ตัวอย่างเล่มสมบูรณ์โครงงานพิเศษ - ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด 7P's ร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

Page 1

ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี Marketing Mix Factors Affecting the Decision to use the Kenta Shabu & Suki Restaurant, Ratchaburi branch ณีรนุช ทองทิพย์ NERANUT TONGTIP อธิชา เลิศพานิช ATICHA LOEDPANIT โครงงานพิเศษนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2565
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี Marketing Mix Factors Affecting the Decision to use the Kenta Shabu & Suki Restaurant, Ratchaburi branch ณีรนุช ทองทิพย์ NERANUT TONGTIP อธิชา เลิศพานิช ATICHA LOEDPANIT โครงงานพิเศษนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2565 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

แก้วรักษา)

มังกรศิลา) โครงงานพิเศษฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต

ชื่อโครงงานพิเศษ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ชื่อ นามสกุล ณีรนุช ทองทิพย์ และ อธิชา เลิศพานิช ชื่อปริญญา คหกรรมศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2565 อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์นฤศร มังกรศิลา คณะกรรมการสอบโครงงานพิเศษได้ให้ความเห็นชอบโครงงานพิเศษฉบับนี้แล้ว ประธานกรรมการ (อาจารย์ว่าที่ร้อยตรีเขม อภิภัทรวโรดม) ........................................................................................................กรรมการ (อาจารย์กัญญานัส
กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์นฤศร
สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร กมลพิพัฒน์ ชนะสิทธิ์) (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร ธนภพ โสตรยม) หัวหน้าสาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ วันที่..............เดือน.................พ.ศ. .............. วันที่ เดือน พ ศ

Shabu

Suki

Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี เพื่อศึกษาแนวทาง พัฒนาการบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี กับกลุ่มตัวอย่างผู้ที่เข้าใช้บริการ ร้านอาหารKenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำนวน 400 คน โดยใช้เครื่องมือการเก็บรวบรวม ข้อมูล คือ แบบสอบถาม รวบรวมข้อมูลมาทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าสถิติร้อยละ ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน t test และ F t test ด้วยความวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA Analysis of Variance) ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 30 ปี มีสถานภาพ โสด มีระดับการศึกษาที่ระดับมัธยมศึกษา (ปวช ) หรือเทียบเท่า มีระดับรายได้ต่อเดือนมากที่สุดคือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท และประกอบอาชีพคือ นักเรียน/นักศึกษา ผลการศึกษาพบว่า

ก ชื่อโครงงานพิเศษ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta
&
สาขาราชบุรี ชื่อ นามสกุล ณีรนุช ทองทิพย์ และ อธิชา เลิศพานิช ชื่อปริญญา คหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา อุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการ ตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร
ปัจจัยทางด้านการตลาดบริการ (7P’s) ที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญมากที่สุด คือ ด้านบุคลากร และด้าน กระบวนการให้บริการ รองลงมาคือ ด้านการส่งเสริมทางการตลาด และด้านทางกายภาพ ด้าน ช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านราคา ด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ โดยผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าเพศ อายุ ไม่มีผลต่อระดับการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี สถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษา มีการตัดสินใจแตกต่างกัน โดยใช้ (One way ANOVA Analysis of Variance) มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คำสำคัญ : การตัดสินใจ,ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s)

Special project Marketing mix factors affecting the decision to use the Kenta Shabu & Suki restaurant, Ratchaburi branch Authors Neranut Tongtip and Aticha Loedpanit Degree Bachelor of Home Economics Major program Food Service Industry Faculty Home Economics Technology Academic Year 2022

ABSTRACT

The purpose of this study was to study the factors of the marketing mix that affect the Decide to use the restaurant Kenta Shabu & Suki Ratchaburi branch to study the guidelines. Developing the service of Kenta Shabu & Suki restaurant, Ratchaburi branch with a sample of people who use the service There were 400 members of Kenta Shabu & Suki Restaurant, Ratchaburi Branch, using the data collection tool, which was a questionnaire. The data was collected for analysis using frequency statistics. Statistics, percentage, standard deviation, t test ,and F test by One way ANOVA Analysis of Variance. The results showed that Most of the consumers are female. Age between 21 30 years old, single status, high school education level (vocational certificate) or equivalent. The highest monthly income level is less than or equal to 10,000 baht and the occupation is student/student The results showed that the factors of Service Marketing (7P's) that consumers pay the most attention to are personnel and service processes, followed by marketing promotion. and physical aspects, distribution channels, prices, and products, respectively. The hypothesis testing revealed that gender, and age, did not affect the level of decision making in choosing to use the Kenta Shabu & Suki restaurant, Ratchaburi branch, status, occupation, and education level. Different decisions are made using (One way ANOVA Analysis of Variance) which was statistically significant at the 0.05 level making in choosing to use the Kenta Shabu & Suki restaurant, Ratchaburi branch, status, occupation, and education level. Different decisions are made using (One way ANOVA Analysis of Variance) which was statistically significant at the 0.05 level

Keywords: Decision Making, Marketing mix (7P's)

จนถึงให้ความอนุเคราะห์ในการประเมิน

ผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา และบุคคลในครอบครัวทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุน ทั้งกำลังใจ และกำลังทรัพย์ ตลอดจนความห่วงใยอย่างไม่เคยขาดหาย สุดท้ายนี้ผู้ศึกษา ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ให้ความรู้ และประสิทธิ์ประสาทวิชาต่าง ๆ ทำให้ผู้ศึกษา มี ความรู้ ความสามารถ ให้ดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้สำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี และหากโครงงาน พิเศษนี้เป็นประโยชน์แก่ผู้ใดก็ตาม ขอมอบความดีทั้งหมดให้แก่ทุกท่านที่กล่าวมา ณ ที่นี้ ณีรนุช ทองทิพย์ อธิชา เลิศพานิช

ค กิตติกรรมประกาศ โครงงานพิเศษ เรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้ บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานพิเศษตาม หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิตได้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นฤศร มังกรศิลา อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานพิเศษที่เสียสละเวลาอันมีค่าให้ คำปรึกษา แนะนำ ตลอดจนข้อคิดเห็น และมอบความรู้ทางด้านวิชาการ การวิเคราะห์ผลทางสถิติ ต่าง ๆ ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ว่าที่ร้อยตรีเขม อภิภัทรวโรดม ประธานกรรมการสอบโครงงาน พิเศษ และอาจารย์กัญญานัส แก้วรักษา กรรมการการสอบโครงงานพิเศษ ที่ให้ข้อคิดเห็นและ หลักการเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี
แบบสอบถาม

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญตาราง

สารบัญภาพ

บทที่ 1 บทนำ 1

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 1

1.2 วัตถุประสงค์ 2

1.3 สมมติฐานที่ใช้ในการศึกษา 2

1.4 ขอบเขตการศึกษา 2

1.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย 4

1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4

1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ 5 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6

2.1 แนวคิดและทฤษฎีประชากรศาสตร์

แนวคิดเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดบริการ

ง สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก Abstract ข
6 2.2
(7P’s) 8 2.3 แนวคิดและทฤษฎีการตัดสินใจซื้อ 19 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการบริการ 23 2.5 ข้อมูลเกี่ยวกับร้าน Kenta Shabu & Suki 30 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 31 บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 38 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 38 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 38 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 40 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 42

(7P’s) 58

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลด้วยสถิติ t test และสถิติ F test

4.4 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 81 4.5 อภิปรายผล 82 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 86 5.1 สรุปผล 86 5.2 ข้อเสนอแนะ 90 บรรณานุกรม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

ข รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือ

จ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล 45 4.1 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม 47 4.2 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผล 50 ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยใช้ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ด้วยการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ
ของ ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ
92
95
96 ภาคผนวก
102 ภาคผนวก ค ตารางแสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์ 104 ของแบบสอบถามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือก ใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมสำเร็จรูป 107 ภาคผนวก จ ภาพบรรยากาศลงพื้นที่เก็บข้อมูล 124 ประวัติผู้ศึกษา 126

Suki สาขา

(7P’s) ที่ 52 มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ด้านราคา 4 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่ 53 มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย

4 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่ 54 มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ด้านการส่งเสริมการตลาด

.7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

ฉ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 2.1 สรุปลักษณะเฉพาะของบริการ ปัญหา และแนวทางการแก้ไข 29 3.1 ตารางแสดงการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม 41 4.1 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม 47 4 2 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการ 50 ตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 4 3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s)ที่มี 51 ผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu &
ราชบุรี ด้านผลิตภัณฑ์ 4.4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
4
(7P’s) ที่ 55 มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ด้านบุคลากร 4 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่ 56 มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ด้านกระบวนการให้บริการ 4 9 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่ 57 มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ด้านทางกายภาพ

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านเพศ 4.12 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 61 ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอายุ 4.13 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 63 ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพ

4.14 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 65 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านผลิตภัณฑ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้าน สถานภาพรายคู่ 4.15 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 66 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

ช สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.10 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 59 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 4.11 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 60 ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ
ในด้านช่องทางการจัดจำหน่ายจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของ ผู้บริโภคในด้านสถานภาพรายคู่ 4.16 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 67 ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษา

การศึกษารายคู่ 4.19 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 71 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านช่องทางการจัดจำหน่าย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของ ผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่

4.20 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 72 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านบุคลากร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้าน ระดับการศึกษารายคู่

4.21 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 73 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

Kenta Shabu & Suki

ซ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.17 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 69 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านผลิตภัณฑ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้าน ระดับการศึกษารายคู่ 4.18 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 70 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านราคา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับ
ร้านอาหาร
สาขาราชบุรี ในด้านกระบวนการให้บริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ 4.22 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 74 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านทางกายภาพ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภค ในด้านระดับการศึกษารายคู่

Kenta Shabu & Suki

4.25 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 79 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านผลิตภัณฑ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในอาชีพรายคู่ 4.26 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 80 ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านกระบวนการให้บริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภค ในอาชีพรายคู่

4.27 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 81

ฌ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.23 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 75 ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับรายได้ต่อเดือน 4.24 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ 77 ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร
สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอาชีพ

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า

2.1 เซตชุดหมูสุดคุ้ม (Pork) 9

2.2 เซตชุดเนื้อสุดคุ้ม (Beef) 10

2.3 Standard Shabu 10

2.4 Deluxe Shabu 11

2.5 Premium Shabu 11

2.6 เครื่องดื่ม (Drink) 12

2.7 ซุป (Soup) 12

2.8 ขนมหวาน (Dessserts) 13

2.9 แผนที่ร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 13

2.10 ช่องทางการจัดจำหน่าย 14

2.11 โปรโมชั่น มา 4 จ่าย 3 ทุกวันพุธ 14

2.12 โปรโมชั่น โครงการ คนละครึ่ง 15

2.13 พนักงานร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 15

2.14 กระบวนการร้านให้บริการร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 16

2.15 กระบวนการร้านให้บริการร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 17

2.16 บรรยากาศภายนอกร้าน 17

2.17 บรรยากาศภายในร้าน 18

2.18 โลโก้ของร้าน Kenta Shabu & Suki 18

2.19 แบบจำลองกระบวนการตัดสินใจซื้อ 5 ขั้นตอน 23

รับประทานอาหารเปลี่ยนแปลงไปมีการรับวัฒนธรรมจากต่างชาติ เช่น การรับประทานอาหารบุฟเฟต์ ซึ่งมีความแตกต่างกันออกไปตามวิถีชีวิตของชาตินั้น ๆ (อัญธิกา แก้วศิริ, 2560) เช่น อาหารบุฟเฟต์ ประเภทชาบู หรือชาบู ชาบู มีต้นกำเนิดจากประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 20 โดยมีร้านอาหารชาบู ร้านแรกที่ถือกำเนิดในโอซาก้า โดยคุณสุเอฮิโระ โดยเริ่มจากการดัดแปลงจากหม้อไฟของปักกิ่ง ที่มี ต้นกำเนิดที่ประเทศจีนซึ่งใช้เนื้อแกะชาบู ของประเทศญี่ปุ่นมีการใช้เนื้อ วัว หมู ปลา ไก่ และผัก รวมถึงอาหารทะเล โดยใช้วิธีการปรุงและนำวัตถุดิบต่าง ๆ นำลงไปจุ่มในน้ำซุปที่มีลักษณะเดือด โดย รับประทานคู่กับน้ำจิ้มชาบู ก็คือ น้ำจิ้มปอนซึ และน้ำจิ้มงา ( ธีริศรา คุ้มทรัพย์, ม ป ป )

จึงเป็นที่มาของวัฒนธรรมในการรับประทาน

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การดำรงชีพของมนุษย์จำเป็นต้องมีการบริโภคอาหารเพื่อความอยู่รอดโดยเป็นการเสริมสร้าง ร่างกายให้มีความแข็งแรงรวมไปถึงสติปัญญาในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ โดยที่มนุษย์มีความต้องการใน การบริโภคอาหารที่หลากหลาย และแตกต่างกันซึ่งอาหารถือเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิตทุก ๆ วัน มนุษย์ต้องรับประทานอาหาร และด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในการสื่อสารทำให้พฤติกรรมการ
ที่สามารถ เลือกได้ตามใจชอบตามความต้องการของผู้บริโภค
อาหารประเภทชาบู ที่ถูกขนานนามจากประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เนื่องจากสภาพแวดล้อมทั่วไป มีสถาบันการศึกษาทุกระดับ ทำให้มีประชากรอย่างหนาแน่น จึงมีความต้องการที่หลากหลาย จึงมีการให้บริการร้านอาหาร ประเภทบุฟเฟต์ในทางเลือกที่หลากหลายสำหรับผู้บริโภคที่มีความต้องการบริโภคอาหารประเภท บุฟเฟต์เพื่อสุขภาพมากขึ้นจึงทำให้อาหารเพื่อสุขภาพอย่างอาหารประเภทชาบูบุฟเฟต์ เกิดขึ้นเพื่อ เป็นตัวเลือกในการเลือกบริโภคอาหารบุฟเฟต์ ที่มีหลากหลายรายการอาหาร ทั้งอาหารคาว อาหาร หวาน อาหารปรุงสำเร็จ และมีการตั้งราคาที่เหมาะสมและตายตัว ทำให้ผู้บริโภคนั้นสามารถควบคุม กำหนดราคาในการบริโภคได้อย่างชัดเจน จนเกิดร้านอาหารประเภทชาบูบุฟเฟต์ เกิดขึ้นแพร่หลาย ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดราชบุรี ทำให้มีการแข่งขันทางการตลาดสูงทำให้ในการประกอบธุรกิจ ร้านอาหารบุฟเฟต์เป็นลักษณะของผลิตภัณฑ์ควบคู่กับการบริการจึงจำเป็นต้องมีการใช้กลยุทธ์เพื่อ

Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ซึ่งสามารถนำไปปรับปรุงแก้ไขแผนการตลาดและวางแผนการตลาดให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

1.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาการบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

สมมติฐานที่ใช้ในการศึกษา

1.3.1 ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

2 สร้างจุดแข็งให้กับธุรกิจและสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภค เช่น การใช้กลยุทธ์ทางการตลาด บริการ (Service Marketing Mix หรือ 7P's) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภครวมถึง สร้างความพึงพอใจให้เกิดการใช้บริการสามารถเพิ่มผลประกอบการและสร้างความคุ้มค่าเชิงธุรกิจ และความยั่งยืนให้กับธุรกิจ ดังนั้นข้อมูลจากผู้บริโภคจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากสำหรับผู้ประกอบการ เพื่อใช้ในการพัฒนาการบริการและปรับปรุงส่วนประสมทางการตลาดให้ตรงตามความต้องการของ ผู้บริโภคและเหมาะสมกับสถานการณ์ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุดและส่งผลให้เกิดการกลับมาซื้อซ้ำ หรือเป็นลูกค้าประจำ จากที่มาและความสำคัญดังกล่าวผู้ศึกษาจึง มีความสนใจทำการศึกษาเพื่อหาปัจจัยในการ ตัดสินใจใช้บริการและส่วนประสมทางการตลาดบริการของร้านอาหารประเภทชาบูบุฟเฟต์ในเขต อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ซึ่งผลที่ได้สามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงกลยุทธ์ หรือ ส่วนประสมทางการตลาดของของลูกค้าที่ใช้บริการร้านอาหาร
1.3
ร้านอาหารKenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 1.3.2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 1.4 ขอบเขตการศึกษา การศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการของผู้ใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ตามส่วนประสมทางการตลาดบริการ 7P’s มีขอบเขตการศึกษาเป็น 5 ข้อดังนี้ 1.4.1 ขอบเขตด้านประชากรกลุ่มตัวอย่าง 1.4.1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือผู้บริโภคที่เข้ามาใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือน กันยายน พ ศ.2565

ด้านบุคลากร (

) ด้านกระบวนการให้บริการ

ด้านลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

1.4.3 ขอบเขตด้านพื้นที่ การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษากำหนดขอบเขตด้านพื้นที่ คือ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

1.4.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษากำหนดขอบเขตด้านระยะเวลาในการศึกษา ตั้งแต่ เดือน มิถุนายน ถึง เดือน กันยายน 2565

1.4.5 ขอบเขตด้านสถานที่ การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษากำหนดขอบเขตด้านสถานที่ คือ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

1.4.6 ขอบเขตด้านตัวแปรที่ใช้การศึกษา

3 1.4.1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ใช้การคำนวณหากลุ่มขนาดตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูป ของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ค่าความคลาดเคลื่อน ±5% จำนวน 385 คน เพื่อความแม่นยำ ของข้อมูลในการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ คณะผู้ศึกษาจึงขอกำหนดเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560) 1.4.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ตามหลักส่วนประสมทางการตลาดบริการ ประกอบด้วย ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ด้านราคา (Price) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (Place) ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion)
People
(Process)
1.4 6.1 ตัวแปรต้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด บริการ 7P’s และปัจจัยด้านพื้นฐานส่วนบุคคล 1.4 6.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ การตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

ตัวแปรต้น ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ 7P’s

1. ด้านผลิตภัณฑ์

2. ด้านราคา

3. ด้านการจัดจำหน่าย

4. ด้านการส่งเสริมทางการตลาด 5. ด้านบุคลากร

6. ด้านกระบวนการให้บริการ

7. ด้านลักษณะทางกายภาพ

1.

ตัวแปรตาม

4 1.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดวิจัย 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.6.1 ทราบปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 1.6.2 ทราบถึงแนวทางพัฒนาการบริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี การตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพ 4. ระดับศึกษา 5. อาชีพ 6. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน

เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคเพื่อเป็นแรงจูงใจในการตัดสินใจซื้อ 1.7.4 กลยุทธ์ทางการตลาด หมายถึง การพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดบริการ เพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจ และสามารถสร้างความ เป็นต่อทางการแข่งขันที่ยั่งยืนให้กับธุรกิจ 1.7.5 ปัจจัยด้านการตลาดในการตัดสินใจเลือกบริโภค หมายถึง ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มี ความรู้สึกทางด้านอารมณ์ของแต่ละคน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารแบบบุฟเฟต์มีผล มาจากส่วนประสมทางการตลาดบริการทั้ง 7P’s

5 1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กำหนดความหมายของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องไว้เพื่อทำให้ผู้ที่ต้องการ ศึกษาได้เกิดความเข้าใจในแนวทางเดียวกัน ดังนี้ 1.7.1 ชาบู หมายถึง อาหารญี่ปุ่นประเภทหม้อไฟแบบหนึ่งคล้ายกับสุกี้ยากี้ มีส่วนผสมต่าง ๆ เช่น ผัก เนื้อหั่นบาง ๆ และอาหารทะเล โดยการปรุงจะนำวัตถุต่าง ๆ เหล่านี้จุ่มแช่ลงในน้ำเดือด หรือ น้ำซุป และปล่อยทิ้งไว้สักพักจากนั้นนำส่วนผสมอย่างอื่น เช่น เต้าหู้ บะหมี่ ลงตุ๋นให้เข้ากัน แล้ว รับประทาน 1.7.2 ร้านบุฟเฟต์ หมายถึง ร้านอาหารที่กำลังเป็นที่นิยมของผู้บริโภคในปัจจุบัน เนื่องจากเป็น การรับประทานอาหารด้วยความที่เป็นช่องทางเลือกรับอรรถรสแบบไม่อั้นผู้บริโภคเองยังคงสามารถ เลือกสรรอาหารได้อย่างพึงพอใจความต้องการของตนเอง 1.7.3 ส่วนประสมทางการตลาดบริการ หมายถึง เครื่องมือทางการตลาดที่ให้บริการร้านชาบู จะนำมาใช้ร่วมกัน

(7P’s)

2.3 แนวคิดและทฤษฎีการตัดสินใจซื้อ

2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการบริการ

2.5 ข้อมูลเกี่ยวกับร้าน Kenta Shabu & Suki

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 แนวคิดและทฤษฎีประชากรศาสตร์

Mehmet & Gul (2014) อ้างถึงใน พัทธนันท์ ศุภภาคิณ และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล (2562) ได้กล่าวว่า ความแตกต่างทางด้านประชากรศาสตร์ จะส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค ประกอบด้วย

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหารร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารแนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และนำมาปรับใช้ในการศึกษา ดังต่อไปนี้ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีประชากรศาสตร์ 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดบริการ
1. เพศ (Sex) เพศหญิงและเพศชาย ซึ่งมีแนวโน้มที่มีความแตกต่างกันในด้านทัศนคติ ด้าน พฤติกรรม 2. อายุ (Age) ช่วงอายุที่มีความแตกต่างกันทำให้มีความชื่นชอบรสนิยมที่แตกต่างกัน โดยรสนิยม ของบุคคลจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัยมีผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของแต่ละ กลุ่มอายุ ที่แตกต่างกัน 3. ระดับการศึกษา (Education) ผู้ที่มีระดับการศึกษาสูงจะส่งผลให้มีการบริโภคสินค้าที่มี คุณภาพดีกว่า รวมถึงมีราคาสูงกว่าการบริโภคสินค้าของผู้ที่มีการศึกษาในระดับต่ำ 4. อาชีพ (Occupation) อาชีพต่าง ๆ นั้นมีความแตกต่างกันจะส่งผลให้มีความต้องการในด้าน สินค้าและบริการที่ต่างกัน

นักการตลาดต้อง ศึกษาตัวแปรชนิดนี้อย่างรอบคอบ เพราะในปัจจุบันตัวแปรด้านเพศมีการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรม การบริโภคการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจมีสาเหตุจากการที่สตรีทำงานและมีบทบาททางสังคมมากขึ้น 3. ลักษณะครอบครัว (Marital status) ในอดีตถึงปัจจุบันลักษณะครอบครัวเป็น เป้าหมายที่สำคัญของการใช้ความพยายามทางการตลาด และมีความสำคัญยิ่งขึ้นในส่วนที่เกี่ยวกับ ผู้บริโภค นักการตลาดมักจะให้ความสนใจในจำนวน และลักษณะของบุคคลในครัวเรือนที่ใช้สินค้าที่ เกี่ยวข้องกับผู้ตัดสินใจในครัวเรือน เพื่อช่วยในการพัฒนากลยุทธ์การตลาดให้เหมาะสม

รายได้

7 5. รายได้ (Income) โดยผู้บริโภคที่มีรายได้ปานกลางและมีรายได้ต่ำนั้นมีจำนวนมากทำให้ขนาด ของตลาดใหญ่กว่าผู้บริโภคที่มีรายได้สูง สินค้าและบริการต่าง ๆ จึงมีการแบ่งส่วนตลาดตามรายได้ ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2552: 57 59) กล่าวว่าลักษณะทางประชากรศาสตร์ประกอบด้วย อายุ เพศ ขนาดครอบครัว สถานภาพครอบครัว รายได้อาชีพการศึกษา ซึ่งเกณฑ์ทางด้าน ประชากรศาสตร์เหล่านี้เป็นเกณฑ์ที่นักการตลาดนิยมใช้ในการแบ่งส่วนการตลาด ดังนั้นลักษณะ ประชากรศาสตร์จึงเป็นสิ่งสำคัญ และสถิติที่สามารถวัดได้ของประชากร ที่ช่วยในการกำหนด เป้าหมายทางการตลาด รวมทั้งง่ายต่อการวัดผลมากกว่าตัวแปรอื่นเกณฑ์ทางด้านประชากรศาสตร์ที่ สำคัญ ประกอบไปด้วยตัวแปรที่สำคัญ ดังนี้ 1 อายุ (Age) เนื่องจากผลิตภัณฑ์จะสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่ม ผู้บริโภคที่มีอายุแตกต่างกันนักการตลาดจึงใช้ประโยชน์จากอายุ เป็นตัวแปรด้านประชากรศาสตร์ที่ แตกต่างของส่วนตลาด เพื่อช่วยในการค้นหาความต้องการของตลาดส่วนเล็ก (Niche Market) 2. เพศ (Sex) เป็นตัวแปรที่ใช้ในการแบ่งส่วนการตลาดเช่นกัน
4.
การศึกษา และอาชีพ (Income, Education and Occupation) เป็น ตัวแปรสำคัญในการกำหนดส่วนของตลาด โดยทั่วไปนักการตลาดจะสนใจผู้บริโภคที่มีความสามารถ ในการซื้อ แต่อย่างไรก็ตามครอบครัวที่มีรายได้ต่ำจะเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ปัญหาสำคัญในการแบ่ง ส่วนการตลาดโดยถือเกณฑ์รายได้อย่างเดียว คือรายได้จะเป็นตัวชี้ความสามารถในการจ่ายสินค้าของ ผู้บริโภคได้หรือไม่มีความสามารถ ในการจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้า ในขณะเดียวกันการเลือกซื้อสินค้า ที่แท้จริงอาจถือเป็นเกณฑ์รูปแบบการดำรงชีวิต รสนิยม อาชีพ การศึกษา ฯลฯ แม้รายได้เป็นตัวแปร ที่นักการตลาดใช้กันบ่อยมาก แต่นักการตลาดส่วนใหญ่จะโยงเกณฑ์รายได้รวมกับตัวแปรด้าน ประชากรศาสตร์หรืออื่น ๆ เพื่อให้กำหนดตลาดเป้าหมายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

