2557 สัดสวนการถือหุนในบริษัท : 15.08 % (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการ และผูบริหาร : เปนสามี นางวรรณา เรามานะชัย เปนบิดา นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ เปนบิดา นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ เปนบิดา นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ


ประสบการณทํางาน : 2556 – ปจจุบนั รองประธานกรรมการ (ผูม อี าํ นาจลงนาม) กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน, ที่ปรึกษากรรมการบริหาร และรักษาการประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

3. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 16 พฤศจิกายน 2561 อายุ : 69 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรีเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดีมาก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญาโท สาขาการตลาดและการเงิน Wharton School University of Pennsylvania ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2548 สัดสวนการถือหุนในบริษัท : 0.04 % (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร : ไมมี ประสบการณทํางาน : 2559 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ทรีนิตรี้ วัฒนา จํากัด(มหาชน) 2542 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ, กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ บริษทั แลนด แอนด เฮาส จํากัด(มหาชน) 2560 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท การแพทย สุขุมวิท 62 จํากัด 2560 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท สมารท ไอดี กรุป จํากัด

จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : 16 บริษัท การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบริหารในกิจการอื่นที่อาจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี –

2553 – ปจจุบัน ทีป่ รึกษา สมาคมบริษทั หลักทรัพยไทย 2552 – ปจจุบัน ทีป่ รึกษา นายกสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย 2543 – ปจจุบัน คณะกรรมการจัดทําบันทึกขอตกลง และประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งาน รั ฐ วิ ส าหกิ จ (รายสาขา) สํ า นั ก งาน คณะกรรมการนโยบายรั ฐ วิ ส าหกิ จ กระทรวงการคลัง 2555 – ปจจุบัน กรรมการคัดเลือกบุคคลและขาราชการ เขารวมโครงการพัฒนานักบริหาร การเปลี่ยนแปลงรุนใหม สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 2553 – 2560 กรรมการและประธานกรรมการ กลยุ ท ธ อ งค ก ร บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย เพื่อธุรกิจหลักทรัพย จํากัด(มหาชน) 2559 – 2560 รองประธานกรรมการสมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทย 2558 – 2560 กรรมการผูท รงคุณวุฒิ กองทุนบําเหน็จ บํานาญขาราชการ 2554 – 2561 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั ไทยรับเบอรลาเท็คชคอรปอเรชัน่ (ประเทศไทย)จํากัด (มหาชน) จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : 3 บริษัท บริษัททั่วไป : 2 บริษัท การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี –

43


4. นายวีระชัย เชาวชาญกิจ

ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประธานกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 67 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ป 2557 อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2557 สัดสวนการถือหุนในบริษัท : ไมมี (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร : ไมมี

5. นายจักร บุญ-หลง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 1 มกราคม 2562 อายุ : 65 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรีโท ศิลปศาสตรบณ ั ทิต (สาขาเศรษฐศาสตรและ ความสัมพันธระหวางประเทศ) ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประวัติการฝกอบรม : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท : ไมมี (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร : ไมมี

6. นางวรรณา เรามานะชัย กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม)

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 27 มิถุนายน 2556 อายุ : 68 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโทเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

44

ประสบการณทํางาน : 2556 – ปจจุบัน ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) 2555 – ปจจุบัน ที่ปรึกษา กลุมบริษัทสมบูรณ 2555 – ปจจุบัน กรรมการผู  จั ด การ บริ ษั ท ธนบุ รี ประกอบรถยนต จํากัด 2554 – ปจจุบัน ทีป่ รึกษาอาวุโส บริษทั นอริตาเก เอส เอ (ประเทศไทย) จํากัด จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : 8 บริษัท การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี – ประสบการณทํางาน : 2560 – 2561 เอกอัครราชทูต ณ กรุงยางกุง สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา 2558 – 2559 เอกอัครราชทูต ณ กรุงออสโล ราชอาณาจักรนอรเวย 2555 – 2557 เอกอัครราชทูต ณ กรุงเทลอาวีฟ รัฐอิสราเอล จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : ไมมี การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2557 สัดสวนการถือหุนในบริษัท : 0.20% (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบ ริหาร : เปนภรรยา นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ


เปนมารดา นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ เปนมารดา นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ เปนพี่สาว นายกุญชร เรามานะชัย เปนมารดา นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ ประสบการณทํางาน : 2556 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

7. นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการบริหาร

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 7 ตุลาคม 2556 อายุ : 42 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2557 สัดสวนในการถือหุน บริษทั : 15.10 % (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบ ริหาร : เปนบุตรชาย นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ และ นางวรรณา เรามานะชัย เปนนองชาย นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ เปนพี่ชาย นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ ประสบการณทํางาน : 2557 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

9. นายกุญชร เรามานะชัย กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการบริหาร

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 28 เมษายน 2560 อายุ : 58 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรีวศิ วกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตพระนครเหนือ ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2557

จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : 17 บริษัท การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี 2537 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. นิสชิน จํากัด 2556 – ปจจุบัน รองกรรมการผูจัดการ บริษัท พี.ซี.เอส. เอสเตท จํากัด 2557 – ปจจุบัน กรรมการและกรรมการผูจัดการ บริษัท พี.ซี.เอส. แคลิเบรชั่น จํากัด 2557 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั ไฮ แลนด กอลฟ จํากัด 2557 – ปจจุบัน กรรมการ บริ ษั ท แฟคตอรี่ แอนด ออฟฟช ซัพพลาย จํากัด 2561 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. พรีซชิ นั่ เวิรค จํากัด 2561 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. ได คาสติง้ จํากัด 2561 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. ฟอรจจิง้ จํากัด 2551 – 2556 กรรมการ บริษทั เอสดับบลิว แอนด ซันส (ชิงหยวน) จํากัด จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : 7 บริษัท การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี -

สัดสวนการถือหุนในบริษัท : ไมมี (ถือหุนโดยบุตร 0.04 %, ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบ ริหาร : เปนนองชาย นางวรรณา เรามานะชัย ประสบการณทํางาน : 2556 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) 2551 – 2556 ผูจัดการใหญฝายพัฒนาวิศวกรรม บริษทั พี.ซี.เอส. พรีซชิ นั่ เวิรค จํากัด 2551 – 2556 ผูอ าํ นวยการฝายเทคนิคบริษทั เอสดับบลิว แอนด ซันส จํากัด

45


จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : 3 บริษัท

10. นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม) กรรมการบริหาร

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 12 ตุลาคม 2559 อายุ : 44 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟา Operation Research & Industrial Engineer, Computer Science, Cornell University ปริญญาตรีวิศวกรรมคอมพิวเตอร University of Miami ประวัติการฝกอบรม : ไมมี สัดสวนการถือหุน ในบริษทั : 15.08 % (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบ ริหาร : เปนบุตรชาย นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ และ นางวรรณา เรามานะชัย เปนพี่ชาย นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ

11. นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ กรรมการ (ผูมีอํานาจลงนาม)

วันที่ไดรับการแตงตั้ง : 28 เมษายน 2560 อายุ : 35 ป คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล University of Tennessee ประวัติการฝกอบรม : อบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2557 สัดสวนการถือหุน ในบริษทั : 15.08 % (ณ 31 ธันวาคม 2561) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบ ริหาร : เปนบุตรชาย นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ และ นางวรรณา เรามานะชัย เปนพี่นองชาย นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ เปนพี่นองชาย นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ

46

การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี เปนพี่ชาย นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ ประสบการณทํางาน : 2559 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) 2556 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ บริษัท เอสดับบลิว แอนด ซันส จํากัด 2544 – ปจจุบัน กรรมการผูจ ดั การบริษทั เอสดับบลิวเอส มอเตอรส จํากัด 2542 – 2544 Senior Engineering Management, AT&T, USA จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : 1 บริษัท การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี ประสบการณทํางาน : 2560 – ปจจุบัน กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) 2556 – 2558 กรรมการ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) 2554 – 2556 กรรมการผูจัดการ บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด 2554 – 2556 ผูจ ดั การโรงงาน และผูจ ดั การใหญฝา ย พั ฒ นาวิ ศ วกรรม บริ ษั ท พี . ซี . เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด 2553 – 2554 วิศวกร บริษัท ออโตอัลลายแอนซ (ประเทศไทย) จํากัด จํานวนบริษัทที่ดํารงตําแหนงกรรมการ บริษัทจดทะเบียนอื่น : ไมมี บริษัททั่วไป : 4 บริษัท การดํารงตําแหนงกรรมการ หรือผูบ ริหารในกิจการอืน่ ทีอ่ าจ ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัท - ไมมี -


1 12

การถือครองหุน ของคณะกรรมการและผูบ ริหาร ชื่อ – สกุล

จํานวนหุนสามัญ (หุน) การเปลี่ยนแปลง

ตําแหนง

28 ส.ค. 61 1

นายจักรมณฑ ผาสุกวนิช

4 5 6 7 8

ทางออม (คูสมรส) นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ นายวีระชัย เชาวชาญกิจ ทางออม (บุตร) นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ นายจักร บุญหลง นางวรรณา เรามานะชัย นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ นายกุญชร เรามานะชัย

9 10 11 12 13

ทางออม (บุตร) นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ นายกรวุฒิ ชิวปรีชา นายอธิวัฒน อภิโชติ นางสุนทรี รอดประจง

2 3

14 15 16 17

ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ

-

% การถือ เพิ่มขึ้น / ครองหุน 31 ธ.ค. 60 (ลดลง) 0.00

1,000,000 1,000,000 230,000,000 230,000,000 2,000,000 2,000,000 707,500 3,000,000 3,000,000 230,200,000 230,200,000 -

-

0.06 15.08 0.00 0.13 0.04 0.00 0.20 15.10 0.00

712,000 712,000 กรรมการ 230,000,000 230,000,000 กรรมการ 230,000,010 230,000,010 ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน ประธานเจาหนาทีฝ่ า ยการตลาด ผูอํานวยการฝายบริหาร ความสัมพันธภายนอกองคกร น.ส.บุษรา บัวเผื่อน ผูอ าํ นวยการฝายบัญชีและการเงิน นางลัดดาวัลย นันทศรี ผูอํานวยการฝายจัดซื้อ และฝายบริหารงานทั่วไป นายเฉลิมศักดิ์ สนธิ์เจริญ ผูอ าํ นวยการฝายวิจยั และพัฒนา นางวรารัตน จอมโคกกรวด ผูอํานวยการฝายบริหารองคกร 101 -

-

0.04 15.08 15.08 0.00 0.00 0.00

-

0.00 0.00

-

0.00 0.00

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการและประธาน เจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ

หมายเหตุ ขอมูลจากการปดรายชื่อผูถือหุน วันที่ 28 สิงหาคม 2561

47


1 13

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร 13.1 คาตอบแทนกรรมการ

นโยบาย และหลักเกณฑการจายคาตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายการจายคาตอบแทนกรรมการ โดยมอบหมายใหคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน เปนผูเสนอคาตอบแทนของกรรมการจากผลการดําเนินงานของบริษัท และเปรียบเทียบกับบริษัทจด ทะเบียนในอุตสาหกรรมเดียวกัน และบริษัทที่มีขนาดใกลเคียงกัน โดยคํานึงถึงความเหมาะสม และสอดคลองกับภาระหนาที่และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะนําเสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ขออนุมตั เิ ห็นชอบ ใหนําเสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุน เพื่อขออนุมัติเปนประจําทุกป ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2561 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2561 ไดมีมติอนุมัติอัตราคาตอบแทน แกคณะกรรมการ บริษัท โดยมีรายละเอียดดังนี้ คาตอบแทนรายเดือน (บาท) ตําแหนง

คณะกรรมการ บริษัทฯ

เบี้ยประชุม/ครั้ง(บาท) กรรมการบริษัท

กรรมการ ตรวจสอบ

กรรมการสรรหาฯ กรรมการบริหาร

ประธานกรรมการ

25,000

40,000

37,500

37,500

37,500

กรรมการ

17,500

30,000

25,000

25,000

25,000

บําเห็นจกรรมการ จายใหเฉพาะกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร วงเงินรวมไมเกิน 2,000,000 บาท

48


อัตราคาตอบแทนกรรมการเปนรายบุคคล ในป 2561 มีดังนี้ (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561) รายชื่อกรรมการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

นายจักรมณ ผาสุกวนิช นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล นายวีระชัย เชาวชาญกิจ นางศรีไทย เหมโสรัจ นางวรรณา เรามานะชัย นายอังกฤษ รุงโรจนกิติยศ นายประสงค อดุลยรัตนนุกุล นายกุญชร เรามานะชัย นายธิเบต รุงโรจนกิติยศ นายพลเอก รุงโรจนกิติยศ นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ

เบี้ย เบี้ย คาตอบแทน เบี้ยประชุม เบี้ยประชุม ประชุ ม ประชุ ม บําเหน็จ รวม (บาท) รายเดือน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ (บาท) บริษัท ตรวจสอบ สรรหาฯ บริหาร กรรมการ

300,000 210,000 210,000 210,000 210,000 210,000 210,000 183,750 210,000 210,000 210,000 26,250

2280,000 294,000 874,000 180,000 25,000 25,000 210,000 650,000 210,000 187,500 75,000 210,000 892,500 150,000 75,000 112,500 37,500 210,000 795,000 210,000 125,000 210,000 755,000 150,000 210,000 570,000 210,000 25,000- 210,000 655,000 180,000 363,750 180,000 390,000 90,000 25,000 210,000 535,000 150,000 - 210,000 570,000 25,000 26,000 77,250 รวม 7,127,500

หมายเหตุ 1. นายประสงค อดุลยรัตนนุกุล ดํารงตําแหนงเปนกรรมการถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 2. นายภควัต โกวิทวฒนพงศ แตงตั้งเปนกรรมการเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561

(2) คาตอบแทนและสิทธิประโยชนอื่นๆ - ไมมี

13.2 คาตอบแทนผูบริหาร

ในป 2561 บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ไดจายคาตอบแทนอันประกอบดวย เงินเดือนและโบนัส ใหกับผูบริหาร จํานวน 9 ราย รวมเปนเงินทั้งสิ้น 25.07 ลานบาท บริ ษั ท ได จั ด ให มี ก องทุ น สํ า รองเลี้ ย งชี พ ให แ ก ผู  บ ริ ห าร โดยบริ ษั ท ได ส มทบในอั ต ราส ว นร อ ยละสาม ของเงินเดือน โดยในป 2561 บริษัทไดจายเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับผูบริหาร จํานวน 9 ราย รวมเปนเงิน ทั้งสิ้น 638,286.84 บาท

13.3 บุคลากร

บริ ษั ท ให ค วามสํ า คั ญ ต อ คุ ณ ค า ของพนั ก งานและถื อ ว า เป น ทรั พ ยากรที่ มี ค  า ที่ สุ ด ขององค ก ร บริ ษั ท ฯ ไดปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลในรูปแบบตาง ๆ ใหมีความยืดหยุน เพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับตัว ขององคกรในเรื่องของการจางงาน พนักงาน และสภาพการทํางานโดยทบทวนระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลปจจุบัน อันเปนสวนที่เปนโครงสรางหรือหลักการพื้นฐาน และพัฒนาระบบเพิ่มเติมในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งสามารถตอบโจทยหรือ ตอบสนองตอความตองการของพนักงานในแตละกลุมไดมากยิ่งขึ้น

49


1) คาตอบแทนพนักงาน นโยบายการบริหารคาจางและสวัสดิการ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะบริหารคาจาง และสวัสดิการ ใหเปนไปโดยความยุติธรรมและเหมาะสม สามารถแขงขันไดกับ ตลาดแรงงาน เพื่อที่จะใหพนักงานปฏิบัติงานกับบริษัทฯ ดวยความผาสุข ไดรับอัตราคาจางและสวัสดิการเหมาะสมกับตําแหนง หนาที่ความรับผิดชอบของงาน และการควบคุมบังคับบัญชา รวมทั้งมีนโยบาย ในการพิจารณาปรับเพิ่มคาจาง และจายเงินรางวัล ใหกับพนักงานสมํ่าเสมอทุกป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผลการดําเนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของพนักงานแตละคน การกําหนดคาจาง และสวัสดิการนั้น บริษัทฯ ไดนําปจจัยตาง ๆ มาประกอบการพิจารณา ดังนี้ 1. สอดคลองกับขอกําหนดของกฎหมาย 2. สอดคลองกับสภาพทางเศรษฐกิจทั่วไปของประเทศ 3. แขงขันไดกับอัตราคาจางของบริษัทอื่น ๆ ที่มีสถานะใกลเคียงกับบริษัท 4. หนาที่ความรับผิดชอบ ตําแหนงและระดับของพนักงานแตละคน 5. สถานการณและความจําเปนของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษทั และบริษทั ยอยในประเทศไทยมีพนักงานทัง้ หมด 2,585 คน โดยในป 2561 บริษทั ไดจา ย ผลตอบแทนใหแกพนักงานจํานวนทัง้ สิน้ 784.33 ลานบาท ซึง่ ผลตอบแทนไดแก เงินเดือน คาลวงเวลา เงินชวยเหลือ คาครองชีพ คารถ คาอาหาร โบนัส เงินประกันสังคม และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เปนตน จํานวนพนักงานของบริษัทและบริษัทยอยในประเทศไทย มีดังนี้ ป 2561

PCSGH

PCW

PCD

PCF

พนักงานปฏิบัติการ (คน)

143

1359

628

185

พนักงานบริหาร (คน)

45

133

69

23

รวม (คน)

188

1492

697

208

103.15

428.47

196.54

56.22

คาตอบแทนพนักงานทั้งหมด (ลานบาท)

2) การพัฒนาพนักงาน จากการขยายตัวทางธุรกิจทําใหบริษัทมีพนักงานเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันยังมีความทาทายตาง ๆ ที่จะทําอยางไรจะเรง พัฒนาพนักงานที่มีอยูใหทันตอการขยายธุรกิจ รวมทั้งสรางการเรียนรูใหเปนมาตรฐานเดียวกัน บริษัทฯ จึงไดกอตั้งศูนยฝกทักษะ และพัฒนาความสามารถพนักงาน (P.C.S. Training Center) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2557 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1. กําหนดหลักสูตรการทํางาน เพื่อใหพนักงานมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับงานที่ตองปฏิบัติ รวมถึงเรื่อง ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 2. จําลองฐานฝกจากกระบวนการทํางานจริง เพื่อใหพนักงานไดฝกกอนเขาปฏิบัติงาน 3. จัดทําคูมือหรือตําราสําหรับสอนงาน เพื่อใหพนักงานไดศึกษาหาความรูเพิ่มขึ้น 4. จัดอาจารยผูสอนที่มีความรู ทักษะในการปฏิบัติงาน สามารถสอนงานไดเขาใจตามมาตรฐานที่กําหนด 5. จัดหองสําหรับอบรมความรู และจัดพืน้ ทีส่ าํ หรับฐานฝกทักษะ แตละหนางานของแตละบริษทั ตามกระบวนการ ทํางานจริง ภายใตการดําเนินงานของศูนยฝกทักษะและพัฒนาความสามารถไดบมเพาะพนักงานกวา สองพันคน ใหมีความรูความ สามารถในมาตรฐานเดียวกัน นอกจากนี้บริษัทยังสงเสริมศักยภาพพนักงานดวยการจัดกิจกรรมแขงขันทักษะ ( Skill Contest ) เพือ่ เพิม่ ชองทางการพัฒนาผานกระบวนการแขงขัน และสรางความผูกพันในกิจกรรมตามรูปแบบทีพ่ นักงานเปนผูอ อกแบบขึน้ เอง

50


1 14

การกํากับดูแลกิจการ 14.1 นโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริษัทฯ ใหความสําคัญในการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีในการดําเนินกิจการ โดยไดยึดถือตามแนวทาง ปฏิบัติการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนป 2549 (Good Corporate Governance) ตามที่กําหนดโดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งครอบคลุมหลักการ 5 หมวด โดยในป 2561 คณะกรรมการบริษทั ไดปฏิบตั ติ ามหลักการกํากับดูแกกิจการตามแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตลอดจนหลักเกณฑในระดับสากล เพื่อใหสอดคลองกับหลักเกณฑ ตางๆ เชน CG Score Card เปนตน และไดพัฒนาดานการกํากับดูแลกิจการของบริษัท ดังนี้ 1. การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที ดี โดยจากโครงการสํ า รวจการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ (Corporate Governance Reporting: (CGR) บริษัทไดรับการจัดลําดับอยูในระดับ “ดีเลิศ” (Excellent CG Scoring) ประจําป 2561 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยมีคะแนนรายหมวดอยูในเกณฑ ดีเลิศ ผลสํารวจโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจําป 2561 ( Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2018) สําหรับบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด(มหาชน) บริษัท จดทะเบียน โดยรวม

บริษัท PCSGH

สิทธิของผูถือหุน

94%

91%

การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

92%

99%

การคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย

80%

94%

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

85%

97%

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

72%

87%

ภาพรวม

81%

92%

หมวด

ตราสัญลักษณ

ระดับคะแนน : 90-100 = ดีเลิศ, 80-89 =ดีมาก, 70-79=ดี, 60-67=ดีพอใช, 50-59=ผาน

2. จัดการอบรมใหกับพนักงานใหมทุกระดับ โดยผานหลักสูตรนโยบายการตอตานคอรรัปชั่นเพื่อปองกันการทุจริต คอรรปั ชัน่ และสงเสริมคามรูค วามเขาใจใหแกพนักงานหัวหนางาน และผูจ ดั การแผนกทัว่ ทัง้ องคกร จํานวน 117 คน ตลอดจนพนักงานที่เขาใหมทุกคน จํานวน 891 คน โดยผานกระบวนการฝกอบรม

51


3. รางวัล Set Awards จากตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย โดยไดรับคัดเลือกใหรับรางวัลดีเดน ประเภทบริษัทจดทะเบียนดานผลการดําเนินงาน เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2561 4. อยูใ นรายชือ่ หุน ยัง่ ยืน หรือ Thailand Sustainabillity Investment : THIS ประจําป 2561 ติดตอกัน เปนปที่ 3 นอกจากนี้ บริษัท ไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแล กิจการครอบคลุมเนือ้ หา 5 หมวด ไดแก หมวดสิทธิของผูถ อื หุน หมวดการปฏิบัติตอผุถือหุนอยางเทาเทียมกัน หมวดบทบาท ของผูมีสวนไดเสีย หมวดเปดเผยขอมูลและความโปรงใส และ หมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการโดยมีเนื้อหาดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน บริษทั ฯ ไดใหความสําคัญตอสิทธิของผูถ อื หุน ในการไดรบั ขอมูลของบริษัทฯ อยางถูกตอง ครบถวน เพียงพอ ทันเวลา และเทาเทียมกัน เพือ่ ประกอบการตัดสินใจในทุกๆ เรือ่ ง ดังนัน้ คณะกรรมการบริษัทจึงกําหนดนโยบาย และมีการดําเนินงาน ในป 2561 ดังนี้ เปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเปนวาระ การประชุ ม และเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข า รั บ การ คัดเลือกเปนกรรมการ สําหรับการประชุมผูถือหุน ประจําป ลวงหนาตั้งแตวันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ 15 มกราคม 2561 โดยแจงใหผูถือหุน ทราบผ า นระบบข า วของตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย พรอมทั้งประกาศหลักเกณฑ และ ระบุ ขั้ น ตอนที่ ชั ด เจนไว ใ น เว็ บ ไซต ข องบริ ษั ท ที่ h t t p : / / w w w . p c s g h . c o m ใ น หั ว ข  อ “นักลงทุนสัมพันธ / ขอมูลสําหรับผูถ อื หุน / การเสนอ วาระการประชุมผูถือหุน” บริษัทฯ จัดสงหนังสือนัดประชุมพรอมทั้งขอมูล ประกอบการประชุมตามวาระตาง ๆ ใหเพียงพอ โดยระบุวตั ถุประสงคและเหตุผล ตลอดจนความเห็น ของคณะกรรมการในทุกวาระ เพื่อเปดโอกาสให ผูถ อื หุน ไดศกึ ษาขอมูลอยางครบถวนลวงหนากอนวัน ประชุมผูถือหุนไมนอยกวา 14 วัน ในกรณีที่ผูถือหุน ไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเองได บริษัทฯ เปดโอกาสใหผถู อื หุน สามารถมอบฉันทะใหกรรมการ อิ ส ระหรื อ บุ ค คลใดๆ เข า ร ว มประชุ ม แทนตนได

52

โดยใชหนังสือมอบฉันทะที่บริษัทฯ ไดจัดสงไปพรอม กับหนังสือเชิญประชุม อํานวยความสะดวกแกผถู อื หุน ทุกรายอยางเทาเทียมกัน ในการเขารวมประชุมทั้งในเรื่องสถานที่ และเวลา ทีเ่ หมาะสม โดยบริษทั ไดจดั รถบัสรับ สงผูถ อื หุน จาก ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มายัง สถานที่ ประชุมผูถือหุน โรงแรมดิ อิมพีเรียล โฮเตล แอนด คอนเวนชัน่ เซนเตอร โคราช ในศุกร ที่ 27 เมษายน 2561 เวลาประชุม 14.00 – 16.00 น. ในการประชุมผูถือหุน จะพิจารณาและลงคะแนน เรียงตามวาระที่กําหนด โดยไมเปลี่ยนแปลงขอมูล สํ า คั ญ หรื อ เพิ่ ม วาระการประชุ ม ในการประชุ ม อยางกะทันหัน และเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิ เทาเทียมกันในการตรวจสอบการดําเนินงานของ บริษทั ฯ สอบถาม แสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ ตาง ๆ และกรรมการและผูบริหารที่เกี่ยวของจะ เขารวมประชุมผูถ อื หุน เพือ่ ตอบคําถามในทีป่ ระชุมดวย เพิ่มชองทางในการรับทราบขาวสารของผูถือหุน ผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ โดยนําขาวสารตางๆ และรายละเอี ย ดไว ที่ เว็ บ ไซต ข องบริ ษั ท ฯ ที่ ที่ http://www.pcsgh.com โดยเฉพาะ ในกรณี หนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน ใหเผยแพรกอ น วันประชุม ลวงหนา เพื่อใหผูถือหุนสามารถดาวนโหลดขอมูล ระเบียบวาระการประชุมไดอยางสะดวกและครบถวน นโยบายใหกรรมการทุกทานเขารวมประชุมเพื่อ ตอบขอซักถามจากผูถือหุนโดยพรอมเพรียงกัน การจดบันทึกรายงานการประชุม ใหบนั ทึกใหครบถวน ถูกตอง รวดเร็ว โปรงใส และบันทึกประเด็นซักถามและ ขอคิดเห็นที่สําคัญไวในรายงานการประชุมเพื่อให ผูถือหุนสามารถตรวจสอบได นอกจากนี้บริษัทฯ ยั ง ได มี ก ารบั น ทึ ก วี ดี ทั ศ น ภ าพการประชุ ม เพื่ อ


เก็บรักษาไวอา งอิง นอกจากนี้ ใหบริษทั ฯ นํารายงาน การประชุมผูถือหุนเผยแพรในเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหผูถือหุนไดพิจารณา รวมถึงสงรายการประชุม ดั ง กล า วไปยั ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย ภายใน 14 วัน นับแตวันที่มีการประชุมผูถือหุนนั้น เพิม่ ความสะดวกใหแกผถู อื หุน ในการไดรบั เงินปนผล โดยการโอนเงินเขาบัญชีธนาคาร (ถามีการจายเงิน ปนผล) เพื่ออํานวยความสะดวกใหผูถือหุนใหไดรับ เงินปนผลตรงเวลา ปองกันปญหาเรื่องเช็คชํารุด สูญหาย หรือสงถึงผูถือหุนลาชา หมวดที่ 2 การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน บริษทั ฯ ไดกาํ หนดใหมกี ารปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน ทุกรายอยาง เทาเทียมกัน ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทจึงมีนโยบายดังนี้ ใหบริษัทฯ จัดสงหนังสือนัดประชุมพรอมทั้งขอมูล ประกอบการประชุมใหผูถือหุนทราบลวงหนากอน การประชุมไมนอ ยกวา 14 วัน เพือ่ เปดโอกาสใหผถู อื หุน ไดศึกษาขอมูลอยางครบถวนกอนวันประชุมผูถือหุน ใหศึกษาแนวทางเพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนสวนนอย สามารถเสนอชือ่ กรรมการ หรือเสนอวาระการประชุม เพิ่มเติมไดกอนการประชุมผูถือหุน ในการประชุมผูถือหุนประจําป 2561 บริษัทไดเปด โอกาสให ผู  ถื อ หุ  น เสนอเรื่ อ งเพื่ อ บรรจุ เ ป น วาระ การประชุม และเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เขารับการคัดเลือก เปนกรรมการ สําหรับการประชุมผูถือหุนประจําป ล ว งหน า ตั้ ง แต วั น ที่ 14 พฤศจิ ก ายน 2560 ถึ ง วันที่ 15 มกราคม 2561 โดยแจงใหผูถือหุนทราบ ผานระบบขาวของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พรอมทัง้ ประกาศหลักเกณฑ และระบุขนั้ ตอนทีช่ ดั เจน ไวใน เว็บไซตของบริษทั ที่ http://www.pcsgh.com ในหัวขอ “นักลงทุนสัมพันธ / ขอมูลสําหรับผูถ อื หุน / การเสนอวาระการประชุมผูถือหุน ให เ พิ่ ม การอํ า นวยความสะดวกแก ผู  ถื อ หุ  น ที่ ไ ม สามารถเขารวมประชุมไดดวยตนเอง โดยใหผูถือหุน สามารถมอบฉันทะใหบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือให มีกรรมการอิสระอยางนอย 1 คนเขารวมประชุม และลงมติแทนได และแจงรายชื่อกรรมการอิสระ ดังกลาวไวในหนังสือนัดประชุมผูถือหุน

ใหปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกันไมวา จะเปนผูถ อื หุน รายใหญหรือผูถ อื หุน สวนนอยไมวา จะ เปนผูถือหุนชาวไทยหรือผูถือหุนตางชาติ หมวดที่ 3 การคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย บริษัทฯ ตระหนักและรับรูถึงสิทธิของผูมีสวนได เสียทุกกลุมไมวาจะเปนผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก ผูถือหุน พนักงาน และผูมีสวนไดเสียภายนอก ไดแก ลูกคา คูคา เจา หนี้ คูแขง ภาครัฐ และหนวยงานอื่นๆ รวมทั้งชุมชนใกลเคียง ที่เกี่ยวของ เนื่องจากบริษัทฯ ไดรับการสนับสนุนจากผูมีสวน ไดเสียตางๆ ซึ่งสรางความสามารถ ในการแขงขัน และสราง กําไรใหบริษัทฯ ซึ่งถือวาเปนการสรางคุณคาในระยะยาวให กับบริษัทฯ โดยมีการกําหนดนโยบาย ดังนี้ 3.1) นโยบายและแนวปฏิบัติตอพนักงาน บริษทั ฯ ตระหนักวาพนักงานเปนปจจัยแหงความสําเร็จ ของการบรรลุเปาหมายของบริษัทฯ ที่มีคุณคายิ่ง จึงเปน นโยบายของบริษัทฯ ที่จะใหการปฏิบัติตอพนักงานอยาง เปนธรรมทั้งในดานโอกาส ผลตอบแทนการแตงตั้ง โยกยาย ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพ เพือ่ ใหเปนไปตามนโยบายดังกลาว บริษัทฯ จึงมีหลักปฏิบัติดังนี้ ปฏิบัติตอพนักงานดวยความสุภาพ และใหความ เคารพตอความเปนปจเจกชน ใหผลตอบแทนที่เปนธรรมตอพนักงาน รวมทั้งมี การจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน และให ความสําคัญในดานการดูแลสวัสดิการของพนักงาน ดูแลรักษาสภาพแวดลอมในการทํางานใหมีความ ปลอดภัยตอชีวิต และทรัพยสินของพนักงาน การแต ง ตั้ ง โยกย า ย รวมถึ ง การให ร างวั ล และ การลงโทษพนักงาน กระทําดวยความสุจริตใจ และ ตั้ ง อยู  บ นพื้ น ฐานความรู  ความสามารถ และ ความเหมาะสมของพนักงานนั้น ใหความสําคัญตอการพัฒนาความรู ความสามารถ ของพนักงาน โดยใหโอกาสอยางทัว่ ถึงและสมํา่ เสมอ เพือ่ พัฒนาความสามารถของพนักงานใหเกิดศักยภาพ ในการปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ รับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะซึง่ ตัง้ อยูบ นพืน้ ฐาน ความรูทางวิชาชีพของพนักงาน ปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับพนักงานอยางเครงครัด

53


3.2) นโยบายและแนวปฏิบัติตอผูถือหุน บริษทั ฯ ระลึกอยูเ สมอวาผูถ อื หุน คือ เจาของกิจการ และ บริษัทฯ มีหนาที่สรางมูลคาเพิ่มใหแกผูถือหุนในระยะยาว จึง กําหนดใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานตองปฏิบัติตาม แนวทางดังตอไปนี้ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด  ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต ตลอดจน ตัดสินใจดําเนินการใดๆ ตามหลักการของวิชาชีพ ดวยความระมัดระวัง รอบคอบ และเปนธรรมตอ ผูถ อื หุน ทัง้ รายใหญและรายยอย เพือ่ ประโยชนสงู สุด ของผูถือหุนโดยรวม นําเสนอรายงานสถานภาพของบริษทั ฯ ผลประกอบการ ฐานะขอมูลทางการเงิน การบัญชี และรายงานอืน่ ๆ โดย สมํ่าเสมอ และครบถวนตามความเปนจริง แจงใหผูถือหุนทุกรายทราบอยางเทาเทียมกันถึง แนวโนมในอนาคตของบริษัทฯ ทั้งในดานบวก และ ด า นลบ ซึ่ ง ตั้ ง อยู  บ นพื้ น ฐานของความเป น ไปได มีขอมูลสนับสนุนและมีเหตุผลเพียงพอ หามไมใหแสวงหาผลประโยชนใหตนเอง และผูอื่น โดยใชขอมูลใดๆ ของบริษัทฯ ซึ่งยังมิไดเปดเผยตอ สาธารณะ หรือดําเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจ กอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ 3.3) นโยบายและแนวปฏิบัติตอลูกคา บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของลูกคา จึงไดกําหนด นโยบายในการปฏิบัติตอลูกคาดังนี้ บริการลูกคาดวยความสุภาพ มีความกระตือรือรน พรอมใหการบริการ ตอนรับดวยความจริงใจเต็มใจ ตั้งใจ และใสใจ ดูแลผูรับบริการดุจญาติสนิท บริการ ดวยความรวดเร็ว ถูกตอง และนาเชื่อถือ รักษาความลับของลูกคา และไมนาํ ไปใชเพือ่ ประโยชน ของตนเอง หรือผูที่เกี่ยวของโดยมิชอบ ให ข  อ มู ล ข า วสารที่ ถู ก ต อ ง เพี ย งพอ และทั น ต อ เหตุการณแกลูกคา เพื่อใหทราบเกี่ยวกับบริการ โดยไมมีการโฆษณาเกินความเปนจริงที่เปนเหตุให ลูกคาเขาใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ หรือเงื่อนไขใด ๆ ของบริการของบริษัทฯ ใหคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีการใหบริการของบริษัทฯ ใหมีประสิทธิภาพและเปนประโยชนกับลูกคาสูงสุด

54

3.4) นโยบายและแนวปฏิบตั ติ อ คูค า และ/หรือ เจาหนี้ บริษัทฯ มีนโยบายใหพนักงานปฏิบัติตอคูคา และ/ หรือเจาหนี้ทุกฝายอยางเปนธรรม ซื่อสัตย และไมเอารัด เอาเปรียบคูคา โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ พืน้ ฐานของการไดรบั ผลตอบแทนทีเ่ ปนธรรมทัง้ สองฝาย หลีก เลีย่ งสถานการณทกี่ อ ใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน การ เจรจาแกปญหาตั้งอยูบนพื้นฐานของความสัมพันธทางธุรกิจ โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ ไมเรียก หรือรับ หรือจายผลประโยชนใด ๆ ทีไ่ มสจุ ริต ในการคากับคูคา และ/หรือ เจาหนี้ กรณีที่มีขอมูลวามีการเรียก หรือรับ หรือการจายผล ประโยชนใด ๆ ที่ไมสุจริตเกิดขึ้น ตองเปดเผยราย ละเอียดตอคูคา และ/หรือ เจาหนี้ และรวมกันแกไข ปญหาโดยยุติธรรมและรวดเร็ว ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขตาง ๆ ทีต่ กลงกันไวอยางเครงครัด ทัง้ ในแงของการชําระคืนเงินตนและดอกเบีย้ การดูแล หลักทรัพยคํ้าประกัน รวมถึงภาระผูกพันและหนี้สิน ที่อาจเกิดขึ้นกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไข ขอใดได หรือมีเหตุทําใหผิดนัดชําระหนี้ ตองรีบแจง ใหเจาหนี้ทราบลวงหนา เพื่อรวมกันพิจารณาหา แนวทางแกไขปญหา บริหารเงินทุนใหมโี ครงสรางทีเ่ หมาะสมเพือ่ สนับสนุน การดําเนินธุรกิจของบริษัท และรักษาความเชื่อมั่น ตอคูคา และ/หรือ เจาหนี้ 3.5) นโยบายและแนวปฏิบัติตอคูแขงขัน บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะปฏิ บั ติ ต  อ คู  แข ง ทางการค า โดยไม ล ะเมิ ด ความลั บ หรื อ ล ว งรู  ค วามลั บ ทางการค า ของ คูแขงขันดวยวิธีฉอฉล จึงกําหนดหลักนโยบายดังนี้ ประพฤติปฏิบตั ภิ ายใตกรอบกติกาของการแขงขันทีด่ ี ไมแสวงหาขอมูลทีเ่ ปนความลับของคูแ ขงทางการคา ดวยวิธีการที่ไมสุจริตหรือไมเหมาะสม ไม ทํ า ลายชื่ อ เสี ย งของคู  แข ง ทางการค า ด ว ยการ กลาวหาในทางราย 3.6) นโยบายและแนวปฏิบัติตอสังคม / ชุมชน บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดําเนินธุรกิจที่เปนประโยชนตอ เศรษฐกิจ และสังคม และยึดมั่นการปฏิบัติตนเปนพลเมืองที่ดี และปฏิบตั ติ ามกฎหมายและขอบังคับทีเ่ กีย่ วของอยางครบถวน บริษัทฯจะมุงมั่นในการพัฒนาสงเสริมและยกระดับคุณภาพ ชีวติ ของสังคม และชุมชนอันเปนทีท่ บี่ ริษทั ฯ ตัง้ อยูใ หมคี ณ ุ ภาพ ดีขึ้นพรอมๆ กับการเติบโตของบริษัทฯ


3.7) นโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม บริษัทฯ มีนโยบายที่ใหการสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ ที่ เสริมสรางคุณภาพ อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ตลอดจน รักษาสภาพแวดลอมในการทํางานใหมีความปลอดภัยตอชีวิต และทรัพยสินของพนักงานอยูเสมอ 3.8) นโยบายดานสิทธิมนุษยชน (Human Rights) บริษัทฯ ใหความสําคัญตอการเคารพสิทธิมนุษยชน อันเปนคุณธรรมพื้นฐานของการทํางานและการอยูรวมกัน โดยการปฏิบัติตอพนักงานและผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม ตามหลักสิทธิมนุษยชนอยางเทาเทียมปราศจากการเลือก ปฏิบัติ ตามที่กฎหมายกําหนดและตามสนธิสัญญาที่แตละ ประเทศมีพนั ธกรณีจะตองปฏิบตั ติ าม และเพือ่ ใหมนั่ ใจวาการ ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ปลอดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการบริษัทจึงเห็นสมควรกําหนดแนวปฏิบัติดาน สิทธิมนุษยชนขึ้น เพื่อปองกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในทุก กิจกรรมทางธุรกิจ

แนวปฏิบัติ 1. ใหความเคารพตอสิทธิมนุษยชน ใหเกียรติซึ่งกัน และกัน และปฏิบตั ติ อ กันอยางเทาเทียม โดยไมเลือก ปฏิบัติตอบุคคลใด ๆ ดวยเรื่องแนวคิดและมุมมอง เชื้อชาติ สัญชาติ สีผิว ศาสนา เพศ อายุ การศึกษา สถานะทางสังคม หรือสถานภาพอื่นใดที่ถือวาเปน สิทธิมนุษยชน 2. ปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บและข อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ตลอดจนกฎหมายทัง้ ในประเทศและระหวางประเทศ ที่เกี่ยวของโดยเครงครัด เพื่อปองกันความเสี่ยงที่จะ เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในการดําเนินธุรกิจ 3. สื่อสาร เผยแพร ใหความรู ความเขาใจ สอดสอง ดูแล และใหการสนับสนุนอืน่ ใด แกพนักงานและคูค า ทางธุรกิจ เพื่อใหมีสวนรวมในการดําเนินธุรกิจอยาง มีคณ ุ ธรรม และยึดมัน่ ตอการเคารพตอสิทธิมนุษยชน 4. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินความเสี่ยงและ ผลกระทบด า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนอย า งสมํ่ า เสมอ พร อ มกํ า หนดแนวทางหรื อ มาตรการในการ บริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งอย า งเหมาะสม โดย ทุ ก หน ว ยงานมี ห น า ที่ กํ า กั บ ดู แ ลและบริ ห าร ความเสี่ยงที่อยูในความรับผิดชอบของตนเอง 5. เปดโอกาสใหพนักงานและผูมีสวนไดเสียสามารถ แสดงความคิดเห็น สะทอนปญหา รวมทัง้ แจงเบาะแส

หรื อ ข อ ร อ งเรี ย น หากพบเห็นเหตุการณหรือการ กระทําที่เกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตอ ผูบ งั คับบัญชาหรือหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ 6. จัดใหมกี ระบวนการตรวจสอบขอมูลหรือขอรองเรียน ทีเ่ กีย่ วของกับสิทธิมนุษยชน หลังจากทีไ่ ดรบั แจงจากพนักงาน หรือผูม สี ว นไดเสีย พรอมรายงานตอประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร จัดการแกไขและปองกันปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน 7. ผูก ระทําการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถือเปนการกระทํา ผิดจรรยาบรรณของบริษัท ซึ่งจะตองไดรับการพิจารณาโทษ ทางวินัยตามระเบียบของบริษัทฯ นอกจากนี้อาจจะไดรับโทษ ตามกฎหมาย หากการกระทํานั้นผิดกฎหมาย 3.9) นโยบายเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา บริษัทฯ มีนโยบายที่ใหความเคารพในการคุมครองสิทธิ ที่เกี่ยวของกับทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น เชนเดียวกับที่ บริษัทฯ ตองการใหผูอื่นเคารพสิทธิที่เกี่ยวของกับทรัพยสิน ทางปญญาของบริษทั ฯ ทรัพยสนิ ทางปญญาอาจอยูใ นรูปแบบ ของลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร เครื่องหมายการคา หรือ ความลับทางการคา รวมทัง้ ขอมูลตาง ๆ เชน ขอมูลเกีย่ วกับสิง่ ประดิษฐ การคนพบ การปรับปรุง และขอมูลทางการคาอื่น ๆ ที่เปนความลับของบริษัทฯ ที่บริษัทฯ ไดรับมาหรือรวบรวมไว ถือเปนทรัพยสินที่มีคาของบริษัทฯ พนักงานมีหนาที่ปกปอง ดูแลรักษาทรัพยสินทางปญญาของบริษัทฯ ไมเปดเผยหรือ เผยแพรโดยไมไดรบั อนุญาต ในขณะเดียวกันตองไมลว งละเมิด ทรัพยสินทางปญญาของผูอื่นเชนกัน

แนวปฏิบัติ 1. ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามหนาที่พนักงาน ของบริษัทฯ หรือการสนับสนุนสงเสริมโดยบริษัทฯ ไมวา ทัง้ หมดหรือบางสวน ถือเปนทรัพยสนิ ของบริษทั ฯ เวนแตในกรณีที่บริษัทฯ อนุญาตอยางชัดเจนวาให ถือเปนผลงานของผูคิดคน ผูประดิษฐ ผูวิจัยหรือ บุคคลอื่นใด 2. พนักงานตองดูแล รักษา รายงาน ขอมูล สูตร สถิติ โปรแกรม วิธกี าร กระบวนการ และขอเท็จจริงตาง ๆ ที่เปนทรัพยสินทางปญญาของบริษัทฯ ไมใหถูก ลวงละเมิด และไมเปดเผยแกผูใด เวนแตไดรับ อนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากบริษัทฯ 3. ไม นํ า ทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาของบริ ษั ท ฯ ไปทํ า ซํ้ า ดัดแปลง หรือกระทําการใด ๆ เพื่อประโยชนสวนตัว

