สกัดความรู้ KM - ทิศทางการวิจัย และพระราชบัญญัติการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยและนวัตกรรม

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิชาการ เรื่อง ทิศทางการวิจัย และพระราชบัญญัติการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยและนวัตกรรม วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม 2565 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นฤศร มังกรศิลา หัวหน้างานจัดการ ความรู้ คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ และ อาจารย์ประจา สาขาวิชาอุตสาหกรรม การบริการอาหาร

รายละเอียดของเรื่อง จากที่ ก ระผมได้ มี โ อกาสเข้ า ร่ ว มสั ม มนาออนไลน์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุ ว รรณภู มิ เรื่ อ ง “ทิ ศ ทางการวิ จั ย และพระราชบั ญ ญั ติ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยและนวัตกรรม” วัน พุธที่ 20 เมษายน ๒๕65 ณ ห้องประชุมออนไลน์ Google Meet สามารถสรุปประเด็นสาคัญ ดังนี้ พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม การใช้ ป ระโยชน์ จ าก ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 เป็นพระราชบัญญัติที่ จาเป็นต่อนักวิจัยในปัจจุบัน บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ พั น ธ์ แก้ ว ตาทิ พ ย์ รองผู้ อ านวยการส านั ก งาน คณะกรรมการส่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรม (สกสว.) ที่ประชุมร่วมรัฐสภามีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ ส่ งเสริ มการใช้ ป ระโยชน์ ผ ลงานวิ จัย และนวัต กรรม และให้ ประกาศใช้เป็ น กฏหมาย โดยมีจานวนผู้ลงมติทั้งหมด 495 เสียง เห็นด้วย 494 เสียง ไม่เห็นด้วย 0 เสียง งดออกเสียง 1 เสี ย ง และได้ ป ระกาศใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เส ริ ม การใช้ ประโยชน์ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. 2564 ในราชกิจจา นุเบกษา วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 มีผลบังคับใช้ (ภายหลัง 180 วัน) วันที่ 7 พฤษภาคม 2565 สภาพปัญหา ที่มาของการออกพระราชบัญญัติฯ คือ ปั ญ หาเกิ ด จากผลงานวิ จั ย และนวั ต กรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น จากทุ น สนั บ สนุ น ของรั ฐ ยั ง ไม่ มี ก ารน าไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ เ ท่ า ที่ ค วร สาเหตุ คือ กฎหมายกาหนดให้ เป็นเจ้าของผลงานวิจัยและ นวัตกรรมเป็นของรัฐไม่เชี่ยวชาญ และไม่มีบทบาทหน้าที่ใน การนาผลงานไปใช้ประโยชน์ วิธีแก้ไข คือ การยกความเป็น เจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรมให้แก่ผู้รับทุน หรือนักวิจั ย เพื่อสร้างแรงจูงใจ เปรียบได้กับการทาพระราชบัญญัติ BayhDole Act ของประเทศสหรัฐอเมริกา สาระสาคัญของพระราชบัญญัติฯ ฉบับนี้ คือ 1. ให้ ผู้ รั บ ทุ น หรื อ นั ก วิ จั ย สามารถเป็ น เจ้ า ของ ผลงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐได้

