Music Journal February 2021

Page 1


PENINSULA MOMENTS At The Peninsula Bangkok, world-class hospitality enriched with compelling Thai cultural experiences creates perfect memorable moments.



Volume 26 No. 6 February 2021

สวั​ัสดี​ีผู้​้�อ่​่านเพลงดนตรี​ีทุ​ุกท่​่าน เพลงดนตรี​ีฉบั​ับเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ขอ นำำ�เสนอเรื่​่�องราวเกี่​่�ยวกั​ับพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ูดนตรี​ี ไทย ในบทความ Cover Story โดย บทความได้​้กล่​่าวถึ​ึงความสำำ�คั​ัญและที่​่�มา ของพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ู ตลอดจนรายละเอี​ียดและ ขั้​้�นตอนต่​่าง ๆ ของพิ​ิธี​ีกรรม ในส่​่วนของบทความ Dean’s Vision นำำ� เสนอการปรั​ับตั​ัวของวิ​ิทยาลั​ัยในด้​้านต่​่าง ๆ ทั้​้�งด้​้านการเรี​ียนการสอน ด้​้านกิ​ิจกรรม และงานเพื่​่�อสั​ังคม ในช่​่วงของการระบาด ของโควิ​ิด-๑๙ ที่​่�ผ่​่านมา ผู้​้�อ่​่านที่​่�ติ​ิดตามชี​ีวิติ ของคี​ีตกวี​ีดังั ระดั​ับ โลก Johann Sebastian Bach ในฉบั​ับ นี้​้�เป็​็นช่​่วงชี​ีวิ​ิตของบาค ณ เมื​ือง Leipzig ซึ่​่�งเป็​็นช่​่วงสุ​ุดท้​้ายของเขา ในช่​่วงเวลานี้​้� เขาได้​้ทุ่​่�มเทให้​้กับั การประพั​ันธ์​์ดนตรี​ีแบบ

เจ้าของ

ฝ่​่ายภาพ

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คนึงนิจ ทองใบอ่อน

บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ

จรูญ กะการดี นรเศรษฐ์ รังหอม

หัวหน้ากองบรรณาธิการ

พิสูจน์อักษรและรูปเล่ม

ธั​ัญญวรรณ รั​ัตนภพ

ธัญญวรรณ รัตนภพ

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

เว็บมาสเตอร์

ภรณ์ทิพย์ สายพานทอง

Kyle Fyr

ฝ่ายศิลป์

เคาน์​์เตอร์​์พอยท์​์ และได้​้เสี​ียชี​ีวิติ ในปี​ี ค.ศ. ๑๗๕๐ ในวั​ัย ๖๕ ปี​ี สำำ�หรั​ับรายละเอี​ียด เกี่​่�ยวกั​ับบทประพั​ันธ์​์และบทสรุ​ุปของชี​ีวิติ คี​ีตกวี​ีท่า่ นนี้​้� สามารถพลิ​ิกไปอ่​่านได้​้ในเล่​่ม ในคอลั​ัมน์​์ Music Therapy นำำ�เสนอ บทความเกี่​่�ยวกั​ับงานวิ​ิจัยั ด้​้านดนตรี​ีบำำ�บัดั โดยงานวิ​ิจั​ัยได้​้ศึ​ึกษาการตอบสนองของ นั​ักเรี​ียนในระดั​ับมั​ัธยมศึ​ึกษาตอนต้​้นที่​่�มี​ี ต่​่อการฟั​ังดนตรี​ีแบบต่​่าง ๆ ปิ​ิดท้​้ายด้​้วยบทความรี​ีวิ​ิวการแสดง ละครเวที​ีแบบออนไลน์​์ ตอบรั​ับกั​ับการดำำ�รง ชี​ีวิติ แบบ New Normal การจั​ัดการแสดง ทำำ�อย่​่างไร สามารถติ​ิดตามในคอลั​ัมน์​์รีวิี วิ ดวงฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิริ​ิ ิ

สำำ�นั​ักงาน

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วารสารเพลงดนตรี) ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่​่อ ๓๒๐๕ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ musicmujournal@gmail.com

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส�ำหรับข้อเขียนที่ได้รับการ พิจารณา กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะปรับปรุงเพื่อความเหมาะสม โดยรักษาหลักการและแนวคิดของผู้เขียนแต่ละท่านไว้ ข้อเขียน และบทความที่ตีพิมพ์ ถือเป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ขอรับผิดชอบบทความนั้น


สารบั ญ Contents Dean’s Vision

Musicology

Music Therapy

04

32

52

วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์: การปรั​ับตั​ัวอย่​่างสร้​้างสรรค์​์ ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen)

Cover Story

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๒: ชี​ีวิ​ิตและผลงานของ Black Mozart ผู้​้�ที่​่�ทำำ�ให้​้ปารี​ีส เป็​็นเมกกะของซิ​ิมโฟนี​ี กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart)

Thai and Oriental Music

Self-Reported Distractions of Middle School Students in Listening to Music and Prose Parintorn Pankaew (ปริ​ิญธร ป่​่านแก้​้ว)

Review

06

พิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูดนตรี​ีไทย เอกพสิ​ิษฐ์​์ พชรกุ​ุศลพงศ์​์ (Ekpasit Pacharakusolphong)

Music Entertainment

36

แคนประยุ​ุกต์​์ เทพภมร ดาวรุ่​่�ง ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin)

The Bach Journey

14

“เรื่​่�องเล่​่าเบาสมองสนองปั​ัญญา” เพลงไทยสากล-เนื้​้�อร้​้องจาก วรรณคดี​ี (ตอนที่​่� ๗) หลายหลากวรรณคดี​ีไทย ๐๑ กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya)

40

ตามรอยเส้​้นทาง Bach (ตอนที่​่� ๒๗) ฮิ​ิโรชิ​ิ มะซึ​ึชิ​ิม่​่า (Hiroshi Matsushima)

54

A Chorus Online: ละครเวที​ียุ​ุค New Normal ช่​่อลดา สุ​ุริ​ิยะโยธิ​ิน (Chorlada Suriyayothin)


DEAN’S VISION

วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์: การปรั​ับตั​ัวอย่​่างสร้​้างสรรค์​์ เรื่​่�อง: ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen) คณบดี​ีวิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

ในช่​่ ว งที่​่�ผ่​่ า นมา วิ​ิ ท ยาลั​ั ย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ได้​้มี​ีการปรั​ับรู​ูปแบบ ของการเรี​ียนการสอนอี​ีกครั้​้�ง การ แพร่​่ระบาดระลอกใหม่​่ทำำ�ให้​้วิทิ ยาลั​ัย มี​ีความจำำ�เป็​็นต้​้องเปลี่​่�ยนช่​่วงเวลา ของการเปิ​ิด-ปิ​ิดภาคเรี​ียน ความ จำำ�เป็​็นครั้​้�งนี้​้�สื​ืบเนื่​่�องมาจากความ ห่​่วงใยในความปลอดภั​ัยของนั​ักศึ​ึกษา และบุ​ุคลากรของวิ​ิทยาลั​ัย และ ประสิ​ิทธิ​ิภาพของการเรี​ียนการสอน เนื่​่�องจากวิ​ิทยาลั​ัยเองไม่​่สามารถปล่​่อย ให้​้ประสิ​ิทธิ​ิภาพและประสิ​ิทธิ​ิผลของ การเรี​ียนการสอนแย่​่ลงจากการเรี​ียน การสอนที่​่�ไม่​่เหมาะสมได้​้ การเรี​ียน การสอน online อาจจะเป็​็นรู​ูปแบบ ทางเลื​ือกให้​้แก่​่หลาย ๆ สาขาวิ​ิชา แต่​่ทางด้​้านดนตรี​ีแล้​้ว มี​ีข้อ้ จำำ�กั​ัดเป็​็น อย่​่างยิ่​่�ง ไม่​่สามารถสร้​้างมาตรฐาน ที่​่�ดี​ีเช่​่นเดี​ียวกั​ับการเรี​ียนการสอน แบบ onsite ได้​้ จึ​ึงทำำ�ให้​้วิ​ิทยาลั​ัย ตั​ัดสิ​ินใจประกาศหยุ​ุดการเรี​ียนการ สอนในเดื​ือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ หลั​ังจากการหยุ​ุดในช่​่วงเทศกาลปี​ี ใหม่​่ที่​่�ผ่​่านมา แน่​่นอนการตั​ัดสิ​ินใจ แบบนี้​้�อาจส่​่งผลกระทบในหลาย ๆ ด้​้าน ทั้​้�งด้​้านดี​ีและด้​้านไม่​่ดี​ี แต่​่ทาง วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ยั​ังคงมั่​่�นใจ ว่​่าการปรั​ับเปลี่​่�ยนในครั้​้�งนี้​้�จะเป็​็นผล ดี​ีที่​่�สุดุ สำำ�หรั​ับมาตรฐานการเรี​ียนการ สอนของนั​ักศึ​ึกษาทุ​ุกคน 04

