กฏหมาย 3

Page 1

กฎหมายน่ าร้ ู 3


กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL

September 2013 : 4

คิดก่อน Post Forward อย่ำงรู้เท่ำทัน* ปัจ จุ บั น คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าเราอยู่ ในยุ คเทคโนโลยีส ารสนเทศไอที ซึ่งถือได้ว่าเป็นยุคข้อมูล ข่าวสารไร้พรมแดน เพราะว่าไม่ว่าจะอยู่มุมใดของโลกใบนี้ก็สามารถติดต่อ สื่อสาร หาข้อมูลข่าวสารได้อย่ างสะดวกรวดเร็ว เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทต่อ ชีวิตของผู้ ค นในยุ คปั จ จุ บั น ที่เห็ น ได้อย่ างชัด เจน คือ การขายของออน์ไลน์ นั บวัน จะมีผู้ เข้ามาค้าขายกันมาขึ้ น เมื่อมีผลดีแล้วก็ย่อมต้องมีผลกระทบบ้างซึ่งปรากฎเป็นข่าวตามสื่อต่างๆ ดังนั้นเพื่อปกป้องสิทธิส่วนบุคคล ประกอบกับแนวโน้ม การทาธุรกรรมในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสาร และวิธีการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีความแตกต่าง จากวิ ธี ก ารท าธุ ร กรรมซึ่ ง มี ก ฎหมายรองรั บ อยู่ ใ นปั จ จุ บั น ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ต้ อ งมี ก ารรองรั บ สถานะทางกฎหมายของข้ อ มู ล ทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทาเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการรับฟัง พยานหลักฐานจึงมีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ขึ้นมาจนทาให้กฎหมายพื้นฐานที่ใช้อยู่ ไม่สามารถบังคับหรือรองรับได้ ด้วยเหตุนี้ภาครัฐจึงมีการตรากฎหมาย หรือมาตรการต่างๆ ขึ้นมารองรับธุรกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้น ลั ก ษณะของการการท าความผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สามารถแบ่ ง ออกได้ เ ป็ น 3 ลักษณะ โดยจาแนกตามวัตถุหรือระบที่ถูกกระทา คือ 1. การกระทาต่อระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) 2. การกระทาต่อระบบข้อมูล (Information System) 3. การกระทาต่อระบบเครือข่ายซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสาร (Computer Network) ซึ่งหากบุ คคลใดได้กระทาความผิดตามที่กฎหมายดังกล่ าวได้บัญญัติว่าเป็นความผิดจะต้องได้รับโทษทางกฎหมาย โดยอาจสรุปความผิดสาคัญ ได้ 3 ฐานความผิด คือ 1. การเข้าถึงโดยไม่มีอานาจ (Unauthorized Access) 2. การใช้คอมพิวเตอร์ โดยไม่ชอบ (Computer Misuse) 3. ความผิดเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ (Computer Related Crime) ดังนั้น เพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมผู้เขียนจึงขอยกตัวอย่างการกระทาที่อาจเข้าข่ายเป็นความผิด ซึ่งอาจจะมีผู้ที่รู้เท่าไม่ถึงการ เคยหรือคิดที่จะทาก็ได้ เช่น การใช้ user name/password ของผู้อื่น Log in เข้าสู่ระบบ หรือแสดงความคิดเห็นตามกระทู้ต่างๆ ที่มีเนื้อหา ไม่เหมาะสม หรือเผยภาพตัดต่อให้ผู้อื่นได้รับความเสื่อมเสีย หรืออับอาย หรือการกระทาที่ใกล้ตัวมากสาหรับคนในยุคปัจจุบัน คือ การส่งต่อ Email ที่มีข้อความเนื้อหา หรือรูปภาพที่ไม่เหมาะสม เป็นเท็จ กระทบต่อความมั่นคง หรือลามกอนาจาร ซึ่งหลายคนอาจตั้งคาถามว่า หากมีคนส่ง Email ในลักษณะดังกล่าวมาแล้วเราเก็บไว้จะมีความผิดหรือไม่ ?? ซึ่งถ้าหากเราไม่ส่ง ต่อก็ไม่มีความผิด แต่ก็มีคาถามต่อมาว่าเมื่อเรารู้ว่ามันเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายแล้วเราจะเก็บไว้ทาไม และหากยังคงเก็บไว้แล้วมีเพื่อน สนิทคิดไม่ซอื่ เข้าระบบของเราโดยไม่ได้รับอนุญาตความซวยจะมาเยือนเราได้ อย่าหาว่าไม่เตือน.... *เรียบเรียงโดย นายพุฒพิ งศ์ นิลสุ่ม นิติกรปฏิบัติการ

สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง


กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL

October 2013 : 1

แก้ปัญหำกำรทุจริต ต้องสกิดให้ถึงแก่น* ปัญ หำกำรทุจ ริ ตคอรั ป ชั่น ในระบบกำรบริ ห ำรรำชกำร แผ่นดินในประเทศไทย เป็นปัญหำมำช้ำนำนและยังไม่มีแนวโน้มที่ ดีขึ้น โดยสถำนกำรณ์ภำยในประเทศ ประชำชนส่วนหนึ่งรับได้กับ กำรโกงกินทุจริตคอรัปชั่น ในทำงระหว่ำงประเทศไม่เป็นที่ยอมรับ ในควำมโปร่งใส เห็นได้จำกดัชนีชี้วัดภำพลักษณ์คอร์รัปชั่ น 20 อันดับแรก ประจำปี พ.ศ.2554 ของประเทศในภูมิภำค ASIA PACIFIC ที่ชี้ว่ำประเทศไทยอยู่ในลำดับที่ 15 จำก 20 อันดับ น่ำ คิ ดว่ ำ ทั้ ง ๆ ที่ เ รำมี ร ะบบกำรตรวจสอบกำรทุ จ ริ ต คอรั ป ชั่ น มำกมำย มีกฎหมำยหลำยฉบับ มีองค์กรอิสระทำหน้ำที่ควบคุม ตรวจสอบ แต่ ปั ญ หำก็ ไ ม่ ไ ด้ ล ดลงแต่ ก ลั บ เพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ประเทศไทยกำลังทำอะไรอยู่ !!! เรำเดินหน้ำแก้ปัญหำกันถูกทำง จริง ๆ หรือ ?!!! หำกจะพิ จ ำรณำถึ ง รำกเหง้ ำ เผ่ ำ พั น ธุ์ ข องคอรั ป ชั่ น เรำอำจแบ่ ง กลุ่ ม บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กำรคอรั ป ชั่ น ออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ 1. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐใช้อำนำจหน้ำที่ของตนโดยตรง แสวงหำผลประโยชน์โดยมิชอบ 2. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐร่วมมือกับนัก ธุรกิจในกำรใช้กฎหมำยหรือกำรอำศัยช่องว่ำงทำงกฎหมำยแสวงหำ ผลประโยชน์โดยมิชอบ 3. กลุ่มบุคคลข้อ 2.ร่วมมือกับนักวิชำกำร เพื่อสร้ำงเงื่อนไขให้กำรกระทำต่ำง ๆ มีควำมชอบธรรมโดยอำศัย นโยบำยเหล่ ำ นั้ น แสวงหำผลประโยชน์ ปั จ จุ บั น นิ ย มเรี ย กว่ ำ “การคอรัปชั่นเชิงนโยบาย” (Policy Corruption) กำรคอรั ป ชั่ น ที่ น่ ำ กลั ว ที่ สุ ด ในปั จ จุ บั น น่ ำ จะเป็ น กำรคอรัปชั่นเชิงนโยบำย กำรคอรัปชั่นในข้อ 1 และข้อ 2 นั้นเรำ สำมำรถพิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ ำ กำรด ำเนิ น งำนดั ง กล่ ำ วมี เ จตนำ หรื อ พฤติกรรมที่ส่อไปในทำงทุจริตหรือแสดงข้อสังเกต ให้เห็นได้ว่ำ เกิ ด กำรคอรั ป ชั่ น ขึ้ น จึ ง พอที่ จ ะใช้ ม ำตรกำรด้ ำ นวั ต ถุ วิ สั ย (Objective) คือ กำรควบคุมทำงกำรเมืองใช้กฎหมำยเข้ำจัดกำร แก้ปัญหำได้

