เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย: นโยบายเพ้อฝันหรือศักยภาพที่ยังไม่ถูกค้นพบ

Page 1

เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย: นโยบายเพ้อฝันหรือศักยภาพที่ยังไม่ถกู ค้นพบ มัลลิกา จันต๊ะคาด จากนโยบายการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (special economic zone: SEZs) มุ่งหมายเปลี่ยน พื้นที่ชายแดนสู่พื้นที่เศรษฐกิจใหม่และเป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.กระจายความเจริ ญ สู่ ภู มิ ภ าค 2.ยกระดั บ รายได้ แ ละคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน 3.แก้ ปั ญ หาความมั่ น คง (สานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559) จังหวัดเชียงรายเป็นหนึ่งในพื้นที่เขต เศรษฐกิจพิเศษในปีพ.ศ. 2558 โดยมีพื้นที่เป้าหมาย 3 อาเภอได้แก่ อาเภอแม่สาย, อาเภอเชียงแสน และ อาเภอ เชียงของ การขับเคลื่อนการนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจมุ่งเน้นการเพิ่มมูลค่าการลงทุนจากทั้งในประเทศและ ในต่างประเทศในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษเป็นหลักผ่านสิทธิประโยชน์ของ BOI ในอดีตมีการส่งเสริมการจัดตั้งนิคม อุตสาหกรรม แต่ถูกระงับโครงการ เนื่องจากได้รับการคัดค้านจากคนในพื้นที่ จากการดาเนินโครงการที่ผ่านมา ตามสถิติของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (2562) พบว่ามูลค่าทุนจดทะเบียน และจานวนการจดทะเบียนเพิ่มขึ้นในช่วงระยะเวลาพ.ศ. 2558 - พ.ศ.2559 และมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยในปีพ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2561 มูลค่าการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายสะสมก่อนและหลังโครงการตลอดระยะเวลา 5 ปี มีนิติบุคคลจดทะเบียนทั้งสิ้น 1,362 ราย และมีมูลค่ารวม 4,412.52 ล้านบาท คิดเป็นเพียงร้อยละ 11.84 ของ มูลค่าการลงทุนทั้งหมดในจังหวัดเชียงราย โดยอาเภอแม่สายมีมูลค่าทุนจดทะเบียนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 54 อาเภอเชียงแสน คิดเป็นร้อย 32 และอาเภอเชียงของ คิดเป็นร้อยละ 14 ของมูลค่าการลงทุนทั้งหมดในพื้นที่ เขต เศรษฐกิจพิเศษ ประเภทธุรกิจที่ได้มีมูลค่าการลงทุนมากที่สุดในจังหวัดเชียงรายได้แก่ 1.ก่อสร้างทั่วไป 2.ขายส่ง สินค้าทั่วไป 3.อสังหาริมทรัพย์ ขนาดธุรกิจในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายส่วนใหญ่เป็นกิจการ SME มีขนาด เล็ก(S) คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 98.60 และประเภทธุรกิจ SME แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ขายส่ง/ปลีก มี สัดส่วนมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 51.84 2.ธุรกิจภาคบริการคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 39.72 และ 3. ธุรกิจการผลิต คิด เป็นร้อยละ 8.44 สาหรับมูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายมีมูลค่า 164.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.73 ของมูลค่าการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด นักลงทุนต่างชาติที่ให้ความสนใจ ในการลงทุนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจเชียงรายมากที่สุดได้แก่ จีน, พม่า และไต้หวัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 70.9, 6.78 และ 3.98 ตามลาดับ รูปที่ 1 มูลค่าทุนจดทะเบียนจัดตั้งในพื้นที่ SEZ เชียงราย 400

รูปที่ 2 มูลค่าทุนจดทะเบียนและจานวนนิติบุคคลจัดตั้งใน พื้นที่ SEZ เชียงรายก่อนและหลังโครงการ

350

อ.แม่สาย

300

ล้านบาท

250

อ.เชียงแสน

200 150

50

278 0

0 2558

2559

2560

2561

1,399.37

342

อ.เชียงของ

100

2,381.55

742

500

631.6 1000

ทุนจดทะเบียน (ลบ.)

1500

2000 จานวน(ราย)

2500

3000


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.