ถึ​ึงแม้​้ว่า่ จะมี​ีการแพร่​่ระบาดเป็​็น วงกว้​้างในครั้​้�งใหม่​่นี้​้� แต่​่วิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ไม่​่เคยหยุ​ุดนิ่​่�งในการ พั​ัฒนา โดยวิ​ิทยาลั​ัยได้​้มีกี ารวางแผน งานสร้​้างเครื​ือข่​่ายและขยายงาน ออกไป ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นการเชื่​่�อมโยง กั​ับจั​ังหวั​ัดนครปฐมเพื่​่�อผลั​ักดั​ัน โครงการนครปฐมเมื​ืองดนตรี​ีของ UNESCO ซึ่ง่� ได้​้ริ​ิเริ่​่�มขึ้​้�นตั้​้�งแต่​่สมั​ัย ท่​่านผู้​้�ว่​่าราชการจั​ังหวั​ัด ชาญนะ

เอี่​่�ยมแสง และได้​้เป็​็นโครงการต่​่อ เนื่​่�องเพื่​่�อทำำ�ให้​้สำำ�เร็​็จโดยท่​่านผู้​้�ว่​่า ราชการจั​ังหวั​ัด สุ​ุรศั​ักดิ์​์� เจริ​ิญศิ​ิริโิ ชค ด้​้วยความร่​่วมมื​ือร่​่วมแรงของทั้​้�ง หน่​่วยงานราชการในจั​ังหวั​ัดและ หน่​่วยงานภาคการศึ​ึกษาของจั​ังหวั​ัด ผมมี​ีความเชื่​่�อมั่​่�นว่​่านครปฐมจะเป็​็น ตั​ัวแทนประเทศไทยเพื่​่�อไปเข้​้ารั​ับการ คั​ัดเลื​ือกเป็​็นเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์ของ UNESCO ได้​้อย่​่างแน่​่นอน เพราะใน


ขณะนี้​้�โครงการได้​้เริ่​่�มส่​่งผลกระทบ ที่​่�ดี​ีแก่​่ประชาชน ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นด้​้าน การสร้​้างกิ​ิจกรรมทางด้​้านดนตรี​ี เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมสุ​ุขภาวะของสั​ังคมและ ชุ​ุมชน และการเตรี​ียมการพั​ัฒนา พื้​้�นที่​่�เพื่​่�อรองรั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงใน จั​ังหวั​ัดโครงการนี้​้�จะช่​่วยสร้​้างรายได้​้ ให้​้แก่​่ชุมุ ชน จากการพั​ัฒนากิ​ิจกรรม ดนตรี​ีเพื่​่�อเป็​็นจุ​ุดหมายให้​้หลาย ๆ คนที่​่�มี​ีความรั​ักในเสี​ียงดนตรี​ีได้​้เข้​้า มาร่​่วมงานและสร้​้างรายได้​้ให้​้ชุมุ ชน ยกตั​ัวอย่​่างเช่​่น ภารกิ​ิจที่​่�วิ​ิทยาลั​ัยได้​้ ทำำ�ในการพั​ัฒนากิ​ิจกรรมการแสดง เรื่​่�องหุ่​่�นไม้​้จันั ทร์​์หอม ซึ่​่�งได้​้ร่ว่ มมื​ือ กั​ับศิ​ิลปิ​ินที่​่�หลากหลายในการเตรี​ียม

การแสดง เปิ​ิดเป็​็นพื้​้�นที่​่�ในการสร้​้าง งาน สร้​้างสรรค์​์ผลงาน และแลก เปลี่​่�ยนองค์​์ความรู้​้�ในหมู่​่�ศิ​ิลปิ​ิน เราได้​้เข้​้าไปร่​่วมงานกั​ับชาวบ้​้านใน จั​ังหวั​ัดนครปฐม เช่​่น กลุ่​่�มที่​่�ทำำ�ผ้​้า มั​ัดย้​้อมในการใช้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ชาว บ้​้านได้​้ทำำ�เพื่​่�อเอามาสร้​้างงาน สร้​้าง มู​ูลค่​่าให้​้แก่​่ชุมุ ชน ถึ​ึงแม้​้ว่า่ โครงการ นี้​้�จะต้​้องมี​ีการเลื่​่�อนการแสดงออก ไปเนื่​่�องจากสถานการณ์​์โควิ​ิด-๑๙ แต่​่ทางวิ​ิทยาลั​ัยและผู้​้�จั​ัดการแสดง ทุ​ุกคนยั​ังเตรี​ียมพร้​้อมและเตรี​ียม ตั​ัวในการจั​ัดการแสดงนี้​้�ให้​้เกิ​ิดขึ้​้�น ในระยะเวลาอั​ันใกล้​้นี้​้� จากเรื่​่�องราวที่​่�ยกตั​ัวอย่​่างข้​้างต้​้น

จะเห็​็นได้​้ว่า่ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ไม่​่ เคยหยุ​ุดในการที่​่�จะสร้​้างสรรค์​์ผลงาน เพื่​่�อทำำ�ประโยชน์​์ให้​้แก่​่นักั ศึ​ึกษาและ สั​ังคมให้​้ได้​้มากที่​่�สุ​ุดเท่​่าที่​่�จะมากได้​้ แน่​่นอนการทำำ�งานเป็​็นไปด้​้วยความ ยากลำำ�บากมากขึ้​้�น เมื่​่�อมี​ีโรคระบาด เข้​้ามาแทรกแซง แต่​่ถ้​้ามองในอี​ีก มุ​ุมหนึ่​่�งก็​็จะเห็​็นได้​้ว่​่า การทำำ�งาน ที่​่�ยากขึ้​้�นทำำ�ให้​้เราเรี​ียนรู้​้�ว่​่าสิ่​่�งที่​่�เรา ทำำ�นั้​้�นสำำ�คั​ัญมากแค่​่ไหน เพราะเมื่​่�อ เราย่​่อท้​้อ เราจะไม่​่สามารถทำำ�อะไร ได้​้เลย เมื่​่�อเราแค่​่รอให้​้สิ่​่�งร้​้าย ๆ ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นผ่​่านพ้​้นไปโดยไม่​่ทำำ�อะไร เลย จะทำำ�ให้​้เราล้​้าหลั​ัง เราจึ​ึงต้​้อง เคลื่​่�อนไหวและพั​ัฒนาอยู่​่�ตลอดเวลา ไม่​่ว่า่ สถานการณ์​์จะเป็​็นเช่​่นไร ความ มุ่​่�งมั่​่�นจะทำำ�ให้​้เราก้​้าวผ่​่านเรื่​่�องต่​่าง ๆ และมี​ีความเข้​้มแข็​็งในองค์​์กรมากขึ้​้�น ในฐานะหนึ่​่�งในผู้​้�นำำ�ทางด้​้านดนตรี​ีของ ประเทศ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์จึ​ึง ต้​้องเป็​็นตั​ัวอย่​่างในการพั​ัฒนาขั​ับ เคลื่​่�อนให้​้แก่​่สั​ังคม หวั​ังว่​่าสั​ังคม จะเห็​็นตั​ัวอย่​่างและช่​่วยกั​ันมุ่​่�งมั่​่�น ในการพั​ัฒนาประเทศของเราต่​่อไป

05


COVER STORY

พิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูดนตรี​ีไทย เรื่​่�อง: เอกพสิ​ิ ษฐ์​์ พชรกุ​ุศลพงศ์​์ (Ekpasit Pacharakusolphong) ผู้​้�ช่​่วยศาสตราจารย์​์ ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา คณะครุ​ุศาสตร์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยราชภั​ัฏพิ​ิบู​ูลสงคราม

