วิธีสอนแบบมอนเตสซอรี่

Page 1

นวัตกรรมด้านวิธีการสอน

วิธีการสอน แบบมอนเตสซอรี่

1


10

5

:

(

) 2543

2


1. 2. 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3. 4. 4.1 4.2 4.3 5. 5.1 5.2 6.

1 4 4 4 7 11 12 16 19 19 23 24 25 25 26 27 29

3


1

1.

.

( . 1870-1952)

.

( . 1870-1952)

4


2

วิธีการสอนเริ่ มจากการสังเกตเด็ก ศึกษา พัฒนาการของเด็ก ความต้ องการและความสนใจของ เด็ก โดยมีแนวปรัชญาที่เชื่ อมโยงทุกสิ่ง และคานึงว่า เด็กทุกคนมีความสาคัญ สิ่ งที่มอนเตสซอรี่ คน้ พบคือเด็กที่มีความอยากรู ้อยากเห็น จะแสวงหาความรู ้เกี่ยวกับสิ่ งต่างๆอยากทดลอง อยาก เรี ยนรู ้กิจกรรมใหม่ๆ ความสนใจของเด็กจะเปลี่ยนแปลง ไปตามอายุและพัฒนาการ จากการสังเกตพบว่าเด็กดา เนินวิถีชีวิตไปในรู ปแบบที่คล้ายคลึงกัน คือเริ่ มจากอยาก เรี ยนรู ้การกินด้วยตนเอง การเดิน การพูด และการสัมผัส สิ่ งของ จนกระทัง่ อยากเรี ยน อ่าน คิดเลข และเรี ยนรู ้ สิ่ งแวดล้อมรอบๆ ตัว สิ่ งที่คน้ พบทา ให้เห็นถึงขั้น พัฒนาการของเด็กที่แตกต่างกัน เด็กมีความรู ้สึกอยาก แสวงหาความรู ้จากแหล่งที่แตกต่างกันช่วงเวลานี้สาคัญ ในการที่จะติดตามสิ่ งที่เด็กสนใจเรี ยกว่า “ช่ วงเวลาหลัก ของชีวติ ”

5


3

หลักสู ตรการสอนแบบมอนเตสซอรี่ หลักสูตรการสอนแบบมอนเตสซอรี่ ดร.มาเรี ย มอนเตสซอรี่ ผูร้ ิ เริ่ มคิดและจัดตั้งวิธีการสอนแบบมอนเตสซอรี่ จากความเชื่อในการ จัดการศึกษาให้แก่เด็กในระยะเริ่ มต้นว่า จุดมุ่งหมายในการให้การศึกษา ในระยะแรกนั้น ไม่ใช่การเอาความรู ้ไปบอกให้เด็ก แต่ควรเป็ นการ ปลูกฝังให้เด็กได้เจริ ญเติบโตไปตามความต้องการตามธรรมชาติของเขา การที่จะช่วยให้เด็กได้เจริ ญเติบโตไปตามขั้นตอนของความสามารถนั้น ควรจะต้องพัฒนาการสอนให้สมั พันธ์กบั พัฒนาการความต้องการของ เด็ก ที่ตอ้ งการจะเป็ นอิสระในขอบเขตที่กาหนดไว้ให้ ตลอดจนการจัด สิ่ งแวดล้อมอย่างสมบูรณ์ และพิถีพิถนั การสอนแบบมอนเตสซอรี่ ได้มา จากการที่มอนเตสซอรี่ ได้สงั เกตเด็กในสภาพที่เป็ นจริ งของเด็ก ไม่ใช่ สภาพที่ผใู ้ หญ่ตอ้ งการให้เด็กเป็ น จากการสังเกตเด็ก จึงได้พฒั นาวิธีการ สอน การจัดเตรี ยมสิ่งแวดล้อม และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ขึ้นมาใช้ โดย เริ่ มต้นจากการทดลองที่โรงเรี ยน ที่มอนเตสซอรี่ เข้าไปรับผิดชอบ ที่ เรี ยกว่า Casa Dei Bambini หรื อ Children's House แล้ววิธีการสอนนี้จึง ได้แพร่ หลายต่อไปจนทัว่ โลกเช่นในปัจจุบนั