สรุปความรู้ที่ได้ ทิ ศ ทางการวิ จั ย และพระราชบั ญ ญั ติ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยและ นวัตกรรม สรุปได้ ดังนี้ พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากผลงานวิ จั ย และนวัต กรรม พ.ศ. 2564 เป็ น พระราชบั ญ ญั ติ ที่ จ าเป็ น ต่ อ นั ก วิ จั ย ใน ปั จ จุ บั น บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร. พงศ์ พั น ธ์ แก้ ว ตาทิ พ ย์ รองผู้ อ านวยการ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ที่ ป ระชุ ม ร่ ว มรั ฐ สภามี ม ติ เ ห็ น ชอบร่า ง พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม การใช้ ป ระโยชน์ ผลงานวิจั ยและนวัตกรรม และให้ ป ระกาศใช้ เป็นกฏหมาย โดยมีจานวนผู้ลงมติทั้งหมด 495 เสียง เห็นด้วย 494 เสียง ไม่เห็นด้วย 0 เสียง งดออกเสี ย ง 1 เสี ย ง และได้ ป ระกาศใช้ พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม การใช้ ป ระโยชน์ ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. 2564 ในราช กิจจานุเบกษา วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 มี ผลบั ง คั บ ใช้ (ภายหลั ง 180 วั น ) วั น ที่ 7 พฤษภาคม 2565 ส ภ า พ ปั ญ ห า ที่ ม า ข อ ง ก า ร อ อ ก พระราชบัญญัติฯ คือ ปัญหาเกิดจากผลงานวิจยั และนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากทุนสนับสนุนของรัฐ ยั ง ไม่ มี ก ารน าไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ เ ท่ า ที่ ค วร สาเหตุ คื อ กฎหมายก าหนดให้ เ ป็ น เจ้ า ของ ผลงานวิ จั ย และนวั ต กรรมเป็ น ของรั ฐ ไม่ เชี่ ย วชาญ และไม่ มี บ ทบาทหน้ า ที่ ใ นการน า ผลงานไปใช้ ป ระโยชน์ วิ ธี แ ก้ ไ ข คื อ การยก ความเป็ น เจ้ า ของผลงานวิ จั ย และนวั ต กรรม ให้ แ ก่ผู้รับ ทุน หรือ นัก วิจั ย เพื่อ สร้า งแรงจู งใจ เปรี ย บได้ กั บ การท าพระราชบั ญ ญั ติ BayhDole Act ของประเทศสหรัฐอเมริกา สาระสาคัญของพระราชบัญญัติฯ ฉบับ นี้ คือ 1. ให้ผู้รับทุน หรือนักวิจัยสามารถเป็น เจ้าของผลงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐ ได้ 2. ให้ ผู้ เ ป็ น เจ้ า ขอผลงานวิ จั ย และ นวัตกรรมต้องใช้ประโยชน์ บริหารจัดการ และ รายงานผลการใช้ ป ระโยชน์ ผ ลงานวิ จั ย และ นวัตกรรมต่อผู้ให้ทุน 3. ก าหนดหลั ก เกณฑ์ ใ นการโอ น ผลงานวิ จั ย และนวั ต กรรมของผู้ เ ป็ น เจ้ า ของ


2. ให้ผู้เป็นเจ้าขอผลงานวิจัยและนวัตกรรมต้ อ งใช้ ประโยชน์ บริ ห ารจั ด การ และรายงานผลการใช้ ประโยชน์ ผลงานวิจัยและนวัตกรรมต่อผู้ให้ทุน 3. ก าหนดหลั ก เกณฑ์ ใ นการโอนผลงานวิ จั ย และ นวัตกรรมของผู้เป็นเจ้าของผลงานให้แก่บุคคลอื่น และหน้าที่ ของผู้รับโอนผลงาน 4. ให้ผู้ที่ประสงค์จะใช้ประโยชน์ในผลงานวิจัยและ นวัตกรรม สามารถขออนุญาตใช้ประโยชน์ได้โดยเสนอเงื่อนไข และค่าตอบแทน 5. ให้อานาจนายกรัฐมนตรีออกคาสั่ง ให้หน่วยงาน ของรั ฐ หรื อ หน่ ว ยงานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย ใช้ ป ระโยชน์ ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากทุนของรัฐในกรณีฉุกเฉิน หรือภาวะวิกฤต 6. กาหนดหน่วยงาน วิธ๊การส่งเสริม และการจัดสรร เงิน ค่าตอบแทนแก่นั กวิจัย เพื่อส่ งเสริมการนาเทคโนโลยี ที่ เหมาะสมไปใช้ประโยชน์ในวงกว้าง ประโยชน์ ที่ได้แบบออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ คือ ภาคเอกชน จะได้รับประโยชน์จากพระราชบัญญัติ ดั ง นี้ คื อ เอกชนที่ ท าวิ จั ย เองได้ ส ามารถขอเป็ น เจ้ า ของ ผลงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุน จากภาครัฐได้ ส่วนบริษัทใน รู ป แบบ Startup สามารถระดมทุนได้ง่ายขึ้น เนื่องจากเป็น เจ้าของผลงาน และลดขั้นตอนการเจรจาเพื่อใช้สิทธิงานวิจัย และนวัตกรรมกับเจ้าของผลงานวิจัย (เนื่องจากไม่มีผู้ให้ทุนมา เกี่ยวข้อง) ภาครั ฐ โดยเฉพาะสถาบันวิจัย มหาวิทยาลั ย และ นักวิจัยในหน่วยงานภาครัฐ จะได้เป็นเจ้าของผลงานวิจัยและ นวัตกรรมได้ สามารถได้รับผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ ประโยชน์ ในผลงานวิจั ย และนวัตกรรม และลดขั้นตอนการ เจรจากับภาคเอกชน เพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์งานวิจัย ประชาชน เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน สามารถเข้าถึง งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เหมาะสม เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ในการปรับปรุงกระบวนการผลิตและบริการ และ สร้ า งรายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น (เนื่ อ งจากมี ง บประมาณและกลไกที่ สนับสนุน) ประเทศไทย ได้รับประโยชน์จากการปรับเปลี่ยนเข้า สู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม ลดความเหลื่อมล้า และสร้างรายได้ เพื่อให้หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง เนื่องจากนักวิจัยมี แรงจูงใจในการสร้างนวัตกรรมให้ส่งถึงมือผู้ใช้ และผู้ใช้ได้รับ ประโยชน์จากการเข้าถึงเทคโนโลยี และนวัตกรรมได้ง่ายขึ้น และใช้นวัตกรรมเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนประเทศ

ผลงานให้แก่บุคคลอื่น และหน้าที่ของผู้รับโอน ผลงาน 4. ให้ ผู้ ที่ ป ระสงค์ จ ะใช้ ป ระโยชน์ ใ น ผลงานวิจัยและนวัตกรรม สามารถขออนุญาต ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ไ ด้ โ ด ย เ ส น อ เ งื่ อ น ไ ข แ ล ะ ค่าตอบแทน 5. ให้อานาจนายกรัฐมนตรีออกคาสั่ง ให้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ หน่ ว ยงานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย ใช้ ป ระโยชน์ ผ ลงานวิ จั ย และ นวัตกรรมที่เกิดจากทุนของรัฐในกรณีฉุ ก เฉิน หรือภาวะวิกฤต 6. ก าหนดหน่ว ยงาน วิธ๊ก ารส่งเสริ ม และการจัดสรรเงินค่าตอบแทนแก่นักวิจัย เพื่อ ส่ ง เสริ ม การน าเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมไปใช้ ประโยชน์ในวงกว้าง ประโยชน์ ที่ได้แ บบออกเป็ น 4 ส่วน ดังนี้ คือ ภาคเอกชน จะได้ รั บ ประโยชน์ จ าก พระราชบัญญัติ ดังนี้ คือ เอกชนที่ทาวิจัยเองได้ สามารถขอเป็นเจ้าของผลงานวิจัยที่ได้รับการ สนับสนุนจากภาครัฐได้ ส่วนบริษัทในรู ปแบบ Startup สามารถระดมทุนได้ง่ายขึ้น เนื่องจาก เป็นเจ้าของผลงาน และลดขั้นตอนการเจรจา เพื่อ ใช้สิทธิงานวิจัย และนวัตกรรมกับเจ้าของ ผลงานวิจัย (เนื่องจากไม่มีผู้ให้ทุนมาเกี่ยวข้อง) ภ า ค รั ฐ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ส ถ า บั น วิ จั ย มหาวิทยาลัย และนักวิจัยในหน่วยงานภาครัฐ จะได้เป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรมได้ สามารถได้รับผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ ประโยชน์ในผลงานวิจัยและนวัตกรรม และลด ขั้นตอนการเจรจากับภาคเอกชน เพิ่มอัตราการ ใช้ประโยชน์งานวิจัย ประชาชน เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน สามารถเข้ า ถึ ง งานวิ จั ย เทคโนโลยี และ นวัตกรรมที่เหมาะสม เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ใน การปรับปรุงกระบวนการผลิตและบริการ และ สร้างรายได้เพิ่มขึ้น (เนื่องจากมีงบประมาณและ กลไกที่สนับสนุน) ประเทศไทย ได้รับ ประโยชน์จากการ ปรับ เปลี่ย นเข้ า สู่เศรษฐกิจ ฐานนวัตกรรม ลด ความเหลื่อมล้า และสร้างรายได้เพื่อให้หลุดพ้น จากกับดักรายได้ปานกลาง เนื่องจากนักวิจัยมี แรงจูงใจในการสร้างนวัตกรรมให้ส่งถึงมือผู้ใช้ และผู้ ใ ช้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ ากการเข้ า ถึ ง เทคโนโลยี และนวั ต กรรมได้ ง่ า ยขึ้ น และใช้ นวั ต กรรมเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการขั บ เคลื่ อ น ประเทศ ขั้นตอนการรับทุนถึงความเป็นเจ้าของ เริ่มต้นตั้งแต่การทาสัญญาให้ทุน (มาตรา 6) ทา วิจั ย ผู้รับ ทุนเปิ ดเผยผลงานวิจั ย (มาตรา 7) ผู้ รั บ ทุ น ต้ อ งการเป็ น เจ้ า ของงานวิ จั ย และ นวั ต ก รรม โ ดย ผู้ รั บ ทุ น ข อ เป็ นเจ้ า ข อ ง ผลงานวิจัย (มาตรา 8 วรรค 1) หรือนักวิจัยขอ เป็นเจ้าของผลงานวิจัย (มาตรา 8 วรรค 2) จะ กาหนดเป็นเจ้าของนาผลงานไปใช้ประโยชน์ได้