การตลาด" (Sevices Marketing Mix) ที่รู้จักกันในชื่อ 4P's ซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นมาใหม่ว่าเป็น มุมมองที่ค่อนข้างแคบยังไม่ครอบคลุม ในบางปัจจัยของการบริหารจัดการด้านการบริการ และไม่ สมบูรณ์ที่จะนำมาใช้กับการบริการซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ที่แตกต่างจากสินค้าทั่วไป Zeithama and Bitner 2003, อ้างถึงใน พนิตสุภา ธรรมประมวล, 2563 : 33) ได้เสนอแนวคิดใหม่ในเรื่องส่วนประสม ทางการตลาดสำหรับการบริการ โดยเฉพาะส่วนประสมทางการตลาดสำรับบริการดังกล่าว ประกอบด้วย ส่วนประสมทางการตลาดดั้งเดิม หรือ 4P's ได้แก่ (Product, Price, Place และ Promotion) รวมทั้ง องค์ประกอบอีก 3P's เพิ่มเข้ามา (People, Process และ Physical Evidence) (พนิตสุภา ธรรมประมวล, 2563) ส่วนประสมทางการตลาดบริการ (Service Marketing Mix) ถือ เป็นหัวใจสำคัญของการบริการตลาด ธุรกิจนั้นจะประสบความสำเร็จได้ก็ขึ้นอยู่กับการปรับปรุง และ

ซึ่งส่วนประสมทางการตลาดบริการ

8 สรุปได้ว่า ลักษณะประชากรศาสตร์นั้นประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน สิ่งเหล่านี้เป็นตัวแปรที่สำคัญที่จะสามารถทำให้ นักการตลาดสามารถจำแนกผู้บริโภคในแต่ละประเภท และทำให้ผู้ประกอบธุรกิจสามารถนำไปใช้ใน การกำหนดตลาดกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) สมชาย กิจยรรยง (2561: 226) ได้ให้ความหมายว่า "เป็นกิจกรรมทางธุรกิจที่ทำให้สินค้าบริการ เคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปยังผู้ใช้หรือผู้บริโภค การแสวงหา วิเคราะห์สำรวจเพื่อดันผลิตภัณฑ์สู่ผู้ใช้ หรือ ผู้บริโภคเป็นเครื่องมือเพื่อเปิดช่องทางให้ลูกค้าเกิดการซื้อซ้ำ ซื้อเพิ่มและซื้อต่อเนื่อง" ส่วนประสมทางการตลาดบริการ ในปัจจุบันนักการตลาดได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับ "ส่วนประสมทาง
ความสัมพันธ์ที่เหมาะสมของส่วนประสมทางการตลาดเหล่านี้
เป็นปัจจัยภายในที่ธุรกิจนั้น ๆ สามารถควบคุมได้สามารถที่จะเปลี่ยนเเปลง หรือปรับปรุงให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อทำให้กิจการอยู่รอดได้ หรืออาจเรียกได้ว่า ส่วนประสมทางการตลาด บริการเป็นเครื่องมือทางการตลาดที่ถูกใช้เพื่อสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายทำให้ ลูกค้า กลุ่มเป้าหมายพอใจและมีความสุขได้โดยประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ 7 ประการเรียกว่า 7 P’s (วิเชียร วงศ์ณิชชากุล, 2550) 2.2.1 ผลิตภัณฑ์ (Product) และ ราคา (Price) หมายถึง สิ่งใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของ บริการ บุคคล สถานที่ อาคาร ประสบการณ์ เหตุการณ์ ข้อมูลข่าวสาร แนวความคิดหรือหลาย ๆ อย่างประกอบกันก็ได้ซึ่งมีจุดมุ่งหมาย เพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับ ลูกค้า ทั้งที่เป็นบุคคลทั่วไปหรือองค์กรต่าง ๆ และต้องการบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการ ซึ่ง ความหมายของราคานั้นคุณค่าของผลิตภัณฑ์ในรูปตัวเงินราคาเป็นต้นทุนของลูกค้า ซึ่งลูกค้านั้นต้อง
9 เปรียบเทียบระหว่างคุณค่าของสินค้าหรือบริการด้วยร้าน Kenta Shabu & Suki เป็นอาหารประเภท ชาบูสุกี้ที่มีทั้งแบบบุฟเฟต์และแบบเป็นเซต Delivery ซึ่งในแต่ละเซตก็จะประกอบไปด้วย เนื้อหมู เนื้อวัว หมูชีส ลูกชิ้นเคนตะ เบคอนรมควัน ชุดผัก และอุด้งแบบบุฟเฟต์ก็จะประกอบไปด้วย เนื้อหมู หลากหลายชนิด เนื้อปลา เครื่องในหมูต่าง ๆ รวมไปถึงอาหารทะเล และผักต่าง ๆ วุ้นเส้นญี่ปุ่นและ อื่นอีกมากมาย รวมทั้งขนมหวานอย่างไอศกรีม และมีบริการเครื่องดื่มรีฟิลน้ำชา และแอลกอฮอล์ น้ำอัดลมที่มีจำหน่ายอย่างครบครัน และราคาของบุฟเฟต์และเซตชาบูของทางร้าน Kenta Shabu & Suki แบ่งออกเป็นดังนี้ 2.2.1.1 เซตชาบู Delivery แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ หมู (Pork) และเนื้อ (Beef) 1) เซตชุดหมูสุดคุ้ม (Pork) ภาพที่ 2.1 เซตชุดหมูสุดคุ้ม (Pork) ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564)

2) เซตชุดเนื้อสุดคุ้ม (Beef)

ภาพที่ 2.2 เซตชุดเนื้อสุดคุ้ม (Beef) ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564) 2.2 1.2 ชาบูประเภทบุฟเฟต์ มีให้เลือกทานทั้งหมด 3 ราคา ดังนี้

1) Standard Shabu อร่อยแบบเบาๆ กับเมนูหมูสันคอ เบคอน หมูและ ไก่ไม้ไผ่ ผักสดอนามัย ของหวาน ภาพที่ 2.3 Standard Shabu ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564)

10

Suki

11 2) Deluxe Shabu อร่อยอิ่มจัดเต็มกับเมนูเนื้อหมูเพิ่มเติม เนื้อวัว และ ของทะเล รวมไปถึงของหวาน ภาพที่ 2.4 Deluxe Shabu ที่มา : Kenta Shabu &
(2564) 3) Premium Shabu อร่อยเต็มอิ่มสุดคุ้มกับเนื้อวัวพรีเมียม และกุ้ง ก้ามกราม ชีสพรีเมียมรวมไปถึงของหวานสุดพิเศษ และของทานเล่น ภาพที่ 2.5 Premium Shabu ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564)

Kenta Shabu& Suki

Kenta Shabu & Suki (2564

มี

รสชาติ ได้แก่ น้ำซุปใส น้ำซุปดำ น้ำซุปต้มแซ่บ

2.7 ซุป

Kenta Shabu

Suki (2564

12 2.2.1.3 เครื่องดื่ม (Drink) ของทางร้าน
มีหลากหลายรายการ อาทิ เช่น ชาเขียวเย็น ชาเขียวร้อน น้ำอัดลมและแอลกอฮอล์ ภาพที่ 2.6 เครื่องดื่ม (Drink) ที่มา :
) 2.2 1.4 ซุป (soup)
4
น้ำซุปจิ้มจุ่ม ภาพที่
ที่มา :
&
)

ขนมหวาน (Desserts)

: Kenta Shabu & Suki (2564)

การจัดจำหน่าย (Place)

กิจกรรมหรือวิธีการที่หลากหลายในการนำเสนอ บริการให้แก่ลูกค้าได้เข้ามารับบริการได้อย่างกว้างขวางสะดวก ซึ่งจะต้องอาศัยสื่อหรือช่องทางในการ นำเสนอบริการได้ถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง หรืออาจต้องเลือกความคุ้มค่าด้านทำเลที่ตั้ง และทางร้าน Kenta Shabu& Suki มีช่องทางการจัดจำหน่ายแบบเดลิเวอรี่ทางแกร็บฟู้ด

13 2.2 1 4 ขนมหวาน (Dessserts) ของทาง Kenta Shabu จะมีไอศกรีมชาเขียว สูตรมัทฉะ เป็นเอกลักษณ์ที่มีความอร่อยและไอศกรีมช็อกโกแลตที่กลมกล่อม และมีความอร่อยลงตัว ของ Kenta Shabu ดังนี้ ภาพที่ 2.8
ที่มา
2.2.2
หมายถึง
2.2.2.1 สถานที่ตั้ง ร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรีเปิดให้บริการทุกวัน เวลา 11.00 22.00 น.ยกเว้นวันพฤหัสบดี พิกัดอยู่ตรงร้าน ก๋วยเตี๋ยวโอ่ง สาขาราชบุรี ถนนเพชรเกษม ตำบลเจดีย์หัก เมืองราชบุรี 70000 ภาพที่ 2.9 แผนที่ร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ที่มา : เที่ยวราชบุรี.com (2564)

2.2 2.2 ช่องทางการจัดจำหน่าย ร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ผ่านทาง แอปพลิเคชัน แกร็บฟู๊ด

ภาพที่ 2.10 ช่องทางการจัดจำหน่าย ที่มา : เที่ยวราชบุรี.com (2564)

2.2.3 การส่งเสริมทางการตลาด (Promotion) หมายถึง วิธีการติดต่อสื่อสารให้ถึงลูกค้า โดยมีวัตถุประสงค์ ที่แจ้งข่าวสารหรือชักจูงให้เกิดทัศนคติและพฤติกรรม การใช้บริการ รวมถึงการใช้

14
การตลาดเพื่อสร้างสัมพันธ์ 2.2 3.1 โปรโมชั่น มา 4 จ่าย 3 ทุกวันพุธ ภาพที่ 2.11 โปรโมชั่น มา 4 จ่าย 3 ทุกวันพุธ ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564)

3.2 โปรโมชั่น โครงการคนละครึ่ง

บุคลากร (People) หมายถึง ผู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการให้บริการ หรือพนักงานให้ ข้อมูล หรือให้คำแนะนำดูแลเอาใจใส่ และลูกค้าที่มาใช้บริการบุคคลของกิจการถือเป็นทรัพยากร บุคคลที่เป็นส่วนสำคัญ ทั้งในการผลิตบริการและการให้บริการในปัจจุบันเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นผู้ ควบคุมคุณภาพการให้บริการในแต่ละครั้ง ซึ่งโดยสถานการณ์การแข่งขันทางธุรกิจมีความรุนแรงมาก

15 2.2
ภาพที่ 2.12 โปรโมชั่น โครงการ คนละครึ่ง ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564) 2.2.4
ขึ้นบุคคลจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่สร้างความแตกต่างให้กับธุรกิจได้ 2.2.4.1 ด้านบุคลากร (People) หรือพนักงาน (Employee) ภาพที่ 2.13 พนักงานร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564)

พร้อมใบเสร็จทุกครั้ง

16 2.2.5 กระบวนการให้บริการ (Process) หมายถึง ขั้นตอนและวิธีการในการให้บริการ รวมถึงระเบียบวิธีการทำงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการได้นำเสนอบริการให้กับลูกค้าให้เป็นที่พึงพอใจ ตั้งแต่ ก่อนการซื้อบริการ การตัดสินใจซื้อ และหลังการซื้อบริการ 2.2.5.1 กระบวนการร้านให้บริการร้านของ Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 1) กล่าวทักทายลูกค้า ยิ้มและสบตา ด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้ม และดูเป็นธรรมชาติ 2) แจกรายการให้ลูกค้า และนำเสนอโปรโมชั่นต่าง ๆ 3) รับฟังรายการอาหารที่ลูกค้ากำลังสั่ง และทวนรายการอาหาร 4) เสิร์ฟอาหารให้กับลูกค้า 5) ชำระเงิน แจ้งจำนวนเงินที่ลูกค้าต้องจ่าย
6) รับเงินจากลูกค้า พร้อมทั้งขานจำนวนเงินที่รับมา 7) ทอนเงินลูกค้า พร้อมทั้งขานจำนวนเงินที่ทอนไป 8) กล่าวคำขอบคุณ ด้วยคำที่สุภาพและเหมาะสม ภาพที่ 2.14 กระบวนการให้บริการร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564)

โดย มีปฏิสัมพันธ์กันทั้งภายนอก และภายในที่มีองค์ประกอบที่สามารถจับต้องได้และไม่สามารถจับต้องได้ สถานที่ให้บริการ และทำหน้าที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการสื่อสารกับธุรกิจบริการนั้น ๆ

Shabu & Suki สาขาราชบุรี

17 ภาพที่ 2.15 กระบวนการให้บริการร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564) 2 2.6 ด้านลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) หมายถึง สภาพแวดล้อมและ บรรยากาศทั้งภายนอก และภายในที่เกี่ยวกับการให้ลูกค้าได้สัมผัสในการตัดสินใจเลือกใช้บริการ
2.2.6.1 บรรยากาศภายนอกร้าน พื้นที่ของร้าน Kenta
มีจำนวน 16 โต๊ะที่ ให้บริการจำนวนโต๊ะ จัดตกแต่งร้านสไตล์ญี่ปุ่น ภาพที่ 2.16 บรรยากาศภายนอกร้าน ที่มา : Kenta Shabu & Suki (2564)

2.17 บรรยากาศภายในร้าน

: Kenta Shabu & Suki (2564)

โลโก้ของร้าน Kenta Shabu & Suki

Kenta Shabu & Suki

: Kenta Shabu & Suki (2564)

18 ภาพที่
ที่มา
2.2.6.2
ภาพที่ 2.18 โลโก้ของร้าน
ที่มา

เสรีรัตน์ (2541) กระบวนการหรือขั้นตอนการตัดสินใจซื้อ (Buyer' s Decision Process) เป็นลำดับขั้นตอน ในการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคประกอบไปด้วย การรับรู้ปัญหา การ ค้นหาข้อมูล การประเมินผลทางเลือก การตัดสินใจซื้อ และพฤติกรรมภายหลังการซื้อ

และประเมินผลทางเลือกต่าง ๆ ได้แก่ คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ความสำคัญ ความเชื่อถือในตราสินค้า และทัศนคติในการเลือกตราสินค้า

4. การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision)

5. พฤติกรรมหลังการซื้อ (Post Purchase Behavior) เป็นความรู้สึกพอใจหรือไม่พอใจหลังจาก มีการซื้อผลิตภัณฑ์ไปใช้แล้ว พัลลภา อมาตยกุล (2559) ได้กล่าวถึงนักการตลาด ชื่อ John Farley และคณะที่ได้พัฒนา ทฤษฎีเพื่อนำไปใช้วางแผนการจัดบริการ เพื่อให้ผู้รับบริการตัดสินใจบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการ

19 2.3 แนวคิดและทฤษฎีการตัดสินใจซื้อ ศิริวรรณ
Stankevich (2017) อ้างถึงใน พัทธนันท์ ศุภภาคิณ และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล (2562) ได้ กล่าวว่า รูปแบบดั้งเดิมของกระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การรับรู้ปัญหา (Need Recognition) ซึ่งหมายถึงทราบความจำเป็น และความต้องการใน สินค้า 2. การค้นหาข้อมูล (Information Search) เมื่อผู้บริโภครับรู้ปัญหานั้นจะค้นหาข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลต่าง ๆ แหล่งบุคคล 3. การประเมินผลทางเลือก (Evaluation of Alternatives) เมื่อผู้บริโภคได้ข้อมูลมาแล้วจาก ขั้นที่สองผู้บริโภคจะเกิดความเข้าใจ
จากการวิเคราะห์งานวิจัยด้วยวิธี Meta Analyses แล้วเรียกว่า "ทฤษฎีการตัดสินใจ"เรียกย่อ ๆ ว่า CDM ซึ่งย่อมาจากคำว่า Consumer Decision Model ด้านทฤษฎีการตัดสินใจใช้บริการ ได้มีการอธิบายว่า การตัดสินใจใช้บริการหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ 6 องค์ประกอบซึ่งแต่ละองค์ประกอบสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน คือ 1) องค์ประกอบที่ 1 ข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ซึ่งเป็นข้อมูลข่าวสารที่ผู้รับบริการรับรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือบริการ มีได้ 2 วิธี คือ 1.1) จากประสบการณ์ทางตรง หมายถึง ผู้รับบริการได้ใช้อวัยวะสัมผัสของตน กับผลิตภัณฑ์ หรือบริการนั้นโดยตรง เช่น ได้เห็น ได้ยิน ได้ดม ได้ชิม ได้สัมผัสด้วยตนเองแล้วเกิด การรับรู้ว่าสิ่งนั้นตรงกับความต้องการของตน หรือไม่ตนเองพอใจกับการบริการนั้น 1.2) จากประสบการณ์ทางอ้อม หมายถึง ผู้รับบริการได้รับข้อมูลข่าวสาร จากคำ บอกเล่าของผู้อื่นจากสื่อสารมวลชนจากสิ่งพิมพ์โฆษณา แล้วทำให้เกิดการรับรู้สิ่งนั้นตรงกับความ

และบริการนั้นจะเกิดบวกตามมา

และระลึกถึง เครื่องหมายการค้านั้นในทางลบ 4) องค์ประกอบที่ 4 ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นการประเมิน และตัดสินใจว่าผลิตภัณฑ์ และบริการตรงกับความต้องการของตนหรือไม่ความเชื่อมั่นเกิดจากการ ได้รับ ข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการนั้น และความศรัทธาที่มีต่อเครื่องหมายการค้านั้นอิทธิพล ของความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ และบริการจะมีต่อความมุ่งมั่นที่จะใช้หรือไม่ใช้ผลิตภัณฑ์ และบริการ นั้นต่อไป

5) องค์ประกอบที่

หมายถึง การตัดสินใจใช้ด้วยการวาง

20 ต้องการของตนเอง หรือไม่ตนเองพอใจกับการบริการนั้นมากน้อยเพียงใดข้อมูลข่าวสารจะทำหน้าที่ เป็นสิ่งเร้า หรือเป็นแหล่งข้อมูลแรกที่กระตุ้นให้ผู้รับบริการนึกถึงเครื่องหมายการค้านั้น เกิด เจตคติ หรือความรู้สึกชอบ หรือไม่ชอบต่อบริการนั้น และเกิดความเชื่อมั่นในบริการนั้น 2) องค์ประกอบที่ 2 เครื่องหมายการค้าทำให้ผู้รับบริการนึกถึงลักษณะ ของ ผลิตภัณฑ์หรือบริการทั้งในด้าน รูปร่าง สี รส ขนาด การบรรจุหีบห่อ การออกแบบ ความทนทาน และคุณภาพของบริการ 3) องค์ประกอบที่ 3 เจตคติที่มีต่อเครื่องหมายการค้า เป็นความรู้สึกชอบไม่ชอบ ชอบมาก หรือชอบน้อย หรือเป็นความรู้สึกทางบวก หรือทางลบต่อผลิตภัณฑ์และบริการความรู้สึก ทางบวกหรือทางลบเกิดจากการได้รับข่าวสารหรือข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการ และเกิดจาก การนึกถึงเครื่องหมายการค้านั้น ๆ ว่ามีมาอย่างไรหากได้รับข้อมูลข่าวสารมาในเชิงบวกนึกถึง เครื่องหมายการค้านั้นในทางบวกความรู้สึกที่มีต่อผลิตภัณฑ์
ในทางตรงกันข้ามความรู้สึกในทางลบจะเกิดเมื่อได้รับข้อมูลข่าวสารมาในทางลบ
5 ความมุ่งมั่นในการใช้
แผนการใช้ เช่น จะใช้ ใช้เมื่อไร จะติดต่อการซื้อกับใคร เป็นต้น 6) องค์ประกอบที่ 6 การซื้อผลิตภัณฑ์และบริการ การซื้อผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ผู้รับบริการตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์ และบริการแล้วแสดงเป็นพฤติกรรมด้วยการซื้อ ผลิตภัณฑ์และบริการนั้น สรุปได้ว่า การตัดสินใจเป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้บริโภคนั้นตัดสินใจที่จะเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์หรือบริการใดก็ตาม โดยจะมีองค์ประกอบทั้งจากประสบการณ์ทางตรง และทางอ้อม เครื่องหมายทางการค้า หรือความเชื่อมั่นจากผลิตภัณฑ์ หรือบริการนั้น ๆ

และสามารถครอบครองตลาดได้ในเชิงธุรกิจ อย่างไรก็ตามลักษณะของผู้บริโภคนั้นไม่เสมอไปที่ ผู้บริโภคทุกคนจะผ่านขั้นตอนกระบวนการตัดสินใจทั้ง 5 ขั้นตอนดังกล่าวตามลำดับ แต่อาจจะข้าม ขั้นตอนใด ขั้นตอนหนึ่งไป หรืออาจจะย้อนกลับมาที่ขั้นตอนใดช้ำก็ได้ก่อนที่ผู้บริโภคจะตัดสินใจใช้ บริการนั้น กระบวนการตัดสินใจใช้บริการทั้ง 5 ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น มีรายละเอียด ดังนี้ 1) การรับรู้ปัญหา (Problem Recognition) กระบวนการใช้บริการเริ่มขึ้น เมื่อ ผู้บริโภคตระหนักถึงปัญหาหรือความต้องการ

21 ทฤษฎีการตัดสินใจใช้บริการ โดยอ้างจากทฤษฎีการตัดสินใจซื้อของ ฟิลิป คอตเลอร์ และ เควิน แคลเลอร์ (Philip Kotler and Kevin Keller, อ้างถึงใน รัชฎากรณ์ พรมมิรัตนะ, 2553 : 7 8) อธิบายว่า ทฤษฎีกระบวนการตัดสินใจใช้บริการของผู้บริโภคเป็นการอธิบายจิตวิทยาขั้นพื้นฐานที่ทำ ให้เข้าใจว่าผู้บริโภคมีกระบวนการตัดสินใจในการใช้บริการต่าง ๆ อย่างไรซึ่งนักการตลาดควร พยายามทำความเข้าใจในพฤติกรรมดังกล่าวของผู้บริโภค กระบวนการตัดสินใจใช้บริการของผู้บริโภคจะประกอบด้วย การรับรู้ปัญหาการค้นหาข้อมูล การประเมินทางเลือก การตัดสินใจซื้อ ความรู้สึกภายหลังการใช้บริการซึ่งกระบวนการตัดสินใจใช้ บริการของผู้บริโภค จะส่งผลให้ผู้ประกอบการสามารถวางแผนทางการตลาด เพื่อที่จะกระตุ้นความ ต้องการภายนอกของกลุ่มผู้บริโภคภายหลังจากผู้บริโภคได้ประเมินคุณค่าของสินค้าหรือบริการแล้ว ผู้บริโภคจะทำการเลือกสินค้าพร้อมบริการที่คุ้มค่า และตรงกับความต้องการมากที่สุด และจะนำไปสู่ พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดการตัดสินใจใช้บริการของผู้บริโภค การที่มีผู้บริโภคจำนวนมากขึ้นมารับบริการ จากผู้ประกอบการ ก็จะส่งผลให้การดำเนินการด้านธุรกิจของผู้ประกอบการประสบผลสำเร็จ
โดยความต้องการนั้นอาจเกิดขึ้นจากสิ่งกระตุ้น 2 สิ่ง ได้แก่ สิ่งกระตุ้นจากภายในตัวของผู้บริโภค เพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ได้แก่ ความหิว ความกระหายหรือความต้องการทางปัจจัย 4 เป็นต้น แต่ในส่วนของสิ่งกระตุ้นภายนอกนั้น จะเกิดขึ้นจากการได้รับการกระตุ้นจากสภาวะภายนอกรอบ ๆ ตัว ที่กระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความ ต้องการที่นอกเหนือจากปัจจัยขั้นพื้นฐานต่าง ๆ เช่น การเห็น การดูโฆษณา ทั้งทางโทรทัศน์หรือสื่อ สิ่งพิมพ์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้นักการตลาดจึงต้องพยายามที่จะวิเคราะห์กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพื่อที่จะ ปรับใช้กลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อที่จะกระตุ้นความต้องการภายนอกของกลุ่มลูกค้า 2) การค้นหาข้อมูล (Information Search) เมื่อความต้องการของลูกค้าถูกกระตุ้น จากนักการตลาดในระดับที่มากพอ ก็จะทำให้เกิดความพยายามในการค้นหาข้อมูลของ สิ่งเหล่านั้น เพื่อที่จะสนองตอบความต้องการที่ถูกกระตุ้นนั้นเรียกความต้องการในระดับนี้ว่า "ความตั้งใจที่จะ ค้นหา “Heightened Attenion” โดยผู้ถูกกระตุ้น จะยอมรับหรือพยายามรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับตัว

"การกระทำการค้นหาข้อมูล

ๆ เช่น อ่านจาก

เพื่อน เพื่อนบ้าน หรือคนรู้จัก

การค้า (Commercial) ได้แก่ โฆษณา เว็บไซต์ พนักงานขาย

แหล่งสาธารณะ (Public) ได้แก่ สื่อสารมวลชนต่าง ๆ

ประสบการณ์

ผู้บริโภคก็จะเริ่มประเมินทางเลือกโดย มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นแรกผู้บริโภคจะพยายามที่จะสนองความต้องการ ขั้นที่สองผู้บริโภคจะมองหา ประโยชน์ที่ได้รับจากบริการนั้น ๆ ขั้นสุดท้ายผู้บริโภคพิจารณาบริการที่มีลักษณะใกล้เคียงกันแล้ว เปรียบเทียบโดยพิจารณาถึงการสนองตอบความต้องการที่มีอยู่ได้ดีที่สุดด้วยเหตุนี้ นักการตลาดจึง ควรคำนึงถึงการสนองตอบความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ซึ่งต้องพิจารณาถึงความเชื่อ และทัศนคติของลูกค้าแต่ละกลุ่ม 4) การตัดสินใจใช้บริการ (Decision) ภายหลังจากผู้บริโภคได้ประเมินคุณค่าของ

