นวัตกรรมหลักสูตร

Page 1

นวัตกรรมทำงด้ ำนหลักสูตร

จัดทำโดย นำงสำวพัชรำ วังอินทร์ รหัส 60170341 สำขำวิชำ หลักสูตรและกำรสอน


คำนำ นวัต กรรมทางด้ า นหลั ก สู ต ร เป็ นการใช้ วิ ธี ก ารใหม่ ๆ ในการ พั ฒ นาหลั ก สู ตรให้ สอดคล้ อ งกั บ สภาพแวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น และ ตอบสนองความต้ อ งการสอนบุ ค คลให้ ม ากขึ้น เนื่ อ งจากหลัก สู ต ร จะต้ องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้ สอดคล้ องกับความก้ าวหน้ า ทางด้ า นเทคโนโลยี เ ศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศและของโลก นอกจากนี้การพัฒนาหลักสู ตรยังมีความจาเป็ นที่จะต้ องอยู่บนฐาน ของแนวคิดทฤษฎีและปรั ช ญาทางการจัดการสั มมนาอีก ด้ ว ย การ พัฒนาหลักสู ตรตามหลักการและวิธีการดังกล่ าวต้ องอาศัยแนวคิดและ วิธี ก ารใหม่ ๆ ที่เ ป็ นนวัต กรรมการศึ ก ษาเข้ า มาช่ ว ยเหลื อ จั ด การให้ เป็ นไปในทิศทางทีต่ ้ องการ หนังสื อเล่ มนี้จัดทาขึน้ เพื่อประกอบการเรี ยนการสอนในวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึ กษา สาขาวิชาหลักสู ตรและการ สอน มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ นิสิตได้ นาความรู้ เกี่ยวกับเทคโนโลยีทาง การศึกษา มาใช้ ในการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา หวังเป็ นอย่ าง ยิง่ ว่ าหนังสื อเล่ มนี้ ได้ เป็ นแนวทางแก่ ผู้ทสี่ นใจต่ อไป

นางสาวพัชรา วังอินทร์ ผู้จัดทา


สารบัญ หน้ า • นวัตกรรมทำงด้ ำนหลักสูตร • นวัตกรรมทำงด้ ำนหลักสูตร ในประเทศไทย • หลักสูตรท้ องถิ่น • ลักษณะ/รูปแบบของหลักสูตรท้ องถิ่น • แนวทำงกำรพัฒนำหลักสูตรท้ องถิ่น • ขัน้ ตอนกำรพัฒนำหลักสูตรท้ องถิ่น • นวัตกรรมกำรศึกษำด้ ำนหลักสูตร

1 2-5 6 7-8 9 10 11 - 12


1

นวัตกรรมทำงด้ ำนหลักสูตร นวัต กรรมทางด้ า นหลัก สู ต ร เป็ นการใช้วิธี ก าร ใหม่ ๆ ใ นก า รพั ฒ นา หลั ก สู ตร ให้ สอ ด คล้ อ งกั บ สภาพแวดล้ อมในท้ องถิ่นและตอบสนองความต้ องการ สอนบุ ค คลให้ มากขึ้ น เนื่ อ งจากหลั ก สู ตรจะต้ อง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู่ เสมอเพื่ อ ให้ สอดคล้ องกั บ ความก้ าวหน้ าทางด้ านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสั งคม ของประเทศและของโลก นอกจากนี้ ก ารพั ฒ นา หลั ก สูตรยั ง มี ค วามจ าเป็ นที่ จ ะต้ อ งอยู่ บ นฐานของ แนวคิดทฤษฎีและปรัชญาทางการจัดการสั มมนาอีกด้ วย การพัฒนาหลักสู ตรตามหลักการและวิธีการดังกล่ าวต้ อง อ า ศั ย แ น ว คิ ด แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ห ม่ ๆ ที่ เ ป็ น นวัตกรรมการศึกษาเข้ ามาช่ วยเหลือจัดการให้ เป็ นไปใน ทิศทางทีต่ ้ องการ


2

นวัตกรรมทำงด้ ำนหลักสูตร ในประเทศไทย ได้ แก่ กำรพัฒนำหลักสูตรดังต่ อไปนี ้ 1. หลั ก สู ตรบู ร ณาการ เป็ นการบู ร ณาการ ส่ วนประกอบของหลั ก สู ต รเข้ า ด้ ว ยกั น ทางด้ า น วิทยาการในสาขาต่ างๆ การศึกษาทางด้ านจริ ยธรรม และสั ง คม โดยมุ่ ง ให้ ผู้ เ รี ย นเป็ นคนดี ส ามารถใช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ น ส า ข า ต่ า ง ๆ ให้ สอดคล้องกับสภาพสั งคมอย่ างมีจริยธรรม