6


4

ปรัชญาและหลักการสอน 1.เด็กจะต้องได้รับการยอมรับนับถือ เด็กจะต้องได้รับการยอมรับนับ ถือในสภาพที่แตกต่างไปจากผูใ้ หญ่ 2.เด็กที่มีจิตซึมซับได้ มนุษย์เรานี้เป็ นผูใ้ ห้การศึกษาแก่ตนเองและ เปรี ยบจิตของเด็กเหมือนฟองน้ า ซึ่งจะซึมซับข้อมูลจากสิ่ งแวดล้อม 3.ช่วงเวลาหลักของชีวิต คือ คือช่วงเวลาที่สาคัญที่สุด สาหรับการ เรี ยนรู ้ในระยะแรกเป็ นช่วงพัฒนาสติปัญญา และเด็กสามารถเรี ยนทักษะเฉพาะอย่างได้อย่างดี 4. การเตรี ยมสิ่ งแวดล้อม มอนเตสซอรี่ เชื่อว่า เด็กเรี ยนได้ดีที่สุดใน สภาพการจัดสิ่ งแวดล้อมที่ได้ตระเตรี ยมเอาไว้อย่างมีจุดหมายการ จัดเตรี ยมสิ่ งแวดล้อมเช่นนี้เพื่อให้เด็กได้มีอิสระจากการควบคุมของ ผูใ้ หญ่ 5. การศึกษาด้วยตนเอง เด็กสามารถเรี ยนได้ดว้ ยตนเองจากการที่เด็ก มีอิสระในสิ่ งแวดล้อมที่จดั เตรี ยมไว้อย่างสมบรู ณ์

7


5

จุดมุ่งหมายของการศึกษา ช่วยพัฒนา หรื อให้เด็กมีอิสระในด้านบุคลิกภาพของเด็กใน วิถีทางต่างๆอย่างมากมาย"สิ่ งแวดล้อมของโรงเรี ยนระบบมอนเตส เซอรี่ คือ การจัดระบบเพื่อสะท้อนถึงศักยภาพที่แท้จริ ง และความ ต้องการของเด็ก เพื่อเด็กจะได้พฒั นาบุคลิกภาพของเขาลักษณะการ สอนระบบนี้ เด็กจะก้าวหน้าไปตามธรรมชาติตามพัฒนาการของเด็ก เด็กมีอิสรภาพในการเลือกจากสิ่งแวดล้อมที่มีสิ่งต่างๆ ซึ่งสนองความ พอใจ และความต้องการภายในของเขา เป็ นการจัดระบบของตนเอง เพื่อเด็กจะได้ปรับตัวเข้ากับสภาพของสังคมและสิ่ งมีชีวิตต่างๆ

8


6

หลักสู ตรของการสอน หลักสู ตรนี้คือการจัดการเรี ยนการสอนที่มีแนวคิด คานึงถึง ความสนใจ ความต้องการและความมุ่งมัน่ ตั้งใจในการเรี ยนรู ้ รวมทั้งแก้ไขข้อผิดพลาดด้วยตนเองของเด็ก เพื่อให้เด็กเกิดการ เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างอิสระในขอบเขตที่กาหนดไว้ให้มีการ เตรี ยมสิ่ งแวดล้อมจัดห้องเรี ยนให้เหมาะสมกับวัยของเด็กให้ เด็กซึมซับสิ่ งแวดล้อมรอบตัว จนเกิดความอยากรู ้ อยากเห็น และแสวงหาความรู ้อย่างมีสมาธิ มีวนิ ยั ในตนเองให้เด็กเกิดการ พัฒนาการทุกๆด้านไปในเวลาเดียวกัน หลักสู ตรพื้นฐานสาหรับเด็กอายุ 3 ถึง 6 ขวบ แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม ใหญ่ 1การศึกษาทางด้านทักษะกลไก (Motor Education) 2การศึกษาทางด้านประสาทสัมผัส (Education of the Senses) 3การตระเตรี ยมสาหรับการเขียนและคณิ ตศาสตร์ (Preparation for Writing and Arithmetic)

9


7

วิธีการจัดการเรียนการสอน เน้นการเรี ยนรู ้ตามลาดับขั้นไม่ตอ้ งการให้เด็กลองผิด ลองถูก สร้างสมาธิ ความมัน่ ใจ ครู สามารถวินิจฉัยและ แก้ปัญหาการเรี ยนรู ้ของเด็กได้ โดยสาธิตและฝึ กให้เด็ก เรี ยนรู ้และตัดสิ นใจด้วยตนเอง  การเตรี ยม