แต่อย่างไรก็ตาม

22 สินค้า หรือบริการนั้นมากขึ้น และในระดับที่สูงขึ้นไปเรียกว่า
(Active Information search)" เป็นขั้นที่ผู้ถูกกระตุ้นพยายามกันคว้าหาข้อมูลโดยวิธีการต่าง
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ หรือพยายามสอบถามจากผู้มีประสบการณ์แหล่งข้อมูลนั้นสามารถแบ่งได้ เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 2.1) ตัวบุคคล (Personal) ได้แก่ สมาชิกในครอบครัว
2.2)
2.3)
2.4)
(Experiential) ได้แก่ การที่เคยทดลองใช้หรือได้ใช้ แต่อย่างไรก็ตามแหล่งข้อมูลที่มีบทบาทสำคัญมากที่สุดต่อผู้ซื้อคือ ตัวบุคคลบริการนั้น 3) การประเมินทางเลือก (Evaluation of Alternative) หลังจากที่ผู้บริโภคได้รับ ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับบริการมาพอสมควรแก่การตัดสินใจแล้ว
บริการแล้วผู้บริโภคจะทำการเลือกใช้บริการที่คุ้มค่า และตรงความต้องการมากที่สุด
ผู้บริโภคอาจพิจารณาถึงองค์ประกอบในการตัดสินใจอันประกอบด้วยตราสินค้าผู้ขาย ปริมาณ ช่วงเวลา และระบบการชำระค่าบริการ 5) ความรู้สึกภายหลังการใช้บริการ (Post Decision Behavior) ภายหลังจาก ผู้บริโภคได้ใช้บริการเหล่านั้นแล้ว นักการตลาดต้องทราบให้ได้ถึงความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อ บริการนั้น ๆ เนื่องจากหากผู้บริโภคมีความพึงพอใจในบริการก็จะตัดสินใจกลับมาใช้บริการซ้ำอีก สรุป จากทฤษฎีที่กล่าวมาอธิบายว่า จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตัดสินใจ ใช้บริการของผู้บริโภค 5 ขั้นตอนดังภาพที่แสดง 2.17 ซึ่งทั้งนี้ในกระบวนการตัดสินใจ จะมี ความสัมพันธ์กับความนึกคิด ความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไป เพราะการใช้ชีวิตหรือทัศนคติ หรือสิ่ง รอบข้างสิ่งจูงใจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล

ภาพที่ 2.19 แบบจำลองกระบวนการตัดสินใจซื้อ 5 ขั้นตอน ที่มา : สุชาติ ไตรภพสกุล (2565) 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการบริการ ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์ (2554, หน้า 9) กล่าวว่า การบริการ หมายถึง กิจกรรมที่เกิดขึ้น ระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายที่มีปฏิบัติสัมพันธ์ต่อกัน โดยกิจกรรมนั้นจะมีสินค้าเป็นองค์ประกอบร่วมด้วย หรือไม่ก็ได้ สมิต สัชุฌกร (2555, หน้า 13) กล่าว หมายถึง การปฏิบัติงานที่กระทำหรือติดต่อและเกี่ยวข้อง กับผู้ใช้บริการการให้บุคคลต่าง ๆ ได้ใช้ประโยชน์ในทางใดทางหนึ่ง ทั้งด้วยความพยายามใด ๆ ก็ตาม ด้วยวิธีการหลากหลายในการทำให้คนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้รับความช่วยเหลือจัดได้ว่าเป็นการ ให้บริการทั้งสิ้น ชัยสมพล ชาวประเสริฐ (2556, หน้า 18) กล่าวว่า การบริการ หมายถึง กิจกรรมของ กระบวนการส่งมอบสินค้าที่ไม่สามารถจับต้องได้ของธุรกิจให้กับผู้รับบริการ โดยสินค้าที่ไม่สามารถจับ

23
ต้องได้นั้นจะต้องตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการจนนำไปสู่ความพึงพอใจได้ ความสำคัญของการบริการ จากความเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาของเทคโนโลยีทำให้ธุรกิจมีการแข่งขันกันมากขึ้น การ บริการ จึงเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการประกอบธุรกิจโดยมีจุดประสงค์ เพื่อสร้างความ ได้เปรียบทางการแข่งขัน การบริการนั้นแตกต่างจากการจำหน่ายสินค้า โดยส่วนมากจะผสมผสาน หรือควบคู่ไปกับสินค้า เช่น การรับประทานอาหารชาบูประเภทบุฟเฟต์มีบริการอาหารทานเล่น เพื่อ เป็นการสร้างความประทับใจให้แก่ลูกค้าขณะนั่งรออาหาร และมีบริการหมวกคลุมผมสำหรับลูกค้าที่ ไม่ต้องการให้กลิ่นอาหารติดเส้นผม เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับลูกค้า เป็นต้น การบริการมี ลักษณะสำคัญต้องมี 2 ฝ่ายเสมอคือ ผู้ให้บริการและผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการนั้น ๆ การรับรู้ถึงความ ต้องการหรือ ปัญหา การแสวงหา ข้อมูล การประเมิน ทางเลือก การตัดสินใจซื้อ พฤติกรรมหลัง การซื้อ

โดยมุ่งเน้นที่ตัวลูกค้าเป็น ศูนย์กลางของการบริการด้วยการตอบสนองความต้องการของลูกค้า และทำให้ลูกค้าที่มารับบริการ เกิดความพึงพอใจ และภาพลักษณ์เบื้องต้นโดยต้องมีบุคลิกภาพและการแสดงออกด้วยมิตรไมตรี ที่ สามารถทำให้ผู้รับบริการ 1.3 ทำให้ตระหนักถึงบทบาทและพฤติกรรมของการบริการ การบริการที่พึงปฏิบัติเป็น บทบาทเกิดความประทับใจ และกลับมาใช้บริการซ้ำอย่างต่อเนื่องจนเป็นลูกค้าประจำได้

1.4 ทำให้รู้จักวิเคราะห์ความต้องการของผู้รับบริการและคุณลักษณะของการบริการที่ สร้างความ ประทับใจแก่ผู้รับบริการรวมทั้งสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างทันการณ์ ซึ่งจำเป็น ต้องใช้การฝึกฝน ทักษะในการแก้ไขปัญหา เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจในการบริการที่ได้รับ อย่างสำเร็จลุล่วง ปัจจุบันผู้ประกอบการบริการต่างตระหนักตรงกันถึงความสำคัญของการบริการมาก

24 จะขาดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ได้ โดยความสำคัญของการบริการนั้นมีความสำคัญกับทั้ง 2 ฝ่าย (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554, หน้า 14 16) ดังนี้ 1. ความสำคัญต่อผู้ให้บริการ การบริการมีความสำคัญต่อผู้ให้บริการ คือ 1.1 การปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานบริการ เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งใน กระบวนการบริการโดยเฉพาะผู้ให้บริการ หรือผู้ปฏิบัติการส่วนหน้าเนื่องจากเป็นบุคคลที่ปฏิสัมพันธ์ กับผู้รับบริการโดยตรงเริ่มตั้งแต่การต้อนรับผู้ที่เข้ามาติดต่อจนกระทั่งจากกันเมื่อบริการนั้น ๆ สิ้นสุด ลง ถ้าผู้ให้บริการมีความตระหนัก และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของการให้บริการที่ดีจะต้องให้บริการด้วย ใจ (service mind) อย่างเต็มใจและเต็มเปี่ยมด้วยอารมณ์ที่เป็นมิตรในการช่วยให้ผู้รับบริการเกิด ความพึงพอใจจนผู้ให้บริการเกิดการเรียนรู้ และสามารถนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพอันจะนำไปสู่การ เป็นนักบริการมีออาชีพได้ 1.2 ทำให้เกิดการรับรู้เป้าหมายของการให้บริการที่ถูกต้อง
ขึ้น และพยายามหากลยุทธ์ในการแข่งขันทางการตลาดที่นับวันจะก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น การทำความ เข้าใจเกี่ยวกับการบริการจะช่วยให้ผู้ประกอบการบริการสามารถสร้างความเป็นเลิศในการบริการด้วย คุณลักษณะของการบริการ ที่ยอดเยี่ยม (SERVICE MIND) ประยุกต์มาจาก (อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์ ,2549) ดังนี้ S (Smile & Sympathy) หมายถึง ยิ้มแย้ม และความเห็นอกเห็นใจลูกค้า E (Enthusiasm) หมายถึง ให้บริการด้วยความกระตือรือร้น/คล่องแคล่ว R (Respectful) หมายถึง แสดงออกถึงความนับถือ/ให้เกียรติลูกค้า V (Voluntariness) หมายถึง ให้บริการลูกค้าด้วยความสมัครใจ/เต็มใจทำ I (Impression) หมายถึง ให้บริการลูกค้าเกิดความประทับใจ C (Courtesy) หมายถึง ให้บริการลูกค้าอย่างมีมารยาท E (Endurance) หมายถึง มีความอดทน/เก็บอารมณ์

M

I

N

D

และในโอกาสต่อไป 2.2 ผู้รับบริการในฐานะผู้แจ้งหรือแสดงเจตนาในการรับบริการ โดยแสดงถึงพฤติกรรมที่ พึงประสงค์ ดังนั้นผู้ให้บริการจึงต้องมีการเตรียมความพร้อมในการให้บริการ โดยเฉพาะด้านบุคคลที่ ต้องมีปฏิสัมพันธ์กันไม่ว่าจะเป็นด้านมารยาทที่ดีสื่อสารด้วยคำพูดที่ชัดเจนเข้าใจง่าย เพื่อให้บริการได้ ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการเสนอการบริการที่ถูกต้องครบถ้วน และประทับใจก็จะทำให้เกิด ทัศนคติที่ดีต่อการบริการนั้น ๆ ลักษณะของการบริการที่ดี ลักษณะของการบริการที่ดี กล่าวว่า การบริการที่ดีอันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป (สมิต สัชฌุกรม,

หน้า

มีดังนี้

บริการด้วยความตั้งใจและเต็มใจ

ถ้ามีความรักในงานบริการ

25
(Make Believe) หมายถึง ทำให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่น
(Insist) หมายถึง ให้การยืนยันกับลูกค้า
(Needs) หมายถึง สนองความต้องการให้กับลูกค้า
(Devote) หมายถึง การอุทิศตนเพื่อช่วยเหลือลูกค้า 2. ความสำคัญต่อผู้รับบริการ ธุรกิจบริการจะให้ความสำคัญกับลูกค้าหรือรับบริการต่าง ๆ และพยายามดำเนินการทุกวิถีทางที่จะสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่บุคคล หรือกลุ่มบุคคลดังกล่าว ดังนั้นผู้รับบริการจึงจำเป็นที่จะต้องรู้ขอบเขต และความเป็นไปได้ในการใช้บริการล่วงหน้าของตนเอง เพื่อคาดหวังว่าการบริการที่จะได้รับมีความสมเหตุสมผลเพียงใด ซึ่งความสำคัญต่อผู้รับบริการ มีดังนี้ 2.1 ผู้รับบริการควรต้องรับรู้และเข้าใจลักษณะของงานบริการที่พึงได้รับโดยประเมิน ความคาดหวังการบริการตามลักษณะของงานบริการ และตามความเป็นไปได้ในสภาพนั้น ๆ เพื่อ ประเมินการใช้บริการในครั้งนี้
2555
62 63)
1)
การบริการเป็นเรื่องของจิตใจ
ก็จะทำทุกอย่างในการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อื่นด้วยความตั้งใจ และเต็มใจผลของการกระทำก็มักจะ เกิดขึ้นด้วยดี 2) บริการด้วยความถูกต้องตามมาตรฐาน ลูกค้าจะเกิดการยอมรับจะต้องบริการในระดับที่ เป็น ไปตามข้อกำหนดตามของมาตรฐานซึ่งผู้เกี่ยวข้องยอมรับ 3) บริการด้วยความรวดเร็วตรงตามเวลา ลูกค้าส่วนใหญ่ต้องการได้รับบริการที่ตรงตามเวลา ตามสัญญาหรือข้อตกลง ดังนั้นการบริการจะต้องรักษาเวลาเป็นสำคัญ แม้บริการดีเพียงใดไม่ตรงตาม เวลาเกิดความล่าช้าก็ส่งผลลบต่องานบริการได้ 4) บริการด้วยความครบถ้วนสมบูรณ์ การให้บริการที่ครบถ้วนสมบูรณ์จะเป็นการตอบสนอง ความต้องการ และทำความพอใจให้แก่ผู้รับบริการอย่างชัดแจ้งครบถ้วนเป็นสิ่งสำคัญ

อดิเรกไม่ว่าจะเป็นงานเขียนหนังสือ งานปลูกต้นไม้ หรืองานเก็บสะสมสิ่งของหายาก ซึ่งต้องใช้ความ มุ่งมั่นมานะเพียรพยายามเป็นพิเศษมากกว่างานปกติในหน้าที่ประจำ ซึ่งเป็นงานที่ได้รับมอบหมายให้ ทำไม่ได้เกิดจากความสมัครใจเว้นเสียแต่งานในหน้าที่เป็นงานที่รักชอบเกิดความสมัครใจทำ ซึ่งจะเป็น ผลให้เราเอาใจใส่ต่องานนั้น งานบริการก็เช่นกัน ซึ่งจะทำได้ดีก็จะต้องมีใจรัก และชอบงานบริการ 2. มีความรู้ในงานที่จะให้บริการ งานบริการต้องการความถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์เป็นสิ่ง สำคัญ ดังนั้น ผู้ซึ่งจะทำงานบริการในเรื่องใดจำเป็นจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในงานที่ตนจะต้อง ให้บริการอย่างถูกต้องแท้จริง มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดความผิดพลาดตกหล่นเสียหายแก่งานบริการนั้น

26 5) บริการด้วยคุณภาพที่สม่ำเสมอ การให้บริการที่สม่ำเสมออย่างเท่าเทียมเสมอภาคนำ มาซึ่งพึงพอใจแก่ลูกค้า แม้ว่าลูกค้าส่วนใหญ่ต้องการสิทธิพิเศษ และเรียกร้องที่จะได้รับบริการดี กว่าเดิม หรือเหนือกว่าผู้อื่น หากแสดงออกให้ลูกค้าเหล่านั้นเห็นว่าการให้บริการเป็นพิเศษแก่บางคน ก็เท่ากับไม่ให้บริการอย่างเป็นธรรม เป็นการสร้างความพึงพอใจให้แก่คนเพียงคนเดียวแต่กลับสร้าง ความไม่พึงพอใจให้แก่คนอีกจำนวนมากเว้นแต่การบริการให้เป็นพิเศษแต่ต้องแสดงออกให้ทุกคนเห็น ว่า เป็นการบริการอย่างเสมอภาค และในเงื่อนไขพิเศษที่กำหนด เช่น ลองครบรอบเปิดกิจการใหม่ เทศกาลวันแห่งความรัก ลูกค้าที่เกิดเดือนนี้ เป็นต้น คุณลักษณะของผู้ทำงานด้านบริการ สมิต สัชฌุกร (2546, หน้า 23 32) ได้ให้รายละเอียดคุณลักษณะของผู้ที่จะทำงานด้าน บริการได้ดี มีดังต่อไปนี้ 1. มีจิตใจรักงานบริการ เมื่อทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดด้วยความสมัครใจทุ่มเทแรงกายแรงใจให้แก่สิ่ง นั้น ย่อมเกิดจากความมีใจรักเป็นทุนเดิม จะเห็นได้จากการที่เราให้เวลาให้ความเอาใจใส่สนใจกับงาน
ๆ ได้ ผู้ที่จะทำงานบริการในแต่ละงาน จึงต้องขวนขวายหาความรู้ในงานเฉพาะนั้นให้รู้แจ้งรู้จริงอย่าง ถ่องแท้ เพื่อให้มีคุณลักษณะเพียงพอแก่การเป็นผู้ให้บริการในงานที่ตนรับผิดชอบ 3. มีความรู้ในตัวสินค้าหรือบริการ เหตุผลที่ว่า ผู้ทำงานบริการจำเป็นต้องมีความรู้ในตัว สินค้า หรือบริการที่ตนจะเป็นผู้ให้บริการ เพราะการให้ความรู้และสารสนเทศ (Information) เกี่ยวกับตัวสินค้า หรือบริการเป็นส่วนสำคัญของงานบริการ และเป็นงานบริการขั้นพื้นฐานที่ทุกคน จะต้องทำงานในแต่ละหน้าที่ หากผู้ทำงานบริการไม่มีความรู้ในตัวสินค้าและบริการแล้ว ก็ไม่สามารถ จะอธิบายหรือให้คำชี้แจงเป็นการช่วยเหลือแก่ผู้รับบริการได้ 4. มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติตน ผู้ทำงานบริการจะต้องติดต่อสัมพันธ์เกี่ยวกับคน ต่าง ๆ มากหน้าหลายตา การวางตนจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะเป็นพันธะผูกพันต่อผลที่ได้กระทำลงไป หากการปฏิบัติตนเป็นผลให้ผู้รับบริการพึงพอใจก็ดีไปแต่ถ้าในทางตรงกันข้าม การปฏิบัติตนเป็นผลให้ ผู้รับบริการเกิดความไม่พอใจ ก็ย่อมจะส่งผลเสียต่องานบริการได้ การปฏิบัติตนเป็นเรื่องที่ต้อง

"ลูกค้าเป็นฝ่ายถูกเสมอ" ทั้งนี้ก็เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อลูกค้า หรือ ผู้ใช้บริการอย่างดีที่สุด เมื่อใดก็ตามที่ผู้ให้บริการมีการผูกพันตนต่อผลของการกระทำ หรือพันธกิจที่ดี ต่อลูกค้า หรือผู้ให้บริการย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าจะมีการให้บริการอย่างมีคุณภาพ เนื่องจาก ระมัดระวังที่จะสร้างความพอใจ และสนองตอบความต้องการของลูกค้าอย่างสอดคล้องถูกต้อง และครบถ้วน 7. มีทัศนคติต่องานบริการดี การบริการในความหมายก็บ่งบอกแล้วว่าเป็นการให้ความ ช่วยเหลือ ผู้ทำงานบริการเป็นผู้ให้ จึงต้องมีความคิดความรู้สึกต่องานบริการในทางที่ชอบ และเต็มใจ ที่จะให้บริการ ถ้าผู้ใดมีความคิดความรู้สึกไม่ชอบงานบริการแม้จะพอใจในการบริการจากผู้อื่นก็ไม่ อาจจะทำงานบริการให้เป็นผลดีได้ ทัศนคติมีอิทธิพลต่อกระบวนการคิดของผู้ทำงานบริการมาก ถ้า

27 ระมัดระวังทั้งด้านกายและวาจา เนื่องจากเป็นสิ่งปรากฏให้เห็นได้ง่าย ทั้งจากการแต่งกาย การแสดง กิริยามารยาท การพูดการสื่อสารทั้งที่ใช้ถ้อยคำและไม่ใช้ถ้อยคำ แต่เป็นภาษาที่ทำให้เกิดความเข้าใจ ได้ต่าง ๆ กัน 5. มีความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่ ผู้ใดที่ขาดความรับผิดชอบย่อมไม่อาจทำงานใดให้ สำเร็จได้ เพราะความรับผิดชอบเป็นเงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้งานบรรลุผลผู้ซึ่งไม่มีความรับผิดชอบ ย่อมจะไม่ผูกพันตนต่อผลของการกระทำอาจเพิกเฉยละเลยต่อสิ่งที่ควรทำ เพื่อให้เกิดผลดีต่องาน บริการไม่เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ในการให้บริการอย่างเสียไม่ได้ ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่ จึงเป็นคุณลักษณะที่สำคัญมากในการทำงานบริการ 6. มีความรับผิดชอบต่อลูกค้าหรือ ผู้ใช้บริการด้านการตลาด การขาย และงานบริการเรา ปลูกฝังทัศนคติให้เห็นความสำคัญของลูกค้า หรือผู้รับบริการด้วยการยกย่องว่า "ลูกค้าคือ พระราชา" เท่านั้นยังไม่พอ ยังมีผู้ยกย่องว่า "ลูกค้า คือ พระเจ้า" และไม่ว่าลูกค้าจะเป็นอย่างไรเรายัง ต้องขอตั้งสมมติฐานว่า
บุคคลใดมีทัศนคติต่องานบริการดีก็จะให้ความสำคัญต่องานบริการ และปฏิบัติงานอย่างเต็มที่เป็นผล ให้งานบริการมีคุณค่า และนำไปสู่ความเป็นเลิศ 8. มีจิตใจมั่นคงไม่โลเล ผู้ทำงานบริการจะต้องมีความมั่นคงในจิตใจไม่ว่าจะมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดมา กระทบก็จะต้องตั้งสติ และระลึกถึงงานบริการเป็นสำคัญหากมีอารมณ์อ่อนไหวเกิดเหตุการณ์ใดมา กระทบจิตใจทำให้เกิดปฏิกิริยาในทางร้ายอย่างรุนแรงย่อมจะทำให้การบริการมีผลเสียไปได้ในการ บริหารงานบริการจะมีนโยบายควบคุมการทำงานให้เป็นไปตามแผนการให้บริการ ผู้ทำงานบริการ จะต้องปฏิบัติตามนโยบายอย่างเคร่งครัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ผู้ทำงานบริการก็จะต้องปรับวิธีการให้บริการอย่างเต็มที่ถืออยู่ในนโยบายเดิม 9. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผู้ทำงานบริการเป็นผู้ที่อยู่กับงานได้พบเห็นเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นประสบการณ์ตรง จึงควรมีความคิดใหม่ ๆ ในการปฏิรูปงานบริการได้ดีไม่ควรยึดอยู่กับการ

ในการบริการอาจมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ซึ่งผู้ทำงานบริการจะต้องพิจารณาคิดทบทวนตริตรองใคร่ครวญอย่างรอบคอบว่า จะทำประการใด เช่น ในกรณีขอบริการที่เกินกว่าจะปฏิบัติได้หรือการเรียกร้องให้บริการในกรณีที่ขัดต่อนโยบายของ หน่วยงาน เช่น การขอสิทธิพิเศษการแลกเปลี่ยนหรือการขอคืนสินค้าซึ่งนโยบายขายขาดไม่รับคืน เป็นต้น ผู้ทำงานบริการจึงต้องใช้วิจารณญาณไตร่ตรองว่าควรจะทำประการใดมิใช่นำเรื่องที่เป็น ปัญหามาให้ผู้บังกับบัญชาต้องพิจารณาวินิจฉัยสั่งการในทุกเรื่อง 12. มีความสามารถวิเคราะห์ปัญหา ผู้ทำงานบริการจะต้องมีความสัมพันธ์ทั้งโดยตรง โดย ทางอ้อมกับบุคคลต่าง ๆ ซึ่งมีภูมิหลังที่หลากหลายต่างกัน ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีการติดต่อสัมพันธ์

28 ให้บริการที่เคยทำมาอย่างไรก็ทำไปอย่างนั้น เป็นการสานต่องานที่ไม่ดีไม่เกิดการพัฒนาควรที่จะเป็นผู้ มีลักษณะเฉพาะในการคิดเปลี่ยนแปลงใหม่ให้ดีกว่าเดิม มีการคิดดัดแปลงการให้บริการเหนือกว่า เดิม ทั้งนี้ผู้มีความสร้างสรรค์จะมีการรับรู้ และสร้างจินตนาการจากประสบการณ์นำมาใช้ในการ สร้างสรรค์งานบริการให้ดีขึ้น 10. มีความช่างสังเกต ผู้ทำงานบริการจะต้องมีลักษณะเฉพาะตัวเป็นคนมีความช่างสังเกต เพราะหากมีการรับรู้ว่าบริการอย่างไรจึงจะเป็นที่พอใจของผู้รับบริการ ก็จะพยายามนำมาคิด สร้างสรรค์ให้เกิดบริการที่ดียิ่งขึ้นเกิดความพึงพอใจ และตอบสนองความต้องการของลูกค้า หรือผู้ใช้บริการได้มากยิ่งขึ้น การรับรู้ที่ได้มาจากการสังเกตติดอยู่ในความทรงจำสามารถนำมา ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานบริการได้ผู้ทำงานบริการที่ไม่มีความช่างสังเกตจะคิดไม่ออก และ แยกไม่ได้ว่าบริการที่ดีกับบริการที่ไม่ดีมีจุดแตกต่างกันอย่างไร 11. มีวิจารณญาณไตร่ตรองรอบคอบ
ด้วยตามปกติ แต่บางคนอาจนำปัญหามาให้ผู้ทำงานบริการทั้งที่เป็นปัญหาเกิดจากด้านผู้รับบริการทำ ขึ้น เพราะนำผลิตภัณฑ์ไปใช้ผิดวิธี หรือทำให้เกิดการแตกหักเสียหายด้วยความพลั้งพลาดของตนเอง และบางกรณีก็เกิดจากฝ่ายผู้ให้บริการคนอื่น ๆ หรือคนในหน่วยงานเดียวกันส่งมอบสินค้าด้อย คุณภาพ ผิดเวลาส่งมอบ ดำเนินการล่าช้าในการให้บริการหลังการขายล้วนเป็นปัญหา ผู้ให้บริการ จะต้องสามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาสาเหตุที่แท้จริงให้พบ และคิดหาวิธีแก้ปัญหาเป็นทางเลือก หลายๆ ทาง และเลือกทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด

ผู้ ให้บริการและผู้รับบริการใน เงื่อนไขของเวลา สถานที่ และ วิธีการในการให้บริการ

1. เพิ่มประสิทธิภาพใน การสรรหาคัดเลือกและ ฝึกอบรมพนักงานให้เท่า เทียมกัน

2. เพิ่มประสิทธิภาพใกระ บวนการให้บริการที่มี มาตรฐาน 3. มีระบบในการติดตาม และประเมินผลความพึง พอใจของลูกค้าอย่าง สม่ำเสมอ 3. ไม่สามารถแยกการผลิต ออกจากการบริโภคได้ (inseparability)

การผลิตบริการกับการได้รับบริการ จะอยู่ร่วมกันในขณะเดียวกัน ไม่ สามารถแยกออกจากกัน

