::: บันทึกเรื่องเล่า ::: เรื่อง เขียนข้อเสนองานวิจัยอย่างไรให้ได้รับทุน

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิจัย เรื่อง การเขียนข้อเสนอวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม 2563 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า

รายละเอียดของเรื่อง นฤศร มังกรศิลา จากที่กระผมได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับการเขียน หัวหน้างานจัดการความรู้ ข้อเสนอวิจัย นักวิจัยจะต้องมีวิธีการเขียนในหัวข้อต่างๆ คณะเทคโนโลยึคหกรรม อย่างไรให้ได้รับทุนวิจัย สามารถสรุปได้ ดังนี้ ศาสตร์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.นวดล เพ็ ช รวั ฒ นา สาขา อาจารย์ประจำสาขาวิชา อุตสาหกรรมการบริการ นวั ต กรรมพอลิ เ มอร์ แ ละการจั ด การ คณะเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยศรีน ครินทร อาหาร วิโรฒ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการประเมินข้อเสนอการ วิจัย โดยทั่วไปหลักเกณฑ์การพิจารณาเบื้องต้น มีดังนี้ 1. ความเหมาะสมที่เกี่ยวข้องกับชื่อเรื่อง การทบทวน วรรณกรรม และความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย 2. คุณภาพทางวิชาการของผู้ว ิจัย โดยพิจารณาจาก ความเชี่ยวชาญในด้านที่ต้องการทำวิจัย รวมไปถึงต้องค้นหา ทีมงานวิจัยที่มีความรอบรู้ทางทฤษฎีและการควบคุมการได้มา ซึ่งผลของการวิจัย 3. ความเหมาะสมของระเบียบวิ ธีวิจัย ต้องพิจารณา จากวิธีวิจัยจะต้องสอดคล้องกับวั ตถุประสงค์ เครื่องมือที่ใช้ วิธีการเลือกตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล วิธีการทดลอง และสถิติ ที่ใช้ โดยปัญหาหลักของนักวิจัยที่ขอทุนวิจัยไม่ได้ เกิดจาก การไม่คิดนอกกรอบในศาสตร์ของตนเอง ซึ่งพบว่าใช้เทคนิค และวิธีการเดิม ในขณะที่แหล่งทุนเปลี่ยนไป สิ่งสำคัญ อี ก อย่า งหนึ ่ งคื อ การเลือ ก Platform หรื อ Program ไม่ถูกต้อง หรือเลือก OKR ไม่ตรง ใช้แบบฟอร์มผิด ส่งข้อเสนอในระบบ NRIIS ไม่ทัน คำแนะนำที่อยากให้นักวิจัย ควรปฏิบัติ คือ การศึกษา โครงการวิจั ยที่ได้ทุนในปีก่อน เพื่อเป็นแนวทางในการเขียน ข้อเสนองานวิจัย โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาการให้คะแนนข้อเสนอวิจัย จะต้องพิจารณา 3 ด้าน คือ 1. คุณค่าทางปัญญา (60 เปอร์เซ็นต์) 2. ผลกระทบ (30 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ) โดยพิ จ ารณาจาก งานวิจัยที่ก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พัฒนาสังคม พัฒนา สิ่งแวดล้อม และมีการระบุมูลค่าหรือตัวเลขประมาณการถึง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากงานวิจัย

สรุปความรู้ที่ได้ การเขียนข้อเสนอวิจัย อย่างไรให้ได้ รั บ ทุน สรุปได้ ดังนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.นวดล เพ็ ช ร วั ฒ นา สาขานวั ต กรรมพอลิ เ มอร์ แ ละการ จั ด การ คณะเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม ผลิต ภัณ ฑ์การเกษตร มหาวิท ยาลัยศรีนคริ นทร วิโรฒ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการ ประเมินข้อเสนอการวิจั ย โดยทั่วไปหลักเกณฑ์ การพิจารณาเบื้องต้น มีดังนี้ 1. ความเหมาะสมที่เกี่ย วข้อ งกั บ ชื่ อ เรื่อง การทบทวนวรรณกรรม และความสำคัญ และที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย 2. คุณภาพทางวิชาการของผู้วิจัย โดย พิจารณาจากความเชี่ยวชาญในด้านที่ต้อ งการ ทำวิจ ัย รวมไปถึง ต้อ งค้ นหาทีม งานวิจ ัย ที ่ มี ความรอบรู้ทางทฤษฎีและการควบคุมการได้มา ซึ่งผลของการวิจัย 3. ความเหมาะสมของระเบียบวิธ ีวิจัย ต้องพิจารณาจากวิธีวิจัยจะต้องสอดคล้องกับ วั ต ถุ ป ระสงค์ เครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช้ วิ ธ ี ก ารเลื อ ก ตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล วิธีการทดลอง และ สถิติที่ใช้ โดยปั ญ หาหลั ก ของนั ก วิจ ัย ที่ข อทุ น วิ จ ั ย ไม่ ไ ด้ เกิ ด จากการไม่ ค ิ ด นอกกรอบใน ศาสตร์ ข องตนเอง ซึ ่ ง พบว่ า ใช้ เ ทคนิ ค และ วิธีการเดิม ในขณะที่แหล่งทุนเปลี่ยนไป สิ่งสำคัญ อีก อย่า งหนึ่งคือ การเลือก Platform หรือ Program ไม่ถูกต้อง หรือเลือก OKR ไม่ต รง ใช้แ บบฟอร์มผิด ส่งข้อ เสนอใน ระบบ NRIIS ไม่ทัน คำแนะนำที่อยากให้นักวิจัยควรปฏิบัติ คือ การศึก ษาโครงการวิจัย ที่ได้ทุนในปีก่อน เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนข้อเสนองานวิจัย โดยหลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาการให้ คะแนนข้อเสนอวิจัย จะต้อ งพิจารณา 3 ด้าน คือ 1. คุณค่าทางปัญญา (60 เปอร์เซ็นต์) 2. ผลกระทบ (30 เปอร์เซ็ นต์ ) โดย พิ จ ารณาจากงานวิ จั ย ที ่ก ่อ ให้ เ กิด มูล ค่า ทาง เศรษฐกิจ พัฒนาสังคม พัฒนาสิ่งแวดล้อม และ มี ก ารระบุ ม ู ล ค่ า หรื อ ตั ว เลขประมาณการถึ ง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากงานวิจัย 3. ความสอดคล้อ งของข้อ เสนอการ วิจ ัย (10 เปอร์เซ็ นต์) โดยพิจ ารณาจากแผน ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน แผนบูรณาการวิจัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.