= ครู เตรี ยมอุปกรณ์การศึกษาเด็กสามารถ เข้าเรี ยนแบบคละอายุได้

 การดาเนินการ = ขั้นนา เด็กเลือกอุปกรณ์การศึกษา

ตามความสนใจ ,ขั้นสอน ครู สาธิตให้เด็กดู

 ขั้นสรุ ป ครู ให้เด็กเก็บอุปกรณ์ ครู บน ั ทึกความรู ้ ครู

บันทึกรายการอุปกรณ์

10


8

กิจกรรมการเรียนแบบมอนเตสซอรี 1. การศึกษาด้วยมือ ในห้องเรี ยนระบบมอนเตส ซอรี่ เด็กจะแทบไม่ได้เรี ยนจากหนังสื อ ในทุกๆ กรณี การ เรี ยนแบบลงมือทาเอง หรื อภาคปฏิบตั ิ หรื อได้จบั ต้องหรื อ สัมผัสและใช้อุปกรณ์การเรี ยนต่างๆ ด้วยตัวเอง จะทาให้เด็ก สามารถเรี ยนรู ้และเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ ง 2. กิจกรรมที่เป็ นไปโดยธรรมชาติ เป็ นเรื่ อง ธรรมชาติปกติสาหรับเด็กที่จะพูด เคลื่อนไหว จับต้องสิ่ ง ต่างๆ และค้นคว้าโลกที่อยูร่ อบๆ ตัวเขา ตามสภาพแวดล้อม แบบมอนเตสซอรี่ อย่างแท้จริ ง จะส่ งเสริ มและปล่อยให้เด็กมี อิสระเสรี อย่างมีเหตุมีผล โดยไม่เกินขีดจากัดของพฤฒิกรรม อันดีที่ควรมี โดยในเวลาส่ วนใหญ่ เด็กจะใช้ไปกับการเลือก ทากิจกรรมที่ได้รับมอบแบบตัวต่อตัว ในเรื่ องที่ตนเองสนใจ

11


9

3. การเรี ยนรู้อย่างกระตือรื อร้น ในสภาพแวดล้อมแบบมอนเตสซอรี่ เด็กไม่เพียงแต่สามารถเลือกประกอบกิจกรรมที่ครู หยิบยืน่ ให้ แต่ยงั สามารถที่จะทางานนั้นๆ ได้อย่างต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานานนับสัปดาห์ หรื อเดือน จนกระทัง่ งานนั้นๆ ดูเหมือนจะง่ายดายสาหรับเขา จนเขา สามารถสาธิตให้เด็กรุ่ นเล็กกว่าทาได้ นี่เป็ นหนึ่งในวิธีการที่ผใู ้ ห้การศึกษา ระบบมอนเตสซอรี่ ใช้ในการวัดความสามารถของเด็ก ว่าถึงระดับความ ชานาญในสิ่ งนั้นๆ 4. ประกอบกิจกรรมตามแรงจูงใจ หนึ่งในแนวความคิดแบบมอน เตสซอรี่ คือ เด็กมีความต้องการเป็ นตัวของตัวเอง เห็นว่าตนเป็ นสิ่ งมีชีวิต อันมีค่าในโลก และเพื่อเรี ยนรู ้ทกั ษะใหม่ๆ จนชานาญ ด้วยเหตุน้ ี การตอบ แทนด้วยรางวัลจะเป็ นสิ่ งที่ไม่จาเป็ น และอาจนาเด็กเหล่านี้ ไปสู่การเป็ น ผูใ้ หญ่ที่ไม่เป็ นตัวของตัวเอง และต้องขออนุญาตทุกๆ สิ่ งทุกอย่าง แม้แต่ การสานฝันของตัวเอง เลือกทาในสิ่ งที่ตนเองต้องการ เด็กๆ ในระบบมอน เตสซอรี จะสร้างระบบความคิดแบบตัวของตัวเอง และการค้นพบตัวเอง โดยใช้ความคิดของตนในการตัดสิ นว่าสิ่ งใดถูกหรื อผิด

12


10

5. อิสรเสรี ภาพแบบมีขีดจากัด แม้เด็กๆ ใน ระบบมอนเตสซอรี่ จะมีความสุ ขกับอิสรเสรี ภาพในการ เลือกสิ่ งต่างๆ แต่อิสรเสรี ภาพนั้นๆ ควรมีขอบเขตที่จากัด บ้าง โดยต้องจากัดอย่างระมัดระวังและยังอยูบ่ นพื้นฐาน ของพฤฒิกรรมของเด็ก เด็กมีอิสระที่จะทาในสิ่ งที่ดีที่ ถูกต้อง และอยูใ่ นระเบียบของสังคม แต่ควรต้องนาทาง เด็กบ้างหากออกนอกลู่นอกทางมากเกินไป 6. การเรี ยนรู ้ดว้ ยวินยั ของตัวเอง ในระบบ การเรี ยนการสอนแบบมอนเตสซอรี่ เด็กมิได้เรี ยนเพื่อให้ ได้คะแนนหรื อรางวัลใดๆ หรื อมิได้ทากิจกรรมที่ได้รับ มอบหมายเพื่อเพียงให้เสร็จสิ้ น เด็กๆ เรี ยนรู ้เพราะเกิด จากความสนใจและความต้องการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ตนเป็ น บุคคลที่มีคุณค่า และเป็ นตัวของตัวเอง