ขั้นตอนการรับทุนถึงความเป็นเจ้าของ เริ่มต้นตั้งแต่ การท าสั ญ ญาให้ ทุ น (มาตรา 6) ท าวิ จั ย ผู้ รั บ ทุ น เปิ ด เผย ผลงานวิจัย (มาตรา 7) ผู้รับทุนต้องการเป็นเจ้าของงานวิจัย และนวัตกรรม โดยผู้รับทุนขอเป็นเจ้าของผลงานวิจัย (มาตรา 8 วรรค 1) หรือนักวิจัยขอเป็นเจ้าของผลงานวิจัย (มาตรา 8 วรรค 2) จะกาหนดเป็นเจ้าของนาผลงานไปใช้ประโยชน์ไ ด้ โดยมี สิ ท ธิ ใ นการบริ ห ารจั ด การผลงานวิ จั ย ตามกฎหมาย (มาตรา 12) และต้องรายงานการใช้ต่อผู้ให้ทุน (มาตรา 12)

การใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตาม มาตรา 5 สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 3 ด้าน ดังนี้ คือ 1. การใช้ หรืออนุญาตให้ใช้สิทธิ ในผลงานวิจัยและ นวัตกรรมในการผลิตผลิตภัณฑ์ การจัดทาบริการ การปรับปรุง กรรมวิธีการผลิต การจัดโครงสร้างองค์กร การบริหารจัดการ ห รื อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร อื่ น ใ ด ใ น เ ชิ ง พ า ณิ ช ย์ ห รื อ สาธารณประโยชน์ 2. การใช้เพื่อการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง หรือวิจัย เพื่อพัฒฯต้นแบบผลิตภัณฑ์ หรือต่อยอดผลงาน 3. การจาหน่ายจ่ายโอน ผลงานวิจัยและนวัตกรรม โดยมีประโยชน์ตอบแทนที่คานวณเป็นเงินได้ การเร่ ง รั ด การใช้ ป ระโยชน์ ผ ลงานวิ จั ย และ นวัตกรรม ตามมาตรา 12 และมาตรา 13 โดยมีเงื่อนไขว่า 1. เมื่อเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรมแล้ ว เจ้าของมีหน้าที่ใช้ประโยชน์ภายใน 2 ปี (หรือระยะเวลาอื่น ตามที่ประกาศกาหนด) นับจากวันที่เป็นเจ้าของ ถ้าไม่ใช้ใน 2 ปี ผู้ให้ทุนจะแจ้งเตือน และกาหนดให้ใช้ประโยชน์ภายในเวลา ที่กาหนด และหากยั งไม่ใช้ประโยชน์ในระยะเวลาที่กาหนด เพิ่มเติมให้ผลงานจะตกกลับมาเป็นของผู้ให้ทุนเหมือนเดิม 2. ก่อนครบเวลา 2 ปี ถ้ายังไม่ได้ใช้ประโยชน์ แต่ อยากจะใช้ประโยชน์ต่อไป เจ้าของผลงานอาจยื่นคาขอและ แสดงหลักฐานความพยายามใช้ประโยชน์ต่อผู้ให้ทุน โดยผู้ให้ ทุนอาจจะขยายระยะเวลาการใช้ประโยชน์ให้ตามสมควร และ ถ้ า ผู้ ใ ห้ ทุ น ไม่ ข ยายเวลาให้ หรื อ ขยายเวลาให้ น้ อ ยเกิ น ไป เจ้าของผลงานอาจอุทธรณ์ต่อ สกสว. ได้