55


หรือเพื่อประโยชนของผูอื่น โดยไมไดรับอนุญาต จากบริษัทฯ 4. ซื้ อ สิ น ค า และบริ ก ารที่ มี ลิ ข สิ ท ธิ์ สิ ท ธิ บั ต ร และ เครื่องหมายการคาที่ถูกตองตามกฎหมายวาดวย ทรัพยสินทางปญญา 5. ไมสนับสนุนใหมีการลวงละเมิดทรัพยสินทางปญญา ของผูอื่น หากพนักงานพบเห็นการกระทําที่อาจเปน การละเมิดทรัพยสนิ ทางปญญาของผูอ นื่ ใหแจงขอมูล ตอผูบังคับบัญชาทราบ 6. เมื่อพนสภาพจากการเปนพนักงาน จะตองสงมอบ ทรัพยสินทางปญญาตาง ๆ คืนใหแกบริษัทฯ 3.10) การใชซอฟทแวร บริษทั ฯ จะซือ้ ซอฟทแวรจากแหลงทีถ่ กู กฎหมายเทานัน้ เพื่อใหบริษัทฯมีสิทธิในการใชซอฟทแวรเหลานั้นอยางถูก กฎหมาย บริษัทฯ มีนโยบายในการใชซอฟทแวร ที่ไดรับ อนุญาตอยางเปนทางการตามขอกําหนดที่ระบุไวในขอตกลง เกีย่ วกับลิขสิทธิซ์ อฟทแวรแตละชิน้ เทานัน้ การละเมิดขอตกลง การใชซอฟทแวรเปนสิ่งผิดกฎหมาย และอาจทําใหบริษัทฯ ถูกฟองรองจนตองเสียคาปรับเปนจํานวนเงินมหาศาล ดังนั้น บริษัทฯ จึงหามพนักงานกระทําการใด ๆ ตอไปนี้ โดยไมไดรับ อนุญาตจากบริษัทฯ ไมอนุญาตใหนาํ ซอฟทแวรใด ๆ ของบริษทั ฯ ไปติดตัง้ ใชงานกับคอมพิวเตอรใดๆ ทีน่ อกเหนือจากของบริษทั ฯ ไมอนุญาตใหทาํ การสําเนาซอฟทแวรใด ๆ ของบริษทั ฯ ไมอนุญาตใหนําซอฟทแวรใด ๆ ที่มิไดจัดซื้อ จัดหา โดยบริษทั ฯ มาติดตัง้ บนเครือ่ งคอมพิวเตอรของบริษทั ฯ บริษทั ฯ อาจทําการตรวจสอบคอมพิวเตอรของบริษทั ฯ ไดทุกเมื่อ เพื่อตรวจสอบใหมั่นใจวานโยบายนี้ถูกนําไป ปฏิบัติอยางเครงครัด หากพนักงานมีการใชซอฟทแวร หรือ เอกสารทีเ่ กีย่ วของภายในบริษทั ฯ ไปในทางทีผ่ ดิ จะตองแจงให ผูบังคับบัญชา และผูจัดการแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศทราบ ทันที เพื่อดําเนินการแกไขใหถูกตอง 3.11) นโยบายการรักษาความลับ ทุ กฝ า ยต อ งเคารพการรั ก ษาความลั บ ที่ เกี่ ย วข อ งกั บ ทรัพยสนิ ทางปญญาของบริษทั ฯ ซึง่ รวมถึงความลับทางการคา บริษัทฯ สงวนสิทธิในการดําเนินการตามกฎหมายเพื่อใชสิทธิ ของบริษัทฯ อยางเต็มที่ หากพบวาบุคคลใดใชขอมูลไปในทาง ที่ผิด หรือหาผลประโยชนจากทรัพยสินและขอมูลทางการคา ของบริษัทฯ

56

แนวปฏิบัติ ตองรักษาความลับของขอมูลที่เปนความลับของ บริษทั ฯ ของลูกคาหรือทีเ่ กีย่ วกับกิจการใด ๆ ทีบ่ ริษทั ฯ ไมเปดเผยโดยเครงครัด ตองไมเผยแพรขาวสารตาง ๆ อันเกี่ยวกับธุรกิจ การเงินและตัวบุคคลของบริษัทฯ ยกเวนเปนการ กระทํ า ตามแนวทางที่ ถู ก ต อ งเหมาะสมที่ ไ ด รั บ อนุญาตเทานั้น โดยตองทําดวยความรอบคอบ และ มีประสิทธิภาพ ต อ งรั ก ษาความลั บ ของบริ ษั ท ฯ และไม นํ า ไปใช เพือ่ ประโยชนของตนเอง หรือผูท เี่ กีย่ วของโดยมิชอบ ตลอดระยะเวลาที่เปนพนักงานของบริษัทฯ พันธะ ผูกพันสําหรับการไมเปดเผยขอมูลความลับ จะตองยังคง ดําเนินตอไปเรื่อย ๆ ถึงแมวาพนักงานจะเกษียณ ถูกโยกยาย ลาออก และขอมูลความลับจะถูกเก็บคืน ทัง้ หมด ภายหลังพนสภาพจากการเปนพนักงานแลว ยังคงตองรักษาขอมูลอันเปนความลับนี้ไว หากมีการเปดเผยขอมูล หรือสงใหแกผูอื่น หรือใช ขอมูลดังกลาวในเรือ่ งอืน่ ใด นอกเหนือจากการปฏิบตั ิ หนาที่ใหกับบริษัทฯ และกอใหเกิดความเสียหายตอ บริษัทฯ หรือทําใหบริษัทฯ เสียผลประโยชนใด ๆ ผูกระทําการเปดเผยตกลงยินยอมรับผิดชอบชดใช ความเสียหายใหแกบริษทั ฯ ตามทีเ่ กิดขึน้ จริงทุกประการ ผูบ ริหาร พนักงาน ผูร บั จางของบริษทั ฯ ทุกคนตองทราบ ถึงขัน้ ตอนวิธกี ารรักษาความปลอดภัยของขอมูลและ ปฏิบัติตามเพื่อปองกันไมใหขอมูลอันเปนความลับ ถูกเปดเผยโดยไมเจตนา หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส คณะกรรมการบริ ษั ท มี น โยบายที่ จ ะเป ด เผยข อ มู ล สารสนเทศทางการเงินและอื่นๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจ และผล ประกอบการของบริษัทฯ ที่ตรงตอความเปนจริง ครบถวน เพียงพอ สมํา่ เสมอ ทันเวลา แสดงใหเห็นถึงสถานภาพทางการ เงินและการประกอบการที่แทจริงของบริษัทฯ รวมทั้งอนาคต ของธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทมุงมั่นที่จะดูแลใหมีการปฏิบัติตาม กฎหมาย ขอบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวของเกี่ยวกับ การเปด เผยขอมูลและความโปรงใสอยางเครงครัด จัดใหมีการเผย แพรขอมูลในเว็บไซตของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทย และภาษา


อังกฤษ ผานชองทางเผยแพรทางสื่อมวลชน สื่อเผยแพรของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพือ่ ใหผถู อื หุน และผูท เี่ กีย่ ว ของอื่นๆ ไดรับทราบขอมูลของบริษัทฯ ไดอยางทั่วถึง และ จะทําการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหสอดคลอง กับแนวทางที่ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ประกาศใชบังคับ บริษทั ฯ จัดใหมเี จาหนาทีฝ่ า ยนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) เพื่อทําหนาที่ติดตอสื่อสารกับนักลงทุนหรือผูถือ หุนรวมถึงนักลงทุนสถาบันและผูถือหุนรายยอย บริษัทฯ จะ จัดใหมีการประชุมเพื่อวิเคราะหผลการดําเนินงานเปนประจํา รวมทั้งจะเผยแพรขอมูลขององคกร ทั้งขอมูลทางการเงินและ ขอมูลทั่วไปใหแกผูถือหุน นักวิเคราะหหลักทรัพย บริษัทจัด อันดับความนาเชื่อถือ และหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ ผานทาง ชองทางตาง ๆ ไดแก การรายงานตอตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย และเว็บไซต ของบริษัท นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใหความสําคัญในการเปดเผยขอมูลอยางสมํา่ เสมอ ทัง้ ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดรบั ขาวสารเปนประจํา โดยผานชองทางเว็บไซตของบริษทั ฯ ขอมูลทีอ่ ยูบ นเว็บไซตจะ มีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ ไมวาจะเปนวิสัยทัศน พันธกิจ งบการเงิน ขาวประชาสัมพันธ รายงานประจําป โครงสรางบริษัทและผูบริหาร โครงสรางการถือหุนและผูถือ หุนรายใหญ บริษทั ไดเปดโอกาสใหนกั วิเคราะห และนักลงทุนทีส่ นใจ เขาพบผูบริหารระดับสูงไดตามความเหมาะสม และเขาถึง ขอมูลตางๆของบริษัท ไมวาจะเปนขอมูลสําคัญทางการเงิน นโยบาย กลยุทธ ตลอดจนการดําเนินกิจการของบริษัท โดย เผยแพรขอมูลที่เที่ยงตรง และทันตอสถานการณ ผานทาง สื่อสิ่งพิมพ และเว็บไซตของบริษัท (www.pcsgh.com) เพื่อ ประกอบการวิเคราะห และการตัดสินใจของนักลงทุนไดอยาง มีประสิทธิภาพ โดยในป 2561 ทีผ่ า นมา บริษทั ไดดาํ เนินการจัดกิจกรรม นํ า เสนอข อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ นั ก วิ เ คราะห และนั ก ลงทุ น ดังตอไปนี้ จัดการประชุมแถลงผลประกอบการประจําไตรมาส ใหกับนักวิเคราะห (Analyst Forum) จํานวน 2 ครั้ง เขารวมกิจกรรมการบริษัทจดทะเบียนพบผูลงทุน (Opportunity Day) จัดโดยตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย จํานวน 1 ครั้ง

การเขาเยีย่ มชมโรงงาน (Plant visit) ของนักวิเคราะห และนักลงทุน การจัดประชุมพูดคุยกับผูบ ริหารระดับสูง ทีส่ าํ นักงาน หรือรับสายโทรศัพท (Conference call) จากนักวิเคราะห และนักลงทุนทั้งในประเทศ และ ตางประเทศ จํานวน 3 ครั้ง การนําเสนอขอมูลตอนักลงทุนในประเทศ (Road Show) จํานวน 1 ครั้ง การเผยแพรขา ว (Press Release) ในเรือ่ งการลงทุน หรือกิจกรรมการทางธุรกิจทีส่ าํ คัญของบริษทั จํานวน 1 ครั้ง การตอบคําถามนักลงทุน และนักวิเคราะหผานทาง จดหมายอิเล็คทรอนิคส (e-mail : ir@pcsgh.com) อยางสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ บริษัทฯ ใหความสําคัญตอรายงานทาง การเงิน เพือ่ ใหแสดงถึงสถานะทางการเงินและผลการประกอบ การทีแ่ ทจริงของบริษทั ฯ โดยอยูบ นพืน้ ฐานของขอมูลทางบัญชี ทีถ่ กู ตอง ครบถวน และเพียงพอตามมาตรฐานการบัญชีซงึ่ เปน ทีย่ อมรับโดยทัว่ ไป บริษทั ฯ จะเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับกรรมการ แตละทาน ตลอดจนบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการ บริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย อ ยของบริ ษั ท ฯในรายงาน ประจําปของบริษัทฯ (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายการ ขอมูลประจําป (แบบ 56-1) และจะเปดเผยคาตอบแทนของ กรรมการและผูบ ริหารระดับสูงในรายงานประจําปของบริษทั ฯ (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนเกี่ยว กับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ การกํากับดูแลกิจการใหเปน ไปตามเปาหมายและแนวทางที่จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอผูถ อื หุน โดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูม สี ว นไดเสียทุกฝาย คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น า ที่ ป ฏิ บั ติ ใ ห เ ป น ไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษทั ฯ และมติทปี่ ระชุม ผู  ถื อ หุ  น โดยปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด  ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต และ ระมัดระวังรักษาผลประโยชนของผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อใหมั่นใจวาการดําเนิน งานของบริษัทฯ เปนไปในทิศทางที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย คณะกรรมการบริษัทจะดูแลให มีการจัดทําวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย นโยบาย ทิศทางการ ดําเนินงาน แผนกลยุทธ แผนงาน และงบประมาณประจํา

57


ปของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการบริษัทจะรวมแสดงความ คิดเห็น เพื่อใหเกิดความเขาใจในภาพรวมของธุรกิจรวมกัน กอนที่จะพิจารณาอนุมัติ และติดตามใหมีการบริหารงานเพื่อ ใหเปนไปตามเปาหมายที่วางไว โดยจะยึดถือแนวทางของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ภารกิจของคณะกรรมการบริษัท ในป 2561

Q1

1. พิจารณากําหนดวันประชุมสามัญผูถ อื หุน และวาระ ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป พิ จ ารณารั บ รองรายงานการประชุ ม สามั ญ ผูถือหุนประจําป พิจารณากําหนด Record date เพื่อกําหนด รายชื่อผูถือหุนที่มีสิทธิเขาประชุมฯ พิจารณารับทราบผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ พิจารณาอนุมัติงบแสดงฐานะทางการเงินและ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับรอบระยะเวลา บัญชีประจําป พิจารณาอนุมตั กิ ารจัดสรรกําไรเพือ่ เปนทุนสํารอง ตามกฎหมาย และการจายเงินปนผล พิจารณาอนุมตั เิ ลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการ ที่ตองออกจากตําแหนงตามวาระ พิจารณาอนุมัติกําหนดคาตอบแทนกรรมการ ประจําป พิจารณาอนุมัติแตงตั้งผูสอบบัญชีและกําหนด คาตอบแทนการสอบบัญชีประจําป 2. พิจารณารับทราบผลการดําเนินงานประจําปและ รับทราบขอมูลทางการเงินของบริษัทยอย 3. พิจารณารับทราบรายการระหวางกันประจําป 4. พิจารณาใหความเห็นชอบงบการเงินและงบการเงิน รวมสําหรับปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 5. พิจารณาใหความเห็นชอบการจัดสรรกําไรและการ จายเงินปนผล 6. พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตัง้ กรรมการแทน กรรมการที่ตองออกจากตําแหนงตามวาระ 7. พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้งผูสอบบัญชี และกําหนดคาตอบแทนของผูสอบบัญชีประจําป

58

Q2

1. จัดประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2561 2. พิจารณาอนุมัติงบการเงินรวมของบริษัท สําหรับ ไตรมาส 1 3. อนุมัติการกําหนดแนวทางตามโครงการซื้อหุนคืน ป 2558 4. พิจารณาใหความเห็นชอบการแกไขเปลี่ยนแปลง กรรมการบริ ษั ท ย อ ยและกรรมการผู  มี อํ า นาจ ลงลายมือชือ่ ของบริษทั ยอย 5. พิจารณารับทราบขอมูลทางการเงินของบริษทั ยอย สําหรับไตรมาส 1 6. พิ จ ารณารั บ ทราบรายการระหว า งกั น สํ า หรั บ ไตรมาส 1 7. พิจารณารับทราบคําอธิบายและวิเคราะหของฝาย จัดการ สําหรับไตรมาส 1 8. รับทราบความคืบหนาการเขาซื้อทรัยพสิน

Q3

1. พิจารณาอนุมัติงบการเงินรวมของบริษัท สําหรับ ไตรมาส 2 2. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ผนทบทวนการดํ า เนิ น งาน งบประมาณรายจ า ยลงทุ น และงบประมาณค า ใชจายประจําป 3. พิจารณาอนุมตั กิ ารจายเงินปนผลระหวางกาลของ บริษัทยอย 4. พิจารณาอนุมัติเงินปนผลระหวางกาลของบริษัท 5. พิจารณาอนุมตั ใิ หจดทะเบียนลดทุน สําหรับหุน ซือ้ คืนป 2558 6. พิจารณารับทราบคําอธิบายและวิเคราะหของฝาย จัดการ สําหรับไตรมาส 2 7. พิ จ ารณารั บ ข อ มู ล ทางการเงิ น ของบริ ษั ท ย อ ย สําหรับไตรมาส 2 8. รับทราบรายการระหวางกัน สําหรับไตรมาส 2 9. รับทราบความคืบหนาการเขาซื้อทรัยพสิน

Q4

1. พิจารณาอนุมัติการลาออกของกรรมการ,ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหารและประธานเจาหนาทีฝ่ า ยการเงิน 2. พิจารณาอนุมัติการแตงตั้งพนักงานระดับบริหาร เพื่อทดแทนตําแหนงที่วางลงสําหรับกิจการใน


3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ประเทศไทยและแต ง ตั้ ง พนั ก งานระดั บ บริ ห าร สําหรับบริษัทยอยในเยอรมนีและฮังการีซึ่งจัดตั้ง และไดรับมอบทรัพยสินแลว พิจารณาอนุมัติการตออายุการจางงานพนักงาน ระดับบริหาร พิจารณาอนุมัติแผนธุรกิจ งบประมาณรายจาย ลงทุน และงบประมาณคาใชจายประจําป 2562 พิจารณาอนุมัติงบการเงินรวมของบริษัท สําหรับ ไตรมาส 3 พิจารณาอนุมัติแกไขอํานาจกรรมการ พิจารณาอนุมตั แิ ตงตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีล่ าออก พิจารณาอนุมตั แิ ตงตัง้ ประธานเจาหนาทีฝ่ า ยการเงิน พิจารณาใหความเห็นชอบการแกไขเปลี่ยนแปลง

10. 11. 12. 13.

กรรมการบริษัทยอยและกรรมการผูมีอํานาจลง ลายมือชือ่ ของบริษทั ยอย พิจารณารับทราบคําอธิบายและวิเคราะหของฝาย จัดการ สําหรับไตรมาส 3 พิ จ ารณารั บ ข อ มู ล ทางการเงิ น ของบริ ษั ท ย อ ย สําหรับไตรมาส 3 พิ จ ารณารั บ ทราบรายการระหว า งกั น สํ า หรั บ ไตรมาส 3 พิ จ ารณารั บ ทราบกํ า หนดการประชุ ม คณะ กรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบ

59


14.2 การสรรหาและแตงตั้งกรรมการและผูบริหารสูงสุด 14.2.1) คณะกรรมการบริษัท การสรรหากรรมการนั้น บริษัทฯ จะใหความสําคัญกับบุคคลที่มีความรูความสามารถ ประสบการณ มีประวัติการทํางาน ที่ดี และมีภาวะผูนํา วิสัยทัศนกวางไกล รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีตอองคกร สามารถอุทิศเวลาใหได อยางเพียงพออันเปนประโยชนตอ การดําเนินกิจการของบริษทั ฯ นอกจากนี้ ยังจะคํานึงถึงคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสมและสอดคลองกับ องคประกอบและโครงสรางของกรรมการตามกลยุทธทางธุรกิจของบริษัทฯ อีกดวย มีกระบวนการที่โปรงใส สรางความมั่นใจให แกผูถือหุน คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการจํานวน 11 คน ที่มีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด ประกอบดวย กรรมการอิสระ 5 คน กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 5 คน และกรรมการที่เปนผูบริหาร 1 คน โดยประธานกรรมการเปนกรรมการ อิสระ และไมใชบุคคลคนเดียวกับประธานเจาหนาที่บริหาร บริษทั มีการแบงแยกอํานาจหนาทีข่ องประธานกรรมการและประธานเจาหนาทีบ่ ริหารอยางชัดเจน ตามทีแ่ สดงขอบเขต และอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทและประธานเจาหนาที่บริหาร ในหัวขอ 10. เรื่องโครงสรางการจัดการ ในการแตงตัง้ กรรมการบริษทั คณะกรรมการทีด่ าํ รงตําแหนงในปจจุบนั จะรวมกันหารือเพือ่ พิจารณาคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะ เขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษัท โดยจะพิจารณาจากความรู ความสามารถ และประสบการณที่เกี่ยวของกับธุรกิจ หรือพิจารณา จากผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ที่มีประสบการณในธุรกิจที่จะเปนประโยชนตอบริษัทฯ อยางไรก็ตาม การแตงตั้งกรรมการใหม จะตองผานการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผูถือหุน (แลวแตกรณี) ทั้งนี้ ขอบังคับของ บริษัทฯ กําหนดใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการ ตามหลักเกณฑและวิธกี ารดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนหนึ่งคนมีคะแนนเสียงเทากับ 1 หุนตอ 1 เสียง (2) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ไดแต จะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลที่ไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ไดรบั การเลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมี ใหประธานที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด ในการประชุมผูถ อื หุน สามัญประจําปทกุ ครัง้ ใหกรรมการออกจากตําแหนงจํานวนหนึง่ ในสาม (1/3) ของจํานวนกรรมการ ในขณะนั้น ถาจํานวนกรรมการจะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุด กับสวนหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการซึ่งพนจากตําแหนง อาจไดรับเลือกใหกลับเขามารับตําแหนงอีกได กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรกและปที่ สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหจับสลากกัน สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจาก ตําแหนง กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับเลือกตั้งใหมอีกไดโดยที่ประชุมผูถือหุน นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ (1.) ตาย (2.) ลาออก (3.) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมาย (4.) ที่ประชุมผูถือหุนลงมติใหออก ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูถือหุนที่มาประชุม และมีสิทธิ ออกเสียง และมีหนุ นับรวมกันไดไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนหุน ถือ โดยผูถ อื หุน ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง (5.) ศาลมีคําสั่งใหออก 14.2.2) คณะกรรมการตรวจสอบที่เปนอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการทีเ่ ปนกรรมการอิสระจํานวน 3 คน โดยมีวาระอยูใ นตําแหนงคราวละ 3 ป บริษทั ฯ มีนโยบายในการสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ทีส่ อดคลองกับประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ

60


ตลาดหลักทรัพย ที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตใหเสนอขายหุนที่ออกใหม ฉบับลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (รวมทั้งที่ไดมีการแกไขเพิ่มเติม) โดยบริษัทไดกําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระ ตามที่ไดแสดงในหนา 27-28. นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงกรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คน จะตองเปนบุคคลที่มีความรูและประสบการณ ดานการบัญชีหรือการเงินเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได นอกจากนี้ บริษัทฯ จะ พิจารณาคุณสมบัตใิ นดานอืน่ ๆ ประกอบดวย เชน ประสบการณในธุรกิจ ความเชีย่ วชาญเฉพาะทางทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจ และความ มีจริยธรรม เปนตน 14.2.3) ผูบริหาร คณะกรรมการบริษทั และ/หรือบุคคลทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั จะพิจารณาแตงตัง้ ผูบ ริหารจากบุคลากร ที่มีประสบการณและมีความรูความสามารถในการบริหารงานในสายงานที่เกี่ยวของ

14.3 การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวม 14.3.1) นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน 1. เพื่อใหบริษัทฯ สามารถควบคุมดูแลการจัดการ และรับผิดชอบการดําเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวมได เสมือนเปนหนวยงานหนึ่งของบริษัทฯ และเพื่อใหบริษัทฯ มีกลไกกํากับดูแลบริษัทยอยและบริษัทรวมทั้งทางตรง และทางออม รวมทัง้ มีมาตรการในการติดตามการบริหารงานของบริษทั ยอยและบริษทั รวม เพือ่ ดูแลรักษาผลประโยชนในเงินลงทุนของบริษทั ฯ โดยใหกรณีดังตอไปนี้ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผูถือหุน (แลวแตกรณี) 1.1 เรื่องที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท (ก) การแตงตัง้ หรือเสนอชือ่ บุคคลเปนกรรมการและผูบ ริหารในบริษทั ยอยหรือบริษทั รวมอยางนอยตามสัดสวน การถือหุนของบริษัทฯ ในบริษัทยอยและบริษัทรวม โดยใหกรรมการและผูบริหารที่บริษัทฯ เสนอชื่อหรือแตงตั้งมี ดุลยพินิจในการพิจารณาออกเสียงในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทยอยและบริษัทรวมในเรื่องที่เกี่ยวกับ การบริหารจัดการทัว่ ไปและการดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษทั ยอยและบริษทั รวมไดตามแตทกี่ รรมการและผูบ ริหาร ของบริษทั ยอยและบริษทั รวมจะเห็นสมควรเพือ่ ประโยชนสงู สุดของบริษทั ฯ บริษทั ยอยและบริษทั รวม เวนแตเรือ่ งที่ กําหนดไวในขอ 1 ทัง้ นี้ กรรมการและผูบ ริหารตามวรรคขางตนทีไ่ ดรบั การเสนอชือ่ นัน้ ตองมีคณ ุ สมบัติ บทบาท หนาที่ และความ รั บ ผิ ด ชอบ ตลอดจนไม มี ลั ก ษณะขาดความน า ไว ว างใจตามประกาศคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพยวาดวยการกําหนดลักษณะขาดความไมนาไววางใจของกรรมการและผูบริหารของบริษัท (ข) กรณีทบี่ ริษทั ยอยตกลงเขาทํารายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ยอย หรือรายการทีเ่ กีย่ วกับการไดมา หรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทยอย โดยนําหลักเกณฑที่กําหนดไวตามประกาศที่เกี่ยวของของคณะกรรมการ กํากับตลาดทุนและประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มาบังคับใชโดยอนุโลม ทั้งนี้ ตองเปน กรณีที่เมื่อคํานวณขนาดของรายการที่บริษัทยอยเขาทํารายการเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ ดังกลาวแลวอยูในเกณฑตองไดรับการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทดวย (ค) พิจารณาการจายเงินปนผลประจําป และเงินปนผลระหวางกาล (หากมี) ของบริษัทยอย (ง) การแกไขขอบังคับของบริษัทยอย รายการตัง้ แตขอ (จ) ถึงขอ (ฎ) นีเ้ ปนรายการทีถ่ อื วามีสาระสําคัญ และหากเขาทํารายการจะมีผลกระทบ อยางมีนยั สําคัญตอฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั ยอย กอนทีจ่ ะมีการประชุมคณะกรรมการของบริษทั ยอย กรรมการและผูบริหารซึ่งบริษัทฯ แตงตั้งใหดํารงตําแหนงในบริษัทยอยจะออกเสียงในเรื่องดังตอไปนี้ ตองไดรับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทกอน ทั้งนี้ ตองเปนกรณีที่เมื่อคํานวณขนาดรายการที่บริษัทยอยเขาทํารายการ เปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ โดยนําหลักเกณฑที่กําหนดตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและ

61


คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสินมาบังคับใชโดยอนุโลม แลว อยูในเกณฑตองไดรับการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งรายการดังตอไปนี้คือ (จ) การโอนหรือสละสิทธิประโยชน รวมตลอดถึงการสละสิทธิเรียกรองทีม่ ตี อ ผูท กี่ อ ความเสียหายแกบริษทั ยอย (ฉ) การขายหรือโอนกิจการของบริษัทยอยทั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญใหแกบุคคลอื่น (ช) การซื้อหรือการรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเปนของบริษัทยอย (ซ) การเขาทํา แกไข หรือเลิกสัญญาเกีย่ วกับการใหเชากิจการของบริษทั ยอยทัง้ หมด หรือบางสวนทีส่ าํ คัญ การมอบหมายใหบคุ คลอืน่ เขาจัดการธุรกิจของบริษทั ยอย หรือการรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมีวตั ถุประสงคจะแบงกําไร ขาดทุนกัน (ฌ) การเชา หรือใหเชาซื้อกิจการหรือทรัพยสินของบริษัทยอยทั้งหมดหรือสวนที่มีสาระสําคัญ (ญ) การกูยืมเงิน การใหกูยืมเงิน การใหสินเชื่อ การคํ้าประกัน การทํานิติกรรมผูกพันบริษัทยอยใหตองรับ ภาระทางการเงินเพิ่มขึ้น ในกรณีท่ีบุคคลภายนอกขาดสภาพคลองหรือไมสามารถปฏิบัติการชําระหนี้ได หรือการให ความชวยเหลือดานการเงินในลักษณะอื่นใดแกบุคคลอื่น (ฎ) การเลิกกิจการของบริษัทยอย 1.2 เรื่องที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ (3/4) ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน กอนบริษัทยอยเขาทํารายการ (ก) กรณีทบี่ ริษทั ยอยตกลงเขาทํารายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ยอย หรือรายการทีเ่ กีย่ วกับการ ไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทยอย โดยนําหลักเกณฑที่กําหนดไวตามประกาศ ที่เกี่ยวของของ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนและประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย (แลวแตกรณี) มาบังคับใชโดยอนุโลม ทัง้ นี้ ตองเปนกรณีที่เมื่อคํานวณขนาดของรายการที่บริษัทยอยเขาทํารายการเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ ตาม หลักเกณฑดงั กลาวแลวอยูใ นเกณฑตอ งไดรบั ความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ ตามหลักเกณฑดงั กลาวดวย (ข) การเพิ่มทุนโดยการออกหุนเพิ่มทุนของบริษัทยอยและการจัดสรรหุน รวมทั้งการลดทุน จดทะเบียน ซึ่งไมเปนไปตามสัดสวนการถือหุนเดิมของผูถือหุนอันจะเปนผลใหสัดสวนการถือหุนทั้งทางตรงและทางออมของ บริษัทฯ ในบริษัทยอยไมวาในทอดใด ๆ ลดลงเกินกวารอยละ 10 ของทุนชําระแลวของบริษัทยอยนั้น หรือเปนผล ใหสัดสวนการถือหุนของบริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางออมในบริษัทยอยไมวาในทอดใด ๆ ลดลงเหลือนอยกวารอยละ 50 ของทุนชําระแลวของบริษัทยอยนั้น (ค) การดําเนินการอืน่ ใดอันจะเปนผลใหสดั สวนการถือหุน ของบริษทั ฯ ทัง้ ทางตรงและทางออมในบริษทั ยอย ไมวาในทอดใดๆ ลดลงเกินกวารอยละ 10 ของทุนชําระแลวของบริษัทยอย หรือเปนผลใหสัดสวนการถือหุนของ บริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางออมในบริษัทยอยไมวาในทอดใดๆ ลดลงเหลือนอยกวารอยละ 50 ของทุนชําระแลว ของบริษัทยอยในการเขาทํารายการอื่นใด ที่มิใชรายการธุรกิจปกติของบริษัทยอย (ง) การเลิกกิจการของบริษัทยอย ทั้งนี้ ตองเปนกรณีที่เมื่อคํานวณขนาดของกิจการบริษัทยอยที่เลิกนั้น เปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ โดยนําหลักเกณฑที่กําหนดตามประกาศคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนและ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสินมาบังคับใชโดยอนุโลม ทั้งนี้ ตองเปนกรณีที่เมื่อคํานวณขนาดของรายการที่บริษัทยอยเขาทํารายการเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ แลวอยูในเกณฑตองไดรับการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ (จ) รายการอืน่ ใดทีไ่ มใชรายการธุรกิจปกติของบริษทั ยอยและเปนรายการทีจ่ ะมีผลกระทบตอบริษทั ยอย อยางมีนัยสําคัญ 2. กรรมการของบริษัทฯ จะติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวมใหเปนไปตามแผนงาน และงบ ประมาณ อยางตอเนื่อง และติดตามใหบริษัทยอยเปดเผยขอมูลรายการเกี่ยวโยง และรายการไดมา หรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพย ตอบริษัทฯ ตามประกาศที่เกี่ยวของของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย (แลวแตกรณี) มาบังคับใชโดยอนุโลม อยางครบถวนและถูกตอง

62


3. กรรมการของบริษทั ฯ ตองจัดใหบริษทั ยอยทีป่ ระกอบธุรกิจหลัก มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและรัดกุมเพียง พอ เพือ่ ปองกันการทุจริตทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั ยอย รวมทัง้ ควรใหบริษทั ยอยจัดใหมรี ะบบงานทีช่ ดั เจนเพือ่ แสดงไดวา บริษทั ยอย มีระบบเพียงพอในการเปดเผยขอมูล การทํารายการทีม่ นี ยั สําคัญตามหลักเกณฑทกี่ าํ หนดไดอยางตอเนือ่ งและนาเชือ่ ถือ และมีชอ ง ทางใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ สามารถไดรับขอมูลของบริษัทยอยในการติดตามดูแลผลการดําเนินงานและฐานะการ เงิน การทํารายการระหวางบริษัทยอยกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทยอย และการทํารายการที่มีนัยสําคัญของบริษัทยอย ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ตองจัดใหบริษัทยอยมีกลไก ในการตรวจสอบระบบงานดังกลาวในบริษัทยอย โดยใหทีมงานผู ตรวจสอบภายในและกรรมการอิสระของบริษทั ฯ สามารถเขาถึงขอมูลไดโดยตรง และใหมกี ารรายงานผลการตรวจสอบระบบงาน ดังกลาวใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจไดวา บริษัทยอยมีการปฏิบัติตามระบบงานที่จัดทําไวอยางสมํ่าเสมอ ในปจจุบันบริษัทฯ ลงทุนในบริษัทยอย 3 แหงในประเทศไทย ไดแก PCW PCD และ PCF โดยมีสัดสวนการลงทุนในทั้ง 3 บริษัท รอยละ 100 และบริษัทยอย 6 แหงในประเทศเยอรมนีและฮังการี

14.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการทีด่ แี ละเพือ่ ความโปรงใสและปองกันการแสวงหา ผลประโยชนสวนตนจากการใชขอมูลภายในของบริษัทฯ ที่ยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชน บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายการใชขอมูล ของบริษัทดังนี้ 1. ใหความรูแกกรรมการ ผูบริหาร รวมถึงผูดํารงตําแหนงระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เปนระดับผูจัดการ ฝายขึ้นไปหรือเทียบเทา เกี่ยวกับหนาที่ที่ตองจัดทําและสงรายงานการถือหลักทรัพยของตน คูสมรส และบุตรที่ยัง ไมบรรลุนิติภาวะ ตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยตามมาตรา 59 และบทกําหนด โทษตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 2. กําหนดใหกรรมการและผูบ ริหาร รวมถึงผูด าํ รงตําแหนงระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ปนระดับผูจ ดั การ ขึน้ ไปหรือเทียบเทา จัดทําและนําสงเอกสารรายงานการถือหลักทรัพยของตน คูส มรส และของบุตรทีไ่ มบรรลุนติ ภิ าวะ สงผานมายังเลขานุการของบริษัท กอนนําสงสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทุกครั้ง โดยใหจัดทําและนําสงภายใน 30 วันนับตั้งแตวันที่ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยภายใน 3 วันทําการนับแตวันที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน หลักทรัพยนั้น 3. กําหนดใหกรรมการ ผูบ ริหาร รวมถึงผูด าํ รงตําแหนงระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ปนระดับผูจ ดั การฝาย ขึน้ ไปหรือเทียบเทา และผูป ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วของทีไ่ ดรบั ทราบขอมูลภายในทีเ่ ปนสาระสําคัญ ซึง่ มีผลตอการเปลีย่ นแปลง ราคาหลักทรัพย จะตองระงับการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทในชวงเวลากอนที่จะเผยแพรงบการเงินหรือเผยแพร เกีย่ วกับฐานะการเงินและสถานะของบริษทั จนกวาบริษทั จะไดเปดเผยขอมูลตอสาธารณชนแลว โดยบริษทั จะแจงให กรรมการและผูบ ริหาร รวมถึงผูด าํ รงตําแหนงระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ปนระดับผูจ ดั การฝายขึน้ ไป หรือเทียบเทา งดการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทอยางเปนลายลักษณอักษรเปนเวลาอยางนอง 30 วันลวงหนา กอนการเปดเผยขอมูลตอสาธารณชน และควรรอคอยอยางนอย 24 ชัว่ โมงภายหลังการเปดเผยขอมูลใหแกสาธารณชนแลว รวมทั้งหามไมใหเปดเผยขอมูลที่เปนสาระสําคัญนั้นตอบุคคลอื่น 4. กําหนดใหกรรมการ ผูบริหาร ตองแจงใหบริษัททราบอยางนอย 1 วันลวงหนากอนทําการซื้อ/ขาย หลักทรัพยของ บริษัทฯ ผานเลขานุการบริษัทฯ และรายงานใหท่ปี ระชุมทราบเปนรายไตรมาส 5. กําหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝาฝนนําขอมูลภายในไปใชหาประโยชนสวนตนซึ่งเริ่มตั้งแตการตักเตือนเปน หนังสือ ตัดคาจาง พักงานชั่วคราวโดยไมไดรับคาจาง หรือใหออกจากงาน ซึ่งการลงโทษจะพิจารณาจากเจตนาของ การกระทําและความรายแรงของความผิดนั้น

63


1 15

การตอตานการคอรรัปชั่น บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยยึด มั่น ในการดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตย โปรงใส เปนธรรม และปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียทุกฝายอยางเทาเทียมกัน คณะ กรรมการบริษทั จึงไดกาํ หนด “นโยบายตอตานการคอรรปั ชัน่ ” ขึ้น เพื่อเปนแนวปฏิบัติที่ชัดเจนแกผูเกี่ยวของกับการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทและสรางความเชื่อมั่นแกผูมีสวนไดสวนเสีย ทุกฝายไปพรอมกับการพัฒนาสูองคกรแหงความยั่งยืนตอไป 15.1) นโยบายตอตานการคอรรัปชั่น 1. หามกรรมการ ผูบ ริหาร ผูบ งั คับบัญชาทุกระดับ และ พนั ก งานทุ ก คนของบริ ษั ท กระทํ า การใด ๆ ที่ เปนการทุจริต คอรรัปชั่น ไมวาจะทั้งทางตรงและ ทางออม โดยครอบคลุมถึงธุรกิจและรายการทัง้ หมด ในทุกหนวยงานและทุกบริษัทยอย 2. กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัททุกคน ทุกระดับตองปฏิบัติตามนโยบาย, แนวทางการ ปฏิบัติ และมาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อ ตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ ทีบ่ ริษทั ฯ ไดกาํ หนดขึน้ เพือ่ ใหผเู กีย่ วของสามารถนําไปปฏิบตั ไิ ดอยางถูกตอง 3. บริษทั จะจัดใหมกี ารประเมินความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วของ กับการทุจริต คอรรปั ชัน่ ภายในบริษทั ทุกป รวมถึง การนํานโยบายการตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น และแผนการกํากับการปฏิบัติงานไปปฏิบัติ และ จัดใหมีคูมือ แนวทางในการดําเนินธุรกิจ แนวทาง การปฏิ บั ติ และการพั ฒ นามาตรการ/ขั้ น ตอน ในการปฏิบัติเพื่อตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น แก ผูบริหารและพนักงาน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความชัดเจน ในการดําเนินการในเรื่องที่มีความเสี่ยงสูงกับการ เกิดการทุจริต คอรรัปชั่น กรรมการ ผูบริหารและ พนักงานของบริษัททุกคน ทุกระดับตองปฏิบัติ อย า งระมั ด ระวั ง ต อ งเป น ไปอย า งถู ก ต อ งตาม กฎหมายของประเทศไทยในการตอตานการทุจริต คอรรัปชั่นที่เกี่ยวของ 4. บริษัทจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม เพือ่ ปองกันไมใหพนักงานมีการปฏิบตั ทิ ไี่ มเหมาะสม รับประกันใหมีการกํากับดูแลกิจการที่ดี และยก

64

ระดับคานิยมความซือ่ สัตย สุจริตและความรับผิดชอบ ใหเปนวัฒนธรรมองคกร 5. บริษทั มีกลไกการรายงานสถานะทางการเงินทีโ่ ปรงใส และถู ก ต อ งแม น ยํ า ครอบคลุ ม ทั้ ง ด า นการเงิ น และการดําเนินการของกระบวนการทางบัญชีและ การเก็บบันทึกขอมูล รวมถึงกระบวนการอื่น ๆ ใน บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ มาตรการ/ขั้ น ตอนในการ ปฏิบัติเพื่อตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น มีการ สอบทาน มี ก ารตรวจสอบภายในเพื่ อ ยื น ยั น ประสิทธิผลของกระบวนการตามมาตรการ/ขัน้ ตอน ในการปฏิบตั เิ พือ่ ตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ อยาง สมํา่ เสมอ เพือ่ ใหสอดคลองกับนโยบายตอตานการ คอรรัปชั่นของบริษัท และการเปลี่ยนแปลงของ ธุรกิจ รวมถึงขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ ผลการตรวจสอบตามมาตรการต อ ต า นการ คอรรัปชั่นนี้ ประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการ ผูจัดการ และผูบริหารระดับสูงตองรายงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั อยางสมํ่าเสมอ 6. บริษัทมีนโยบายที่จะไมลดตําแหนงลงโทษ หรือให ผลทางลบตอพนักงานทีป่ ฏิเสธการคอรรปั ชัน่ แมวา การกระทํานัน้ จะทําใหบริษทั สูญเสียโอกาสทางธุรกิจ 7. กรรมการ ผูบริหาร ผูบังคับบัญชาทุกระดับชั้นของ บริษทั ตองเปนผูน าํ ตัวอยางในการตอตานการทุจริต คอร รั ป ชั่ น ประกอบธุ ร กิ จ ตามหลั ก คุ ณ ธรรม จริยธรรม และดําเนินธุรกิจดวยหลักการในการตอตาน การทุจริตทุกรูปแบบ ดําเนินงานตามกรอบและขัน้ ตอน ของแนวรวมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต 15.2) คํานิยามตามนโยบายตอตานการคอรรัปชั่น การคอรรัปชั่น หมายถึง การใหหรือรับสินบน (giving or accepting bribes) ไมวาจะอยูในรูปแบบใด ๆ โดยการนํา เสนอ (offering) การใหคํามั่นสัญญา (promising) การขอ (soliciting) การเรียกรอง (demanding) ซึง่ เงิน ทรัพยสนิ หรือ ประโยชนอื่นใดที่ไมเหมาะสมกับเจาหนาที่ของรัฐ หนวยงาน ของรัฐ หนวยงานเอกชน หรือ ผูมีหนาที่ ไมวาจะโดยทางตรง


และทางออม ในทุก ๆ กิจกรรมทีอ่ ยูภ ายใตการควบคุม เพือ่ ผล ประโยชนตอ ธุรกิจ ตนเอง ครอบครัว หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วของ เวน แตกรณีทกี่ ฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ ขนบธรรมเนียม ประเพณีของทองถิน่ หรือจารีตทางการคา ใหกระทําได และให หมายความรวมถึงการบริจาคเพือ่ การกุศล การใหของขวัญทาง ธุรกิจ การจายคาบริการตอนรับและคาใชจา ยสําหรับการเลีย้ ง รับรองทางธุรกิจ การใหเงินสนับสนุน (สปอนเซอร) กิจกรรม ใด ๆ ที่ถูกกระทําอยางไมโปรงใสและมีเจตนาเพื่อโนมนาวให เจาหนาที่ภาครัฐ/เอกชนดําเนินการใด ๆ ที่ไมเหมาะสม หรือ ไมถูกตอง บริษัทมีนโยบายไมใหการชวยเหลือทางการเมือง ทั้ง ทางตรงและทางออม 15.3) หนาที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัท 1. กํ า หนดและอนุ มั ติ น โยบายต อ ต า นการทุ จ ริ ต คอรรัปชั่น เพื่อผลประโยชนทางธุรกิจของบริษัท 2. กําหนดใหมีการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับ การทุ จ ริ ต ภายในบริ ษั ท อนุ มั ติ ก ารนํ า นโยบาย แนวทางการปฏิบัติ และ มาตรการ/ขั้นตอนในการ ปฏิบตั เิ พือ่ การตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ ไปปฏิบตั ิ อยางถูกตองและทั่วทั้งองคกร 3. กํากับดูแลการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติ และ มาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น จัดใหมีระบบที่สนับสนุนการตอตาน การทุจริต คอรรปั ชัน่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ใหมนั่ ใจ วาฝายบริหารไดตระหนักและใหความสําคัญกับการ ตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ ในทุกๆ รูปแบบ ในทุกๆ กิจกรรมของบริษัทและปลูกฝงจนเปนวัฒนธรรม องคกร 4. ตองปฏิบตั ติ ามนโยบายตอตานการคอรรปั ชัน่ แนวทาง การปฏิบตั ิ และมาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ ของบริษทั อยางเครงครัด รวมถึงเปนแบบอยางที่ดีในเรื่องของความซื่อสัตย โปรงใสและ เปนธรรม และใหคําปรึกษาคําแนะนํา แกผูที่เกี่ยวของที่มีขอสงสัย ขอซักถามตาง ๆ คณะกรรมการตรวจสอบ 1. การกํากับดูแลระบบรายงานทางการเงินและบัญชี ระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายในและ

2. 3.

1.

2.

3.

4.

ระบบบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการทุจริต คอรรปั ชัน่ ของบริษทั , การจัดทํารายงานทางการเงิน และกระบวนการอื่ น ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ มาตรการ/ ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ ใหเปนไปตามมาตรฐานสากล มีความรัดกุม เหมาะสม มีประสิทธิภาพ สอบทาน และรายงานผลการสอบทาน การควบคุม ภายใน และการตรวจสอบตอคณะกรรมการบริษทั อยางสมํ่าเสมอ ต อ งปฏิ บั ติ ต ามนโยบายต อ ต า นการคอร รั ป ชั่ น แนวทางการปฏิบตั ิ มาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั ิ เพือ่ ตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ รวมถึงเปนแบบอยาง ที่ดีในเรื่องของความซื่อสัตย โปรงใสและเปนธรรม ใหคาํ ปรึกษา คําแนะนําแกผทู เี่ กีย่ วของทีม่ ขี อ สงสัย ขอซักถามตาง ๆ ประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการผูจัดการและ ผูบริหารระดับสูง กําหนดใหมีระบบและใหการสงเสริม สนับสนุน นโยบายต อ ต า นการคอร รั ป ชั่ น การประเมิ น ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการทุจริต คอรรัปชั่น ภายในบริษัท มาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อ ตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น เพื่อสื่อสารไปยัง พนักงานและผูที่เกี่ยวของทุก ๆ ฝาย ใหปฏิบัติตาม ไดอยางถูกตอง ทั่วถึง สอบทาน ตรวจสอบ และทบทวนความเหมาะสม ของระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบการปฏิบตั ิ ตามมาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ตอตานการ ทุจริต คอรรัปชั่นอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหสอดคลอง กับนโยบายตอตานการคอรรปั ชัน่ การเปลีย่ นแปลง ของธุรกิจ และขอกําหนดของกฎหมาย รายงานผลการสอบทาน การทบทวน การควบคุม ภายใน และการตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามมาตรการ/ ขั้ น ตอนในการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ต อ ต า นการทุ จ ริ ต คอร รั ป ชั่ น ต อ คณะกรรมการตรวจสอบอย า ง สมํ่าเสมอ และสามารถรายงานประเด็นที่พบอยาง เรงดวน ตอคณะกรรมการบริษัทโดยตรง (กรณี จําเปน เรงดวน) ต อ งปฏิ บั ติ ต ามนโยบายต อ ต า นการคอร รั ป ชั่ น แนวทางการปฏิบตั ิ มาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั ิ

65


เพื่อตอตานการทุจริต คอรรัปชั่นของบริษัท อยาง เครงครัด รวมถึงเปนแบบอยางทีด่ ใี นเรือ่ งของความ ซื่อสัตย โปรงใสและเปนธรรม 5. ตองตระหนักถึงความสําคัญในการเผยแพร ใหความรู ใหคาํ ปรึกษา เพือ่ สรางความเขาใจเกีย่ วกับการตอตาน การคอรรัปชั่นใหแกผูใตบังคับบัญชา ใหคําแนะนํา แกผูที่เกี่ยวของที่มีขอสงสัย ขอซักถามตาง ๆ คณะทํางาน บริหารความเสี่ยงตามนโยบายตอตาน การคอรรัปชั่น 1. แต ง ตั้ ง ขึ้ น จากผู  รั บ ผิ ด ชอบของฝ า ยต า ง ๆ ใน ผังองคกร มีหนาทีด่ าํ เนินการตาง ๆ เพือ่ ใหมนั่ ใจไดวา นโยบายตอตานการคอรรัปชั่น แนวทางการปฏิบัติ และมาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อตอตาน การทุจริต คอรรัปชั่น ไดถูกนําไปใชภายในองคกร อยางเครงครัด ทั่วทั้งองคกร 2. มีหนาที่ในการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับ การทุจริต คอรรัปชั่นภายในบริษัท และจัดทํา มาตรการ/ขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อตอตานการ ทุ จ ริ ต คอร รั ป ชั่ น ให เ หมาะสมกั บ ความเสี่ ย งที่ ประเมินได รวมกับหนวยงานทีเ่ กีย่ วของกับความเสีย่ ง นั้น ๆ นําเสนอประธานเจาหนาที่บริหาร และคณะ กรรมการบริษัท เพื่ออนุมัติและประกาศใชตอไป 3. รายงานผลการปฏิบัติตามนโยบาย และมาตรการ/ ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ตอตานการคอรรปั ชัน่ ตอ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารอยางตอเนือ่ งตามระยะเวลา ที่กําหนด 4. ตระหนักและใหความสําคัญในการเผยแพร ใหความรู ใหคําปรึกษา เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับการ ตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ ใหแกกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานทุกคน คณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริง 1. หมายถึง คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ทําหนาทีแ่ ละ รั บ ผิ ด ชอบในการตรวจสอบข อ เท็ จ จริ ง กรณี มี ขอรองเรียน กรรมการบริษทั ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร หรือกรรมการผูจ ดั การ และใหรายงานผลการตรวจ สอบขอเท็จจริงตอคณะกรรมการบริษัท 2. หมายถึง ผูบ ริหารระดับผูอ าํ นวยการฝาย หรือผูจ ดั การ แผนกจากหนวยงานที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับเรื่อง

66

รองเรียน หนวยงานตนเรือ่ งของผูถ กู รองเรียน และ หนวยงานทรัพยากรบุคคล ซึ่งบริษัทจะตั้งขึ้น เพื่อ ทําการพิจารณารายละเอียดขอเท็จจริง และหลักฐาน ตางๆ เมื่อไดรับแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนทั้ง ภายในและภายนอกบริษัท และใหรายงานผลการ การตรวจสอบขอเท็จจริงทั้งหมด ตอกรรมการ ผูจ ดั การบริษทั ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือคณะกรรมการบริษัท ตามความ เหมาะสมของเรื่องรองเรียนที่เกิดขึ้น พนักงานทุกคน ทุกระดับ พนักงานทุกคน มีหนาที่และความรับผิดชอบเกี่ยว กับนโยบายตอตานการคอรรัปชั่น แนวทางการปฏิบัติ และ มาตรการ/ขั้ น ตอนในการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ต อ ต า นการทุ จ ริ ต คอรรัปชั่น ดังนี้ 1. ศึกษา ทําความเขาใจในเนือ้ หาสาระ เพือ่ ใหสามารถ ปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง 2. ตองถือเปนวินัยในการปฏิบัติงานอยางเครงครัด ไมละเวน ฝาฝน ไมปฏิบัติตาม หรือ มีพฤติกรรมที่ ขัดแยงกับนโยบาย และมาตรการตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับ การตอตานการทุจริต คอรรัปชั่นในทุก ๆ กรณี 3. ควรทําหนาที่ใหความรู ความเขาใจกับบุคคลอื่นที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การปฏิ บั ติ ง านของตน และบริ ษั ท ใหทราบและถือปฏิบัติตามนโยบาย และมาตรการ ตอตานการทุจริต คอรรัปชั่นของบริษัท 4. เมื่อพบเห็นการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามนโยบาย และมาตรการตอตานการทุจริต คอรรปั ชัน่ ตองแจง ใหผบู งั คับบัญชา หรือบุคคลทีร่ บั ผิดชอบทราบทันที และใหความรวมมือในการตรวจสอบขอเท็จจริงตาง ๆ กับหนวยงานหรือบุคคลที่บริษัทมอบหมาย 5. พนักงานระดับบริหาร และผูบ งั คับบัญชา ทุกระดับชัน้ ในทุกหนวยงานตองเปนแบบอยางทีด่ ี ในการปฏิบตั ิ ตามนโยบาย และมาตรการต อ ต า นการทุ จ ริ ต คอรรปั ชัน่ ตลอดจนมีหนาทีค่ วามรับผิดชอบใน การ ให คํ า แนะนํ า ในขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ กํ า กั บ ดู แ ล สนับสนุน สงเสริม ใหพนักงานในบังคับบัญชาของตน ทุกคนไดเขาใจ และมีความสามารถปฏิบัติตาม ไดอยางถูกตอง เครงครัด โดยทั่วถึง 6. กรณีมีขอสงสัย ขอซักถาม มีความไมแนใจ ไมอาจ ตัดสินใจไดวาการตัดสินใจของตนถูกตองหรือไม


ในแนวทางการปฏิบัติ มาตรการ/ขั้นตอนในการ ปฏิบัติเพื่อตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น ใหหารือ ผูรวมงาน ปรึกษาผูบังคับบัญชาตามลําดับขั้น หรือ ขอคําแนะนําจากเลขานุการบริษทั กรรมการผูจ ดั การ หรื อ ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร เพื่ อ ให ไ ด ค วาม กระจาง และสามารถดําเนินการตาง ๆ ไดอยาง ความมั่นใจ ถูกตอง และโปรงใส 7. มีหนาที่ในการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับ การทุจริต คอรรปั ชัน่ ภายในหนวยงานของตน และ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งภายในบริ ษั ท ร ว มจั ด ทํ า มาตรการ/ขัน้ ตอนในการปฏิบตั เิ พือ่ ตอตานการทุจริต คอรรัปชั่นใหเหมาะสมกับความเสี่ยงที่ประเมินได กับคณะทํางานที่ไดรับมอบหมายจากบริษัท 15.4) แนวปฏิบัติการตอตานการคอรรัปชั่น กรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกคน ตองปฏิบัติ ตามนโยบายตอตานการคอรรัปชั่นอยางเครงครัด ไมเขาไป เกี่ยวของกับการคอรรัปชั่นทุกรูปแบบ ไมวาทางตรงหรือทาง ออม โดยคณะกรรมการบริษัทไดกําหนด แนวทางการปฏิบัติ และมาตรการตอตานการคอรรัปชั่น ดังนี้ 1. บริษัทมีนโยบายยึดมั่นในความเปนกลางทางการ เมือง ไมสนับสนุนใหมีนําเงินทุนหรือความชวยเหลือในรูป แบบอื่น ไปชวยเหลือทางการเมืองแกพรรคการเมืองใด ทั้ง ทางตรงและทางออม การชวยเหลือทางการเมือง (Political Contributions) หมายถึง การชวยเหลือไมวาจะเปนทาง ดานการเงิน หรือการชวยเหลือในรูปแบบอื่น (In-kind) เชน การใหสิ่งของหรือบริการ การโฆษณาสงเสริมหรือสนับสนุน พรรคการเมื อ ง การซื้ อ บั ต รเข า ชมงานที่ จั ด เพื่ อ ระดมทุ น หรื อ บริ จ าคเงิ น ให แ ก อ งค ก รที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ใ กล ชิ ด กั บ พรรคการเมือง การเปนตัวแทนบริษทั เพือ่ รวมดําเนินการเกีย่ ว กับการรณรงคทางการเมือง ฯลฯ 2. การใชเงินหรือทรัพยสินของบริษัทในการบริจาค เพือ่ การกุศล จะตองกระทําอยางเปดเผย กระทําในนามบริษทั เทานัน้ และดําเนินการผานขัน้ ตอนการอนุมตั โิ ดยผูม อี าํ นาจของ บริษัท โดยตองเปนการบริจาคใหกับองคกรเพื่อประโยชนตอ สังคมและไมมสี ว นเกีย่ วของกับผลประโยชนตา งตอบแทนใด ๆ เชน มูลนิธิ องคกรสาธารณกุศล วัด สถานศึกษา สถานพยาบาล เปนตน ทั้งนี้จะตองมีการออกหลักฐานรับรองที่นาเชื่อถือและ สามารถตรวจสอบได กําหนดวงเงินไมเกิน 100,000 บาท/ครัง้

3. การใชเงินหรือทรัพยสินของบริษัทเพื่อเปนเงิน สนับสนุน (Sponsorships) จะตองกระทําอยางเปดเผย กระทําในนามบริษัทเทานั้น และดําเนินการผานขั้นตอนการ อนุมตั โิ ดยผูม อี าํ นาจของบริษทั โดยเงินสนับสนุนทีจ่ า ยไป ตอง มีวัตถุประสงคเพื่อธุรกิจ สรางภาพลักษณหรือชื่อเสียงที่ดีให กับบริษัท ทั้งนี้จะตองมีการออกหลักฐานรับรองที่นาเชื่อถือ ระบุวัตถุประสงคและผูรับเงินที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบได กําหนดวงเงินไมเกิน 100,000 บาท/ครั้ง 4. ตองไมรับหรือใหของขวัญ ของที่ระลึกใด ๆ กับ ผูมีสวนไดสวนเสียในเรื่องงานที่ตนรับผิดชอบอยู ทั้งทางตรง และทางออม แกเจาหนาที่ของรัฐ หนวยงานของรัฐ หนวย งานเอกชนและคูคาทางธุรกิจ เพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชนใน ทางมิชอบและเปนการชักนําใหเกิดการละเวนในการปฏิบัติ หนาที่ของตน เวนแตเปนการใหหรือรับของขวัญ ของที่ระลึก ตามโอกาสหรือวาระตาง ๆ ที่เหมาะสม เชน การใหตาม ขนบธรรมเนียม ประเพณีทองถิ่นหรือจารีตทางการคา และ ตองมีมูลคาไมมากเกินปกติวิสัย ทั้งนี้การไดรับ หรือจะใหของ ขวัญ ของที่ระลึกใด ๆ ที่มูลคาเกินกวา 3,000 บาท/ชิ้น/ครั้ง หรือตอคน ตองแจงใหผูบังคับบัญชาระดับตั้งแตผูอํานวยการ ฝายทราบ และอนุมัติกอนการดําเนินการตอไป 5. การใชจายสําหรับการเลี้ยงรับรองทางธุรกิจ และ การใชจา ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการปฏิบตั ติ ามสัญญาทางธุรกิจ สามารถกระทําได แตตอ งอยูใ นระดับและขอบเขตทีเ่ หมาะสม มีความสมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได กําหนดวงเงินไมเกิน 50,000 บาท/ครัง้ และเพือ่ ใหเกิดความโปรงใสในการดําเนินงาน บริษัทมีกระบวนการในการตรวจสอบงานขายและการตลาด อยางสมํ่าเสมอ เกี่ยวกับความเสี่ยงตอการเกิดคอรรัปชั่น รวมถึงการจัดใหมีวิธีการแกไขที่เหมาะสม 6. ในการจัดซือ้ จัดจาง ตองดําเนินการผานขัน้ ตอนของ บริษทั อยางเครงครัด มีความโปรงใส รัดกุม และสามารถตรวจ สอบได โดยบริษัทมีกระบวนการในการตรวจสอบงานจัดซื้อ และทําสัญญาอยางสมํ่าเสมอเกี่ยวกับความเสี่ยงตอการเกิด คอรรัปชั่น รวมถึงการจัดใหมีวิธีการแกไขที่เหมาะสม 7. กรรมการและผูบริหารตองตระหนักถึงความสําคัญ ในการเผยแพร ใหความรู ใหคําปรึกษา เพื่อ สรางความเขาใจ เกี่ยวกับมาตรการตอตานการคอรรัปชั่นของบริษัท ใหแกผู ใตบังคับบัญชา รวมถึงเปนแบบอยางที่ดี ในเรื่องของความ ซือ่ สัตย โปรงใสและเปนธรรม เพือ่ สงเสริมความซือ่ สัตย สุจริต ความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามหนาที่และความรับผิดชอบ

67


รวมถึงสื่อใหเห็นถึงความมุงมั่นขององคกรในการปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติที่ดีของธุรกิจ บริษัทมีกระบวนการฝกอบรมอยางตอเนื่อง แก คณะกรรมการผู  บ ริ ห าร และพนั ก งาน เพื่ อ ให เกิดความเขาใจอยางแทจริง เกีย่ วกับมาตรการตอตาน การคอรรัปชั่น และใหรูถึงบทลงโทษหากไมปฏิบัติ ตามมาตรการนี้ บริษัทมีกระบวนการปฐมนิเทศใหแกพนักงานใหม เพื่อใหพนักงานมีความเขาใจเกี่ยวกับมาตรการ ตอตานการคอรรัปชั่น และใหรูถึงบทลงโทษหาก พนักงานไมปฏิบัติตามมาตรการนี้ 8. บริ ษั ท จั ด ให มี ก ระบวนการบริ ห ารงานบุ ค ลากร ที่สะทอนถึงความมุงมั่นของบริษัทตอมาตรการตอตานการ คอรรัปชั่นตั้งแตการคัดเลือก การอบรม การประเมินผลงาน การใหผลตอบแทน และการเลื่อนตําแหนง 9. กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานที่ปฏิเสธการ คอรรปั ชัน่ แมการกระทํานัน้ จะทําใหบริษทั สูญเสียโอกาสทาง ธุรกิจ ก็จะไมสงผลทางลบตอตําแหนงหนาที่การงาน หรือถูก ลงโทษใด ๆ 10. หากพนั ก งานพบเห็ น การกระทํ า ที่ เข า ข า ยการ คอรรัปชั่นที่เกี่ยวของกับบริษัท ทั้งทางตรงและทางออม ตอง ไมละเลยหรือเพิกเฉยตอพฤติกรรมดังกลาว ควรแจงใหบริษัท ทราบทันที ผานชองทางการแจงเบาะแสตามที่ไดกําหนดไวใน นโยบายนี้ 11. บริษัทจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม เพื่อปองกันไมใหพนักงานมีการปฏิบัติที่ไมเหมาะสม โดยการ ตรวจสอบ และควบคุมภายในโดยคณะทํางาน และหนวยงาน ภายนอกตามที่บริษัทเห็นสมควร 15.5) การแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน บริษทั กําหนดชองทางในการติดตอและรับเรือ่ งรองเรียน ไวบนเว็บไซตและรายงานประจําป โดยสามารถแจงเบาะแส หรือขอรองเรียนไดหลายชองทาง ทั้งทางเว็บไซต อีเมล หรือไปรษณีย ซึ่งเปนชองทางที่มีความปลอดภัย พนักงาน สามารถเขาถึงไดอยางมั่นใจ ทั้งกรณีการแจงเบาะแสหรือขอ รองเรียน และการสงขอซักถาม ขอสงสัย หรือการขอคําแนะนํา ตาง ๆ เกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามมาตรการตอตานการคอรรปั ชัน่ เนื่องจากบริษัทมี ระบบการรักษาความลับและมาตรการ คุมครองพนักงานทุกคน เพื่อไมใหมีความเสี่ยงใด ๆ เกิดขึ้นใน ภายหลังการแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน และขอซักถามตาง ๆ

68

(ดูชองทางการแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน ในจรรยาบรรณ บริษัท) กรณีที่ไมแนใจ ไมอาจตัดสินใจไดวาการตัดสินใจของตนถูก ตองหรือไม หรือมีขอสงสัย ขอซักถาม เกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามมาตรการตอตานการคอรรัปชั่น ใหพนักงานหารือผูรวม งาน ปรึกษาผูบ งั คับบัญชาตามลําดับขัน้ หรือขอคําแนะนําจาก เลขานุการบริษัท กรรมการผูจัดการ หรือประธานเจาหนาที่ บริหาร เพื่อใหไดความกระจาง และสามารถดําเนินการตาง ๆ ไดอยางความมั่นใจ ถูกตอง และโปรงใสไดโดยตรงในทุกกรณี ทั้งในสถานการณปกติ หรือกรณีเรงดวน 15.6) การรักษาความลับและมาตรการคุมครอง เพื่อเปนการคุมครองสิทธิของผูแจงเบาะแสหรือผูรอง เรียนทีก่ ระทําโดยเจตนาสุจริต บริษทั จะปกปดขอมูลทีส่ ามารถ ระบุตวั ผูแ จงเบาะแสหรือผูร อ งเรียน โดยจํากัดใหรไู ดเฉพาะผูท ี่ มีหนาที่รับผิดชอบในการดําเนินการตรวจสอบเรื่องรองเรียน หรือเปนการเปดเผยตามหนาที่ที่กฎหมายกําหนดเทานั้น คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารหรือ กรรมการผูจัดการบริษัทยอย (แลวแตกรณี) มีหนาที่ในการใช ดุลยพินิจสั่งการตามที่เห็นสมควร เพื่อคุมครองผูแจงเบาะแส หรือผูรองเรียน พยานและบุคคลที่ใหขอมูลในการตรวจสอบ หาขอเท็จจริง โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้น 15.7) การตรวจสอบขอเท็จจริง เมื่อบริษัทไดรับแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนไมวาจาก ภายในหรือภายนอก บริษัทจะตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ขอเท็จจริงซึ่งประกอบดวยผูบริหารระดับผูอํานวยการฝาย หรือผูจัดการแผนกจากหนวยงานที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับเรื่อง รองเรียน หนวยงานตนเรื่องของผูถูกรองเรียน และหนวยงาน ทรัพยากรบุคคล เพื่อทําการพิจารณารายละเอียดขอเท็จจริง และหลักฐานตาง ๆ ในกรณีที่มีการรองเรียนกรรมการบริษัทหรือประธาน เจาหนาที่บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบจะทําหนาที่เปน คณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริง หากมีเหตุอันควรเชื่อวาผูถูกกลาวหาไดกระทําการ ทุจริตจริง บริษัทจะแจงใหผูถูกกลาวหารับทราบและใหสิทธิ พิสูจน โดยหาขอมูลหรือหลักฐานแสดงความบริสุทธิ์มาแสดง ตอคณะกรรมการฯ คณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริง มีหนาที่รายงาน ขอเท็จจริงทั้งหมดตอกรรมการผูจัดการบริษัทยอย ประธาน


เจาหนาทีบ่ ริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ หรือคณะกรรมการ บริษัท ตามความเหมาะสมของเรื่องรองเรียนที่เกิดขึ้น 15.8) การลงโทษและการแจงผลการดําเนินการ 1. การลงโทษพนักงานที่กระทําผิด ใหเปนไปตาม ระเบียบการลงโทษทางวินยั ของบริษทั และ/หรือโทษ ทางกฎหมาย ซึ่งการลงโทษจะพิจารณาจากเจตนา ของการกระทํา และความรายแรงของความผิดนัน้ ๆ 2. หากกรณี ผู  ก ระทํ า ผิ ด เป น กรรมการบริ ษั ท หรื อ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ใหคณะกรรมการตรวจสอบ หารื อ ร ว มกั บ ประธานกรรมการบริ ษั ท ในการ พิจารณากําหนดโทษตามที่เห็นสมควร และ/หรือ ใหดําเนินการตามกฎ ระเบียบวาดวยแนวทางการ ปฏิบัติของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพย กําหนดบทลงโทษทางวินัยหาก มีการฝาฝน ซึ่งเริ่มตั้งแตการตักเตือนเปนหนังสือ ตัดคาจาง พักงานชั่วคราวโดยไมไดรับคาจาง หรือ ใหออกจากงาน ซึ่งการลงโทษจะพิจารณาจาก เจตนาของการกระทํ า และความร า ยแรงของ ความผิดนั้น ๆ 3. กรณีทสี่ ามารถติดตอผูใ หเบาะแสหรือผูร อ งเรียนได บริ ษั ท จะแจ ง ผลการดํ า เนิ น การให ท ราบเป น ลายลักษณอักษร 15.9) การสื่อสารนโยบายตอตานการคอรรัปชั่น เพื่อใหพนักงานทุกคน ทุกระดับ ผูมีสวนไดสวนเสีย ของบริษัท และสาธารณชน ไดรับทราบนโยบายตอตานการ คอรรปั ชัน่ และมาตรการตอตานการคอรรปั ชัน่ ของบริษทั อยาง ทัว่ ถึง บริษทั จึงกําหนดชองทางในการสือ่ สารและเปดเผยขอมูล ตอสาธารณชน ไวทั้งภายในและภายนอกองคกร ดังนี้ 1. การสื่อสารและการเปดเผยขอมูลภายในองคกร ติดประกาศตามบอรดประชาสัมพันธของบริษทั และบริษัทยอย เผยแพรใน intranet ของบริษัท จัดการฝกอบรมใหพนักงานทุกคน อยางตอเนือ่ ง การจัดกิจกรรม หรือรณรงครวมกันระหวาง พนักงาน ผูบ ริหาร โดยมีการสอดแทรกวัตถุประสงค สนับสนุนแนวนโยบาย และมาตรการตอตานการ ทุจริต คอรรัปชั่น อยางนอยปละ 1 ครั้ง

2. การสื่อสารและการเปดเผยขอมูลภายนอกองคกร เผยแพรผานเว็บไซตบริษัท รายงานการเป ด เผยข อ มู ล ประจํ า ป (56-1) รายงานประจําป (56-2) การแจงโดยจดหมาย การจัดประชุมชี้แจงให ลูกคา คูค า และผูม สี ว นไดสว นเสียของบริษทั ทุก ฝายทราบ เกีย่ วกับนโยบายและมาตรการตอตาน การทุจริต คอรรัปชั่นอยางสมํ่าเสมอ จั ด ทํ า สั ญ ลั ก ษณ หรื อ สื่ อ ใด ๆ ที่ แ สดงถึ ง แนวนโยบายการตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น บนสิ่งของเพื่อใหแกลูกคา หรือคูคา เชน ในชวง เทศกาลตาง ๆ หรือในโอกาสทางธุรกิจ หรือ ในการสงเสริมการขายของบริษัท บริ ษั ท จะเป ด เผยและแลกเปลี่ ย นนโยบายภายใน ประสบการณ แนวปฏิบัติที่ดีและ แนวทางความสําเร็จใน การสนับสนุนใหเกิดการทํารายงานทางธุรกิจอยางมีคุณธรรม ถูกตองและโปรงใสในประเทศไทย โดยการสนับสนุนใหมีการ ริเริ่มโครงการระดับประเทศเพื่อสรางเงื่อนไขในการแขงขันที่ เปนธรรม โปรงใสในการดําเนินธุรกิจ รวมถึงใหมั่นใจวามีการ กํากับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ บ ริ ษั ท จะมี ส  ว นร ว มในการเสวนา และ รวมอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการประชุมตาง ๆ เพือ่ สราง ความเขาใจในขอกังวลและปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบันที่มีผล ตอธุรกิจเอกชนเกี่ยวกับความซื่อสัตย สุจริตและความโปรงใส ในการดําเนินธุรกิจ บริษัทจะรวมมือกับบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน คูค า และผูม สี ว นไดเสียกลุม อืน่ ๆ โดยการสรางแนวรวมปฏิบตั ิ และการเขารวมในกิจกรรมตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น ดังนี้ บริษทั จะรวมแบงปนแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี และกรอบความคิด เพื่อมุงหวังใหทุกองคกรที่เปนแนวรวมปฏิบัติไดนํา ไปใชเพื่อชวยกันบรรลุเปาหมายตามโครงการ บริษัทจะเขารวม Integrity Pacts กับองคกรอื่น และหนวยงานภาครัฐ ในการประมูลและจัดซือ้ สิง่ ของ วัตถุดิบอุปกรณและการกอสราง บริษทั จะรวมมือและรวมคิดเพือ่ พัฒนาจรรยาบรรณ ธุรกิจทีส่ ามารถใชไดกบั ทุกองคกร และเปนทีย่ อมรับ จากทุกองคกรที่เขารวมโครงการ บริษทั จะรวมในการสรางมาตรการและระบบตรวจสอบ เพื่อสงเสริมความโปรงใส ซื่อสัตย สุจริต ในการ ประกอบธุรกิจ

69


บริษทั จะรวมมือกับภาคประชาสังคม และสือ่ ในการ สรางจิตสํานึกและการใหการศึกษาแกสาธารณะ เพือ่ เปลีย่ นคานิยมไปสูก ารตอตานและการประณาม การทุจริตในทุกรูปแบบ บริษัทจะสนับสนุนการพัฒนาโครงการตรวจสอบ และรับรองการปฏิบตั ติ ามโครงการ พรอมทัง้ มีการ จัดการฝกอบรมใหแกเจาหนาที่ผูใหคําปรึกษาและ ผูต รวจสอบ เพือ่ เปนแนวทางใหกบั บริษทั ทีเ่ ขารวม โครงการในการดําเนินธุรกิจตามหลักจริยธรรม และ ยกระดับกระบวนการนี้ใหอยูในวัฒนธรรมองคกร เพือ่ สงเสริมความยัง่ ยืนของโครงการแนวรวมปฏิบตั ิ ในการตอตานการทุจริตในภาคเอกชนไทย บริษทั ใหมกี ารตรวจสอบและรับรองโดยคณะกรรมการ แนวรวมปฏิบัติในการตอตานการทุจริต ทุก 3 ป 15.10 การดําเนินงานดานการตอตานคอรรัปชั่น ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2558 เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ไดอนุมัติ นโยบายการตอตานคอรรปั ชัน่ เพือ่ ดําเนินการกําหนดหลักการ และแนวทางปฏิบัติ เพื่อกําหนดขอบเขต ผูมีหนาที่รับผิดชอบ ชองทางการสื่อสารและกระบวนการที่เกี่ยวของ โดยบริษัทได เขารวมการประกาศเจตนารมณเปนแนวรวมปฏิบัติของภาค เอกชนไทยในการตอตานการทุจริต เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2558 และเริ่มบรรจุการอบรมเรื่องจรรณยาบรรณในการ ดําเนินธุรกิจและการปองกันการทุจริตคอรรัปชั่นใหเปนสวน หนึง่ ของการฝกอบรมพนักงานใหม เพือ่ ใหสอดรับกับนโยบาย บริษัทจึงจัดใหมีการประชุมผูสงมอบ ( Supplier Meeting) ขยายแนวรวมและประกาศแจงใหคูคาทราบนโยบายการตอ ตานการคอรรปั ชัน่ โดยมีคคู า เขารวมประชุมจํานวน 72 บริษทั นอกจากนีบ้ ริษทั ยังเขารวมกิจกรรมแนวรวมภาคประชาชนตอ ตานการคอรรัปชั่นของจังหวัดนครราชสีมา ในการประกาศ เจตนารมณ รณรงคตอตานคอรรัปชั่นในทุกรูปแบบ ในวันตอ ตานคอรรัปชั่นแหงประเทศไทย วันที่ 9 กันยายน 2558

70

ในป 2559 บริษัทไดดําเนินการประเมินความเสี่ยง ทบทวนและปรับปรุงนโยบายและกระบวนการเปดเผยตาม กรอบแบบแสดงขอมูลเพื่อการประเมิน Anti Corruption สําหรับบริษัทจดทะเบียน โดยไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัทในการประชุมครั้งที่ 6/2559 วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เพื่อปรับปรุงนโยบายและแนวทางการดําเนินการรวมทั้งการ ติดตามผล กระบวนการรายงานใหเปนไปตามมาตรฐานที่ดี ตามขอกําหนด พรอมทัง้ ดําเนินการฝกอบรมใหพนักงานทุกคน เกิดความเขาใจ และพัฒนาความรู ผูบริหารของบริษัทฯ รวม ทั้งผลักดันใหคูคา ผูสงมอบ ไดรับทราบนโยบายโดยการเผย แพรทางจดหมาย และผานเว็บไซดของบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทได เขารวมกิจกรรมแนวรวมภาคประชาชนตอตานการคอรรัปชั่ นของจังหวัดนครราชสีมา ในการประกาศเจตนารมณ รณรงค ตอตานคอรรัปชั่นในทุกรูปแบบ ในวันตอตานคอรรัปชั่นแหง ประเทศไทยติดตอกันเปนปที่ 2 ในป 2560 บริษัทฯ ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ใหจัดทําหนังสือคูมือการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณบริษทั (Corporate Governance and Code of Conduct) เพือ่ ใชสาํ หรับใหความรูก บั หัวหนางาน และผูจ ดั การ แผนกทัว่ ทัง้ องคกร ผานกระบวนการฝกอบรม และเผยแพรให ผูมีสวนไดสวนเสียของบริษัททุกฝายทราบ เกี่ยวกับนโยบาย และมาตรการตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น จากการดําเนิน งานดังกลาวทําให บริษทั ฯ ไดรบั การรับรองเปนแนวรวมปฏิบตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต (Collective Anti-Corruption : CAC) เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2560 ในป 2561 บริษัทฯ ไดดําเนินเผยแพรความรูความ เขาใจ ใหความรูกับพนักงานหัวหนางาน และผูจัดการแผนก ทั่วทั้งองคกร จํานวน 117 คน ตลอดจนพนักงานที่เขาใหม ทุกคน จํานวน 891 คน โดยผานกระบวนการฝกอบรม


15.11 ชองทางการแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน บริษทั ฯ กําหนดชองทางในการติดตอและรับเรือ่ งรองเรียนไวบนเว็บไซดและรายงานประจําป โดยสามารถแจงเบาะแสหรือ ขอรองเรียน ดังนี้ ทางอีเมล Veerachai.c@pcsgh.com นายวีระชัย เชาวชาญกิจ กรรมการอิสระ นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ กรรมการอิสระ pakawat.k@pcsgh.com นายจักร บุญ-หลง กรรมการอิสระ jukr.b@pcsgh.com นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ รักษาการประธานเจาหนาที่บริหาร siriphong.r@pcsgh.com Mr. Taiji Ushioda กรรมการผูจัดการ PCW,PCD t.ushioda@pcsgh.com Mr. Ron Kosinski กรรมการผูจัดการ PCF ron.k@pcsgh.com ทางไปรษณีย 1. บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด เลขที่ 2/1-4 หมู 3 ตําบลโคกกรวด อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30280 2. บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จํากัด เลขที่ 2/5,2/6,2/7,2/9 หมู 3 ตําบลโคกกรวด อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30280 3. บริษัท พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด เลขที่ 2/8 หมู 3 ตําบลโคกกรวด อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30280

71


1 16

ความรับผิดชอบตอสังคม บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงความยั่งยืน โดย ดําเนินกิจกรรมตาง ๆ คํานึงถึงประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และยึดมั่นการปฏิบัติตนเปนพลเมืองที่ดี ปฏิบัติ ตามกฎหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของอยางครบถวน บริษัทฯ มุง มัน่ ในการพัฒนาสงเสริมและยกระดับคุณภาพชีวติ ของสังคม และชุมชน โดยเฉพาะอยางยิง่ ชุมชนใกลเคียงใหมคี ณ ุ ภาพดีขนึ้ พรอม ๆ ไปกับการเติบโตของบริษทั ฯ เปนผลใหบริษทั ฯ ไดรบั การพิจารณาจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยนําบริษทั ฯ เขาเปนหนึ่งใน 79 รายชื่อ “หุนยั่งยืน” (Thailand Sustainability Investment หรือ THSI) ประจําป 2561 และติดตอ กันเปนปที่ 3

72

ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยนโยบายและการดําเนินงาน ของกลุม บริษทั ทีแ่ สดงถึงความรับผิดชอบตอสังคม สิง่ แวดลอม เพือ่ ความยัง่ ยืนของกิจการและสังคมโดยรวม โดยรวบรวมไวใน “รายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน (Sustainability Development Report)” ตามแนวทางและขอกําหนดของสํานักงาน คณะกรรมการกํา กับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยไวอยาง ครบถวน


1 17

การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน 17.1 ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการจัดการระบบควบคุมภายในที่ดีเพื่อเปนการสนับสนุนใหการดําเนินงานของ บริษัทฯ และบริษัทยอย (“กลุมบริษัท”) เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษัทจัดใหกลุมบริษัทมีระบบควบคุม ภายในที่ครอบคลุมทุกดาน ทั้งดานการเงินและการปฏิบัติงาน ใหเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวของ และจัด ใหมีกลไกการตรวจสอบและถวงดุลที่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการปกปองดูแลรักษาทรัพยสินของกลุมบริษัทอยูเสมอ จัดใหมี การกําหนดลําดับขั้นของอํานาจอนุมัติ และความรับผิดชอบของผูบริหารและพนักงานที่มีการตรวจสอบและถวงดุลในตัว กําหนด ระเบียบการปฏิบตั งิ านอยางเปนลายลักษณอกั ษร มีหนวยงานตรวจสอบภายในทีเ่ ปนอิสระ ทําหนาทีต่ รวจสอบการปฏิบตั งิ านของ ทุกหนวยงานใหเปนไปตามระเบียบที่วางไว รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของการควบคุมภายในของหนวยงาน ตางๆ ในกลุม บริษทั คณะกรรมการของบริษทั ฯ ไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหนาทีส่ อบทานใหกลุม บริษทั มีระบบ การควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผลสอดคลอง กับแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดใหบริษัทยอยที่ประกอบธุรกิจหลัก มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุมเพียงพอ เพื่อ ปองกันการทุจริตทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั ยอย รวมทัง้ ควรใหบริษทั ยอยจัดใหมรี ะบบงานทีช่ ดั เจน เพือ่ แสดงไดวา บริษทั ยอย มีระบบ เพียงพอในการเปดเผยขอมูล การทํารายการทีม่ นี ยั สําคัญตามหลักเกณฑทกี่ าํ หนดไดอยางตอเนือ่ งและนาเชือ่ ถือ และมีชอ งทางให กรรมการและผูบ ริหารของบริษทั ฯ สามารถไดรบั ขอมูลของบริษทั ยอยในการติดตามดูแลผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน การ ทํารายการระหวางบริษัทยอยกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทยอย และการทํารายการที่มีนัยสําคัญของบริษัทยอยไดอยางมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ตองจัดใหบริษัทยอยมีกลไกในการตรวจสอบระบบงานดังกลาวในบริษัทยอย โดยใหทีมงาน ผูตรวจสอบ ภายในและกรรมการอิสระของ บริษัทฯ สามารถเขาถึงขอมูลไดโดยตรง และใหมีการรายงานผลการตรวจสอบระบบงานดังกลาว ใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจไดวา บริษัทยอยมีการปฏิบัติตามระบบงานที่จัดทําไวอยางสมํ่าเสมอ จากการที่บริษัทฯ เปนบริษัทดําเนินธุรกิจหลักโดยการถือหุนของบริษัทอื่น การพิจารณาระบบการควบคุมภายในจึง เปนการพิจารณาถึงระบบการควบคุมภายในที่ใชอยูของบริษัทยอยของบริษัทฯ โดยมีกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ 3 ทาน เขารวมประชุม คณะกรรมการตรวจสอบไดประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทยอย ทั้ง 3 อันประกอบดวย บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด (“PCW”) บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จํากัด (“PCD”) และ บริษัทพี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด (“PCF”) โดยการซักถามขอมูลจากฝายจัดการ และอางอิงจากรายงานผลการตรวจสอบภายในของ PCW, PCD และ PCF ที่ตรวจ สอบและจัดทําโดยบริษัท พีแอนดแอล อินเทอรนอล ออดิท จํากัด ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2561 ถึงครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2561 ซึ่งตรวจสอบเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทยอย ทั้ง 3 บริษัท ในเรื่องดังนี้ 1. การสอบทานการจัดทําแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของ กลต. และตรวจสอบทางปฏิบัติ ตามนโยบายและแนวปฏิบัติ Anti - Corruption ตามโครงการ CAC 2. การจัดซื้อจัดจาง 3. การบริหารวัตถุดิบและงานระหวางทํา 4. การบริหารงานบุคคล ภายหลังการประเมินแลว คณะกรรมการมีความเห็นวากลุม บริษทั มีระบบควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม รวมทัง้ มี ระบบการติดตามควบคุมดูแลการดําเนินงานทีจ่ ะสามารถปองกันทรัพยสนิ จากการทีผ่ บู ริหารนําไปใชโดยมิชอบหรือโดยไมมอี าํ นาจได

73


17.2 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ (1) การสอบทานความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดจัดใหมีการวาจางบริษัท พีแอนดแอล อินเทอรนอล ออดิท จํากัด (P&L) ซึ่งเปนบริษัทที่ใหบริการ ดานการตรวจสอบภายใน โดยที่ P&L ไมมีสวนไดเสียใดๆกับบริษัท เพื่อใหการตรวจสอบภายในเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบจะเปนผูพ จิ ารณาแผนการตรวจสอบภายในประจําป รายงานผลการตรวจสอบภายในติดตาม ผลการตรวจสอบภายในกับฝายบริหารอยางตอเนื่อง พรอมทั้งใหคําแนะนําและแนวทางการตรวจสอบภายในใหเหมาะสมกับ สภาวะการณปจจุบัน จากรายงานการตรวจสอบภายในป 2561 ของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษทั มีความเหมาะ สมและเพียงพอ และอนุมัติแผนการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในป 2562 แลว เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2561 เพื่อใหมีการ ตรวจสอบอยางตอเนื่อง

74


1 18

การบริหารจัดการความเสี่ยง 18.1 ปจจัยความเสี่ยงหลัก บริษัทฯ มีความมุงมั่นเปนสถานประกอบกิจการที่มีการ พิจารณาถึงความเสี่ยงในการดําเนินงานใหเปนเรื่องที่มีความ สําคัญ ในทุกกระบวนการตัดสินใจและการดําเนินงานตาง ๆ บริษัทฯ พิจารณาถึงความเปนไปได ทั้งในผลลัพธและความ เสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ จึงมีการบริหารความเสีย่ งทีค่ รอบคลุมทัง้ หมด ในทุกกิจกรรม บริษัทฯ ไดจําแนกประเภทการจัดการความ เสี่ยงที่เปนประเด็นสําคัญไว ดังนี้ 1. ความเสี่ยงเชิงกลยุทธ ( Strategic Risks) 1.1 ความเสี่ยงจากการยายฐานการผลิตไปยังประเทศ อืน่ ของบริษทั ผลิตรถยนตทเี่ ปนลูกคารายสําคัญของบริษทั ฯ ประเทศเพื่อนบานของไทย โดยเฉพาะเพื่อนสมาชิก ในกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ตางมุงมั่นพยายาม เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน เชิญชวนใหผูผลิตรถยนต รายใหญจากตางประเทศขยายการลงทุน หรือ ยายฐานการ ผลิตไปยังประเทศตาง ๆ เหลานั้น ผูผลิตรถยนตรายตาง ๆ อาจมีความสนใจทีจ่ ะยายฐานการผลิตไปยังประเทศทีม่ ตี น ทุน ตํ่าสุด ประเทศไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยาน ยนตและชิ้นสวนยานยนตมาเปนเวลายาวนาน ความสามารถ ในการแขงขันอยูในระดับสูง อีกประการหนึ่งรถยนตสําเร็จรูป เปนสินคาที่มีขนาดใหญ การขนสง การสงมอบมีความยุงยาก และหากพิจารณาประกอบกับความนิยมประเภทของรถยนตที่ แตกตางกันในแตละภูมภิ าค ฐานการผลิตรถยนตกค็ วรจะแยก ประเภท ตามความนิยมของแตละภูมภิ าค เพือ่ ลดคาใชจา ยใน ดานขนสง และการสงมอบ จึงมีความเปนไปไดคอนขางนอยที่ จะเกิดการยายฐานการผลิตออกไปจากประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการวางแผนระยะกลางใน การขยายตลาดเขาสูกลุมลูกคาในประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค มากขึ้น ไมวาจะเปนที่อินโดนีเซีย หรือญี่ปุน โดยมีแผนที่จะใช เทคโนโลยีในการผลิตที่มีอยูแลวของบริษัทฯ เปนตัวกลางใน การขยายกิจการ 1.2 ความเสี่ยงจากสภาวะการแขงขันที่รุนแรงขึ้นจาก การเขามาลงทุนของผูอ อกแบบและผลิตชิน้ สวนตางชาติทมี่ ี ความพรอมทัง้ ในเรือ่ งของเงินทุนและเทคโนโลยีในการผลิต หลังจากการกาวขึน้ เปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

อยางเต็มรูปแบบ จะทําใหคูแขงรายใหมจากตางชาติสามารถ เขามาแขงขันกับบริษัทฯ ไดงายขึ้น ผานทางการนําชิ้นสวน เขามาขาย หรือการตั้งโรงงานผลิตในประเทศ เนื่องจากมีการ เคลือ่ นยายของสินคา แรงงาน และ เงินทุน อยางอิสระ อยางไร ก็ตาม บริษทั ฯ ยังมีปจ จัยหลายอยางทีท่ าํ ใหไดเปรียบคูแ ขง เชน • บริษัทฯ มีนโยบายการทําธุรกิจที่มุงเนนการผลิต ชิ้นสวนที่ตองใชเทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิต เชน ระบบสงกําลังในเครือ่ งยนตดเี ซล ระบบเบรค และ ชุดเกียร เปนตน จึงทําใหมีผูผลิตนอยราย • ผูผ ลิตชิน้ สวนเปนรายใหมจะตองผานกระบวนการ ประเมินผูผ ลิตใหมทงั้ หมด ซึง่ อาจตองใชเวลามาก และทําใหมีความเสี่ยงในเรื่องคุณภาพของสินคา • บริษทั ฯ มีความสัมพันธอนั ดีกบั ลูกคามาโดยตลอด โดยมุง เนนเรือ่ งคุณภาพของชิน้ สวนและการสงมอบ งานใหทันเวลา นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการวางแผนระยะกลางใน การขยายตลาดเขาสูกลุมลูกคารถยนตนั่ง (Passenger Car), รถยนตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Eco Car) รถบรรทุกขนาด ใหญ (Big Truck) รถจักรยานยนตขนาดใหญ (Big Bike) และ ชิ้นสวนนอกกลุมยานยนต (Non-Auto) อีกดวย 2. ความเสี่ยงจากการปฏิบัติการ (Operation Risks) 2.1 ความเสี่ยงจากคาเสียหายเนื่องจากปญหาดาน คุณภาพของสินคา ปจจุบนั ประเทศไทยมีการประกาศใชพระราชบัญญัติ ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551 (พ.ร.บ.ความรับผิดชอบ) ซึ่ง พ.ร.บ.ความรับผิด ชอบนีก้ าํ หนดใหผปู ระกอบการทุกคนซึง่ ในทีน่ หี้ มายถึง ผูผ ลิต หรือผูว า จางใหผลิต ผูน าํ เขา ผูข ายสินคาทีไ่ มสามารถระบุตวั ผู ผลิต และผูน าํ เขาได ตองรวมกันรับผิดตอผูเ สียหายในความเสีย หายทีเ่ กิดจากสินคาทีไ่ มปลอดภัยทีไ่ ดมกี ารขายใหแกผบู ริโภค แลว ไมวา ความเสียหายนัน้ จะเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเลอของผูป ระกอบการหรือไมกต็ าม เพราะฉะนัน้ หากรถยนตที่ลูกคาของบริษัทฯ เปนผูผลิตถูกฟองรองจาก ผูบริโภค บริษัทฯ อาจจะตองรวมชําระคาเสียหายดวย หาก ความผิดพลาดดังกลาวเกิดจากความผิดพลาด ในชิ้นสวนที่ บริษัทฯ เปนผูผลิต

