innovation

Page 1

1

รวมพลังสร้ างนวัตกรรมการศึกษา โดย นภัสกร ธรรมดี 12/09/2554 การศึกษามีบทบาทและความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในโลก ยุคใหม่นนทรั ั ้ พยากรที่สาคัญที่สุดก็คือ "ทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ " เพราะความสามารถและ ศักยภาพในการผลิตของแต่ละประเทศขึ ้นอยู่กับองค์ความรู้ ของคนในชาติ ประเทศที่พลเมืองมี การศึกษาดีย่อมได้ เปรี ยบในการแข่งขันเสมอ ไม่ว่าจะเป็ นด้ านเกษตรกรรมหรื ออุตสาหกรรม ใน โลกปั จจุบนั และอนาคต "การศึกษา" มิใช่จากัดอยู่เพียงในโรงเรี ยนเท่านัน้ แต่เป็ นการศึกษาตลอด ชีวิต คนทุกคนจะมีโอกาสได้ เรี ยนรู้ตงแต่ ั ้ ก่อนเกิดจนตาย การที่จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับการศึกษา อย่างดีนนจ ั ้ าเป็ นต้ องนานวัตกรรมเข้ ามาใช้ ในการเรี ยนการสอน เมื่อการศึกษามีหลายมิติ การใช้ นวัตกรรมทางการศึกษาก็ยิ่งมีความจาเป็ นมากขึ ้น คาว่า “นวัตกรรม” เป็ นคาที่ค่อนข้ างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คานี ้เป็ นศัพท์ บัญญัตขิ องคณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษ ว่า Innovation แปลว่า ทาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้ เกิดสิ่งใหม่ ดังนันไม่ ้ ว่าวงการหรื อกิจการใดๆ ก็ ตามเมื่อมีการนาเอาความเปลี่ย นแปลงใหม่ๆ เข้ ามาใช้ เพื่อปรับปรุงงานให้ ดีขึ ้นกว่าเดิมก็เรี ยกได้ ว่าเป็ นนวัตกรรม ของวงการนันๆ ้ เช่นในวงการศึกษานาเอามาใช้ ก็เรี ยกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) เป็ นต้ น นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการศึกษาหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความก้ าวหน้ า ทังด้ ้ านเทคโนโลยีและสารสนเทศ การศึกษาจึงจาเป็ นต้ องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบ การศึกษาที่ มี อยู่เ ดิม เพื่ อให้ ทันสมัยต่อการเปลี่ ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสัง คมที่ เปลี่ยนแปลงไป อีกทังเพื ้ ่อแก้ ไขปั ญหาทางด้ านศึกษาบางอย่างที่เกิดขึ ้นอย่างมีประสิทธิภาพ การ ใช้ นวัตกรรมในปั จจุบนั เป็ นไปอย่างกว้ างขวาง เป็ นเครื อข่ายที่มีการพัฒนาไม่มีที่สิ ้นสุด แนวคิดพืน้ ฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา แนวความคิดพื ้นฐานทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไป ปั จจัยสาคัญที่มีอิทธิพลอย่าง มากอันมีผลทาให้ เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาคัญๆ พอจะสรุปได้ 4 ประการ คือ