โดยมีสิทธิในการบริหารจัดการผลงานวิจัยตาม กฎหมาย (มาตรา 12) และต้องรายงานการใช้ ต่อผู้ให้ทุน (มาตรา 12) การใช้ ป ระโยชน์ ผ ลงานวิ จั ย และ นวั ต กรรม ตามมาตรา 5 สามารถน าไปใช้ ประโยชน์ได้ 3 ด้าน ดังนี้ คือ 1. การใช้ หรืออนุญาตให้ใช้สิทธิ ใน ผลงานวิจัยและนวัตกรรมในการผลิตผลิตภัณฑ์ การจัดทาบริการ การปรับปรุงกรรมวิธีการผลิต การจั ด โครงสร้ า งองค์ ก ร การบริ ห ารจั ด การ หรือ การดาเนินการอื่ นใดในเชิงพาณิชย์ หรือ สาธารณประโยชน์ 2. การใช้ เ พื่ อ การศึ ก ษา ค้ น คว้ า ทดลอง หรือวิจัย เพื่อพัฒฯต้นแบบผลิตภัณฑ์ หรือต่อยอดผลงาน 3. การจาหน่ายจ่ายโอน ผลงานวิจยั และนวั ต กรรมโดยมี ป ระโยชน์ ต อบแทนที่ คานวณเป็นเงินได้ ก า ร เ ร่ ง รั ด ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ผลงานวิ จั ย และนวั ต กรรม ตามมาตรา 12 และมาตรา 13 โดยมีเงื่อนไขว่า 1. เมื่อเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและ นวั ต กรรมแล้ ว เจ้ า ของมี ห น้ า ที่ ใ ช้ ป ระโยชน์ ภายใน 2 ปี (หรือระยะเวลาอื่นตามที่ประกาศ กาหนด) นับจากวันที่เป็นเจ้าของ ถ้าไม่ใช้ใน 2 ปี ผู้ ใ ห้ ทุ น จะแจ้ ง เตื อ น และก าหนดให้ ใ ช้ ประโยชน์ภายในเวลาที่กาหนด และหากยังไม่ ใช้ประโยชน์ในระยะเวลาที่กาหนดเพิ่มเติมให้ ผลงานจะตกกลับมาเป็นของผู้ให้ทุนเหมือนเดิม 2. ก่อนครบเวลา 2 ปี ถ้ายังไม่ได้ใช้ ประโยชน์ แต่ อ ยากจะใช้ ป ระโยชน์ ต่ อ ไป เจ้าของผลงานอาจยื่นคาขอและแสดงหลักฐาน ความพยายามใช้ประโยชน์ต่อผู้ให้ทุน โดยผู้ให้ ทุนอาจจะขยายระยะเวลาการใช้ประโยชน์ให้ ตามสมควร และถ้าผู้ให้ทุนไม่ขยายเวลาให้ หรือ ขยายเวลาให้ น้อ ยเกินไป เจ้ า ของผลงานอาจ อุทธรณ์ต่อ สกสว. ได้ การบริ ห ารจัดการผลงานวิ จัยและ นวัตกรรม ตามมาตรา 12 ดังนี้ คือ 1. เจ้ า ของผลงานมี ห น้ า ที่ บ ริ ห าร จัดการ และรายงานการใช้ประโยชน์ผลงานวิจยั และนวัตกรรมตามระเบี ยบที่ สกสว. ก าหนด (มาตรา 12) 2. เจ้ า ของผลงานมี ห น้ า ที่ จั ด สรร รายได้ ที่ ไ ด้ รั บ ให้ แ ก่ นั ก วิ จั ย และในกรณี มหาวิทยาลัยจะต้องนารายได้ส่วนหน่งไปใช้เพื่อ การพัฒนางานวิจัยต่อ (มาตรา 14) 3. การโอนผลงานต้อ งได้รับ ความ เห็นชอบจากผู้ให้ทุน เว้นแต่เป็นการโอนให้แก่ นิติบุ คคลที่ได้ รับ มอบหมายให้ บ ริห ารจั ด การ ผลงานวิจัยและนวัตกรรม (มาตรา 15) 4. ผู้ให้ทุน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ยังสามารถให้ ผลงานเพื่อ การศึก ษา วิจั ย และ พัฒนาต่อยอดได้ (มาตรา 16)


การบริหารจัดการผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตาม มาตรา 12 ดังนี้ คือ 1. เจ้ า ของผลงานมี ห น้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การ และ รายงานการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมตามระเบียบ ที่ สกสว. กาหนด (มาตรา 12) 2. เจ้ า ของผลงานมี ห น้ า ที่ จั ด สรรรายได้ ที่ ไ ด้ รั บ ให้แก่นักวิจัย และในกรณีมหาวิทยาลัยจะต้องนารายได้ส่วน หน่งไปใช้เพื่อการพัฒนางานวิจัยต่อ (มาตรา 14) 3. การโอนผลงานต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ให้ ทุน เว้น แต่เป็ น การโอนให้แก่นิติบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้ บริหารจัดการผลงานวิจัยและนวัตกรรม (มาตรา 15) 4. ผู้ให้ทุน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายยังสามารถให้ ผลงานเพื่อการศึกษา วิจัยและพัฒนาต่อยอดได้ (มาตรา 16) ผลงานวิจัยและนวัต กรรมที่อยู่กับหน่วยงานของ รัฐ ตามมาตรา 14 และมาตรา 17 ดังนี้ คือ 1. ผู้ ใ ห้ ทุ น มี ห น้ า ที่ ร ายงานผลงานวิ จั ย และ นวัตกรรมที่ตนเป็นเจ้าของ รวมถึงการใช้ หรือไม่ใช้ประโยชน์ ผลงานนั้นต่อ สกสว. 2. หากจะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ สาธารณะ สกสว. มี อานาจสั่งให้โอน หรืออนุญาตให้บุคคลใดใช้สิทธิในผลงานวิจัย และนวัตกรรมภาครัฐได้ 3. หน่ ว ยงานผู้ ให้ ทุน ที่เป็นเจ้าของผลงานวิจัและ นวัตกรรมมีหน้าที่จัดสรรรายได้ให้แก่นักวิจัยด้วย ลั ก ษณะโครงการวิ จั ย และนวั ต กรรมเกี่ ย วกั บ เทคโนโลยีที่เหมาะสม มี 6 แนวทาง ดังนี้ คือ

สรุ ป การใช้ ป ระโ ยชน์ จ ากผลงานวิ จั ย และ นวัตกรรมเป็นการช่วยให้ผู้ให้ทุน และนักวิจัยที่ต้องการของ เป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรมต่างๆ จาเป็นต้องปฏิบัติ ตามหลั กเกณฑ์ของพระราชบัญญัติฯ นี้ อย่างครบถ้ว น และ เคร่ ง ครั ด เพื่ อ ให้ ผ ลงานวิ จั ย และนวั ต กรรมได้ ถู ก น าไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างเป็นระบบ และสามารถพัฒนาประเทศได้

ผลงานวิ จัย และนวั ตกรรมที่ อยู่กับ หน่วยงานของรัฐ ตามมาตรา 14 และมาตรา 17 ดังนี้ คือ 1. ผู้ ใ ห้ ทุ น มี ห น้ า ที่ ร า ย ง า น ผลงานวิ จั ย และนวั ต กรรมที่ ต นเป็ น เจ้ า ของ รวมถึงการใช้ หรือไม่ใช้ประโยชน์ผลงานนั้นต่อ สกสว. 2. ห า ก จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ สาธารณะ สกสว. มี อ านาจสั่ ง ให้ โ อน หรื อ อนุญ าตให้ บุ คคลใดใช้สิทธิในผลงานวิจัยและ นวัตกรรมภาครัฐได้ 3. หน่ ว ยงานผู้ ใ ห้ ทุ น ที่เ ป็ น เจ้ า ของ ผลงานวิจัและนวัตกรรมมีหน้าที่จัดสรรรายได้ ให้แก่นักวิจัยด้วย ลักษณะโครงการวิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เหมาะสม มี 6 แนวทาง สรุป การใช้ประโยชน์จากผลงานวิจยั และนวั ต กรรมเป็ น การช่ ว ยให้ ผู้ ใ ห้ ทุ น และ นัก วิจั ย ที่ต้อ งการของเป็ นเจ้ าของผลงานวิจัย และนวั ต กรรมต่ า งๆ จ าเป็ น ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม หลั ก เกณฑ์ ข องพระราชบั ญ ญั ติ ฯ นี้ อ ย่ า ง ครบถ้วน และเคร่งครัด เพื่อให้ผลงานวิจัยและ นวัตกรรมได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็น ระบบ และสามารถพัฒนาประเทศได้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.