75


ในขณะเดี ย วกั น บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต รถยนต ที่ เ ป น ลู ก ค า โดยตรงของบริษัทฯ ก็ยังสามารถเรียกคาชดเชยจากการชํารุด ของผลิตภัณฑไดโดยตรงเชนกัน ซึง่ ปกติระยะเวลาการประกัน โดยเฉลีย่ ของชิน้ สวนทีบ่ ริษทั ฯ ผลิตจะอยูท ี่ 3 ป หรือ 100,000 กิโลเมตร โดยลูกคาหลักของบริษัทฯ ที่เปนบริษัทผลิตรถยนต ชั้นนําจะใหความสําคัญเรื่องคุณภาพสินคาและการสงมอบให ตรงเวลาเปนอยางมาก เนื่องจากความผิดพลาดของชิ้นสวน ในรถยนตจะทําใหเกิดความเสียหายในวงกวางและอาจตองถึง ขัน้ เรียกคืนรถยนตทจี่ าํ หนายไปแลวกลับมาทําใหเกิดความสูญ เสียทั้งในรูปแบบของตัวเงิน และชื่อเสียง และการสงสินคาไม ตรงเวลาจะทําใหการผลิตตองหยุดชะงักและไมสามารถผลิต ไดตามเปาหมาย ดังนั้น บริษัทผูผลิตรถยนตจึงไดกําหนดกฎ เกณฑมาตรฐานสําหรับการผลิตชิ้นสวนรถยนตอยางเขมงวด อาทิ เชน กําหนดใหผผู ลิตชิน้ สวนตองไดรบั รองมาตรฐานสากล เชน ISO/TS16949 : 2016 เปนตน และหากไมสามารถควบคุม มาตรฐานไดตามที่กําหนด บริษัทฯ อาจถูกลดคําสั่งซื้อและถูก ยกเลิกสัญญา ทําใหสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานได ทั้งนี้ ชิ้นสวนที่บริษัทฯ ผลิต เชน ชิ้นสวนสําหรับ เครื่องยนตดีเซล กลุมระบบสงกําลัง และ กลุมระบบเบรค เปนกลุม ชิน้ สวน ทีจ่ ะไดรบั การทดสอบประสิทธิภาพอยางมาก จากผูผลิตรถยนตกอนสงถึงมือลูกคา ถาพบปญหาก็จะพบได ตั้งแตสินคาของบริษัทฯ ยังอยูในสายการผลิตของลูกคาของ บริษัทฯ ซึ่งถาเกิดปญหาเรื่องคุณภาพระหวางสินคายังอยูใน สายการผลิตของลูกคา ก็จะมีการชดเชยคาใชจายในการคัด แยกงานใหกบั ทางลูกคาของบริษทั ฯ ซึง่ เปนคาใชจา ยทีเ่ กิดขึน้ จริง ดังนั้น ปญหาดานคุณภาพสินคาที่จะตองถูกเรียกคืนกลับ จากผูบริโภคจึงมีความเปนไปไดนอย แมจะยังไมมเี หตุการณถกู เรียกคืนสินคาจากผูบ ริโภค เกิดขึ้นกับบริษัทฯ การรับผิดชอบจากกฎหมายคุมครองผู บริโภคก็ยังเปนประเด็นความเสี่ยงสําคัญที่บริษัทฯ ใหความ สําคัญมาโดยตลอด โดยไดกําหนดแนวทางและมาตรการที่ มุงเนนไปสูการปองกันปญหาที่ตนเหตุ โดยปจจุบันบริษัทฯ มี การพัฒนาคุณภาพการผลิตอยางตอเนื่องโดยมีระบบควบคุม คุ ณ ภาพที่ ไ ด ม าตรฐานสากล และได รั บ ประกาศนี ย บั ต ร ISO14001:2015 และยังไดรับรองคุณภาพมาตรฐานสําหรับ ผูผลิตชิ้นสวนยานยนต IATF16949 : 2016 อีกดวย 2.2 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักที่บริษัทฯ ใชในการผลิต แบงเปนสองกลุม 1. กลุม วัตถุดบิ ปฐมภูมิ (Primary Material) จําพวก เหล็ ก เส น (Steel Bar) และอลู มิ เ นี ย มแท ง

76

(Aluminum Ingot) เพื่อปอนเขาสูสายการผลิต และแปลงสภาพใหเปนวัตถุดบิ ทุตยิ ภูมิ หรือ สินคา สําเร็จรูป 2. กลุมวัตถุดิบทุติยภูมิ (Secondary Material) เช น ผลิ ต ภั ณ ฑ ขึ้ น รู ป ร อ น (Hot Forging) ผลิตภัณฑขึ้นรูปเย็น (Cold Forging) ผลิตภัณฑ อลูมเิ นียมฉีดขึน้ รูป (Die Casting) และ ผลิตภัณฑ เหล็กผงอัดขึน้ รูป (Sintering) เปนตน โดยวัตถุดบิ ทุตยิ ภูมนิ จี้ ะผานการแปรสภาพเปนสินคาสําเร็จรูป เพื่อสงมอบใหลูกคาตอไป วัตถุดิบทั้ง 2 กลุมดังกลาว มีลักษณะเปนสินคา โภคภัณฑ (Commodity) การเปลี่ยนแปลงของราคาจะขึ้น อยูกับอุปสงคและอุปทานของวัตถุดิบในตลาดโลกในแตละ ชวงเวลา ซึง่ อยูน อกเหนือการควบคุมของบริษทั ฯ ดังนัน้ ความ ผันผวนของราคาวัตถุดิบ จึงอาจสงผลกระทบตอตนทุนการ ผลิตของบริษัทฯ เชนกัน โดยทั่วไป บริษัทฯ สามารถเจรจาปรับราคาอันเนื่องมาก จากผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของราคาวัตถุดบิ ตามรอบ ระยะเวลาที่ไดตกลงกับลูกคาแตละราย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการดําเนินกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการใชวัตถุดิบเพื่อ ลดตนทุนอยางตอเนื่อง 2.3 ความเสี่ยงจากการเกิดวินาศภัยและภัยธรรมชาติ กับโรงงานหรือเครื่องจักรของบริษัทฯ ความเสียหายตอโรงงานและเครื่องจักรของบริษัทฯ ที่อาจเกิดขึ้นจากเหตุการณที่ไมคาดคิด เชน การเกิดวินาศภัย หรือภัยธรรมชาติตาง ๆ อาจทําใหบริษัทฯ ไมสามารถทําการ ผลิตหรือดําเนินธุรกิจได นอกจากจะมีโอกาสสูญเสียรายได แลว ยังมีความเปนไปไดที่จะสูญเสียลูกคาเนื่องจากลูกคาจะ ตองหาผูผลิตรายอื่นมาทดแทนเพื่อใหสายการผลิตของลูกคา ดําเนินไปอยางตอเนื่อง ปจจุบันบริษัทฯ ไดมีการทําสัญญาประกันภัยเพื่อ ปองกันความเสี่ยงของเหตุการณที่จะมีผลกระทบรุนแรงตอ บริษัทฯ ไมวาจะเปนความเสียหายจากการเกิดอัคคีภัย ภัย ธรรมชาติตางๆ หรือการถูกลักทรัพย (All Risk) โดยมีจํานวน เงินเอาประกันภัยครอบคลุมความเสียหายที่จะเกิดกับอาคาร โรงงาน เครื่องจักร สินคาคงคลัง ฯลฯ กวา 7,100 ลานบาท นอกจากการทํ า ประกั น ภั ย ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว นั้ น บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ร ะบบบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล อ มตามมาตรฐาน ISO 14001:2015 และไดมีการปฏิบัติตามขอกําหนดของหนวย


งานของรัฐตางๆ ที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยอยางเครงครัด เพือ่ ใหเกิดความปลอดภัยสูงสุดกับบุคลากร เครือ่ งมือ อุปกรณ และสถานที่ประกอบการ 3. ความเสี่ยงดานการเงิน ( Financial Risk) 3.1 ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ มีการนําเขาวัตถุดบิ ปฐมภูมปิ ระเภทเหล็กเสน จากประเทศญีป่ นุ และอินเดียเปนสวนมาก และบางสวนจากยุโรป รวมถึงมีการนําเขาเครื่องจักรตาง ๆ จากตางประเทศอีกดวย โดยราคาซื้อสวนใหญถูกกําหนดเปนสกุลเงินตางประเทศ เชน เงินเยน หรือ เงินเหรียญสหรัฐฯ เปนตน ดังนั้นความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนจึงอาจมีผลกระทบตอการดําเนินงาน ของบริษัทฯ บริษัทฯ สามารถนําเงินตราตางประเทศที่ไดรับจาก การสงออกชิ้นสวนใหกับผูผลิตรถยนตในตางประเทศมาซื้อ วัตถุดิบดังกลาว เพื่อลดความเสี่ยงโดยตรงจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลีย่ นไดเชนกัน (Natural Hedge) สําหรับสวน ตางที่เหลืออยู บริษัทฯ ไดมีการใชเครื่องมือเพื่อปองกันความ เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนในบางสวน สําหรับวัตถุดบิ ทุตยิ ภูมนิ นั้ ทางบริษทั ฯ ซือ้ จากผูผ ลิต ภายในประเทศเปนหลัก อาจไดรบั ผลกระทบจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนบางแตไมมากนัก อยางไรก็ดี แมในปที่ผานมาคาเงินบาทคอนขาง มีเสถียรภาพ แตบริษัทก็ไดมีการเฝาติดตามและประเมินผลก ระทบที่อาจเกิดขึ้นอยางใกลชิด 4 ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risks) 4.1 ความเสี่ยงจากการที่รัฐบาลไทยสนับสนุนรถยนต เพื่อสิ่งแวดลอมมากขึ้น ในอดีตรัฐบาลไทยมุงเนนใหรถยนตเพื่อการพาณิชย (Commercial Vehicles) ดวยการสงเสริมอยางจริงจังใน ฐานะผลิตภัณฑเปาหมาย (Product Champion) จะประสบ ความสําเร็จอยางสูง ในป 2558 ที่ผานมามียอดการผลิต รถยนตประเภทนี้สูงเปนอันดับ 6 ของโลก อยางไรก็ดี แนว โนมการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีที่มุงเนนความเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม การประหยัดพลังงาน และ ความปลอดภัย สง ผลใหเกิดการพัฒนาไปในทิศทาง การลดปริมาณการปลอย กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) การเพิ่มประสิทธิภาพและ สมรรถนะของเครื่องยนต ใหมีอัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อ

เพลิงตํ่า หรือหันไปใชพลังงานทดแทนอื่น เชน เอทานอล และ ไบโอดีเซล ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออนาคต เชน รถยนตไฮบริด (Hybrid) ซึ่งเปนรถยนตที่ใชนํ้ามันเปน เชื้ อ เพลิ ง ร ว มกั บ ระบบมอเตอร ไ ฟฟ า และ การยกระดั บ มาตรฐานความปลอดภัยเพื่อลดอุบัติเหตุและปองกันผูขับขี่ และผูใ ชรถใชถนน (ขอมูลจากแผนแมบทอุตสาหกรรมยานยนต 2555 – 2559) ภาครัฐมีการสนับสนุนการผลิตรถยนตที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม (Eco Car) มากขึ้น โดยจะผลักดันใหเปน ผลิตภัณฑเปาหมายที่สอง ประกอบกับการผลักดันมาตรฐาน ไอเสียของเชื้อเพลิงที่ใชใหดีขึ้น โดยมีแผนจะนําเชื้อเพลิง มาตรฐานไอเสียยูโร 5 มาใชในป 2558 ดวยศักยภาพในดานการผลิตชิ้นสวนของบริษัทฯ ที่ สามารถผลิตชิน้ สวนสําหรับผลิตภัณฑอนื่ ๆ ไดเชนกัน จึงไดมกี าร วางแผนระยะกลางในการขยายตลาดเขาสูกลุมลูกคารถยนต นั่ง (Passenger Car), รถยนตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Eco Car) รถบรรทุกขนาดใหญ (Big Truck) รถจักรยานยนตขนาด ใหญ (Big Bike) และชิ้นสวนนอกกลุมยานยนต (Non-Auto) อีกดวย 4.2 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการใชที่ดินในการดําเนิน การจากกลุมผูถือหุนใหญ ปจจุบันบริษัทฯ และบริษัทยอยทั้ง 3 บริษัท ไดแก บริษัท พี.ซี.เอส. พรีซิชั่น เวิรค จํากัด (PCW), บริษัท พี.ซี.เอส. ได คาสติ้ง จํากัด (PCD) และ พี.ซี.เอส. ฟอรจจิ้ง จํากัด (PCF) เชาที่ดินจากบริษัท พี.ซี.เอส.เอสเตท จํากัด ซึ่งมี นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ และ นางวรรณา เรามานะชัย เปนผูถือหุนใหญ และเปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามของบริษัทฯ เพื่อใชเปนที่ ตั้งโรงงานทั้งหมด และดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยมีสัญญา เชาที่ดินเริ่มตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2557 และในวันที่ 30 กันยายน 2556 ไดทําสัญญาแกไขเพิ่ม เติม เปลีย่ นอัตราคาเชาเปนราคาตลาดทีป่ ระเมินโดยผูป ระเมิน ราคาอิสระ มีผลตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2557 และสามารถตอไดอีก 7 คราวๆ ละ 3 ป ภายใตเงื่อนไข ใหปรับราคาคาเชาตามราคาตลาดที่ประเมินโดยผูประเมิน ราคาอิสระในทุกๆ รอบการตอสัญญา บริษัทฯ ถือสิทธิในการเลือกตอสัญญาเชาไดอีก 7 คราวๆ ละ 3 ป รวมมีอายุการเชาทั้งหมดประมาณ 22 ป 6 เดือน นับแตวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2578 โดยคาใชจายที่เปนคาเชาตามสัญญาเชาปจจุบันรวมทั้งสิ้น ปละ 15.7 ลานบาท (คํานวณจากคาเชาตารางวาละ 23.5 บาท

77


บนเนื้อที่รวม 138-3 - 49.0 ไร หรือ 55,549.0 ตารางวา) คิด เปนสัดสวนเพียงแครอยละ 0.4 ของรายไดจากการขายของ บริษัทฯ ในปที่ผานมา นอกจากนี้การบริหารจัดการทรัพยสิน ดวยการเชา ยังชวยใหบริษัทฯ สามารถรักษาสภาพคลอง ทางการเงินที่สูงของบริษัทฯ ได โดยที่ไมตองนําเงินสดใน จํานวนที่สูงมาซื้อที่ดิน และยังสงผลดีตอประสิทธิภาพในการ ดําเนินงานซึ่งสะทอนจากอัตราสวนทางการเงิน เชน อัตราผล ตอบแทนจากสินทรัพย และอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย ถาวรที่อยูในระดับที่สูง เปนตน

18.2 การบริหารจัดการความเสีย่ งหลัก ฝายจัดการประเมินความเสี่ยงของปจจัยตางๆ ในป 2562 พรอมทั้งกําหนดแนวทางการดําเนินงานเพื่อตอบสนอง ความเสี่ยงจากการประเมินในดานตางๆ ดังตอไปนี้ 1) ความเสี่ยงจากการที่ลูกคาขอความรวมมือ ลดราคาชิ้นสวน ลูกคาขอความรวมมือลดราคาชิ้นสวนมากขึ้น ทั้งนี้ นอกเหนือจากการขอใหปรับปรุงกระบวนการผลิตแลว ยังขอ ความรวมมือลดราคาโดยตรงในชิ้นสวน หรือขอสวนลดโดย รวม ภายใตสภาวะการแขงขันสูง และรุนแรง ลูกคามีมาตรการ ขอสวนลดแบบใหม ๆ ออกมา

78

แมบริษทั ฯ จะมีการกําหนดกลยุทธในการเจรจาตอรอง กับมาตรการตาง ๆ ตามสถานการณ แตกจ็ ะตองสนองตอบตอ ความตองการของลูกคา ซึง่ จะสงผลกระทบโดยตรงตออัตรากํา ไรบริษัทฯ จะลดลงกวาที่ประมาณการ มาตรการควบคุมคาใช จายและลดตนทุนการผลิตจึงยังคงเปนมาตรการสําคัญที่ตอง ดําเนินตอไปอยางเครงครัด 2) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีไปสู ยานยนตสมัยใหม ปจจุบันเปนชวงระยะเวลาของการเปลี่ยนผานของ เทคโนโลยียานยนตจากเครือ่ งยนตสนั ดาปภายใน ไปสูย านยนต สมัยใหมหรือยานยนตไฟฟา ทั้งโดยปจจัยราคา และ การหมด ไปของนํา้ มันเชือ้ เพลิง ตลอดจนกระแสการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม กลุม ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวในทุกมุมโลกประกาศนโยบายชัดเจน ในการมุงไปสูยานยนตสมัยใหม บริษัท ฯ มีสดั สวนรายไดจาก การขายกวารอยละ 90 มาจากเครื่องยนต โดยเฉพาะอยางยิ่ง เครื่องยนตดีเซล บริษัทฯ จึงจํากัดการลงทุนในกลุมชิ้นสวนนี้ และเรงขยายฐานชิ้นสวนออกไปยังกลุมอื่นนอกเหนือจากชิ้น สวนเครื่องยนต เชน ชิ้นสวนสงกําลัง ขับเคลื่อน เบรก ชิ้นสวน สําหรับยานยนตสมัยใหม และชิ้นสวนนอกกลุมยานยนตอื่น ๆ เชน เครื่องจักรกลการเกษตร เครื่องใชไฟฟาในบาน เปนตน


1 19

ผูสอบบัญชี ในป 2561 ผูสอบบัญชีจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด (KPMG) ไดปฏิบัติงานตรวจสอบงบแสดงฐานะการ เงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ใหกบั บริษทั ฯ โดยมีผลการปฏิบตั งิ านเปนทีน่ า พอใจ และผูส อบบัญชีทงั้ 3 คน คือ นางสาวสุจติ รา มะเสนา ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 8645 และ/หรือ นายวีระชัย รัตนจรัสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4323 และ/หรือ นางสาวสิรินุช วิมลสถิตย ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 8413 แหงบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด (KPMG) มีคุณสมบัติไมขัดกับหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งนี้ มีคาตอบแทนการสอบบัญชีประจําป 2561 จํานวน 1,260,000 บาท และคาตอบแทนการสอบบัญชีสําหรับ รายการไดมาซึ่งสินทรัพย ในประเทศเยอรมณี และฮังการี จํานวน 500,000 บาท และผูสอบบัญชีไมไดใหบริการอื่น ๆ แกบริษัทฯ และไมมีความสัมพันธ และ/หรือการมีสวนไดเสียกับบริษัท/บริษัทยอย/ ผูบริหาร/ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคล ดังกลาวแตอยางใด

79


2 20

รายการระหวางกัน 20.1 นโยบานการทํารายการระหวางกัน บริษัทใหความสําคัญตอการพิจารณารายการตางๆอยางโปรงใสและเปนประโยชนตอบริษัทฯ เปนที่สําคัญ ดังนั้นจึงให ความสําคัญตอการปองกันรายการที่อาจเปนความขัดแยงทางผลประโยชน รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหวางกันโดยมี นโยบายซึ่งสรุปไดดังตอไปนี้ - ผูบริหารและพนักงานตองปฏิบัติตามจรรยาบรรณของบริษัทฯซึ่งถือเปนเรื่องที่สําคัญที่ตองยึดถือปฏิบัติโดยเครงครัด เพื่อเปนที่เชื่อถือและไววางใจของผูมีสวนไดเสียทุกฝาย และจัดใหมีการเผยแพรขอมูลความเขาใจในการถือปฏิบัติ ของพนักงานทั่วทั้งบริษัท - กรรมการบริษทั และผูบ ริหารตองแจงใหบริษทั ฯ ทราบถึงความสัมพันธหรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงในกิจการทีอ่ าจกอใหเกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน - มีการนําเสนอรายการที่เกี่ยวโยงกันตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาใหความเห็นกอนเสนอขออนุมัติตอ คณะกรรมการบริษัท ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และดูแลใหมีการปฎิบัติตามหลักเกณฑที่ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยและสํานักคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด

20.2 นโยบายการปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการบริษทั ไดกาํ หนดนโยบายเกีย่ วกับการปองกันความขัดแยงทางผลประโยชนบนหลักการทีว่ า พนักงานทุกคน ตองปฏิบัติหนาที่เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท เทานั้น และไมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน รวมทั้งผูที่เกี่ยวของกับบุคคล ดังกลาว แสวงหาผลประโยชนสวนตัวที่ขัดแยงกับผลประโยชนของบริษัทฯ และหลีกเลี่ยงการกระทําที่กอใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชน นอกจากนี้ยังไดกําหนดใหผูที่มีสวนเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณา ตองแจงบริษัทฯ ทราบถึงความสัมพันธหรือการเกี่ยว โยงของคนในรายการดังกลาว และตองไมเขารวมการพิจารณาตัดสิน รวมถึงไมมีอํานาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะนําเสนอคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มีความขัดแยงทาง ผลประโยชน ซึ่งไดกระทําอยางยุติธรรม ตามราคาตลาดและเปนไปตามปกติธุรกิจการคา ซึ่งมีการพิจารณาความเหมาะสมอยาง รอบคอบ รวมทั้งบริษัทฯ ไดปฏิบัติตามหลักเกณฑของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยาง เครงครัดในเรื่องการกําหนดราคาและเงื่อนไขตางๆกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงดานผลประโยชนใหเสมือนทํารายการกับบุคคล ภายนอก โดยจะเปดเผยการทํารายการไวในงบการเงิน รายงานประจําป และแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1 ) ดวย

80


รายการซื้อระหวางกันสําหรับป 2561 ชื่อ (ลักษณะความสัมพันธ) 1. บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน (ไทยแลนด) จํากัด

ลักษณะรายการ

- บริษัทและบริษัทยอยจายเงินคา ซื้อสินคาและบริการ - วัตถุดิบ - JIG & Fixture - เครื่องมือและอุปกรณฯ - คาบริการชุบ & Painting - คาบริการเจียร และ ซอม - อื่น ๆ 2. บริษทั เอสดับบลิวเอส มอเตอรส - บริษัทและบริษัทยอยจายเงิน จํากัด คาซื้อสินคาและบริการ - คาบริการทําสี Parco - คาอะไหลและบริการซอม - คาบริการ Regrinding & coating - คา Tooling - คา JIG & Fixture - คาวัสดุ / อุปกรณ - เครื่องมือและอุปกรณฯ 3. บริ ษั ท เอส.ดั บ บลิ ว แอนด - บริษัทและบริษัทยอยจายเงิน ซันส จํากัด คาซื้อสินคา - เครื่องจักรและอุปกรณ - เครื่องมือและอุปกรณ - คา JIG & Fixture - วัสดุสิ้นเปลืองโรงงาน - คา Tooling - วัตถุดิบ 4. บริษัท พีซีเอส-นิสซิน จํากัด - บริษัทและบริษัทยอยจายเงิน คาซื้อสินคาและบริการ - วัตถุดิบ - คาบริการ Wire cut 5. บริษัท โคราชมัตซึชิตะ จํากัด - บริษัทและบริษัทยอยจายเงิน คาซื้อสินคาและบริการ - วัตถุดิบ 6. บริษทั พี.ซี.เอส.คาลิเบรชัน่ แล็บ - บริษัทและบริษัทยอยจายเงิน จํากัด คาซื้อบริการ - คาบริการสอบเทียบ/ซอม เครื่องมือวัด

ป 2561 (ลานบาท) 63.03 51.59 1.33 0.20 9.50 0.01 0.38 37.76 0.83 0.14 14.39 10.79 0.01 3.14 8.46 23.47 11.34 0.33 4.14 0.04 0.00 7.62 0.55 0.55 0.00 0.05 0.05 3.68

ความจําเปนและความสมเหตุสมผล - เปนรายการซื้อสินคาและบริการที่เปนสวน หนึ่งของกระบวนการผลิตตามที่ลูกคากําหนด เพื่อผลิตและขายผลิตภัณฑใหกับลูกคา เชน ซื้อ jig คาบริการชุบชิ้นงาน คาบริการเคลือบ ผิวเหล็กดวย EDP ชนิดพน บริการเจียรงาน ซื้อวัตถุดิบ ซื้ออุปกรณเครื่องมือเครื่องใชใน โรงงาน ฯลฯ - เปนรายการซือ้ สินคาและบริการทีม่ ลี กั ษณะ เฉพาะ เชน การชุบ Coating,Parco ในชิ้นสวน ยานยนต

- เปนรายการซื้อเครื่องจักรและวัสดุสิ้นเปลือง ในโรงงานทั่วไปมีการเปรียบเทียบราคาและ เงื่อนไขตามธุรกิจปกติกับผูขายรายอื่น

- เปนรายการซื้อสินคาและบริการที่เปนสวน หนึ่งของกระบวนการผลิตเพื่อผลิตและขาย ผลิตภัณฑใหกับลูกคา - เปนรายการซื้อสินคาและบริการที่เปนสวน หนึ่งของกระบวนการผลิตเพื่อผลิตและขาย ผลิตภัณฑใหกับลูกคา - เปนรายการคาบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด

3.68

81


ชื่อ (ลักษณะความสัมพันธ)

ลักษณะรายการ

ป 2561 (ลานบาท)

7. บริษัท แฟคตอรี่ แอนด ออฟฟช - บริษทั และบริษทั ยอยจายเงินคาซือ้ 0.42 ซัพพลาย จํากัด สินคาและบริการ - คาอุปกรณคอมพิวเตอร,บริการ 0.42 8. บริษัท พี.ซี.เอส.เอสเตท จํากัด - บริษัทและบริษัทยอยจายเงินคา 27.25 สาธารณูปโภค - คาเชา 18.70 - คาสาธารณูปโภค 8.55 0.00 9. บริษัท ไฮแลนด กอลฟ จํากัด - บริษัทและบริษัทยอยจายเงิน คาบริการใชสนามกอลฟ - คาบริการใชสนามกอลฟ 0.00 รวมรายการซื้อระหวางกันกิจการอื่น 156.20

ความจําเปนและความสมเหตุสมผล - เปนรายการซื้อสินคาและบริการเกี่ยวกับ อุปกรณสํานักงาน, อุปกรณคอมพิวเตอร และ ระบบเครือขาย - เป น รายการค า เช า ที่ ดิ น ค า เช า บ า นพั ก ผู  บ ริ ห ารและบริ ก ารสาธารณู ป โภคพื้ น ฐาน เชน คานํ้า คาบริการสวนกลาง และ คาบําบัด นํ้าเสีย ฯลฯ - เปนรายการคาบริการใชสนามกอลฟ

รายการขายระหวางกันสําหรับป 2561 ชื่อ (ลักษณะความสัมพันธ) 1. บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน (ไทยแลนด) จํากัด

ลักษณะรายการ

ป 2561 (ลานบาท)

- บริษัทและบริษัทยอยรับเงินคาซื้อ 1.85 สินคาและบริการ - คาบริการชุบงาน 0.78 1.07 - เศษวัสดุ - บริษัทและบริษัทยอยรับเงินคาซื้อ 3.26 2. บริษัท เอสดับบลิวเอส สินคาและบริการ มอเตอรส จํากัด - สินคา 3.18 - วัสดุสิ้นเปลือง 0.08 3. บริษัท เอส.ดับบลิว แอนด ซันส - บริษัทและบริษัทยอยรับเงินคาซื้อ 10.12 สินคาและบริการ จํากัด - สินคา 8.39 - เครื่องจักรและอุปกรณ 1.44 - วัสดุสิ้นเปลือง 0.29 4. บริษัท เอส.ดับบลิว แอนด ซันส - บริษัทและบริษัทยอยรับเงินคาขาย 1.69 สินคาและบริการ (ไทยแลนด) จํากัด - สินคา 1.51 - วัสดุสิ้นเปลือง 0.18 รวมรายการขายระหวางกันกิจการอื่น 16.92 รวมรายการซื้อ - ขายระหวางกันกิจการอื่น 173.12

82

ความจําเปนและความสมเหตุสมผล - เป น รายการขายสิ น ค า ปกติ ใ นลั ก ษณะ โครงการทีต่ กลงกันในอดีตเมือ่ เริม่ โครงการ โดย สินคาดังกลาวเปนชิ้นสวน Non-Automotive - เป น รายการขายสิ น ค า ปกติ ใ นลั ก ษณะ โครงการที่ตกลงกันในอดีตเมื่อเริ่มโครงการ โดยสิ น ค า ดั ง กล า วเป น ชิ้ น ส ว น NonAutomotive - เป น รายการขายสิ น ค า ปกติ ใ นลั ก ษณะ โครงการทีต่ กลงกันในอดีตเมือ่ เริม่ โครงการ โดย สินคาดังกลาวเปนชิ้นสวน Non-Automotive

- เป น รายการขายสิ น ค า ปกติ ใ นลั ก ษณะ โครงการทีต่ กลงกันในอดีตเมือ่ เริม่ โครงการ โดย สินคาดังกลาวเปนชิ้นสวน Non-Automotive


2 21 รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน เรียน ทานผูถือหุน บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ซึ่งประกอบดวย กรรมการบริษทั ทีไ่ มเปนผูบ ริหาร จํานวน 3 ทาน และประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนเปนกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนชุดปจจุบัน ประกอบดวย 1. นายวีระชัย เชาวชาญกิจ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 2. นายศิริพงษ รุงโรจนกิติยศ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 3. นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน (ลาออก มี ผลเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562) ในป 2561 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ไดปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท ซึ่งกําหนดไวในกฎบัตรของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน โดยไดมีการประชุม รวม 3 ครั้ง เพื่อพิจารณา เรื่องสําคัญ ๆ ดังนี้ 1. พิจารณาสรรหาและเสนอการแตงตั้งและโอนยายพนักงานระดับบริหาร 2. พิจารณาสรรหาและเสนอแตงตั้งบุคคลเขาปฏิบัติงานในตําแหนงประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน ไดแก นายกรวุฒิ ชิวปรีชา 3. พิจารณาสรรหาและเสนอแตงตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ลาออก จํานวน 2 ทาน ไดแก นายภควั โกวิทวัฒนพงศ และ นายจักร บุญหลง 4. เสนอแตงตั้งกรรมการเพิ่มเติมในคณะกรรมการตรวจสอบ จํานวน 2 ทาน ไดแก นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ และ นายจักร บุญหลง 5. พิจารณาอัตราการจายเงินบําเหน็จกรรมการ ประจําป 2561 6. พิจารณาและเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัท เรื่อง งบประมาณการขึ้นคาจางและการจายเงินรางวัล ประจําป 2561 สําหรับพนักงานและผูบริหาร 7. พิจารณาอัตราคาตอบแทนกรรมการประจําป 2562 โดยเปรียบเทียบกับบริษทั จดทะเบียนทีอ่ ยูใ นอุตสาหกรรมเดียวกัน และที่มีขนาดรายไดและกําไรใกลเคียงกัน

(นายวีระชัย เชาวชาญกิจ) ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

83


22 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย รวมถึงขอมูลสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจําป ซึง่ งบการเงินสําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 จัดทําขึน้ ตาม มาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใชนโยบายการบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสมํา่ เสมอ ใชดลุ ยพินจิ อยางระมัดระวัง และประมาณการทีส่ มเหตุสมผลในการจัดทํา รวมทัง้ มีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน เพื่อใหสามารถสะทอนฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดไดอยางถูกตอง โปรงใส เปนประโยชนตอ ผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไป และไดผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีรับอนุญาตจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ซึ่ง ใหความเห็นอยางไมมีเงื่อนไข โดยในการตรวจสอบบริษัทไดใหการสนับสนุนขอมูลและเอกสารตางๆ เพื่อใหผูสอบบัญชีสามารถ ตรวจสอบและแสดงความเห็นไดตามมาตรฐานการสอบบัญชี คณะกรรมการบริษทั ไดจดั ใหมแี ละดํารงไวซงึ่ ระบบการบริหารความเสีย่ ง ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการกํากับดูแลที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจวาขอมูลทางบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดํารง รักษาไวซึ่งทรัพยสินของบริษัทฯ และปองกันความเสี่ยง ตลอดจนเพื่อไมใหเกิดการทุจริตหรือดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระ สําคัญ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระทั้งสิ้นเปนผูดูแลรับ ผิดชอบการสอบทานนโยบายการบัญชี และรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน การสอบทานระบบการควบคุม ภายในการตรวจสอบภายใน และระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการเปดเผยขอมูลรายการเกี่ยวโยงระหวางกัน อยางครบถวน เพียงพอ และเหมาะสม โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏอยูในรายงานจากคณะกรรมการตรวจ สอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจําปแลว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในโดยรวมของบริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม และ สามารถสรางความเชือ่ มัน่ อยางมีเหตุผลไดวา งบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ยอย สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีความเชื่อถือได โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวของ

(จักรมณฑ ผาสุกวนิช) ประธานกรรมการ

84


23 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุน คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั พี.ซี.เอส.แมชีน กรุป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระ 4 ทาน ซึง่ เปนผูม ปี ระสบการณในดานการบริหารจัดการ บัญชี การเงิน การกํากับดูแลกิจการและการบริหารความเสีย่ ง ไดแก นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล เปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายวีระชัย เชาวชาญกิจ นางศรีไทย เหมโสรัจ และนายภควัต โกวิทวัฒน พงศ เปนกรรมการตรวจสอบ ในรอบปบัญชี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระ โดยไดประชุมรวมกับฝายบริหาร ผูสอบ บัญชี และผูตรวจสอบภายในตามวาระที่เกี่ยวของ เปนจํานวนทั้งสิ้น 5 ครั้ง การเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน จะปรากฏอยูในตารางแสดงจํานวนครั้งการเขารวมประชุมในสวนการกํากับดูแลกิจการ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสําคัญ สรุปไดดังนี้ 1. การสอบทานการรายงานทางการเงิน • คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาสอบทานงบการเงินและงบการเงินรวมของบริษัทประจํารายไตรมาสและ งบการเงินประจําปรวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชี กอนนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท • ประชุมเปนการเฉพาะกับผูสอบบัญชี และ/หรือ ผูตรวจสอบภายใน โดยไมมีฝายบริหารรวมประชุมดวย ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2561 สําหรับรายงานทางการเงินของบริษัทสําหรับรอบปบัญชี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบเห็นวารายงานทางการเงินของ บริษัทไดจัดทําขึ้นอยางถูกตองเปนไปตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน และมีขอมูลซึ่งจะเปนประโยชนตอผูถือหุนและนักลงทุน 2. การสอบทานความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดจัดใหมีการวาจางบริษัท พีแอนดแอล อินเทอรนอล ออดิท จํากัด (P&L) ซึ่งเปนบริษทั ที่ ใหบริการดานการตรวจสอบภายใน โดยที่ P&L ไมมีสวนไดเสียใดๆกับบริษัท เพื่อใหการตรวจสอบภายในเปนไป อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบจะเปนผูพิจารณาแผนการตรวจสอบภายในประจําป รายงานผลการตรวจสอบภายในติดตามผลการตรวจสอบภายในกับฝายบริหารอยางตอเนื่อง พรอมทั้งใหคําแนะนํา และแนวทางการตรวจสอบภายในใหเหมาะสมกับสภาวะการณปจจุบัน จากรายงานการตรวจสอบภายในป 2561 ของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษัทมี ความเหมาะสมและเพียงพอ และอนุมัติแผนการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในป 2562 แลว เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2561 เพื่อใหมีการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในอยางตอเนื่อง 3. ความเหมาะสมของผูสอบบัญชีของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบไดสังเกตการณการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชีจากบริษัท สํานักงาน เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด โดยนางสาวสุจิตรา มะเสนา ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 8645 และ/หรือ นายวีระชัย รัตนจรัสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4323 และ/หรือ นางสาวสิรินุช วิมลสถิตย ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียน เลขที่ 8413 ซึ่งไดรับอนุมัติใหเปนผูสอบบัญชีของบริษัทในการประชุมใหญสามัญผูถือหุนของบริษัทประจําป 2561 ที่ผานมา

85


คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวาในป 2561 ที่ผานมา ผูสอบบัญชีมีความเปนอิสระ เชี่ยวชาญในวิชาชีพ มีประสบการณ เหมาะสม ปฏิบัติงานไดผลเปนอยางดี อีกทั้งยังใหคําแนะนําที่เปนประโยชนตอบริษัท และเปนผูสอบบัญชีที่ไดรับอนุมัติจากคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 4. รายการที่เกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ในรอบปบญ ั ชี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาการเปดเผยขอมูลของบริษทั ในกรณีทเี่ กิดรายการเกีย่ วโยง หรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองและครบถวน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรายการดังกลาว เห็นวา มีความสมเหตุสมผลและเปนรายการปกติทางธุรกิจ ไมพบรายการ ความขัดแยงทางผลประโยชน โดยเปนไปตามขอตกลงรวมกันระหวางบริษัทและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ตามขอกําหนด ของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 5. การกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบ ไดสนับสนุนใหบริษทั มีการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี และปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย โดยใหความสําคัญตอการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ตลอดจนการเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงิน และการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจ ของบริษัท อยางเครงครัด ในรอบปบัญชี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบ ผูตรวจสอบภายใน ผูสอบบัญชี และฝายบริหารไดพิจารณาและดูแล แนวทางการดําเนินงานของบริษัทใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท อีกทั้งมอบหมาย ใหฝายบริหารดําเนินการเปดเผยขอมูลตาง ๆ อยางเพียงพอและทันกาลเวลา แกนักลงทุนในตลาดหลักทรัพยฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งการลงทุนในตางประเทศ เพื่อใหนักลงทุนไดทราบขอมูลของในการดําเนินธุรกิจ ทั้งนี้ตลอด ระยะเวลา 1 ป ไดพัฒนาแนวทางการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหมีความทันสมัย ทันตอกฎเกณฑ ที่เกี่ยวของมากที่สุด เพื่อประโยชนตอองคกรในการดําเนินธุรกิจตอไป

วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

86


24 การวิเคราะหฐานะการเงินและคําอธิบายของฝายจัดการ บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) ขอแจงคําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน สําหรับป 2561 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ดังตอไปนี้ ภาพรวมผลการดําเนินงานดานการเงิน เปลี่ยนแปลง สัดสวนตอ สัดสวนตอ รอยละ +/(-) รายไดป 2561 รายไดป 2560 รายไดจากการขายและใหบริการ 5,586.0 3,927.5 42.2 - ธุรกิจในประเทศ 4,354.4 3,927.5 10.9 - ธุรกิจตางประเทศ 1,231.6 0 n.a. รายไดรวม 5,698.9 3,984.4 43.0 ตนทุนขาย 4,615.2 3,157.3 46.2 82.6 80.4 - ธุรกิจในประเทศ 3,425.1 3,157.9 8.5 78.7 80.4 - ธุรกิจตางประเทศ 1,190.0 0 n.a. 96.6 n.a. กําไรขั้นตน 970.8 770.2 26.0 17.4 19.6 คาใชจายในการขายและบริหาร 669.5 175.1 282.4 12.0 4.5 - ธุรกิจในประเทศ 171.8 175.1 (1.9) 3.9 4.5 - ธุรกิจตางประเทศ 277.7 0 n.a. 22.5 n.a. กําไรสุทธิสําหรับงวด 340.8 641.5 (46.9) 6.1 16.3 - ธุรกิจในประเทศ 749.4 650.6 15.2 17.2 16.6 - ธุรกิจตางประเทศ (188.1) 0 n.a. (15.2) n.a. - สํารองหนี้สงสัยจะสูญ (220.5) 0 n.a. (17.9) n.a. (หนวย: ลานบาท) กลุมยานยนต สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เปดเผยขอมูลภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต ป 2561 วาเปนผลจาก มาตรการกระตุนเศรษฐกิจและการลงทุนที่สงผลในเชิงบวกตอภาพรวมของเศรษฐกิจเอเชีย ตลอดจนขอเสนอพิเศษตาง ๆ จาก บริษทั รถยนตในหลากหลายรูปแบบทีเ่ อือ้ ตอการตัดสินใจของลูกคา ลวนเปนปจจัยบวกทีส่ นับสนุนการเติบโตของตลาดรถยนต สง ผลใหในป 2561 มียอดจําหนายรถยนตในประเทศทั้งสิ้น 1,041,739 คัน เพิ่มขึ้นรอยละ 19.5 เมื่อเทียบกับป 2560 ที่ 871,650 คัน และมียอดการสงออกรถยนต 1,140,640 คัน เพิ่มขึ้นเล็กนอย เมื่อเทียบกับป 2560 ที่ 1,139,696 คัน ทั้งนี้ ในป 2561 มียอด การผลิตรถยนตรวมทั้งสิ้น 2,167,694 คัน เพิ่มขึ้นรอยละ 9.0 เมื่อเทียบกับป 2560 ที่ 1,988,823 คัน ในขณะที่ยอดการผลิตรถ กระบะ 1 ตันรวมรถกระบะดัดแปลง จํานวน 1,250,483 คัน เพิ่มขึ้นรอยละ 10.7 เมื่อเทียบกับป 2560 ที่ 1,130,058 คัน รายการ

ป 2561

ป 2560

รายไดจากการขาย จากสถานการณอุตสาหกรรมดังกลาวในประเทศ ประกอบการการเขาไปลงทุนในบริษัทยอยที่ตางประเทศของบริษัทฯ ในเดือนเมษายน 2561 สงผลใหในป 2561 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีรายไดจากการขายรวมทั้งสิ้น 5,586.0 ลานบาท ในป 2561

87


เพิ่มขึ้นรอยละ 42.2 จาก 3,927.5 ลานบาท ในป 2560 โดยเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของรายไดจากธุรกิจในประเทศและ ตางประเทศ ดังนี้ - ธุรกิจในประเทศ มีรายไดจากการขายรวม 4,354.4 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10.9 จาก 3,927.5 ลานบาท ในป 2560 เปนไปตามการเติบโตของอุตสาหกรรมผลิตรถยนตภายในประเทศในป 2561 - บริษัทฯ มีรายไดจากการขายเปนครั้งแรกสําหรับธุรกิจตางประเทศ จํานวนรวม 1,231.6 ลานบาท ในป 2561 อันเปนผลจากการเขาซื้อกิจการและโอนสินทรัพยของธุรกิจในประเทศเยอรมันและฮังการีเมื่อเดือนเมษายน 2561 ตนทุนขาย ป 2561 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีตนทุนขายรวม 4,615.2 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 46.2 จาก 3,157.3 ลานบาท ในป 2560 โดยมีสัดสวนตนทุนขายตอรายไดจากการขายรอยละ 82.6 โดยเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของตนทุนขายจากธุรกิจใน ประเทศและตางประเทศ ดังนี้ - ธุรกิจในประเทศ มีตนทุนขายรวม 3,425.1 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 8.5 จาก 3,157.9 ลานบาท ในป 2560 เปนไป ตามการเติบโตของรายไดจากการขายในประเทศในป 2561 โดยมีสัดสวนตนทุนขายตอรายไดจากการขายอยูที่ รอยละ 78.7 ลดลงจากป 2560 ที่อัตรารอยละ 80.4 เปนผลจากการปรับปรุงกระบวนการผลิตและกิจกรรมการ ลดตนทุนอยางตอเนื่อง ตลอดจนคาเสื่อมราคาที่ลดลง เนื่องจากเครื่องจักรบางสวนซึ่งยังสามารถใชงานไดดี เริ่ม ครบกําหนดการใชงาน - ธุรกิจตางประเทศ มีตนทุนขายรวม 1,190.0 ลานบาท ในป 2561 โดยมีสัดสวนตนทุนขายตอรายไดจากการขาย ในอัตรารอยละ 92.0 ซึง่ สูงกวาธุรกิจในประเทศ โดยเฉพาะตนทุนทีเ่ กีย่ วกับพนักงาน คาวัสดุอปุ กรณทใี่ ชในการผลิต และคาสาธารณูปโภคในป 2561 คาใชจายในการขายและบริหาร ในป 2561 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีคาใชจายในการขายและบริการรวม 669.5 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 282.4 จาก 175.1ลานบาท ในป 2560 มีสัดสวนคาใชจายในการขายและบริหารตอรายไดจากการขายคิดเปนรอยละ 12.0 จากป 2560 โดยเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของตนทุนขายจากธุรกิจในประเทศและตางประเทศ ดังนี้ - ธุรกิจในประเทศ มีคาใชจายในการขายและบริหารรวม 171.8 ลานบาท ลดลงจาก 175.1 ลานบาท ในป 2560 โดยมีสัดสวนคาใชจายในการขายและบริหารตอรายไดจากการขายรอยละ 3.9 เนื่องจากนโยบายการลดคาใชจาย ของบริษัทฯ อยางตอเนื่อง - ธุรกิจตางประเทศ มีคา ใชจา ยในการขายและบริหารรวม 277.7 ลานบาท ในป 2561 โดยมีสดั สวนคาใชจา ยในการขาย และบริหารตอรายไดจากการขายรอยละ 22.5 เนือ่ งมาจากคาใชจา ยสวนใหญทเี่ กีย่ วเนือ่ งจากการเขาซือ้ กิจการและ การปรับโครงสรางภายในของธุรกิจในตางประเทศในป 2561 อันไดแก คาที่ปรึกษาในการจัดตั้งบริษัทยอยใน ตางประเทศ คาที่ปรึกษาทางกฎหมาย คาชดเชยการเลิกจางพนักงานตามกฎหมายแรงงานในประเทศเยอรมัน และ คาใชจายหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกคาบางราย ซึ่งเปนรายพิเศษที่เกิดขึ้นครั้งเดียวภายในป - นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังมีการตัง้ สํารองคาใชจา ยหนีส้ งสัยจะสูญในอัตรารอยละ 50 จํานวน 6 ลานยูโร หรือเทียบเทา จํานวน 220.5 ลานบาท โดยมีสดั สวนคาใชจา ยตัง้ สํารองตอรายไดจากการขายรอยละ 17.9 อันเกิดจากการทีบ่ ริษทั ฯ ไดใหเงินกูจํานวน 12 ลานยูโรสําหรับบริษัทอื่นในตางประเทศบางราย ซึ่งการใหเงินกูนี้เปนสวนหนึ่งของเงื่อนไข ในการเขาซื้อกิจการในตางประเทศ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ในป 2561 บริษทั ฯ มีการบันทึกผลขาดทุนทีย่ งั ไมเกิดขึน้ จริงจากอัตราแลกเปลีย่ นจํานวน 67.4 ลานบาท จากการลงทุน และการใหกูยืมเงินสําหรับบริษัทยอยและบริษัทอื่นในตางประเทศ อันเปนผลจากการที่บริษัทฯ เขาซื้อกิจการในประเทศเยอรมัน