13


11

สั งคมแห่ งการเรียนรู้ด้วยระบบมอนเตสซอรี่ 7. กลุ่มคละอายุในสภาวะแวดล้ อมทีใ่ ช้ ระบบมอนเตสซอรี จะมีการรวบรวมกลุ่มของเด็กทีม่ อี ายุแตกต่ างกัน หรื อหลายกลุ่ม อายุ รวมเป็ นหนึ่งครอบครัว เด็กจะอยู่ด้วยกันเป็ นเวลาหลายปี โดย เด็กทีพ่ ฒ ั นาเต็มทีจ่ ะเปลีย่ นไปอยู่ในกลุ่มอายุอกี กลุ่มหนึ่งเมื่อเห็นว่ า มีความพร้ อม 8. การจัดกลุ่มแบบครอบครัว สภาวะ แห่ งการเรียนแบบนี้ ประกอบด้ วยเด็กและผู้ใหญ่ เมื่อเด็กเติบโตมากขึน้ และมี ความสามารถมากขึน้ เด็กจะเกิดความรับผิดชอบในการช่ วยเหลือ และดูแลสิ่ งทีอ่ ยู่รอบๆ ตัวเด็ก และเพื่อให้ เป็ นประโยชน์ แก่ เด็กๆ ที่ เป็ นรุ่นน้ อง

14


12

9. ความร่ วมมือ มากกว่าการแข่งขัน เด็กๆ ใน ระบบมอนเตสซอรี่ จะถูกส่ งเสริ มให้ปฏิบตั ิต่อกันและกัน ด้วยความเคารพซึ่งกันและกัน การดูถูกเหยียดหยามกัน เป็ นพฤติกรรมที่มีนอ้ ยลงมากเต็มที แต่เรากลับพบว่า เด็กๆ มีความรักกันและกัน ไม่มีการแข่งขันระหว่างกัน เพื่อชัยชนะ หรื อเพื่อศักดิ์ศรี และเนื่องจากเด็กเรี ยนรู ้ดว้ ย ตัวเอง ครู จึงควรหลีกเลี่ยงการเปรี ยบเทียบกันระหว่างเด็ก คนหนึ่งกับอีกคนหนึ่ง

10. จริ ยธรรมในระบบมอนเตสซอรี่ ควรพัฒนา เด็กไปในทิศทางที่ให้เด็กมีพฤติกรรมที่ดีและเป็ น สุ ภาพชน โดยค่อยๆ ทาให้เด็กได้รับการซึ มซับสิ่ งที่ดี ทั้งนี้ รวมถึง การมีความเคารพต่อตนเอง การยอมรับผูอ้ ื่น ความมีจิตใจดี ความสงบ ความรัก ความมีจิตสานึกที่ดี มี เกียรติ มีความรับผิดชอบ และมีความกล้าแสดงออกที่จะ พูดแบบเปิ ดใจ 11. บริ การผูอ้ ื่นหรื อจิตอาสา มุมมองในด้าน จิตใจของระบบมอนเตสซอรี่ ทาให้เด็กมีจิตสานึ กในการ ช่วยเหลือบริ การ เอาใจใส่ ผคู ้ นรอบข้าง ตั้งแต่การ ช่วยเหลือเพื่อนในชั้นเรี ยน หรื อในโรงเรี ยน จนถึงใน ระดับชุมชน ที่ทาให้ท้งั เด็กและผูใ้ หญ่มีจิตสานึกในการ ให้ความช่วยเหลือผูค้ นรอบข้าง 15


13

การจัดเตรียมสภาพแวดล้อม “หลักสูตรการศึกษาแบบเก่าๆ เป็ นเรื่ องง่ายๆที่ครู เป็ นผูส้ อน และเด็กเป็ นผูฟ้ ัง และไม่สาคัญอีกต่อไปแล้วว่ากระบวนการนี้เริ่ มมา จากไหน แต่เมื่อมีสิ่งใหม่ซ่ ึงเป็ น “องค์ประกอบที่สาม” เข้ามา จึงเกิด ความสัมพันธ์ใหม่ๆหลายอย่างตามมา ตอนนี้ครู ไม่ใช่แค่มีความ เกี่ยวข้องกับเด็กนั้น ยังมีความเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมด้วย หากครู และเด็กย้ายไปยังอีกห้องเรี ยนหนึ่ง ซี่งไม่มีการ เตรี ยมพร้อม ความสัมพันธ์ในรู ปแบบใหม่น้ ีกจ็ ะหายไป และการ เรี ยนรู ้แบบซึมซับก็จะหายไปด้วย มอนเตสซอรี่ เห็นว่าสภาพแวดล้อมที่มีการเตรี ยมพร้อมเป็ น องค์ประกอบที่สาคัญในการพัฒนาเด็กให้ได้ผล เธอได้ตระหนักว่า เด็กที่มีความอ่อนเยาว์น้ นั จะได้รับอิทธิพลอย่างเต็มที่จากสิ่ งแวดล้อม รอบตัวซึ่งเด็กได้ซึมซับเอาไว้เป็ นโลกใบหนึ่งของเขา เธอเห็นว่า สภาพแวดล้อม (รวมทั้งคนที่อยูใ่ นสภาพแวดล้อมด้วย) เป็ นส่วนหนึ่ง ที่อาจเป็ นสิ่ งที่จะปิ ดกั้นการแสดงศักยภาพของเด็ก แต่ดว้ ยการจัด สภาพแวดล้อมอย่างใส่ใจและให้มีความพร้อมสาหรับความต้องการ ของเด็กก็จะสามารถหลีกเลี่ยงอุปสรรคต่างๆเหล่านี้ได้ ดังนั้นเธอจึง ให้ความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการวางรู ปแบบชั้นเรี ยนมอนเตสซอรี่