ความสำำ�คั​ัญ พิ​ิธี​ีกรรมความเชื่​่�อ สู่​่� การเรี​ียนรู้​้� เมื่​่�อกล่​่าวถึ​ึงความเป็​็นหน้​้าตา ในความเป็​็นชาติ​ิบ้​้านเมื​ือง ดนตรี​ี ไทยก็​็จะได้​้รั​ับการกล่​่าวถึ​ึงว่​่าเป็​็น ส่​่วนหนึ่​่�งและเป็​็นสิ่​่�งที่​่�เชิ​ิดหน้​้าชู​ูตา ในระดั​ับชาติ​ิที่​่�ออกสู่​่�สั​ังคมโลกได้​้ เป็​็นอย่​่างดี​ี ดนตรี​ีไทยเป็​็นสิ่​่�งที่​่� แสดงความออกถึ​ึงความเป็​็นชาติ​ิ เป็​็นผู้​้�มี​ีวั​ัฒนธรรมได้​้เฉกเช่​่นศิ​ิลปะ 06

ด้​้านอื่​่�น ๆ ไม่​่ว่​่าจะเป็​็น นาฏศิ​ิลป์​์ ไทย ศิ​ิลปะไทย จิ​ิตรกรรมไทย ประติ​ิมากรรมไทย อาหารไทย การ แต่​่งกายแบบไทยตามยุ​ุคสมั​ัยต่​่าง ๆ เหล่​่านี้​้�เป็​็นต้​้น แต่​่ดนตรี​ีไทยเมื่​่�ออยู่​่� ภายในบ้​้านตั​ัวเอง เป็​็นได้​้แค่​่เพี​ียง ตั​ัวประกอบ เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งที่​่�เข้​้า ประกอบกั​ับศิ​ิลปะอื่​่�น ๆ เช่​่น เข้​้า ประกอบการแสดงนาฏกรรมไทย ดนตรี​ี ไ ทยก็​็ เ ป็​็ น เพี​ี ย งแค่​่ ด นตรี​ี

ประกอบการแสดง ดนตรี​ีไทยเมื่​่�อ เข้​้าทำำ�ประกอบกั​ับพิ​ิธี​ีกรรม ดนตรี​ี ไทยก็​็เป็​็นได้​้แค่​่เพี​ียงดนตรี​ีประกอบ พิ​ิธี​ี ดนตรี​ีไทยไม่​่สามารถเป็​็นอยู่​่�คื​ือ ด้​้วยตั​ัวของตั​ัวเอง เปรี​ียบเปรยได้​้ว่า่ อยู่​่�ด้​้วยลำำ�แข้​้งของตั​ัวเองไม่​่ได้​้ ซึ่ง่� ใน ความเป็​็นจริ​ิง ดนตรี​ีไทยยั​ังมี​ีบทบาท ของตนที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�โดนมองข้​้ามความ สำำ�คั​ัญไป คื​ือ ดนตรี​ีเพื่​่�อการฟั​ัง ดนตรี​ีไทยเพื่​่�อการฟั​ัง ในความ


คุ​ุณครู​ูหลวงประดิ​ิษฐไพเราะ (ศร ศิ​ิลปบรรเลง)

เป็​็นจริ​ิงมี​ีอยู่​่�หรื​ือไม่​่ ตอบได้​้ว่า่ ดนตรี​ี ไทยเพื่​่�อการฟั​ังนั้​้�นมี​ีจริ​ิงและเป็​็น ที่​่�นิ​ิยมมาเป็​็นเวลากว่​่าร้​้อยปี​ี แต่​่ ปั​ัจจุ​ุบันั ดนตรี​ีเพื่​่�อการฟั​ังไปอยู่​่�ส่​่วน ไหนในสั​ังคมของคนไทย ไม่​่ได้​้มี​ี สำำ�หรั​ับคนไทย ไม่​่ได้​้รั​ับใช้​้สั​ังคม ไทยโดยทั่​่�วไปหรอกหรื​ือ และหรื​ือ มี​ีไว้​้สำำ�หรั​ับคนไทยบางกลุ่​่�มเท่​่านั้​้�น สั​ังคมไทยไม่​่ได้​้มีดี นตรี​ีไทยไว้​้เพื่​่�อการ ฟั​ัง ปั​ัจจุ​ุบั​ันในคน ๑๐๐ คนอาจจะ ฟั​ังเพลงดนตรี​ีไทยไม่​่เป็​็นเลยสั​ักคน เดี​ียว ดนตรี​ีไทยเพื่​่�อการฟั​ัง ดนตรี​ี ไทยเพื่​่�อรั​ับใช้​้สั​ังคม เป็​็นดนตรี​ีไทย ที่​่�ยั​ังไม่​่แพร่​่หลาย ดนตรี​ีไทยจึ​ึงเป็​็น เพี​ียงองค์​์ประกอบในดนตรี​ีประกอบ การแสดง ดนตรี​ีประกอบพิ​ิธีกี รรม แต่​่ กระนั้​้�นดนตรี​ีไทยก็​็ยังั ให้​้ความสำำ�คั​ัญ ในการถ่​่ า ยทอดการเรี​ี ย นรู้​้�ใน ด้​้านของทำำ�นองเพลง การมี​ีข้​้อ กำำ�หนด มี​ีกำำ�แพงที่​่�จะก้​้าวข้​้ามผ่​่าน เข้​้าสู่​่�ความเป็​็นดนตรี​ีไทยได้​้พั​ัฒนา

ยกระดั​ับจากการเรี​ียนรู้​้�อยู่​่�กั​ับบ้​้าน มาเป็​็นการเรี​ียนรู้​้�ในสำำ�นั​ักดนตรี​ี การ ได้​้พั​ัฒนายกระดั​ับจากบ้​้านจากวั​ัด เข้​้าสู่​่�ภายในรั้​้�วในวั​ัง คนเล่​่นดนตรี​ี ไทยที่​่�มี​ีฝีมืี ือ มี​ีชื่​่�อเสี​ียง ก็​็ได้​้รั​ับการ สนั​ับสนุ​ุนจากเจ้​้านายชั้​้�นสู​ูง จึ​ึงทำำ�ให้​้ ดนตรี​ีไทยอยู่​่�ยงคงกระพั​ันมาได้​้จนถึ​ึง ปั​ัจจุ​ุบันั ซึ่ง่� ไม่​่สามารถปฏิ​ิเสธได้​้เลย ว่​่าดนตรี​ีไทยนั้​้�นอยู่​่�ในระบบอุ​ุปถั​ัมภ์​์ มาโดยตลอด ดนตรี​ีไทยจากบ้​้านสู่​่� วั​ัด สู่​่�วั​ัง สู่​่�ปั​ัจจุ​ุบั​ัน ดนตรี​ีไทยนั้​้�น พั​ัฒนาการเรี​ียนรู้​้�จนถึ​ึงระดั​ับปริ​ิญญา เอก แต่​่ข้อ้ จำำ�กั​ัดของดนตรี​ีไทยกลั​ับ ถู​ูกจำำ�กั​ัดในพื้​้�นที่​่�การศึ​ึกษาอี​ีก การ ศึ​ึกษาในระดั​ับปริ​ิญญาโทหรื​ือมหา บั​ัณฑิ​ิต ในระดั​ับปริ​ิญญาเอกหรื​ือที่​่� เรี​ียกว่​่าดุ​ุษฎี​ีบัณ ั ฑิ​ิต ก็​็ไม่​่สามารถที่​่� จะมี​ีสถานศึ​ึกษาหรื​ือมหาวิ​ิทยาลั​ัยใด เปิ​ิดสอนทางด้​้านดนตรี​ีปฏิ​ิบัติั หิ รื​ือที่​่� เรี​ียกว่​่า performance คื​ือนั​ักปฏิ​ิบัติั ิ ปี่​่�พาทย์​์ นั​ักปฏิ​ิบัติั ริ ะนาด นั​ักปฏิ​ิบัติั ิ