88


และฮังการีในเดือนเมษายน 2561 กําไรสุทธิ ป 2561 จากรายไดจากการขาย ตนทุนขาย และคาใชจายในการขายและบริหารขางตน รวมถึงการเขาซื้อกิจการในตาง ประเทศของบริษทั ฯ ทําใหในป 2561 บริษทั ฯ และบริษทั ยอยมีกาํ ไรสุทธิ 340.8 ลานบาท มีสดั สวนกําไรสุทธิตอ รายไดจากการขาย อยูที่รอยละ 6.1 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานอยูที่ 0.22 บาทตอหุน ลดลงรอยละ 46.8 เมื่อเทียบกับกําไรสุทธิจํานวน 641.5 ลานบาท ในป 2560 ทั้งนี้ สามารถแยกผลประกอบการสําหรับธุรกิจในประเทศและตางประเทศได ดังนี้ - ธุรกิจในประเทศ มีกําไรสุทธิจํานวน 749.4 ลานบาท ในป 2561 เพิ่มขึ้นจากกําไรสุทธิ 650.6 ลานบาทในป 2560 ในอัตรารอยละ 15.2 โดยมีสดั สวนกําไรสุทธิตอ รายไดจากการขายอยูท รี่ อ ยละ 17.2 อันเปนผลจากรายไดจากการขาย และใหบริการทีเ่ ติบโตตามอุตสาหกรรมยานยนตภายในประเทศ และการควบคุมตนทุนและคาใชจา ยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ของบริษัทฯ - ธุรกิจตางประเทศ มีผลขาดทุนสุทธิ 188.1 ลานบาท โดยมีสัดสวนขาดทุนสุทธิตอรายไดจากการขายอยูที่รอยละ 15.2 เนือ่ งมาจากคาใชจา ยทีเ่ กีย่ วเนือ่ งจากการเขาซือ้ กิจการและการปรับโครงสรางภายในของธุรกิจในตางประเทศ ในป 2561 โดยเฉพาะคาที่ปรึกษาในการจัดตั้งบริษัทยอยในตางประเทศ คาที่ปรึกษาทางกฎหมาย คาชดเชย การเลิกจางพนักงานตามกฎหมายแรงงานในประเทศเยอรมัน และคาใชจายหนี้สงสัยจะสูญ ซึ่งเปนรายพิเศษ ที่เกิดขึ้นครั้งเดียวภายในป - นอกจากนั้น กําไรสุทธิที่ลดลงในป 2561 ยังเกิดจากการตั้งสํารองคาใชจายหนี้สงสัยจะสูญจํานวน 220.5 ลานบาท คิดเปนสัดสวนขาดทุนสุทธิตอรายไดจากการขายที่รอยละ 17.9 จากการที่บริษัทฯ ไดใหเงินกูสําหรับบริษัทอื่นใน ตางประเทศบางรายที่อยูในเงื่อนไขในการเขาซื้อกิจการในตางประเทศดังกลาว ซึ่งเปนรายพิเศษที่เกิดขึ้นครั้งเดียว ภายในปเชนเดียวกัน งบแสดงฐานะทางการเงิน รายการ สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน ทุนที่ออกและชําระแลว สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม รวมสวนของผูถือหุน

ณ 31 ธ.ค. 2561 2,260.2 3,326.8 5,587.0 467.4 80.1 547.5 1,525.0 2,741.7 670.8 5,039.5

ณ 31 ธ.ค. 2560 3,118.7 2,425.3 5,544.0 373.6 72.8 446.4 1,545.0 2,896.8 734.9 5,097.6

เปลี่ยนแปลง + / (-) (858.5) 901.5 43.0 93.8 7.3 101.1 (20.0) (155.1) (64.1) (58.1) (หนวย: ลานบาท)

สินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจํานวน 5,587.0 ลานบาท โดยสินทรัพยหมุนเวียนลดลง 858.5 ลานบาท จาก3,118.7 ลานบาท ณ 31 ธันวาคม 2560 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลง 1,295.6 ลานบาท จากการเขาซื้อกิจการ

89


ในธุรกิจตางประเทศที่เยอรมนีและฮังการี ในเดือนเมษายน และกรกฎาคม 2561 สินคาคงเหลือเพิ่มขึ้น 179.1 ลานบาท จากการ บันทึกรวมสินคาคงเหลือของบริษทั ยอยทีต่ า งประเทศ สวนสินทรัพยไมหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 901.50 ลานบาท จากการบันทึกและรับ มอบทรัพยสินของบริษัทยอยในตางประเทศ หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจาํ นวน 547.5 ลานบาท เพิ่มขึ้น 101.1 ลานบาท จากยอด ณ 31 ธันวาคม 2560 จากการรวมบันทึกหนี้สินในสวนของธุรกิจตางประเทศ ไดแก เจาหนี้การคา เจาหนี้หมุนเวียนอื่น และประมาณการหนี้สิน หมุนเวียนสําหรับผลประโยชนพนักงาน สวนของผูถ อื หุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจาํ นวน 5,039.5 ลานบาท ลดลง 58.1 ลานบาท จากวันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบกระแสเงินสด รายการ

ณ 31 ธ.ค. 2561

ณ 31 ธ.ค. 2560

804.3

1,205.8

(401.5)

(1,385.4)

(343.4)

(1,042.0)

กระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(414.0)

(427.0)

13.0

กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น(ลดลง)

(995.6)

435.9

502.3

1,497.9

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมลงทุน

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสิ้นงวด

เปลี่ยนแปลง +/(-)

บริษัทฯ มีกระแสเงินสดสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ทั้งสิ้น 502.3 ลานบาท โดยมีกระแสเงินสดจากการดําเนิน งานทั้งสิ้น 804.3 ลานบาท ใชไปในกิจกรรมการลงทุนในการเขาซื้อกิจการและใหกูยืมเงินระยะยาวกับบริษัทยอยและบริษัทอื่น สําหรับธุรกิจในตางประเทศทั้งสิ้น 1,385.4 ลานบาท และใชไปในกิจกรรมการจัดหาเงินจํานวนทั้งสิ้น 414 ลานบาท สําหรับการ จายเงินปนผลใหกับผูถือหุนในป 2561

90


25 รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ความเห็น ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (“กลุมบริษัท”) และของเฉพาะบริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ตามลําดับ ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลง สวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึง หมายเหตุซึ่งประกอบดวยสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและเรื่องอื่นๆ ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ของกลุมบริษัทและบริษัท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และ กระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับปส้ินสุดวันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน เกณฑในการแสดงความเห็น ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของขาพเจาไดกลาวไวในวรรค ความรับผิด ชอบของผูส อบบัญชีตอ การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของขาพเจา ขาพเจามีความเปนอิสระ จากกลุม บริษทั และบริษทั ตามขอกําหนดจรรยาบรรณของผูป ระกอบวิชาชีพบัญชีทกี่ าํ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในสวนทีเ่ กีย่ วของ กับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ และขาพเจาไดปฏิบตั ติ ามความรับผิดชอบดานจรรยาบรรณอืน่ ๆ ซึง่ เปนไปตามขอกําหนดเหลานี้ ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการ แสดงความเห็นของขาพเจา เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ เรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งตางๆ ทีม่ นี ยั สําคัญทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป ระกอบวิชาชีพของขาพเจาในการตรวจ สอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปจจุบัน ขาพเจาไดนําเรื่องเหลานี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจ สอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของขาพเจา ทั้งนี้ขาพเจาไมไดแสดงความเห็น แยกตางหากสําหรับเรื่องเหลานี้

91


การรวมธุรกิจ อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 (ก) และ 4 เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ ในระหวางป 2561 กลุมบริษัทไดเขาซื้อธุรกิจจากบริษัท 4 แหงในประเทศเยอรมนีและฮังการี ซึ่งประกอบธุรกิจผลิตและ จําหนายชิน้ สวนยานยนต การบันทึกบัญชีตามวิธซี อื้ สําหรับการ ซือ้ ธุรกิจกําหนดใหกลุม บริษทั ตองทําการประเมินมูลคายุตธิ รรม ของสินทรัพยที่ไดมาและหนี้สินที่รับมา รวมถึงสิ่งตอบแทนที่ จายซือ้ ณ วันทีซ่ อื้ ธุรกิจ และบันทึกผลตางเปนคาความนิยม ซึง่ สงผลให กลุมบริษทั มีคาความนิยมจํานวน 55.0 ลานบาท ใน งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ขาพเจาไดพิจารณาเรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญในการตรวจสอบ เนื่องจากการบัญชีสําหรับการซื้อธุรกิจเปนเรื่องที่ซับซอน การ ระบุและวัดมูลคาของมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ไดมาและ หนี้สินที่รับมาเปนเรื่องที่ตองใชดุลยพินิจอยางมีนัยสําคัญ มูลคาของสินคาคงเหลือ อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 (ฉ) และ 9 เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ สินคาคงเหลือของกลุมบริษัทเปนสินคาที่ผลิตและจําหนายให กับอุตสาหกรรมการผลิตยานยนตและชิน้ สวนยานยนต ซึง่ เปน ตลาดที่มีการแขงขันกันสูงและมุงเนนการควบคุมตนทุนในการ ผลิตเปนปจจัยสําคัญ ดังนั้นราคาขายของกลุมบริษัทจึงอาจ ขึ้นอยูกับสภาวการณแขงขันของตลาด ซึ่งอาจสงผลตอมูลคา ของสินคาคงเหลือของกลุมบริษัท เนื่องจากสินคาคงเหลือของ กลุมบริษัทวัดมูลคาดวยมูลคาที่ตํ่ากวาระหวางราคาทุนและ มูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั ในการวัดมูลคาของสินคาคงเหลือ ผูบ ริหาร ทําการเปรียบเทียบตนทุนของสินคาคงเหลือกับมูลคาสุทธิที่ จะไดรับ เพื่อพิจารณาประมาณการมูลคาสินคาคงเหลือที่ลด ลงใหเหมาะสม การประมาณการดังกลาวเกี่ยวของกับการใช ดุลยพินิจของผูบริหาร นอกจากนี้กลุมบริษัทมีมูลคาของสินคา คงเหลือที่เปนสาระสําคัญ ดังนั้นขาพเจาจึงถือเปนเรื่องสําคัญ ในการตรวจสอบของขาพเจา

92

ไดตรวจสอบเรื่องดังกลาวอยางไร วิธีการตรวจสอบของขาพเจารวมถึง • อานสัญญาซื้อขายธุรกิจ และรายงานการวิเคราะหการ รวมธุรกิจซึ่งจัดทําโดยกลุมบริษัทเพื่อทําความเขาใจถึงขอ กําหนดและเงื่อนไขที่สําคัญ • การทําความเขาใจและประเมินวิธีการที่ผูบริหารใชในการ ระบุและวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ไดมาและหนี้สิน ที่รับมาซึ่งจัดทําโดยกลุมบริษัท • พิจารณาความเพียงพอในการเปดเผยขอมูลตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน

ไดตรวจสอบเรื่องดังกลาวอยางไร วิธีการตรวจสอบของขาพเจารวมถึง • การประเมินและสอบถามผูบริหารซึ่งเปนผูรับผิดชอบใน เรื่องการประเมินมูลคาสุทธิที่จะไดรับเพื่อใหไดมาซึ่งความ เขาใจเกีย่ วกับนโยบายของกลุม บริษทั ใน การประมาณการ มูลคาสุทธิที่จะไดรับของสินคาคงเหลือ และทดสอบการ ประมาณการดังกลาววามีความสอดคลองกับนโยบายการ • บัญชีของกลุมบริษัท ทดสอบการคํานวณการประมาณการมูลคาสุทธิที่จะไดรับ ของสินคาคงเหลือ โดยการเปรียบเทียบตนทุนของสินคา คงเหลือกับมูลคาสุทธิที่จะไดรับที่คาดการณไวซึ่งรวมถึง คาใชจายในการขายที่เกี่ยวของ และทดสอบความถูกตอง ของการคํ า นวณในรายงานสิ น ค า คงเหลื อ ตลอดจนสุ  ม • ทดสอบการประมาณ การมูลคาสุทธิที่จะไดรับกับเอกสาร ที่เกี่ยวของ พิจารณาความเพียงพอในการเปดเผยขอมูลตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน


มูลคาเงินใหกูยืมระยะยาว อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 (จ) และ 11 เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ บริษทั มีเงินใหกยู มื ระยะยาวแกกจิ การอืน่ ซึง่ ผูบ ริหารพิจารณา คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยใชการวิเคราะหสถานการณและ ระยะเวลาในการรับชําระเงินตามที่กําหนดไวในสัญญา รวมทั้ง การคาดการณความสามารถในการจายชําระหนีใ้ นอนาคตของ กิจการอื่นดังกลาว ตลอดจนมูลคาหลักประกัน เนื่องจากการพิจารณาคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินใหกูยืม ระยะยาวแกกจิ การอืน่ เกีย่ วของกับการใชดลุ ยพินจิ ของผูบ ริหาร ดังนั้นจึงเปนเรื่องที่สําคัญในการตรวจสอบของขาพเจา

ไดตรวจสอบเรื่องดังกลาวอยางไร วิธีการตรวจสอบของขาพเจารวมถึง • อานสัญญาเงินกูยืมระยะยาว และเงื่อนไขการรับชําระเงิน และหลักทรัพยคํ้าประกัน • พิจารณาความสมเหตุสมผลของขอสมมติและ การวิเคราะห สถานการณตางๆ ในปจจุบัน รวมทั้งความสามารถในการ จายชําระหนีแ้ ละมูลคาของหลักประกันของกิจการอืน่ เพือ่ พิจารณาคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญที่ผูบริหารกําหนด • พิจารณาความเพียงพอในการเปดเผยขอมูลตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน

ขอมูลและเหตุการณที่เนน ขาพเจาขอใหสงั เกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 ในระหวางป 2561 กลุม บริษทั ไดซอื้ ธุรกิจในตางประเทศ ณ วันที่ ในรายงาน การประเมินมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยทไี่ ดมาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มาจากการซือ้ ธุรกิจนีย้ งั อยูใ นระหวาง การประเมินราคา โดยผูป ระเมินราคาอิสระ อยางไรก็ดผี บู ริหารไดประเมินมูลคาโดยใชวจิ ารณญาณและการประมาณการทีด่ ที สี่ ดุ รวมทัง้ ขอมูลตางๆ ทีส่ ามารถหาได เพือ่ บันทึกสินทรัพยทไี่ ดมาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มาจากการซือ้ ธุรกิจดังกลาว ซึง่ อาจมีการปรับปรุง ถาไดรบั รายงานการ ประเมินราคาฉบับสมบูรณ ทั้งนี้ความเห็นของขาพเจาไมไดเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากเรื่องนี้ ขอมูลอื่น ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบตอขอมูลอื่น ขอมูลอื่นประกอบดวยขอมูลซึ่งรวมอยูในรายงานประจําป แตไมรวมถึงงบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการและรายงานของผูสอบบัญชีที่อยูในรายงานนั้น ซึ่งคาดวารายงานประจําปจะถูกจัดเตรียมให ขาพเจาภายหลังวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชีนี้ ความเห็นของขาพเจาตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไมครอบคลุมถึงขอมูลอืน่ และขาพเจาไมไดให ความ เชื่อมั่นตอขอมูลอื่น ความรับผิดชอบของขาพเจาทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอานขอมูล อืน่ ตามทีร่ ะบุขา งตนเมือ่ จัดทําแลว และพิจารณาวาขอมูลอืน่ มีความขัดแยงทีม่ สี าระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการหรือกับความรูที่ไดรับจากการตรวจสอบของขาพเจา หรือปรากฏวาขอมูลอื่นมีการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปน สาระสําคัญหรือไม เมือ่ ขาพเจาไดอา นรายงานประจําป หากขาพเจาสรุปไดวา มีการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ขาพเจา ตองสื่อสารเรื่องดังกลาวกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลและขอใหมีการแกไข ความรับผิดชอบของผูบริหารและผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบริหารมีหนาที่รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้โดยถูกตองตาม ทีค่ วรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู ริหารพิจารณาวาจําเปนเพือ่ ใหสามารถ จัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการทีป่ ราศจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวา จะเกิดจาก การทุจริตหรือขอผิดพลาด

93


ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม บริษทั และบริษัทในการดําเนินงานตอเนื่อง เปดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใชเกณฑการ บัญชีสาํ หรับการดําเนินงานตอเนือ่ งเวนแตผบู ริหารมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิกกลุม บริษทั และบริษทั หรือหยุดดําเนินงานหรือไมสามารถ ดําเนินงานตอเนื่องตอไปได ผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลมีหนาที่ในการสอดสองดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุมบริษัทและ บริษัท ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของขาพเจามีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหไดความเชือ่ มัน่ อยางสมเหตุสมผลวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการโดยรวมปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส อบบัญชีซงึ่ รวมความเห็นของขาพเจาอยูด ว ย ความเชือ่ มัน่ อยางสมเหตุสมผลคือ ความเชือ่ มัน่ ในระดับสูง แตไมไดเปนการรับประกันวาการปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอัน เปนสาระสําคัญทีม่ อี ยูไ ดเสมอไป ขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริต หรือขอผิดพลาดและถือวามีสาระสําคัญเมือ่ คาด การณไดอยางสมเหตุสมผลวารายการที่ขัดตอขอเท็จจริงแตละรายการหรือ ทุกรายการรวมกันจะมีผลตอการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใชงบการเงินจากการใชงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เหลานี้ ในการตรวจสอบของขาพเจาตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขาพเจาไดใชดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ งผูป ระกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของขาพเจารวมถึง • ระบุและประเมินความเสีย่ งจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ านตามวิธกี ารตรวจสอบเพือ่ ตอบสนอง ตอความเสี่ยงเหลานั้น และไดหลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเปนเกณฑในการแสดงความเห็น ของขาพเจา ความเสี่ยงที่ไมพบขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญซึ่งเปนผลมาจากการทุจริตจะสูงกวา ความเสี่ยงที่เกิดจากขอผิดพลาดเนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรูรวมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเวนการแสดงขอมูล การแสดงขอมูลที่ไมตรงตามขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน • ทําความเขาใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม กับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของ กลุมบริษัทและบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและ การเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นโดยผูบริหาร • สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการดําเนินงานตอเนื่องของผูบริหารและจากหลักฐาน การสอบบัญชีที่ไดรับ สรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณหรือสถานการณที่อาจเปนเหตุ ใหเกิดขอสงสัยอยางมีนยั สําคัญตอความสามารถของกลุม บริษทั และบริษทั ในการดําเนินงานตอเนือ่ งหรือไม ถาขาพเจา ไดขอสรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญ ขาพเจาตองกลาวไวในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจาโดยให ขอสังเกตถึงการเปดเผยขอมูลในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่เกี่ยวของ หรือถาการเปดเผยขอมูล ดังกลาวไมเพียงพอ ความเห็นของขาพเจาจะเปลีย่ นแปลงไป ขอสรุปของขาพเจาขึน้ อยูก บั หลักฐาน การสอบบัญชีทไี่ ดรบั จนถึงวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจา อยางไรก็ตาม เหตุการณหรือสถานการณในอนาคตอาจเปนเหตุให กลุมบริษัทและบริษัทตองหยุดการดําเนินงานตอเนื่อง • ประเมินการนําเสนอโครงสรางและเนือ้ หาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปดเผย ขอมูลวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณในรูปแบบทีท่ าํ ใหมี การนําเสนอขอมูล โดยถูกตองตามที่ควรหรือไม

94


• ไดรับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอยางเพียงพอเกี่ยวกับขอมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุมหรือกิจกรรม ทางธุรกิจภายในกลุม บริษทั เพือ่ แสดงความเห็นตองบการเงินรวม ขาพเจารับผิดชอบตอการกําหนดแนวทาง การควบคุม ดูแล และการปฏิบัติงานตรวจสอบกลุมบริษัท ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบแตเพียงผูเดียวตอความเห็นของขาพเจา ขาพเจาไดสื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลในเรื่องตางๆ ที่สําคัญซึ่งรวมถึงขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบ ตามที่ไดวางแผนไว ประเด็นที่มีนัยสําคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงขอบกพรองที่มีนัยสําคัญในระบบการควบคุมภายใน หาก ขาพเจาไดพบในระหวางการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดใหคํารับรองแกผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลวาขาพเจาไดปฏิบัติตามขอกําหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับ ความเปนอิสระและไดสอื่ สารกับผูม หี นาทีใ่ นการกํากับดูแลเกีย่ วกับความสัมพันธทงั้ หมดตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ขาพเจาเชือ่ วามีเหตุผล ที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของขาพเจาและมาตรการที่ขาพเจาใชเพื่อปองกันไมใหขาพเจาขาด ความเปนอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแล ขาพเจาไดพิจารณาเรื่องตางๆ ที่มีนัยสําคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปจจุบันและกําหนดเปนเรื่องสําคัญในการตรวจสอบ ขาพเจาไดอธิบายเรื่องเหลานี้ใน รายงานของผูสอบบัญชีเวนแตกฎหมายหรือขอบังคับไมใหเปดเผยตอสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว หรือในสถานการณที่ยากที่ จะเกิดขึ้น ขาพเจาพิจารณาวาไมควรสื่อสารเรื่องดังกลาวในรายงานของขาพเจาเพราะการกระทําดังกลาวสามารถคาดการณได อยางสมเหตุผลวาจะมีผลกระทบในทางลบมากกวาผลประโยชนตอสวนไดเสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกลาว

(นางสาวสุจิตรา มะเสนา) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 8645 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 22 กุมภาพันธ 2562

95


26 งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม 31 ธันวาคม สินทรัพย

หมายเหตุ

2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2561 2560

2560 (บาท)

สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารคา ลูกหนีห้ มุนเวียนอื่น เงินใหกยู ืมระยะสัน้ สินคาคงเหลือ เงินปนผลคางรับจากบริษัทยอย ดอกเบีย้ คางรับ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินใหกยู ืมระยะยาว อสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุน ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ลูกหนีไ้ มหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

6 5, 7 5, 8 5 9 5 5

10 5, 11 12 13 4 14 15

รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

96

502,271,596 930,166,448 115,866,521 18,381,000 685,290,295 6,353,912 1,842,172 2,260,171,944

1,497,915,558 300,000,000 751,018,835 59,982,828 506,164,011 1,930,904 1,700,835 3,118,712,971

152,644,479 11,877,000 663,532 1,732,000,000 42,499,991 21,190,471 1,960,875,473

1,173,135,924 300,000,000 8,460,276 799,245 2,033,982,500 3,101,472 3,519,479,417

220,572,000 177,419,528 2,804,154,342 55,159,420 33,236,098 16,556,772 19,735,779 3,326,833,939

2,389,933,193 3,325,016 14,675,787 17,359,071 2,425,293,067

1,621,001,250 1,022,693,253 11,084,743 1,284,943 2,373,399 4,155,628 2,662,593,216

1,150,982,500 7,999,460 807,091 3,963,216 98,000 1,163,850,267

5,587,005,883

5,544,006,038

4,623,468,689

4,683,329,684


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม 31 ธันวาคม หนีส้ ินและสวนของผูถ อื หุน

หมายเหตุ

2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2561 2560

2560 (บาท)

หนีส้ ินหมุนเวียน เจาหนีก้ ารคา เจาหนีห้ มุนเวียนอื่น หนีส้ ินตามสัญญาเชาการเงิน ทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป ประมาณการหนีส้ ินหมุนเวียนสําหรับ ผลประโยชนพนักงาน ภาษีเงินไดคา งจาย รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไมหมุนเวียน หนีส้ ินตามสัญญาเชาการเงิน ประมาณการหนีส้ ินไมหมุนเวียนสําหรับ ผลประโยชนพนักงาน รวมหนีส้ ินไมหมุนเวียน รวมหนีส้ ิน สวนของผูถ อื หุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนทีอ่ อกและชําระแลว หุน ทุนซือ้ คืน สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินมูลคาหุน สามัญ สวนเกินทุนจากการจัดโครงสรางธุรกิจ ภายใตการควบคุมเดียวกัน กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามกฎหมาย สํารองเพือ่ หุน ทุนซือ้ คืน ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนผูถอื หุน รวมสวนของบริษัทใหญ สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุม รวมสวนของผูถ อื หุน

5, 16 5, 17

300,218,396 139,238,257

278,777,715 93,446,012

3,404,950

3,089,940

2,429,430

267,726

868,801

267,726

24,275,991 1,218,259 467,380,333

1,134,580 373,626,033

4,273,751

1,134,580 4,492,246

4,266,594

855,584

2,069,060

855,584

75,867,137 80,133,731 547,514,064

71,959,469 72,815,053 446,441,086

12,241,672 14,310,732 18,584,483

19,823,720 20,679,304 25,171,550

1,525,000,000 1,525,000,000 -

1,545,000,000 1,545,000,000 (175,021,425)

1,525,000,000 1,525,000,000 -

1,545,000,000 1,545,000,000 (175,021,425)

2,741,743,255

2,896,764,680

2,741,743,255

2,896,764,680

21

95,953,399

95,953,399

-

-

21 20, 21

135,895,367 534,917,229 6,017,212 5,039,526,462 (34,643) 5,039,491,819

118,423,388 175,021,425 441,423,485 5,097,564,952 5,097,564,952

135,895,367 202,245,584 4,604,884,206 4,604,884,206

118,423,388 175,021,425 97,970,066 4,658,158,134 4,658,158,134

5,587,005,883

5,544,006,038

4,623,468,689

4,683,329,684

18

18

19

20 21

รวมหนีส้ ินและสวนของผูถ อื หุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

97


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

หมายเหตุ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560 (บาท)

รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น รวมรายได คาใชจา ย ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนในการจัดจําหนาย คาใชจายในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ตนทุนทางการเงิน รวมคาใชจา ย กําไรกอนรายได (คาใชจา ย) ภาษีเงินได รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได กําไรสําหรับป

5 28 10

26 5, 9 5, 23 5, 24

27

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

98

5,579,853,856 6,157,612 8,330,134 104,578,208 5,698,919,810

3,927,468,154 15,021,600 41,861,339 3,984,351,093

130,680,000 629,787,333 40,927,996 5 801,395,334

94,716,800 532,481,154 39,789,896 39,539 667,027,389

4,615,191,942 84,358,069 585,134,493 67,446,271 453,847 5,352,584,622

3,157,306,120 44,649,890 130,443,152 1,322,756 4,428 3,333,726,346

127,254,258 256,708,060 68,396,915 305,006 452,664,239

91,407,872 24,387,910 2,591 4,428 115,802,801

346,335,188 (5,540,230) 340,794,958

650,624,747 (9,174,316) 641,450,431

348,731,095 708,473 349,439,568

551,224,588 (5,285,984) 545,938,604


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

หมายเหตุ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560 (บาท)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่อาจถูกจัดประเภทใหม ไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลตางอัตราแลกเปลี่ยนจาก การแปลงคางบการเงิน

6,017,212 6,017,212

-

-

-

18

8,624,050

(1,271,340)

11,295,505

(242,030)

15

(1,724,810) 6,899,240

254,268 (1,017,072)

(2,259,101) 9,036,404

48,406 (193,624)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป - สุทธิจากภาษีเงินได กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

12,916,452 353,711,410

(1,017,072) 640,433,359

9,036,404 358,475,972

(193,624) 545,744,980

การแบงปนกําไร สวนที่เปนของบริษัทใหญ กําไรสําหรับป

340,794,958 340,794,958

641,450,431 641,450,431

349,439,568 349,439,568

545,938,604 545,938,604

การแบงปนกําไรเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของบริษัทใหญ กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

353,711,410 353,711,410

640,433,359 640,433,359

358,475,972 358,475,972

545,744,980 545,744,980

0.22

0.42

0.23

0.36

รายการที่จะไมถกู จัดประเภทใหม ไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลคาใหมของ ผลประโยชนพนักงานที่กําหนดไว ภาษีเงินไดของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของ กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลคาใหม ของผลประโยชนพนักงานที่กําหนดไว

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

29

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

99


100

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 รายการกับผูถอื หุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถอื หุน การจัดสรรสวนทุนใหผูถอื หุน เงินปนผลใหผูถอื หุน ของบริษัท รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถอื หุน

21

30

หมายเหตุ

1,545,000,000

-

-

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถอื หุน

(175,021,425)

-

-

(175,021,425)

หุน ทุนซื้อคืน

2,896,764,680

-

-

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุน สามัญ

95,953,399

-

-

95,953,399

27,296,930 118,423,388

-

-

91,126,458

สวนเกินทุน จากการจัดโครงสราง ธุรกิจภายใตการ ทุนสํารอง ควบคุมเดียวกัน ตามกฎหมาย (บาท)

งบการเงินรวม

175,021,425

-

-

175,021,425

สํารอง หุน ทุนซื้อคืน

กําไรสะสม

(27,296,930) 441,423,485

641,450,431 (1,017,072) 640,433,359

(427,000,000) (427,000,000)

255,287,056

ยังไมไดจัดสรร

5,097,564,952

641,450,431 (1,017,072) 640,433,359

(427,000,000) (427,000,000)

4,884,131,593

รวมสวนของ ผูถอื หุน


101

21

4

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

การเปลี่ยนแปลงในสวนไดเสียของบริษัทยอย การลดลงในสวนไดเสียทีไ่ มมอี ํานาจ ควบคุมจากการไดมาซึง่ บริษัทยอยใหม รวมการเปลี่ยนแปลงในสวนไดเสียในบริษัทยอย

สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 รายการกับผูถอื หุน ทีบ่ ันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถอื หุน การจัดสรรสวนทุนใหผูถอื หุน ตัดหุน ทุนซือ้ คืน - หุน สามัญ 20 เงินปนผลใหผูถอื หุน ของบริษัท 30 รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถอื หุน

หมายเหตุ

1,525,000,000

-

-

-

175,021,425 175,021,425

(20,000,000) (20,000,000)

-

(175,021,425)

หุน ทุนซือ้ คืน

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ทีอ่ อกและ ชําระแลว

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถอื หุน

2,741,743,255

-

-

(155,021,425) (155,021,425)

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุน สามัญ

95,953,399

-

-

-

95,953,399

สวนเกินทุน จากการจัดโครงสราง ธุรกิจภายใตการ ควบคุมเดียวกัน

กําไรสะสม

17,471,979 135,895,367

-

-

-

118,423,388

-

-

-

(175,021,425) (175,021,425)

175,021,425

ทุนสํารอง สํารอง ตามกฎหมาย หุน ทุนซือ้ คืน (บาท)

งบการเงินรวม

(17,471,979) 534,917,229

340,794,958 6,899,240 347,694,198

-

175,021,425 (411,749,900) (236,728,475)

441,423,485

6,017,212

6,017,212 6,017,212

-

-

-

องคประกอบอื่นของ สวนของผูถอื หุน ผลตาง อัตราแลกเปลีย่ น จากการแปลงคา ยังไมไดจัดสรร งบการเงิน

-

-

(34,643)

-

(34,643) (34,643)

สวนของ สวนไดเสีย ทีไ่ มมอี ํานาจ ควบคุม

5,039,491,819

340,794,958 12,916,452 353,711,410

(34,643) (34,643)

(411,749,900) (411,749,900)

5,097,564,952

รวมสวนของ ผูถอื หุน


102

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 รายการกับผูถ ือหุนทีบ่ ันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถ ือหุน การจัดสรรสวนทุนใหผถู ือหุน เงินปนผลใหผถู อื หุน ของบริษัท รวมการจัดสรรสวนทุนใหผถู ือหุน

21

30

หมายเหตุ

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถ ือหุน

1,545,000,000

-

-

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ทีอ่ อกและ ชําระแลว

(175,021,425)

-

-

(175,021,425)

หุน ทุนซือ้ คืน

2,896,764,680

-

-

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุน สามัญ

27,296,930 118,423,388

-

-

91,126,458

ทุนสํารอง ตามกฎหมาย (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

175,021,425

-

-

175,021,425

สํารอง หุน ทุนซือ้ คืน

กําไรสะสม

(27,296,930) 97,970,066

545,938,604 (193,624) 545,744,980

(427,000,000) (427,000,000)

6,522,016

ยังไมไดจัดสรร

4,658,158,134

545,938,604 (193,624) 545,744,980

(427,000,000) (427,000,000)

4,539,413,154

รวมสวนของ ผูถ อื หุน


103

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 รายการกับผูถ ือหุนทีบ่ ันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถ ือหุน การจัดสรรสวนทุนใหผถู ือหุน ตัดหุน ทุนซือ้ คืน - หุน สามัญ เงินปนผลใหผถู อื หุน ของบริษัท รวมการจัดสรรสวนทุนใหผถู ือหุน

21

20 30

หมายเหตุ

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถ ือหุน

1,525,000,000

-

(20,000,000) (20,000,000)

1,545,000,000

ทุนเรือนหุน ทีอ่ อกและ ชําระแลว

-

-

175,021,425 175,021,425

(175,021,425)

หุน ทุนซือ้ คืน

2,741,743,255

-

(155,021,425) (155,021,425)

2,896,764,680

สวนเกิน มูลคาหุน สามัญ

17,471,979 135,895,367

-

-

118,423,388

ทุนสํารอง ตามกฎหมาย (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

(175,021,425) (175,021,425)

175,021,425

สํารอง หุน ทุนซือ้ คืน

กําไรสะสม

(17,471,979) 202,245,584

349,439,568 9,036,404 358,475,972

175,021,425 (411,749,900) (236,728,475)

97,970,066

ยังไมไดจัดสรร

4,604,884,206

349,439,568 9,036,404 358,475,972

(411,749,900) (411,749,900)

4,658,158,134

รวมสวนของ ผูถ อื หุน


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด

หมายเหตุ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560 (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับป ปรับรายการที่กระทบกําไรเปนเงินสดรับ (จาย) คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงิน ประมาณการหนี้สินสําหรับผลประโยชนพนักงาน หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ผลขาดทุนจากการปรับลดมูลคาสินคา (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง (กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายและตัดจําหนาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (รายได) คาใชจายภาษีเงินได การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ลูกหนี้ไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้หมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี้สินสําหรับผลประโยชนพนักงานจายออก กระแสเงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) การดําเนินงาน ภาษีเงินไดรับคืน ภาษีเงินไดจายออก กระแสเงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

104

12, 13 14 10

18 9

340,794,958

641,450,431

349,439,568

545,938,604

515,943,920 7,617,981 (8,330,134) 453,847 13,660,018 256,996,636 1,775,225 22,854,104

467,738,919 2,506,895 (15,021,600) 4,428 12,085,021 648,355 (3,865,545) (1,127,903)

1,527,852 411,776 (629,787,333) (40,927,996) 305,006 3,713,457 220,572,000 61,475,217

1,148,386 249,304 (532,481,154) (39,789,896) 4,428 3,480,589 -

6,197,613 5,540,230 1,163,504,398

(866,985) 9,174,316 1,112,726,332

1,055,563 (708,473) (32,923,363)

5,285,984 (16,163,755)

(215,947,400) (55,883,693) (104,765,033) (141,337) (7,713,868) 21,756,845 45,319,188 (38,109,524) 808,019,576 9,672,316 (13,397,502) 804,294,390

(66,647,242) (16,858,595) 56,037,948 (63,676) (1,052,825) 106,545,889 15,169,095 (1,354,240) 1,204,502,686 12,995,284 (11,741,052) 1,205,756,918

(3,416,724) 135,713 315,010 (35,889,364) (5,153,019) (41,042,383)

(810,662) 98,973 24,500 (2,578,700) (19,429,644) 2,995,243 (6,480,982) (22,915,383)


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด

หมายเหตุ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560 (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ดอกเบี้ยรับ เงินปนผลรับ เงินสดรับ (เงินสดจาย) จากเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดรับจากเงินใหกูยืมระยะสั้น เงินสดจายเพื่อเงินใหกูยืมระยะสั้น เงินสดจายสุทธิจากการซื้อธุรกิจ เงินสดรับจากเงินใหกูยืมระยะยาว เงินสดจายเพื่อเงินใหกูยืมระยะยาว เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินสดจายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายเพื่อชําระเจาหนี้คาซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายเพื่อซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน กระแสเงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดที่ผูเชาจายเพื่อลดจํานวนหนี้สินที่เกิดขึ้น จากสัญญาเชาการเงิน ดอกเบี้ยจาย เงินสดรับจากเงินกูยืมกรรมการ เงินสดจายเพื่อชําระเงินกูยืมกรรมการ เงินปนผลจายใหผูถือหุนของบริษัท กระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ กอนผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยน ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราตางประเทศ คงเหลือสิ้นป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

5 5 4 5 10

14

5 5 30

6

3,907,126 300,000,000 (18,381,000) (913,859,439) (461,620,556) (288,306,297) 9,308,311 (11,180,440) (5,222,737) (1,385,355,032)

13,402,474 (300,000,000) (51,305,454) 2,371,520 (7,667,089) (223,417) (343,421,966)

22,838,997 587,287,342 300,000,000 301,982,500 510,557,544 (1,815,123,955) (470,018,750) (4,204,765) 981,310 (889,628) (566,589,405)

37,000,202 532,481,154 (300,000,000) 667,000,000 (1,965,000) (503,049) (223,417) 933,789,890

(1,754,903) (453,847) 200,000,000 (200,000,000) (411,749,900) (413,958,650)

(21,756) (4,428) (427,000,000) (427,026,184)

(630,692) (305,006) 200,000,000 (200,000,000) (411,749,900) (412,685,598)

(21,756) (4,428) (427,000,000) (427,026,184)

(995,019,292)

435,308,768

(1,020,317,386)

483,848,323

(624,670) (995,643,962) 1,497,915,558 502,271,596

631,408 435,940,176 1,061,975,382 1,497,915,558

(174,059) (1,020,491,445) 1,173,135,924 152,644,479

483,848,323 689,287,601 1,173,135,924

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

105


บริษัท พี.ซี.เอส. แมชีน กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด

หมายเหตุ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560 (บาท)

ขอมูลงบกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ซื้อทั้งหมดในระหวางป มีรายละเอียดดังนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่เพิ่มขึ้น หัก - เจาหนี้คาซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่จายเปนเงินสด

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

106

13

303,261,407 (7,627,493) (7,327,617) 288,306,297

63,630,960 (11,180,440) (1,145,066) 51,305,454

6,650,008 (2,445,243) 4,204,765

1,648,115 (1,145,066) 503,049


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

สารบัญ ข้อมูลทัว่ ไป เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สาํ คัญ การรวมธุ รกิจ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น สิ นค้าคงเหลือ เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินให้กูย้ มื ระยะยาว อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี้สินสําหรับผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรื อนหุน้ หุน้ ทุนซื้อคืน ส่ วนเกินทุนและสํารอง ส่ วนงานดําเนินงาน ต้นทุนในการจัดจําหน่าย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ สิ ทธิ ประโยชน์จากการส่งเสริ มการลงทุน กําไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐาน เงินปั นผล เครื่ องมือทางการเงิน

107


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 หมายเหตุ

สารบัญ

32 33 34 35

ภาระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงั ไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่

108


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ คณะกรรมการได้อนุมตั ิให้ออกงบการเงินนี้เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 1

ข้ อมูลทั่วไป บริ ษทั พี.ซี .เอส. แมชี น กรุ๊ ป โฮลดิ้ ง จํากัด (มหาชน) “บริ ษ ัท” เป็ นนิ ติบุคคลที่จ ัดตั้งขึ้ นในประเทศไทยเมื่ อวันที่ 10 เมษายน 2556 และมี ที่ อ ยู่จ ดทะเบี ย นตั้ ง อยู่ เลขที่ 2/1-4 หมู่ 3 ตําบลโคกกรวด อําเภอเมื อ งนครราชสี มา จังหวัดนครราชสี มา 30280 ประเทศไทย บริ ษทั จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2557 ผูถ้ ื อหุ ้ นรายใหญ่ ในระหว่ างปี ได้แก่ ครอบครั ว รุ่ งโรจน์ กิ ติ ยศ โดยถื อหุ ้ นของบริ ษ ัท ณ วันที่ 31 ธั นวาคม 2561 ในอัตราร้อยละ 75.42 บริ ษทั ดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการลงทุน กลุ่มบริ ษทั ดําเนินธุ รกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตและจําหน่ายชิ้นส่ วนยานยนต์ รายละเอียดของบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 และ 10

2

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน

(ก)

เกณฑ์ การถือปฏิบตั ิ งบการเงิน นี้ จัด ทําขึ้ น ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น รวมถึ งแนวปฏิ บ ัติ ท างการบัญ ชี ที่ ป ระกาศใช้โดย สภาวิ ช าชี พ บัญ ชี ฯ (“สภาวิ ช าชี พ บัญ ชี ”) กฎระเบี ยบและประกาศคณะกรรมการกํา กับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาด หลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง

109


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 สภาวิชาชี พบัญ ชี ได้ออกและปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่ งมี ผ ลบังคับ ใช้ต้ งั แต่รอบ ระยะเวลาบัญ ชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2561 การถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออก และปรับปรุ งใหม่ น้ ัน มี ผลให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงนโยบายการบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั ในบางเรื่ อง ทั้งนี้ การเปลี่ ยนแปลง ดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงิน นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ขา้ งต้น สภาวิชาชีพบัญชี ได้ออกและปรับปรุ ง มาตรฐานการรายงานทางการเงินซึ่ งยังไม่มี ผลบังคับในปั จจุบนั และกลุ่มบริ ษทั ไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทาง การเงินดังกล่าวในการจัดทํางบการเงินก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ ง ใหม่ที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของกลุ่มบริ ษทั ได้เปิ ดเผยในหมายเหตุขอ้ 34 (ข) เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี้ จดั ทําขึ้นโดยถื อหลักเกณฑ์การบันทึ กตามราคาทุนเดิ ม เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นในนโยบายการ บัญชี (ค) สกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานและนําเสนองบการเงิน งบการเงิน นี้ จัดทําและแสดงหน่ วยเงินตราเป็ นเงิน บาทซึ่ งเป็ นสกุ ล เงินที่ ใช้ในการดําเนิ น งานของบริ ษ ัท ข้อมู ล ทางการเงินทั้งหมดมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็ นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็ น อย่างอื่น (ง)

การใช้ วจิ ารณญาณและการประมาณการ ในการจัดทํางบการเงินให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริ หารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณ และข้อสมมติหลายประการ ซึ่ งมีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ ยวกับ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริ งอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติที่ใช้ในการจัดทํางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกโดยวิธีเปลี่ยนทันทีเป็ นต้นไป