3

2. หลั ก สู ตรรายบุ ค คล เป็ นแนวทางในการ พั ฒ นาหลั ก สู ตร เพื่ อการศึ กษาตามอั ต ภาพ เพื่ อ ตอบสนองแนวความคิ ด ในการจั ด การศึ ก ษา รายบุ ค คล ซึ่ ง จะต้ อ งออกแบบระบบเพื่ อ รองรั บ ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีด้านต่ าง ๆ


4

3. หลั ก สู ตรกิ จ กรรมและประสบการณ์ เป็ นหลั ก สู ตรที่ มุ่ งเน้ น กระบวนการในการ จั ด กิ จ กรรมและประสบการณ์ ให้ กั บ ผู้ เรี ยน เพื่ อ น าไปสู่ ความส าเร็ จ เช่ น กิ จ กรรมที่ ส่ งเสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นมี ส่ วนร่ วมในบทเรี ย น ประสบการณ์ การเรียนรู้จากการสื บค้ นด้ วยตนเอง เป็ นต้ น


5

4. หลักสู ตรท้ องถิ่น เป็ นการพัฒนาหลักสู ตร ที่ต้องการกระจายการบริ หารจัดการออกสู่ ท้องถิ่น เพื่อให้ สอดคล้ องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่ งแวดล้ อมและ ความเป็ นอยู่ ของประชาชนที่มี อยู่ในแต่ ละท้ องถิ่น แ ท น ที่ ห ลั ก สู ต ร ใ น แ บ บ เ ดิ ม ที่ ใ ช้ วิ ธี ก า ร รวมศูนย์ การพัฒนาอยู่ในส่ วนกลาง


6

หลักสู ตรท้ องถิ่น หลักสู ตรท้ องถิ่น เป็ นหลักสู ตรทีพ่ ฒ ั นาขึน้ จากปั ญ หาและความต้ อ งการของผู้ เ รี ย น เป็ น หลักสู ตรที่พฒ ั นาขึน้ เพื่อแก้ ปัญหาในท้ องถิ่นจะ เป็ นทางด้ านอาชี พหรื อสามัญก็ได้ หรื อปรั บจาก หลักสู ตรที่มีอยู่ ก็ไ ด้ แต่ ต้ องเป็ นเรื่ องที่ต รงกับ ความต้ องการของผู้ เรี ย นมีค วามใหม่ ทัน สมัย และเป็ นปั จ จุ บั น อยู่ เ สมอและเป็ นหลั ก สู ต รที่ ปรั บให้ เข้ ากับชี วิตของผู้เรี ยน ซึ่ งครู และผู้เรี ยน จะเป็ นผู้ ที่ ร่ วมกั น พั ฒ นา หรื อ สร้ างหลั ก สู ต ร ส าหรั บ ตนเองขึ้น มาตามสภาพของเหตุ ก ารณ์ หรื อปัญหาในขณะนั้น


7

ลักษณะ/รู ปแบบของหลักสู ตรท้ องถิ่น 1 . เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ที่ ช ำ ว บ้ ำ น มี ส่ ว น ร่ ว ม ในกำรสร้ ำงอย่ ำงเท่ ำเทียมกับครู และนักวิชำกำร จำกภำยนอก เนื อ้ หำสำระ โครงสร้ ำงกำรจั ด เวลำ กำรจัดกำรและกำรบริ หำรหลักสูตรเป็ นไป ตำมแนวคิ ด และหลั ก กำรที ช ำวบ้ ำ นในท้ อ งถิ่ น ให้ ควำมส ำคั ญ และเห็ น ว่ ำเป็ นควำมจ ำเป็ น ที่ สมำชิ ก ของท้ อ งถิ่น นั น้ จะต้ อ งเรี ยนรู้ เพื่ อ ควำม อยู่รอด ตลอดจนกำรพัฒนำที่ย่ ังยืน ของท้ องถิ่น นั น้ โดยเฉพำะมีกำรบูรณำกำรวัฒนธรรมท้ องถิ่น ควำมเป็ นท้ องถิ่ น กระบวนกำรเรี ย นรู้ ตำมวิ ถี ท้ องถิ่ น กั บ ควำมสำมำรถในกำรน ำเทคโนโลยี ใหม่ ๆมำใช้ เพื่อพัฒนำท้ องถิ่นที่ย่ ังยืน ชำวบ้ ำนที่ ร่ วมสร้ ำงหลั ก สู ต รมี ส่ วนร่ วมในกำรประเมิ น นักเรี ยน