ขั​ับร้​้องเพลงไทย วงวิ​ิชาการศึ​ึกษาใน เมื​ืองไทยนั้​้�น อาจจะมองเห็​็นค่​่าของ การเป็​็นนั​ักร้​้องเล่​่นเต้​้นกิ​ินรำ��กินิ ที่​่�ไม่​่ สามารถเป็​็นนั​ักปฏิ​ิบัติั ใิ นระดั​ับดุ​ุษฎี​ี บั​ัณฑิ​ิตหรื​ือมหาบั​ัณฑิ​ิตได้​้ ถ้​้าเที​ียบ กั​ับศาสตร์​์ในสาขาอื่​่�น ๆ หรื​ือจะเที​ียบ กั​ับดนตรี​ีทางภาคพื้​้�นตะวั​ันตกหรื​ือ ภาคพื้​้�นยุ​ุโรปที่​่�สามารถเรี​ียนในด้​้าน เอกปฏิ​ิบั​ัติ​ิ (performance) จนถึ​ึง ระดั​ับดุ​ุษฎี​ีบัณ ั ฑิ​ิตได้​้ ในประเทศไทย ก็​็มีผู้​้�ที่​่� ี จบจากต่​่างประเทศที่​่�เป็​็นดุ​ุษฎี​ี บั​ัณฑิ​ิตทางด้​้านปฏิ​ิบั​ัติ​ิ เช่​่น เปี​ียโน แซกโซโฟน หรื​ือแม้​้กระทั่​่�งการขั​ับร้​้อง มองกลั​ับมาที่​่�ดนตรี​ีไทยซึ่​่�งเราเป็​็น เจ้​้าของศาสตร์​์ดนตรี​ีไทยเอง แต่​่มิไิ ด้​้ สามารถที่​่�จะทำำ�ให้​้เกิ​ิดการเป็​็นนั​ัก ดนตรี​ีปฏิ​ิบัติั ิ (performance) ดุ​ุษฎี​ี บั​ัณฑิ​ิตระนาดเอก ดุ​ุษฎี​ีบั​ัณฑิ​ิตซอ สามสาย ดุ​ุษฎี​ีบั​ัณฑิ​ิตฆ้​้องวง ดุ​ุษฎี​ี บั​ัณฑิ​ิตซอด้​้วง ดุ​ุษฎี​ีบั​ัณฑิ​ิตจะเข้​้ ดุ​ุษฎี​ีบัณ ั ฑิ​ิตซออู้​้� หรื​ือแม้​้แต่​่กระทั่​่�ง ขั​ับร้​้องไทย ถ้​้าเราไม่​่สามารถสร้​้าง หลั​ักสู​ูตรเพื่​่�อรองรั​ับนั​ักดนตรี​ีไทยให้​้ ขึ้​้�นสู่​่�ระดั​ับสู​ูงสุ​ุดทางการศึ​ึกษาได้​้ ต่​่อ ไปในอนาคตกาล คนไทยเราอาจจะ ต้​้องไปเรี​ียนปริ​ิญญาเอกดุ​ุษฎี​ีบัณ ั ฑิ​ิต ด้​้านปฏิ​ิบัติั ดิ นตรี​ีไทยในมหาวิ​ิทยาลั​ัย ต่​่างประเทศก็​็เป็​็นได้​้ พิ​ิธีกี รรมความเชื่​่�อที่​่�เกี่​่�ยวเนื่​่�อง อยู่​่�กั​ับดนตรี​ีไทยที่​่�ประชากรหรื​ือคนใน แวดวงดนตรี​ีไทยให้​้ความสำำ�คั​ัญอย่​่าง ยิ่​่�ง คื​ือ พิ​ิธีกี รรมไหว้​้ครู​ู ซึ่​่�งพิ​ิธีกี รรม ไหว้​้ครู​ูของดนตรี​ีไทยเป็​็นพิ​ิธีกี รรมที่​่� เกี่​่�ยวเนื่​่�องด้​้วยคติ​ิความเชื่​่�อ มี​ีนั​ัย แอบแฝงซ่​่อนเร้​้นอยู่​่� กล่​่าวคื​ือ ๑. ความเชื่​่�อในความกตเวทิ​ิตา คุ​ุณ ๒. ความเชื่​่�อในความศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์� ๓. การดำำ�รงอยู่​่�ซึ่ง่� ความอยู่​่�รอด สามสิ่​่�งนี้​้�เป็​็ นสิ่​่�งที่​่�คนดนตรี​ี ไทยมี​ีเป็​็นคุ​ุณสมบั​ัติ​ิประจำำ�ตนที่​่�หา ใครเสมอเหมื​ือนมิ​ิได้​้ อี​ีกทั้​้�งยั​ังแฝง ด้​้วยมายาคติ​ิต้อ้ งห้​้ามสำำ�หรั​ับบุ​ุคคล 07


สิ่​่�งของคาวหวานเซ่​่นไหว้​้บู​ูชาครู​ู

สำำ�หรั​ับเพศ สำำ�หรั​ับวั​ัย ดนตรี​ีไทยจึ​ึง เป็​็นสิ่​่�งไกลตั​ัวผู้​้�คน เป็​็นเรื่​่�องเฉพาะ คนในสายเลื​ือด พ่​่อกั​ับลู​ูก เฉพาะ เครื​ือญาติ​ิ ถ้​้าไม่​่อยู่​่�ในวงศ์​์วานก็​็ต้อ้ ง มาฝากตั​ัวเป็​็นศิ​ิษย์​์ เป็​็นเรื่​่�องเฉพาะ ครู​ูกั​ับศิ​ิษย์​์ ตราบจนถึ​ึงทุ​ุกวั​ันนี้​้�ไม่​่ เปลี่​่�ยนแปลง คุ​ุณลั​ักษณะของดนตรี​ี ไทยเป็​็นศาสตร์​์ที่​่�มีวิี ถีิ คี วามเชื่​่�อต่​่าง ๆ ที่​่�เป็​็นคติ​ิยึ​ึดมั่​่�นถื​ือมั่​่�น บางอย่​่างก็​็ ยั​ังคงไว้​้อย่​่างมั่​่�นคง บางอย่​่างก็​็ถู​ูก ปรั​ับปรนให้​้สมสมั​ัย บางอย่​่างก็​็ถู​ูก ละทิ้​้�งไป ความสำำ�คั​ัญของพิ​ิธี​ีกรรม ความเชื่​่�อยั​ังคงอยู่​่�ในแง่​่ของคติ​ิแบบ พระพุ​ุทธศาสนา คื​ือ ความกตั​ัญญู​ู กตเวทิ​ิตา ซึ่ง่� เป็​็นของคู่​่�กั​ันที่​่�มี​ีมาแต่​่ บรรพชนของคนไทย รวมมาถึ​ึงคน ดนตรี​ีไทยนั้​้�นเป็​็นผู้​้�ที่​่�มี​ีความกตั​ัญญู​ู เป็​็นเลิ​ิศ กล่​่าวกั​ันว่​่า เป็​็นผู้​้�มี​ีความ รู้​้�คุณ ุ เป็​็นผู้​้�มี​ีความกตเวทิ​ิตาคุ​ุณ และ เป็​็นผู้​้�ตอบแทนคุ​ุณต่​่อผู้​้�มี​ีพระคุ​ุณเป็​็น 08

อย่​่างดี​ี ในพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ูจึงึ มี​ีพิธีิ กี รรมที่​่� สื​ืบทอดกั​ันมาที่​่�มั​ักจะกระทำำ�ควบคู่​่� กั​ันคื​ือการบำำ�เพ็​็ญอุ​ุทิ​ิศส่​่วนกุ​ุศลให้​้ แก่​่ครู​ูบูรู พคณาจารย์​์บุพุ การี​ี ซึ่​่�งมั​ัก จะกระทำำ�กั​ันอยู่​่�ตลอดทั้​้�งปี​ี ไม่​่ต้​้อง รอถึ​ึงวั​ันไหว้​้ครู​ู ส่​่วนการพลี​ีกรรม มั​ักนิ​ิยมทำำ�ปี​ีละ ๑ ครั้​้�ง การพลี​ีกรรมในพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูก็​็มี​ี ลั​ักษณะเช่​่นเดี​ียวกั​ับความเชื่​่�อดั้​้�งเดิ​ิม คื​ือ การเลี้​้�ยงผี​ี การนำำ�สิ่​่�งของที่​่�คิ​ิดว่​่า เป็​็นสิ่​่�งที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุด สิ่​่�งของเครื่​่�องไหว้​้ที่​่� เป็​็นของกิ​ินได้​้ก็จ็ ะนำำ�สิ่​่�งของเหล่​่านั้​้�น มาบวงสรวงเซ่​่นไหว้​้ ซึ่​่�งสิ่​่�งที่​่�ถู​ูกคั​ัด สรรมาเซ่​่นไหว้​้ ล้​้วนอย่​่างดี​ีเป็​็นของ ชั้​้�นยอด ถ้​้าเป็​็นเนื้​้�อสั​ัตว์​์ก็คั็ ดั สรรใน ส่​่วนที่​่�ถื​ือว่​่าอร่​่อยที่​่�สุ​ุด ดี​ีที่​่�สุ​ุด ยิ่​่�ง เป็​็นของหายากยิ่​่�งถื​ือว่​่าเยี่​่�ยมยอด ขนมนมเนยผลไม้​้ก็​็คั​ัดสรรที่​่�อร่​่อย หอมหวานรสชาติ​ิเป็​็นเลิ​ิศนำำ�มาเซ่​่น ไหว้​้ ความเชื่​่�อเหล่​่านี้​้�ก็​็เป็​็นไปในทาง