16


14

สิ่ งแวดล้อมในห้องเรี ยนแบบมอนเตสซอรี่ ได้รับ การออกแบบมาให้เข้าถึงความต้องการของเด็กทุกๆ คน ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เป็ นสิ่ งแวดล้อมซึ่ งจัดขึ้น เพื่อเด็กมากกว่าเพื่อครู และเธออยากให้เด็กรู ้สึกผ่อน คลายมากที่สุดภายใต้สิ่งแวดล้อมนี้ เธอทราบดีวา่ ระเบียบวินยั เป็ นสิ่ งที่สาคัญมาก สาหรับเด็กๆ อุปกรณ์ทุกอย่างจึงมีที่วางของตัวเอง และ เก็บรักษาอย่างเรี ยบร้อย เธอยังได้สร้างสรรค์อุปกรณ์ที่ เห็นว่าดึงดูดใจเด็กๆ และย้ายอุปกรณ์ที่เห็นว่าเด็กไม่ สนใจออกไป

17


15

การเล่น เมื่อเกิดคาถามขึ้นว่า วิธีใดเป็ นวิธีที่ดีที่สุดที่จะช่วยให้ เด็กเล็กๆเกิดจินตนาการที่สร้างสรรค์ได้ดี ระหว่างวิธีการชัก นาและปลูกฝังให้เชื่อโดยไม่ได้ลงมือปฏิบตั ิ หรื อการให้เด็กได้ อยูใ่ นโลกแห่งความเป็ นจริ ง ได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง รวมทั้งการ ตัดสิ นใจในการแก้ปัญหาจริ ง สาหรับ ดร.มอนเตสซอรี่ แล้ว เธอตอบได้โดยไม่ร้ ัง รอเลยว่า ในโลกแห่งความเป็ นจริ ง ซึ่ งสามารถจับต้อง สัมผัส รู ้สึก เคลื่อนไหว และได้รับประสบการณ์จริ งนั้น เป็ นวิธีที่ดีที่สุดที่จะช่วยพัฒนาความคิดและจินตนาการ ให้กบั เด็ก โดยการให้เด็กได้เชื่อมโยงกับสิ่ งแวดล้อมที่มีการ จัดเตรี ยมก็จะทาให้เด็กสามารถสร้างจินตนาการที่ถูกต้อง ขึ้นได้จากการสังเกตเห็นได้โดยธรรมชาติภายใต้ สิ่ งแวดล้อมนั้น แต่กอ็ าจมีผทู ้ ี่ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ และ คัดค้านว่า สิ่ งเหล่านี้ขดั แย้งกับธรรมชาติของเด็ก โดยอ้างว่า วิธีการของมอนเตสซอรี่ น้ นั ได้มาจากการสังเกตเด็ก และทุก คนก็คงทราบดีวา่ หากเด็กถูกปล่อยไว้ตามลาพังเด็กก็เลือกที่ จะหลีกหนีจากโลกแห่งความเป็ นจริ ง ไปสู่ โลกแห่งการเล่น และจินตนาการ ใช่หรื อไม่ 18


16

จากโลกแห่งความเป็ นจริ งที่ผใู ้ หญ่สร้างขึ้นมาเพื่อตัวเอง ตามมาตรา ตามสัดส่ วน ตามมาตรฐาน ตามความมุ่งหวัง และ ตามจังหวะเวลาของผูใ้ หญ่เองนัน่ ต่างหาก ในโลกที่เด็กถูกมอง เป็ นตัวรบกวนความสงบสุขของผูใ้ หญ่ ในโลกที่เด็กๆมักจะถูก ผลักไสให้อยูใ่ นสถานรับเลี้ยงเด็กหรื อห้องเรี ยน จนกว่าจะถึง เวลาที่เหมาะสมและพร้อมกลับมาสู่ การเป็ นสมาชิกของสังคม อย่างเป็ นประโยชน์ แต่อย่าลืมว่าในสถานรับเลี้ยงเด็กหรื อใน ห้องเรี ยน เด็กก็ยงั คงอยูภ่ ายใต้อานาจของผูใ้ หญ่อยูน่ นั่ เอง