เรำมีกฎหมำยเกี่ยวกับกำรปรำบปรำมกำรคอรัปชั่น ประมำณ 12 ฉบั บ ฉบั บ ที่ ส ำคั ญ เช่ น พระรำชบั ญ ญั ติ ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำร ทุจริต พ.ศ. 2542 พระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงิน พ.ศ. 2542 พระรำชบัญ ญัติว่ำด้วยควำมผิ ด เกี่ ยวกับ กำรเสนอรำคำต่อ หน่ว ยงำนของรั ฐ พ.ศ. 2542 พระรำชบั ญ ญั ติ ก ำรจั ด กำรหุ้ น ส่ ว น และหุ้ น ของรั ฐ มนตรี พ.ศ. 2543 เป็ น ต้ น ซึ่ ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพในกำรป้ อ งกั น และปรำบปรำมกำรทุจริตในระดับหนึ่ง แต่กำรคอรัปชั่น เชิ ง นโยบำยในข้ อ 3 นั้ น เป็ น กำรคอรั ป ชั่ น ที่ ส ร้ ำ งขึ้ น มำ ในนำมควำมชอบธรรม กล่ ำ วคื อ มี ก ำรออกนโยบำย หรื อ กฎหมำยที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ ส ำมำรถเอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ กำรนำไปใช้เป็นเครื่องมือในกำรดำเนินกำรคอรัปชั่นของกลุ่ม บุคคลต่ำง ๆ ได้ในภำยหลัง ดังนั้น กำรคอรัปชั่นในลักษณะนี้ ถูกตรวจสอบได้ยำก

*เรียบเรียงโดย นายพรหมพิริยะ พรสุข นิติกร

สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง


สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

กำรแก้ ปั ญ หำน่ ำ จะมี อ ยู่ เ พี ย งประกำรเดี ย วเท่ ำ นั้ น คื อ แก้ ที่ ค วามคิ ด ของบุ ค คล โดยอำจจะใช้ ม ำตรกำร ด้ำนอัตวิสัย (Subjective) คือ ถ่ำยทอดปลูกฝังค่ำนิยม หรือรณรงค์ให้คนทำดีมีศีลธรรม ซึ่งดูประหนึ่งคล้ำยกับว่ำ “อมพระมำพูด” ไม่น่ำจะแก้ปัญหำนี้ได้ แต่ก็ต้องยอมรับว่ำนั่นเป็นกำรแก้ปัญหำที่รำกฐำนของจิตของคนในชำติ เป็นกำรแก้ปัญหำที่ถูกตรงที่สุด แต่ต้องมีกำรดำเนินกำรอย่ำงจริงจังและต่อเนื่องอย่ำงไม่ขำดสำย กำรแก้ปัญหำคอรัปชั่นจำเป็นจะต้องรู้ถึงมูลเหตุของกำรคอรัปชั่นก่อน กำรคอรัปชั่นมีมูลเหตุหลำยอย่ำง เช่น โครงสร้ำง ทำงกำรเมืองและสังคมมีควำมไม่เป็นธรรม (กำรเมืองเต็มไปด้วยกำรทุจริต เศรษฐกิจทำให้เกิดช่องว่ำงทำงเศรษฐกิจ สังคมมีปัญหำ มำกมำย ศีลธรรมตกต่ำ คนในสังคมแตกควำมสำมัคคี), วัฒนธรรมประชำธิปไตยไม่หยั่งรำกลึก (เพิกเฉยต่อกำรทุจริตคอรัปชั่น), ค่ำนิยมและจิตสำนึกของคนในชำติวิปริต (ยอมรับได้กับกำรทุจริตคอรัปชั่น), ควำมไม่เคร่งครัดในกำรบังคับใช้กฎหมำย (กำรบังคับ ใช้กฎหมำยสองมำตรฐำน,องค์กรอิสระขำดควำมเข้มแข็ง) และระบบอุปถัมภ์ สิ่งเหล่ำนี้เป็นปัจจัยสำคัญที่เอื้อให้เกิดกำรทุจริต คอรัปชั่น หลำยปีมำนี้มีควำมพยำยำมแก้ปัญหำกำรคอรัปชั่นโดยกำรลดควำมเข้มข้นของเหตุปัจจัยเหล่ำนี้ลงจนถึงหมดไปในที่สุดซึ่ง เป็นแนวควำมคิดที่มีเหตุผลมำกเพรำะภำยใต้บรรยำกำศของสังคมที่เต็มไปด้วยควำม อยุติธรรม เรำคงไม่สำมำรถรณรงค์ให้คนเป็นคนดีมีศีลธรรมร่วมกันต่อต้ำนกำรทุจริตคอรัปชั่นกับเรำได้ ต้องเปลี่ยนความคิดของ ประชำชนที่ได้รับกำรสะสมบ่มเพำะมำจำกควำมเสื่อมของสังคม ควรจะระดมสรรพกำลังในกำรฟื้นฟูศีลธรรมผ่ำนระบบกำรศึกษำ ของประเทศภำยใต้ฐำนคิดที่ว่ำ “ความรู้คือคุณธรรม (Knowledge is Virtue)” ยิ่งกว่ำฐำนคิดที่ว่ำ “ความรู้คือพลัง (Knowledge is Power)”

สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.