ที่​่�เชื่​่�อว่​่า ได้​้กระทำำ�แล้​้ว ได้​้ตอบแทน แล้​้ว ได้​้ไหว้​้ดี​ีพลี​ีถู​ูกย่​่อมได้​้รั​ับผลดี​ี ย่​่อมได้​้รั​ับการตอบแทนในสิ่​่�งที่​่�ดี​ี ๆ ย่​่อมเกิ​ิดผลดี​ีต่​่อไปในการภาคหน้​้า ด้​้วยความเชื่​่�อที่​่�ว่​่า ดนตรี​ีนั้​้�นสามารถ เลี้​้�ยงชี​ีพได้​้มาตลอดทั้​้�งปี​ี การบำำ�บวง สรวงเซ่​่นไหว้​้ตอบแทนก็​็เป็​็นกตเวทิ​ิตา คุ​ุณอย่​่างหนึ่​่�ง ทำำ�แล้​้วเกิ​ิดความสุ​ุข กายสบายใจ และก็​็คิ​ิดว่​่าในปี​ีต่​่อ ๆ ไปภายหน้​้าก็​็จะประสบความสำำ�เร็​็จ ในอาชี​ีพของความเป็​็นนั​ักดนตรี​ีได้​้ ที่​่�กล่​่าวมานี้​้�เป็​็นเพี​ียงอารั​ัมภบท ชี้​้� ให้​้เห็​็นถึ​ึงความสำำ�คั​ัญและที่​่�มาของ สภาพดนตรี​ีไทยกั​ับคติ​ิความเชื่​่�อ แบบย่​่นย่​่อ พอสั​ังเขป ในส่​่วนของพิ​ิธีกี รรมไหว้​้ครู​ูดนตรี​ี ไทยได้​้ปริ​ิวรรตมาโดยตลอดนั​ับเป็​็น เวลา ๑๐๐ ปี​ีที่​่�มี​ีพิ​ิธี​ีกรรมไหว้​้ครู​ู ดนตรี​ีไทยที่​่�ยั​ังไม่​่เป็​็นแบบแผนและ มี​ีหลั​ักฐานไม่​่ชั​ัดเจน หลั​ักฐานจาก


ภาพถ่​่ายและคำำ�บอกเล่​่าเห็​็นจะเป็​็น พิ​ิธีกี รรมไหว้​้ครู​ูเต็​็มรู​ูปแบบของสำำ�นั​ัก ดนตรี​ีบ้​้านบาตร คื​ือ สำำ�นั​ักดนตรี​ี ของคุ​ุณครู​ูหลวงประดิ​ิษฐไพเราะ (ศร ศิ​ิลปบรรเลง) รองลงมาก็​็เป็​็น โรงเรี​ียนนาฏดุ​ุริยิ างค์​์ ซึ่ง่� ต่​่อมาเปลี่​่�ยน เป็​็นวิ​ิทยาลั​ัยนาฏศิ​ิลป หน่​่วยราชการที่​่� เป็​็นสำำ�นั​ักหรื​ือหน่​่วยงานที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบ ทางดนตรี​ีไทย จากกรมมหรสพ กรมพิ​ิณพาทย์​์หลวง จนมาเป็​็นกรม ศิ​ิลปากร เหล่​่านี้​้�เชื่​่�อว่​่ามี​ีการจั​ัดพิ​ิธีไี หว้​้ ครู​ูดนตรี​ีไทยสื​ืบทอดต่​่อกั​ันมา ในส่​่วน ของบ้​้านก็​็คือื ตามสำำ�นั​ักหรื​ือวงดนตรี​ี ที่​่�มี​ีสมาชิ​ิกของวงจำำ�นวนพอสมควร ในทุ​ุก ๆ ปี​ีก็​็จะจั​ัดพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูดนตรี​ี ไทยตามสภาพ แต่​่โดยภาพที่​่�เคย คุ้​้�นเคยวงดนตรี​ีไทยชาวบ้​้านมี​ีการ จั​ัดไหว้​้ครู​ูแต่​่จะไม่​่กระทำำ�กั​ันอย่​่างที่​่� เห็​็นในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ในปี​ีหนึ่​่�ง ๆ หลั​ัง จากที่​่�หมดงาน คำำ�ว่​่าหมดงานก็​็คือื หมดหน้​้างานบวช หมดหน้​้างานศพ แล้​้ว ซึ่​่�งกระทำำ�กั​ันก่​่อนเข้​้าพรรษา เมื่​่�อเข้​้าพรรษาแล้​้วจะเป็​็นช่​่วงหน้​้า ฝน ก็​็จะไม่​่กระทำำ�พิ​ิธี​ีกรรมอะไรที่​่� ต้​้องใช้​้พื้​้�นที่​่�บริ​ิเวณกลางแจ้​้ง ไม่​่ว่​่า จะเป็​็น งานศพ งานบวช ก็​็จะเป็​็น ช่​่วงที่​่�หมดงานหรื​ือพั​ักงาน อี​ีกอย่​่าง คนดนตรี​ีไทยส่​่วนใหญ่​่ก็จ็ ะมี​ีอาชี​ีพอี​ีก อาชี​ีพหนึ่​่�ง คื​ือ อาชี​ีพเกษตรกรรม ทำำ�เรื​ือกสวนไร่​่นา เมื่​่�อเข้​้าหน้​้าฝนก็​็ เป็​็นฤดู​ูการทำำ�นา เป็​็นช่​่วงที่​่�ว่​่างจาก งานปี่​่�พาทย์​์ งานดนตรี​ีปี่​่พ� าทย์​์ที่​่�ทุกุ คนทำำ�มาตลอด ๙ เดื​ือน เก็​็บหอม รอมริ​ิบ โต้​้โผหรื​ือเจ้​้าของวงก็​็จะจั​ัด พิ​ิธี​ีทำำ�บุ​ุญเลี้​้�ยงพระบู​ูชาครู​ู ซึ่​่�งส่​่วน ใหญ่​่วงดนตรี​ีชาวบ้​้านจะไม่​่ได้​้จัดั เป็​็น พิ​ิธีกี รรมเต็​็มรู​ูปแบบอย่​่างที่​่�เห็​็นกั​ัน ตามสถาบั​ันการศึ​ึกษาหรื​ือหน่​่วยงาน ราชการที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบด้​้านดนตรี​ีไทยใน ปั​ัจจุ​ุบันั วงดนตรี​ีไทยชาวบ้​้านเน้​้นไป ที่​่�การทำำ�บุ​ุญอุ​ุทิศิ ส่​่วนกุ​ุศล การแสดง กตเวทิ​ิตาคุ​ุณ คื​ือตอบแทนคุ​ุณครู​ูบา

