สกัดความรู้ : CDIO - Finland Model

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง CDIO – Finland Model วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน 2562 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า ผศ.ณนนท์ แดงสังวาลย์ สาขาวิชาอุตสาหกรรม การบริการอาหาร และ นางสาวฉัตรยา งามเลิศ สาขาอาหารและโภชนาการ

รายละเอียดของเรื่อง จากที่ ก ระผมได้ มี โ อกาสเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมชุ ม ชนนั ก ปฏิบัติ “หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการสอน ร ะ ดั บม หา วิ ทย า ลั ย ” (Professional Development Training Course – University Pedagogy) วั น จั น ทร์ ที่ 10 มิ ถุ น ายน 2562 ณ ห้ อ งราชาวดี ชั้ น 2 คณะ เทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร สามารถสรุป ประเด็นสาคัญได้ดังนี้ เนื่ อ งด้ ว ยคุ ณ กิ จ ทั้ ง 2 ท่ า น คื อ ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ณนนท์ แดงสังวาลย์ และนางสาวฉัตรยา งามเลิศ ต้องการให้ ผู้เ ข้าร่วมชุม ชนนัก ปฏิบัติ ได้ประเด็นความรู้ที่ครบถ้วน จึง ใช้ วิธีก ารบรรยาย สลับ กับการทา Workshop เช่น Workshop การอภิป รายถึงเรื่อ งทฤษฏีกับการปฏิบัติอะไรสาคัญกว่ากัน และ Workshop การวิเคราะห์ตนเองเพื่อเตรียมการสอนด้วย KWL Strategy โดยเริ่ม จากมุ ม มองของอาจารย์ผู้ส อนก่ อน คุณกิ จ ได้ กระตุ้นให้เกิดความสนใจในช่วงแรกเกี่ยวกับการเปลี่ยนกลยุทธ์ การสอน แต่ไม่ได้บังคับให้ทุกคนเปลี่ยน (ถ้าอาจารย์ผู้สอนไม่ เปลี่ยนแปลงวิธีการสอน ก็จะไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ ) ในการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องการให้ผสู้ อนเป็นผูช้ ี้แนะแนวทาง และ บางครั้งอาจจะต้องลงมือทาไปพร้อมๆ กับนักศึกษาด้วย ประเด็นส าคัญ ประการหนี่ง คือ เรื่องของรูปแบบการ เรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา (Teaching and Learning in Higher Education) ต้องเริ่ม ต้ นจากการลงมือเตรียมการ สอนล่วงหน้ามาอย่างดี เพื่อให้นัก ศึก ษาในระดับอุดมศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ต่างๆ เพื่อนาไปใช้ได้จริงในอนาคต ซึ่ ง คณะเทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร์ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ (Hand Ons) ออกมายังตลาดแรงงานทุกปี เราต้องมองภาพที่ นัก ศึก ษาอยากเป็นเอาไว้เป็นตั วตั้ง แล้วจากนั้นคณะฯ และ อาจารย์ผู้ส อน รวมทั้ ง สิ่ง สนับ สนุนการเรียนรู้จะต้องพร้อม เพื่อให้นักศึกษามีความสุขในการเรียนตลอดทั้ง 4 ปีที่เข้ามาใน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร โดยผมจะขอกล่าวประเด็นที่สาคัญ ในภาพรวม 3 ด้าน คือ หลักสูตร อาจารย์ผู้สอน และนักศึกษา ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง กับการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สามารถอยู่ได้ใน