2 1. ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ ให้ ความสาคัญในเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้ อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้ จากแผนการ ศึกษาของชาติ ที่ม่งุ จัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็ น เกณฑ์ นวัตกรรมที่เกิดขึน้ เพื่อสนองแนวความคิดพื ้นฐานนี ้ เช่น การเรี ยนแบบไม่แบ่งชัน้ (NonGraded School) แบบเรี ยนสาเร็ จรูป (Programmed Text Book) การจัดโรงเรี ยนในโรงเรี ยน (School within School) เป็ นต้ น 2. ความพร้ อม (Readiness) เดิมเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่ มเรี ยนได้ ก็ต้องมีความพร้ อมซึ่ ง เป็ นพัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ในปั จจุบนั การวิจยั ทางด้ านจิตวิทยาการเรี ยนรู้ ชี ้ให้ เห็นว่าความ พร้ อมในการเรี ย นเป็ นสิ่ ง ที่ ส ร้ างขึ น้ ได้ ถ้ าหากสามารถจัด บทเรี ย น ให้ พอเหมาะกับ ระดับ ความสามารถของเด็กแต่ละคน นวัตกรรมที่ตอบสนองแนวความคิดพื ้นฐานนี ้ได้ แก่ ศูนย์การเรี ยน (Learning Center) การจัดโรงเรี ยนในโรงเรี ยน (School within School) เป็ นต้ น 3. การใช้ เวลาเพื่อการศึกษา ในปั จจุบนั ได้ มีความคิดในการจัดเป็ นหน่วยเวลาสอน ให้ สัม พันธ์ กับลักษณะของแต่ล ะวิช าซึ่ง จะใช้ เวลาไม่เท่ากัน บางวิช าอาจใช้ ช่วงสัน้ ๆ แต่สอน บ่อยครัง้ การเรี ยนก็ไม่จากัดอยูแ่ ต่เฉพาะในโรงเรี ยนเท่านัน้ นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื ้นฐาน ด้ านนี ้ เช่น การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น ,มหาวิทยาลัยเปิ ด เป็ นต้ น 4. ประสิทธิภาพในการเรี ยน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของ สังคม ทาให้ มีสิ่งต่างๆ ที่คนจะต้ องเรี ยนรู้เพิ่มขึ ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปั จจุบนั ยังไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอจึงจาเป็ นต้ องแสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิ ภาพสูงขึ ้น ทังในด้ ้ านปั จจัย เกี่ยวกับตัวผู้เรี ยน และปั จจัยภายนอก นวัตกรรมในด้ านนี ้ที่เกิดขึน้ เช่น การเรี ยนทางวิทยุ การ เรี ยนทางโทรทัศน์ การเรี ยนทางไปรษณีย์ เป็ นต้ น จากแนวคิดดังกล่าวข้ างต้ นจึงทาให้ เห็นความสาคัญของนวัตกรรมต่อการศึกษา ดังนี ้ 1. เพื่อให้ ทนั สมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป 2. เพื่อแก้ ไขปั ญหาทางด้ านการศึกษาบางอย่างที่เกิดขึ ้นอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อแก้ ไขปั ญหาทางด้ านการศึกษาในบางเรื่ อง เช่น ปั ญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจานวน ผู้เรี ยนการพัฒนาหลักสูตรให้ ทนั สมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ ้นมา 4. เพื่อตอบสนองการเรี ยนรู้ของมนุษย์ให้ เพิ่มมากขึ ้นด้ วยระยะเวลาที่สนลง ั้


3 5. การใช้ นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริ หารจัดการด้ านการศึกษา เพื่อช่วยให้ การใช้ ทรัพยากรการเรี ยนรู้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นวัตกรรมทางการศึกษาต่ างๆในปั จจุบัน ในวงการศึกษาปั จจุบนั มีสิ่งที่เรี ยกว่านวัตกรรมทางการศึกษา หรื อนวัตกรรมการเรี ยน การสอน อยูเ่ ป็ นจานวนมาก บางอย่างเกิดขึ ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้ มาหลายสิบปี แล้ ว