8 2. เป็ นหลักสูตรที่ชำวบ้ ำนในชุมชนท้ องถิ่น รวมตั ว กั น เป็ นเครื อข่ ำยจำกหลำยๆ องค์ กร ทัง้ ภำครั ฐ เอกชนและกลุ่มธุรกิจเพื่อมุ่งสร้ ำงควำม เข้ มแข็งให้ กับชุมชน หรื อแก้ ปัญหำที่กำลังเกิดขึน้ ในชุ ม ชน เนื อ้ หำที่ บ รรจุ ใ นหลั ก สู ต รเป็ นเรื่ องที่ เกี่ยวกับปั ญญำชำวบ้ ำนโดยตรง เป็ นสิ่งที่ชำวบ้ ำน ให้ ควำมสำคัญ และเป็ นสิ่งที่ชำวบ้ ำนลงควำมเห็น ร่ วมกั น ว่ ำ สำมำรถช่ ว ยให้ ชุ ม ชนพั ฒ นำตนเองได้ โดยคงควำมเป็ นเอกลั ก ษณ์ ของตนไว้ ชำวบ้ ำ น จั ด สรรงบประมำณทั ง้ หมดที่ ใ ช้ ใ นกำรพั ฒ นำและ และดำเนินกำรเอง


9 แนวทำงกำรพัฒนำหลักสูตรท้ องถิ่น ในกำรพั ฒ นำหลั ก สู ต รท้ องถิ่ นอำจมี ขั ้น ตอน แตกต่ ำงกันไปบ้ ำง ตำมแนวควำมคิดของนั กกำรศึกษำ และนักวิชำกำร ดังนี ้ หลักสูตรกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน พุทธศั กรำช 2544 (2544) กล่ ำวในขั ้น ตอนกำรจั ด หลั ก สู ต รไว้ ดั ง นี ้ หลักสูตรกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำนที่สถำนศึกษำนำไปใช้ ใน กำรจัดกำรเรี ยนรู้ ในสถำนศึกษำนั น้ กำหนดโครงสร้ ำงที่ เป็ นสำระกำรเรี ยนรู้ จำนวนเวลำอย่ ำงกว้ ำง ๆ มำตรฐำน กำรเรี ยนรู้ ท่ แี สดงคุณภำพผู้เรี ยนเมื่อเรี ยนจบ 12 ปี และ เมื่ อ จบกำรเรี ย นรู้ แต่ ล ะช่ วงชั น้ ของสำระกำรเรี ย นรู้ แต่ ละกลุ่ ม สถำนศึ ก ษำต้ องน ำโครงสร้ ำงดั ง กล่ ำวนี ้ ไปจั ด ท ำเป็ นหลั ก สู ต รสถำนศึ ก ษำ โดยค ำนึ งถึ ง สภำพปั ญหำ ควำมพร้ อม เอกลักษณ์ ภูมิปัญญำท้ องถิ่น และคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ทั ้ง นี ้ สถำนศึ ก ษำ ต้ องจั ด ท ำรำยวิ ช ำในแต่ ละกลุ่ มให้ ครบถ้ วนตำม มำตรฐำนที่กำหนด


10

การพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น มีขนตอนดั ั้ งนี ้ ขั้ น ที่ 1 การจั ด ตั้ ง คณะท างาน เพื่ อ พั ฒ นาหลั ก สู ต ร ระดับท้ องถิ่น ขั้นที่ 2 การศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน ขั้ น ที่ 3 ก า ร ก า ห น ด จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ระดับท้ องถิ่น ขั้นที่ 4 การกาหนดเนื้อหา ขั้นที่ 5 การกาหนดกิจกรรม ขั้นที่ 6 การกาหนดคาบเวลาเรียน ขั้นที่ 7 การกาหนดเกณฑ์ การวัดและประเมินผล ขั้นที่ 8 การจัดทาเอกสารหลักสู ตร ขั้ น ที่ 9 ก าร ต รว จสอ บคุ ณ ภา พแ ล ะก าร ท ดล อ ง ใช้ หลักสู ตร ขั้นที่ 10 การเสนอขออนุมตั ิใช้ หลักสู ตร ขั้นที่ 11 การนาหลักสู ตรไปใช้ ขั้ น ที่ 12 การประเมิ น ผลหลั ก สู ต ร การปรั บ หลั ก สู ต ร ให้ เข้ ากับสภาพสั งคมของท้ องถิ่นอาจจะดาเนินการในระดับเขต การศึกษา ระดับจังหวัด ระดับอาเภอ หรื อระดับโรงเรียนก็ได้


11


12


บรรณานุกรม https://www.gotoknow.org/posts/164271 https://www.google.co.th/search?q= นวัตกรรมหลักสูตรท้ องถิ่น&source




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.