สรุปความรู้ที่ได้ “หลักสูต รการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ ด้ า น ก า ร ส อ น ร ะ ดั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ” ( Professional Development Training Course – University Pedagogy) สรุป ได้ ดังนี้ เนื่ อ งด้ ว ยคุ ณ กิ จ ทั้ ง 2 ท่ า น คื อ ผู้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์ ณนนท์ แดงสัง วาลย์ และนางสาว ฉัตรยา งามเลิศ ต้องการให้ผู้เข้าร่วมชุมชนนักปฏิบตั ิ ได้ประเด็นความรู้ที่ครบถ้วน จึง ใช้วิธีการบรรยาย สลั บ กั บ การท า Workshop เช่ น Workshop การ อภิปรายถึงเรื่องทฤษฏีกับการปฏิบัติอะไรสาคัญกว่า กั น และ Workshop การวิ เ คราะห์ ต นเองเพื่ อ เตรียมการสอนด้วย KWL Strategy โดยเริ่ ม จากมุ ม มองของอาจารย์ ผู้ส อนก่อน คุ ณ กิ จ ได้ ก ระตุ้ น ให้ เ กิ ด ความสนใจในช่ ว งแรก เกี่ยวกับการเปลี่ยนกลยุทธ์การสอน แต่ไม่ได้บังคับ ให้ทุกคนเปลี่ยน (ถ้า อาจารย์ผู้สอนไม่เปลี่ยนแปลง วิธีการสอน ก็จะไม่เกิดผลสัมฤทธิ์) ในการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ซึ่ ง ต้ อ งการให้ ผู้ส อนเป็ น ผู้ชี้ แ นะ แนวทาง และบางครั้งอาจจะต้องลงมือทาไปพร้อมๆ กับนักศึกษาด้วย ประเด็ น ส าคั ญ ประการหนี่ ง คื อ เรื่ อ งของ รู ป แบบการเรี ย นการสอนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ( Teaching and Learning in Higher Education) ต้องเริ่มต้นจากการลงมือเตรียมการสอนล่วงหน้ามา อย่างดี เพื่อให้นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาสามารถ บูรณาการความรู้ต่างๆ เพื่อนาไปใช้ได้จริงในอนาคต ซึ่ง คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ผ ลิตบัณฑิตนั ก ปฏิบัติ (Hand Ons) ออกมายัง ตลาดแรงงานทุกปี เราต้องมองภาพที่นักศึกษาอยากเป็นเอาไว้เป็นตัว ตั้ง แล้วจากนั้นคณะฯ และอาจารย์ผู้สอน รวมทั้งสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้จะต้องพร้อม เพื่อให้นักศึกษามี ความสุขในการเรียนตลอดทั้ง 4 ปีที่เข้า มาในคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร โดยผมจะขอกล่าวประเด็นที่สาคัญในภาพรวม 3 ด้า น คือ หลักสูตร อาจารย์ผู้สอน และนักศึกษา ซึ่ง มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอนให้ส ามารถอยู่ได้ในปัจจุบัน ซึ่ง ต้องรับกับ แรงเสี ย ดทานทางด้ า นการเปลี่ ย นแปลง ของ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ และยุ ค เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ดัง นั้น หลักสุตร อาจารย์ผู้ส อน และนักศึก ษา จึง จะต้ อ งปรับ ตัว ให้เข้ า กั บยุค ของการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวนี้ 1. หลักสูตร สิ่ง แรกที่จะต้องมองให้ เ ห็ น แบบทะลุปรุโปร่งเลยก็คือ นักศึกษาที่เป็นผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทางตรงของเราต้องการอะไรจากหลักสูตร ของคณะฯ ที่ มี อ ยู่ แล้ ว เราสามารถปรั บ ให้ เ กิ ด การบูรณาการหลักสูตรข้ามสายงาน หรือสายอาชีพ