29 ตารางที่ 2.1 สรุปลักษณะเฉพาะของบริการ ปัญหา และแนวทางการแก้ไข ที่มา : พนิตสุภา ธรรมประมวล (2563) สรุปได้ว่า การบริการ คือ การให้ความช่วยเหลือ หรือกิจกรรมดำเนินการเพื่อผลประโยชน์ เพื่อให้ความพึงพอใจที่ให้บุคคลหนึ่ง การบริการถือว่าเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่าง ลักษณะเฉพาะของบริการ ปัญหา แนวทางการแก้ไข 1. ไม่อาจจับต้องได้ (intangible) บริการจับต้องไม่ได้ ลูกค้าไม่ สามารถมองเห็น จึงไม่สามารถดู ด้วยสายตา หรือทดลองก่อนซื้อได้ แสดงด้วยหลักฐานทาง กายภาพพยายามสื่อให้ เห็นและเข้าใจในลักษณะ บริการ 2. คุณภาพไม่คงที่ (variability/heterogeneity) 1. คุณภาพของบริการมักไม่คงที่ 2. คุณภาพจะขึ้นอยู่กับทั้ง
1. เพิ่มความรวดเร็วในการ ให้บริการ 2. พยายามออกแบบการ ให้บริการลูกค้าพร้อม ๆ กัน ในการให้บริการแต่ละ ครั้ง 4. ไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้ (perishability) เกิดการสูญเสีย ทำให้เสียโอกาสใน การขายบริการ พยายามปรับอุปสงค์ และ อุปทานให้มีความสมดุลกัน

จุดเริ่มต้นมาจากคุณขิงได้มีโอกาสไปศึกษาที่ประเทศญี่ปุ่นใน เมือง โอโมริ ซึ่งได้ซึมซับวัฒนธรรมการรับประทานอาหารญี่ปุ่นจากที่ชื่นชอบจนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญด้าน การรับประทาน หลังจากจบการศึกษาระดับปริญญาตรีได้มีโอกาสกลับมาทำงานประจำที่จังหวัด ราชบุรีบ้านเกิดแล้วฉุกคิดได้ว่าในละแวกนี้ยังไม่มีชาบูสไตล์ญี่ปุ่นแท้ ๆ ที่รสชาติถูกปากจึงได้ชักชวน หุ้นส่วนอีกท่าน ซึ่งเชี่ยวชาญ และพิธีพิถันในการรับประทานอาหารมาร่วมกันพัฒนาสูตรน้ำซุป และ คัดสรรวัตถุดิบที่ดีที่สุดจากที่ต่าง ๆ มาผสมผสานจนเป็นชาบูที่รสชาติยอดเยี่ยมได้มาตรฐานราวกับไป ทานที่ญี่ปุ่นอีกทั้งสิ่งที่ เคนตะชาบูโดดเด่นนอกจากเอกลักษณ์ และรสชาติแบบญี่ปุ่นคุณภาพและ วัตถุดิบชั้นดีนำเข้าโดยตรงจากญี่ปุ่นทางร้านเลือกใช้ หมูอนามัยจากเบทาโกร และผักปลอดสารจาก สวนเกษตรอินทรีย์ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี แรงบันดาลใจในการเปิดร้าน Kenta Shabu&

จึงอยากทำธุรกิจเอง

30 ยิ่งแก่ผู้บริโภคและระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ผู้ประกอบการได้พยายามหาวิธีการ ต่าง ๆ ใน การจำแนกประเภทบริการ เพื่อให้เข้าใจหลักการของการบริการชัดเจน โดยการบริการนั้นมีลักษณะ พิเศษแตกต่างจากสินค้าทั่วไปที่ต้องมีการบริการจัด รอบคอบ เพราะการบริการเป็นปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้ให้บริการ และผู้รับบริการ ดังนั้นผู้ประกอบการบริการจึงต้องพยายามแสวงหาวิธีการต่าง ๆ มาใช้เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้มากที่สุดด้วยวิธีการที่หลากหลายในการทำให้คนต่าง ๆ ได้รับความช่วยเหลือ และสร้างความประทับใจ 2.5 ข้อมูลเกี่ยวกับร้าน Kenta Shabu & Suki 2.5.1 ประวัติร้าน Kenta Shabu & Suki เจ้าของร้าน Kenta Shabu & Suki เปิดครั้งแรกในเดือน ตุลาคม พ.ศ 2558 โดยคุณขิง และคุณน้ำหวาน หุ้นส่วนของร้าน
Suki คุณขิงและคุณน้ำหวานไม่ชอบการเป็นพนักงานประจำและทำงานราชการ
ในการเลือกสถานที่ทำการเลือกอำเภอเมือง ราชบุรี เพราะอำเภอบ้านโป่งไม่มีอาคารว่างให้เช่าใน ขณะนั้น เหตุผลการตั้งชื่อร้าน Kenta Shabu & Suki เพราะคุณขิงเป็นนักกีฬาเทควันโด้ (อดีตทีม ชาติ) ซึ่งเป็นคนแข็งแรง คุณน้ำหวานคิดไม่ออกจึงตั้งชื่อว่าเคนตะ ซึ่งแปลว่า ความแข็งแรงเคนตะ แปลว่าแข็งแรง แข็งแกร่ง ในการจัดทำแผนธุรกิจ มีการจัดทำแผนธุรกิจ และแก้ไขปรับเปลี่ยนกัน ตลอดเวลา มีการคิดกลยุทธ์ โปรโมชั่น การทำการตลาดทุกแบบจนเจอแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่ กลุ่ม ลูกค้าเป้าหมาย เหมาะกับ ทุกช่วงอายุ เน้นกลุ่มเพื่อนสนิทและครอบครัว รวมถึงเพื่อนร่วมงาน ให้มา รับประทานและมีประสบการณ์การทานร่วมกัน จุดเด่นของร้าน Kenta Shabu คือน้ำซุปต้นตำรับ จากญี่ปุ่น และวัตถุดิบคุณภาพ ในราคาที่เข้าถึงได้ เคนตะชาบูเปิดทำการมาแล้วกว่า 6 ปี ที่จังหวัด ราชบุรี และยังคงขายดียิ่งขึ้นตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

มีอายุระหว่าง 20 30 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษา ปริญญาตรี/ปวส. ประกอบอาชีพพนักงานทั่วไป และมีรายได้ต่อเดือน 10,001 20,000 มาใช้บริการ กับครอบครัว ความถี่ในการมาใช้บริการ 1ครั้ง/เดือน เหตุผลที่เลือกใช้บริการมีรายการอาหารที่ น่าสนใจ ช่วงเวลาที่มาใช้บริการ 17.01 19.00 น. มาใช้บริการในวันเสาร์ ประเภทอาหารที่ชอบมาก ที่สุดเมนูสุกี้ และทราบข้อมูลข่าวสารจาก โฆษณาของร้านจาก โทรทัศน์ ผลการศึกษาความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการร้านเอ็มเค เรสโตรองค์ กรุ๊ป จำกัด มหาชน สาขาซีคอนศรีนครินทร์ ตามหลักส่วน ประสมทางการตลาดบริการ (7P's) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด และด้านส่งเสริมการตลาดมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ผลการเปรียบเทียบ ความพึงพอใจของร้านเอ็มเค เรสโตรองค์ กรุ๊ป จำกัด มหาชน สาขา ซีคอนศรีนครินทร์ ตามหลักส่วน ประสมทางการตลาดบริการ จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล พบว่าด้านเพศมีความพึงพอใจต่อ การบริการร้านเอ็มเค

31 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นัฐกาญจน์ รัตนทิตย์ ณัฐฑริกา สีดามาตย์ และกรกนก เรืองรักษ์ (2562) ได้ทำการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการร้านเอ็มเค เรสโตรองค์ กรุ๊ปจำกัด มหาชน สาขาซีคอนศรีนครินทร์ ตาม หลักส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการร้านเอ็มเค และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้านเอ็มเค เรสโตรองค์ สาขาซีคอนศรีนครินทร์ ได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t test และF test โดย วิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วย Scheffé Analysis ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
เรสโตรองค์ กรุ๊ป จำกัด มหาชน ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านอายุมีความพึงพอใจต่อ การบริการร้านเอ็มเค เรสโตรองค์ กรุ๊ป จำกัด มหาชน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ศิวกร ตลับนาค (2561) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหาร ญี่ปุ่น ประเภทชาบู ในอำเภอพุทธมลฑล จังหวัดนครปฐม มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วน บุคคลในการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทชาบู เพื่อศึกษาการเลือกใช้บริการธุรกิจ ร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทชาบู เพื่อศึกษาปัจจัยในการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นประเภท ชาบู เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยในการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น ประเภทชาบูจำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคล และเพื่อเปรียบเทียบปัจจัยในการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น ประเภทชาบู

จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ

ตัวอย่างที่ใช้การศึกษา คือผู้บริโภคที่เข้ามาใช้บริการ

โดยทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับร้านอาหารชาบูจากเพื่อน/คนรู้จัก และสาเหตุที่ผู้บริโภคกลับมาบริโภคชาบูซ้ำ เพราะรสชาติอาหาร ปัจจัยในการเลือกใช้บริการธุรกิจ ร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทชาบูโดยรวมพบว่าผู้บริโภคมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณา เป็นรายด้านเรียงจากมากไปหาน้อยพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ด้าน ราคา ด้านบุคลากร ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านลักษณะทางกายภาพ และค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการให้บริการ เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจ ร้านอาหารญี่ปุ่น ประเภทชาบูจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าผู้บริโภคที่มีอายุแตกต่างกันมีผลต่อ การใช้ ปัจจัยในการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น ประเภทชาบูแตกต่างกัน นอกนั้นไม่แตกต่าง

.05 และเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจ ร้านอาหารญี่ปุ่น

32 จำแนกตามการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น
รายได้ เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ ระดับการศึกษา
ธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทชาบู จำนวน 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการศึกษา พบว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 15 24 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าหรือ เท่ากับ 10,000 บาท โดยเป็นนักเรียน/นักศึกษา และมีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ผู้บริโภค ส่วนใหญ่เลือกบริโภคประเภทเนื้อสัตว์โดยทานเป็นชาบูน้ำซุปใส และเลือกน้ำจิ้มสุกี้ ที่มีรสชาติปาน กลาง โดยเลือกทานในช่วงเวลาบ่าย ส่วนใหญ่รับประทานกับเพื่อน เดือนละ 2 3 ครั้ง เนื่องในโอกาส พิเศษ/วันสำคัญต่าง ๆ ทั้งนี้จ่ายค่าอาหาร ชาบูครั้งละต่ำกว่า 200 บาท ผู้บริโภคเลือกร้านชาบูเพราะ มีที่นั่งเพียงพอ และสะดวกสบาย
กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
จำแนกตามการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทชาบู พบว่าผู้บริโภคที่มี ความถี่ในการทานอาหารชาบู การเลือกทำเลที่ตั้งของร้าน รายการน้ำซุปของชาบู รายการน้ำจิ้มของ ชาบูค่าใช้จ่ายในการรับประทานชาบูโดยเฉลี่ยต่อครั้ง บุคคลที่ร่วมรับประทานชาบู แหล่งข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับร้านอาหารชาบูสาเหตุที่ทำให้กลับมาใช้บริการซ้ำแตกต่างกัน มีผลต่อการใช้ปัจจัยใน การเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทชาบูแตกต่างกัน นอกนั้นไม่แตกต่างกัน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปรียานุช คูสกุล (2561) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารร้าน ยู แอนด์ไอพรีเมี่ยมสุกี้บุฟเฟ่ต์ สาขาศูนย์การค้าเมกาบางนา ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารร้าน ยูแอนด์ไอ พรี เมี่ยมสุกี้บุฟเฟ่ต์ สาขาศูนย์การค้าเมกาบางนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริโภคอาหารร้าน

0.771)

ประเภทชาบูของผู้ใช้บริการ ในจังหวัดนนทบุรี ในด้านส่วนประสมการตลาด วัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ในด้าน เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่ มีผลในการใช้บริการร้านอาหารประเภทชาบู และเพื่อศึกษาการใช้บริการร้านอาหารประเภทชาบูของ ผู้บริโภค ในจังหวัดนนทบุรี ในด้านส่วนประสมทางการตลาด จำแนกตามปัจจัยทางประชากรศาสตร์ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ ตัวอย่างที่ใช้การศึกษา คือผู้บริโภคที่เคยใช้ บริการร้านอาหารชาบู ในจังหวัดนนทบุรี จํานวน 388 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ทําการสุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือทีใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t test และ F test ผลการศึกษาพบว่า

227

ส่วนใหญ่มีอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 20 ปี จํานวน

คน มี

33 ยูแอนด์ไอพรีเมี่ยมสุกี้บุฟเฟ่ต์ สาขาศูนย์การค้าเมกาบางนา จำนวน 400 คนโดยใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ช่วงอายุ 21 30 ปี การศึกษา ปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/ลูกจ้าง รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 15,000 30,000 บาท และผลการศึกษาพบว่าระดับความคิดเห็นปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ที่ มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหาร ร้านยูแอนด์ไอพรีเมี่ยมสุกี้บุฟเฟ่ต์ สาขาศูนย์การค้าเมกาบางนา โดยภาพรวมอยู่ในระดับความคิดเห็นมาก (ที่สุด (x= 4.18, S.D. = 0.659) และระดับความคิดเห็น ด้านการตัดสินใจบริโภคอาหารร้านยูแอนด์ไอพรีเมี่ยมสุกี้ บุฟเฟ่ต์ สาขาศูนย์การค้าเมกาบางนา อยู่ใน ระดับตัดสินใจบริโภคแน่นอน (x= 4.25, S.D. =
ปริยากร ทวีวงศ์กวิน (2561) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยสําคัญที่มีต่อการใช้บริการร้านอาหาร
ผู้ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จํานวน
คน
159
ระดับการศึกษาอยู่ในระดับต่ำกว่าปริญญาตรีมากที่สุด จํานวน 223 คน มีรายได้ต่อเดือนต่ำกว่า หรือ เท่ากับ 15,000 บาท มากที่สุด จํานวน 247 คน และส่วนใหญ่มีอาชีพนักเรียน/ นักศึกษา จํานวน 196 คน พบว่า ปัจจัยสําคัญที่มีต่อการใช้บริการร้านอาหารประเภทชาบูของผู้ใช้บริการ ในจังหวัด นนทบุรี ในด้านส่วนประสมการตลาด ทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากพบว่า การใช้บริการ ร้านอาหารประเภทชาบูของผู้ใช้บริการ ในจังหวัดนนทบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ กระบวนการ ด้าน ราคา ด้านช่องทางการจัดจําหน่าย ลักษณะทางกายภาพ ด้านบุคคล และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลําดับ โดยในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.03 จากผลการทดสอบสมมติฐานที่มีต่อปัจจัยสําคัญที่มี ต่อการใช้บริการ ร้านอาหารประเภทชาบูของผู้ใช้บริการ ในจังหวัดนนทบุรี ในด้านส่วนประสม

ของผู้บริโภคที่แตกต่างกันไม่มีผล

ในด้านส่วนประสม

ค่า t test และ ค่า F test ผลการศึกษาพบว่า ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อาชีพนักเรียน/นักศึกษา มีอายุระหว่าง 21 25 ปี รายได้เฉลี่ยต่อ เดือนต่ำกว่า 10,000 บาท ผลการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคพบว่า ช่วงเวลาที่นิยมเข้าบริการ 18.01 21.00 น อาหารที่นิยมบริโภคมากที่สุด คือ อาหารประเภทเนื้อสัตว์ ผลการศึกษาอิทธิพลการ ตัดสินใจเลือกรับประทานร้านอาหารประเภทบุฟเฟ่ต์ : กรณีศึกษาร้านสุกี้ตี๋น้อย สาขาเกษตร นวมินทร เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้ใช้บริการให้ความสำคัญ ด้านราคามากที่สุด (x= 4.29) รองลงมาคือ ด้านกระบวนการ (x ̅ = 4.25) ด้านบุคคล (x ̅ = 4.24) ปูริดา มาเทศ และสุริยา ไม้จัตุรัส (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่องศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภค ที่มีต่อการบริการของร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ โดยใช้ส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ เพื่อ

34 การตลาด แตกต่างกัน พบว่า เพศ อายุ อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ต่อการใช้บริการของผู้ใช้บริการ ร้านอาหารประเภทชาบู ในจังหวัดนนทบุรี
การตลาด ยกเว้นระดับการศึกษาที่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ขนิษฐา คล้ายแย้ม และดาริน พันธ์ศรี (2560) ได้ทำการศึกษาอิทธิพลการตัดสินใจเลือก รับประทานร้านอาหารประเภทบุฟเฟ่ต์: กรณีศึกษาร้าน สุกี้ตี๋น้อย สาขาเกษตร นวมินทร์ ใน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลด้าน เพศ , อายุ รายได้, อาชีพ กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่ออิทธิพลการตัดสินใจเลือกรับประทาน ร้านอาหารประเภทบุฟเฟต์ ร้านสุกี้ตี๋น้อย สาขาเกษตร นวมินทร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้เข้าใช้บริการร้านสุกี้ตี๋น้อย สาขาเกษตร นวมินทร์ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อการบริการร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์โดยใช้ส่วนประสม ทางการตลาดบริการ (7P’s) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้บริโภคร้านชาบูตงสาขาเซ็นทรัล เวิลด์ต่อการบริการของร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคลด้าน เพศ อายุ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การศึกษาคือผู้บริโภคที่เข้ามาใช้บริการของร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ จำนวน 316 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาแบบสอบถามสถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t test และ F test โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติผล การศึกษาพบว่าผู้ใช้บริการร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ พบว่าผู้บริโภคส่วนมากเป็นเพศหญิงอายุ ระหว่าง 25 35 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 25,000 บาท ประกอบอาชีพ พนักงาน / ผู้บริหารในธุรกิจเอกชนพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัล พบว่า

0.05 วรัญญา ลีลาวดี. (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่องส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการ รับประทานอาหารบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคที่ถนนสีลม ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจ ลักษณะประชากรศาสตร์ของผู้บริโภคอาหารบุฟเฟ่ต์ที่ถนนสีลม เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่ มีผลต่อการรับประทานอาหารบุฟเฟ่ต์ที่ถนนสีลม เพื่อศึกษาการรับประทานอาหารแบบบุฟเฟ่ต์ของ ผู้บริโภคที่ถนนสีลม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ บริโภคที่เคยรับประทานอาหารแบบบุฟเฟ่ต์ที่ ถนนสีลม จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้ง นี้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

หญิง มีอายุ 21 30 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน

35 พฤติกรรมของผู้บริโภคส่วนเลือกมากประเภทเมนูอาหารชื่นชอบ คือ ราเมนเหตุผลที่เลือกใช้บริการ ร้านชาบูตงชอบรสชาติอาหารจำนวนที่เข้าใช้บริการ 1 ครั้ง /สัปดาห์ เวลาที่นิยมเข้าใช้บริการ 12.00 14.00 น. และผู้ที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจใช้บริการ คือ ครอบครัว ผลการศึกษา พบว่า ด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในการเลือกใช้บริการของชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านราคามีค่าเฉลี่ยมาก รองลงมา คือ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านส่งเสริมการตลาดด้านกระบวนการ ให้บริการ ด้านบุคลากร และด้านผลิตภัณฑ์ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ ของผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ ของผู้บริโภค พบว่า เพศไม่มีความแตกต่างกัน ต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคที่ใช้บริการของร้านชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ ส่วนอายุพบว่าด้านราคา ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านส่งเสริมการตลาดด้านกระบวนการให้บริการด้าน บุคลากรและด้านช่องทางการจัดจำหน่ายแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ
และ ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ Chi Square ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ
10,001 20,00 บาท และส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามมี อาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน มีความถี่ในการรับประทานอาหารบุฟเฟ่ต์น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน เหตุผลที่เลือกทานอาหารบุฟเฟ่ต์ เพื่อพบปะสังสรรค์ จำนวนเงินที่ต้องการจ่ายราคาต่อคนในแต่ละ ครั้ง 301 400 บาท โดยบุคคลที่ร่วมรับประทานอาหารบุฟเฟ่ต์ คือเพื่อน ทั้งนี้ผู้ตอบแบบสอบถามใน ภาพรวมมีระดับความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดอยู่ในระดับมาก อับดับที่หนึ่งคือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ รองลงมาคือ ปัจจัยด้านราคา และปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย และ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านราคา ด้านการส่งเสริม การขาย และด้านผลิตภัณฑ์/บริการ มีผลต่อการรับประทานอาหารบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคที่ถนนสีลม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05.

6 ในเขตคลองหลวงในด้านปัจจัยด้าน ผลิตภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าส่วนใหญ่ให้ความสำคัญมากที่สุด คือ รสชาติอาหารอร่อยถูกปากใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ นอกจากนั้นผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ลักษณะด้านประชากรศาสตร์ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคของร้านย่างเนย สาขาราช มงคลคลอง6 ในเขตของหลวง เบญรัตน์ รุ่งเรือง (2562) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ภาพลักษณ์ของแบรนด์และการสื่อสารแบบปากต่อปากที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบูในกรุงเทพมหานครโดยใช้ส่วนประสมทางการตลาดบริการ 7P’s มี

เพื่อศึกษาปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดบริการส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้

36 วรรณิศา เสาวรส (2564) ได้ทำการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารและปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการเข้าใช้บริการร้านย่างเนย สาขาราชมงคลคลอง 6 ในเขต คลองหลวงมีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารกับ ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ของผู้บริโภคในร้านย่างเนย สาขาราชมงคลของ 6 ในเขตคลองหลวงเพื่อ ศึกษา ความแตกต่างของลักษณะด้านประชากรศาสตร์กับความคิดเห็นด้านปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดของร้านย่างเนยสาขาราชมงคลคลอง 6 ในเขตคลองหลวง ผลการวิจัยพบว่าผู้บริโภคส่วน ใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุ ระหว่าง 15 24 ปีระดับการศึกษานักเรียน / นักศึกษารายได้ต่ำกว่า 10,000 บาท ช่วงเวลาในการเข้ามาบริโภค คือ เวลา 17.00 19.00 น. มีค่าใช้จ่ายต่อครั้งที่ใช้บริการ 400 บาท เหตุผลที่เลือกใช้บริการ คือรสชาติอร่อยผลการศึกษาพบว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อ ผู้บริโภคที่เข้าใช้บริการร้านย่างเนยสาขาราชมงคลคลอง
วัตถุประสงค์ ดังนี้
บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบูในกรุงเทพมหานครหรือไม่ เพื่อศึกษาว่าด้านภาพลักษณ์ตราสินค้าส่งผล ต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบูในกรุงเทพมหานครหรือไม่ เพื่อศึกษาว่าด้าน การสื่อสารแบบปากต่อปากที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบู ใน กรุงเทพมหานครหรือไม่ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชากรที่อาศัยอยู่ในจังหวัด กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 400 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ใช้บริการร้านอาหารในบุฟเฟ่ต์ชาบูในกรุงเทพมหานครส่วนมากที่สุดเป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 30 ปี สถานภาพโสดการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชนรายได้ เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 15,001 30,000 บาท ความถี่ในการเข้ามาใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบูใน กรุงเทพมหานคร 1 ครั้งต่อเดือน บุคคลที่มีส่วนช่วยในการตัดสินใจการเลือกร้าน คือ ตนเองรู้จัก

ผลการศึกษา

และการสื่อสารแบบปากต่อปาก

ปริญญาตรี อาชีพนักเรียน นักศึกษา และมีรายได้ระหว่าง 5,000 10,000 บาท ต่อเดือน ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ กับ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการในระดับมากทุก ปัจจัยโดยให้ความสำคัญ กับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มากที่สุด (x= 3.99, SD = 0.484) รองลงมา คือ ปัจจัย ด้านสถานที่ (x= 3.91, SD = 0.564) ปัจจัยด้าน กระบวนการให้บริการ (x= 3.91, SD = 0.512) และปัจจัยด้านราคา (x= 3.85, SD = 0.535) ตามลำดับ ส่วนปัจจัยที่มีความสำคัญน้อยที่สุด คือ ปัจจัย ด้านการส่งเสริมการตลาด (x= 3.52, SD = 0.556)

37 ร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบูจากอินเตอร์เน็ต หลังจากการใช้บริการแล้วจึงมีการบอกต่อ
พบว่าปัจจัยด้านประสมทางการตลาดภาพลักษณ์ของตราสินค้า
ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบูอย่างมีนัยยสำคัญสถิติที่ระดับ 0.05 อัญธิกา แก้วศิริ (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยส่วนประสมที่ทางการตลาดบริการมี ความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ มี วัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลในการเลือกใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ ในเขตอำเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือกลุ่ม ตัวอย่างผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านอาหารในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 440 คน ผลจากการ วิจัยพบว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 30 ปี มีระดับการศึกษาต่ำกวาระดับ

คือ ผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ที่เคยเข้า ใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี และผู้บริโภคที่เคยใช้บริการร้านอาหาร ประเภทบุฟเฟต์ โดยใช้ข้อมูลเฉลี่ยจากผู้ใช้บริการในช่วง มิถุนายน ถึง กันยายน พ.ศ 2565 จำนวน

บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา จากการที่ได้ศึกษาและทำการค้นคว้าอิสระเนื่องจากเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ผู้ศึกษาได้ดำเนินการศึกษาค้นคว้าตามวิธีดำเนินงาน ดังนี้ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.1.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
10,050 คน (กริชกรณ์ โม่มาลา, 2565) 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการที่มาใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยใช้การคำณวนหาขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรสำเร็จรูป ของ Taro Yamane (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ± 5% โดยได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 385 คน และเพื่อลดความคลาดเคลื่อนจึงเก็บเพิ่มอีก 15 คน รวมเป็นจำนวน 400 คน และสุ่มแบบ บังเอิญ (Accidental Sampling) 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ได้กำหนดลักษณะของเครื่องมือในการศึกษา และการสร้างเครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษา ดังนี้

ออกเป็น 5 ระดับตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert Scale) มาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert Scale) แบ่งระดับความคิดเห็นและระดับการตัดสินใจ เลือกใช้ บริการเป็น 5 ระดับ จากมากไปน้อยดังนี้

5 = ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด / ใช้บริการอย่างแน่นอน

4 = ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก/ น่าจะใช้บริการ

3 = ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง / ไม่แน่ใจ

2 = ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นน้อย / ไม่น่าจะใช้บริการ

1 = ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยน้อยที่สุด / ไม่ใช้บริการอย่างแน่นอน ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ของผู้บริโภคให้

