บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง Individual KM Plan วันอังคารที่ 17 มีนาคม 2563 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า
รายละเอียดของเรื่อง นฤศร มังกรศิลา จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการนำ หัวหน้างานจัดการความรู้ องค์ความรู้มาเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงาน คณะเทคโนโลยึคหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เรื่อง การจัดการ ศาสตร์ และ ความรู้ ร ายบุ ค คล (Individual KM Plan) ในวั น จั น ทร์ ที่ อาจารย์ประจำสาขาวิชา อุตสาหกรรมการบริการ 16 มี น าคม ๒๕63 เวลา ๐๙.๐๐ – ๑6.๐๐ น. ณ มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ศู น ย์เ ทเวศร์ อาหาร กรุงเทพฯ สามารถสรุปประเด็นสำคัญ และมีขั้นตอนดังนี้ ภาคเช้า รองศาสตราจารย์ นาวาโทหญิง ดร.ชมสุภัค ครุฑกะ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ เรื่องการจัดการความรู้รายบุคคล โดยที ่ ก ารพั ฒ นาทุ น มนุ ษ ย์ ใ นปั จ จุ บ ั น มุ่ ง ที ่ ก ารสร้ า งความ ร่วมมือระหว่างกันของทุนมนุษย์กับความรู้ เพื่อนำพาให้องค์กร สามารถขับ เคลื่ อนไปข้า งหน้ าได้ อ ย่ างมี ป ระสิ ทธิ ภ าพและ ประสิทธิผล การจั ด การความรู ้ ร ายบุ ค คล จึ ง เป็ น สิ ่ ง ที ่ ส ำคั ญ สามารถสร้ า งองค์ ค วามรู ้ จ ากบุ ค ลากรที ่ เ ป็ น ความรู ้ ฝ ั งลึ ก ออกมาเป็นความรู้ที่ชัดแจ้งได้ โดยองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้นจาก บุคคลต่างๆ ในองค์กรของเรานั้น เกิดจากขั้นตอนกระบวนการ ทั้ง 7 ขั้นตอนของการจัดการความรู้ กับการพัฒนารายบุคคลมี ความสั ม พั น ธ์ โดยพิ จ ารณาจากช่ อ งว่ า งของความรู้ (Knowledge Gap) เป็นการค้นหาความรู้อะไรที่ทุกคนต้องมี และมีความรู้น ั้น หรื อไม่ เมื่อระบุค วามรู้ ที่ต ้อ งการแล้ ว จะ แสวงหาความรู้ โดยใช้รู ปแบบกิจกรรมที่ใช้ฝ ึกอบรม หรือ วางแผนพัฒนาบุคลากร เช่น การฝึกปฏิบัติระหว่างปฏิบัติงาน (On the Job Training) การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ ป ั ญ หาเป็ น ฐาน (Problem Based Learning) และการเรี ย นรู้ จ ากการลงมื อ ปฏิบ ัติ (Action Learning) การเล่าเรื่อง การเสวนา การให้ คำปรึกษาหรือพี่เลี้ยง เพื่อนช่วยเพื่อน และอบรมสัมมนา เมื่อ บุคลากรเข้ารับการอบรมแล้ว ต้องให้ผู้เข้าร่วมอบรมถ่ายทอด ความรู้ หรือวิธีการปฏิบัติกับบุค ลากรคนอื่นๆ ด้วย และหา แหล่งสะสมความรู้ ซึ่งในปัจจุบันมีมีช่องทางในการเผยแพร่ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ หรือเว็บบล็อกได้ อย่า งหลากหลาย
สรุปความรู้ที่ได้ การจัดการความรู้รายบุคคล สรุปได้ดังนี้ รองศาสตราจารย์ นาวาโทหญิ ง ดร.ชมสุภ ัค ครุฑ กะ คณะพัฒนาทรัพยากร มนุ ษ ย์ มหาวิ ท ยาลั ย รามคำแหง ได้ เ ป็ น วิทยากรถ่ายทอดความรู้ เรื่องการจัดการความรู้ รายบุคคล โดยที่การพัฒนาทุนมนุษย์ในปัจจุบัน มุ่งที่การสร้างความร่วมมือระหว่างกัน ของทุน มนุษย์กับความรู้ เพื่อนำพาให้ องค์กรสามารถ ขับเคลื่อนไปข้า งหน้า ได้อย่างมี ป ระสิทธิภ าพ และประสิทธิผล การจัดการความรู้รายบุคคล จึงเป็น สิ ่ ง ที ่ ส ำคั ญ สามารถสร้ า งองค์ ค วามรู ้ จ าก บุคลากรที่เป็นความรู้ฝังลึก ออกมาเป็นความรู้ ที่ชัดแจ้งได้ โดยองค์ความรู้ที่พ ัฒนาขึ้นจาก บุ ค คลต่ า งๆ ในองค์ ก รของเรานั ้ น เกิ ด จาก ขั ้ น ตอนกระบวนการทั ้ง 7 ขั ้ น ตอนของการ จั ด การความรู ้ กั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลมี ความสัมพั นธ์ โดยพิจ ารณาจากช่อ งว่า งของ ความรู ้ (Knowledge Gap) เป็ น การค้ น หา ความรู ้ อ ะไรที ่ ท ุ ก คนต้ อ งมี แ ละมีค วามรู ้นั้น หรื อ ไม่ เมื ่ อ ระบุ ค วามรู ้ ท ี ่ ต ้ อ งการแล้ ว จะ แสวงหาความรู้ โดยใช้รู ป แบบกิจ กรรมที ่ ใ ช้ ฝึกอบรม หรือวางแผนพัฒนาบุคลากร เช่น การ ฝึ ก ปฏิ บ ั ติ ร ะหว่ า งปฏิ บ ั ต ิ ง าน (On the Job Training) การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ ป ั ญ หาเป็ น ฐาน (Problem Based Learning) และการเรี ย นรู้ จากการลงมือ ปฏิบัติ (Action Learning) การ เล่า เรื่อ ง การเสวนา การให้คำปรึก ษาหรือพี่ เลี้ยง เพื่อนช่วยเพื่อน และอบรมสัมมนา เมื่อ บุคลากรเข้ารับการอบรมแล้ว ต้องให้ผู้เข้าร่วม อบรมถ่า ยทอดความรู้ หรือ วิธ ีก ารปฏิบ ัติกับ บุ ค ลากรคนอื ่ น ๆ ด้ ว ย และหาแหล่ ง สะสม ความรู้ ซึ่งในปัจจุบันมีมีช่องทางในการเผยแพร่ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ หรือเว็บบล็อกได้อย่าง หลากหลาย รวมทั้งจัดเก็บ ความรู ้อ ย่า งเป็ น ระบบ เช่น การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน การ จัดทำฐานข้อมูลเว็บไซต์ เพื่อบุคลากรสามารถ เข้าถึงความรู้ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วเพื่อนำ ความรู้ ไ ปใช้ ง าน และแบ่ ง บั น ความรู ้ โดย ผลลั พ ธ์ ส ุ ด ท้ า ยของกระ บวนการพั ฒ นา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ และกระบวนการจั ด การ ความรู้ ก็คือ วิธ ีป ฏิบ ัติที่ดีที่ สุด เกิ ดจากการ เรียนรู้เมื่อนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อไป โดยนำเอาแผนการจัด การความรู้ รายบุคคล (Individual KM Plan) มาใช้ ก ำหนดแนวทาง