19


17

พัฒนาการทางสั งคม “เราสามารถจินตนาการถึงภาพของการสรร สร้างสังคมของผูใ้ หญ่ที่มีการสร้างตัวต่อเนื่องมาจาก โครงสร้างทางสังคมของเด็ก ซึ่งอยูบ่ นพื้นฐานของสังคม ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ความสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นเป็ น ขั้นตอนแรกที่นาให้มนุษย์อยูร่ ่ วมกันเป็ นสังคม คงดีไม่ น้อยหากสังคมเป็ นอย่างที่กล่าวมาแล้ว แต่เราไม่สามารถ สัง่ การให้เป็ นเช่นนั้นได้ สิ่ งเหล่านี้จะต้องเกิดขึ้นเองโดย ธรรมชาติ ถ้าการสรรสร้างเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ จะเป็ น สิ่ งที่ดีและยัง่ ยืนกว่า แต่หากไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติก็ จะเป็ นสิ่ งจอมปลอมและล้มเหลวได้อย่างง่ายดาย”

(The Child, Society and the World หน้า 24 บทที่ 3)

20


18

เป็ นที่น่าแปลกใจที่การเรี ยนการสอนแบบมอนเตสซอรี่ ถูกวิพากษ์วิจารณ์ ว่าเป็ นระบบที่ไม่เน้นในด้านการพัฒนาทางสังคม แต่ตวั มอนเตสซอรี่ เองกลับเห็นว่า เป็ นสิ่ งที่สาคัญที่สุดในระบบการเรี ยนการสอนของเธอ การที่เธอเน้นให้เด็กมีความ เป็ นอิสระในการทางานและพัฒนาความมีสมาธิ ไม่ได้หมายความว่าเธอละเลยและไม่ เห็นความสาคัญของการพัฒนาทางสังคม ในทางตรงกันข้าม เธอกลับเห็นว่าการที่ให้เด็กได้ทางานอย่างอิสระนั้น ทาให้เด็กสามารถแสดงออกถึงการอยูร่ ่ วมกันในสังคมโดยธรรมชาติ เธอเห็นว่า ระเบียบวินยั ที่แท้จริ งและการอยูร่ ่ วมกันในสังคมนั้นเป็ นสิ่ งที่มาจากความต้องการ ภายใน ไม่ใช่สิ่งที่จะบังคับจิตใจกันได้ การศึกษาจะต้องเชื่อมโยงกับพัฒนาการของเด็กแต่ละคน และปล่อยให้เด็ก แต่ละคนเป็ นตัวของตัวเอง ไม่เพียงแต่ในช่วงปฐมวัยเท่านั้น แต่ตลอดช่วงระยะเวลาแห่ ง การพัฒนามีสองสิ่ งที่จาเป็ นคือ : พัฒนาการของแต่ละบุคคล และการมีส่วนร่ วมของแต่ ละบุคคลในสังคมอย่างแท้จริ ง พัฒนาการและการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมเข้ากับสังคม จะ มีรูปแบบที่แตกต่างกันในแต่ละขั้นระหว่างช่วงวัยเด็ก แต่มีหลักการประการหนึ่งที่ จะต้องไม่เปลี่ยนแปลงเลยตลอดทุกระยะนัน่ ก็คือ : เด็กจะต้องได้รับการเปิ ดโอกาสให้ ได้รับประสบการณ์อยูต่ ลอดเวลา

“ชีวติ ของเด็กในฐานะที่เป็ นสิ่ งมีชีวติ ในสังคมนั้น ตลอดระยะเวลาของการ เจริ ญเติบโต จะมีความซับซ้อนขึ้นเมื่อเด็กเติบโตขึ้นไปเรื่ อยๆ “ (Education and Peace หน้า 56 บทที่ 7)