อาจารย์​์ที่​่�ล่​่วงลั​ับ การเซ่​่นไหว้​้ด้​้วย ข้​้าวปลาอาหารของกิ​ิน โดยมั​ักจะทำำ� ในรู​ูปแบบเลี้​้�ยงพระ การทำำ�บุ​ุญเลี้​้�ยง พระกระทำำ�ในภาคเช้​้า ต่​่อจากนั้​้�นก็​็ กระทำำ�การบู​ูชาครู​ู นั​ักดนตรี​ีส่ว่ นใหญ่​่ นั​ับถื​ือพระพุ​ุทธศาสนาจะมาร่​่วมกั​ัน ทำำ�บุ​ุญเลี้​้�ยงพระภาคเช้​้า อาหารข้​้าว ขั​ันแกงโถมาร่​่วมบุ​ุญกั​ัน ต่​่อจากนั้​้�น ก็​็เป็​็นพิ​ิธี​ีบู​ูชาครู​ู มาร่​่วมด้​้วยช่​่วย กั​ันด้​้วยส้​้มสู​ูกลู​ูกไม้​้ หั​ัวหมู​ูเป็​็ดไก่​่ ใครมี​ีทรั​ัพย์​์มี​ีงบประมาณมากก็​็หิ้​้�ว หากั​ันมาร่​่วมพิ​ิธี​ี เท่​่าที่​่�เคยพบเคย เห็​็นเป็​็นประสบการณ์​์ นอกจากหิ้​้�ว ข้​้าวของเหล่​่านี้​้�มาร่​่วมทำำ�พิ​ิธีแี ล้​้ว ยั​ัง เตรี​ียมภาชนะถาดถ้​้วยโถโอชามมา ด้​้วย เพื่​่�อมาตั้​้�งแต่​่งกั​ันที่​่�หน้​้าปะรำ�� พิ​ิธี​ี ซึ่ง่� ก็​็ไม่​่ได้​้เน้​้นความอลั​ังการใด ๆ และเป็​็นที่​่�สั​ังเกตได้​้ว่​่า พิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ู อย่​่างชาวบ้​้านมั​ักจะไม่​่ค่อ่ ยได้​้บรรเลง ดนตรี​ีปี่​่�พาทย์​์กั​ัน เพราะเหตุ​ุว่​่าทุ​ุก คนรวมทั้​้�งเจ้​้าของเครื่​่�อง เจ้​้าของ

บ้​้าน เจ้​้าของวงดนตรี​ี ก็​็นำำ�เครื่​่�อง ดนตรี​ีมาตั้​้�งแต่​่งผู​ูกผ้​้าสี​ีชมพู​ู คล้​้อง พวงมาลั​ัย นำำ�เที​ียนไขมาติ​ิดที่​่�เครื่​่�อง ดนตรี​ีประเภทเครื่​่�องตี​ี เมื่​่�อจะกล่​่าว คำำ�บู​ูชาไหว้​้ครู​ูและถวายเครื่​่�องเซ่​่น สรวงนั้​้�นก็​็จะจุ​ุดธู​ูปเที​ียน ช่​่วยกั​ัน จุ​ุดเที​ียนที่​่�เครื่​่�องดนตรี​ีที่​่�ปั​ักไว้​้แล้​้ว ก็​็จุ​ุดธู​ูปปั​ักที่​่�สิ่​่�งของที่​่�นำำ�มาไหว้​้ ผู้​้� ที่​่�เป็​็นอาวุ​ุโสที่​่�สุ​ุดในวงดนตรี​ีหรื​ือใน ละแวกหรื​ืออาจจะเป็​็นเจ้​้าของบ้​้าน จะเป็​็นคนกล่​่าวคำำ�บู​ูชาครู​ูสั้​้�น ๆ ไม่​่มี​ี ดนตรี​ี ไม่​่มี​ีเพลงประกอบพิ​ิธี​ีกรรม นั้​้�น ๆ เมื่​่�อเห็​็นว่​่าธู​ูปหมดดอก เป็​็น สั​ัญญาณว่​่าสิ่​่�งของที่​่�ถวายไว้​้นั้​้�น ที่​่�ได้​้ พลี​ีกรรมนั้​้�น ได้​้รั​ับการรั​ับถวายไป แล้​้ว ก็​็จะลาด้​้วยการกล่​่าวคำำ�ลา ขอ อนุ​ุญาตนำำ�สิ่​่�งของที่​่�ได้​้ถวายไว้​้เหล่​่า นี้​้�ไปสามั​ัคคี​ีรส รวมกั​ันฉั​ันมิ​ิตรเป็​็นที่​่� สนุ​ุกสนานเฮฮาร่​่วมกั​ัน เจ้​้าของบ้​้าน หรื​ือเจ้​้าของวงดนตรี​ีก็จ็ ะบอกให้​้ผู้​้�ที่​่� นำำ�สิ่​่�งของมาถวายได้​้นำำ�กลั​ับไปด้​้วย

การจั​ับมื​ือตะโพน

09


การจั​ับมื​ือฆ้​้อง

เพื่​่�อที่​่�จะได้​้ให้​้คนทางบ้​้านของตนได้​้ รั​ับประทาน ซึ่​่�งเชื่​่�อว่​่าสิ่​่�งของไม่​่ว่า่ จะ เป็​็นของคาวหั​ัวหมู​ูเป็​็ดไก่​่ กุ้​้�งหอย ปู​ูปลา ส้​้มสู​ูกลู​ูกไม้​้นานาชนิ​ิดที่​่�นำำ� มาถวายนี้​้� ครู​ูหรื​ือสิ่​่�งศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์�ที่​่�ตน เคารพนั​ับถื​ือได้​้รับั การถวายแล้​้ว ได้​้ พิ​ิจารณาแล้​้ว ได้​้อนุ​ุโมทนาแล้​้ว เป็​็น ของมงคลทั้​้�งสิ้​้�น ดั​ังนี้​้�ก็​็เป็​็นสิ่​่�งหนึ่​่�ง ที่​่�เป็​็นคติ​ิความเชื่​่�อในเรื่​่�องของการ พลี​ีกรรมบำำ�บวงสรวง เปรี​ียบเที​ียบ กั​ับบางประเพณี​ีที่​่�มีกี ารเลี้​้�ยงผี​ี หรื​ือ การรวมญาติ​ิเพื่​่�อจะดื่​่�มกิ​ินร่​่วมกั​ัน ก็​็ เป็​็นอุ​ุบายเพื่​่�อให้​้ทุ​ุกคนได้​้รู้​้�สึ​ึกว่​่ามี​ี ความรั​ักความสามั​ัคคี​ี มี​ีความเป็​็น น้ำำ��หนึ่​่�งใจเดี​ียวกั​ัน มี​ีการบริ​ิจาค มี​ี การเสี​ียสละร่​่วมกั​ัน ซึ่ง่� ปั​ัจจุ​ุบั​ันน่​่า จะเลื​ือนหายไป เมื่​่�อความเจริ​ิญในด้​้านวงวิ​ิชาการ ศึ​ึกษาโดยเฉพาะทางด้​้านดนตรี​ีไทย เข้​้าสู่​่�รั้​้�วสถาบั​ันการศึ​ึกษา จากชุ​ุมนุ​ุม 10

ดนตรี​ีไทยก็​็เป็​็นภาควิ​ิชาดนตรี​ีไทย เป็​็น คณะวิ​ิชาดนตรี​ี เป็​็นวิ​ิทยาลั​ัยดนตรี​ี ดนตรี​ีไทยก็​็เป็​็นอี​ีกสาขาหนึ่​่�งที่​่�ได้​้มี​ี โอกาสมี​ีที่​่�ยืนื ในสถาบั​ันการศึ​ึกษาชั้​้�น นำำ�ของประเทศ พิ​ิธีไี หว้​้ครู​ูดนตรี​ีไทย จึ​ึงถู​ูกนำำ�เข้​้าไปมี​ีบทบาท เป็​็นที่​่�เชิ​ิด หน้​้าชู​ูตา เป็​็นที่​่�ตอบสนองด้​้านการ ประเมิ​ินมาตรฐานของสาขาวิ​ิชา ของคณะวิ​ิชา และของสถาบั​ันการ ศึ​ึกษานั้​้�น ๆ ในแง่​่มุ​ุมของการทำำ�นุ​ุ บำำ�รุ​ุงศิ​ิลปะและวั​ัฒนธรรมดนตรี​ี ไทย เป็​็นตั​ัวชี้​้�วั​ัดในด้​้านการบริ​ิการ วิ​ิชาการ คื​ือ สามารถนำำ�ออกบรรเลง รั​ับใช้​้ชุ​ุมชนสั​ังคมตามที่​่�สั​ังคมและ ชุ​ุมชนนั้​้�น ๆ ต้​้องการ พิ​ิธี​ีกรรมไหว้​้ ครู​ูดนตรี​ีไทยจึ​ึงเข้​้ามามี​ีบทบาทใน สถาบั​ันการศึ​ึกษา จากจั​ัดแบบชาว บ้​้าน ๆ ก็​็เริ่​่�มพั​ัฒนาจั​ัดพิ​ิธี​ีกรรม อย่​่างราชการ อย่​่างรั​ัฐพิ​ิธี​ี รวมทั้​้�ง พระราชพิ​ิธี​ี ที่​่�ได้​้เห็​็นได้​้รู้​้�ก็ล็ อกเลี​ียน