110


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ข้ อสมมติและความไม่ แน่ นอนของการประมาณการ ข้อมูลเกี่ยวกับข้อสมมติและความไม่แน่นอนของการประมาณการที่สาํ คัญซึ่ งมีความเสี่ ยงอย่างมีนยั สําคัญที่เป็ นเหตุ ให้ตอ้ งมี การปรับปรุ งมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์และหนี้สินภายในปี บัญชี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ซึ่ งได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4

หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18

การรวมธุรกิจ ซึ่ งการวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่โอน ให้ (รวมสิ่ งตอบแทนที่ ค าดว่ า จะต้ อ งจ่ า ย) และมู ล ค่ า ยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ได้มาและหนี้ สินที่รับมา วัดมูลค่า โดยใช้เกณฑ์การประมาณการ เงินให้กูย้ มื ระยะยาว - ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ การวัดมูลค่าภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ เกี่ ย วกั บ ข้ อ สมมติ ห ลั ก ในการประมาณการตามหลั ก คณิ ตศาสตร์ประกันภัย

การวัดมูลค่ ายุติธรรม นโยบายการบัญ ชี และการเปิ ดเผยข้อมูลของกลุ่มบริ ษทั บางข้อกําหนดให้มีการวัดมูลค่ายุติธรรมทั้งสิ นทรัพย์และ หนี้สินทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน กลุ่มบริ ษทั กําหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรม กรอบแนวคิดนี้ รวมถึงกลุ่มผูป้ ระเมิน มูลค่าซึ่ งมีความรับผิดชอบโดยรวมต่อการวัดมูลค่ายุติธรรมที่มีนยั สําคัญ รวมถึงการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 และ รายงานโดยตรงต่อผูบ้ ริ หารสูงสุ ดทางด้านการเงิน กลุ่ ม ผูป้ ระเมิ น มู ล ค่ามี ก ารทบทวนข้อ มู ล ที่ ไ ม่ ส ามารถสั งเกตได้ และปรับ ปรุ งการวัด มู ล ค่าที่ มีนัยสําคัญ อย่าง สมํ่าเสมอ หากมี ก ารใช้ข ้อ มู ล จากบุ ค คลที่ ส ามเพื่อ วัด มู ล ค่ ายุติธ รรม เช่ น ราคาจากนายหน้า หรื อ การตั้ง ราคา กลุ่ มผูป้ ระเมิ นได้ประเมิ นหลักฐานที่ได้มาจากบุคคลที่สามที่ สนับสนุ นข้อสรุ ปเกี่ ยวกับการวัดมู ลค่ารวมถึ งการ จัดลําดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมว่าเป็ นไปตามที่กาํ หนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างเหมาะสม ประเด็นปัญหาของการวัดมูลค่าที่มีนยั สําคัญจะถูกรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบของกลุ่มบริ ษทั

111


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 เมื่อวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สิน กลุ่มบริ ษทั ได้ใช้ขอ้ มูลที่สามารถสังเกตได้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้ มูลค่ายุติธรรมเหล่านี้ถูกจัดประเภทในแต่ละลําดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมตามข้อมูลที่ใช้ในการประเมินมูลค่าดังนี้   

ข้อมูลระดับ 1 เป็ นราคาเสนอซื้ อขาย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องสําหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สิน อย่างเดียวกัน ข้อมูลระดับ 2 เป็ นข้อมูลอื่ นที่สังเกตได้โดยตรง (เช่ น ราคาขาย) หรื อโดยอ้อม (เช่น ได้มาจากราคา) สําหรับ สิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้สินนั้นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่ งรวมอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 ข้อมู ล ระดับ 3 เป็ นข้อมูล สําหรับสิ นทรั พย์หรื อหนี้ สินที่ไ ม่ ได้มาจากข้อมู ลที่ สามารถสังเกตได้ (ข้อมูล ที่ ไ ม่ สามารถสังเกตได้)

หากข้อมูลที่นาํ มาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินถูกจัดประเภทลําดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ แตกต่างกัน การวัดมูลค่ายุติธรรมโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดี ยวกันตามลําดับชั้นของมูลค่า ยุติธรรมของข้อมูลที่อยูใ่ นระดับตํ่าสุดที่มีนยั สําคัญสําหรับการวัดมูลค่ายุติธรรมโดยรวม กลุ่มบริ ษทั รับรู ้การโอนระหว่างลําดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานที่เกิดการโอนขึ้น ข้อมูลเพิม่ เติมเกี่ยวกับข้อสมมติที่ใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม อยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 และ 31 3

นโยบายการบัญชีทสี่ ํ าคัญ นโยบายการบัญชีที่นาํ เสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบตั ิโดยสมํ่าเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน

(ก) เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (รวมกันเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) การรวมธุรกิจ กลุ่ ม บริ ษทั บันทึกบัญ ชี สําหรั บการรวมธุ รกิจ ตามวิธีซ้ื อ เมื่ อการควบคุ ม (ตามที่ กล่ าวไว้ในส่ วนของบริ ษทั ย่อย) ถูกโอนไปยังกลุ่มบริ ษทั ยกเว้นในกรณี ที่เป็ นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน

112


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 การควบคุ มเกิ ดขึ้นเมื่อกลุ่ม บริ ษทั เปิ ดรับหรื อมีสิทธิ ในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวข้องกับกิ จการนั้นและมี ความสามารถในการใช้อาํ นาจเหนือกิจการนั้นทําให้เกิดผลกระทบต่อจํานวนเงินผลตอบแทนของกลุ่มบริ ษทั วันที่ ซื้ อกิ จการคื อวันที่อาํ นาจในการควบคุมนั้นได้ถูกโอนไปยังผูซ้ ้ื อ การกําหนดวันที่ ซ้ื อกิ จการและการระบุเกี่ ยวกับ การโอนอํานาจควบคุมจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่งต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามาเกี่ยวข้อง ค่าความนิ ยมถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซ้ื อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ซ่ ึ งรวมถึงการรับรู ้จาํ นวน ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อหักด้วยมูลค่าสุ ทธิ (โดยทัว่ ไปคือมูลค่ายุติธรรม) ของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ ที่ได้มาและหนี้ สินที่รับมาซึ่ งวัดมูลค่า ณ วันที่ซ้ื อ กําไรจากการซื้ อในราคาตํ่ากว่ามูลค่ายุติธรรมรับรู ้ในกําไรหรื อ ขาดทุนทันที สิ่ งตอบแทนที่โอนให้ตอ้ งวัดด้วยมูล ค่ายุติธ รรมของสิ นทรั พย์ที่โอนไป หนี้ สินที่กลุ่ มบริ ษทั ก่ อขึ้ นเพื่อจ่ ายชําระ ให้แก่ เจ้าของเดิ ม และส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของที่ ออกโดยกลุ่มบริ ษทั ทั้งนี้ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ยงั รวมถึ ง มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น หนี้ สินที่อาจเกิ ดขึ้นของบริ ษทั ที่ถูกซื้ อที่รับมาจากการรวมธุ รกิ จ รับรู้เป็ นหนี้ สินหากมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึ่ ง เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ ต้นทุน ที่ เกี่ ยวข้องกับ การซื้ อของกลุ่ ม บริ ษ ัทที่ เกิ ดขึ้ นซึ่ งเป็ นผลมาจากการรวมธุ รกิ จ เช่ น ค่าที่ ปรึ ก ษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและค่าที่ปรึ กษาอื่นๆ ถือเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น หากการบัน ทึ ก บัญ ชี เมื่ อ เริ่ ม แรกสําหรั บ การรวมธุ รกิ จไม่ เสร็ จ สมบู ร ณ์ ภ ายในวัน สิ้ น รอบระยะเวลารายงานที่ การรวมธุ รกิจเกิดขึ้น กลุ่มบริ ษทั ประมาณการมูลค่าของรายการซึ่ งข้อมูลทางบัญชียงั ไม่สมบูรณ์เพื่อรายงาน มูลค่า ประมาณการดังกล่าวจะถูกปรับปรุ ง หรื อรั บรู ้สินทรัพย์ หรื อหนี้ สินเพิ่ม เติมในระหว่างช่ วงระยะเวลาในการวัด มู ล ค่า เพื่อสะท้อนผลของข้อมู ล เพิ่ มเติ ม ที่ ได้รับเกี่ ยวกับ ข้อเท็จจริ งและสถานการณ์ แวดล้อ มที่ มี อยู่ ณ วันที่ ซ้ื อ ซึ่ งข้อมูลดังกล่าวมีผลต่อการวัดมูลค่าของจํานวนต่างๆ ที่เคยรับรู ้ไว้ ณ วันที่ซ้ื อ การรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การรวมธุ รกิ จภายใต้การควบคุม เดี ยวกันบัน ทึกบัญ ชี โดยใช้วิธีเสมื อนว่าเป็ นวิธีการรวมส่ วนได้เสี ย โดยวิธีการ ดังกล่าวผูซ้ ้ื อต้องรับรู ้สินทรัพย์และหนี้ สินของธุ รกิจที่ถูกซื้ อด้วยมูลค่าตามบัญชี ของธุ รกิจดังกล่าวตามงบการเงิน รวมของบริ ษทั ใหญ่ในลําดับสู งสุ ด ณ วันที่เกิดรายการ ส่ วนต่างระหว่างมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของธุ รกิ จที่ถูกนํามา รวมดังกล่าวกับค่าตอบแทนที่จ่ายรับรู ้เป็ นส่ วนเกิ นหรื อส่ วนขาดจากการรวมธุ รกิจภายใต้การควบคุมเดี ยวกันใน ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น รายการส่ วนเกิ นหรื อส่ วนขาดจะถูกโอนไปยังกําไรสะสมเมื่ อมีการขายเงินลงทุนในธุ รกิ จที่ซ้ื อ ดังกล่าวไป

113


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลการดําเนิ น งานของธุ รกิ จที่ ถู กซื้ อ จะรวมอยู่ในงบการเงิน รวมของผูซ้ ้ื อ นับ ตั้งแต่ว นั ที่ตน้ งวดของงบการเงิ น เปรี ยบเที ยบหรื อวันที่ ธุรกิ จเหล่านั้น อยู่ภายใต้การควบคุ ม เดี ยวกันแล้วแต่ระยะเวลาใดจะสั้น กว่าจนถึ งวัน ที่การ ควบคุมสิ้ นสุด บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยเป็ นกิจการที่อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มบริ ษทั การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริ ษทั เปิ ดรับหรื อมีสิทธิ ใน ผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ ยวข้องกับกิ จ การนั้น และมี ความสามารถในการใช้อาํ นาจเหนื อกิ จการนั้นทําให้ เกิ ดผลกระทบต่อจํานวนเงินผลตอบแทนของกลุ่ มบริ ษทั งบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วนั ที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุ ดลง ส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มีอาํ นาจควบคุม ณ วันที่ซ้ื อธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั วัดมูลค่าส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมตามอัตราส่ วนได้เสี ยในสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ได้มา จากผูถ้ ูกซื้อ การเปลี่ยนแปลงส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั ที่ไม่ทาํ ให้กลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยอํานาจการควบคุมจะบันทึก บัญชีโดยถือเป็ นรายการในส่ วนของเจ้าของ การสูญเสี ยอํานาจควบคุม เมื่อกลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยการควบคุมในบริ ษทั ย่อย กลุ่มบริ ษทั ตัดรายการสิ นทรัพย์และหนี้ สินของบริ ษทั ย่อยนั้นออก รวมถึ งส่ วนได้เสี ยที่ ไ ม่ มี อาํ นาจควบคุม และส่ วนประกอบอื่ นในส่ วนของเจ้าของที่เกี่ ยวข้อ งกับบริ ษ ัทย่อยนั้น กําไรหรื อขาดทุนที่เกิ ดขึ้นจากการสู ญเสี ยการควบคุมในบริ ษทั ย่อยรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยเดิมที่ยงั คงเหลืออยูใ่ ห้วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสี ยการควบคุม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่มบริ ษทั รวมถึงรายได้ หรื อค่าใช้จ่ายที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งซึ่งเป็ นผล มาจากรายการระหว่างกิจการในกลุ่มบริ ษทั ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม

114


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (ข)

เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชี ที่เป็ นเงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชี ที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนิ นงานของแต่ล ะบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั โดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สิ นทรั พย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็ นสกุล เงิ นที่ ใช้ในการ ดําเนินงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ ไม่เป็ นตัวเงิ นซึ่ งเกิ ดจากรายการบัญ ชี ที่เป็ นเงินตราต่างประเทศซึ่ งบันทึ กตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิมแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการแปลงค่ารับรู ้เป็ นกําไรหรื อขาดทุนในงวดบัญชีน้ นั หน่ วยงานในต่ างประเทศ สิ นทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ค่าความนิ ยมและรายการปรั บปรุ งมู ล ค่ายุติธรรมที่เกิ ดจากการซื้ อหน่ วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาท โดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ รายได้และค่าใช้จ่ายของหน่ วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยนที่ใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าบันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และแสดงเป็ นรายการผลต่าง จากอัตราแลกเปลี่ ยนจากการแปลงค่างบการเงินในส่ วนของผูถ้ ื อ หุ ้น จนกว่ามี การจําหน่ ายเงิน ลงทุนนั้นออกไป ยกเว้นผลต่างจากการแปลงค่าที่ถูกปันส่ วนให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

115


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 เมื่ อหน่ วยงานต่างประเทศถู ก จําหน่ ายส่ วนได้เสี ยทั้งหมดหรื อเพี ยงบางส่ วนที่ ทาํ ให้สู ญ เสี ยการควบคุ ม ความมี อิ ท ธิ พ ลอย่างมี ส าระสําคัญ หรื อ การควบคุ ม ร่ วมกัน ผลสะสมของผลต่ างจากอัต ราแลกเปลี่ ย นที่ เกี่ ยวข้อ งกับ หน่ วยงานต่ างประเทศนั้นต้องถู กจัดประเภทเป็ นกํา ไรหรื อขาดทุน โดยเป็ นส่ วนหนึ่ งของกําไรขาดทุน จากการ จําหน่าย หากกลุ่มบริ ษทั จําหน่ายส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยเพียงบางส่ วนแต่ยงั คงมี การควบคุม ผลสะสมต้องถูกปั น สัดส่ วนให้กบั ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม รายการที่เป็ นตัวเงินที่เป็ นลูกหนี้หรื อเจ้าหนี้ กบั หน่วยงานในต่างประเทศ ซึ่ งรายการดังกล่าวมิ ได้คาดหมายว่าจะมี แผนการชําระหนี้ หรื อไม่มีความเป็ นไปได้ว่าจะชําระเงินในอนาคตอันใกล้ กําไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จากรายการทางการเงินดังกล่าวจะถูกพิจารณาเป็ นส่ วนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิ ในหน่วยงานต่างประเทศ และรับรู ้ใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และแสดงเป็ นรายการผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนในส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น จนกว่ามี การจําหน่าย เงินลงทุนนั้นออกไป (ค)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากสถาบันการเงินประเภท เผื่อเรี ยก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสู งซึ่งมีระยะสั้นกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่วนั ที่ลงทุน

(ง)

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หกั ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ์ เกี่ ยวกับการชําระหนี้ ใน อนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจําหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี้สูญ

(จ) เงินให้ ก้ ยู มื เงินให้กูย้ มื บันทึกตามที่ระบุในสัญญาหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคต (ฉ) สินค้าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า

116


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ต้นทุน ของสิ น ค้าประกอบด้ว ย ต้นทุน สิ นค้าที่ ซ้ื อ ต้น ทุ น ในการแปลงสภาพ และต้นทุ นอื่น เพื่ อ ให้สิน ค้าอยู่ใน สถานที่ ต้ งั และสภาพปั จจุ บนั ในกรณี ของสิ นค้าสําเร็ จรู ปและสิ นค้าระหว่างผลิ ตที่ ผลิ ตเอง ต้นทุนสิ นค้าได้รวม การปันส่ วนค่าโสหุย้ การผลิตอย่างเหมาะสม โดยพิจารณาระดับกําลังการผลิตตามปกติ ต้นทุนของสิ นค้าคํานวณโดยใช้วธิ ี ดงั ต่อไปนี้ สิ นค้าสําเร็จรู ป สิ นค้ากึ่งสําเร็จรู ปและสิ นค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลืองโรงงาน

- ราคาต้นทุนมาตรฐาน ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนจริ ง ถัวเฉลี่ย - ราคาทุน (วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก)

มู ล ค่าสุ ท ธิ ที่จะได้รับเป็ นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดําเนิ นธุ รกิ จตามปกติ หักด้วยค่าใช้จ่ายที่จาํ เป็ น โดยประมาณในการขาย (ช) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน การจําหน่ ายเงินลงทุน เมื่ อมี การจําหน่ ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจํานวนเงินสุ ทธิ ที่ได้รับและมูลค่าตามบัญ ชี จะถูกบันทึกในกําไรหรื อ ขาดทุน ในกรณี ที่กลุ่มบริ ษทั จําหน่ายบางส่ วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคํานวณต้นทุนสําหรับเงินลงทุนที่จาํ หน่ ายไปและ เงินลงทุนที่ยงั ถืออยูใ่ ช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ปรับใช้กบั มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนที่เหลืออยูท่ ้ งั หมด (ซ) อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ได้แก่ อสังหาริ มทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่ าหรื อจากมูลค่า ที่เพิ่มขึ้นหรื อทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ไม่ไ ด้มีไว้เพื่อขายตามปกติธุรกิจหรื อใช้ในการผลิตหรื อจัดหาสิ นค้าหรื อให้บริ การ หรื อใช้ในการบริ หารงาน อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุนวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม

117


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ต้นทุนรวมค่าใช้จ่ายทางตรงเพื่อให้ได้มาซึ่ งอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการก่อสร้างที่กิจการก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรงและต้นทุนทางตรงอื่นเพื่อให้อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนอยูใ่ นสภาพพร้อม ใช้งาน (ฌ) ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ การรั บรู้และการวัดมูลค่ า สิ นทรั พย์ ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกลุ่มบริ ษัท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์วดั มูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสิ นทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสิ นทรัพย์ที่กลุ่มบริ ษทั ก่อสร้ างเอง รวมถึ งต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข้องกับการจัดหาสิ นทรัพย์ เพือ่ ให้สินทรัพย์น้ นั อยูใ่ นสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้ อถอน การขนย้าย การบูรณะ สถานที่ต้ งั ของสิ นทรัพย์ สําหรับเครื่ องมื อที่ควบคุมโดยลิ ขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ ซ่ึ งไม่สามารถทํางานได้โดยปราศจาก ลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์น้ นั ให้ถือว่าลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ดงั กล่าวเป็ นส่ วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่ วนประกอบของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละ ส่ วนประกอบที่มีนยั สําคัญแยกต่างหากจากกัน กําไรหรื อขาดทุน จากการจําหน่ ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คื อผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ไ ด้รับจากการ จําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน สิ นทรั พย์ ที่เช่ า การเช่ าซึ่ งกลุ่ม บริ ษทั ได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนส่ วนใหญ่จากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่ านั้นๆ ให้จัด ประเภทเป็ นสัญญาเช่าการเงิน ส่วนอุปกรณ์ที่ได้มาโดยทําสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม หรื อมูลค่าปั จจุบ นั ของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ ตอ้ งจ่ายตามสัญ ญาเช่ าแล้ว แต่จาํ นวนใดจะตํ่ากว่าหักด้วยค่าเสื่ อมราคา สะสมและผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม ค่าเช่ าที่ชาํ ระจะแยกเป็ นส่ วนที่เป็ นต้นทุนทางการเงิ นและส่ วนที่จ ะ หั ก จากหนี้ ตามสั ญ ญา เพื่ อ ทํา ให้ อ ั ต ราดอกเบี้ ยแต่ ล ะงวดเป็ นอัต ราคงที่ สํ า หรั บ ยอดคงเหลื อ ของหนี้ สิ น ต้นทุนทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกําไรหรื อขาดทุน

118


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ต้ นทุนที่เกิดขึน้ ในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่ วนประกอบจะรับรู ้เป็ นส่ วนหนึ่ งของมูลค่าตามบัญชี ของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริ ษทั จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถ วัดมู ล ค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่ าเชื่ อถื อ ชิ้ นส่ วนที่ ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหน่ ายตามมู ลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบํารุ งที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นประจําจะรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่ าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาคํานวณจากมูล ค่าเสื่ อมสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ์ ซึ่ งประกอบด้วยราคาทุนของสิ นทรัพย์ หรื อต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่นหักด้วยมูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคาบันทึ ก เป็ นค่ าใช้จ่ ายในกํา ไรหรื อขาดทุ น คํานวณโดยวิ ธีเส้น ตรงตามเกณฑ์อ ายุก ารให้ป ระโยชน์ โดยประมาณของส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์แสดง ได้ดงั นี้ อาคารโรงงาน ส่ วนปรับปรุ งและสิ่ งปลูกสร้าง เครื่ องจักรและอุปกรณ์ เครื่ องมือและเครื่ องใช้ในโรงงาน เครื่ องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่ องใช้สาํ นักงาน อุปกรณ์พลังงานแสงอาทิตย์ ยานพาหนะ

10 และ 20 10 5 5 10 และ 20 10

ปี ปี ปี ปี ปี ปี

กลุ่มบริ ษทั ไม่คิดค่าเสื่ อมราคาสําหรับสิ นทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและติดตั้ง วิธีการคิดค่าเสื่ อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์และมูลค่าคงเหลือถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปี บัญชีและปรับปรุ งตามความเหมาะสม

119


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (ญ) สินทรั พย์ ไม่ มตี ัวตน ค่ าความนิยม ค่าความนิ ยมที่เกิดจากการซื้ อกิจการของบริ ษทั ย่อยรับรู ้ในสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน การรับรู ้มูลค่าเริ่ มแรกของค่าความนิ ยม ได้อธิ บายในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ก) และภายหลังจากการรับรู ้เริ่ มแรก ค่าความนิ ยมจะถูกวัดมูลค่า ด้วยวิธีราคาทุนสุ ทธิ จากผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กลุ่มบริ ษทั ซื้ อมาและมีอายุการใช้งานจํากัดวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ ายสะสม และผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม รายจ่ ายภายหลังการรั บรู้ รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู ้รายการจะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์เมื่ อก่อให้เกิ ดประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็ น สิ นทรัพย์ที่สามารถระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่นรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่ าตัดจําหน่ าย ค่าตัดจําหน่ายคํานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์หรื อจํานวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่ าตัด จํา หน่ า ยรั บ รู ้ ในกํา ไรหรื อ ขาดทุ น โดยวิ ธี เส้ น ตรงซึ่ ง โดยส่ ว นใหญ่ จ ะสะท้อ นรู ป แบบที่ ค าดว่าจะได้รั บ ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตจากสิ นทรัพย์น้ ันตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสิ นทรั พย์ไ ม่มี ตัวตน โดยเริ่ มตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื่อสิ นทรัพย์น้ นั พร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับ ประโยชน์สาํ หรับปี ปัจจุบนั และปี เปรี ยบเทียบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์คือ 5 ปี วิธีการตัดจําหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือจะได้รับการทบทวนทุกสิ้ นรอบปี บัญชี และปรับปรุ งตามความเหมาะสม

120


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (ฎ) การด้ อยค่ า ยอดสิ นทรัพย์ตามบัญ ชี ข องกลุ่ม บริ ษทั ได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามี ขอ้ บ่งชี้ เรื่ องการด้อยค่าหรื อไม่ ในกรณี ที่มีขอ้ บ่งชี้จะทําการประมาณมูลค่าสิ นทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน สําหรับค่าความนิยมและสําหรับสิ นทรัพย์ ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอนหรื อยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู ้เมื่อมูลค่าตามบัญ ชี ของสิ นทรัพย์ หรื อมูล ค่าตามบัญ ชี ของหน่ วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิ ด เงินสดสู งกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน การคํานวณมูลค่ าที่คาดว่ าจะได้ รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสิ นทรัพย์หรื อ มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูล ค่าใดจะสู งกว่า ในการประเมิ นมูล ค่าจากการใช้ของ สิ นทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนคํานึ ง ภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึ่ งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อสิ นทรัพย์ สําหรับสิ นทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิ ดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสิ นทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รวมกับหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์น้ นั เกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้ อยค่ า ขาดทุ นจากการด้อยค่ าของสิ น ทรั พ ย์ท างการเงิน จะถู ก กลับ รายการเมื่ อ มู ล ค่ าที่ ค าดว่า จะได้รับ คื น เพิ่ ม ขึ้ น ใน ภายหลัง และการเพิม่ ขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิ ยมจะไม่มีการปรับปรุ งกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ที่ ไม่ ใช่ สิ นทรัพ ย์ทางการเงินอื่ นๆ ที่เคยรับรู ้ ในงวดก่อนจะถู กประเมิ น ณ ทุ กวันที่ ที่ออกรายงานว่ามี ขอ้ บ่ งชี้ เรื่ อ ง การด้อ ยค่ าหรื อ ไม่ ขาดทุ น จากการด้อยค่ าจะถู กกลับ รายการ หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลงประมาณการที่ ใช้ในการ คํานวณมู ล ค่ าที่ ค าดว่ า จะได้รับ คื น ขาดทุ น จากการด้อ ยค่ า จะถู ก กลับ รายการเพี ย งเท่ าที่ มู ล ค่ าตามบัญ ชี ข อง สิ นทรัพย์ไม่ เกิ นกว่ามู ลค่าตามบัญ ชี ภายหลังหักค่ าเสื่ อมราคาหรื อค่าตัดจําหน่ าย เสมื อนหนึ่ งไม่เคยมี การบันทึ ก ขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน

121


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (ฏ) หนีส้ ินที่มภี าระดอกเบีย้ หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกตามที่ระบุในสัญญา (ฐ) เจ้ าหนี้การค้าและเจ้ าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฑ) ผลประโยชน์ ของพนักงาน โครงการผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้ ภาระผูกพันสุ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั จากโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ถูกคํานวณแยกต่างหากเป็ นรายโครงการจาก การประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานในงวดปั จจุบนั และงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็ นมูลค่าปัจจุบนั การคํานวณภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้น้ ันจัดทําโดยนักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที่ ไ ด้รับ อนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ในการวัดมู ล ค่าใหม่ของหนี้ สินผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้สุท ธิ กําไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ประกันภัยจะถู ก รับรู้รายการในกํา ไรขาดทุน เบ็ด เสร็ จอื่ นทัน ที กลุ่ ม บริ ษ ัทกําหนดดอกเบี้ ยจ่ ายของ หนี้สินผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้สุทธิ โดยใช้อตั ราคิดลดที่ใช้วดั มูลค่าภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ณ ต้นปี โดยคํานึ งถึ งการเปลี่ ยนแปลงใดๆ ในหนี้ สิ นผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้สุทธิ ซ่ ึ งเป็ นผลมาจากการสมทบเงิน และ การจ่ายชําระผลประโยชน์ ดอกเบี้ยจ่ายสุ ทธิ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์รับรู้รายการใน กําไรหรื อขาดทุน เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงผลประโยชน์ ข องโครงการหรื อ การลดขนาดโครงการ ผลจากการเปลี่ ย นแปลงใน ผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับการบริ การในอดีต หรื อกําไรหรื อขาดทุนจากการลดขนาดโครงการต้องรับรู้ในกําไรหรื อ ขาดทุนทันที กลุ่มบริ ษทั รับรู ้กาํ ไรและขาดทุนจากการจ่ายชําระผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกิดขึ้น

122


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลประโยชน์ เมื่อเลิกจ้ าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างจะรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อวันใดวันหนึ่งต่อไปนี้เกิดขึ้นก่อน เมื่อกลุ่มบริ ษทั ไม่สามารถยกเลิก ข้อเสนอการให้ผลประโยชน์ดงั กล่าวได้อีกต่อไป หรื อเมื่อกลุ่มบริ ษทั รับรู ้ตน้ ทุนสําหรับการปรับโครงสร้าง หาก ระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างจะถูก คิดลดกระแสเงินสด ผลประโยชน์ ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่ อพนักงานทํางานให้ หนี้ สินรับรู ้ดว้ ยมูล ค่าที่คาดว่าจะจ่าย ชําระ หากกลุ่มบริ ษทั มี ภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่ จะต้องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่ พนักงานได้ทาํ งานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล (ฒ) ประมาณการหนีส้ ิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู ้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันจากการอนุมานที่เกิดขึ้น ในปัจจุบนั อันเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดี ตซึ่ งสามารถประมาณจํานวนของภาระผูกพันได้อย่างน่ าเชื่ อถื อ และมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชําระภาระผูกพันดังกล่าว ประมาณ การหนี้ สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อตั ราคิดลดในตลาดปัจจุบนั ก่อนคํานึ งถึ ง ภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจํานวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึ่ งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อหนี้ สิน ประมาณการหนี้สินส่ วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผา่ นไปรับรู ้เป็ นต้นทุนทางการเงิน (ณ) หุ้นทุนซื้อคืน เมื่อมีการซื้ อคืนหุ ้นทุน จํานวนสิ่ งตอบแทนที่จ่ายซื้ อรวมถึงต้นทุนที่เกี่ ยวข้องโดยตรงจัดประเภทเป็ นหุ ้นทุนซื้ อคืน และแสดงเป็ นรายการหักในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ และจัดสรรจํานวนเดียวกันนี้ จากกําไรสะสมไปเป็ นสํารองเพื่อหุ ้นทุน ซื้ อคื น ภายใต้ส่ ว นของผูถ้ ื อ หุ ้น เมื่ อ มี ก ารจําหน่ ายหุ ้ นทุน ซื้ อคื น จํานวนเงิ นที่ ไ ด้รับรั บรู ้ เป็ นรายการเพิ่ม ขึ้ น ใน ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ โดยหักบัญชีหุน้ ทุนซื้ อคืนด้วยจํานวนต้นทุนของหุน้ ทุนซื้ อคืนที่จาํ หน่ายซึ่ งคํานวณโดยวิธีถวั เฉลี่ย ถ่วงนํ้าหนัก และโอนจํานวนเดียวกันนี้จากบัญชีสาํ รองเพื่อหุน้ ทุนซื้ อคืนไปกําไรสะสม ส่ วนเกินทุนจากการจําหน่าย หุ้นทุนซื้อคืน (“ส่ วนเกินทุนหุน้ ทุนซื้ อคืน”) แสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ขาดทุนสุ ทธิ จากการ จําหน่ายหรื อยกเลิกหุน้ ทุนซื้อคืนนําไปหักจากกําไรสะสมหลังจากที่หกั จากส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซื้ อคืนหมดแล้ว

123


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (ด) รายได้ รายได้ที่รับรู ้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิม่ และแสดงสุทธิจากส่ วนลดการค้าและส่ วนลดตามปริ มาณ การขายสิ นค้ าและให้ บริ การ รายได้รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าที่มีนัยสําคัญไป ให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว และจะไม่รับรู ้รายได้ถา้ ฝ่ ายบริ หารยังมี การควบคุมหรื อบริ หารสิ นค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรื อมี ความ ไม่แน่นอนที่มีนัยสําคัญในการได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การนั้น ไม่อาจวัดมูลค่า ของจํานวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรื อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้องรับคืนสิ นค้า รายได้จากการให้บริ การรับรู้เมื่อมีการให้บริ การ เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนในวันที่กลุ่มบริ ษทั มีสิทธิ ได้รับเงินปันผล ดอกเบีย้ รั บและรายได้ อื่น ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่นบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ต) ต้ นทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทํานองเดียวกันบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น (ถ) สัญญาเช่ าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่าเมื่อได้รับ การยืนยันการปรับค่าเช่า

124


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 การประเมินว่ าข้ อตกลงประกอบด้ วยสัญญาเช่ าหรื อไม่ ณ วัน ที่ เริ่ ม ต้น ข้อ ตกลง กลุ่ ม บริ ษ ัท จะพิ จ ารณาว่าข้อ ตกลงดังกล่ าวประกอบด้ว ยสั ญ ญาเช่ าหรื อ มี สั ญ ญาเช่ า เป็ นส่ วนประกอบหรื อไม่ โดยพิจารณาจากสิ นทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบตั ิตามข้อตกลงนั้นขึ้นอยู่ กับการใช้สินทรั พ ย์ที่มีล ักษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะนําไปสู่ สิทธิ ในการใช้สินทรัพ ย์ ถ้าทําให้กลุ่ ม บริ ษทั มีสิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ ณ วัน ที่ เริ่ ม ต้นข้อ ตกลง หรื อ มี ก ารประเมิ น ข้อ ตกลงใหม่ กลุ่ ม บริ ษ ัทแยกค่ า ตอบแทนสําหรับ สั ญ ญาเช่ า และ ส่ ว นที่ เป็ นองค์ป ระกอบอื่ น โดยใช้มู ล ค่ายุติธรรมเป็ นเกณฑ์ ในการแยก หากกลุ่ มบริ ษ ัทสรุ ป ว่าเป็ นสั ญ ญาเช่ า การเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยกจํานวนดังกล่าวได้อย่างน่ าเชื่ อถื อให้รับรู ้สินทรัพย์และหนี้ สินในจํานวนที่เท่ากับ มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจํานวนหนี้สินจะลดลงตามจํานวนที่จ่าย และ ต้นทุนทางการเงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรู้โดยใช้อตั ราดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ส่ วนเพิ่มของกลุ่มบริ ษทั (ท) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับปี ประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ของ งวดปั จจุ บนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเว้นแต่ในส่ วนที่เกี่ ยวกับรายการที่เกี่ ยวข้องใน การรวมธุรกิจ หรื อ รายการที่รับรู ้โดยตรงในส่วนของผูถ้ ือหุน้ หรื อกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชําระหรื อได้รับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรื อขาดทุนประจําปี ที่ตอ้ งเสี ยภาษี โดยใช้อตั ราภาษีที่ประกาศใช้หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุ งทาง ภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยคํานวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ และหนี้ สินและจํานวนที่ ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษี เงิน ได้รอการตัดบัญ ชี จะไม่ ถูก รับรู ้ เมื่ อเกิ ด จากผล แตกต่างชัว่ คราวต่อไปนี้ การรับรู ้สินทรัพย์หรื อหนี้ สินในครั้งแรกซึ่งเป็ นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการ นั้นไม่มีผลกระทบต่อกําไรขาดทุนทางบัญชีหรื อทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยหาก เป็ นไปได้วา่ จะไม่มีการกลับรายการในอนาคตอันใกล้

125


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 การวัดมู ลค่าของภาษีเงินได้รอการตัดบัญ ชี ตอ้ งสะท้อนถึ งผลกระทบทางภาษี ที่จ ะเกิ ดจากลักษณะวิธีการที่กลุ่ม บริ ษ ัท คาดว่าจะได้รับ ผลประโยชน์จ ากสิ น ทรัพ ย์หรื อจะจ่ ายชําระหนี้ สิ น ตามมู ล ค่ าตามบัญ ชี ณ วัน ที่ สิ้ นรอบ ระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี วดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีที่คาดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมื่อมีการกลับรายการโดย ใช้อตั ราภาษีที่ประกาศใช้หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการกํา หนดมู ล ค่ าของภาษี เงิน ได้ข องงวดปั จ จุ บัน และภาษี เงิ นได้ร อการตัด บัญ ชี กลุ่ ม บริ ษ ทั ต้อ งคํา นึ งถึ ง ผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีที่ไ ม่แน่นอนและอาจทําให้จาํ นวนภาษีที่ตอ้ งจ่ายเพิ่มขึ้น และมี ดอกเบี้ยที่ตอ้ ง ชําระ กลุ่ ม บริ ษัท เชื่ อ ว่าได้ต้ ังภาษี เงินได้ค้างจ่ ายเพียงพอสําหรับภาษี เงิน ได้ที่ จ ะจ่ ายในอนาคต ซึ่ งเกิ ด จากการ ประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึงการตีความทางกฎหมายภาษีและจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้ อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติ และอาจจะเกี่ ยวข้องกับการตัดสิ นใจเกี่ ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆ อาจจะทําให้กลุ่มบริ ษทั เปลี่ยนการตัดสิ นใจโดยขึ้นอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษีเงินได้คา้ งจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้คา้ งจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมีสิทธิ ตาม กฎหมายที่ จ ะนําสิ นทรั พ ย์ภ าษี เงิ น ได้ข องงวดปั จ จุ บ ัน มาหั ก กลบกับ หนี้ สิ น ภาษี เงิน ได้ข องงวดปั จจุ บ ัน และ ภาษีเงินได้น้ ี ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันสําหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรื อหน่วยภาษีต่างกัน สําหรับหน่ วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ ายชําระหนี้ สินและสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั ด้วย ยอดสุ ทธิ หรื อตั้งใจจะรับคืนสิ นทรัพย์และจ่ายชําระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากําไรเพื่อเสี ยภาษีในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว กําไรเพื่อเสี ยภาษีในอนาคตต้องพิจารณาถึ ง การกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราวที่เกี่ ยวข้อง ดังนั้น กําไรเพื่อเสี ยภาษีในอนาคตหลังปรับปรุ งการกลับรายการ ผลแตกต่างชั่วคราวที่พิจารณาจากแผนธุ รกิ จของแต่ละบริ ษทั ย่อยในกลุ่มบริ ษทั แล้วอาจมีจาํ นวนไม่เพียงพอที่จะ บันทึกสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ท้ งั จํานวน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะ ถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริ ง

126


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (ธ) กําไรต่ อหุ้นขัน้ พืน้ ฐาน กลุ่มบริ ษทั แสดงกําไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานสําหรับหุ ้นสามัญ กําไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรหรื อ ขาดทุนของผูถ้ ือหุน้ สามัญของบริ ษทั ด้วยจํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่ออกจําหน่ายในระหว่างปี ปรับปรุ ง ด้วยจํานวนหุน้ สามัญที่ซ้ือคืน (น) รายการทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน ผลการดําเนินงานของส่ วนงานที่รายงานต่อประธานเจ้าหน้าที่บริ หารของกลุ่มบริ ษทั (ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุดด้าน การดําเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากส่ วนงานดําเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ได้รับการปันส่ วน อย่างสมเหตุสมผล 4

การรวมธุรกิจ

4.1 การซือ้ สิ นทรัพย์ ใน Kuepper Group เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2560 ที่ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการเข้าทํารายการการซื้อสิ นทรัพย์ โดยให้ P.C.S. Machine Group Holding GmbH (“PHG”) แ ล ะ P.C.S. Precision Works Germany GmbH (“PWG”) ซึ่ งเป็ นบ ริ ษั ท ย่ อ ยที่ จั ด ตั้ งขึ้ นภายใต้ ก ฎหมายของประเทศเยอรมนี เข้ า ซื้ อสิ นทรั พ ย์ จ าก H.J. Kuepper Metallbearbeitung GmbH (“HJK”), H.J. Kuepper System & Modultechnik GmbH (“SMT”), Zelter GmbH (“ZEL”) (บริ ษทั ทั้งสามแห่ งจดทะเบียนในประเทศเยอรมนี ) และ Kuepper Hungaria (“KHU”) (บริ ษทั จดทะเบียนในประเทศ ฮังการี ) รวมเรี ยกว่า “Kuepper Group” หรื อ “ผู้ข าย” โดยมี มู ล ค่ ารายการรวมทั้งสิ้ น 24.0 ล้านยูโร หรื อ เที ยบเท่ า ประมาณ 931.6 ล้านบาท (อัตราแลกเปลี่ยนที่ 38.8106 บาท ต่อ 1 ยูโร และ 38.8481 บาท ต่อ 1 ยูโร) Kuepper Group ประกอบธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตและจําหน่ายชิ้นส่ วนยานยนต์ในทวีปยุโรป บริ ษทั ได้จดั ตั้งบริ ษทั ย่อยทางอ้อมในประเทศเยอรมนี และประเทศฮังการี 5 บริ ษทั เพื่อเข้าซื้ อสิ นทรัพย์และรับโอน สิ น ทรั พย์ของ SMT, ZEL และ KHU เมื่ อ วันที่ 1 เมษายน 2561 (“วันที่ ซ้ื อ”) รวมมู ล ค่าทั้งสิ้ น 19.0 ล้า นยูโรหรื อ เทียบเท่าประมาณ 723.3 ล้านบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 38.0682 บาท ต่อ 1 ยูโร) มีรายละเอียดดังนี้ 1.

P.C.S. Machine Group Holding GmbH (“PHG”) จั ด ตั้ งขึ้ นในประเทศเยอรมนี ได้ เข้ า ซื้ อและรั บ มอบ สิ นทรัพย์ประเภทอสังหาริ มทรัพย์ของ SMT และ ZEL รวมมูลค่าทั้งสิ้ น 7.0 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่าประมาณ 266.5 ล้านบาท

127


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 2.

3.

4.

5.