แต่ก็ยงั คง ถือว่าเป็ น นวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเหล่านันยั ้ งไม่แพร่หลายเป็ นที่ร้ ูจกั ทัว่ ไป ในวงการศึกษา ห้ องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom) ห้ องเรี ยนเสมื อน เป็ นการจัดสิ่งแวดล้ อมในความว่างเปล่า (space) โดยอาศัย ศักยภาพของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เพื่ อให้ เป็ นการจัดประสบการณ์ เสมื อนจริ ง แก่ผ้ ูเรี ยน นอกจากนันยั ้ งมีสิ่งสนับสนุน อื่น ๆ ที่จะช่วยทาให้ การมีปฏิสมั พันธ์แบบเผชิญหน้ า ซึ่งบางโอกาส อาจจะเป็ นไปไม่ได้ หรื อเป็ นไปได้ ยากนัน้ สามารถกระทาได้ เสมือนบรรยากาศการพบกันจริ ง ๆ กระบวนการทังหมดดั ้ งที่กล่าวมานี ้ เป็ นการเข้ าถึงด้ านการพิมพ์ การอ่านข้ อความ หรื อข้ อมูลผ่าน คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อเข้ ากับระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีซอฟแวร์ เพื่อควบคุมการสร้ างบรรยากาศแบบ ห้ องเรี ยนเสมือน การมีส่วนร่วมจะเป็ นแบบภาวะต่างเวลา ซึ่งทาให้ มีผ้ เู รี ยน ในระบบห้ องเรี ยน เสมือนสามารถเชื่อมต่อเข้ าไปศึกษาได้ ทกุ ที่ทกุ เวลา การจัดการเรี ยนการสอนแบบห้ องเรี ยนเสมือน นับเป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ ช่ วยลดข้ อจากัดในด้ านต่ าง ๆ ทางการศึกษาได้ เป็ นอย่ างดี ทาให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถเลือก เรี ยนได้ ตามความพอใจ ตามความพร้ อมทัง้ ทางด้ านเวลา สถานที่และความสามารถทาง สติปัญญา การเรี ยนการสอนแบบห้ องเรี ยนเสมือนนี ้สามารถจัดได้ ทงแบบการศึ ั้ กษาในโรงเรี ยน นอกโรงเรี ยน และการศึกษาตามอัธ ยาศัย ส่ง ผลให้ คนส่วนใหญ่ สามารถเรี ยนรู้ ได้ ตลอดชี วิ ต อย่างไรก็ตามยังมีสิ่ งที่ต้องคานึงถึง ในการจัดห้ องเรี ยนเสมื อน เช่น ระบบบริ หารจัดการของ ห้ องเรี ยน การประเมินผลสัมฤทธิ์ ของการเรี ยน และสิ่งที่การเรี ยนในห้ องเรี ยนเสมือนไม่มีก็คือ ปฏิสมั พันธ์ทางด้ านสังคมระหว่างผู้เรี ยนด้ วยกัน สิ่งเหล่านี ้คือคาถามที่ต้องคิดว่าห้ องเรี ยนเสมือน จะทาให้ เกิดขึ ้นได้ อย่างไร แม้ ว่าต้ นทุนในการจัดการเรี ยนการสอนแบบห้ องเรี ยนเสมือนจะสูงมาก แต่ถ้าหากมีการบริ การจัดการจนมีประสิทธิภาพ และเป็ นที่แพร่หลายแล้ ว ผลกาไรจะเกิดขึ ้นกับ


4 สังคมและประเทศชาติ ในรูปของคนส่วนใหญ่ของประเทศได้ รับความรู้ ซึ่งเป็ นกาลังสาคัญในการ พัฒนาส่วนต่าง ๆ ของประเทศให้ มีความเจริญก้ าวหน้ าต่อไปในอนาคต E-learning E-Learning หรื อ Electronic Learning ว่า หมายถึง การเรี ยนผ่านทางสื่ อ อิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้ การนาเสนอเนือ้ หาทางคอมพิวเตอร์ ในรู ปของสื่อมัลติมีเดียได้ แก่ ข้ อความ อิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิ ก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ โดยผู้สอนจะนาเสนอ ข้ อมูลความรู้ ให้ ผ้ เู รี ยนได้ ทาการศึกษาผ่านบริ การ World Wide Web หรื อเว็ปไซด์ โดยอาจให้ มี ปฏิสมั พันธ์ (สนทนา โต้ ตอบ ส่งข่าวสาร) ระหว่างกัน ปฏิสมั พันธ์นี ้สามารถกระทาผ่านเครื่ องมือ สองลักษณะคือ 1.1. แบบ Real-time ได้ แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ข้อความแลกเปลี่ยน ข่าวสารกัน หรื อ ส่งในลักษณะของเสียง จากบริการของ Chat room 1.2. แบบ Non real-time ได้ แก่การส่งข้ อความถึงกันผ่านทางบริ การ อิเลคทรอนิคส์ เมล์ Web Board News-group เป็ นต้ น ดังนัน้ การเรี ยนรู้ แบบออนไลน์หรื อ e-learning ไม่ได้ เป็ นเพียงการเรี ยนโดยการรับ ความรู้หรื อเรี ยนรู้อะไรเท่านัน้ แต่เป็ นการเรี ยน "วิธี การเรี ยนรู้" หรื อเรี ยนอย่างไร ผู้เรี ยนในระบบ การเรี ย นรู้ ผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จ ะเป็ นคนที่ มี ค วามสามารถแสวงหาความรู้ ได้ ด้ ว ยตนเอง เนื่องจากE-learningไม่มีผ้ ูสอนที่ คอยป้ อนความรู้ ให้ เหมือนกับการศึกษาในห้ องเรี ยน ดังนัน้ ผู้เรี ยนจึงได้ รับการฝึ กฝนทักษะในการค้ นหาข้ อมูลการเรี ยนรู้วิธีการเข้ าถึงแหล่งความรู้ การเลือก วิธีการเรี ยนรู้ และวิธีการประมวลความรู้ ด้วยตนเอง ผู้เรี ยนจะมีการปฏิสัมพันธ์ กับข้ อมูล และ ความรู้จานวนมาก ซึ่งอาจจะทาให้ เกิดการต่อยอดความรู้หรื อทาให้ เกิดความคิด ใหม่ๆ และ การ สร้ างนวัตกรรมอันเป็ นปั จจัยในการแข่งขันที่สาคัญมากที่สดุ ในการแข่งขันในเศรษฐกิจยุคใหม่ สื่อหลายมิติ Hypermedia สื่อหลายมิติ Hypermedia เป็ นเทคโนโลยีที่ทนั สมัยในการนาเสนอข้ อมูล เพื่อให้ ผ้ รู ับ สามารถรับข้ อมูลสารสนเทศในรูปแบบต่างๆที่มีความสามารถเชื่อมโยงข้ อมูลจากรูปแบบหนึ่งไป ยังอีกรูปแบบหนึง่ ได้ ในทันทีด้วยความรวดเร็ วและเพิ่มความสามารถในการบรรจุข้อมูลในลักษณะ


5 ของภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิ ก ภาพนิ่ง ภาพสามมิติ ภาพถ่าย เสียงพูดเสียงดนตรี เข้ าไว้ ใน เนื ้อหาด้ วย เพื่อให้ ผ้ ใู ช้ หรื อผู้เรี ยนสามารถเข้ าถึงเนื ้อหาเรื่ องราวในลักษณะต่างๆได้ หลายรูปแบบ มากขึ ้น และผู้เรี ยนได้ เรี ยนรู้ตามความต้ องการและตามศักยภาพ ปั จจุบนั สื่อหลายมิติได้ มีการพัฒนาโดยผสมผสานเทคนิคและเทคโนโลยีที่ทนั สมัยไป อย่างรวดเร็ว ทังนี ้ ้แนวทางในการพัฒนาสื่อหลายมิติ โดยทัว่ ไปนัน้ ส่วนใหญ่เป็ นการผสมผสานสื่อ หลากหลายชนิดและเชื่อมโยงไปสู่แหล่ง ข้ อมูลอื่นที่น่าสนใจ ซึ่งไม่สามารถตอบสนองความ ต้ องการของผู้เรี ยนเป็ นรายบุคคลได้ จนกระทัง่ เกิดการค้ นหาวิธีและพัฒนาไปสู่แนวทางใหม่ของ สื่อหลายมิติ ที่เรี ยกว่า สื่อหลายมิติแบบปรั บตัว หมายถึง ความสัมพันธ์กนั ระหว่างสื่อหลายมิติ กับรูปแบบการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน ซึง่ ปกติสื่อหลายมิตจิ ะนาเสนอข้ อมูลสารสนเทศที่เป็ นเนื ้อหา ลิงค์ หรื อสื่ออื่นๆที่ออกแบบสาหรับผู้เรี ยนทุกคนแต่ในความเป็ นจริงแล้ วผู้เรี ยนแต่ละคนมีความต้ องการ ที่แตกต่างกันในการรั บข้ อมูล จากสื่อหลายมิติ ดัง นัน้ สื่อหลายมิ ติแบบปรับตัว จึง เป็ นการ ผสมผสานระหว่างสื่อหลายมิตแิ ละระบบการสอนที่ฉลาดในการตอบสนองผู้เรี ยนแต่ละคน โดยสื่อ หลายมิตแิ บบปรับตัวเป็ นการพยายามที่จะพัฒนารูปแบบให้ สามารถปรับตัวและตอบสนองผู้เรี ยน เป็ นรายบุคคล เช่นระบบจะเลือกข้ อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรี ยนแต่ละคนในแฟ้มข้ อมูลที่มีอยู่ เช่น ความรู้ ประสบการณ์รูปแบบการเรี ยนรู้ หรื อข้ อมูลอ้ างอิงอื่นๆ และสามารถปรับเปลี่ยนระบบ ให้ ตอบสนองตรงตามความต้ องการสาหรับผู้เรี ยนแต่ละคน ซึ่งจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสามารถค้ นหา ข้ อมูลสารสนเทศตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการได้ อย่างถูกต้ องและแม่นยา ทังนี ้ ้สื่อหลายมิติที่ ได้ รั บการออกแบบอย่างถูก ต้ องและเป็ นระบบจะช่ ว ยตอบสนองให้ เ กิ ด การเรี ยนรู้ ได้ ตาม ความสามารถ และความต้ องการของผู้เรี ยน เป็ นการดึงดู ดความสนใจของผู้ เรี ยนและ สนับ สนุนการจัดการเรี ย นการสอนแบบรายบุคคลและส่ง เสริ ม ให้ ผ้ ูเรี ย นสามารถพัฒ นาตาม ศักยภาพได้ นวัตกรรมกับผู้นาทางการศึกษา สาหรับในประเทศไทย ได้ มีการศึกษาบทบาทเกี่ยวกับผู้นาที่มีความเหมาะสมกับยุค ปั จจุบนั ซึ่งเป็ นยุคของการเปลี่ยนแปลงนี ้ แนวคิดทฤษฎีใหม่ที่มีชื่อเสียงและเป็ นที่ยอมรับกันมาก ในปั จ จุบัน คือ แนวคิดทฤษฎี ภ าวะผู้นาการเปลี่ ยนแปลง (Transformational Leadership


6 Theory) ซึ่งเป็ นทฤษฎีภาวะผู้นาแนวใหม่หรื อเป็ นกระบวนทัศน์ใหม่ (New paradigm) เนื่องจาก ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงนี ้เป็ นการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ (Paradigm shift) ไปสู่ภาวะผู้นาที่ มีวิสยั ทัศน์ (Vision) มีการกระจายอานาจหรื อการเสริ มสร้ างพลังจูงใจ (Empowering) เป็ นผู้มี คุณธรรม (Moral agents) และมีการกระตุ้นผู้ตามให้ มีความเป็ นผู้นาด้ วย ภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลงนี ้จะพิจารณาที่ลกั ษณะของผู้นา พฤติกรรม อานาจ รวมทัง้ ตัวแปรสถานการณ์ ที่ เกี่ยวข้ อง ดังนันบทบาทของผู ้ ้ นาที่มีวิสยั ทัศน์ด้านนวัตกรรมการศึกษาจะต้ องมีบทบาทในด้ าน ต่อไปนี ้ 1. ผู้ก าหนดทิ ศ ทาง (Direction setter) ผู้น าทางนวัต กรรมการศึก ษาจะต้ อ งมี ความสามารถในการชี ้ทางในการนานวัตกรรมการศึกษาไปบรูณาการในการจัดการศึกษาได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ 2. ผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change agent) ผู้นาทางนวัตกรรมการศึกษาจะต้ องเป็ นผู้ที่ สามารถนาการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา และสร้ างการยอมรับนวัตกรรมการศึกษาไปใช้ ในระบบ การเรี ยนการสอนอย่างจริ งจัง สามารถลดการต่อต้ านต่อการยอมรับสิ่งใหม่ๆที่จะเข้ าไปมีบทบาท ในการสร้ างสภาพแวดล้ อมใหม่ในระบบการเรี ยนการสอน 3. โฆษก (Spokesperson) ผู้นาทางนวัตกรรมการศึกษาต้ องมีความสามารถเผยแพร่ วิสยั ทัศน์ของตน สามารถเจรจาหรื อต่อรอง เพื่อสร้ างเครื