39 3.2.1 ลักษณะของเครื่องมือในการศึกษา ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่แจกผ่านระบบ Google Form โดยวางแผนคำถามตามประเด็นในกรอบแนวความคิดที่ตั้งไว้โดยดำเนินการสร้าง แบบสอบถาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล มี ลักษณะเป็นแบบสำรวจรายการ (Checklist) จำนวน 6 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ สถานภาพ ระดับ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ ตอนที่ 2 คำถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการ ตัดสินใจในการใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยจะใช้เครื่องมือ ประเภทมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ซึ่งมีเกณฑ์กำหนดค่าน้ำหนักในการประเมินแบ่ง
มีการปรับปรุงแก้ไขปัญหาของร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี มีลักษณะ แบบสอบถามปลายเปิด (Open Ended) จำนวน 1 ข้อ 3.2.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การสร้างแบบสอบถาม ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาสำหรับเก็บข้อมูล มีขั้นตอน การดำเนินการต่อไปนี้ (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560) 3.2.2.1 ศึกษาหลักในการสร้างแบบสอบถาม กำหนดกรอบแนวความคิดในการศึกษา 3.2.2.2 ดำเนินการสร้างแบบสอบถามฉบับร่างจากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการนำมากำหนดกรอบแนวความคิดสร้างคำถามของแบบสอบถาม 3.2.2.3 กำหนดประเด็นและขอบเขตของคำถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ ประโยชน์ของการศึกษา 3.2.2.4 ดำเนินสร้างแบบสอบถาม

การทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรง ของเนื้อหา ของแบบสอบถาม เนื้อหาคำถามครอบคลุมข้อมูลที่ต้องการ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ วิธีทดสอบ โดยนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้น เสนอต่อกรรมการที่ปรึกษา จำนวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบ ความ ถูกต้องของเนื้อหา และใช้ภาษาในการสื่อสารพร้อมทั้งคำแนะนำต่าง ๆ มาปรับปรุงแก้ไขโดย การนำแบบสอบถามค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามพิจารณาค่า IOC ที่มีค่าตั้งแต่ 0.5 โดย ใช้ เกณฑ์ ดังนี้ (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560) ให้คะแนน +1 ถ้าแน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ให้คะแนน 0 ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์

ถ้าแน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์

40 3.2.2.5 ผู้ศึกษานำแบบสอบถามฉบับร่างที่สร้างขึ้นพร้อมแบบประเมินไปให้ ผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ทางด้านที่จะทำการศึกษาพิจารณาแบบสอบถาม จำนวน 3 ท่าน เพื่อเป็นการทดสอบความครอบคลุมเนื้อหา และความถูกต้องในสำนวนภาษา 3.2.2.6 ปรับปรุงแก้แบบสอบถาม 3.2.3 การหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ผู้ศึกษาได้ทำการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา และค่าความเชื่อมั่น ดังนี้ 3.2.3 1 การตรวจสอบความถูกต้อง โดยนำแบบสอบถามมาปรึกษากับอาจารย์ที่ ปรึกษาพร้อมทั้งปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามให้ชัดเจน และครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.2.3 2 ทำการแก้ไข ปรับปรุง เพื่อความเหมาะสม และตรงตามเนื้อหาของคำถามแต่ ละข้อตรงตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาหรือไม่ หลังจากนั้นนำมาแก้ไขปรับปรุง 3.2.3.3
ให้คะแนน 1
สรุปผลเมื่อทำการทดสอบแล้วมีค่า IOC ได้คะแนนมากกว่า 0.5 ทุกข้อ โดย ถือว่าข้อคำถามทั้งหมดสามารถวัดได้ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จำแนกแหล่งที่มา 2 ส่วน คือ 3.3.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองระหว่างเดือน สิงหาคม ถึง กันยายน พ.ศ. 2565

ตางรางที่ 3.1 ตารางแสดงการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม วัน เวลา จำนวนชุด สัปดาห์ที่ 1

เสาร์

12:00 16:00 50

อาทิตย์ 12:00 16:00 50 สัปดาห์ที่ 2

เสาร์ 12:00 16:00 50 อาทิตย์ 12:00 16:00 50 สัปดาห์ที่ 3

เสาร์ 12:00 16:00 50 อาทิตย์ 12:00 16:00 50 สัปดาห์ที่ 4

เสาร์ 12:00 16:00 50 อาทิตย์ 12:00 16:00 50 รวม 400

3.1.1.1 อธิบายรายละเอียดวันเวลาในการเก็บแบบสอบถาม

1) จัดเตรียมแบบสอบถามสําหรับแจกกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 400 ชุด

2) ติดต่อสถานที่สําหรับแจกแบบสอบถาม

3) ดำเนินการแจกแบบสอบถามโดยใช้วิธีสุ่มแบบไม่เจาะจง

4) อธิบายเกี่ยวกับแบบสอบถามที่แจกให้กับกลุ่มตัวอย่างที่เข้ามาใช้บริการ

41
ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 5) เก็บรวบรวมแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 50 ชุดในแต่ละวัน ของกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา 8 วันรวมกลุ่มตัวอย่าง 400 ชุดจากกลุ่มตัวอย่าง 6) เรียบเรียงข้อมูลที่ได้จากการแจกแบบสอบถามทั้งหมด 7) สรุปผลของการศึกษา

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3.4.2.1 สถิติ t test เพื่อใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่าง 2 กลุ่ม โดยนำมาใช้ ทดสอบข้อมูลส่วนตัวด้านเพศโดยใช้สูตร Independent t test ณ ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติร้อยละ 95 (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560)

3.4.2.2 สถิติ F test ใช้วิเคราะห์ตัวแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA Analysis of Variance) ใช้ทดสอบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีตัวแปรมากกว่า 2 กลุ่ม ได้แก่ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน กรณีที่พบความแตกต่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทำการตรวจสอบความแตกต่าง เป็นรายคู่ที่ระดับนัยสำคัญ

42 3.3.2 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ เอกสารวิชาการ วารสาร บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้สืบค้นจากห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ และหอสมุดแห่งชาติ รวมทั้งการสืบ หาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งอื่น ๆ ที่ใช้ในการสนับสนุนการศึกษาครั้งนี้ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล หลังจากผู้ศึกษาทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามแล้ว ผู้ศึกษาจะทำการประมวลผล ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ โดยวิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้ 3.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ใช้อธิบายข้อมูลและลักษณะข้อมูลทั่วไปที่รวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างหรือประชากร โดย นำเสนอในรูปแบบของตารางแจกแจงความถี่ ร้อยละ อัตราส่วน ค่าเฉลี่ย
และแผนภูมิต่าง ๆ 3.4.2 ค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน
0.05 หรือระดับความชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยใช้สูตรตามวิธีของ Scheffé (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560) 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 3.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาครั้งนี้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการใช้ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ โดยได้นำข้อมูล จากแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมได้มาเปลี่ยนเป็นรหัสตัวเลข (Code) แล้วบันทึกลงในโปรแกรม โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เพื่อดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติตามลำดับ 5 ขั้นตอน ดังนี้

3.4.1.1 การคำนวณข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามตอนที่ 1 ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่มีลักษณะแบบสอบถามเป็น แบบตรวจสอบรายการ

(Standard Deviation: S.D.) โดยกำหนดเกณฑ์ให้คะแนนค่าน้ำหนักของการประเมินเป็น 5 ระดับ (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560) ได้ดังนี้ มากที่สุด กำหนดค่าให้มีค่าเท่ากับ 5 คะแนน มาก กำหนดค่าให้มีค่าเท่ากับ 4 คะแนน ปานกลาง กำหนดค่าให้มีค่าเท่ากับ 3 คะแนน น้อย กำหนดค่าให้มีค่าเท่ากับ 2 คะแนน น้อยที่สุด กำหนดค่าให้มีค่าเท่ากับ 1 คะแนน เกณฑ์การแปลความหมายเพื่อจัดระดับคะแนนเฉลี่ยค่าระดับการตัดสินใจ กำหนดเป็นช่วง

43
(Check List) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าความถี่ (Frequency) และ ค่าร้อยละ (Percentage) 3.4.1.2 การคำนวณหาข้อมูลส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคต่อ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ใช้ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ทั้ง 7 ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริม ทางการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านลักษณะทางกายภาพ จาก แบบสอบถามตอนที่ 3 ที่มีลักษณะเป็นแบบประเมินค่า (Rating Scale) ใช้วิธีการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean: x) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คะแนนได้ดังนี้ (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560) คะแนนเฉลี่ย 4.50 5.00 แปลความว่า มีการตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.50 4.49 แปลความว่า มีการตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50 3.49 แปลความว่า มีการตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50 2.49 แปลความว่า มีการตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยน้อย คะแนนเฉลี่ย 1.00 1.49 แปลความว่า มีการตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยน้อยที่สุด ระดับการตัดสินใจ ค่าน้ำหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ ช่วงคะแนน ค่าน้ำหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ

3.4.1.3 การเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี นำผลมาวิเคราะห์ความแตกต่าง โดยใช้สถิติ t test และวิเคราะห์ความ

test

4 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ

Shabu & Suki สาขาราชบุรี

เพื่ออธิบายถึงปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการที่มีผลต่อผู้ใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

3.4.2.2 ค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบแบบสมมติฐาน

1) สถิติ t test ใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่าง 2 กลุ่ม โดย นำมาใช้ทดสอบปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ โดยใช้สูตร Independent t test ณ ระดับความเชื่อมั่น ทางสถิติที่ร้อยละ 95

2) สถิติ F test ใช้วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA Analysis of Variance) ใช้ทดสอบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีตัวแปรมากกว่า 2 กลุ่ม ได้แก่

และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน กรณีพบความแตกต่างอย่างมี

44
แปรปรวนโดยใช้สถิติ F
3.4.1.
ของผู้บริโภคที่มาใช้บริการจาก แบบสอบถาม ตอนที่ 4 มีลักษณะแบบสอบถามปลายเปิด (Open Ended) ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย 3.4.2 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 3.4.2.1 ค่าสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ได้แก่ 1) ค่าความถี่ และค่าร้อยละ เพื่อใช้อธิบายลักษณะข้อมูลปัจจัยพื้นฐานส่วน บุคคลและพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหาร Kenta
2) ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
อายุ อาชีพ สถานภาพ ระดับการศึกษา
นัยสำคัญทางสถิติ จะทำการตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 หรือระดับ ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยใช้สูตรตามวิธีของ Scheffé (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2560)

ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ระดับรายได้ต่อเดือนและอาชีพ ด้วยการวิเคราะห์ค่าความถี่ และสรุปค่า เป็นร้อยละ 4.2 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการ ตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยใช้ปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ด้วยการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผล ต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วน บุคคลด้วยสถิติ t test และสถิติ F test 4.4 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

4.5 อภิปรายผล

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล การศึกษาเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ผู้ศึกษาได้นำข้อมูลตัวอย่างที่เก็บรวบรวมมาได้ จำนวน 400 ชุด ที่ผ่านการตรวจสอบสมบูรณ์แล้วมาทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ได้แบ่งการวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมายและการนำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย มีลำดับการนำเสนอดังนี้ 4.1 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

จำนวนกลุ่มตัวอย่าง

ค่าคะแนนเฉลี่ย

ค่าสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติ

F แทน ค่าสถิติที่ใช้พิจารณาความมีนัยสำคัญจากการแจกแจง แบบ

test

df แทน ค่าความเป็นอิสระ (Degree of Freedom)

SS แทน ผลรวมกำลังสอง (Sum of Squares)

MS แทน ค่าเฉลี่ยกำลังสอง (Mean of Squares)

Sig. แทน นัยสำคัญทางสถิติ (Singificance)

* แทน ปฏิเสธสมมติฐานนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

H0 แทน สมมติฐานหลัก (Null Hypothesis)

H1 แทน สมมิตฐานรอง (Alternative Hypothesis)

46 ในการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้มีการกำหนดสัญลักษณ์ และอักษรย่อดังนี้ n แทน
��̅ แทน
S.D. แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน t แทน
F

จำนวน ร้อยละ 1. เพศ ชาย 138 34.5 หญิง 262 65.5 รวม 400 100 2. อายุ ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 20 ปี 104 26.0 21 30 ปี 224 56.0 31 40 ปี 66 16.5 41 ปีขึ้นไป 6 1.5 รวม 400 100 3. สถานภาพ โสด 317 79.2 สมรส 64 16.0 หย่าร้าง 19 4.8 รวม 400 100 4. ระดับการศึกษา มัธยมศึกษา/ปวช. 162 40.5 อนุปริญญา/ปวส 74 18.5 ปริญญาตรี 143 35.8 สูงกว่าปริญญาตรี 21 5.2 รวม 400 100

47 4.1 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ด้วยวิธีการวิเคราะห์ ค่าความถี่ (Frequency) แล้วสรุปเป็นค่าร้อยละ (Percentage) แสดงตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม (n = 400) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ระดับรายได้ต่อเดือน

.2 10,001 15,000

0 15,001 20,000

91 22 8 มากกว่า 20,000

36 9 0 รวม 400 100 6. อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา 209 52 2 รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 43 10 8 พนักงานบริษัทเอกชน 78 19.5 ธุรกิจส่วนตัว 48 12.0 อื่นๆ 22 5.5 รวม 400 100

ตารางที่ 4.1 (ต่อ) ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม จากตารางที่ 4 1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 400 คน ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน 262 คน คิดเป็นร้อยละ 64 5 รองลงมาเป็นเพศชาย จำนวน

30 ปี มากที่สุดจำนวน

คน คิดเป็น

48
138 คน คิดเป็นร้อยละ 34 5 และมีอายุระหว่าง 21
224
ร้อยละ 56 0 รองลงมามีอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 20 ปี จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 26 0 และมี อายุระหว่าง 31 40 ปี จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 16.5 และอายุ 41 ปีขึ้นไป มีจำนวน 6 คน คิด เป็นร้อยละ 1.5 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีสถานภาพเป็นโสดมากที่สุด จำนวน 317 คน คิดเป็น ร้อยละ 79.2 รองลงมามีสถานภาพสมรส จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 16 และมีสถานภาพเป็นหย่า ร้าง จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 4 8 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาเป็น มัธยมศึกษา/ปวช. จำนวน 162 คน คิดเป็นร้อยละ 40 5 รองลงมามีระดับการศึกษาเป็นปริญญาตรี จำนวน 143 คน คิดเป็นร้อยละ 35 8 และมีระดับการศึกษาเป็น อนุปริญญา/ปวส. จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 18 5 และมีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 5 2 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับรายได้ต่อเดือนมากที่สุดคือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน ร้อยละ 5.
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท 173 43
บาท 100 25
บาท
บาท

จำนวน 173 คน คิดเป็นร้อยละ 43 2 รองลงมาคือ 10,001 15,000 บาท จำนวน 100 คน คิดเป็น ร้อยละ 25.0 และรายได้เฉลี่ยนต่อเดือน 15,001 20,000 บาท จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 22.8 และมีระดับรายได้ต่อเดือน มากกว่า 20,000 บาท จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 9 ผู้ตอบ

จำนวน 209 คน คิดเป็นร้อยละ 52.2

49
แบบสอบถามส่วนมากมีอาชีพเป็นนักเรียน/ นักศึกษามากที่สุด
รองลงมามีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 19 5 และมีอาชีพประกอบ ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 12 0 และมีอาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 10 8 และมีอาชีพอื่น ๆ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 5 5

10 0 469

19 0.438

20 0.432 มาก

4. ด้านการส่งเสริมการตลาด 4.22 0.436 มาก

5. ด้านบุคลากร 4.25 0.420 มาก

6. ด้านกระบวนการให้บริการ 4 25 0 435 มาก

7. ด้านลักษณะทางกายภาพ 4 22 0 430 มาก รวม 4.20 0.437 มาก

จากตารางที่ 4 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ (��̅ = 4 20, S D. = 0 437) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านบุคลากร (��̅ = 4.25, S.D. = 0.420) และด้านกระบวนการให้บริการ (��̅ = 4.25, S.D. = 0 435) มากที่สุด รองลงมา ด้านการส่งเสริมการตลาด (��̅ = 4 22, S

50 4.2 ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใน การเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยใช้ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ด้วยการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่ 4.2 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการ ตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’S) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ 1. ด้านผลิตภัณฑ์ 4.
มาก 2. ด้านราคา 4.
มาก 3. ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย 4.
D. = 0 436) ด้านลักษณะทาง กายภาพ (��̅ = 4 22, S D. = 0 430) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (��̅ = 4 20, S D. = 0 432) ด้าน ราคา (��̅ = 4 19, S D. = 0 438) ด้านผลิตภัณฑ์ (��̅ = 4 10, S D. = 0 469)

คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านผลิตภัณฑ์ โดยภาพรวมอยู่ที่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ (��̅ = 4.10, S.D. = 0.619) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ปริมาณอาหารเพียงพอต่อจำนวนลูกค้ามากที่สุด (��̅ = 4 14, S D. = 0 640) รองลงมาคือ อาหารมีความหลากหลายให้เลือกรับประทาน (��̅ = 4 13, S D. = 0 633) คุณภาพความสดใหม่ของอาหาร (��̅ = 4 11, S D. = 0 563) รูปลักษณ์สวยงามน่ารับประทาน (��̅ = 4.11, S.D. = 0.609) และอาหารมีรสชาติที่ดีตรงตามมาตรฐาน (��̅ = 4.03, S.D. = 0.652)

51 ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผล ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ ด้านผลิตภัณฑ์ 1. คุณภาพความสดใหม่ของอาหาร 4.11 0.563 มาก 2. อาหารมีรสชาติที่ดีตรงตามมาตรฐาน 4.03 0.652 มาก 3. อาหารมีความหลากหลายให้เลือกรับประทาน 4.13 0.633 มาก 4. รูปลักษณ์สวยงามน่ารับประทาน 4.11 0.609 มาก 5. ปริมาณอาหารเพียงพอต่อจำนวนลูกค้า 4 14 0.640 มาก ด้านผลิตภัณฑ์โดยรวม 4.10 0.619 มาก จากตารางที่ 4 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่

16 0.595

18 0.630

4 20 0.587 มาก ด้านราคาโดยรวม 4.19 0.437 มาก จากตารางที่ 4.4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านราคา โดยภาพรวมอยู่ที่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (��̅ = 4 19, S D. = 0 437) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ราคาที่แสดงในรายการอาหารมีการแสดงราคาชัดเจนมากที่สุด (��̅ = 4 32, S D. = 0 642) รองลงมาคือ ราคามีให้เลือกหลากหลาย (��̅ = 4 20, S D. = 0 587) ราคาคง

S.D.

.

11, S D. = 0 557

.

0.630) ราคามีความเหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับ

0.595)

(��̅ =

52 ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผล ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านราคา ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ ด้านราคา 1. ราคาเหมาะสมกับคุณภาพอาหาร 4.11 0.557 มาก 2 ราคาที่แสดงในรายการอาหารมีการแสดงราคา ชัดเจน 4.32 0.642 มาก 3 ราคามีความเหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับ ผลิตภัณฑ์ของร้านอื่น ๆ 4.
มาก 4 ราคาคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย 4.
มาก 5 ราคามีให้เลือกหลากหลาย
เดิมไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย (��̅ = 4.18,
=
ผลิตภัณฑ์ของร้านอื่น ๆ (��̅ = 4.16, S
D
=
และราคาเหมาะสมกับคุณภาพอาหาร
4
)

19 0.563

เช่น แกร็บฟู้ด, ไลน์แมน 4.21 0.611 มาก ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายโดยรวม 4.20 0.591 มาก จากตารางที่ 4.5 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย โดยภาพรวมอยู่ที่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (��̅ = 4 20, S D. = 0 591) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีสถานที่จอดรถสะดวกและเพียงพอมากที่สุด (��̅ = 4 31, S D = 0 682) รองลงมาคือ สามารถสั่งซื้ออาหารผ่านช่องทางแอปพลิเคชั่น เช่น แกร็บฟู้ด, ไลน์แมน (��̅ = 4 21, S D. = 0 611) ระยะการเปิด ปิด ร้านที่ชัดเจน (��̅ = 4 19, S D. = 0 563) และร้าน ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนหรือใกล้ห้างสรรพสินค้า (��̅ = 4.09, S.D. = 0.508)

53 ตารางที่ 4.5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผล ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านช่องทาง การจัดจำหน่าย ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย 1 ร้านตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนหรือใกล้ ห้างสรรพสินค้า 4.09 0 508 มาก 2. มีสถานที่จอดรถสะดวกและเพียงพอ 4.31 0.682 มาก 3. ระยะการเปิด ปิด ร้านที่ชัดเจน 4.
มาก 4. สามารถสั่งซื้ออาหารผ่านช่องทาง แอปพลิเคชั่น

4.32 0.714 มาก

3 มีการส่งเสริมการตลาดร่วมกับพันธมิตร

บัตรเครดิต 4.12 0.642 มาก

4. มีส่วนลดและกิจกรรมส่งเสริมการตลาด 4.27 0.631 มาก

5. มีรายการอาหารพิเศษในวันสำคัญหรือ เทศกาล 4.21 0.583 มาก ด้านการส่งเสริมการตลาดโดยรวม 4.22 0.621 มาก จากตารางที่ 4 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านการส่งเสริมการตลาด โดยภาพรวมอยู่ที่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (��̅ = 4 22, S D. = 0 621) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีบัตรสมาชิกสำหรับสะสมคะแนนหรือเพื่อเป็นส่วนลดมาก

(��̅

54 ตารางที่ 4.6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผล ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านการ ส่งเสริมการตลาด ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ ด้านการส่งเสริมการตลาด 1. มีการประชาสัมพันธ์หรือการโฆษณาผ่าน สื่อต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก, เว็บไซต์ 4.16 0 535 มาก 2. มีบัตรสมาชิกสำหรับสะสมคะแนนหรือ เพื่อเป็นส่วนลด
อื่น ๆ เช่น
ที่สุด (��̅ = 4 32, S D. = 0 714) รองลงมาคือ มีส่วนลดและกิจกรรมส่งเสริมการตลาด
= 4 27, S.D. = 0.631) มีรายการอาหารพิเศษในวันสำคัญหรือเทศกาล (��̅ = 4.21, S.D. = 0.583) มีการ ประชาสัมพันธ์หรือการโฆษณาผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก, เว็บไซต์ (��̅ = 4 16, S D. = 0 535) และมี การส่งเสริมการตลาดร่วมกับพันธมิตรอื่น ๆ เช่น บัตรเครดิต (��̅ = 4 12, S D. = 0 642)

4.13 0.539

4.42 0.648 มาก

3. พนักงานมีความสามารถในการแก้ไขปัญหา 4.19 0.570 มาก

4 พนักงานมีความกระตือรือร้นและมีความเอาใจ

4.32 0.584 มาก

5. พนักงานเพียงพอต่อการให้บริการ 4 21 0 611 มาก ด้านบุคลากรโดยรวม 4.25 0.590 มาก จากตารางที่ 4.7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านบุคลากร โดยภาพรวมอยู่ที่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (��̅ = 4 25, S D. = 0 590) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า พนักงานแต่งกายสะอาด/เรียบร้อยมากที่สุด (��̅ = 4.42, S.D. = 0.648) รองลงมาคือ พนักงานมีความกระตือรือร้นและมีความเอาใจใส่ในการให้บริการ (��̅ = 4 32, S D. = 0 584) พนักงานเพียงพอต่อการให้บริการ (��̅ = 4 21, S D. = 0 611) พนักงานมีความสามารถในการ แก้ไขปัญหา (��̅ = 4 19, S D. = 0 570) และการต้อนรับลูกค้าและการกล่าวคำทักทายของพนักงาน (��̅ = 4 13, S D. = 0 539)

55 ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผล ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านบุคลากร ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ ด้านบุคลากร 1. การต้อนรับลูกค้าและการกล่าวคำทักทายของ พนักงาน
มาก 2. พนักงานแต่งกายสะอาด/เรียบร้อย
ใส่ในการให้บริการ

17 0 555

รวดเร็ว

3. มีการดูแลให้บริการตลอดช่วงเวลาที่ ให้บริการ

4. มีช่องทางในการชำระเงินที่ หลากหลาย

5 การทำความสะอาดโต๊ะเพื่อรับลูกค้า ใหม่รวดเร็ว

4.37 0.670 มาก

4.17 0.575 มาก

4.26 0.585 มาก

4 26 0 567 มาก ด้านกระบวนการให้บริการโดยรวม 4.25 0.590 มาก

จากตารางที่ 4 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านกระบวนการให้บริการ

56 ตารางที่ 4.8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผล ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้าน กระบวนการให้บริการ ส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ ด้านกระบวนการให้บริการ 1. ติดต่อ สำรองโต๊ะ สอบถามมีความ สะดวกและรวดเร็ว 4.
มาก 2 มีการจัดคิวลูกค้าได้อย่างถูกต้องและ
โดยภาพรวมอยู่ที่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (��̅= 4 25, S D. = 0.590) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีการรันคิวลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วมากที่สุด (��̅= 4 37, S D. = 0 670) รองลงมาคือ การทำความสะอาดโต๊ะเพื่อรับลูกค้าใหม่รวดเร็ว (��̅ = 4 26, S D = 0 567) มีช่องทางในการชำระเงินที่หลากหลาย (��̅= 4 26, S D. = 0 585) มีการดูแลให้บริการ ตลอดช่วงเวลาที่ให้บริการ (��̅ = 4 17, S D. = 0 575) และติดต่อ สำรองโต๊ะ สอบถามมีความ สะดวกและรวดเร็ว (��̅ = 4.17, S.D. = 0.555)

0 569

ชัดเจน 4.33 0.690 มาก

3. ความสะดวกสบายของที่นั่งภายใน ร้าน 4.18 0.557 มาก

4. อุปกรณ์ภายในร้านสะอาด 4.27 0.598 มาก

5. การตกแต่งร้านสวยงาม 4.15 0.604 มาก ด้านทางกายภาพโดยรวม 4.22 0.604 มาก จากตารางที่ 4 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านทางกายภาพ โดยภาพรวมอยู่ที่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (��̅ = 4.22, S D. = 0 604) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ป้ายชื่อของร้านมองเห็นได้ง่ายและชัดเจนมากที่สุด (��̅ = 4 33, S D. = 0.690) รองลงมาคือ อุปกรณ์ภายในร้านสะอาด (��̅ = 4.27, S.D. = 0.598) ความสะดวกสบายของที่ นั่งภายในร้าน (��̅ = 4.18, S.D. = 0.557) พื้นที่ร้านเพียงพอต่อการให้บริการ (��̅ = 4.16, S.D. =