P.C.S. Precision Works Germany GmbH (“PWG”) จัด ตั้ง ขึ้ น ในประเทศเยอรมนี ไ ด้เ ข้า ซื้ อและรั บ มอบ สิ น ทรั พย์ป ระเภทสั งหาริ ม ทรั พ ย์ข อง SMT รวมมู ล ค่ าทั้ง สิ้ น 8.0 ล้านยูโร หรื อ เที ยบเท่ าประมาณ 304.5 ล้านบาท P.C.S. Precision Works Hennef GmbH (“PWH”) จั ด ตั้ งขึ้ นในประเทศเยอรมนี ไ ด้ เข้ า ซื้ อและรั บ มอบ สิ นทรั พ ย์ป ระเภทสั งหาริ ม ทรั พ ย์ข อง ZEL รวมมู ล ค่ าทั้ งสิ้ น 1.0 ล้ านยู โร หรื อเที ยบเท่ าประมาณ 38.1 ล้านบาท P.C.S. Machine Group Holding Hungary KFT (“PHK”) จัด ตั้งขึ้ น ในประเทศฮังการี ไ ด้เข้าซื้ อ และรั บ มอบ สิ น ทรั พ ย์ป ระเภทอสั งหาริ ม ทรั พ ย์ข อง KHU รวมมู ล ค่ าทั้งสิ้ น 1.4 ล้านยูโร หรื อ เที ยบเท่ าประมาณ 53.5 ล้านบาท P.C.S. Precision Works KFT (“PWK”) จัดตั้งขึ้นในประเทศฮังการี ได้เข้าซื้ อและรับมอบสิ นทรัพย์ประเภท อสังหาริ มทรัพย์ของ KHU รวมมูลค่าทั้งสิ้ น 1.6 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่าประมาณ 60.7 ล้านบาท

ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ได้เข้าทํารายการซื้ อสิ นทรัพย์และรับโอนสิ นทรัพย์ของ SMT, ZEL และ KHU เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2561 ต่ อ มา เมื่ อ วัน ที่ 1 กรกฎาคม 2561 PHG ได้ เข้า ซื้ อและรั บ มอบสิ น ทรั พ ย์ป ระเภทอสั งหาริ ม ทรั พ ย์ข อง HJK เป็ นที่ เรี ยบร้ อ ยแล้ว รวมมู ล ค่ าทั้งสิ้ น 5.0 ล้านยูโร หรื อ เที ยบเท่ าประมาณ 190.7 ล้านบาท (อัต ราแลกเปลี่ ยนที่ 38.1371 บาท ต่อ 1 ยูโร) ผูบ้ ริ หารเชื่อว่าการซื้ อสิ นทรัพย์พร้อมกิจการดังกล่าวเป็ นการขยายฐานธุ รกิจเข้าไปในทวีปยุโรป และเป็ นโอกาสที่ ดีในการส่ งเสริ มสถานภาพของบริ ษทั ในการเป็ นผูน้ าํ กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่ ม บริ ษ ัทได้รับรู ้รายการรวมธุ รกิ จให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 3 (ปรับ ปรุ ง 2560) เรื่ อง การรวมธุ รกิ จ โดยข้อมู ลของสิ่ งตอบแทนทั้งหมดที่ โอนให้และมูลค่าที่รับรู ้ ณ วันที่ซ้ื อ สําหรับสิ นทรัพย์ที่ ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาแต่ละประเภทที่สาํ คัญ มีดงั นี้ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้

เงินสด รวม

128

(ล้ านบาท) 914.0 914.0


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 สิ นทรั พย์ ที่ได้ มาที่ระบุได้ และหนีส้ ิ นที่รับมา

สิ นค้าคงเหลือ อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ประมาณการหนี้สินหมุนเวียนสําหรับผลประโยชน์พนักงาน สิ นทรัพย์ สุทธิ ค่าความนิยม สิ่ งตอบแทนที่โอนให้ เงินสดจ่าย กระแสเงินสดจ่ าย

(ล้ านบาท) 76.2 175.4 636.5 32.1 (61.2) 859.0 55.0 914.0 (914.0) (914.0)

กลุ่มบริ ษทั ได้ประเมินมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2560) เรื่ อง การรวมธุรกิ จ บริ ษทั ได้ว่าจ้างผูป้ ระเมินอิสระเพื่อประเมินมูลค่ายุติธรรมของ สิ น ทรั พ ย์ท่ี ไ ด้ม าที่ ร ะบุไ ด้แ ละหนี้ สิ น ที่ รั บ มา และปั น ส่ ว นมู ล ค่ า ยุติธ รรมของรายการ ณ วัน ที่ ซ้ื อ ซึ่ ง ณ วัน ที่ งบการเงินรวมนี้ได้รับอนุมตั ิ กลุ่มบริ ษทั ยังไม่ได้รับรายงานการประเมินฉบับสมบูรณ์จากผูป้ ระเมินอิสระ เนื่องจาก ผูป้ ระเมินอิสระดังกล่าวอยูร่ ะหว่างการดําเนินการประเมินมูลค่ายุติธรรม และการประเมินมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวยัง ไม่แล้วเสร็จ ต้ นทุนที่เกี่ยวข้ องกับการซื ้อ กลุ่ม บริ ษทั มีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการซื้ อธุ รกิจเป็ นจํานวนรวมทั้งสิ้ น 0.5 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่าประมาณ 17.6 ล้านบาท ซึ่ งเป็ นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าที่ปรึ กษากฎหมายภายนอกและค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสถานะทางการเงิน กลุ่มบริ ษทั ได้บนั ทึกค่าใช้จ่ายดังกล่าวไว้ในบัญ ชี ค่าใช้จ่ายในการบริ หารในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

129


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลการดําเนินงานของบริษทั ย่ อยใหม่ ภายหลังวันทีซ่ ื้อ ในการจัดทํางบกําไรขาดทุนรวมสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษทั ได้รวมผลการดําเนินงานสําหรับงวด ตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ของบริ ษทั ย่อยใหม่ รายละเอียดที่สาํ คัญมีดงั นี้

รายได้จากการขายสิ นค้า ขาดทุนสําหรับงวดส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่

สําหรับงวดตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (พันบาท) 1,225,497 (187,514)

ฝ่ ายบริ หารคาดว่าหากกลุ่มบริ ษทั ได้มีการซื้ อธุ รกิ จตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 จะมีรายได้จากการขายสิ นค้ารวม ของกลุ่มบริ ษทั และกําไร/ขาดทุนรวมส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่สาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 เพิม่ ขึ้น/ลดลงอย่างไม่มีสาระสําคัญจากวันที่ซ้ื อ 4.2 การซือ้ หุ้นใน Eisenwerk Heiligenhaus GmbH (“EWH”) เมื่ อ วัน ที่ 26 พฤศจิ ก ายน 2561 P.C.S. Machine Group Holding GmbH (“PHG”) ซึ่ งเป็ นบริ ษัท ย่อ ยทางตรงใน สัด ส่ ว นร้อ ยละ 100 ได้เข้า ทําการซื้ อ ขายหุ้ น กับ CCI Cologne Casting GmbH (“CCI”) “ผูข้ าย” เพื่อ เข้า ซื้ อ หุ้ น สามัญจํานวนร้อยละ 85 ใน EWH EWH เป็ นบริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นจั ด ตั้ งในประเทศเยอรมนี โดย EWH ประกอบธุ ร กิ จ หลั ก คื อ การให้ เช่ า อสังหาริ มทรัพย์ในประเทศเยอรมนี กลุ่ มบริ ษทั ได้มาซึ่ งอํานาจควบคุ ม ใน EWH เมื่ อวัน ที่ 26 พฤศจิ กายน 2561 (“วัน ที่ซ้ื อ”) จากการได้รับ โอนหุ้น สามัญจํานวน 21,250 หุน้ (คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 85 ของหุ้นที่ออกและชําระแล้วของ EWH) ซึ่ ง PHG ได้จ่ายชําระ ค่าหุ้นแล้วทั้งจํานวน เป็ นจํานวนเงิน 1 ยูโร หรื อเทียบเท่าประมาณ 37.8025 บาท (อัตราแลกเปลี่ยนที่ 37.8025 บาท ต่อ 1 ยูโร) ผูบ้ ริ ห ารเชื่ อ ว่ า การซื้ อ หุ ้ น ดัง กล่ าวเป็ นโอกาสที่ ดี ใ นการส่ ง เสริ ม สถานภาพของบริ ษัท ในการเป็ นผู้น ํา กลุ่ ม อุตสาหกรรมยานยนต์ในทวีปยุโรป

130


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุ่ ม บริ ษ ัทได้รับรู ้รายการรวมธุ รกิ จให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 3 (ปรับ ปรุ ง 2560) เรื่ อง การรวมธุ รกิ จ โดยข้อมู ลของสิ่ งตอบแทนทั้งหมดที่ โอนให้และมูลค่าที่รับรู ้ ณ วันที่ซ้ื อ สําหรับสิ นทรัพย์ที่ ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาแต่ละประเภทที่สาํ คัญ มีดงั นี้ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้

เงินสด รวม

(บาท) 38 38

สิ นทรั พย์ ที่ได้ มาที่ระบุได้ และหนีส้ ิ นที่รับมา

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น หนีส้ ิ นสุ ทธิ ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม (คํานวณด้วยมูลค่าของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ ของผูถ้ ูกซื้อ ตามสัดส่ วนของหุน้ ที่ถือโดยส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม) ค่าความนิยม สิ่ งตอบแทนที่โอนให้ เงินสดสุ ทธิ ที่ได้มาจากการซื้อหุน้ ในบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่าย กระแสเงินสดรับสุทธิ

(บาท) 13,442 3,781,649 (4,026,004) (230,913) 34,643 196,308 38 13,442 (38) 13,404

กลุ่มบริ ษทั ได้ประเมินมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2560) เรื่ อง การรวมธุรกิ จ บริ ษทั ได้ว่าจ้างผูป้ ระเมินอิสระเพื่อประเมินมูลค่ายุติธรรมของ สิ น ทรั พ ย์ท่ี ไ ด้ม าที่ ร ะบุไ ด้แ ละหนี้ สิ น ที่ รั บ มา และปั น ส่ ว นมู ล ค่ า ยุติธ รรมของรายการ ณ วัน ที่ ซ้ื อ ซึ่ ง ณ วัน ที่ งบการเงินรวมนี้ได้รับอนุมตั ิ กลุ่มบริ ษทั ยังไม่ได้รับรายงานการประเมินฉบับสมบูรณ์จากผูป้ ระเมินอิสระ เนื่องจาก ผูป้ ระเมินอิสระดังกล่าวอยูร่ ะหว่างการดําเนินการประเมินมูลค่ายุติธรรม และการประเมินมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวยัง ไม่แล้วเสร็จ

131


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลการดําเนินงานของบริษทั ย่ อยใหม่ ภายหลังวันทีซ่ ื้อ ในการจัด ทํา งบกํา ไรขาดทุ น รวมสํ า หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2561 บริ ษ ัท ได้ร วมผลการดํา เนิ น งาน สําหรับ งวดตั้งแต่วนั ที่ 26 พฤศจิก ายน 2561 ถึ งวันที่ 31 ธัน วาคม 2561 ของบริ ษัทย่อยใหม่ รายละเอี ยดที่ สําคัญ มีดงั นี้

ขาดทุนสําหรับงวดส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่

สําหรับงวดตั้งแต่วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (พันบาท) (597.9)

ฝ่ ายบริ หารคาดว่าหากกลุ่มบริ ษทั ได้มีการซื้ อธุ รกิ จตั้งแต่วนั ที่ 24 เมษายน 2561 (“วันที่จดั ตั้งบริ ษทั ”) จะมีขาดทุน รวมส่ ว นที่ เป็ นของผูถ้ ื อ หุ ้นของบริ ษัท ใหญ่ สําหรับงวดสิ้ น สุ ดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2561 เพิ่ ม ขึ้ น/ลดลงอย่างไม่ มี สาระสําคัญจากวันที่ซ้ือ 5

บุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรื อกิ จการเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มบริ ษทั หาก กลุ่ม บริ ษทั มี อาํ นาจควบคุมหรื อควบคุ ม ร่ วมกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรื อมี อิทธิ พลอย่างมี นัยสําคัญต่อบุคคล หรื อกิ จการในการตัดสิ นใจทางการเงินและการบริ หารหรื อในทางกลับกัน หรื อกลุ่มบริ ษทั อยูภ่ ายใต้การควบคุ ม เดี ย วกัน หรื อ อยู่ภ ายใต้อิ ท ธิ พ ลอย่างมี นั ยสําคัญ เดี ย วกัน กับ บุ ค คลหรื อ กิ จ การนั้น การเกี่ ยวข้อ งกัน นี้ อาจเป็ น รายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ

132


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ความสัมพันธ์ที่มีกบั บริ ษทั ย่อยได้เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 10 สําหรับความสัมพันธ์กบั ผูบ้ ริ หาร สําคัญและบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดงั นี้ ประเทศที่จัดตั้ง ชื่อกิจการ /สั ญชาติ ลักษณะความสั มพันธ์ บริ ษทั พี.ซี .เอส. เอสเตท จํากัด ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษัท พี .ซี .เอส. แมชี น (ไทยแลนด์ ) ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ จํากัด ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษทั พี.ซี .เอส.-นิสซิน จํากัด ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษทั พี.ซี .เอส. คาลิเบรชัน่ แล็บ จํากัด ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษทั เอส.ดับบลิว แอนด์ ซันส์ จํากัด ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษทั เอสดับบลิวเอส มอเตอร์ ส จํากัด ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษทั โคราช มัตซึชิตะ จํากัด ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษทั ไฮ แลนด์ กอล์ฟ จํากัด ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั บริ ษทั เอส. ดับบลิว แอนด์ ซันส์ ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีญาติสนิ ทของผูถ้ ือหุน้ (ไทยแลนด์) จํากัด รายใหญ่ของบริ ษทั เป็ นผูถ้ ือหุน้ และกรรมการ บริ ษทั แฟคตอรี่ แอนด์ ออฟฟิ ซ ไทย เป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีญาติสนิ ทของผูถ้ ือหุน้ ซัพพลาย จํากัด รายใหญ่ของบริ ษทั เป็ นผูถ้ ือหุน้ และกรรมการ ผูบ้ ริ หารสําคัญ ไทย/ ญี่ปุ่น/ บุคคลที่มีอาํ นาจและความรับผิดชอบการวางแผน เยอรมัน สั่งการและควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของกิจการ ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้อม ทั้งนี้ รวมถึงกรรมการ ของกลุ่มบริ ษทั (ไม่ว่าจะทําหน้าที่ในระดับ บริ หารหรื อไม่)

133


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอธิ บายได้ดงั ต่อไปนี้ รายการ ขายสินค้า

นโยบายการกําหนดราคา ราคาตลาด หากไม่มีราคาตลาดให้กาํ หนดราคาโดยต้นทุนบวก ไม่เกินร้อยละ 15 รายได้จากการให้บริ การและรายได้อื่น ราคาที่ตกลงกัน เงินปันผลรับ ตามที่ประกาศจ่าย ดอกเบี้ยรับ อัตราเงินฝากประจํา 12 เดือน ซื้ อสิ นค้า/บริ การ ราคาตลาด หากไม่มีราคาตลาดให้กาํ หนดราคาโดยต้นทุนบวก ไม่เกินร้อยละ 15 ค่าเช่า ราคาตามสัญญา ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ต้นทุนบวกร้อยละ 10 ถึง 20 / ราคาที่ตกลงกัน ซื้ อ/จําหน่ายอุปกรณ์ ราคาตลาด หากไม่มีราคาตลาดให้กาํ หนดราคาที่ตกลงร่ วมกัน รายการที่สาํ คัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 สรุ ปได้ ดังนี้

สําหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

บริษทั ย่ อย รายได้จากการให้บริ การ เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ค่าเช่า กิจการอืน่ ที่เกีย่ วข้ องกัน ขายสิ นค้า รายได้อื่น ซื้อสิ นค้า/บริ การ ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซื้ออุปกรณ์ ผ้ บริหารสํ าคัญ

134

-

-

130,680 629,787 33,775 1,800

94,717 532,481 27,559 2,160

13,846 3,075 59,460 18,697 51,628 26,472

10,754 855 13,724 18,394 37,906 16,680

1,708 66 365

37 2,729 262 -


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

สําหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวมค่าตอบแทนผู้บริหารสํ าคัญ

งบการเงินรวม 2561 2560 51,944 771 52,715

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(พันบาท) 43,799 32,274 2,995 243 46,794 32,517

34,566 2,628 37,194

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้ ลูกหนี้การค้า

งบการเงินรวม 2561 2560

บริ ษทั ย่อย กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รวม

4,263 4,263

ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น

บริ ษทั ย่อย รวม

(พันบาท) 11,877 3,244 3,244 11,877

งบการเงินรวม 2561 2560

กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รวม เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้น

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

2 2 อัตราดอกเบีย้ 2561 2560 (ร้ อยละต่ อปี ) 1.09 1.12

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(พันบาท) 659 659

งบการเงินรวม 2561 2560

8,460 8,460

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 1,732,000 2,033,983 1,732,000 2,033,983

135


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กูย้ มื ระยะสั้นแก่บริ ษทั ย่อยมีดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ ขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 2,033,983 (301,983) 1,732,000

2,700,000 983 (667,000) 2,033,983

บริ ษทั มีเงินให้กูย้ มื ระยะสั้นแก่บริ ษทั ย่อยหลายแห่ง ซึ่งมีกาํ หนดระยะเวลาจ่ายชําระคืนเมื่อทวงถาม เงินปันผลค้ างรั บ

งบการเงินรวม 2561 2560

บริ ษทั ย่อย รวม

-

ดอกเบีย้ ค้างรับ

งบการเงินรวม 2561 2560

บริ ษทั ย่อย รวม เงินให้ ก้ยู ืมระยะยาว

บริ ษทั ย่อย รวม

136

อัตราดอกเบีย้ 2561 2560 (ร้ อยละต่ อปี ) 2.00 -

งบการเงินรวม 2561 2560 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 42,500 42,500

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 14,996 14,996

1,171 1,171

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 802,121 802,121 -


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กูย้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อยมีดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ ขึ้น ลดลง ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจากการแปลง ค่าเงินให้กูย้ มื สกุลเงินยูโรสกุลเงินยูโรคงเหลือเป็ นเงินบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

-

(พันบาท) 1,353,503 (510,558)

-

-

-

-

(40,824) 802,121

บริ ษทั มีเงินให้กูย้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อยหลายแห่ง ซึ่ งมีกาํ หนดระยะเวลาจ่ายชําระคืนภายในระยะเวลา 10 ปี เจ้ าหนี้การค้ า

งบการเงินรวม 2561 2560 (พันบาท) 5,317 5,317

กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รวม

7,151 7,151

เจ้ าหนี้หมุนเวียนอื่น

งบการเงินรวม 2561 2560

กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รวม

1,620 1,620

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 -

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(พันบาท) 1,919 1,919

-

12 12

เงินกู้ยืมกรรมการ รายการเคลื่อนไหวของเงินกูย้ มื กรรมการมีดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ ขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 200,000 (200,000) -

-

137


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

สั ญญาที่ยงั ไม่ รับรู้ ต้นทุนซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์ รวม

15,611 15,611

21,282 21,282

-

-

จํานวนเงินขั้นตํา่ ที่ต้องจ่ ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้ สัญญาเช่ าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ ได้ งบการเงินรวม 2561 2560 ภายในระยะเวลาหนึ่งปี ภายหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี ภายหลังจากห้าปี รวม

20,333 74,059 203,976 298,368

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 19,369 686 4,171 74,734 6,742 243,587 22,613 337,690 686 33,526

กลุ่มบริ ษทั ได้ทาํ สัญญาเช่าหลายฉบับ ซึ่ งครอบคลุมการเช่าที่ดินและค่าบริ การที่เกี่ยวข้อง อาคารสํานักงาน อุปกรณ์ สํานักงานและที่พกั ผูบ้ ริ หารเป็ นระยะเวลา 1 ถึง 21 ปี ซึ่ งจะสิ้นสุดในระหว่างปี 2562 ถึงปี 2578 สัญญาสําคัญทีท่ ํากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุ่มบริ ษทั มีสัญญาที่สาํ คัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังนี้ สั ญญาบริ การ บริ ษทั มีสัญญาบริ การกับบริ ษทั ย่อยในประเทศทั้งสามแห่ งโดยบริ ษทั ตกลงที่จะจัดหางานบริ การต่างๆ ตามที่ระบุไว้ ในสัญญา ในการนี้ บริ ษทั ย่อยในประเทศตกลงจ่ายค่าบริ การรายเดือนให้กบั บริ ษทั ในจํานวนเงินตามที่ระบุในสัญญา และบริ ษทั ย่อยในประเทศจะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้อผูกพันตามที่กาํ หนดไว้ในสัญญา ทั้งนี้หากคู่สัญญาฝ่ ายใด มีความประสงค์จะขอเลิกสัญญา คู่สัญญาฝ่ ายนั้นจะต้องทําหนังสื อบอกเลิกสัญญาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนวันสิ้นสุ ด ของสัญญา สั ญญาเช่ าที่พักผ้ บริ หาร

138


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริ ษทั มีสัญญาเช่าที่พกั ผูบ้ ริ หารกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยบริ ษทั ตกลงที่จะจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตรา ที่ตกลงกัน และจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้อผูกพันตามที่กาํ หนดไว้ในสัญญา สัญญานี้ มีระยะเวลา 1 ปี เริ่ มตั้งแต่ เดือนสิงหาคม 2561 สั ญญาเช่ าอาคารสํานักงาน บริ ษทั มีสัญญาเช่ าอาคารสํานักงานกับบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง โดยบริ ษทั ตกลงที่จะจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราที่ตกลง กัน และจะปฏิ บตั ิ ตามเงื่อนไขและข้อผูกพันตามที่กาํ หนดไว้ในสัญ ญา สัญ ญานี้ มีระยะเวลา 1 ปี เริ่ ม ตั้งแต่เดื อน มกราคม 2561 สั ญญาเช่ าอุปกรณ์ สาํ นักงาน บริ ษทั มี สัญญาเช่ าอุปกรณ์ สํานักงานกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง โดยบริ ษทั ตกลงที่ จะจ่ายค่าเช่ารายเดื อนตามอัตราที่ ตกลงกัน และจะปฏิบตั ิต ามเงื่อนไขและข้อผูกพันตามที่กาํ หนดไว้ในสัญ ญา สัญ ญานี้ มีระยะเวลา 1 ปี เริ่ ม ตั้งแต่ เดือนมกราคม 2561 สั ญญาเช่ าที่ดิน บริ ษทั ย่อยในประเทศทั้งสามแห่งมีสัญญาเช่าที่ดินกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ ง สัญญานี้ มีระยะเวลา 3 ปี และ สามารถต่อสัญญาได้อีกคราวละ 3 ปี แต่ไ ม่เกิ น 7 ครั้ง (ระยะเวลาเช่ ารวมกันไม่เกิ น 22 ปี 6 เดือน เริ่ ม ตั้งแต่เดื อน กรกฎาคม 2556) โดยบริ ษทั ย่อยในประเทศตกลงที่จะจ่ายค่าเช่าตามอัตราที่ตกลงกัน และจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและ ข้อผูกพันตามที่กาํ หนดไว้ในสัญญา บริ ษทั ย่อยในประเทศสองแห่งมีสัญญาเช่าที่ดินกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่ งหนึ่ง สัญญานี้มีระยะเวลา 3 ปี และ 5 ปี และสามารถต่ อสัญ ญาได้อี กคราวละ 3 ปี แต่ ไ ม่ เกิ น 7 ครั้ง (ระยะเวลาเช่ ารวมกันไม่ เกิ น 21 ปี เริ่ ม ตั้งแต่เดื อ น กรกฎาคม 2561) โดยบริ ษทั ย่อยในประเทศตกลงที่จะจ่ายค่าเช่าตามอัตราที่ตกลงกัน และจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและ ข้อผูกพันตามที่กาํ หนดไว้ในสัญญา

สั ญญาบริ การ

139


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริ ษทั ย่อยในประเทศทั้งสามแห่ งมีสัญญาบริ การและรับบริ การระบบสาธารณู ปโภคกับกิ จการที่เกี่ ยวข้องกันแห่ ง หนึ่ ง โดยบริ ษัทย่อยในประเทศตกลงที่ จะจ่ ายค่าบริ การตามอัตราที่ตกลงกัน และจะปฏิ บตั ิ ตามเงื่อนไขและข้อ ผูกพันตามที่กาํ หนดไว้ในสัญญา สัญญานี้มีระยะเวลาบังคับใช้เช่นเดียวกับสัญญาเช่าที่ดิน 6

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

เงินสดในมือ เงินฝากสถาบันการเงินประเภทกระแสรายวัน เงินฝากสถาบันการเงินประเภทออมทรัพย์ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง รวม 7

2,447 102,251 1,287,898 105,320 1,497,916

37 1,940 150,667 152,644

50 1,822 1,069,969 101,295 1,173,136

ลูกหนีก้ ารค้า

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ หนีส้ ู ญและหนีส้ งสัยจะสู ญ สํ าหรับปี

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้ามีดงั นี้

140

504 98,010 403,758 502,272

5

งบการเงินรวม 2561 2560 4,263 957,156 961,419 (31,253) 930,166

31,429

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(พันบาท) 3,244 11,877 748,423 751,667 11,877 (648) 751,019 11,877

648

-

8,460 8,460 8,460

-


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ: น้อยกว่า 3 เดือน รวม

5

3,423

3,244

11,877

8,460

840 4,263

3,244

11,877

8,460

กิจการอืน่ ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ: น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

848,077

739,182

-

-

91,824 4,892 12,363 957,156 (31,253) 925,903

7,351 145 448 1,297 748,423 (648) 747,775

-

-

รวมทั้งสิ้น

930,166

751,019

11,877

8,460

ในระหว่างปี 2561 ระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริ ษทั มีระยะเวลาตั้งแต่ 10 วัน ถึง 90 วัน (2560: ตั้งแต่ 30 วัน ถึง 90 วัน)

141


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 8

ลูกหนีห้ มุนเวียนอืน่ งบการเงินรวม หมายเหตุ

2561

2560

ลูกหนี้กรมสรรพากร

61,138

(พันบาท) 43,795

เงินมัดจําจ่ายล่วงหน้า

30,292

ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อื่นๆ รวม 9

งบการเงินเฉพาะกิจการ

5

2560 -

-

4,009

304

273

2 24,435

659 11,520

360

526

115,867

59,983

664

799

สิ นค้ าคงเหลือ งบการเงินรวม 2561 2560 สิ นค้าสําเร็จรู ป สิ นค้ากึ่งสําเร็จรู ป สิ นค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ อะไหล่ วัสดุสิ้นเปลืองโรงงาน วัตถุดิบระหว่างทาง รวม หั ก ค่าเผื่อมูลค่าสิ นค้าลดลง สุ ทธิ

142

2561

126,420 49,175 105,311 162,233 88,339 144,539 12,848 688,865 (3,575) 685,290

(พันบาท)

102,778 35,986 97,285 138,600 51,223 78,546 3,546 507,964 (1,800) 506,164

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 -

-


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือที่บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายและได้รวมไว้ในบัญชี “ต้นทุนขาย” งบการเงินรวม 2561 2560 - ต้นทุนขาย - การปรับลดมูลค่าเป็ นมูลค่า สุทธิ ที่คาดว่าจะได้รับ - กลับรายการการปรับลดมูลค่า สุ ทธิ 10

4,613,417

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 3,161,171 -

1,775 4,615,192

(3,865) 3,157,306

-

-

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ ขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (ล้ านบาท) 1,151 1,150 470 1 1,621 1,151

รายละเอียดเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่เพิ่มขึ้นในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 P.C.S. Machine Group Holding GmbH รวม

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (ล้ านบาท) 470 1 470 1

143


144 ลักษณะธุรกิจ

บริษทั ย่อยทางตรงในประเทศ บริ ษทั พี.ซี .เอส. ผลิตและจําหน่าย พรี ซิชนั่ เวิร์ค จํากัด ชิ้นส่วนยานยนต์ บริ ษทั พี.ซี .เอส. ผลิตและจําหน่าย ชิ้นส่วน ได คาสติ้ง จํากัด ยานยนต์และอิเล็คทรอนิกส์ บริ ษทั พี.ซี .เอส. ผลิตและจําหน่ายเหล็ก ฟอร์จจิ้ง จํากัด ทุบและแม่พิมพ์ รวม

ชื่อกิจการ

100 100 100

ไทย ไทย

100

100

100

สัดส่ วน ความเป็ นเจ้าของ 2561 2560 (ร้ อยละ)

ไทย

ประเทศ ที่กิจการ จัดตั้ง

350

350

450

350

350

450

ทุนชําระแล้ว 2561 2560

350 1,150

1,150

350 350

350

450

2560 (ล้ านบาท) 450

2561

ราคาทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 และเงินปันผลรับจากเงินลงทุนสําหรับแต่ละปี สิ้นสุ ดวันเดียวกัน มีดงั นี้

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

630

22

155

453

532

30

191

311

เงินปั นผลรับ 2561 2560


145

กิจการลงทุน

ลักษณะธุรกิจ

เยอรมนี

100

100

สัดส่ วน ความเป็ นเจ้าของ 2561 2560 (ร้ อยละ) 471

ทุนชําระแล้ว 2561 2560

1

1 1 1,151

471 1,621

2560 (ล้ านบาท) 471

2561

ราคาทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

630

-

532

เงินปั นผลรับ 2561 2560

ต่อมาเมื่ อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 บริ ษทั ย่อยดังกล่าวมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ นจํานวนเงิน 11.975 ล้านยูโร (เพิ่มจาก 0.025 ล้านยูโร เป็ น 12 ล้านยูโร) โดยการออกหุ ้นสามัญ ใหม่ เป็ นจํานวน 11.975 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 ยูโร และมีการเรี ยกชําระค่าหุน้ เต็มจํานวน การดําเนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนบริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้แล้วเสร็จในเดือนมีนาคม 2561

เมื่อวันที่ 10 พฤศจิ กายน 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจัดตั้งบริ ษทั ย่อยในต่างประเทศ P.C.S. Machine Group Holding GmbH (“PHG”) โดยบริ ษทั เป็ น ผูถ้ ือหุ ้นในอัตราร้อยละ 100 ใน PHG โดยมีทุนจดทะเบียนแรกเริ่ มเป็ นจํานวนเงิน 25,000 ยูโร และให้เรี ยกชําระค่าหุ ้นเต็มจํานวน การดําเนินการจดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั และการ เรี ยกชําระค่าหุน้ เต็มจํานวนในบริ ษทั ย่อยได้แล้วเสร็ จในเดือนธันวาคม 2560

การเพิ่มเงินลงทุนในระหว่ างปี

บริษทั ย่ อยทางตรงในต่ างประเทศ P.C.S. Machine Group Holding GmbH รวม รวมทั้งสิ้น

ชื่อกิจการ

ประเทศ ที่กิจการ จัดตั้ง

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายละเอียดบริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้

ชื่อกิจการ

บริษัทย่ อยทางอ้ อมในต่ างประเทศ P.C.S. Precision Works Hennef GmbH P.C.S. Precision Works Germany GmbH P.C.S. Machine Group Holding Hungary Kft. P.C.S. Precision Works Kft. P.C.S. Precision Works Cunewalde GmbH Eisenwerk Heiligenhaus GmbH

ลักษณะธุรกิจ

ผลิตและจําหน่าย ชิ้นส่วนยานยนต์ ผลิตและจําหน่าย ชิ้นส่วนยานยนต์ กิจการลงทุน

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

สัดส่ วนความเป็ นเจ้าของ 2561 2560 (ร้ อยละ)

เยอรมนี

100

-

เยอรมนี

100

-

ฮังการี

100

-

ผลิตและจําหน่าย ชิ้นส่วนยานยนต์ กิจการลงทุน

ฮังการี

100

-

เยอรมนี

100

-

ให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์

เยอรมนี

85

-

การเพิ่มเงินลงทุนในระหว่ างปี เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 และ 8 ธันวาคม 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจัดตั้งบริ ษทั ย่อย ในต่างประเทศหลายแห่ ง โดยให้บริ ษทั P.C.S. Machine Group Holding GmbH ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ถื อหุ ้นใน อัตราร้อยละ 100 เป็ นผูถ้ ือหุ้นร้อยละ 100 ในบริ ษทั ย่อยในต่างประเทศดังนี้ ก) P.C.S. Precision Works Hennef GmbH โ ด ยมี ทุ น จ ด ท ะ เบี ย น แ รก เริ่ ม เป็ น จํ า น ว น เงิ น 0.4 ล้ าน ยู โ ร การดําเนิ นการจดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั และการเรี ยกชําระค่าหุ ้นเต็มจํานวนในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้แล้วเสร็ จใน เดือนกุมภาพันธ์ 2561 ข) P.C.S. Precision Works Germany GmbH โดยมี ทุนจดทะเบียนแรกเริ่ มเป็ นจํานวนเงิน 25,000 ยูโร และให้เรี ยก ชําระค่าหุน้ เต็มจํานวน การดําเนินการจดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั และการเรี ยกชําระค่าหุ ้นเต็มจํานวนในบริ ษทั ย่อย ได้แล้วเสร็จในเดือนธันวาคม 2560

146


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ต่อมาเมื่ อวัน ที่ 7 มี น าคม 2561 บริ ษัท ย่อยดังกล่ าวมี การเพิ่มทุ นจดทะเบี ยนเป็ นจํานวนเงิน 9.975 ล้านยูโร (เพิ่มจาก 0.025 ล้านยูโร เป็ น 10 ล้านยูโร) โดยการออกหุ ้นสามัญใหม่ เป็ นจํานวน 9.975 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 ยูโร และมีการเรี ยกชําระค่าหุ ้นเต็มจํานวน การดําเนิ นการจดทะเบียนเพิ่มทุนในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้แล้ว เสร็จในเดือนมีนาคม 2561 ค)

P.C.S. Machine Group Holding Hungary Kft. โดยมี ทุ น จดทะเบี ย นแรกเริ่ ม เป็ นจํา นวนเงิ น 0.015 ล้านยูโ ร การดําเนินการจดทะเบียนจัดตั้งและการเรี ยกชําระค่าหุน้ เต็มจํานวนในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้แล้วเสร็ จในเดือน มีนาคม 2561

ง)

P.C.S. Precision Works Kft. โดยมี ทุ น จดทะเบี ย นแรกเริ่ ม เป็ นจํา นวนเงิ น 0.5 ล้า นยูโร การดําเนิ น การจด ทะเบียนจัดตั้งและการเรี ยกชําระค่าหุน้ เต็มจํานวนในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้แล้วเสร็จในเดือนมีนาคม 2561

จ)

P.C.S. Precision Works Cunewalde GmbH โดยมี ทุนจดทะเบี ยนแรกเริ่ มเป็ นจํานวนเงิน 1 ล้านยูโร การดําเนิ นการ จดทะเบี ยนจัดตั้งบริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้แล้วเสร็ จในเดื อนมี นาคม 2561 ในระหว่างไตรมาส 1 ปี 2561 มี การเรี ยก ชําระค่าหุน้ ในอัตราร้อยละ 50 คิดเป็ นจํานวนเงินรวม 0.5 ล้านยูโร

11

เงินให้ ก้ ูยมื ระยะยาว อัตราดอกเบีย้ หมายเหตุ 2561 2560 (ร้ อยละต่ อปี ) 5 2.00 2.00 -

งบการเงินรวม 2560 2561

บริ ษทั ย่อย กิจการอื่น รวม หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

441,144 441,144 (220,572) 220,572

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 802,121 441,144 1,243,265 (220,572) 1,022,693 -

หนีส้ งสัยจะสู ญสํ าหรับปี

220,572

-

220,572

-

147


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กูย้ มื ระยะยาวแก่กิจการอื่นมีดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ ขึ้น ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง จากการแปลงค่าเงินให้กูย้ มื สกุลเงินยูโร คงเหลือเป็ นเงินบาท หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

461,620

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 461,620 -

(20,476) (220,572) 220,572

-

(20,476) (220,572) 220,572

-

ในระหว่า งไตรมาสที่ 2 ของปี 2561 บริ ษัท ย่อ ยในต่ า งประเทศแห่ ง หนึ่ งมี เงิ น ลงทุ น ในกิ จ การแห่ งหนึ่ ง (กิ จการอื่ น) ในอัต ราร้อยละ 19 และบริ ษัท มี เงิ นให้กู้ยืม ระยะยาวแก่ กิ จการอื่ น ดังกล่ าว เป็ นจํานวนเงิน 12 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่าประมาณ 461.6 ล้านบาท ต่อมาในไตรมาสที่ 4 ของปี 2561 บริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้ขายเงิน ลงทุ น ในกิ จ การอื่ น ดั งกล่ าวออกไปแล้ว ทั้ง จํา นวน ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2561 บริ ษ ัท มี ย อดคงค้า งของ เงินให้กูย้ ืมระยะยาวแก่กิจการอื่น เป็ นจํานวน 441.1 ล้านบาท เงินกูย้ ืมนี้ มีกาํ หนดระยะเวลาการจ่ายชําระคื น ภายใน 10 ปี อย่างไรก็ดี บริ ษทั ได้พิจารณาตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญเป็ นจํานวนเงิน 6 ล้านยูโร หรื อเทียบเท่า ประมาณ 220.6 ล้านบาท โดยพิจารณาจากความสามารถในการจ่ ายชําระหนี้ ของกิ จการอื่นดังกล่ าว รวมทั้ง มูลค่าของหลักทรัพย์ค้ าํ ประกัน เงินให้กูย้ มื ระยะยาวนี้บางส่ วนคํ้าประกันโดยเครื่ องจักรของกิจการอื่นดังกล่าว

148


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 12 อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

179,153 179,153

-

-

-

(1,799)

-

-

-

66 (1,733)

-

-

-

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม

-

-

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

177,420

-

-

-

หมายเหตุ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม ได้มาจากการรวมธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี ผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนจาก การแปลงค่างบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

4

149


150

4

หมายเหตุ

ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้น โอน จําหน่ายและตัดจําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ วันที่ 1 มกราคม 2561 เพิ่มขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ โอน จําหน่ายและตัดจําหน่าย ผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนจาก การแปลงค่างบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

13

865,009 1,685 4,932 871,626 12,407 246,390 1,467 (4,405) 1,127,485

3,645 94,963 3,474 102,082

ที่ดิน

อาคารโรงงาน ส่วนปรับปรุ ง และ สิ่ งปลูกสร้าง

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

(270) 4,688,074

4,379,179 62,079 254,170 24,630 (31,714)

4,312,326 2,678 73,425 (9,250)

เครื่ องจักรและ อุปกรณ์

633 857,451

798,469 30,097 11,190 42,262 (25,200)

780,830 8,986 14,223 (5,570)

เครื่ องมือและ เครื่ องใช้ ในโรงงาน

(55) 83,793

78,864 3,808 1,041 362 (227)

77,633 1,588 321 (678)

งบการเงินรวม เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และเครื่ องใช้ สํานักงาน (พันบาท)

160,335

160,335 -

160,335 -

อุปกรณ์ พลังงาน แสงอาทิตย์

(51) 76,832

75,283 7,085 632 (6,117)

75,202 1,145 (1,064)

ยานพาหนะ

(434) 253,298

111,451 184,140 28,143 (68,721) (1,281)

156,803 47,549 (92,901) -

สิ นทรัพย์ ระหว่าง การก่อสร้าง และติดตั้ง

(1,108) 7,349,350

6,475,207 303,261 636,529 (64,539)

6,428,138 63,631 (16,562)

รวม


151

ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่ายและตัดจําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ วันที่ 1 มกราคม 2561 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่ายและตัดจําหน่าย ผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนจาก การแปลงค่างบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

ที่ดิน

(308,093) (48,241) (356,334) (56,483) 2,039 (410,778)

-

อาคารโรงงาน ส่วนปรับปรุ ง และ สิ่ งปลูกสร้าง

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

3,060 (3,265,144)

(2,923,886) (370,651) 26,333

(2,621,591) (310,286) 7,991

เครื่ องจักรและ อุปกรณ์

53 (715,952)

(669,909) (64,698) 18,602

(588,683) (86,563) 5,337

17 (75,177)

(71,201) (4,201) 208

(66,893) (4,973) 665

งบการเงินรวม เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง เครื่ องมือและ และเครื่ องใช้ เครื่ องใช้ สํานักงาน ในโรงงาน (พันบาท)

(26,809)

(16,437) (10,372) -

(6,064) (10,373) -

อุปกรณ์ พลังงาน แสงอาทิตย์

21 (51,336)

(47,507) (7,740) 3,890

(41,268) (7,303) 1,064

ยานพาหนะ

-

-

-

สิ นทรัพย์ ระหว่าง การก่อสร้าง และติดตั้ง

5,190 (4,545,196)

(4,085,274) (514,145) 49,033

(3,632,592) (467,739) 15,057

รวม


152

ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ วันที่ 1 มกราคม 2560

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

515,292

716,707 716,707

515,292 -

556,916 556,916

-

-

102,082 102,082

ที่ดิน

1,418,429 4,501 1,422,930

1,455,293

1,455,293 -

1,690,735 1,690,735

อาคารโรงงาน ส่ วนปรับปรุ ง และ เครื่ องจักรและ สิ่ งปลูกสร้าง อุปกรณ์

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

141,499 141,499

128,560

128,560 -

192,147 192,147

เครื่ องมือและ เครื่ องใช้ ในโรงงาน

8,616 8,616

7,663

7,663 -

10,740 10,740

งบการเงินรวม เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และเครื่ องใช้ สํานักงาน (พันบาท)

133,526 133,526

143,898

143,898 -

154,271 154,271

อุปกรณ์ พลังงาน แสงอาทิตย์

22,183 3,313 25,496

27,776

26,645 1,131

33,934 33,934

ยานพาหนะ

253,298 253,298

111,451

111,451 -

156,803 156,803

สินทรัพย์ ระหว่าง การก่อสร้าง และติดตั้ง

2,796,340 7,814 2,804,154

2,389,933

2,388,802 1,131

2,795,546 2,795,546

รวม


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั ก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่ งได้คิดค่าเสื่ อมราคาเต็มจํานวน แล้ว แต่ยงั คงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจาํ นวน 2,403.77 ล้านบาท (2560: 1,973.13 ล้ านบาท) สินทรั พย์ระหว่ างการก่ อสร้ างและติดตั้ง สิ นทรัพย์ระหว่างการก่อสร้างและติดตั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีจาํ นวนเงินรวม 253.30 ล้านบาท (2560: 111.45 ล้ านบาท) ส่ วนใหญ่เป็ นต้นทุนค่าก่อสร้างอาคารโรงงานและส่ วนปรับปรุ ง ต้นทุนเครื่ องจักรและอุปกรณ์ และต้นทุน เครื่ องมือและเครื่ องใช้ในโรงงานรวมทั้งต้นทุนการติดตั้งที่เกี่ยวข้อง งบการเงินเฉพาะกิจการ

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 เพิม่ ขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และวันที่ 1 มกราคม 2561 เพิม่ ขึ้น โอน ตัดจําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

สิ่ งปลูกสร้าง

เครื่ องตกแต่ง ติดตั้งและ เครื่ องใช้ สํานักงาน

4,544

1,312

3,923

-

9,779

-

279

1,145

224

1,648

4,544

1,591

5,068

224

11,427

-

966

5,684

-

6,650

4,544

224 (11) 2,770

(3,790) 6,962

(224) -

(3,801) 14,276

ยานพาหนะ (พันบาท)

สิ นทรัพย์ ระหว่าง การก่อสร้าง

รวม

153


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินเฉพาะกิจการ

สิ่ งปลูกสร้าง

เครื่ องตกแต่ง ติดตั้งและ เครื่ องใช้ สํานักงาน

ยานพาหนะ (พันบาท)

สิ นทรัพย์ ระหว่าง การก่อสร้าง

รวม

ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และวันที่ 1 มกราคม 2561 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี ตัดจําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

(325) (454)

(672) (289)

(1,282) (406)

-

(2,279) (1,149)

(779) (454) (1,233)

(961) (469) 10 (1,420)

(1,688) (605) 1,755 (538)

-

(3,428) (1,528) 1,765 (3,191)

มูลค่าสุ ทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

4,219 4,219

640 640

2,641 2,641

-

7,500 7,500

ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และวันที่ 1 มกราคม 2561

3,765 -

630 -

2,249 1,131

224 -

6,868 1,131

3,765

630

3,380

224

7,999

ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

3,311 3,311

1,350 1,350

3,111 3,313 6,424

-

7,772 3,313 11,085

154


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 14

สิ นทรัพย์ไม่ มตี วั ตน งบการเงินรวม ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ หมายเหตุ กราฟฟิ กดีไซน์ ซ่อมบํารุ ง (พันบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 เพิม่ ขึ้น ตัดจําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และวันที่ 1 มกราคม 2561 เพิม่ ขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

รวม

19,474 224 19,698 1,473 32,130 53,301

3,969 (342) 3,627 3,750 7,377

23,443 224 (342) 23,325 5,223 32,130 60,678

ค่าตัดจําหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ตัดจําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และวันที่ 1 มกราคม 2561 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่างบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

(14,086) (2,426) (16,512) (7,163) 176 (23,499)

(3,749) (81) 342 (3,488) (455) (3,943)

(17,835) (2,507) 342 (20,000) (7,618) 176 (27,442)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และวันที่ 1 มกราคม 2561 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

5,388 3,186 29,802

220 139 3,434

5,608 3,325 33,236

4

155


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 15

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รายการเคลื่ อ นไหวของสิ น ทรั พ ย์แ ละหนี้ สิ น ภาษี เงิ น ได้รอการตัด บัญ ชี รวมที่เกิ ด ขึ้ น ในระหว่างปี สิ้ นสุ ด วัน ที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี้ งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน ณ วันที่ 1 มกราคม 2561

156

กําไรหรื อ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น (หมายเหตุ 27) (พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

สินทรั พย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นค้าคงเหลือ ลูกหนี้การค้า ประมาณการหนี้สินสําหรับ ผลประโยชน์พนักงาน รวม

156 130

177 996

-

333 1,126

14,391 14,677

2,507 3,680

(1,725) (1,725)

15,173 16,632

หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม สุ ทธิ

(1) (1) 14,676

(74) (74) 3,606

(1,725)

(75) (75) 16,557


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

กําไรหรื อ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น (หมายเหตุ 27) (พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

สินทรั พย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นค้าคงเหลือ ลูกหนี้การค้า ประมาณการหนี้สินสําหรับ ผลประโยชน์พนักงาน รวม

364 -

(208) 130

-

156 130

11,991 12,355

2,146 2,068

254 254

14,391 14,677

หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม สุ ทธิ

12,355

(1) (1) 2,067

254

(1) (1) 14,676

ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ประมาณการหนี้สินสําหรับ ผลประโยชน์พนักงาน รวม

3,964 3,964

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน กําไรหรื อ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น (หมายเหตุ 27) (พันบาท)

743 743

(2,259) (2,259)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

2,448 2,448

157


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 หนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม สุ ทธิ

(1) (1) 3,963

ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน กําไรหรื อ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น (หมายเหตุ 27) (พันบาท) (74) (74) 669

(2,259)

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน กําไรหรื อ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น (หมายเหตุ 27) (พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

(75) (75) 2,373

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ประมาณการหนี้สินสําหรับ ผลประโยชน์พนักงาน รวม

3,220 3,220

696 696

48 48

3,964 3,964

หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม สุ ทธิ

3,220

(1) (1) 695

48

(1) (1) 3,963

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุ่มบริ ษทั มีขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ ซึ่ งไม่ได้นาํ ไปรวมในการคํานวณสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เพื่อรับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงินเป็ นจํานวนเงิน 81.10 ล้านบาท (2560: 26.01 ล้ านบาท) เนื่องจากความไม่แน่นอนที่จะใช้ประโยชน์ทางภาษีจากรายการดังกล่าวในอนาคต

158


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 16

เจ้ าหนีก้ ารค้ า งบการเงินรวม 2561 2560

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม 17

5

(พันบาท) 5,317 273,461 278,778

7,151 293,067 300,218

-

-

เจ้ าหนีห้ มุนเวียนอืน่

หมายเหตุ เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น - กิจการอื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อื่นๆ รวม 18

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

5

งบการเงินรวม 2561 2560 65,026 56,688 12,496 1,620 3,408 139,238

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 31,221 2,745 2,213 32,414 660 865 24,484 1,919 12 3,408 93,446 3,405 3,090

ประมาณการหนีส้ ิ นสํ าหรับผลประโยชน์ พนักงาน งบการเงินรวม 2561 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบแสดงฐานะการเงิน ประมาณการหนีส้ ิ นสําหรับ โครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ - หมุนเวียน - ไม่หมุนเวียน

24,276 75,867 100,143

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

71,959 71,959

12,242 12,242

19,824 19,824

159


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รับรู้ ในกําไรหรือขาดทุน โครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้

13,660

12,085

3,713

3,481

รับรู้ กาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ (กําไร) ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู ้ในระหว่างปี

(8,624)

1,271

(11,295)

242

(กําไร) ขาดทุนสะสมจากการประมาณการตาม หลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู ้

1,256

9,880

(8,291)