อข่ายในการทางาน และเพื่อประโยชน์ใน การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาให้ ก้าวหน้ าต่อไป 4. ผู้ฝึกสอน (Coach) ผู้นาทางนวัตกรรมการศึกษาต้ องมีความสามารถในการสร้ าง ทีมงานขึน้ มา เพื่อนาวิสัยทัศน์ของตนไปสู่การปฏิบตั ิ ต้ องรู้ จักให้ คาปรึ กษา ให้ คาแนะนา สร้ าง ความไว้ วางใจ และให้ อานาจแก่ผ้ รู ่วมงาน อย่างไรก็ ตามการพัฒ นาผู้นาให้ มี ภ าวะผู้นาการเปลี่ ยนแปลงทางการศึกษาอย่า ง แท้ จริงนัน้ สามารถสรุปเป็ นแนวปฏิบตั ไิ ด้ ดงั นี ้ ผู้นาทาสิ่งที่ ตนบอกว่าจะทา รักษาคามั่นสัญญา และทาตามข้ อผูกพันจนบรรลุผล สาเร็จ ผู้นาเรี ยนรู้ วิธีที่จะค้ นพบและสื่อข้ อความเกี่ยวกับค่านิยมและวิสยั ทัศน์ร่วมที่มีร่วมกัน ซึง่ จะก่อรูปเป็ นความคิดเห็นที่เป็ นอันหนึง่ อันเดียวกันของทุกคน


7 ผู้นายอมรั บความผิดพลาดของตน ตระหนักว่าการพยายามปกปิ ดความผิดก่อให้ เกิด ความเสียหายและทาลายความน่าเชื่อถือได้ มากกว่า แต่เมื่อยอมรับความผิดพลาดแล้ ว ทาอะไร บางอย่างเพื่อแก้ ไขความผิดพลาดนัน้ ผู้นากระตุ้นความรู้ สึกมองโลกในแง่ดี และทาให้ ผ้ ตู ามมีความคิดในเชิงบวกเกี่ยวกับ โอกาสที่จะประสบความสาเร็จ กล่าวโดยสรุ ปว่า ในระยะสองทศวรรษที่ผ่านมานี ้ วงการศึกษาของไทยได้ เคลื่อนไหว และพยายามนาความคิดและวิธีการใหม่ๆ หรื อนวัตกรรมการศึกษามาใช้ เพื่อพัฒนาไปสู่ผลทาง การศึกษาที่ดีขึ ้น ดังนันผู ้ ้ นาทางนวัตกรรมการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็ นผู้ควบคุมกลไกหรื อผู้ขบั เคลื่อน การศึกษาไปสูเ่ ป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา จึงต้ องการผู้ที่มีภาวะผู้นาที่มีวิสยั ทัศน์ มีศกั ยภาพใน การแพร่ กระจายนวัตกรรมทางการศึกษา รวมถึงการสร้ างโอกาสให้ เข้ าถึงและใช้ ประโยชน์จาก นวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อการเรี ยนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตที่ค้ มุ ค่า และเพื่อสร้ างความเป็ น เลิศในวิชาชีพอย่างมีคณ ุ ภาพ ประสิทธิภาพ อันนาไปสูส่ งั คมแห่งภูมิปัญญา -------------------------------------------------

เอกสารอ้ างอิง จรูญ วงศ์สายัณห์ . 2515. เทคโนโลยีทางการศึกษา ประมวลบทความเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการ ศึกษา กรมวิชาการ ธวัช บุณยมณี. 2550. ภาวะผู้นาและการเปลีย่ นแปลง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์ ว สั น ต์ อ ติ ศั พ ท์ . ภ า ว ะ ผู้ น า แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ ใ ห ม่ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ศึ ก ษ า . http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:tz0Mn9PWw5AJ:202.44.14.13. ค้ น เ มื่ อ 26/08/54 เอกวิทย์ แก้ วประดิษฐ์ . 2545. เทคโนโลยีการศึกษา : หลักการและแนวคิดสู่ปฏิบตั ิ . ภาควิชา เทคโนโลยีและ สือ่ สารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิ ณ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.