สกัดความรู้ : CDIO - Finland Model

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง CDIO – Finland Model วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน 2562 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า ผศ.ณนนท์ แดงสังวาลย์ สาขาวิชาอุตสาหกรรม การบริการอาหาร และ นางสาวฉัตรยา งามเลิศ สาขาอาหารและโภชนาการ

รายละเอียดของเรื่อง จากที่ ก ระผมได้ มี โ อกาสเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมชุ ม ชนนั ก ปฏิบัติ “หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการสอน ร ะ ดั บม หา วิ ทย า ลั ย ” (Professional Development Training Course – University Pedagogy) วั น จั น ทร์ ที่ 10 มิ ถุ น ายน 2562 ณ ห้ อ งราชาวดี ชั้ น 2 คณะ เทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร สามารถสรุป ประเด็นสาคัญได้ดังนี้ เนื่ อ งด้ ว ยคุ ณ กิ จ ทั้ ง 2 ท่ า น คื อ ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ณนนท์ แดงสังวาลย์ และนางสาวฉัตรยา งามเลิศ ต้องการให้ ผู้เ ข้าร่วมชุม ชนนัก ปฏิบัติ ได้ประเด็นความรู้ที่ครบถ้วน จึง ใช้ วิธีก ารบรรยาย สลับ กับการทา Workshop เช่น Workshop การอภิป รายถึงเรื่อ งทฤษฏีกับการปฏิบัติอะไรสาคัญกว่ากัน และ Workshop การวิเคราะห์ตนเองเพื่อเตรียมการสอนด้วย KWL Strategy โดยเริ่ม จากมุ ม มองของอาจารย์ผู้ส อนก่ อน คุณกิ จ ได้ กระตุ้นให้เกิดความสนใจในช่วงแรกเกี่ยวกับการเปลี่ยนกลยุทธ์ การสอน แต่ไม่ได้บังคับให้ทุกคนเปลี่ยน (ถ้าอาจารย์ผู้สอนไม่ เปลี่ยนแปลงวิธีการสอน ก็จะไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ ) ในการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องการให้ผสู้ อนเป็นผูช้ ี้แนะแนวทาง และ บางครั้งอาจจะต้องลงมือทาไปพร้อมๆ กับนักศึกษาด้วย ประเด็นส าคัญ ประการหนี่ง คือ เรื่องของรูปแบบการ เรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา (Teaching and Learning in Higher Education) ต้องเริ่ม ต้ นจากการลงมือเตรียมการ สอนล่วงหน้ามาอย่างดี เพื่อให้นัก ศึก ษาในระดับอุดมศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ต่างๆ เพื่อนาไปใช้ได้จริงในอนาคต ซึ่ ง คณะเทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร์ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ (Hand Ons) ออกมายังตลาดแรงงานทุกปี เราต้องมองภาพที่ นัก ศึก ษาอยากเป็นเอาไว้เป็นตั วตั้ง แล้วจากนั้นคณะฯ และ อาจารย์ผู้ส อน รวมทั้ ง สิ่ง สนับ สนุนการเรียนรู้จะต้องพร้อม เพื่อให้นักศึกษามีความสุขในการเรียนตลอดทั้ง 4 ปีที่เข้ามาใน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร โดยผมจะขอกล่าวประเด็นที่สาคัญ ในภาพรวม 3 ด้าน คือ หลักสูตร อาจารย์ผู้สอน และนักศึกษา ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง กับการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สามารถอยู่ได้ใน

สรุปความรู้ที่ได้ “หลักสูต รการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ ด้ า น ก า ร ส อ น ร ะ ดั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ” ( Professional Development Training Course – University Pedagogy) สรุป ได้ ดังนี้ เนื่ อ งด้ ว ยคุ ณ กิ จ ทั้ ง 2 ท่ า น คื อ ผู้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์ ณนนท์ แดงสัง วาลย์ และนางสาว ฉัตรยา งามเลิศ ต้องการให้ผู้เข้าร่วมชุมชนนักปฏิบตั ิ ได้ประเด็นความรู้ที่ครบถ้วน จึง ใช้วิธีการบรรยาย สลั บ กั บ การท า Workshop เช่ น Workshop การ อภิปรายถึงเรื่องทฤษฏีกับการปฏิบัติอะไรสาคัญกว่า กั น และ Workshop การวิ เ คราะห์ ต นเองเพื่ อ เตรียมการสอนด้วย KWL Strategy โดยเริ่ ม จากมุ ม มองของอาจารย์ ผู้ส อนก่อน คุ ณ กิ จ ได้ ก ระตุ้ น ให้ เ กิ ด ความสนใจในช่ ว งแรก เกี่ยวกับการเปลี่ยนกลยุทธ์การสอน แต่ไม่ได้บังคับ ให้ทุกคนเปลี่ยน (ถ้า อาจารย์ผู้สอนไม่เปลี่ยนแปลง วิธีการสอน ก็จะไม่เกิดผลสัมฤทธิ์) ในการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ซึ่ ง ต้ อ งการให้ ผู้ส อนเป็ น ผู้ชี้ แ นะ แนวทาง และบางครั้งอาจจะต้องลงมือทาไปพร้อมๆ กับนักศึกษาด้วย ประเด็ น ส าคั ญ ประการหนี่ ง คื อ เรื่ อ งของ รู ป แบบการเรี ย นการสอนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ( Teaching and Learning in Higher Education) ต้องเริ่มต้นจากการลงมือเตรียมการสอนล่วงหน้ามา อย่างดี เพื่อให้นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาสามารถ บูรณาการความรู้ต่างๆ เพื่อนาไปใช้ได้จริงในอนาคต ซึ่ง คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ผ ลิตบัณฑิตนั ก ปฏิบัติ (Hand Ons) ออกมายัง ตลาดแรงงานทุกปี เราต้องมองภาพที่นักศึกษาอยากเป็นเอาไว้เป็นตัว ตั้ง แล้วจากนั้นคณะฯ และอาจารย์ผู้สอน รวมทั้งสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้จะต้องพร้อม เพื่อให้นักศึกษามี ความสุขในการเรียนตลอดทั้ง 4 ปีที่เข้า มาในคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร โดยผมจะขอกล่าวประเด็นที่สาคัญในภาพรวม 3 ด้า น คือ หลักสูตร อาจารย์ผู้สอน และนักศึกษา ซึ่ง มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอนให้ส ามารถอยู่ได้ในปัจจุบัน ซึ่ง ต้องรับกับ แรงเสี ย ดทานทางด้ า นการเปลี่ ย นแปลง ของ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ และยุ ค เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ดัง นั้น หลักสุตร อาจารย์ผู้ส อน และนักศึก ษา จึง จะต้ อ งปรับ ตัว ให้เข้ า กั บยุค ของการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวนี้ 1. หลักสูตร สิ่ง แรกที่จะต้องมองให้ เ ห็ น แบบทะลุปรุโปร่งเลยก็คือ นักศึกษาที่เป็นผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทางตรงของเราต้องการอะไรจากหลักสูตร ของคณะฯ ที่ มี อ ยู่ แล้ ว เราสามารถปรั บ ให้ เ กิ ด การบูรณาการหลักสูตรข้ามสายงาน หรือสายอาชีพ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.