มาในสิ่​่�งที่​่�ควร สิ่​่�งใดที่​่�ไม่​่ควรเราก็​็ จะละไว้​้ สิ่​่�งหนึ่​่�งที่​่�วงดนตรี​ีไทยชาว บ้​้านประกอบการบู​ูชาครู​ูในแต่​่ละปี​ี ไม่​่ได้​้กระทำำ�ก็​็คื​ือ พิ​ิธี​ีการถ่​่ายทอด หรื​ือที่​่�เรี​ียกกั​ันในปั​ัจจุ​ุบั​ันว่​่าครอบ ดนตรี​ีไทย วงดนตรี​ีชาวบ้​้านที่​่�บู​ูชาครู​ู ในทุ​ุก ๆ ปี​ี จะไม่​่มีพิี ธีิ กี รรมขั้​้�นตอน นี้​้� เนื่​่�องจากไม่​่ได้​้มีกี ารบรรเลงเพลง หน้​้าพาทย์​์ประกอบพิ​ิธี​ีกรรม และ ที่​่�สำำ�คั​ัญคื​ือคนที่​่�ประกอบพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ู หรื​ือครู​ูผู้​้�อ่​่านโองการไหว้​้ครู​ูไม่​่ได้​้ เป็​็นผู้​้�นำำ�ในการบู​ูชาครู​ู ในแต่​่ละปี​ี ชาวบ้​้านจะกระทำำ�กั​ัน ๓ ปี​ีถึ​ึง ๔ ปี​ี ครั้​้�งหนึ่​่�ง เพื่​่�อจะรอการพั​ัฒนาการ เรี​ียนของสมาชิ​ิก ของลู​ูกหลานใน วงดนตรี​ี ว่​่าจะต้​้องได้​้รั​ับการเรี​ียน เพลงในขั้​้�นสู​ูงขึ้​้�น คื​ือได้​้รับั การครอบ ในขั้​้�นที่​่�สู​ูงขึ้​้�นจึ​ึงทำำ�การครอบ ส่​่วน ดนตรี​ีไทยในสถาบั​ันการศึ​ึกษา ใน พิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูดนตรี​ีไทยครู​ูบาอาจารย์​์


ครู​ูพิ​ินิ​ิจ ฉายสุ​ุวรรณ ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ จุ​ุลเจิ​ิมผู้​้�เข้​้าร่​่วมพิ​ิธี​ี เพื่​่�อความเป็​็นสิ​ิริ​ิมงคล

จะกำำ�หนดให้​้นักั ศึ​ึกษาได้​้เข้​้าร่​่วมพิ​ิธี​ี ทั้​้�งนั​ักศึ​ึกษาใหม่​่ นั​ักศึ​ึกษาชั้​้�นปี​ีที่​่�สูงู ขึ้​้�น เข้​้ารั​ับการครอบดนตรี​ีไทย เอื้​้�อ ต่​่อการให้​้ได้​้ถ่​่ายทอดเพลงในขั้​้�นที่​่� สู​ูงขึ้​้�น แต่​่การครอบในดนตรี​ีไทยที่​่� มี​ีระบบที่​่�ได้​้ถู​ูกจั​ัดวางไว้​้ ดู​ูจะเป็​็น เฉพาะทางสายปี่​่�พาทย์​์ ส่​่วนทาง สายของเครื่​่�องสายและการขั​ับร้​้องยั​ัง ไม่​่เห็​็นความชั​ัดเจนที่​่�เกี่​่�ยวเนื่​่�องด้​้วย การครอบดนตรี​ีไทยเพื่​่�อการเรี​ียนใน ขั้​้�นที่​่�สู​ูงขึ้​้�น จะมี​ีบ้า้ งในการเรี​ียนเพลง บางเพลงของกลุ่​่�มเครื่​่�องสายที่​่�ต้​้อง มี​ีการครอบ จะมี​ีบ้า้ งสำำ�หรั​ับการขั​ับ ร้​้องเพลงในบางประเภทเช่​่นขั​ับร้​้อง เพลงหน้​้าพาทย์​์ในกลุ่​่�มนั​ักร้​้อง จึ​ึง มองไม่​่เห็​็นว่​่า ในการจั​ัดพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ู ดนตรี​ีไทยนั้​้�น ครอบคลุ​ุมสำำ�หรั​ับ การเรี​ียนการสอนตรงไหนอย่​่างไร ในปี​ีหนึ่​่�ง ๆ สถาบั​ันการศึ​ึกษาตั้​้�งงบ ประมาณเพื่​่�อจั​ัดพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ูดนตรี​ีไทย

จำำ�นวนมากพอสมควร ทว่​่าสิ่​่�งที่​่�มี​ี ความเชื่​่�อมโยงกั​ับหลั​ักสู​ูตรการเรี​ียน การสอนกลั​ับยั​ังไม่​่มีคี วามเชื่​่�อมโยง กั​ัน จากที่​่�สั​ังเกตการเรี​ียนการสอน ในแต่​่ละรายวิ​ิชาก็​็มิไิ ด้​้กำำ�หนดว่​่าจะ ต้​้องผ่​่านการครอบขั้​้�นใดบ้​้าง ครู​ูผู้​้� สอนมั​ักจะพิ​ิจารณาเองว่​่าลู​ูกศิ​ิษย์​์ ของตนเหมาะสมที่​่�จะต่​่อเพลงอะไร ในบางครั้​้�งก็​็นำำ�พาไปเข้​้าพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ูใน สถานที่​่�อื่​่�น เพื่​่�อจะได้​้ถ่า่ ยทอดเพลง ตามต้​้องการ ความสำำ�คั​ัญของพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูใน เรื่​่�องของการเรี​ียนรู้​้�การถ่​่ายทอด และการครอบ คื​ือการที่​่�จะต้​้องได้​้ รั​ับการถ่​่ายทอดเรี​ียนเพลงประเภท หน้​้าพาทย์​์ ซึ่​่�งในหมู่​่�นั​ักดนตรี​ีไทยให้​้ ความสำำ�คั​ัญสำำ�หรั​ับผู้​้�ที่​่�จะมี​ีหน้​้าที่​่�ใน การบรรเลงเพลงประเภทนี้​้� แต่​่ใน ความเป็​็นจริ​ิงก็​็ย้อ้ นแย้​้งกั​ับสิ่​่�งที่​่�เป็​็น อยู่​่� คื​ือ หลั​ักสู​ูตรรายวิ​ิชาต่​่าง ๆ ไม่​่

ได้​้เชื่​่�อมโยงอะไรกั​ับตั​ัวพิ​ิธีกี รรมที่​่�จั​ัด ขึ้​้�นทุ​ุกปี​ี ถึ​ึงอย่​่างไรพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ูดนตรี​ี ไทยก็​็ยังั ถู​ูกจั​ัดลำำ�ดั​ับให้​้มีคี วามสำำ�คั​ัญ เป็​็นกิ​ิจกรรมในหลั​ักสู​ูตร เป็​็นกิ​ิจกรรม ของสาขาวิ​ิชา เป็​็นกิ​ิจกรรมที่​่�ศิ​ิษย์​์ ใหม่​่จะต้​้องเข้​้าพิ​ิธี​ี เป็​็นกิ​ิจกรรมที่​่�ได้​้ รั​ับการตอบโจทย์​์ประกั​ันคุ​ุณภาพใน ระดั​ับสาขา ในระดั​ับคณะ ด้​้านทำำ�นุ​ุ บำำ�รุ​ุงศิ​ิลปวั​ัฒนธรรมและการบริ​ิการ วิ​ิชาการชุ​ุมชน ต่​่อไปนี้​้�จะกล่​่าวถึ​ึงสิ่​่�งที่​่�เคยมี​ี ปรากฏมา ยั​ังคงอยู่​่�ในพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ู ดนตรี​ีไทย ปริ​ิวรรตไป หรื​ือเลิ​ิกไป ๑. พิ​ิธี​ีสงฆ์​์ แต่​่เดิ​ิมในสถาบั​ัน การศึ​ึกษาไม่​่ได้​้มี​ีพิ​ิธี​ีสงฆ์​์ในพิ​ิธี​ีไหว้​้ ครู​ูดนตรี​ีไทย ปั​ัจจุ​ุบันั มี​ีแบบเต็​็มรู​ูป แบบ ตามแบบสำำ�นั​ักดนตรี​ีหรื​ือวง ดนตรี​ีชาวบ้​้าน คื​ือ นิ​ิมนต์​์พระมา เจริ​ิญพระพุ​ุทธมนต์​์เย็​็นในวั​ันก่​่อน วั​ันไหว้​้ครู​ู รุ่​่�งขึ้​้�นเช้​้าถวายภั​ัตตาหาร 11