21


19

บทเรียนสามขั้นตอน มอนเตสซอรี่ ได้นาแนวความคิดเกี่ยวกับ “บทเรี ยน สามขั้นตอน” จาก Edward Seguin มาใช้ ซึ่งการที่ Edward ได้แบ่งบทเรี ยนออกเป็ นสามขั้นตอน ก็เพื่อให้เด็กได้ทราบ ถึงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกบั ชื่อของวัตถุน้ นั ๆ เมื่อเขา ทางานอยูก่ บั เด็กพิเศษ 1. ขั้นตอนที่หนึ่งเป็ นการพูดออกเสี ยงชื่อหรื อ ลักษณะของวัตถุให้ถูกต้อง ชัดเจน โดยไม่ตอ้ งเพิ่มเติม รายละเอียดอื่นเข้ามาให้เด็กสับสน เช่น “สิ่ งนี้เรี ยบ (โดยให้ เด็กลูบสัมผัสกับวัตถุน้ นั ไปด้วย), สิ่ งนี้ขรุ ขระ เป็ นต้น” “ ใน การสอนบทเรี ยนสามขั้นตอนการเรี ยกขานชื่อวัตถุ ควรทา ให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างวัตถุกบั ชื่อด้วย ดังนั้นทั้งวัตถุ และชื่อ จึงควรเป็ นสิ่ งที่เด็กได้รู้จกั และเข้าใจไปพร้อมกัน และในขณะที่สอน ควรเอ่ยแต่ชื่อวัตถุ ไม่ควรใช้คาอื่นๆเข้า มาปะปนมากมาย

22


20

2. ขั้นตอนที่สองจะเริ่ มขึ้นภายหลังจากสอน ขั้นตอนแรกได้สกั ครู่ เพื่อเป็ นการช่วยยืนยันว่าเด็ก สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกบั ชื่อได้ หรื อไม่ โดยให้ครู ถามคาถามเด็กอย่างช้าๆ ชัดเจน และ ใช้เฉพาะคานามหรื อคาคุณศัพท์ที่ได้สอนไปแล้วเท่านั้น เช่น “อันไหนเรี ยบ อันไหนขรุ ขระ เป็ นต้น” โดยให้เด็กชี้ ไปยังวัตถุน้ นั ๆ ครู จะสามารถทราบได้ทนั ทีวา่ เด็กเข้าใจ สิ่ งที่สอนไปแล้วหรื อไม่ ขั้นตอนนี้ถือว่าเป็ นขั้นตอนที่ สาคัญที่สุดของบทเรี ยนทั้งสามขั้น และยังเป็ นขั้นตอนที่ ช่วยเสริ มสร้างความจาให้กบั เด็กด้วย

23


21

3. เมื่อครู ผสู ้ อนเห็นว่าเด็กเข้าใจคาถามดีแล้ว อาจ ลองถามคาถามเดิมๆ อีกหลายๆ ครั้ง เพื่อยืนยันความเข้าใจ ของเด็ก และเพื่อให้เป็ นข้อมูลที่ติดอยูใ่ นความจาของเด็ก แต่ หากเห็นว่าเด็กไม่สามารถทาได้ หรื อไม่สามารถตอบได้อย่าง ถูกต้อง ครู ไม่จาเป็ นต้องแก้ไขทันที แต่สามารถหยุดคาถาม ไว้ก่อน และอาจลองถามต่ออีกในวันอื่นๆ ต่อไปเมื่อครู เห็น ว่าเด็กเข้าใจแล้ว ครู อาจทวนคาถามกับเด็กอีกครั้งเพื่อยืนยัน ความเชื่อมโยงนั้นและเน้นให้เด็กจาได้มากยิง่ ขึ้น แต่หากครู เห็นว่าเด็กยังไม่สามารถเชื่อมโยงได้ครู กไ็ ม่ควรแก้ไข ข้อผิดพลาดให้เด็ก ควรพักบทเรี ยนไว้ก่อนโดยไม่ให้เด็กรู ้สึก อึดอัดหรื อกดดัน แล้วค่อยเริ่ มบทเรี ยนใหม่วนั หลัง

24


22

ขั้นตอนทีส่ าม จะเป็ นขั้นตอนที่ให้ความกระจ่าง ของการเรี ยนรู ้ในขั้นตอนที่หนึ่ง โดยครู จะตั้งคาถามแก่ เด็กว่า “สิ่ งนี้คืออะไร” โดยเด็กอาจตอบว่า “สิ่ งนี้เรี ยบ” ฯลฯ และครู สามารถตั้งคาถามดังกล่าวหลายๆ ครั้งก็ได้ เพื่อเป็ นการเน้นความจา มอนเตสซอรี เห็นว่าเทคนิค ดังกล่าวสามารถนาไปใช้ได้กบั ทุกๆ กิจกรรมที่ตอ้ งการ ให้เด็กเข้าใจถึงความเชื่อมโยงของสิ่ งต่างๆ ที่สาคัญคือ ครู ตอ้ งมีความเข้าใจถึงระดับพัฒนาการของเด็ก และหาก พบว่าเด็กยังไม่พร้อมที่จะพัฒนาหรื อก้าวไปในยังขั้น ต่อไป ครู ไม่ควรบังคับหรื อแก้ไขให้ แต่ควรรอและลอง ทาใหม่ในโอกาสต่อไป