ปัจจุบัน ซึ่งต้องรับกับแรงเสียดทานทางด้านการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีสารสนเทศ และยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ดังนั้น หลัก สุตร อาจารย์ผู้สอน และนักศึกษา จึงจะต้องปรับตัวให้เข้ากับ ยุคของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ 1. หลัก สูตร สิ่ง แรกที่จะต้องมองให้เห็นแบบทะลุปรุ โปร่งเลยก็คือ นักศึกษาที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางตรงของเรา ต้องการอะไรจากหลักสูตรของคณะฯ ที่มีอยู่ แล้วเราสามารถ ปรับให้เกิดการบูรณาการหลักสูตรข้ามสายงาน หรือสายอาชีพ ได้หรือไม่ ยกตัวอย่าง เช่น หลักสูตรการบริการอาหารบนยาน อวกาศ เป็นต้น ทั้งนี้การพัฒนาหลักสูตรจะต้องเป็นไปตามแนว ทางการพัฒนาสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นให้นักศึกษา เรียนรู้และลงมื อ ท าด้วยตนเองจนเกิ ดทั ก ษะเฉพาะ และที่ สาคัญนักศึกษาเข้ามาศึกษาในหลักสูตรนี้แล้วสามารถเรี ยนจน จบหลักสูตรออกไปมีงานทาที่ดีและเหมาะสม 2. อาจารย์ผู้สอน ในส่วนของการพัฒนาอาจารย์ผู้สอน เป็นสิ่งที่คุณกิจได้กล่าวไว้ค่อยข้างเยอะมาก เช่น การใช้วิธีการ เรียนการสอนแบบต่างๆ เช่น การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) โดยใช้ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ (E-learning) หรือระบบเปิดให้เข้าถึงทั่วไป (MOOC) เพื่อให้ผู้ มี ส่วนได้ส่วนเสียที่ ต้องการเรียนรู้จ ากแหล่ง ความรู้ออนไลน์ สามารถเข้าถึง ได้ทั่วโลก ทุกที่ ทุกเวลา และผสมผสานกับการ ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ในห้องเรียน รวมถึง การใช้วิธีการท้าทายนักศึกษาด้วยการทาโครงงานพิเศษขนาด เล็ก (Mini Project) โดยให้ลองลงมือปฏิบัติจริงหลังจากที่ได้ เรียนรู้ท ฤษฏีม าล่วงหน้า แล้วกระตุ้นด้วยคาถามปลายเปิด ในช่วงการทา Workshop ในห้องเรียน เป็นการเรียนรู้ล่วงหน้า และอภิปรายร่วมกันแบบ (Flip Classroom) แต่ถ้าเกิดความ ผิ ด พลาดในการปฏิ บั ติ อาจารย์ ผู้ ส อนสามารถแบ่ ง บั น ประสบการณ์ (Experience Sharing) และพร้อมให้คาแนะนา ในการปรับปรุง ให้การปฏิบัติดีขึ้นได้ เพื่อให้นัก ศึก ษาเรียนรู้ แนวทางในการแก้ ไ ขปั ญ หาด้ ว ยตนเอง (Problem based Learning) โดยการใช้ วิ ธี ก ารสอนแบบพี่เ ลี้ย ง (Mentoring) ร่วมด้วย แล้วปิดท้ายด้วยการประเมิ น การปฏิบัติ แบบ 360 องศา เช่ น นั ก ศึ ก ษาประเมิ น นั ก ศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษาประเมิ น อาจารย์ อาจารย์ประเมินนักศึกษา เป็นต้น

ได้ ห รื อ ไม่ ยกตั ว อย่ า ง เช่ น หลั ก สู ต รการบริการ อาหารบนยานอวกาศ เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ ก ารพั ฒ นา หลักสูตรจะต้องเป็นไปตามแนวทางการพัฒนาสู่การ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นให้นักศึกษาเรี ย นรู้ และลงมือทาด้วยตนเองจนเกิดทักษะเฉพาะ และที่ ส าคั ญ นั ก ศึ ก ษาเข้ า มาศึ ก ษาในหลั ก สู ต รนี้ แ ล้ ว สามารถเรียนจนจบหลักสูตรออกไปมีงานทาที่ดีและ เหมาะสม 2. อาจารย์ผู้ส อน ในส่วนของการพัฒนา อาจารย์ผู้ส อนเป็นสิ่ง ที่คุณกิจได้กล่า วไว้ค่ อ ยข้ า ง เยอะมาก เช่น การใช้วิธีการเรียนการสอนแบบต่างๆ เช่น การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) โดยใช้ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ (E-learning) หรือระบบเปิดให้เข้าถึงทั่วไป (MOOC) เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ต้องการเรียนรู้จากแหล่ง ความรู้ออนไลน์ส ามารถเข้า ถึง ได้ทั่วโลก ทุกที่ ทุก เวลา และผสมผสานกับการให้นักศึกษาได้เ รี ย นรู้ ผ่า นโทรศัพ ท์มือถือได้ใ นห้องเรี ยน รวมถึง การใช้ วิธีการท้า ทายนักศึกษาด้วยการทาโครงงานพิเศษ ขนาดเล็ก (Mini Project) โดยให้ล องลงมือปฏิบัติ จริ ง หลั ง จากที่ ไ ด้ เ รี ย นรู้ ท ฤษฏี ม าล่ ว งหน้ า แล้ ว กระตุ้ น ด้ ว ยค าถามปลายเปิ ด ในช่ ว งการท า Workshop ในห้ อ งเรีย น เป็ น การเรี ย นรู้ ล่วงหน้า และอภิปรายร่วมกันแบบ (Flip Classroom) แต่ถ้า เกิ ด ความผิ ด พลาดในการปฏิบั ติ อาจารย์ ผู้ ส อน สามารถแบ่ ง บั น ประสบการณ์ (Experience Sharing) และพร้อมให้คาแนะนาในการปรับปรุง ให้ การปฏิบัติดีขึ้นได้ เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้แนวทางใน การแก้ ไ ขปั ญ หาด้ ว ยตนเอง (Problem based Learning) โดยการใช้ วิ ธี ก ารสอนแบบพี่ เ ลี้ ย ง (Mentoring) ร่วมด้วย แล้วปิดท้ายด้วยการประเมิน การปฏิบัติแบบ 360 องศา เช่น นักศึกษาประเมิน นั ก ศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษาประเมิ น อาจารย์ อาจารย์ ประเมินนักศึกษา เป็นต้น อีกส่วนหนึ่ง ในรูปแบบของ Finland Model จะต้องมีอาจารย์สัง เกตการณ์ส อน 1 คน (Peer Observation) ในช่ ว งที่ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น วิธีการสอน จากนั้นทาการประเมินอาจารย์ผู้สอน คนนั้ น แบบตรงไปตรงมา มี จุ ด ด้ อ ยอะไร และมี จุดเด่นอะไรในการสอน 3. นั ก ศึ ก ษา แน่ น อนว่ า นั ก ศึ ก ษาในรุ่ น ปัจจุบันนี้ อยู่ในรุ่น Gen Y, Gen Z เป็นส่วนใหญ่ ซึ่ง เป็นรุ่นที่ต้องไปใช้ชีวิตการทางานในศตวรรษที่ 21 ในอนาคตอันใกล้นี้ ดัง นั้นสิ่ง ที่เป็นประเด็นใน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน คือ เรื่องของการเตรียม นั ก ศึ ก ษาให้เ ป็น นั กศึก ษาที่พึง ประสงค์ โดยคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร ต้องการ ให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บัติ จึ ง ต้ อ งเตรี ย ม อุปกรณ์ หรือสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทางด้านคหกร รมศาสตร์ และด้า นสถานที่การปฏิบัติการทางด้าน อาหารอย่ า งครบครั น รั ก ษาอั ต ราการคงอยู่ ของ นักศึกษาให้มีอัตราการคงอยู่ที่ดี ทาให้นักศึกษามี