569

(��̅ = 4 15 S D. = 0 604)

57 ตารางที่ 4.9 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผล ต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านทาง กายภาพ ส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ��̅ S.D. ระดับการตัดสินใจ ด้านลักษณะทางกายภาพ 1. พื้นที่ร้านเพียงพอต่อการให้บริการ 4.16
มาก 2 ป้ายชื่อของร้านมองเห็นได้ง่ายและ
0
) และการตกแต่งร้านสวยงาม

บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี สมมติฐาน H1 : ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างที่ต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจใช้ บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

58 4.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผล ต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคลด้วยสถิติ t test และสถิติ F test ผลการเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้บริโภค ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ระดับรายได้ต่อเดือน อาชีพและอื่น ๆ โดยทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ t test และสถิติ F test จำแนกตามปัจจัยส่วน บุคคล สมมติฐานที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยทดสอบสมมติฐานทางสถิติเพื่อการทดสอบ ดังนี้ สมมติฐาน H0 : ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างที่ต่างกันไม่มีผลต่อการตัดสินใจใช้

Levene’s

s

1. ด้านผลิตภัณฑ์ 0.020 0.888

ด้านราคา 3.125 0.078

3. ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย 2 825 0.094

4. ด้านการส่งเสริมการตลาด 2 304 0.130

5. ด้านบุคลากร 0 544 0 461

6. ด้านกระบวนการให้บริการ 0 301 0 584

7. ด้านทางลักษณะกายภาพ

0 121 0 728 รวม 3 688 0.056

*Sig ≤ 0 05 จากตารางที่ 4.11 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s)

Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรีในราย

59 4.3.1 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคที่ มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในรายข้อใช้สถิติ t test แสดงตารางที่ 4.10 ตารางที่ 4.10 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด 7P’s ของ ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’
)
test For Equality of variance t P
2.
ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร
ข้อ พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ 0 05

08

ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย

. ด้านการส่งเสริมการตลาด

46

47

25 0 42

020

125 0 078

10 0 43 4 25 0 43 2 825 0.094

18 0.45 4.23 0.43 2.304 0.130

5. ด้านบุคลากร 4 22 0 43 4 27 0 42 0 544 0 461

6. ด้านกระบวนการให้บริการ 4 19 0 43 4 28 0 44 0 301 0 584

7. ด้านลักษณะทางกายภาพ

17 0 42 4 24 0 43 0 121 0 728

0.44 4.81 0.40 3.688 0.056

60 4.3.2 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านเพศโดยใช้สถิติ t test แสดงตารางที่ 4.11 ตารางที่ 4.11 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านเพศ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ชาย (n=138) หญิง (n=262) t Sig��̅ S.D. ��̅ S.D. 1. ด้านผลิตภัณฑ์ 4.00 0.46 4.16 0.
0.
0.888 2. ด้านราคา 4.
0.
4
3
3.
4.
4
4.
4
รวม 4.68
*Sig ≤ 0.05 จากตารางที่ 4.12 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านเพศ พบว่า ความแตกต่างของการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยรวมไม่ต่างกัน

992 396

369 399

220

(7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อ

จำแนกตามปัจจัยส่วน

069 0 362

ระหว่างกลุ่ม 0 376 3 0 125 0 653 0 581ภายในกลุ่ม 75 992 396 0 192 รวม 76.368 399

3. ด้านช่องทางการจัด จาหน่าย ระหว่างกลุ่ม 0 890 3 0 297 1.596 0.190ภายในกลุ่ม 73.596 396 0.186 รวม 74 486 399

330 3

110

4 ด้านการส่งเสริม การตลาด

580 396

910 399

191

0.630

61 4.3.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างส่วนประสมทางการตลาด
การตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี
บุคคลของผู้บริโภคในด้านอายุโดยใช้สถิติ F test แสดงตารางที่ 4.12 ตารางที่ 4.12 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วน บุคคลของผู้บริโภคในด้านอายุ ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig. 1 ด้านผลิตภัณฑ์ ระหว่างกลุ่ม 0 706 3 0 235 1
ภายในกลุ่ม 75
0
รวม 76
2. ด้านราคา
ระหว่างกลุ่ม 0
0
0.577
ภายในกลุ่ม 75
0
รวม 75
5. ด้านบุคลากร ระหว่างกลุ่ม 0 208 3 0 069 0 391 0 759ภายในกลุ่ม 70 188 396 0 177 รวม 70.396 399 6.ด้านกระบวนการ ให้บริการ ระหว่างกลุ่ม 0.282 3 0.094 0 496 0 685ภายในกลุ่ม 75 126 396 0 190 รวม 75.408 399 7 ด้านทางกายภาพ ระหว่างกลุ่ม 0.222 3 0.074 0 398 0 754 ภายในกลุ่ม 73.489 396 0.186 รวม 73 710 399

Suki

(7P’s)

62 จากตารางที่ 4 12 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu &
สาขาราชบุรี จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอายุ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์ ด้าน ราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ ให้บริการและด้านลักษณะทางกายภาพไม่ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0 05

.413 2 0.707

86 503 397 0 218 รวม 76 368 399 2. ด้านราคา

.244 0.040

3. ด้านช่องทางการจัด จำหน่าย

กลุ่ม 0.312 2 0.156 0.814 0.444 ภายในกลุ่ม 76 056 397 0 192 รวม 76 368 399

ระหว่าง กลุ่ม 1 481 2 0 740

4.026 0.019* ภายในกลุ่ม 73 005 397 0 184 รวม 74

63 4.3.4 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคมี ผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพโดยใช้สถิติ F test แสดงตารางที่ 4.13 ตารางที่ 4.13 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วน บุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพ ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig 1. ด้านผลิตภัณฑ์ ระหว่าง กลุ่ม 1
3
* ภายในกลุ่ม
ระหว่าง
486 399 4. ด้านการส่งเสริม การตลาด ระหว่าง กลุ่ม 0 289 2 0 144 0.758 0.469 ภายในกลุ่ม 75 621 397 0 190 รวม 75 910 399 5. ด้านบุคลากร ระหว่าง กลุ่ม 0 802 2 0 401 2 289 0 103 ภายในกลุ่ม รวม 69 594 70 396 397 399 0.175

Shabu

(7P’s

Suki สาขาราชบุรี

.766 2 0.383

642 397 0 188

.408 399

.732 2 0.366

72 979 397 0 184 รวม 73 710 399

036 0 132

.990 0.138

Sig ≤ 0 05 จากตารางที่ 4 13 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพ เมื่อพิจารณาเป็นข้อ พบว่า ใน ด้านราคา ด้าน บุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการและด้านลักษณะทางกายภาพไม่มีความแตกต่างกัน และพบว่า ในด้านผลิตภัณฑ์ และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ

64 ตารางที่ 4.13 (ต่อ) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta
&
จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพ ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig. 6.ด้านกระบวนการ ให้บริการ ระหว่าง กลุ่ม 0
2
ภายในกลุ่ม 74
รวม 75
7 ด้านทางลักษณะ กายภาพ ระหว่าง กลุ่ม 0
1
ภายในกลุ่ม
*
0.05 จึงเปรียบเทียบเป็นรายคู่ โดยใช้สูตรตามวิธีของ Scheffe' แล้วพบคู่ที่ต่างกัน 2 คู่ คือ ในด้าน ผลิตภัณฑ์ แสดงตารางที่ 4 14 และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย แสดงตารางที่ 4 15

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน ผลิตภัณฑ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพรายคู่ ไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

65 ตารางที่ 4.14 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านผลิตภัณฑ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพรายคู่ สถานภาพ ��̅ โสด สมรส หย่าร้าง 4.13 4.00 4.02 1. โสด 4.13 0 16 0 11 2. สมรส 4.00 0 43 3. หย่าร้าง 4.02 จากตารางที่ 4 14 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

Shabu

Suki

(7P’s) ของผู้บริโภค

ในด้านช่องทางการ

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน ช่องทางการจัดจำหน่ายจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพรายคู่ ไม่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

66 ตารางที่ 4.15 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta
&
สาขาราชบุรี
จัดจำหน่ายจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านสถานภาพรายคู่ สถานภาพ ��̅ โสด สมรส หย่าร้าง 4.23 4.11 4.01 1. โสด 4.23 0 12 0 22 2. สมรส 4.11 0 92 3. หย่าร้าง 4.01 จากตารางที่ 4 15 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างส่วนปัจจัยประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

.

3 1.483

83 466 396 0 211

87 916 399

.038 0.000*

2.218 3 0.739 3.948 0.009*

150 396 0 187

368 399

875 3 0 958

.299 0.001*

936

468

67 4.3.5 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคมี ผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษาโดยใช้สถิติ F test แสดงตารางที่ 4.16 ตารางที่ 4.16 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วน บุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษา ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig 1. ด้านผลิตภัณฑ์ ระหว่าง กลุ่ม 4
450
7
ภายในกลุ่ม
รวม
2. ด้านราคา ระหว่าง กลุ่ม
ภายในกลุ่ม 74
รวม 76
3. ด้านช่องทางการจัด จำหน่าย ระหว่าง กลุ่ม 2
5
ภายในกลุ่ม 71 611 396 0 181 รวม 74 486 399 4. ด้านการส่งเสริมการตลาด ระหว่าง กลุ่ม 0 535 3 0 178 0.
0.423 ภายในกลุ่ม 75 375 396 0 190 รวม 75 910 399 5. ด้านบุคลากร ระหว่าง กลุ่ม 1 802 3 0 601 3
0 016* ภายในกลุ่ม รวม 68 594 70.396 396 399 0 173

850

621

657

740 396 0 181

73 710 399

625

0.05

013

16 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษา เมื่อพิจารณาเป็นข้อ พบว่า ในด้านการ ส่งเสริมการตลาด ไม่มีความแตกต่างกัน และพบว่า ในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัด จำหน่าย ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการและด้านลักษณะทางกายภาพ

68 ตารางที่ 4.16 (ต่อ) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษา ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig. 6.ด้านกระบวนการให้บริการ ระหว่าง กลุ่ม 2 511 3 0
4
0 003* ภายในกลุ่ม 72 857 396 0 184 รวม 75 408 399 7 ด้านลักษณะทางกายภาพ ระหว่าง กลุ่ม 1 970 3 0
3
0
* ภายในกลุ่ม 71
รวม
*Sig ≤
จากตารางที่ 4
แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 จึงเปรียบเทียบเป็นรายคู่ โดยใช้สูตรตามวิธีของ Scheff’e แล้วพบคู่ ที่ต่างกัน 6 คู่ คือ ในด้านผลิตภัณฑ์ แสดงตารางที่ 4.17 ด้านราคา แสดงตารางที่ 4.18 ด้านช่องทาง การจัดจำหน่าย แสดงตารางที่ 4.19 ด้านบุคลากร แสดงตารางที่ 4.20 ด้านกระบวนการให้บริการ แสดงตารางที่ 4.21 และด้านทางกายภาพ แสดงตารางที่ 4.22

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ

Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน

จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่

(7P’s)

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน ผลิตภัณฑ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 จำนวน 2 คู่ ได้แก่ กลุ่มผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มี กระบวนการตัดสินใจใช้บริการของ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านผลิตภัณฑ์ มากกว่าผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษา มัธยมศึกษา/ปวช. ส่วนกลุ่มผู้ใช้บริการที่มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี มีกระบวนการตัดสินใจใช้บริการของผู้ใช้บริการของ

Kenta Shabu & Suki

69 ตารางที่ 4.17
ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์
ระดับการศึกษา ��̅ มัธยมศึกษา/ ปวช. อนุปริญญา/ ปวส. ปริญญาตรี สูงกว่า ปริญญาตรี 4.05 4.00 4.24 4.00 1. มัธยมศึกษา/ปวช. 2. อนุปริญญา/ปวส. 3. ปริญญาตรี 4. สูงกว่าปริญญาตรี 4.05 4.00 4.24 4.00 0.07 0 19* 0.26* 0 08 0.01 0.27 *Sig ≤ 0.05 จากตารางที่ 4 17 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ
ร้านอาหาร
สาขาราชบุรี มากกว่า อนุปริญญา/ปวส. ส่วนรายคู่อื่นๆ ไม่แตกต่างกัน

ตารางที่ 4.18 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านราคา จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่

(7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน ราคาจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 จำนวน 2 คู่ ได้แก่ กลุ่มผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มี กระบวนการตัดสินใจใช้บริการของ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านราคา มากกว่า ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษา มัธยมศึกษา/ปวช. ส่วนกลุ่มผู้ใช้บริการที่มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี มีกระบวนการตัดสินใจใช้บริการของ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี มากกว่า อนุปริญญา/ปวส. ส่วนรายคู่อื่นๆ ไม่แตกต่างกัน

70
ระดับการศึกษา ��̅ มัธยมศึกษา/ ปวช. อนุปริญญา/ ปวส. ปริญญาตรี สูงกว่า ปริญญาตรี 4.16 4.11 4.28 4.07 1. มัธยมศึกษา/ปวช. 2. อนุปริญญา/ปวส. 3. ปริญญาตรี 4. สูงกว่าปริญญาตรี 4.16 4.11 4.28 4.07 0 06 0 12* 0.18* 0 10 0.04 0.22 *Sig ≤ 0.05 จากตารางที่ 4 18 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

ตารางที่ 4.19 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านช่องทางการ จัดจำหน่าย

s

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน ช่องทางการจัดจำหน่ายจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 จำนวน 1 คู่ ได้แก่ กลุ่มผู้บริโภคที่มีระดับ การศึกษาปริญญาตรี มีกระบวนการตัดสินใจใช้บริการของ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มากกว่า กลุ่มผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษา อนุปริญญา/ปวส. ส่วนรายคู่อื่นๆ ไม่แตกต่างกัน

71
จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ ระดับการศึกษา ��̅ มัธยมศึกษา/ ปวช. อนุปริญญา/ ปวส. ปริญญาตรี สูงกว่า ปริญญาตรี 4.18 4.08 4.30 4.08 1. มัธยมศึกษา/ปวช. 2. อนุปริญญา/ปวส. 3. ปริญญาตรี 4. สูงกว่าปริญญาตรี 4.18 4.08 4.30 4.08 0 95 0 13 0.22* 0 09 0.00 0.22 *Sig ≤ 0.05 จากตารางที่ 4 19 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’
) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

(7P’s) ของ

Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน

(7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน บุคลากรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ ไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05

72 ตารางที่ 4.20 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร
บุคลากร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ ระดับการศึกษา ��̅ มัธยมศึกษา/ ปวช. อนุปริญ ญา/ปวส. ปริญญาตรี สูงกว่า ปริญญาตรี 4.22 4.19 4.34 4.17 1. มัธยมศึกษา/ปวช. 2. อนุปริญญา/ปวส. 3. ปริญญาตรี 4. สูงกว่าปริญญาตรี 4.22 4.19 4.34 4.17 0 30 0 13 0.16 0 45 0.02 0.17 จากตารางที่ 4.20 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ของ

Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน

s

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน กระบวนการให้บริการจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 จำนวน 1 คู่ ได้แก่ กลุ่มผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาปริญญา ตรี มีกระบวนการตัดสินใจใช้บริการของ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้าน กระบวนการให้บริการ มากกว่า อนุปริญญา/ปวส. ส่วนรายคู่อื่นๆ ไม่แตกต่างกัน

73 ตารางที่ 4.21
ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร
กระบวนการให้บริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ ระดับการศึกษา ��̅ มัธยมศึกษา /ปวช. อนุปริญญา/ ปวส. ปริญญาตรี สูงกว่า ปริญญาตรี 4.22 4.12 4.34 4.19 1. มัธยมศึกษา/ปวช. 2. อนุปริญญา/ปวส. 3. ปริญญาตรี 4. สูงกว่าปริญญาตรี 4.22 4.12 4.34 4.19 0 10 0 12 0.22* 0 03 0.07 0.15 *Sig ≤ 0.05 จากตารางที่ 4 21 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’
) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

ตารางที่ 4.22 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านลักษณะทาง กายภาพ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่

(7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน ทางกายภาพจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับการศึกษารายคู่ แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 จำนวน 1 คู่ ได้แก่ กลุ่มผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มี กระบวนการตัดสินใจใช้บริการของ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ด้านลักษณะทาง กายภาพมากกว่า อนุปริญญา/ปวส. ส่วนรายคู่อื่นๆ ไม่แตกต่างกัน

74
ระดับการศึกษา ��̅ มัธยมศึกษา/ ปวช. อนุปริญญ า/ปวส. ปริญญาตรี สูงกว่า ปริญญา ตรี 4 20 4 12 4 30 4 15 1. มัธยมศึกษา/ปวช. 2. อนุปริญญา/ปวส. 3. ปริญญาตรี 4. สูงกว่าปริญญาตรี 4.20 4.12 4.30 4 15 0.08 0.11 0.19* 0.05 0.04 0.15 จากตารางที่ 4 22 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

Shabu

(7P’s) ของผู้บริโภคมีผล

Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัย

945 3 0 315

971 396 0 220

916 399

0 538 3 0 179

75 830 396 0 191 รวม 76 368 399

435

232

ด้านช่องทางการจัด จำหน่าย

936 0 423

ระหว่างกลุ่ม 0.084 3 0.028 0 148 0 931ภายในกลุ่ม 74 402 396 0 188 รวม 74 486 399

ระหว่างกลุ่ม 0.427 3 0.142 0.747 0.525ภายในกลุ่ม

75 4.3.6 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta
&
ส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับรายได้ต่อเดือนโดยใช้สถิติ F test แสดงตารางที่23 ตารางที่ 4.23 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วน บุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับรายได้ต่อเดือน ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig 1. ด้านผลิตภัณฑ์ ระหว่างกลุ่ม 0
1
0
ภายในกลุ่ม 86
รวม 87
2. ด้านราคา ระหว่างกลุ่ม
0
ภายในกลุ่ม
3.
4. ด้านการส่งเสริม การตลาด
75.483 396 0.191 รวม 75 910 399 5. ด้านบุคลากร ระหว่างกลุ่ม 0 592 3 0 197 1 119 0 341ภายในกลุ่ม 69 804 396 0 176 รวม 70.396 399 6 ด้านกระบวนการ ให้บริการ ระหว่างกลุ่ม 0 091 3 0 030 0 160 0 923 ภายในกลุ่ม 75 317 396 0 190 รวม 75.408 399

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับรายได้ต่อเดือน เมื่อพิจารณาเป็นข้อ พบว่า ในด้าน ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้าน กระบวนการให้บริการ ด้านทางกายภาพ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05

76 ตารางที่ 4.23 (ต่อ) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านระดับรายได้ต่อเดือน ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig. 7 ด้านลักษณะทาง กายภาพ ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม 0 162 73 548 73.710 3 396 399 0 054 0 186 0 291 0 832 จากตารางที่ 4.23 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

(7P’s) ของผู้บริโภคมีผล

Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัย

304 4 0 826

84.612 395 0.214 รวม 87 916 399

ด้านราคา

ด้านช่องทางการจัด จำหน่าย

.856 0.004

0.853 4 0.213 1 115 0 349ภายในกลุ่ม 75 515 395 0 191 รวม 76 368 399

ระหว่างกลุ่ม 1.040 4 0.260

1.398 0.234ภายในกลุ่ม 73.447 395 0.186 รวม 74 486 399

299 4 0 075

611 395 0 191

.910 399

390 0 816

77 4.3.7 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร
ส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอาชีพโดยใช้สถิติ F test แสดงตารางที่ 4.24 ตารางที่ 4.24 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ของ ผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอาชีพ ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig. 1. ด้านผลิตภัณฑ์ ระหว่างกลุ่ม 3
3
*ภายในกลุ่ม
2.
ระหว่างกลุ่ม
3.
4. ด้านการส่งเสริม การตลาด ระหว่างกลุ่ม 0
0
ภายในกลุ่ม 75
รวม 75
5. ด้านบุคลากร ระหว่างกลุ่ม 1 122 4 0 280 1 599 0 174ภายในกลุ่ม 69 275 395 0 175 รวม 70 396 399 6.ด้านกระบวนการ ให้บริการ ระหว่างกลุ่ม 1 793 4 0 448 2 405 0 049*ภายในกลุ่ม 73 615 395 0 186 รวม 75 408 399

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา

(7P’s)

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอาชีพ เมื่อพิจารณาเป็นข้อ พบว่า ในด้านราคา ด้านช่องทาง การจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ ไม่มีความ แตกต่างกัน และพบว่า ในด้านผลิตภัณฑ์และด้านกระบวนการให้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0 05 จึงเปรียบเทียบเป็นรายคู่ โดยใช้สูตรตามวิธีของ Scheff’e แล้วพบคู่ที่ต่างกัน 2 คู่ คือ ในด้านผลิตภัณฑ์ แสดงตารางที่ 4.25 และด้านกระบวนการให้บริการ แสดงตารางที่ 4.26

78 ตารางที่ 4.24 (ต่อ)
(7P’s) ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ
ราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอาชีพ ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7P’s) ค่าความ แปรปรวน SS df MS F Sig. 7. ด้านลักษณะทาง กายภาพ ระหว่างกลุ่ม 1.696 4 0.424 2 325 0 056 ภายในกลุ่ม 72 015 395 0 182 รวม 73.710 399 *Sig ≤ 0.05 จากตารางที่ 4 24 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ของผู้บริโภคมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ

ตารางที่ 4.25 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภค ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้านผลิตภัณฑ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในอาชีพรายคู่

นักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/ รัฐวิสาหกิจ

พนักงาน บริษัทเอกชน

(7P’s

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน ผลิตภัณฑ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอาชีพรายคู่

คู่ ได้แก่ กลุ่มผู้บริโภคที่ประกอบอาชีพ

79
อาชีพ ��̅ นักเรียน/ นักศึกษา รับ ราชการ/ รัฐวิสาหกิจ พนักงาน บริษัทเอกชน ธุรกิจ ส่วนตัว อื่นๆ 4 11 3 90 4 10 4 15 4 36 1.
2.
3.
4. ธุรกิจส่วนตัว 5. อื่นๆ 4.11 3.90 4 10 4 15 4 36 0.08 0.10 0.20 0.36 0.25 0 05 0.25 0.46* 0 26 0 21 *Sig ≤ 0 05 จากตารางที่ 4 25 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 จำนวน 1
อื่นๆ มีกระบวนการตัดสินใจ ใช้บริการของ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี มากกว่า ผู้บริโภคที่ประกอบอาชีพ รับ ราชการ/รัฐวิสาหกิจ ส่วนรายคู่อื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ

ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน

ราชการ/

นักศึกษา

พนักงาน บริษัทเอกชน

อื่นๆ

นักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/ รัฐวิสาหกิจ

พนักงาน บริษัทเอกชน

ธุรกิจส่วนตัว

อื่นๆ

26 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ในด้าน กระบวนการให้บริการจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านอาชีพรายคู่ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05

80 ตารางที่ 4.26
ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ
กระบวนการให้บริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในอาชีพรายคู่ อาชีพ ��̅ นักเรียน/
รับ
รัฐวิสาหกิจ
ธุรกิจ ส่วนตัว
4 26 4 15 4 16 4 30 4 42 1.
2.
3.
4.
5.
4.26 4.15 4 16 0.11 0.10 0.01 0.04 0.15 0 14 0.16 0.27 0 26 4 30 4 42 0 11 จากตารางที่ 4

ร้านอาหาร Kenta Shabu

พบว่าเพิ่มความรวดเร็วในการบริการและเสิร์ฟอาหาร

81 4.4 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ตารางที่ 4.27 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ลำดับที่ ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ความถี่ (คน) 1. เพิ่มความรวดเร็วในการบริการและเสิร์ฟอาหาร 5 2. ควรพัฒนาและขยายพื้นที่ร้าน 2 จากตารางที่ 4 27 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะการศึกษา การเปรียบเทียบ ความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการ
& Suki สาขาราชบุรี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
ควรพัฒนาและขยายพื้นที่ร้าน

43 2 และมีอาชีพเป็นนักเรียน/ นักศึกษามาก ที่สุด จำนวน 209 คน คิดเป็นร้อยละ 52 3 คิดเป็นร้อยละ 67.50 ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ เบญรัตน์ รุ่งเรือง (2562) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการภาพลักษณ์ของ แบรนด์และการสื่อสารแบบปากต่อปากที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ชาบู ในกรุงเทพมหานครโดยใช้ส่วนประสมทางการตลาดบริการ 7P’s พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 21 30 ปี สถานภาพโสด 4.5.2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากในทุกด้าน ซึ่งสามารถอภิปราย ได้ดังนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คิดว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ที่มีผลต่อการ ตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมากในทุกด้าน ซึ่งสอดคล้องกับ อัญธิกา แก้วศิริ (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยส่วนประสม

82 4.5 อภิปรายผล ในการศึกษาการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ ผู้บริโภคที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี มีประเด็น สำคัญที่สามารถนำมาอภิปรายผลได้ดังนี้ 4.5.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภค พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 400 คน ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน 262 คน คิดเป็นร้อยละ 62 5 และมีอายุระหว่าง 21 30 ปี จำนวน 224 คน คิดเป็นร้อยละ 56 0 มีสถานภาพเป็นโสด จำนวน 317 คน คิดเป็นร้อยละ 79 2 มีระดับการศึกษา เป็นมัธยมศึกษา/ปวช. จำนวน 162 คน คิดเป็นร้อยละ 40 5 มีระดับรายได้ต่อเดือน น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 10,000 บาท จำนวน 173 คน คิดเป็นร้อยละ
ที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งจากการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านบุคลากร และด้าน กระบวนการให้บริการมากที่สุด เนื่องจากกระบวนการให้บริการและทักษะความสามารถของด้าน บุคลากรในการบริการและทำงานต่าง ๆ นั้นสำคัญและมีผลต่อกลุ่มลูกค้าโดยตรงทั้ง 2 ด้านนี้ จึงต้อง ได้รับการดูแลเป็นพิเศษ