3,004

เมื่ อวันที่ 13 ธันวาคม 2561 สภานิ ติบัญญัติแห่ งชาติ ได้พิจารณาปรับปรุ งร่ างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานให้ นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยให้ลูกจ้างที่ถูกเลิ กจ้างเพิ่มเติม หากลูกจ้างทํางานติดต่อกันครบ 20 ปี ขึ้นไป ลูกจ้างมีสิทธิ ได้รับค่าชดเชยไม่ น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุ ดท้าย 400 วัน กลุ่ มบริ ษัทจะแก้ไขโครงการผลประโยชน์เมื่ อเกษียณแก่ พนักงานในงวดที่ ร่างปรับปรุ งดังกล่ าวถื อเป็ นกฎหมายและประกาศในราชกิ จจานุ เบกษา จากการแก้ไขโครงการ ดังกล่าวจะทําให้กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ประมาณการหนี้ สินสําหรับผลประโยชน์เมื่ อเกษียณอายุในงวดที่มีการแก้ไขและ รับรู ้ตน้ ทุนบริ การในอดี ตในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเพิ่มขึ้นโดยประมาณจํานวน 22.45 ล้านบาท และ 3.53 ล้านบาท ตามลําดับ โครงการผลประโยชน์ ทกี่ ําหนดไว้ กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั จัดการโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ตามข้อกําหนดของพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิ ทธิ และอายุงาน โครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ของกลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ได้แก่ ความเสี่ ยงของช่วงชีวิต ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ ยงจากอัตราการเพิ่มขึ้นเงินเดือน และความเสี่ ยง จากอัตราการหมุนเวียนของพนักงาน

160


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ มีรายละเอียดดังนี้

หมายเหตุ ณ วันที่ 1 มกราคม ได้มาจากการรวมธุรกิจ

งบการเงินรวม 2561 2560 71,959

4

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 59,957 19,824 16,101

61,257

-

-

-

รับรู้ ในกําไรขาดทุน ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน

11,636 2,024

10,383 1,702

3,204 509

3,062 419

รับรู้ ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ (กําไร) ขาดทุนจากการประมาณ การตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย

(8,624)

1,271

(11,295)

242

อืน่ ๆ ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

(38,109) 100,143

(1,354) 71,959

12,242

19,824

กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น เกิดขึ้นจาก งบการเงินรวม 2561 2560 ข้อสมมติดา้ นประชากรศาสตร์ ข้อสมมติทางการเงิน การปรับปรุ งจากประสบการณ์ รวม

(5,397) 1,797 (5,024) (8,624)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 1,271 (5,104) 242 245 (6,436) 1,271 (11,295) 242

161


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ข้ อสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วง นํ้าหนัก) ได้แก่ งบการเงินรวม 2561 2560 อัตราคิดลด (ร้ อยละ) 2.40 - 2.76 อายุครบเกษียณ (ปี ) 55 การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (ร้ อยละ) 5.00

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

2.57 - 3.01 55 5.00

2.40 55 5.00

2.60 55 5.00

ข้อสมมติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ ทวั่ ไปและตารางมรณะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ระยะเวลาถัวเฉลี่ ยถ่ วงนํ้าหนั กของภาระผูกพันผลประโยชน์ ที่ กาํ หนดไว้เป็ น 5.02 ถึ ง 7.78 ปี (2560: 8.39 ถึง 12.92 ปี ) การวิเคราะห์ ความอ่ อนไหว การเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อสมมติที่เกี่ยวข้องในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่อาจเป็ นไปได้ อย่างสมเหตุส มผล ณ วัน ที่ รายงาน โดยถื อ ว่าข้อสมมติ อื่น ๆ คงที่ จะมี ผ ลกระทบต่ อภาระผูกพัน ของโครงการ ผลประโยชน์เป็ นจํานวนเงินดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม เพิม่ ขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1) อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1)

162

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิม่ ขึ้น ลดลง (พันบาท)

(7,466)

8,745

(814)

935

8,098

(7,028)

851

(755)

(8,039)

6,398

(886)

644


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม เพิม่ ขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1) อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1)

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิม่ ขึ้น ลดลง (พันบาท)

(6,946)

8,118

(1,319)

1,490

8,993

(7,748)

1,320

(1,521)

(7,464)

5,058

(1,238)

108

แม้ว่าการวิเคราะห์ น้ ี ไม่ ได้ค าํ นึ งการกระจายตัว แบบเต็ม รู ป แบบของกระแสเงิน สดที่ ค าดหวังภายใต้โครงการ ดังกล่าว แต่ได้แสดงประมาณการความอ่อนไหวของข้อสมมติต่างๆ 19

ทุนเรือนหุ้น งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 มูลค่าหุน้ ต่อหุน้ (บาท)

จํานวนหุน้

จํานวนเงิน จํานวนหุน้ (พันหุ้น/พันบาท)

จํานวนเงิน

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

1

1,525,000

1,525,000

1,545,000

1,545,000

1

1,525,000

1,525,000

1,545,000

1,545,000

ทุนที่ออกและชําระแล้ ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

1

1,525,000

1,525,000

1,545,000

1,545,000

1

1,525,000

1,525,000

1,545,000

1,545,000

163


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 20

หุ้นทุนซือ้ คืน เมื่ อวันที่ 21 กรกฎาคม 2561 กําหนดระยะเวลาการจําหน่ ายหุ ้นทุนที่ ซ้ื อคื นตามโครงการซื้ อหุ้นคื นเพื่อบริ หาร สภาพคล่องส่ วนเกิ นดังกล่าวได้สิ้นสุ ดลงแล้ว โดยบริ ษทั ยังไม่ได้จาํ หน่ ายหุ ้นทุนที่ซ้ื อคืนจํานวนดังกล่าว ต่อมา เมื่ อวันที่ 10 สิ งหาคม 2561 ที่ ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษ ัทจึ งได้มีม ติ อนุ ม ัติให้ลดทุ นชําระแล้วของบริ ษัท จํานวน 20.0 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนที่ออกและชําระแล้วลดลงจาก 1,545.0 ล้านบาท เป็ น 1,525.0 ล้านบาท โดย วิธีตดั หุน้ ทุนจดทะเบียนที่ซ้ื อคืนและยังไม่ได้จาํ หน่ายตามโครงการซื้ อหุน้ ทุนคืนเพือ่ บริ หารสภาพคล่องจํานวน 20 ล้านหุ ้น มู ลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยบริ ษทั ได้จดทะเบียนลดทุ นจดทะเบี ยนและทุนชําระแล้วดังกล่ าวกับ กระทรวงพาณิ ชย์แล้วเมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม 2561

21

ส่ วนเกินทุนและสํ ารอง ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้นสามัญ ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริ ษทั เสนอขายหุน้ สู งกว่า มูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนําค่าหุน้ ส่วนเกินนี้ต้งั เป็ นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ นี้จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ ส่ วนเกินทุนจากการจัดโครงสร้ างธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน ส่ วนเกินทุนจากการจัดโครงสร้างธุ รกิจภายใต้การควบคุมเดี ยวกันที่บนั ทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นคือ ผลต่างระหว่าง มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์สุทธิของบริ ษทั ย่อย ณ วันแลกหุน้ กับมูลค่าหุน้ สามัญของบริ ษทั ที่ออกเพื่อการแลกหุน้ ทุนสํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญ ญัติแ ห่ งพระราชบัญ ญัติ บ ริ ษ ัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริ ษัท จะต้อ งจัดสรรทุ น สํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ ประจําปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี ) จนกว่า สํารองดังกล่าวมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ บริ ษัทได้จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมายสําหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 เป็ นจํานวนเงิน 17.47 ล้านบาท (2560: 27.30 ล้ านบาท)

164


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 สํารองเพือ่ ซื้อหุ้นทุนซื้อคืน สํารองเพื่อซื้ อหุน้ ทุนซื้ อคืนคือจํานวนเงินที่จดั สรรจากกําไรสะสมในจํานวนที่เท่ากับต้นทุนของหุ ้นบริ ษทั ที่ถือโดย กลุ่มบริ ษทั สํารองเพือ่ ซื้ อหุน้ ทุนซื้ อคืนนี้จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ 22

ส่ วนงานดําเนินงาน กลุ่มบริ ษทั มี 2 ส่ วนงานที่รายงาน ดังรายละเอียดข้างล่าง ซึ่ งเป็ นหน่วยงานธุรกิจที่สาํ คัญของกลุ่มบริ ษทั หน่วยงาน ธุ รกิ จที่สําคัญนี้ ผลิ ตสิ นค้าที่แตกต่างกัน และมีการบริ หารจัดการแยกต่างหาก เนื่ องจากใช้เทคโนโลยีและกลยุทธ์ ทางการตลาดที่แตกต่างกัน ผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนินงานสอบทานรายงานการจัดการภายในของ แต่ละหน่ วยงานธุ รกิจ ที่สําคัญอย่างน้อยทุกไตรมาส การดําเนิ นงานของแต่ละส่ วนงานที่รายงานของกลุ่มบริ ษทั โดยสรุ ปมีดงั นี้ ส่ วนงาน 1 เอเชีย ส่ วนงาน 2 ยุโรป ข้อมูลผลการดําเนินงานของแต่ละส่ วนงานที่รายงานได้รวมอยูด่ งั ข้างล่างนี้ ผลการดําเนินงานวัดโดยใช้กาํ ไรก่อน ภาษีเงินได้ของส่ วนงาน ซึ่ งนําเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้าน การดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั ผูบ้ ริ หารเชื่อว่าการใช้กาํ ไรก่อนภาษีเงินได้ในการวัดผลการดําเนินงานนั้นเป็ นข้อมูล ที่ เ หมาะสมในการประเมิ น ผลการดําเนิ น งานของส่ ว นงานและสอดคล้อ งกับ กิ จ การอื่ น ที่ ด ํา เนิ น ธุ ร กิ จ ใน อุตสาหกรรมเดียวกัน

165


166 1,186,460

1,164,609 2561 8,687,570 2,318,787

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

สิ นทรัพย์ส่วนงาน หนี้สินส่ วนงาน

8,908,363 2,663,212

2560

3,916,714 290,939 4,207,653

4,340,647 368,587 4,709,234

รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน รวมรายได้ กําไร (ขาดทุน) ตามส่ วนงาน ก่อนหักภาษีเงินได้

2560

2561

เอเชีย

สําหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม

ข้ อมูลเกีย่ วกับส่ วนงานที่รายงาน

บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

78

1,638,188 996,850

2561

(188,105)

1,225,497 1,225,497

2561

ยุโรป

-

2561

(630,169)

(พันบาท) (354,877) (354,877)

2561

(พันบาท) 1,965 (4,738,752) (2,768,123) ( )

2560

2560

(3,366,322) (2,216,771) ( )

2560

(535,835)

(280,185) (280,185)

2560

งบการเงินรวม ตัดรายการระหว่างกันและ จํานวนที่ไม่ ได้ ปันส่ วน

5,587,006 547,514

2561

346,335

5,566,144 13,710 5,579,854

2561

รวม

5,544,006 446,441

2560

650,625

3,916,714 10,754 3,927,468

2560


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ข้ อมูลเกีย่ วกับส่ วนงานภูมศิ าสตร์ ในการนําเสนอการจําแนกส่ วนงานภูมิศาสตร์ รายได้ตามส่ วนงานแยกตามเขตภูมิศาสตร์ ได้กาํ หนดจากสถานที่ต้ งั ของลูกค้า งบการเงินรวม รายได้จากการขาย สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 2560 (พันบาท) 4,278,201 3,860,199 1,237,764 5,391 63,889 61,878 5,579,854 3,927,468

เอเชีย ยุโรป อื่นๆ รวม สิ นทรัพย์ตามส่ วนงานแยกตามสถานที่ต้ งั ทางภูมิศาสตร์ของสิ นทรัพย์

เอเชีย ยุโรป รวม

งบการเงินรวม อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ตามส่ วนงาน และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2561 2560 2561 2560 (พันบาท) 4,332,932 5,542,041 2,230,142 2,393,258 1,254,074 1,965 784,668 5,587,006 5,544,006 3,014,810 2,393,258

ลูกค้ารายใหญ่ กลุ่มบริ ษทั มีลูกค้ารายใหญ่ 4 ราย สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (2560: ลูกค้ ารายใหญ่ 5 ราย) รายได้จาก ลูกค้ารายใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกัน มีจาํ นวนเงินประมาณ 2,693.45 ล้านบาท (2560: 2,686.07 ล้ านบาท) จากรายได้รวมของกลุ่มบริ ษทั

167


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 23

ต้ นทุนในการจัดจําหน่ าย งบการเงินรวม 2561 2560 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย อื่นๆ รวม

24

50,690 12,966 7,075 5,189 8,438 84,358

(พันบาท) 12,784 17,056 5,373 5,092 4,345 44,650

-

-

ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร งบการเงินรวม 2561

168

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสู ญ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าซ่อมแซมและบํารุ งรักษา ค่าสาธารณูปโภค ค่าเช่า อื่นๆ

256,997 143,079 45,831 44,708 20,573 16,443 13,510 9,316 34,677

รวม

585,134

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561

(พันบาท) 648 220,572 41,211 13,417 8,630 5,474 35,507 2 2,869 9,811 4,291 11,273 29 3,116 33 22,898 7,370 130,443

256,708

2560 14,742 2,325 6 7,315 24,388


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 25

ค่ าใช้ จ่ายผลประโยชน์ ของพนักงาน

หมายเหตุ ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง โบนัส โครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ อื่นๆ 5 พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง โบนัส โครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

47,989 3,461 771 494 52,715

39,170 4,278 2,995 351 46,794

30,385 1,783 243 106 32,517

31,360 3,107 2,628 99 37,194

904,857 55,526 12,889 245,064 1,218,336 1,271,051

480,530 43,408 9,090 100,090 633,118 679,912

46,843 7,138 3,470 13,181 70,632 103,149

24,777 4,877 853 10,821 41,328 78,522

โครงการผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้ รายละเอียดของโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18

169


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 26

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะได้เปิ ดเผยตามข้อกําหนดใน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับต่างๆ ดังนี้

หมายเหตุ การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสําเร็จรู ป สิ นค้ากึ่งสําเร็จรู ปและสินค้า ระหว่างผลิต วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองโรงงาน ใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าเครื่ องมือและอุปกรณ์ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสู ญ ค่าสาธารณูปโภค ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุ ทธิ ค่าซ่อมแซมและบํารุ งรักษา ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ (กลับรายการ) ผลขาดทุนจากการ ปรับลดมูลค่าสิ นค้า อื่นๆ รวม

170

25

9

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

(60,249)

58,057

-

-

2,305,822 1,271,051 523,562 330,811 256,997 254,870 67,446 52,810 48,818

1,595,765 679,912 470,246 165,901 648 133,522 1,323 14,967 11,012

103,149 1,940 37 220,572 754 68,397 352 8,340

78,522 1,398 11 688 3 366 4,323

1,775 298,872 5,352,585

(3,865) 206,238 3,333,726

49,123 452,664

30,492 115,803


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 27

(รายได้ ) ค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ทรี่ ั บรู้ ในกําไรหรือขาดทุน

หมายเหตุ

ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั สําหรับงวดปัจจุบนั ภาษีปีก่อนๆ ที่บนั ทึกตํ่าไป (สู งไป)

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชัว่ คราว รวม

15

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

8,825 321 9,146

11,226 15 11,241

(39) (39)

5,966 15 5,981

(3,606) 5,540

(2,067) 9,174

(669) (708)

(695) 5,286

ภาษีเงินได้ทรี่ ั บรู้ ในกําไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น งบการเงินรวม 2561 2560 ก่อน ค่าใช้จ่าย สุ ทธิ จาก ก่อน รายได้ สุ ทธิ จาก ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ (พันบาท) (กําไร) ขาดทุนจากการวัด มูลค่าใหม่ของผลประโยชน์ พนักงานที่กาํ หนดไว้ รวม

(8,624) (8,624)

1,725 1,725

(6,899) (6,899)

1,271 1,271

(254) (254)

1,017 1,017

171


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 ก่อน ค่าใช้จ่าย สุ ทธิ จาก ก่อน รายได้ สุ ทธิ จาก ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ (พันบาท) (กําไร) ขาดทุนจากการวัด มูลค่าใหม่ของผลประโยชน์ พนักงานที่กาํ หนดไว้ รวม

(11,296) (11,296)

2,259 2,259

(9,037) (9,037)

242 242

(48) (48)

194 194

การกระทบยอดเพือ่ หาอัตราภาษีที่แท้จริง งบการเงินรวม 2561 อัตราภาษี (ร้ อยละ) กําไรก่อนภาษีเงินได้ จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ มูลค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ใช้สิทธิ ยกเว้นภาษี ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหกั ได้เพิ่ม ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี การใช้ขาดทุนทางภาษีที่เดิมไม่ได้บนั ทึก ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีปีก่อนๆ ที่บนั ทึกตํ่าไป รวม

172

20

1.60

2560 (พันบาท) 346,335 69,267 (131,872) (29,653) 48,289 49,189 320 5,540

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

1.41

(พันบาท) 650,625 130,125 (96,882) (25,692) 3,557 (1,949) 15 9,174


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 อัตราภาษี (ร้ อยละ) กําไรก่อนภาษีเงินได้ จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหกั ได้เพิ่ม ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีปีก่อนๆ ที่บนั ทึกตํ่าไป (สู งไป) รวม 28

20

0.20

2560

(พันบาท) 348,731 69,746 (125,957) (237) 45,413 10,366 (39) (708)

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

0.96

(พันบาท) 551,225 110,245 (106,496) (30) 1,552 15 5,286

สิ ทธิประโยชน์ จากการส่ งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนอนุมตั ิให้บริ ษทั ย่อยได้รับสิ ทธิ ประโยชน์หลายประการในฐานะผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะรวมทั้งชิ้นส่ วนโลหะ และการผลิตชิ้นส่ วนเหล็กทุบและแม่พิมพ์ ซึ่ งสรุ ปสาระสําคัญได้ดงั นี้ (ก) ได้รับ ยกเว้นการเสี ยภาษี อากรขาเข้าที่ ต ้อ งจ่ ายชําระสํา หรับเครื่ องจัก รที่ ได้รับ อนุ มัติ จากคณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุน (ข) ได้รับยกเว้นการเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในแต่ละบัตรส่ งเสริ มการลงทุน (ค) ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 สําหรับกําไรสุทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับ การส่งเสริ ม มีกาํ หนดเวลา 5 ปี นับแต่วนั ที่สิ้นสุดสิ ทธิ ประโยชน์ตามข้อ (ข) (ง)

ได้รับ ยกเว้น การเสี ยภาษี อ ากรขาเข้าที่ ต ้อ งจ่ ายชําระสํา หรั บวัต ถุ ดิ บ และวัส ดุ จ ําเป็ นที่ ต้องนําเข้ามาจาก ต่างประเทศเพือ่ ใช้ในการผลิตเพื่อจําหน่ายต่างประเทศ

(จ) ได้รับยกเว้นการเสี ยภาษีอากรขาเข้าที่ตอ้ งจ่ายชําระสําหรับผลิ ตภัณฑ์ที่นาํ เข้ามาโดยมีเงื่อนไขต้องส่ งออก กลับไป

173


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 (ฉ) ได้รับอนุญาตให้หักค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่านํ้าประปาเป็ น 2 เท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าว ตามระยะเวลาและ เงื่อนไขที่ระบุไว้ในแต่ละบัตรส่งเสริ มการส่ งเสริ มการลงทุน (ช) ได้รับ อนุ ญ าตให้หักเงิน ลงทุ นในการติ ดตั้งหรื อ ก่ อสร้างสิ่ งอํานวยความสะดวกในอัต ราร้อยละ 25 ของ เงินลงทุนดังกล่าว นอกเหนือจากการหักค่าเสื่ อมราคาตามปกติ และ (ซ) ได้รับยกเว้นไม่ ต้องนําเงิ นปั นผลจากกิ จการที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุ นซึ่ งได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิ ติ บุคคลไปรวมคํานวณเป็ นรายได้เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลตลอดระยะเวลาที่บริ ษทั ย่อยได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุน เนื่องจากเป็ นกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน บริ ษทั ย่อยจะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้อกําหนดต่างๆ ตามที่ ระบุไว้ในแต่ละบัตรส่ งเสริ มการลงทุน รายได้จากการขายสิ นค้าของบริ ษทั ย่อยจําแนกตามกิจการที่ได้รับการส่งเสริ มการลงทุน ได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

กิจการที่ได้ รับการส่ งเสริมการลงทุน ขายในประเทศ ขายต่างประเทศ

4,218,793 220,013 4,438,806 (353,744) 4,085,062

4,120,966 81,274 4,202,240 (275,743) 3,926,497

-

-

หั ก ตัดรายการระหว่างกัน รวม

978,325 517,600 1,495,925 (1,133) 1,494,792

5,413 5,413 (4,442) 971

-

-

รวมทั้งสิ้น

5,579,854

3,927,468

-

-

หั ก ตัดรายการระหว่างกัน รวม กิจการที่ไม่ได้ รับการส่ งเสริ มการลงทุน ขายในประเทศ ขายต่างประเทศ

174


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 29

กําไรต่อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กําไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานสําหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 คํานวณจากกําไรสําหรับปี ที่ เป็ น ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นสามัญของบริ ษทั และจํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้วระหว่างปี ในแต่ละปี โดยวิธีถวั เฉลี่ ย ถ่วงนํ้าหนัก แสดงการคํานวณดังนี้ งบการเงินรวม 2561

2560 2561 (พันบาท/พันหุ้น)

2560

กําไรสํ าหรับปี ที่เป็ นส่ วน ของผู้ถอื หุ้นสามัญของบริษัท

340,795

641,450

349,440

545,939

จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถวั เฉลี่ย ถ่วงนํา้ หนัก

1,525,000

1,525,000

1,525,000

1,525,000

0.22

0.42

0.23

0.36

กําไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน (บาท) 30

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินปันผล เงินปั นผลที่จ่ายในระหว่างปี 2561 และ 2560 มีรายละเอียดดังนี้

การประชุม การประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2560 การประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2560 การประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2561 การประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่อวันที่ 10 สิ งหาคม 2561 รวม

จัดสรร ในอัตราหุน้ ละ

จํานวน หุน้ สามัญ

จํานวนเงินปันผล 2561 2560 (ล้ านบาท)

0.12

1,525 ล้านหุน้

-

183.00

0.16

1,525 ล้านหุน้

-

244.00

0.17

1,525 ล้านหุน้

259.25

-

0.10

1,525 ล้านหุน้

152.50 411.75

427.00

175


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ในการประชุ มสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เมื่ อวันที่ 28 เมษายน 2560 ผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ได้มีมติอนุมัติ การจัดสรรกําไรจากเงินปั นผลที่ ได้รับจากบริ ษทั ย่อยสําหรับผลการดําเนิ นงานของปี 2559 เป็ นเงินปั นผลสําหรั บ ผูถ้ ือหุ ้นสามัญที่มีสิทธิ รับเงินปั นผลในอัตราหุ ้นละ 0.12 บาท จํานวน 1,525 ล้านหุน้ (สุ ทธิ จากหุ ้นทุนซื้ อคืนจํานวน 20 ล้านหุ ้น) เป็ นจํานวนเงินรวม 183.00 ล้านบาท เงินปั นผลดังกล่าวได้จ่ายให้กับผูถ้ ื อหุ้นของบริ ษทั แล้วเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2560 ในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่ อวันที่ 7 สิ งหาคม 2560 ที่ประชุ มมี มติอนุ มัติให้บริ ษทั พี.ซี .เอส.พรี ซิชั่น เวิ ร์ ค จํากัด (“PCW”) บริ ษ ัท พี .ซี .เอส. ได คาสติ้ ง จํากัด (“PCD”) และบริ ษัท พี .ซี .เอส. ฟอร์ จจิ้ ง จํากัด (“PCF”) จัดสรรกําไรสุ ทธิ หลังหักภาษีสําหรั บงวดหกเดื อนสิ้ นสุ ดวันที่ 30 มิ ถุนายน 2560 และกําไรสะสมที่ยงั ไม่ ได้จัดสรร ณ วันที่ 30 มิ ถุนายน 2560 เป็ นเงิ นปั นผลระหว่างกาลให้กับผูถ้ ื อหุ ้นของ PCW, PCD และ PCF ในอัตราหุ ้นละ 4.92 บาท เป็ นจํานวนเงินรวม 221.61 ล้านบาท ในอัตราหุ ้นละ 2.92 บาท เป็ นจํานวนเงินรวม 102.24 ล้านบาท และในอัตรา หุ้นละ 0.60 บาท เป็ นจํานวนเงิ นรวม 20.83 ล้านบาท ตามลําดับ และอนุ มัติให้บริ ษ ัทจัดสรรกําไรสุ ทธิ หลังหักภาษี สําหรั บงวดหกเดื อนสิ้ นสุ ดวันที่ 30 มิ ถุ นายน 2560 และเงิ นปั นผลระหว่างกาลที่ ได้รับจาก PCW, PCD และ PCF เป็ นเงิ นปั นผลระหว่างกาลให้กับ ผูถ้ ื อหุ ้ นของบริ ษ ัท ในอัตราหุ ้ นละ 0.16 บาท จํานวน 1,525 ล้านหุ ้ น (สุ ทธิ จาก หุ้นทุนซื้ อคืนจํานวน 20 ล้านหุ้น) เป็ นจํานวนเงิ นรวม 244.00 ล้านบาท โดยเงิ นปั นผลระหว่างกาลดังกล่ าวได้จ่าย ให้แก่ผถู้ ือหุน้ ของบริ ษทั แล้วเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2560 ในการประชุ มสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เมื่ อวันที่ 27 เมษายน 2561 ผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ได้มีมติอนุมัติ การจัดสรรกําไรจากเงินปั นผลที่ ได้รับจากบริ ษทั ย่อยสําหรับผลการดําเนิ นงานของปี 2560 เป็ นเงินปั นผลสําหรั บ ผูถ้ ือหุ ้นสามัญที่มีสิทธิ รับเงินปั นผลในอัตราหุ ้นละ 0.17 บาท จํานวน 1,525 ล้านหุน้ (สุ ทธิ จากหุ้นทุนซื้ อคืนจํานวน 20 ล้านหุ ้น) เป็ นจํานวนเงินรวม 259.25 ล้านบาท เงินปั นผลดังกล่าวได้จ่ายให้กับผูถ้ ื อหุ้นของบริ ษทั แล้วเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2561 ในการประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่ อวันที่ 10 สิ งหาคม 2561 ที่ ประชุ มมี มติอนุ มัติให้บริ ษทั PCW, PCD และ PCF จัดสรรกําไรสุ ทธิหลังหักภาษีสาํ หรับงวดหกเดือนสิ้ นสุ ดวันที่ 30 มิถุนายน 2561 และกําไรสะสมที่ยงั ไม่ได้จดั สรร ณ วันที่ 30 มิ ถุนายน 2561 เป็ นเงิ นปั นผลระหว่างกาลให้กับผูถ้ ื อหุ ้นของ PCW, PCD และ PCF ในอัตราหุ ้นละ 6.44 บาท เป็ นจํานวนเงินรวม 289.59 ล้านบาท ในอัตราหุ ้นละ 3.78 บาท เป็ นจํานวนเงินรวม 132.34 ล้านบาท และในอัตรา หุ้นละ 0.32 บาท เป็ นจํานวนเงิ นรวม 11.36 ล้านบาท ตามลําดับ และอนุ มัติให้บริ ษ ัทจัดสรรกําไรสุ ทธิ หลังหักภาษี สําหรั บงวดหกเดื อนสิ้ นสุ ดวันที่ 30 มิ ถุ นายน 2561 และเงิ นปั นผลระหว่างกาลที่ ได้รับ จาก PCW, PCD และ PCF เป็ นเงิ นปั นผลระหว่างกาลให้กับผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ัท ในอัตราหุ ้ นละ 0.10 บาท จํานวน 1,525 ล้านหุ ้น เป็ นจํานวน เงิ นรวม 152.50 ล้านบาท โดยเงิ น ปั น ผลระหว่ างกาลดั งกล่ าวได้จ่ า ยให้ แ ก่ ผู ้ถื อหุ ้ น ของบริ ษัท แล้ ว เมื่ อวัน ที่ 7 กันยายน 2561

176


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 31

เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้ านการเงิน กลุ่ ม บริ ษัท มี ค วามเสี่ ยงจากการดํา เนิ น ธุ รกิ จ ตามปกติ จ ากการเปลี่ ย นแปลงอัต ราดอกเบี้ ย ในตลาดและอัต รา แลกเปลี่ ยนเงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิ บตั ิ ตามข้อกําหนดตามสัญ ญาของคู่สัญญา กลุ่ ม บริ ษทั ไม่ มี การถือหรื อออกตราสารอนุพนั ธ์เพื่อการเก็งกําไรหรื อการค้า การจัดการความเสี่ ยงเป็ นส่ วนที่สาํ คัญของธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั กลุ่มบริ ษทั มีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุล ของระดับความเสี่ ยงให้เป็ นที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ ยงและต้นทุนของการจัดการ ความเสี่ ยง ฝ่ ายบริ หารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ ยงของกลุ่มบริ ษทั อย่างต่อเนื่องเพื่อให้มนั่ ใจ ว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ ยงและการควบคุมความเสี่ ยง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั คือการรักษาระดับเงินทุนให้มนั่ คงเพื่อรักษาความเชื่ อมัน่ ของนักลงทุน เจ้าหนี้ และตลาดและก่อให้เกิ ดการพัฒ นาของธุ รกิ จในอนาคต คณะกรรมการได้มีการกํากับดูแลผลตอบแทนจากการ ลงทุน ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั พิจารณาจากสัดส่ วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดําเนิ นงานต่อส่ วนของเจ้าของรวม ซึ่ งไม่ รวมส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม อีกทั้งยังกํากับดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ สามัญ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบีย้ ความเสี่ ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยใน ตลาด ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการดําเนิ นงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริ ษทั ผูบ้ ริ หารเชื่อว่ากลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยง ในอัตราดอกเบี้ยน้อย เนื่องจากเงินให้กูย้ มื ของกลุ่มบริ ษทั ส่วนใหญ่มีอตั ราดอกเบี้ยคงที่

177


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ งของสิ นทรัพย์ทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 และระยะเวลาที่ถึงกําหนด ชําระ มีดงั นี้ งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้ อยละต่ อปี ) ปี 2561 ส่ วนที่หมุนเวียน เงินให้กูย้ มื ระยะสั้น รวม ส่ วนที่ไม่หมุนเวียน เงินให้กูย้ มื ระยะยาว รวม ปี 2560 ส่ วนที่หมุนเวียน เงินลงทุนชัว่ คราว รวม

ภายใน 1 ปี

ภายใน 10 ปี (พันบาท)

รวม

2.00

18,381 18,381

-

18,381 18,381

2.00

-

220,572 220,572

220,572 220,572

1.55

300,000 300,000

-

300,000 300,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้ อยละต่ อปี ) ปี 2561 ส่ วนที่หมุนเวียน เงินให้กูย้ มื ระยะสั้น รวม

178

1.09 - 2.00

ภายใน 1 ปี

1,732,000 1,732,000

ภายใน 10 ปี (พันบาท)

-

รวม

1,732,000 1,732,000


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้ อยละต่ อปี ) ส่ วนที่ไม่หมุนเวียน เงินให้กูย้ มื ระยะยาว รวม ปี 2560 ส่ วนที่หมุนเวียน เงินลงทุนชัว่ คราว เงินให้กูย้ มื ระยะสั้น รวม

ภายใน 1 ปี

ภายใน 10 ปี (พันบาท)

รวม

2.00

-

1,022,693 1,022,693

1,022,693 1,022,693

1.55 1.12

300,000 2,033,983 2,333,983

-

300,000 2,033,983 2,333,983

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ งของหนี้ สินทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 และระยะเวลาที่ถึงกําหนดชําระ มีดงั นี้

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้ อยละต่ อปี ) ปี 2561 ส่ วนที่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี รวม ส่ วนที่ไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

งบการเงินรวม ภายหลัง 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี (พันบาท)

รวม

4.20 - 4.64

2,429 2,429

-

2,429 2,429

4.20 - 4.64

-

4,267 4,267

4,267 4,267

179


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้ อยละต่ อปี ) ปี 2560 ส่ วนที่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี รวม ส่ วนที่ไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

ส่ วนที่ไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

180

รวม

4.64

268 268

-

268 268

4.64

-

856 856

856 856

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้ อยละต่ อปี ) ปี 2561 ส่ วนที่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี รวม

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายหลัง 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายหลัง 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี (พันบาท)

รวม

4.23 - 4.64

869 869

-

869 869

4.23 - 4.64

-

2,069 2,069

2,069 2,069


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่ งเกิดจากเงินให้กูย้ ืม การซื้ อสิ นค้าและการขาย สิ นค้าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีความเสี่ ยงจาก เงินตราต่างประเทศที่เป็ นสาระสําคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 บริ ษทั ย่อยบางแห่ งมีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอัน เป็ นผลมาจากการมีสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศดังนี้ งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริ กา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มี ความเสี่ ยง สกุลเงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้กูย้ มื ระยะยาว เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มี ความเสี่ยง สกุลเงินเยน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มี ความเสี่ ยง

82,511 33,512 (3,768) (4,624)

15,752 8,767 (3,847) (324)

-

-

107,631

20,348

-

-

60,799 84,980 6,195 220,572 (67,548) (52,454)

1,973 (1,423) (633)

335 19,587 1,022,693 -

-

252,544

(83)

1,042,615

-

(9,887) (274)

(12,345) (558)

-

-

(10,161)

(12,903)

-

-

181


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

สกุลเงินเรนมินบิ ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มี ความเสี่ ยง สกุลเงินฟรังก์ สวิส เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มี ความเสี่ ยง สกุลเงินโฟรินต์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มี ความเสี่ยง

410 (683)

-

-

-

(273)

-

-

-

-

(220) (596)

-

-

-

(816)

-

-

116 (108) (2,326)

-

-

-

(2,318)

-

-

-

ความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อ ความเสี่ ยงทางด้านสิ นเชื่ อ คือ ความเสี่ ยงที่ ลูกค้าหรื อคู่สัญญาไม่ สามารถชําระหนี้ แก่ กลุ่ มบริ ษทั ตามเงื่อนไขที่ ตกลงไว้เมื่อครบกําหนด ฝ่ ายบริ หารได้กาํ หนดนโยบายทางด้านสิ นเชื่ อเพื่อควบคุมความเสี่ ยงทางด้านสิ นเชื่ อดังกล่าวอย่างสมํ่าเสมอ โดย การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสิ นเชื่อ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ ยงจากสิ นเชื่ อ ที่เป็ นสาระสําคัญเพิ่มเติ ม ความเสี่ ยงสู งสุ ดทางด้านสิ นเชื่ อแสดงไว้ในราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ทางการเงิน แต่ละรายการในงบแสดงฐานะการเงิน อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริ ษทั มีฐานลูกค้าจํานวนมาก ฝ่ ายบริ หารไม่ได้ คาดว่า จะเกิ ด ผลเสี ยหายที่ มี ส าระสําคัญ จากการเก็บ หนี้ ไ ม่ ไ ด้ ทั้งนี้ บริ ษ ัทมี ความเสี่ ยงจากสิ น เชื่ อเงิ น ให้กู้ยืม ระยะยาวแก่กิจการอื่น ซึ่งผูบ้ ริ หารได้ต้ งั ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในเรื่ องดังกล่าวแล้ว

182


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง กลุ่มบริ ษทั มี การควบคุมความเสี่ ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดให้เพียงพอต่อการดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั และเพื่อทําให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสด ลดลง มูลค่ าตามบัญชีและมูลค่ ายุติธรรม ตารางดังต่อไปนี้ แสดงมูลค่าตามบัญชี และมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี้ สินทางการเงินรวมถึ ง ลําดับ ชั้น มู ลค่ายุติธ รรม แต่ไ ม่ รวมถึ งการแสดงข้อมู ลมู ลค่ ายุติ ธรรมสําหรั บสิ นทรัพ ย์ทางการเงิ นและหนี้ สิ น ทางการเงินที่ไม่ได้วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหากมูลค่าตามบัญชีใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรมอย่างสมเหตุสมผล งบการเงินรวม มูลค่า ตามบัญชี

มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3 (พันบาท)

ระดับ 1

รวม

31 ธันวาคม 2561 สิ นทรั พย์ ทางการเงินที่ไม่ ได้ วัดมูลค่ า ด้ วยมูลค่ ายุติธรรม เงินให้กูย้ มื ระยะยาว

220,572

-

148,426

-

148,426

หนี้สินทางการเงินที่ไม่ ได้ วัดมูลค่ าด้ วย มูลค่ ายุติธรรม หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

6,696

-

6,708

-

6,708

31 ธันวาคม 2560 หนี้สินทางการเงินที่ไม่ ได้ วัดมูลค่ าด้ วย มูลค่ ายุติธรรม หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

1,124

-

1,132

-

1,132

183


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่า ตามบัญชี

มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3 (พันบาท)

ระดับ 1 31 ธันวาคม 2561 สิ นทรั พย์ ทางการเงินที่ไม่ ได้ วัดมูลค่ า ด้ วยมูลค่ ายุติธรรม เงินให้กูย้ มื ระยะยาว

1,022,693

-

687,198

-

687,198

หนี้สินทางการเงินที่ไม่ ได้ วัดมูลค่ าด้ วย มูลค่ ายุติธรรม หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

2,938

-

2,946

-

2,946

31 ธันวาคม 2560 สิ นทรั พย์ ทางการเงินที่ไม่ ได้ วัดมูลค่ า ด้ วยมูลค่ ายุติธรรม หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

1,124

-

1,132

-

1,132

ประเภท เงินให้กูย้ มื ระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

184

รวม

เทคนิคการประเมินมูลค่ า วิธีคิดลดกระแสเงินสด การคิดลดกระแสเงินสด วิธีน้ ีจะประเมินมูลค่าโดยพิจารณาการจ่ายชําระ ที่ ค าดการณ์ ไ ว้คิ ด ลดเป็ นมู ล ค่ าปั จ จุ บัน โดยใช้ อัต ราคิ ด ลดที่ ป รั บ ค่ า ความเสี่ ยง การจ่ายชําระที่คาดการณ์ ไว้ถู กกําหนดด้วยการพิจารณาถึ ง สถานการณ์ที่เป็ นไปได้ จํานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในแต่ละสถานการณ์ และ ความเป็ นไปได้ของแต่ละสถานการณ์


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 32

ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่ เกีย่ วข้องกัน ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน งบการเงินรวม 2561 2560 สั ญญาที่ยงั ไม่ รับรู้ ซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์ รวม

147,749 147,749

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

3,987 3,987

-

-

จํานวนเงินขัน้ ตํา่ ที่ต้องจ่ ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้ สัญญาเช่ าดําเนินงานที่บอกเลิกไม่ ได้ งบการเงินรวม 2561 2560 ภายในระยะเวลาหนึ่งปี ภายหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี ภายหลังจากห้าปี รวม

10,565 13,767 664 24,996

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท) 2,004 1,760 1,575 1,261 1,432 1,261 3,265 3,192 2,836

กลุ่มบริ ษทั ได้ทาํ สัญญาเช่าหลายฉบับ ซึ่ งครอบคลุมการเช่าที่พกั พนักงานและยานพาหนะเป็ นระยะเวลา 1 ถึง 9 ปี ซึ่ งจะสิ้ นสุ ดในระหว่างปี 2562 ถึงปี 2568

185


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 เลตเตอร์ ออฟเครดิต บริ ษทั ย่อยบางแห่งมีเลตเตอร์ออฟเครดิตสําหรับซื้ อวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ยงั ไม่ได้ใช้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินเยน รวม 33

13,182 198 13,380

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560 (พันบาท) 2,762 5,544 8,306

2561

2560 -

-

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั มีมติเห็นชอบให้ 33.1 เสนอที่ ประชุ มสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ ้นเพื่ออนุมัติการจ่ายเงินปั นผล ในอัตราหุ้น ละ 0.10 บาท ให้กับ ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ที่มีรายชื่อในสมุดทะเบียนผูถ้ ือหุน้ ณ วันที่ 22 เมษายน 2562 33.2 บริ ษัท รั บ โอนกิ จ การ (Entire business transfer) และบัต รส่ งเสริ มการลงทุ น ทั้งหมดของบริ ษ ัทย่อยใน ประเทศไทยทั้ง 3 แห่ง (บริ ษทั พี.ซี .เอส. พรี ซิชนั่ เวิร์ค จํากัด บริ ษทั พี.ซี .เอส. ได คาสติ้ง จํากัด และบริ ษทั พี.ซี.เอส. ฟอร์จจิ้ง จํากัด) มาดําเนินธุรกิจภายใต้การบริ หารจัดการของบริ ษทั

186


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 34

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงั ไม่ได้ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ที่เกี่ ยวกับการดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั ซึ่ งคาดว่าจะมี ผลกระทบที่มีสาระสําคัญต่องบการเงินรวมหรื องบการเงินเฉพาะกิจการ เมื่อนํามาถือปฏิบตั ิเป็ นครั้งแรก มาตรฐาน การรายงานทางการเงินดังกล่าวกําหนดให้ถือปฏิบตั ิกบั งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม ในปี ดังต่อไปนี้

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 7* มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 9* มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32* การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16* การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 19*

เรื่อง การเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับเครื่ องมือทางการเงิน เครื่ องมือทางการเงิน รายได้จากสัญญาที่ทาํ กับลูกค้า การแสดงรายการสําหรับเครื่ องมือทางการเงิน การป้ องกันความเสี่ ยงของเงินลงทุนสุ ทธิ ใน หน่วยงานต่างประเทศ การชําระหนี้สินทางการเงินด้วยตราสารทุน

มีผล บังคับใช้ 2563 2563 2562 2563 2563 2563

* มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้ องกับเครื่ องมือทางการเงิน กลุ่มบริ ษทั ไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวในการจัดทํางบการเงินก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้ จากสัญญาที่ทํากับลูกค้ า การขายสิ นค้ าและการให้ บริ การ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 ให้หลักการโดยรวมในการรับรู ้รายได้ ทั้งจํานวนเงินและช่วงเวลาที่ รับรู ้ โดยรายได้จะรับรู ้เมื่ อ (หรื อ ณ วันที่) กิจการส่ งมอบการควบคุมสิ นค้าหรื อบริ การให้แก่ลูกค้าด้วยมูลค่า ของรายได้ที่กิจการคาดว่าจะได้รับ

187


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 การขายสิ นค้ า รายได้จากการขายสิ นค้า ปัจจุบนั รับรู ้รายได้เมื่อโอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าที่มี นัยสําคัญไปให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว ภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 รายได้จะรับรู ้เมื่อลูกค้ามีอาํ นาจ ควบคุมสิ นค้า สําหรับการขายตามสัญญาจ้างผลิ ตสิ นค้าที่มีลกั ษณะสิ นค้าเฉพาะเจาะจง ลูกค้าเป็ นผูค้ วบคุ ม สิ นค้าระหว่างผลิตทั้งหมดตั้งแต่สินค้าเข้าสู่ กระบวนการผลิต ในกรณี ดงั กล่าวรายได้จะรับรู ้ตามกระบวนการ ผลิ ต ส่ งผลให้รายได้และต้นทุนที่เกี่ ยวข้องกับสัญญาดังกล่าวมีการรับรู้ตลอดช่วงเวลา จึงเป็ นการรับรู ้รายได้ ก่อนส่ งมอบสิ นค้าไปยังสถานที่ของลูกค้า ผูบ้ ริ ห ารได้ป ระเมิ น ผลกระทบอัน เนื่ องจากการนํามาตรฐานรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที่ 15 มาถื อ ปฏิ บ ัติ เสร็จสิ้นแล้ว พบว่าไม่มีผลกระทบที่มีสาระสําคัญต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกีย่ วข้ องกับเครื่ องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เหล่ านี้ ให้ข ้อกําหนดเกี่ ยวกับ นิ ยามสิ น ทรั พ ย์ท างการเงิน และหนี้ สิ น ทาง การเงินตลอดจนการรับรู ้ การวัดมูลค่า การด้อยค่าและการตัดรายการ รวมถึงหลักการบัญชี ของอนุ พนั ธ์และ การบัญชีป้องกันความเสี่ ยง ขณะนี้ผบู ้ ริ หารกําลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องมือทางการเงินเป็ นครั้งแรกต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

188


บริษทั พี.ซี.เอส. แมชีน กรุ๊ ป โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 35

การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ได้มีก ารจัดประเภทรายการใหม่ เพื่อให้ สอดคล้องกับการนําเสนอในงบการเงินปี 2561 ดังนี้ 2560 งบการเงินรวม ก่อนจัด ประเภท รายการใหม่ งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม เงินให้กูย้ มื ระยะสั้น เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย

-

จัดประเภท รายการใหม่

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจัด ก่อนจัด หลังจัด ประเภท ประเภท จัดประเภท ประเภท รายการใหม่ รายการใหม่ รายการใหม่ รายการใหม่ (ล้านบาท)

-

2,033 1,152

1 (1) -

2,034 1,151

189


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.