25


23

บทบาทครู 1.จัดสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์ (อุปกรณ์4หมวด บรรยากาศ บุคคล) 2. เชื่อมโยงเด็กกับอุปกรณ์ โดยสาธิตการใช้อุปกรณ์ 3. มีความรักเด็ก ความรักเป็ นพลังขับเคลื่อนชีวติ 4. ยอมรับนับถือเด็ก ให้อิสระในการเลือก คิด ทา 5. ให้เด็กศึกษาค้นพบด้วยตนเอง 6.ไม่ตาหนิ ทาโทษ หรื อให้รางวัล ถ้าเด็กทาสาเร็ จจะเห็นคุณค่า ในตน และเป็ นพลังในการที่จะเรี ยนรู ้ต่อไป 7.สังเกตพฤติกรรมเด็ก บันทึกข้อมูล เพื่อวางแผนพัฒนาเด็กเป็ น รายบุคคล 8.พัฒนาอุปกรณ์ส่งเสริ มพัฒนาการเด็กให้ถึงขีดสุ ดของศักยภาพ ของแต่ละบุคคล 9. เป็ นแบบอย่างที่ดีท้งั กาย วาจา และ จิต ใจ 10. พบปะผูป้ กครอง เพื่อร่ วมกันส่ งเสริ มพัฒนาการเด็กเป็ นระยะ

26


24

ประโยชน์ที่เด็กได้รับ  1.มีพฒ ั นาการทุกด้านเต็มตามศักยภาพ  2.มีระเบียบวินยั  3.มีสมาธิในการทางาน รักความสงบ  4.ควบคุมตนเองและพึ่งพาตนเองได้  5.ทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ช่วยเหลือผูอ้ ื่น  6.รู ้สิทธิของตนเองและเคารพสิ ทธิ ของผูอ้ ื่น  7.มีมารยาทตามวัฒนธรรมที่ตนอาศัยอยู่  8.รักอิสระและมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์

 9.รักสิ่ งแวดล้อม

27


25

รูปภาพประกอบการจัดกิจกรรม

28


26

29


27

30


28

31


29

32


30

33


31

กิจกรรมเสริมหลักสู ตร

34


32

บรรยากาศในชั้นเรียน

35


33

บรรยากาศนอกชั้นเรียน

36


34

อ้างอิง 

กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). คู่มือหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กาญจนี เสี ยงเพราะ. (2553). คู่มือการสอนแบบมอนเทสซอริ หมวดชีวติ ประจาวัน หมวด ประสาทรับรู ้ หมวดภาษา และหมวดคณิ ตศาสตร์ . ประจวบคีรีขนั ธ์ :โรงเรี ยนบ้านดอนใจดี.

คริ สติน วอร์ด. (2548). คู่มือครู สาหรับเสริ มสร้างสมองเด็กวัยเรี ยน. กรุ งเทพมหานคร :บริ ษทั แปลน ฟอร์ คิด จากัด.

จีระพันธุ์ พูลพัฒน์. (2540). การสอนแบบมอนเทสซอริ จากทฤษฎีสู่แบบการนาไปปฏิบตั ิ. กรุ งเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).

บุญชู อังสวัสดิ์. (2553). รายงานการพัฒนาการสอนแบบมอนเทสซอริ ในบริ บท ประจวบคีรีขนั ธ์. ประจวบคีรีขนั ธ์ : สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 1.

_______. (2553). คู่มือการสอนแบบมอนเทสซอริ หมวดชีวติ ประจาวัน หมวดประสาทรับรู ้ หมวดภาษา และหมวดคณิ ตศาสตร์ . ประจวคีรีขนั ธ์ :สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 1.

37


35

ประมวญ ดิคคินสัน. (2534). บ้านเด็ก :การพัฒนาเด็กตามแบบมอนเทสซอริ . (พิมพ์ครั้งที่ 2). บริ ษทั แปลน พัชลิชชิ่ง จากัด.

มัลลิกา งามสะอาด. (2553). คู่มือการสอนแบบมอนเทสซอริ หมวดชีวติ ประจาวัน หมวด ประสาทรับรู ้ หมวดภาษา และหมวดคณิ ตศาสตร์ . ประจวบคีรีขนั ธ์ :โรงเรี ยนสามัคคีร่วมจิต.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). การจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุ งเทพฯ :บริ ษทั แปลน พับ ลิชชิ่ง จากัด.

Web http://www.pk1supervisor.org/article/topic-4819.html

ข้อมูลภาพ http://board2.yimwhan.com/show.php?user=prcake&topic=5&Cate=1

38


จัดทาโดย

นางสาวโสพิศ กันยะ รหัสนิสิต 60170396 สาขาวิชา หลักสู ตรและการสอน นักศึกษาระดับ ปริญญาโท

39


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.