อีกส่วนหนึ่งในรูปแบบของ Finland Model จะต้อง มี อ าจารย์ สั ง เกตการณ์ ส อน 1 คน (Peer Observation) ในช่วงที่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอน จากนั้นทาการประเมิน อาจารย์ผู้สอนคนนั้นแบบตรงไปตรงมา มีจุดด้อยอะไร และมี จุดเด่นอะไรในการสอน 3. นักศึกษา แน่นอนว่านักศึกษาในรุ่นปัจจุบันนี้ อยู่ใน รุ่น Gen Y, Gen Z เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นรุ่นที่ต้องไปใช้ชีวิต การท างานในศตวรรษที่ 21 ในอนาคตอันใกล้นี้ ดัง นั้นสิ่งที่ เป็นประเด็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กั น คือ เรื่องของการ เตรี ย มนั ก ศึ ก ษาให้ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ พึ ง ประสงค์ โดยคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร ต้องการให้นักศึกษา เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ จึงต้องเตรียมอุปกรณ์ หรือสิ่ง สนับสนุน การเรี ย นรู้ ท างด้ า นคหกรรมศาสตร์ และด้ า นสถานที่ ก าร ปฏิบัติการทางด้านอาหารอย่างครบครัน รักษาอัตราการคงอยู่ ของนักศึกษาให้มีอัตราการคงอยู่ที่ดี ทาให้นักศึกษามีความสุข กั บ การเรียนรู้ในคณะฯ และส่ง เสริม ให้นัก ศึก ษาวิเ คราะห์ ศั ก ยภาพของตนเอง (KWL Strategy) ให้ คิ ด เป็ น ท าเป็ น เรียนรู้ต่อยอดได้ด้วยตนเอง เพื่อให้อยู่รอดในสังคมการทางาน ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเราอาจจะต้องตกงานเพราะเทคโนโลยี สมัยใหม่อย่าง AI ที่จะเข้ามาแทนที่แรงงานมนุษย์ในอนาคต เช่น การส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น Youtuber โดยใช้ความคิด สร้างสรรค์ในผลงาน ไม่ตีกรอบให้นักศึกษานาไปปฏิบัติ สร้าง ตั ว เองให้ เ ป็ น ตราสิ น ค้ า และเมื่ อ มี ค นเข้ า มาติ ด ตามมาขึ้ น นั ก ศึ ก ษาสามารถขยั บ ตั ว เป็ น วิ ท ยากร หรื อ ผู้ ที่ ส ามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้เฉพาะทางที่นักศึก ษาได้ต่อยอดลงไปได้ เป็นต้น สรุ ป การใช้ วิ ธี ก ารเรีย นการสอนในรูป แบบ Finland Model ถือได้ว่าประสบความสาเร็จสาหรับสถาบันการศึกษาที่ มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผสู้ อน และนักศึกษา ให้พัฒนาตนเองไปยังเป้าหมายที่วางไว้คือเรียนรูด้ ้วยตนเอง ต่อ ยอด และสร้างนวัตกรรมได้ในอนาคต

ความสุขกับการเรีย นรู้ ในคณะฯ และส่ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ศั ก ยภาพของตนเอง (KWL Strategy) ให้คิดเป็น ทาเป็ น เรียนรู้ต่อยอดได้ด้วย ตนเอง เพื่อให้อยู่รอดในสังคมการทางานในศตวรรษ ที่ 21 ซึ่ง เราอาจจะต้องตกงานเพราะเทคโนโลยี สมัยใหม่อย่าง AI ที่จะเข้ามาแทนที่แรงงานมนุษย์ใน อนาคต เช่น การส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น Youtuber โดยใช้ความคิดสร้า งสรรค์ในผลงาน ไม่ตีกรอบให้ นักศึกษานาไปปฏิบัติ สร้า งตัวเองให้เป็นตราสินค้า และเมื่อมีคนเข้า มาติดตามมาขึ้น นักศึกษาสามารถ ขยับตัวเป็นวิทยากร หรือผู้ที่ส ามารถถ่ายทอดองค์ ความรู้เฉพาะทางที่นักศึกษาได้ต่อยอดลงไปได้ เป็น ต้น สรุป การใช้วิธีการเรีย นการสอนในรู ป แบบ Finland Model ถื อ ได้ ว่ า ประสบความส าเร็ จ สาหรับสถาบันการศึกษาที่มีความมุ่ง มั่นที่จะพัฒ นา หลั ก สู ตร อาจารย์ ผู้ส อน และนั ก ศึ ก ษาให้พัฒนา ตนเองไปยัง เป้าหมายที่วางไว้คือเรียนรู้ด้วยตนเอง ต่อยอด และสร้างนวัตกรรมได้ในอนาคต


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.