Kenta

ซึ่ง

และกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ได้ดังนี้ 4.5.4.1 ด้านผลิตภัณฑ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อาหารมีความหลากหลายให้เลือกรับประทาน พบว่าผู้บริโภคมีระดับการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 4.13 เป็นเหตุเช่นนี้ เพราะว่าอาหารมีความหลากหลายให้เลือกรับประทานมีผลในการ ตัดสินใจเลือกใช้บริการ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ศิวกร ตลับนาค (2561) ได้ทำการศึกษา เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น ประเภทชาบู ในอำเภอพุทธมลฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ผู้บริโภคชอบอาหารมีความหลากหลายให้เลือกรับประทาน 4.5.4.2 ด้านราคา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ราคา ที่แสดงในรายการอาหารมีการแสดงราคาชัดเจน

83 4.5.3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ของ ผู้บริโภค ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหาร
Shabu & Suki สาขาราชบุรี ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ของ ผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในด้านเพศ โดยใช้สถิติ t test มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 โดย ภาพรวมมีการตัดสินใจที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของการตัดสินใจของ ผู้บริโภคร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลในด้านสถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษา มีการตัดสินใจแตกต่างกันโดยใช้ สถิติ F test มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 05 จึงเปรียบเทียบเทียบรายคู่ด้วยสูตร Scheffé พบว่าด้านสถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษา มี การตัดสินใจแตกต่างกัน 4.5.4 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากในทุกด้าน
สามารถอภิปรายเป็นรายด้าน
พบว่าผู้บริโภคมีระดับการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 4.32 เป็นเหตุเช่นนี้ เพราะว่าผู้บริโภคจึงสามารถตัดสินใจเลือกรับประทานอาหารได้ ง่ายมากขึ้นเนื่องจากมีการแสดงราคาชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ อัญธิกา แก้วศิริ (2560) ได้ทำการศึกษา เรื่องปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการ ร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ราคาที่แสดงในรายการ อาหารมีการแสดงราคาชัดเจนมีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ

ในด้านส่วนประสมการตลาด จากผลการศึกษาพบว่าการมอบสิทธิ พิเศษกับสมาชิกมีระดับการตัดสินใจมาก 4.5 4.5 ด้านบุคลากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า พนักงานแต่งกายสะอาด/เรียบร้อย คิดเป็นร้อยละ 4.42 เป็นเหตุเช่นนี้ เพราะว่าการแต่งกายที่สะอาด เรียบร้อยเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับทางร้าน ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ขนิษฐา คล้ายแย้ม และดาริน พันธ์ศรี (2560) ทำการศึกษาเรื่องได้ทำการศึกษาอิทธิพลการตัดสินใจเลือก

84 4.5 4.3 ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า มีสถานที่จอดรถสะดวกและเพียงพอผู้บริโภคมีระดับการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก คิด เป็นร้อยละ 4.31 เป็นเหตุเช่นนี้ เพราะว่าในการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้บริโภคจะคำนึงถึงสถานที่ จอดสะดวกและเพียงพอ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ศิวกร ตลับนาค (2561) ได้ทำการศึกษา เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น ประเภทชาบู ในอำเภอพุทธมลฑล จังหวัดนครปฐม พบว่าทำเลที่ตั้งของร้าน ฯ สะดวกในการเดินทาง และมีที่จอดรถเพียงพอ 4.5 4.4 ด้านการส่งเสริมทางการตลาด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า มีบัตรสมาชิกสะสมคะแนนหรือเพื่อเป็นส่วนลด คิดเป็นร้อยละ 4.32 เป็นเหตุเช่นนี้ เพราะว่า การมีบัตรสมาชิกสะสมคะแนนหรือเพื่อเป็นส่วนลด เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ช่วยรักษา ความสัมพันธ์ของลูกค้าให้เกิดการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษา ปริยากร ทวีวงศ์กวิน (2561) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยสาคัญที่มีต่อการใช้บริการร้านอาหารประเภทชาบูของ ผู้ใช้บริการ ในจังหวัดนนทบุรี
รับประทานร้านอาหารประเภทบุฟเฟ่ต์: กรณีศึกษาร้าน สุกี้ตี๋น้อย สาขาเกษตร นวมินทร์ พบว่ามีการ แต่งกายของพนักงานสุภาพ สะอาด 4.5 4.6 ด้านกระบวนการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีการรันคิวลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว คิดเป็นร้อยละ 4.37 เป็นเหตุเช่นนี้ เพราะว่าการ ปฏิบัติงานของบุคลากรหรือพนักงานที่ปฏิบัติงานบริการ เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งใน กระบวนการบริการ เพื่อสามารถจัดที่ที่เหมาะสมกับจำนวนลูกค้าให้ลูกค้าได้รับบัตรคิวอย่างรวดเร็ว และถูกต้องในการรับบริการ นัฐกาญจน์ รัตนทิตย์ ณัฐฑริกา สีดามาตย์ และกรกนก เรืองรักษ์ (2562) ได้ทำการศึกษาเรื่องความพึงพอใจของผู้ใช้บริการร้านเอ็มเค เรสโตรองค์ กรุ๊ปจำกัด มหาชน สาขาซี คอนศรีนครินทร์ ตามหลักส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) พบว่ามีความรวดเร็วในการบริการ
85 4.5 4.7 ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ พบว่า ป้ายชื่อของร้านมองเห็นได้ง่ายและชัดเจน คิดเป็นร้อยละ 4.33 เป็นเหตุเช่นนี้ เพราะว่า ป้ายชื่อร้านมีผลต่อกลุ่มลูกค้าและคนที่ได้พบเห็นในวงกว้าง เพราะสิ่งที่ผู้คนได้มองเห็นนั้น จะสร้างความรู้สึก ทัศนคติ ความคิด รู้จักและเข้ามาอุดหนุนสินค้าใช้บริการได้ถูก และช่วย ประชาสัมพันธ์ สร้างimage ให้กับธุรกิจดึงดูดใจให้ลูกค้าอยากเข้ามาอุดหนุน และใช้บริการ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษา อัญธิกา แก้วศิริ (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่องปัจจัยส่วนประสมที่มี ความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า มีป้ายชื่อร้านมองเห็นและชัดเจน

สรุปผล 5.1.1 ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 385 คน ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 262 คน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 21 30 ปี จำนวน 224 คน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด จำนวน 317 คน ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาที่ระดับมัธยมศึกษา (ปวช ) หรือเทียบเท่า จำนวน 162 คน ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับรายได้ต่อเดือนมากที่สุดคือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ

บาท

บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ (Suvey Research) ข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับ “ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ผู้ศึกษาได้ทำการกำหนด วัตถุประสงค์หลักในการศึกษาไว้ดังนี้ 1.2.1 เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหารKenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 1.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาการบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 5.1
10,000
จำนวน 173 คน และอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่คือ นักเรียน/นักศึกษา จำนวน 209 คน ตามลำดับ 5.1.2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการใช้บริการการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี โดยภาพรวม ผลประเมินมีระดับการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้ใช้บริการให้ความสำคัญ ด้านบุคลากร และด้านกระบวนการรองลงมา คือ ด้านการส่งเสริม ทางการตลาด และด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านราคา ด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ

ตามลำดับ 5.1.2.3 ด้านการส่งเสริมทางการตลาด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ ผู้ใช้บริการร้านบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ให้ความสำคัญใน เรื่องของ มีบัตรสมาชิกสำหรับสะสมคะแนนหรือเพื่อเป็นส่วนลด รองลงมา คือ มีส่วนลดและกิจกรรม ส่งเสริมทางการตลาด มีรายการอาหารพิเศษในวันสำคัญหรือเทศกาล มีการประชาสัมพันธ์หรือการ โฆษณาผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ค, เว็บไซต์ และมีการส่งเสริมทางการตลาดร่วมกับพันธมิตรอื่น ๆ เช่น บัตรเครดิต ตามลำดับ

5.1.2 4 ด้านลักษณะทางกายภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อผู้ใช้บริการร้านบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี ให้ความสำคัญในเรื่องของป้ายชื่อของร้านมองเห็นได้ง่ายและชัดเจน รองลงมา คือ อุปกรณ์

87 5.1.2 1 ด้านบุคลากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ผู้ใช้บริการร้านบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ให้ความสำคัญในเรื่องของ พนักงานแต่งกายสะอาด/เรียบร้อย รองลงมาคือพนักงานมีความกระตือรือร้น และมีความเอาใจใส่ใน การบริการ พนักงานเพียงพอต่อการให้บริการ พนักงานมีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการ ต้อนรับลูกค้า และการกล่าวคำทักทายของพนักงาน ตามลำดับ 5.1.2 2 ด้านกระบวนการให้บริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ ผู้ใช้บริการร้านบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ให้ความสำคัญในเรื่อง ของ มีการรันคิวลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว รองลงมา คือ มีช่องทางในการชำระเงินที่ หลากหลาย และการทำความสะอาดโต๊ะเพื่อรับลูกค้าใหม่รวดเร็ว ติดต่อ สำรองโต๊ะ สอบถามมี ความสะดวกและรวดเร็ว และมีการดูแลให้บริการตลอดช่วงเวลาที่ให้บริการ
ภายในร้านสะอาด ความสะดวกสบายของที่นั่งภายในร้าน พื้นที่ร้านเพียงพอต่อการให้บริการ และการตกแต่งร้านสวยงาม ตามลำดับ 5.1.2 5 ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ ผู้ใช้บริการร้านบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ให้ความสำคัญใน เรื่องของ สถานที่จอดรถสะดวกและเพียงพอ รองลงมา คือ สามารถสั่งซื้ออาหารผ่านช่องทาง แอพพลิเคชั่น เช่น แกร็บฟู้ด, ไลน์แมน ระยะการเปิด ปิดร้านที่ชัดเจน และร้านตั้งอยู่ในแหล่งชุมชน หรือใกล้ห้างสรรพสินค้า ตามลำดับ

จากผลการศึกษาพบว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ

ด้านผลิตภัณฑ์ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารมีรสชาติที่ดีตรงตาม มาตรฐานน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับข้ออื่น ๆ ดังนั้น ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ควรมีการใส่ใจรายละเอียดเกี่ยวกับรสชาติอาหาร หรือสร้างคู่มือการประกอบอาหารเพื่อใช้เป็น มาตรฐานของร้าน รสชาติอร่อยตรงตามมาตรฐาน เพื่อเป็นการสร้างมาตรฐานให้กับรสชาติมีความ มั่นคง และเป็นการสร้างมาตรฐานสูตรที่สามารถนำไปใช้ในการขยายสาขา 5.1.3.2 ด้านราคา จากผลการศึกษาปัจจัยทางส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ด้านราคา

88 5.1.2 6 ด้านราคา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ผู้ใช้บริการร้านบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ให้ความสำคัญในเรื่องของ ราคาที่แสดงในรายการอาหารมีการแสดงราคาชัดเจน รองลงมา คือ ราคามีให้เลือกหลากหลาย ราคามีความคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย ราคามีความเหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ของร้าน อื่น ๆ และราคาเหมาะสมกับคุณภาพอาหาร ตามลำดับ 5.1.2 7 ด้านผลิตภัณฑ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ผู้ใช้บริการร้านบริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ให้ความสำคัญในเรื่องของ ปริมาณอาหารเพียงพอพอต่อจำนวนลูกค้า รองลงมาคืออาหารมีความหลากหลายให้เลือกรับประทาน คุณภาพความสดใหม่ของอาหาร รูปลักษณ์สวยงามน่ารับประทาน และอาหารมีรสชาติที่ดีตรงตาม มาตรฐาน ตามลำดับ 5.1.3 แนวทางในการพัฒนาการบริการโดยใช้ส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการ ตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” 5.1 3.1 ด้านผลิตภัณฑ์
(7P’s)
ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับราคามีความเหมาะสมกับคุณภาพของอาหาร น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับข้ออื่น ๆ ดังนั้น ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ควรคำนวณ ราคาให้เหมาะสมกับปริมาณ หรือความคุ้มค่าของอาหารโดยทางร้านควรเพิ่มคุณภาพของวัตถุดิบที่ นำมาใช้ให้มีความเหมาะสมกับราคา เพื่อให้เกิดราคาที่เหมาะสมกับผู้บริโภค 5.1 3.3 ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย จากผลการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด บริการ (7P’s) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับ ร้านตั้งอยู่ใน แหล่งชุมชนหรือใกล้ห้างสรรพสินค้าน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับข้ออื่น ๆ ดังนั้น ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ควรศึกษาหาทำเลที่ตั้งหรือขยายสาขาที่ผู้บริโภคสามารถเดินทางไป บริโภคได้สะดวก หรือมีรถโดยสารประจำทางผ่าน

5.1.3.4

จากผลการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การ

น้อยที่สุด ดังนั้นร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ควรสร้างสิ่งกระตุ้นในระยะสั้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดการซื้อสินค้า และบริการ ควรติดต่อพันธมิตรหรือเข้าร่วมโปรโมชั่นของธนาคารเพื่อเป็นการส่งเสริมการขาย ได้แก่ การสะสม แต้ม แลกของรางวัล การให้ส่วนลดพิเศษในการใช้บัตร 5.1 3.6 ด้านกระบวนการให้บริการ จากผลการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด บริการ (7P’s) ด้านกระบวนการมีการดูแลให้บริการตลอดช่วงเวลาที่ให้บริการน้อยที่สุด เมื่อ เปรียบเทียบกับข้ออื่น ๆ ดังนั้น ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ควรมีพนักงาน เพียงพอต่อการบริการ เพื่อบริการลูกค้าตลอดในช่วงลูกค้ามาใช้บริการ และทางร้านควรมีการแบ่ง หน้าที่รับผิดชอบของพนักงานในส่วนของบริการหน้าร้าน ใส่ใจดูแลลูกค้าขณะรับประทานอาหาร และมีความกระตือรือร้นในการบริการเมื่อลูกค้าต้องการรับบริการ เช่น การเติมน้ำ การสั่งอาหาร

89
ด้านลักษณะทางกายภาพ
บริการ (7P’s) ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ตกแต่งร้านสวยงาม จำนวนที่นั่งมีเพียงพอต่อการให้บริการน้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับข้ออื่น ๆ ดังนั้น ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ควรปรับลักษณะการตกแต่งร้านให้ตรงตาม คอนเซ็ปต์ของสินค้าและบริการ มีเอกลักษณ์ด้วยสีสันสวยงามดึงดูดสายตา เพื่อเป็นการนำเสนอทาง กายภาพให้กับลูกค้า เพื่อเป็นการดึงดูดให้ลูกค้าเข้ามาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และควรเพิ่มจำนวนที่นั่ง ให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า 5.1 3.5 ด้านการส่งเสริมทางการตลาด จากผลการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด บริการ (7P’s) ด้านการส่งเสริมทางการตลาด ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับมีการ ส่งเสริมการตลาดร่วมกับพันธมิตรอื่น ๆ เช่น บัตรเครดิต
หรือการชำระเงินให้ลูกค้าได้รับบริการอย่างรวดเร็วและทั่วถึง เพื่อให้ลูกค้าได้รับการบริการตลอดเวลา ในขณะเข้ามาใช้บริการ 5.1 3.7 ด้านบุคลากร จากผลการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s) ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับมีการต้อนรับลูกค้า และการกล่าวคำทักทายของพนักงาน น้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับข้ออื่น ๆ ดังนั้น ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี” ผู้ประกอบการควรคัดเลือกคนที่มีใจรักงานบริการเข้ามาทำงาน และจัดอบรมเกี่ยวกับมาตรฐานการ ทำงาน มารยาทต่าง ๆ เช่น กล่าวทักทายลูกค้า ยิ้มและสบตา ด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้ม และดูเป็น ธรรมชาติ เพื่อเป็นการสร้างความประทับใจให้แก่ลูกค้า

โดยอาจจะเพิ่มมาตรฐานในการ บริการให้ดียิ่งขึ้นทางร้านควรจะมีพนักงานเพียงพอต่อการบริการ เพื่อเป็นประโยชน์ในระยะยาว ทางด้านบุคลากร และพัฒนาในส่วนของการบริการ โดยอาจจะเพิ่มความรวดเร็วในการบริการและ เสิร์ฟอาหาร ความกระตือรือร้นในการบริการ บริการด้วยความถูกต้องตามมาตรฐาน บริการด้วย ความครบถ้วนสมบูรณ์ บริการด้วยคุณภาพที่สม่ำเสมอ เพื่อการกลับมาใช้บริการในครั้งถัดไป

5.2.1.2 จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการใช้ บริการการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี น้อยที่สุดคือ ด้าน ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ซึ่งด้านผลิตภัณฑ์ควรควรทำให้ได้ตามมาตรฐานของร้านที่กำหนดไว้ อาหาร จะต้องมีรสชาติที่ดีตรงตามมาตรฐาน ต้องเน้นการเลือกวัตถุดิบของอาหารจะต้องสดสะอาด ด้าน ราคา ควรมีขั้นตอนในการกำหนดราคาให้เหมาะสมกับคุณภาพอาหาร เพื่อให้สอดคล้องของผู้บริโภค กับปริมาณที่จำหน่าย

90 5.2 ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการใช้บริการการเลือกใช้ บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี มีข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา ดังนี้ 5.2.1 ข้อเสนอแนะสำหรับร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี 5.2.1.1 จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการใช้ บริการการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี มากที่สุด คือ ด้านบุคลากร และด้านกระบวนการให้บริการ ผู้บริโภคล้วนให้ความสำคัญมากต่อการให้บริการ ซึ่งผู้ประกอบการจึง ควรให้ความสำคัญกับการแสดงความคิดเห็นของผู้บริโภค เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และ ควรมีการวางแผนการตลาดที่ดีเพื่อให้ตรงต่อความต้องการของลูกค้า ซึ่งผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ เป็นเพศ หญิง กลุ่มอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา มีอายุระหว่าง 21 30 ปี ทั้งนี้
หรือความหลากหลายของตัวผลิตภัณฑ์เพื่อที่จะให้ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจ มากที่สุดทำให้ร้านเป็นที่พึงพอใจกับผู้ใช้บริการ และกลับมาใช้บริการในครั้งต่อไป 5.2.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาครั้งต่อไป 5.2.2.1 ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของพนักงานร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานของพนักงาน 5.2.2.2 ควรการศึกษาหลักการบริการจัดการของร้านชาบูประเภทบุฟเฟต์ที่ส่งผลให้ธุรกิจ เกิดความสำเร็จ เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินกิจการสำหรับผู้สนใจประกอบธุรกิจร้านอาหารของ ตนเอง

. (2560). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 17. เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด, กรุงเทพฯ. ธีริศรา คุ้มทรัพย์ (ม ป ป) ประวัติชาบู สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2565, จาก https://std40728.wordpress.com/ประวัติชาบู/ นัฐกาญจน์ รัตนทิตย์ ณัฐฑริกา สีดามาตย์ และกรกนก เรืองรักษ์ (2562) ความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการร้านเอ็มเค เรสโตรองค์ กรุ๊ปจำกัด มหาชน สาขาซีคอนศรีนครินทร์ ตามหลัก ส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s). โครงงานพิเศษสาขาอุตสาหกรรมการบริการ อาหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพนะนคร. ปรียานุช คูสกุล. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารร้าน ยูแอนด์ไอพรีเมี่ยมสุกี้ บุฟเฟ่ต์ สาขาศูนย์การค้าเมกาบางนา บทความ มหาวิทยารามคำแหง

92 เอกสารอ้างอิง กริชกรณ์ โม่มาลา. (ผู้จัดการร้านร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี, สัมภาษณ์, 20 สิงหาคม 2565. ขนิษฐา คล้ายแย้ม และดาริน พันธ์ศรี (2560) อิทธิพลการตัดสินใจเลือกรับประทานร้านอาหาร ประเภทบุฟเฟ่ต์: กรณีศึกษาร้าน สุกี้ตี๋น้อย สาขาเกษตร นวมินทร์. ระดับปริญญาตรี โครงงานพิเศษสาขาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2556). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน ธานินทร์ ศิลป์จารุ
สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2565, จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/twin92/6214154536.pdf ปูริดา มาเทศ และสุริยา ไม้จัตุรัส (2560) ความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อการบริการของร้าน ชาบูตง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ โดยใช้ส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7P’s). ระดับ ปริญญาตรี โครงงานพิเศษสาขาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนคร ปริยากร ทวีวงศ์กวิน. (2561). ปัจจัยสําคัญที่มีต่อการใช้บริการร้านอาหารประเภทชาบูของ ผู้ใช้บริการ ในจังหวัดนนทบุรี ในด้านส่วนประสมการตลาด. ปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

พิมพ์ครั้งที่ 2. บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง.จำกัด

(2562) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

1 “สร้างเสริมสหวิทยาการผสมผสาน วัฒนธรรมไทย ก้าวอย่างมั่นใจเข้าสู่ AC”, 2559 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2554) จิตวิทยาการบริการ. นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์ (2554) การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รัชฏาภรณ์ พรมมิรัตนะ. (2553) ความต้องการปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลือกซื้อเฟอร์นิเจอร์ของผู้ที่พักอาศัยในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี . การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม มหาวิทยาลัยบูรพา วรัญญา ลีลาวดี (2560) ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการรับประทานอาหารบุฟเฟ่ต์ของ

93 เอกสารอ้างอิง (ต่อ) พนิตสุภา ธรรมประมวล. (2563). การตลาดบริการ.
กรุงเทพฯ พัทธนันท์ ศุภภาคิณ และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล
บริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ห้องอาหารบุฟเฟต์ บางกอก บาโคนี่ ชั้น 81 โรงแรมใบหยก. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม ธันวาคม พัลลภา อมาตยกุล. “ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันรถยนต์ ผ่านระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในกรุงเทพมหานคร”. อุบลราชธานี : การประชุมวิชาการและนำเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่
ผู้บริโภคที่ถนนสีลม. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยสยาม, บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป วรรณิศา เสาวรส (2564) การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดที่ ส่งผลต่อการเข้าใช้บริการร้านย่างเนย สาขาราชมงคลคลอง 6 ในเขตคลอง บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วิเชียร วงศ์ณิชชากุล. (2550). การบริหารการส่งเสริมการตลาด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ไดมอน อิน บิสสิเน็ตเวิร์ล ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2552) การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด

: สายธาร.

(พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2549). มัดใจลูกค้าได้ด้วยสุดยอดการบริการ. กรุงเทพมหานคร: เนชั่น มัลติมีเดียกรุ๊ป. อัญธิกา แก้วศิริ (2560) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้ บริการร้านอาหาร บุฟเฟต์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ . บริหารธุรกมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เที่ยวราชบุรี.com. (ม ป ป) Kenta Shabu & Suki. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565, จาก https://is.gd/P0d6mz เบญจรัตน์ รุ่งเรือง (2562) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ภาพลักษณ์ของแบรนด์ และ การสื่อสารแบบปากต่อปาก ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟต์

94 เอกสารอ้างอิง (ต่อ) ศิวกร ตลับนาค (2561) ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น ประเภทชาบู ในอำเภอพุทธมลฑล จังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพนะนคร สมชาย กิจยรรยง. (2561) กลยุทธ์ทางการตลาดสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: Smart Life. สมิต สัชฌุกร. (2546). การต้อนรับและบริการที่เป็นเลิศ (พิมพค์รั้งที่4). กรุงเทพฯ
สมิต สัชฌุกร (2555) ศิลปะการให้บริการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุชาติ ไตรภพสกุล (2565) หลักการตลาดเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ
ชาบูในกรุงเทพมหานคร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Kenta Shabu & Suki. 2564. ภาพเซตเมนู และ โปรโมชั่น Kenta Shabu & Suki. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565, จาก https://www.facebook.com/498642596960263/posts/1854651004692742/
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

1 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะ แบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจในการ เลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ลักษณะแบบสอบถามเป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนออื่นๆ ของผู้บริโภคต้องการให้มีการปรับปรุง หรือแก้ไขปัญหาของร้าน Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ลักษณะเป็นแบบสอบถาม เป็นแบบปลายเปิด (Open Ended) ขอแสดงความนับถือ

97 แบบสอบถาม เรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี คำชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาโครงงานพิเศษ ด้านอุตสาหกรรมการบริการ อาหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรีคำตอบของท่านมีคุณค่ายิ่งต่อการศึกษา ผู้ศึกษาขออนุเคราะห์จากท่าน โปรดตอบแบบสอบถามตามความคิดเห็นของท่านตามความเป็นจริงให้ครบทุกข้อ แบบสอบถาม แบบสอบถามในการศึกษาครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ตอนที่
นางสาว อธิชา เลิศพานิช โทร 0647082634 นางสาว ณีรนุช ทองทิพย์ โทร. 0625370186 นักศึกษา สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

อายุ

ชาย 2) หญิง

) ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 20 ปี 2) 21 ปี 30 ปี

31 ปี 40 ปี 4) 41 ขึ้นไป 3. สถานภาพ

) โสด 2) สมรส 3) หย่าร้าง

ระดับการศึกษา

) มัธยมศึกษา/ปวช 2) อนุปริญญา/ปวส

3) ปริญญาตรี 4) สูงกว่าปริญญาตรี

5. ระดับรายได้ต่อเดือน

1) น้อยกว่าหรือเท่ากับ

98 แบบสอบถาม ชื่อเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ตอนที่ 1 ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย √ ลงในช่อง หน้าตัวเลือกที่ท่านต้องการและกรุณากรอก รายละเอียดลงในช่องว่างที่กำหนดถ้าเลือกตัวเลือกข้อนั้น ๆ 1. เพศ 1)
2.
1
3)
1
4.
1
10,000 บาท 2) 10,001 15,000 บาท 3) 15,001 20,000 บาท 4) มากกว่า 20,001 บาท 6. อาชีพ 1) นักเรียน/นักศึกษา 2) รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 3) พนักงานบริษัทเอกชน 4) ธุรกิจส่วนตัว 5) อื่นๆ

หมายถึง ผู้บริโภคมีตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ระดับ 3 หมายถึง ผู้บริโภคมีตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง ผู้บริโภคมีตัดสินใจอยู่ในระดับน้อย

2. อาหารมีรสชาติที่ดีตรงตามมาตรฐาน

3. อาหารมีความหลากหลายให้เลือกรับประทาน

4. รูปลักษณ์สวยงามน่ารับประทาน

5. ปริมาณอาหารเพียงพอต่อจำนวนลูกค้า ด้านราคา

6. ราคาเหมาะสมกับคุณภาพอาหาร

7. ราคาที่แสดงในรายการอาหารมีการแสดงราคาชัดเจน

99 ตอนที่ 2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี คำชี้แจง กรุณาใส่เครื่องหมาย √ ตรงระดับการตัดสินใจของท่านเพื่อแสดงลำดับระดับการตัดสินใจ แต่ละลำดับดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง ผู้บริโภคมีตัดสินใจอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด ระดับ 4
ระดับ 1 หมายถึง ผู้บริโภคมีตัดสินใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ระดับการตัดสินใจ 5 4 3 2 1 ด้านผลิตภัณฑ์ 1. คุณภาพความสดใหม่ของอาหาร
8. ราคามีความเหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ ของร้านอื่น ๆ 9. ราคาคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย 10. ราคามีให้เลือกหลากหลาย ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย 11. ร้านตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนหรือใกล้ห้างสรรพสินค้า 12. มีสถานที่จอดรถสะดวกและเพียงพอ 13. ระยะการเปิด ปิด ร้านที่ชัดเจน 14. สามารถสั่งซื้ออาหารผ่านช่องทางแอพพลิเคชั่น เช่น เช่น แกร็บฟู้ด, ไลน์แมน

ด้านบุคลากร

1. การต้อนรับลูกค้าและการกล่าวคำทักทายของพนักงาน

2. พนักงานแต่งกายสะอาด/เรียบร้อย

3. พนักงานมีความสามารถในการแก้ไขปัญหา

4. พนักงานมีความกระตือรือร้นและมีความเอาใจใส่ใน การให้บริการ

5. พนักงานเพียงพอต่อการให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการ

1. ติดต่อ สำรองโต๊ะ สอบถามมีความสะดวกและ รวดเร็ว

2. มีการรันคิวลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

100 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ระดับการตัดสินใจ 5 4 3 2 1 ด้านการส่งเสริมการตลาด 1. มีการประชาสัมพันธ์หรือการโฆษณาผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น เช่น เฟซบุ๊ก, เว็บไซต์ 2. มีบัตรสมาชิกสำหรับสะสมคะแนนหรือเพื่อเป็นส่วนลด 3. มีการส่งเสริมการตลาดร่วมกับพันธมิตรอื่น ๆ เช่น บัตรเครดิต 4. มีส่วนลดและกิจกรรมส่งเสริมการตลาด 5. มีรายการอาหารพิเศษในวันสำคัญหรือเทศกาล
3. มีการดูแลให้บริการตลอดช่วงเวลาที่ให้บริการ 4. มีช่องทางในการชำระเงินที่หลากหลาย 5. การทำความสะอาดโต๊ะเพื่อรับลูกค้าใหม่รวดเร็ว ด้านลักษณะทางกายภาพ 1. พื้นที่ร้านเพียงพอต่อการให้บริการ 2. ป้ายชื่อของร้านมองเห็นได้ง่ายและชัดเจน 3. ความสะดวกสบายของที่นั่งภายในร้าน 4. อุปกรณ์ภายในร้านสะอาด 5. การตกแต่งร้านสวยงาม
101 ตอนที่ 3 ปัญหาและข้อเนอแนะ คำแนะนำการใช้บริการร้าน อาหาร Kenta Shabu & Suki สาขา ราชบุรี คำชี้แจง กรุณากรอกข้อความตามความเป็นจริงที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน เพื่อนำไปปรับปรุงให้ ท่านได้รับความพึงพอใจมากที่สุด ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ภาคผนวก ข รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือ

103 รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือ 1. ว่าที่ร้อยตรีเขม อภิภัทรวโรดม อาจารย์ประจำสาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการ อาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2. อาจารย์กัญญานัส แก้วรักษา อาจารย์ประจำสาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการ อาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 3. อาจารย์ศศิธร ป้อมเชียงพิณ อาจารย์ประจำสาขาอุตสาหกรรมการบริการ อาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

ภาคผนวก ค ตารางแสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์ของ แบบสอบถามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการ เลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี

3 1.00

3 1.00

3

105 ตาราง แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์ของแบบสอบถาม ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำนวน 40 ข้อ ข้อที่ คะแนนพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ รวม ดัชนีความ สอดคล้องคนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 1 1 1 3 1.00 2 1 1 1 3 1.00 3 1 1 1 3 1.00 4 1 1 1 3 1.00 5 1 1 0 2 0.60 6 1 1 1 3 1.00 7 1 1 1
8 1 1 1
9 1 1 1 3 1.00 10 1 1 1 3 1.00 11 1 1 1
1.00 12 1 1 1 3 1.00 13 1 1 1 3 1.00 14 1 1 1 3 1.00 15 1 1 1 3 1.00 16 1 1 1 3 1.00 17 1 1 1 3 1.00 18 1 1 1 3 1.00 19 1 1 1 3 1.00 20 1 1 1 3 1.00 21 1 1 1 3 1.00 22 1 1 1 3 1.00
106 (ต่อ) ตาราง แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์ของ แบบสอบถามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี จำนวน 40 ข้อ ข้อที่ คะแนนพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ รวม ดัชนีความ สอดคล้องคนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 23 1 1 1 3 1.00 24 1 1 1 3 1.00 25 1 1 1 3 1.00 26 1 1 1 3 1.00 27 1 1 1 3 1.00 28 1 1 1 3 1.00 29 1 1 1 3 1.00 30 1 1 1 3 1.00 31 1 1 1 3 1.00 32 1 1 1 3 1.00 33 1 1 1 3 1.00 34 1 1 1 3 1.00 35 1 1 1 3 1.00 36 1 1 1 3 1.00 37 1 1 1 3 1.00 38 1 1 1 3 1.00 39 1 1 1 3 1.00 40 1 1 1 3 1.00 โดยผู้วิจัยได้คัดเลือกแบบทดสอบที่มีความสอดคล้องระหว่าง 0.60 1.00

ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมสำเร็จรูป

108 t Test Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวมด้าน ผลิตภัณฑ์ Equal variances assumed 020 888 3 455 398 001 16832 04871 26408 07255 Equal variances not assumed 3 469 281 718 001 16832 04853 26383 07280 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวม ด้านราคา Equal variances assumed 3 125 078 3 702 398 000 16770 04530 25675 07864 Equal variances not assumed 3 599 257 608 000 16770 04660 25946 07593 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวมด้านช่อง ทางการจัด จำหน่าย Equal variances assumed 2 825 094 3 351 398 001 15036 04487 23858 06214 Equal variances not assumed 3 339 275 931 001 15036 04504 23902 06170
109 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวมด้านการ ส่งเสริมการตลาด Equal variances assumed 2 304 130 1 223 398 222 05609 04585 14623 03405 Equal variances not assumed 1 205 267 081 229 05609 04655 14775 03557 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวมด้าน บุคลากร Equal variances assumed 544 461 1 282 398 201 05658 04414 14336 03021 Equal variances not assumed 1 268 270 718 206 05658 04461 14440 03124 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวมด้าน กระบวนการ ให้บริการ Equal variances assumed 301 584 1 977 398 049 09007 04556 17963 00050 Equal variances not assumed 1 982 280 867 048 09007 04544 17950 00063
110 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวมด้าน กายภาพ Equal variances assumed 121 728 1 689 398 092 07616 04510 16483 01251 Equal variances not assumed 1 701 284 519 090 07616 04477 16429 01197 Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances t test for Equality of Means F Sig t df Sig. (2 tailed) Mean Difference Std Error Difference 95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper ภาพรวม ทั้งหมด Equal variances assumed 3 688 056 2 796 398 005 12253 04383 20870 03636 Equal variances not assumed 2 721 258 587 007 12253 04503 21120 03387

Way Anova)

ANOVA

ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์

Between Groups 376 3 125 653 581 Within Groups

Between Groups 706 3 235 1 069 362 Within Groups 87 210 396 220 Total 87 916 399 ภาพรวมด้านราคา

992 396 192 Total

368 399

ภาพรวมด้านช่องทางการจัดจำหน่าย

486 399 ภาพรวมด้านการส่งเสริมการตลาด

Between Groups 890 3 297 1 596 190 Within Groups 73 596 396 186 Total

Between Groups 330 3 110 577 630 Within Groups 75 580 396 191 Total

910 399

Between Groups 208 3 069 391 759 Within Groups 70 188 396 177 Total

396 399 ภาพรวมด้านกระบวนการให้บริการ

Between Groups 282 3 094 496 685 Within Groups

408 399 ภาพรวมด้านกายภาพ

126 396 190 Total

Between Groups 222 3 074 398 754 Within Groups 73 489 396 186 Total

710 399

111 F test(One
อายุ
Sum of Squares df Mean Square F Sig
75
76
74
75
ภาพรวมด้านบุคลากร
70
75
75
73

ANOVA

Between Groups 1 413 2 707 3 243 040 Within Groups 86 503 397 218 Total 87 916 399

Between Groups 312 2 156 814 444 Within Groups 76 056 397 192 Total

368 399

Between Groups 1 481 2 740 4 026 019 Within Groups 73 005 397 184 Total

486 399 ภาพรวมด้านการส่งเสริมการตลาด

Between Groups 289 2 144 758 469 Within Groups 75 621 397 190 Total

910 399

Between Groups 802 2 401 2 289 103 Within Groups 69 594 397 175 Total 70 396 399 ภาพรวมด้านกระบวนการให้บริการ

Between Groups 766 2 383 2 036 132 Within Groups 74 642 397 188 Total 75 408 399

Between Groups 732 2 366 1 990 138 Within Groups 72 979 397 184 Total

710 399

112 สถานภาพ
Sum of Squares df Mean Square F Sig ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์
ภาพรวมด้านราคา
76
ภาพรวมด้านช่องทางการจัดจำหน่าย
74
75
ภาพรวมด้านบุคลากร
ภาพรวมด้านกายภาพ
73

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

450 3 1483 7038 000

466 396 211

916 399

218 3 739 3948 009

150 396 187

368 399

875 3 958 5299 001

611 396 181

486 399

535 3 178 936 423

375 396 190

910 399

802 3 601 3468 016

Groups

Groups

Between Groups

Groups

594 396 173

396 399

551 3 850 4621 003

857 396 184

408 399

970 3 657 3625 013

Groups

Groups

740 396 181

710 399

113 ระดับการศึกษา ANOVA Sum of Squares df Mean Square F Sig ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์
4
Within
83
Total 87
ภาพรวมด้านราคา
2
Within
74
Total 76
ภาพรวมดานชองทางการจดจาหนาย
2
Within
71
Total 74
ภาพรวมดานการสงเสรมการตลาด
Within
75
Total 75
ภาพรวมด้านบุคลากร Between
1
Within
68
Total 70
ภาพรวมด้านกระบวนการให้บริการ
2
Within
72
Total 75
ภาพรวมด้านกายภาพ Between
1
Within
71
Total 73

Between Groups

ANOVA

of

df Mean Square

945 3 315 1435 232

Groups 86971 396 220

916 399

Between Groups

Groups

Between Groups

538 3 179 936 423

830 396 191

368 399

084 3 028 148 931

402 396 188 Total

Groups

Between Groups

486 399

427 3 142 747 525

483 396 191 Total

Groups

Between Groups

910 399

592 3 197 1119 341

804 396 176 Total

Groups

Between Groups

396 399

091 3 030 160 923

317 396 190 Total

Groups

Groups

408 399

162 3 054 291 832

Groups

548 396 186

710 399

114 ระดับรายได้ต่อเดือน
Sum
Squares
F Sig ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์
Within
Total 87
ภาพรวมด้านราคา
Within
75
Total 76
ภาพรวมดานชองทางการจดจาหนาย
Within
74
74
ภาพรวมดานการสงเสรมการตลาด
Within
75
75
ภาพรวมด้านบุคลากร
Within
69
70
ภาพรวมด้านกระบวนการให้บริการ
Within
75
75
ภาพรวมด้านกายภาพ Between
Within
73
Total 73

ANOVA

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

Between Groups

Groups

304 4 826 3856 004

612 395 214

916 399

853 4 213 1115 349

515 395 191

368 399

040 4 260 1398 234

447 395 186

486 399

299 4 075 390 816

611 395 191

910 399

122 4 280 1599 174

275 395 175

396 399

793 4 448 2405 049

615 395 186

408 399

696 4 424 2325 056

015 395 182

710 399

115 อาชีพ
Sum of Squares df Mean Square F Sig ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์
3
Within
84
Total 87
ภาพรวมด้านราคา
Within
75
Total 76
ภาพรวมดานชองทางการจดจาหนาย
1
Within
73
Total 74
ภาพรวมดานการสงเสรมการตลาด
Within
75
Total 75
ภาพรวมด้านบุคลากร
1
Within
69
Total 70
ภาพรวมด้านกระบวนการให้บริการ
1
Within
73
Total 75
ภาพรวมด้านกายภาพ
1
Within
72
Total 73

06397 054 0022 3122

11025 597 1588 3830

06397 054 3122 0022

12195 940 3426 2567

11025 597 3830 1588

12195 940 2567 3426

116 Scheffé's สถานภาพ Multiple Comparisons Dependent Variable: ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์ Scheffe (I) สถานภาพ (J) สถานภาพ Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound โสด สมรส 15500
หยาราง 11207
สมรส โสด 15500
หยาราง 04293
หยาราง โสด 11207
สมรส 04293
Multiple Comparisons Dependent Variable: ภาพรวมด้านช่องทางการจัดจำหน่าย Scheffe (I) สถานภาพ (J) สถานภาพ Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound โสด สมรส 12245 05877 115 0219 2668 หยาราง 21476 10128 107 0341 4636 สมรส โสด 12245 05877 115 2668 0219 หยาราง 09231 11204 712 1830 3676 หยาราง โสด 21476 10128 107 4636 0341 สมรส 09231 11204 712 3676 1830

Scheffe

I) ระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา

Multiple Comparisons

มัธยมศึกษา/ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. 05879 06071 816 1117 2293 ปริญญาตรี 11972 04965 123 2591 0197 สงกวาปรญญาตร 09753 10036 815 1842 3793 อนุปริญญา/ปวส.

มัธยมศึกษา/ปวช. 05879 06071 816 2293 1117 ปริญญาตรี 17851* 06197 042 3525 0045 สงกวาปรญญาตร 03874 10699 988 2616 3391 ปริญญาตรี มัธยมศึกษา/ปวช. 11972 04965 123 0197 2591 อนุปริญญา/ปวส. 17851* 06197 042 0045 3525 สงกวาปรญญาตร 21725 10112 204 0667 5012 สงกวาปรญญาตร

มัธยมศึกษา/ปวช. 09753 10036 815 3793 1842 อนุปริญญา/ปวส. 03874 10699 988 3391 2616 ปริญญาตรี 21725 10112 204 5012 0667

117
Dependent Variable: ภาพรวมด้านราคา
(
(J)
Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound
*. The mean difference is significant at the 005 level

มัธยมศึกษา/ ปวช.

อนุปริญญา/ ปวส.

ปริญญาตรี

ปริญญาตรี

อนุปริญญา/ปวส. 07054 06442 753 1103 2514 ปริญญาตรี 18484

05268 007 3327 0369

สงกวาปรญญาตร 08289 10648 895 2161 3818

มัธยมศึกษา/ปวช. 07054 06442 753 2514 1103 ปริญญาตรี 25538* 06574 002 4400 0708 สงกวาปรญญาตร 01236 11351 1000 3063 3310

มัธยมศึกษา/ปวช. 18484* 05268 007 0369 3327 อนุปริญญา/ปวส. 25538* 06574 002 0708 4400 สงกวาปรญญาตร 26773 10729 103 0335 5689

มัธยมศึกษา/ปวช. 08289 10648 895 3818 2161 อนุปริญญา/ปวส. 01236 11351 1000 3310 3063 ปริญญาตรี 26773 10729 103 5689 0335

118 ระดับการศึกษา Multiple Comparisons Dependent Variable: ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์ (I) ระดับ การศึกษา (J) ระดับการศึกษา Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound
*
สงกวา
*. The mean difference is significant at the 005 level

มัธยมศึกษา/ ปวช.

อนุปริญญา/ ปวส.

อนุปริญญา/ปวส. 02956 05840 968 1344 1935 ปริญญาตรี 12521 04776 078 2593 0089 สงกวาปรญญาตร 04462 09653 975 2264 3156

มัธยมศึกษา/ปวช. 02956 05840 968 1935 1344 ปริญญาตรี 15477 05960 082 3221 0126 สงกวาปรญญาตร 01506 10290 999 2739 3040

ปริญญาตรี มัธยมศึกษา/ปวช. 12521 04776 078 0089 2593 อนุปริญญา/ปวส. 15477 05960 082 0126 3221 สงกวาปรญญาตร 16983 09726 385 1032 4429 สงกวาปรญญา ตรี

มัธยมศึกษา/ปวช. 04462 09653 975 3156 2264 อนุปริญญา/ปวส. 01506 10290 999 3040 2739 ปริญญาตรี 16983 09726 385 4429 1032

Multiple Comparisons

Dependent Variable: ภาพรวมดานชองทางการจดจาหนาย

(I) ระดับการศึกษา (J

ระดับการศึกษา

Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound มัธยมศึกษา/ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. 09484 05967 471 0727 2624 ปริญญาตรี 12477 04879 090 2618 0122

สงกวาปรญญาตร 09259 09863 830 1843 3695 อนุปริญญา/ปวส.

ปริญญาตรี

มัธยมศึกษา/ปวช. 09484 05967 471 2624 0727 ปริญญาตรี 21962* 06090 005 3906 0486

สงกวาปรญญาตร 00225 10514 1000 2974 2929

มัธยมศึกษา/ปวช. 12477 04879 090 0122 2618 อนุปริญญา/ปวส. 21962* 06090 005 0486 3906

สงกวาปรญญาตร 21737 09938 190 0616 4964

สงกวาปรญญาตร

มัธยมศึกษา/ปวช. 09259 09863 830 3695 1843 อนุปริญญา/ปวส. 00225 10514 1000 2929 2974 ปริญญาตรี 21737 09938 190 4964 0616

119 Multiple Comparisons Dependent Variable: ภาพรวมด้านบุคลากร Scheffe (I) ระดับ การศึกษา (J) ระดับการศึกษา Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound
Scheffe
)
Mean Difference (I J)
*. The mean difference is significant at the 005 level

Scheffe (I) ระดับการศึกษา (J

มัธยมศึกษา/ปวช.

Comparisons

: ภาพรวมด้านกระบวนการให้บริการ

ระดับการศึกษา

อนุปริญญา/ปวส. 10184 06018 414 0671 2708 ปริญญาตรี 11640 04922 135 2546 0218

สงกวาปรญญาตร 03298 09948 991 2463 3123 อนุปริญญา/ปวส.

มัธยมศึกษา/ปวช. 10184 06018 414 2708 0671 ปริญญาตรี 21824* 06142 006 3907 0458

สงกวาปรญญาตร 06885 10605 936 3666 2289 ปริญญาตรี

มัธยมศึกษา/ปวช. 11640 04922 135 0218 2546 อนุปริญญา/ปวส. 21824* 06142 006 0458 3907 สงกวาปรญญาตร 14938 10024 528 1320 4308 สงกวาปรญญาตร

มัธยมศึกษา/ปวช. 03298 09948 991 3123 2463 อนุปริญญา/ปวส. 06885 10605 936 2289 3666 ปริญญาตรี 14938 10024 528 4308 1320

120 Multiple
Dependent Variable
)
Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound
*. The mean difference is significant at the 005 level

Scheffe

Multiple

มัธยมศึกษา/ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. 08131 05972 604 0864 2490 ปริญญาตรี 10597 04884 196 2431 0311 สงกวาปรญญาตร 04515 09872 976 2320 3223 อนุปริญญา/ปวส. มัธยมศึกษา/ปวช. 08131 05972 604 2490 0864 ปริญญาตรี 18728* 06095 025 3584 0162 สงกวาปรญญาตร 03616 10524 990 3316 2593 ปริญญาตรี มัธยมศึกษา/ปวช. 10597 04884 196 0311 2431 อนุปริญญา/ปวส. 18728* 06095 025 0162 3584 สงกวาปรญญาตร 15112 09947 512 1281 4304 สงกวาปรญญาตร

มัธยมศึกษา/ปวช. 04515 09872 976 3223 2320 อนุปริญญา/ปวส. 03616 10524 990 2593 3316 ปริญญาตรี 15112 09947 512 4304 1281 *. The mean difference is significant at the 005 level

121
Comparisons Dependent Variable: ภาพรวมด้านกายภาพ
(I) ระดับการศึกษา (J) ระดับการศึกษา Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound

รบราชการ/รฐวสาหกจ 21237 07750

นักเรียน/นักศึกษา

รบราชการ/รฐวสาหกจ

พนักงานบริษัทเอกชน

ธรกจสวนตว

0275 4522

01005 06141 1000 1800 2001

ธรกจสวนตว 03579 07408 994 2650 1935

อื่นๆ 24450 10374 237 5656 0766

นักเรียน/นักศึกษา 21237 07750 114 4522 0275

พนักงานบริษัทเอกชน 20233 08791 260 4744 0697

ธรกจสวนตว 24816 09718 166 5489 0526

อื่นๆ 45687* 12132 007 8323 0814

นักเรียน/นักศึกษา 01005 06141 1000 2001 1800

รบราชการ/รฐวสาหกจ 20233 08791 260 0697 4744 ธรกจสวนตว 04583 08491 990 3086 2169 อื่นๆ 25455 11173 270 6003 0912

นักเรียน/นักศึกษา 03579 07408 994 1935 2650

รบราชการ/รฐวสาหกจ 24816 09718 166 0526 5489 พนักงานบริษัทเอกชน 04583 08491 990 2169 3086 อื่นๆ 20871 11916 547 5775 1601

นักเรียน/นักศึกษา 24450 10374 237 0766 5656

รบราชการ/รฐวสาหกจ 45687* 12132 007 0814 8323 พนักงานบริษัทเอกชน 25455 11173 270 0912 6003 ธรกจสวนตว 20871 11916 547 1601 5775

122 อาชีพ Multiple Comparisons Dependent Variable: ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์ Scheffe (I) อาชีพ (J) อาชีพ Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound
114
พนักงานบริษัทเอกชน
อื่นๆ
*. The mean difference is significant at the 005 level

พนักงานบริษัทเอกชน

10871 07229 688 1150 3324

10066 05728 544 0766 2779

04197 06910 985 2558 1719

15598 09676 627 4554 1435

นักเรียน/นักศึกษา 10871 07229 688 3324 1150

พนักงานบริษัทเอกชน 00805 08200 1000 2618 2457

ธรกจสวนตว 15068 09065 599 4312 1299 อื่นๆ 26469 11316 244 6149 0855

นักเรียน/นักศึกษา 10066 05728 544 2779 0766

รบราชการ/รฐวสาหกจ 00805 08200 1000 2457 2618 ธรกจสวนตว 14263 07920 519 3877 1025 อื่นๆ 25664 10421 197 5792 0659

นักเรียน/นักศึกษา 04197 06910 985 1719 2558

รบราชการ/รฐวสาหกจ 15068 09065 599 1299 4312 พนักงานบริษัทเอกชน 14263 07920 519 1025 3877 อื่นๆ 11402 11115 902 4580 2300 อื่นๆ

ธรกจสวนตว

นักเรียน/นักศึกษา 15598 09676 627 1435 4554 รบราชการ/รฐวสาหกจ 26469 11316 244 0855 6149 พนักงานบริษัทเอกชน 25664 10421 197 0659 5792

ธรกจสวนตว 11402 11115 902 2300 4580

123 Multiple Comparisons Dependent Variable: ภาพรวมด้านกระบวนการให้บริการ Scheffe (I) อาชีพ (J) อาชีพ Mean Difference (I J) Std Error Sig 95% Confidence Interval Lower Bound Upper Bound นักเรียน/นักศึกษา รบราชการ/รฐวสาหกจ
พนักงานบริษัทเอกชน
ธรกจสวนตว
อื่นๆ
รบราชการ/รฐวสาหกจ

ภาคผนวก จ ภาพบรรยากาศลงพื้นที่เก็บข้อมูล

125 ภาพบรรยากาศลงพื้นที่เก็บข้อมูล เริ่มทำการลงพื้นที่สำรวจเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ตั้งแต่ เดือน สิงหาคม พ.ศ 2565 ถึง เดือน กันยายน พ.ศ 2565 จำนวน 400 ชุด โดยขอความร่วมมือจากกลุ่มผู้ที่มาใช้บริการ ร้านอาหาร Kenta Shabu & Suki สาขาราชบุรี ภาพที่ จ . 1 ภาพบรรยากาศการเก็บรวบรวมข้อมูล

ประวัติผู้ศึกษา

นางสาว ณีรนุช ทองทิพย์ วัน เดือน ปีเกิด 13 ธันวาคม 2541

ชื่อ นามสกุล

139/3 ม.5 ต เจดีย์หัก อ เมือง จ ราชบุรี 70000 E mail Skyneranut@gmail.com วุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พ.ศ.2565 ระดับมัธยมปลาย วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี พ.ศ.2560

ไม่มี

126
ที่อยู่ปัจจุบัน
ทุนการศึกษา
รางวัลและผลงานดีเด่น

ประวัติผู้ศึกษา

นางสาว อธิชา เลิศพานิช

22 พฤษภาคม 2544

364 ม.8 ต เจดีย์หัก อ เมือง จ ราชบุรี 70000

aticha220544@gmail.com

ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

พ.ศ.2565 ระดับมัธยมปลาย โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ พ.ศ.2562 ทุนการศึกษา ไม่มี รางวัลและผลงานดีเด่น นักศึกษาผู้มีการเรียนดีเด่น ประจำปีการศึกษา

ศ 2565

127
ชื่อ นามสกุล
วัน เดือน ปีเกิด
ที่อยู่ปัจจุบัน
E mail
วุฒิการศึกษา

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.