เช้​้า ต่​่อจากนั้​้�นจึ​ึงประกอบพิ​ิธี​ีไหว้​้ ครู​ูและครอบ ๒. การบรรเลงประกอบพิ​ิธี​ี ทั้​้�ง พิ​ิธีสี งฆ์​์และพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ู ซึ่ง่� แต่​่เดิ​ิมไหว้​้ ครู​ูดนตรี​ีไทยแบบชาวบ้​้านจะไม่​่มีวี ง ดนตรี​ีไทยบรรเลงประกอบ เนื่​่�องจาก เครื่​่�องดนตรี​ีทั้​้�งหมดที่​่�มี​ีอยู่​่�ในวงจะถู​ูก นำำ�ไปตั้​้�งแต่​่งบู​ูชาสมโภชด้​้วยผ้​้าหลากสี​ี ด้​้วยดอกไม้​้มาลามาลั​ัยอย่​่างสวยงาม บางที่​่�ก็​็ทำำ�ความสะอาดเครื่​่�องดนตรี​ี ทุ​ุกชนิ​ิดให้​้ดูสู ะอาดสะอ้​้าน ถู​ูกนำำ�ไป ตั้​้�งแต่​่งบนผ้​้าขาวที่​่�ปู​ูลาดรองรั​ับ จึ​ึง ไม่​่มี​ีการบรรเลงดนตรี​ีใด ๆ แต่​่ใน ปั​ัจจุ​ุบั​ันกระทำำ�กั​ันอย่​่างมากและให้​้ ความสำำ�คั​ัญกั​ับการบรรเลงประกอบ พิ​ิธีสี งฆ์​์และพิ​ิธีไี หว้​้ครู​ู ซึ่​่�งต้​้องใช้​้ผู้​้�มี​ี ความรู้​้�ความสามารถในด้​้านเพลง หน้​้าพาทย์​์ นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีกิจิ กรรม ร่​่วมในพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ู คื​ือ การบรรเลง ถวายมื​ือ บางที่​่�บางแห่​่งกระทำำ�กั​ัน หลั​ังจากพิ​ิธี​ีสงฆ์​์สวดมนต์​์เย็​็นเสร็​็จ บรรเลงไปต่​่างวง บางที่​่�บางแห่​่งก็​็ บรรเลงถวายมื​ือหลั​ังจากที่​่�ประกอบพิ​ิธี​ี ไหว้​้ครู​ูและครอบ ในส่​่วนการบรรเลง ถวายมื​ือที่​่�กระทำำ�กั​ันและรอคอยที่​่� จะเข้​้าไปร่​่วมชมและฟั​ังก็​็คือื งานไหว้​้ ครู​ูประจำำ�ปี​ีของสมาคมสหายศิ​ิลปิ​ิน ซึ่ง่� จะมี​ีการบรรเลงประชั​ันวง จั​ัดมา ตั้​้�งแต่​่ปี​ี พ.ศ. ๒๕๑๓ จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบันั ๓. การกำำ�หนดช่​่วงเวลาและ เครื่​่�องสั​ังเวยกระยาบวช ปั​ัจจุ​ุบั​ัน เป็​็นสิ่​่�งที่​่�ให้​้ความสำำ�คั​ัญต่​่างจากเดิ​ิม ช่​่วงเวลาก็​็ต้อ้ งขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับปี​ีงบประมาณ ทำำ�ก่​่อนงบยั​ังไม่​่ตกลงมาก็​็ยังั ทำำ�ไม่​่ได้​้ หรื​ือทำำ�หลั​ังก็​็จะเลยเวลา สรุ​ุปงบไม่​่ ทั​ัน การกำำ�หนดเดื​ือน ๙ เดื​ือน ๑๐ หรื​ือเข้​้าพรรษาจึ​ึงไม่​่สามารถกระทำำ� ได้​้ในสถาบั​ันการศึ​ึกษา รวมทั้​้�งเครื่​่�อง สั​ังเวยกระยาบวช ข้​้าวของที่​่�จำำ�เป็​็น ก็​็มักั จะไม่​่ให้​้ขาด แต่​่จะมากน้​้อยขึ้​้�น อยู่​่�กั​ับงบประมาณที่​่�ตั้​้�งไว้​้ในแต่​่ละปี​ี การศึ​ึกษา ต่​่างจากการไหว้​้ครู​ูดนตรี​ี 12

ไทยแบบชาวบ้​้านที่​่�กำำ�หนดให้​้อยู่​่�ใน ช่​่วงเวลาเข้​้าพรรษา เหตุ​ุที่​่�ชาวบ้​้าน จั​ัดพิ​ิธี​ีในช่​่วงเข้​้าพรรษา นอกจาก เป็​็นช่​่วงที่​่�หมดงานแล้​้ว ก็​็ยั​ังเห็​็น ว่​่าข้​้าวของเครื่​่�องใช้​้ส้​้มสู​ูกลู​ูกไม้​้ใน ช่​่วงฤดู​ูฝนนั้​้�น ในบ้​้านเราจะมี​ีผลไม้​้ ที่​่�หลากหลาย เป็​็นผลไม้​้ที่​่�มีรี สหอม หวาน ก็​็มักั จะนำำ�มาถวายในพิ​ิธี​ี แต่​่ ก็​็ไม่​่ได้​้เน้​้นว่​่าจะขาดนั่​่�นขาดนี่​่�ไม่​่ได้​้ สะดวกและหาได้​้ตามพื้​้�นถิ่​่�นอย่​่างไร ก็​็ให้​้ทำำ�อย่​่างนั้​้�น สิ่​่�งใดไม่​่มีก็ี ห็ าสิ่​่�งอื่​่�น มาแทน เช่​่น ช่​่วงที่​่�ข้​้าวยากหมาก แพง เป็​็ดไก่​่หายาก ก็​็ให้​้ใช้​้หมู​ูหนาม แทน หมู​ูหนามในที่​่�นี้​้� ก็​็คื​ือขนุ​ุนทั้​้�ง ลู​ูกที่​่�มี​ีขนาดใหญ่​่สั​ักหน่​่อย หรื​ือถ้​้า จะต้​้องมี​ีเครื่​่�องดิ​ิบเป็​็นช่​่วงที่​่�หาหมู​ู เห็​็ดเป็​็ดไก่​่ของคาวยาก ก็​็อนุ​ุโลม ให้​้ใช้​้ปู​ูเค็​็มแทน สิ่​่�งเหล่​่านี้​้�เป็​็นสิ่​่�งที่​่� ปั​ัจจุ​ุบั​ันเลื​ือนหายไป กลั​ับมองว่​่า ไม่​่มี​ีไม่​่ได้​้ แต่​่โบราณแล้​้ว หากสิ่​่�งใด ไม่​่มี​ี สิ่​่�งใดหาไม่​่ได้​้ ก็​็จะมี​ีสิ่​่�งทดแทน เพื่​่�อให้​้จั​ัดพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูได้​้สำำ�เร็​็จ ๔. การครอบในทางดนตรี​ีไทย คำำ�ว่​่า “ครอบ” แต่​่เดิ​ิมดนตรี​ีไทยไม่​่ ได้​้ใช้​้คำำ�นี้​้� ดนตรี​ีไทยใช้​้คำำ�ว่า่ “จั​ับมื​ือ” เพราะการเรี​ียนรู้​้�ศิ​ิลปะทุ​ุกแขนงจะ เป็​็นการถ่​่ายทอดมื​ือต่​่อมื​ือ ปากต่​่อ ปาก จะเห็​็นได้​้ว่​่าไม่​่ว่​่าจะเป็​็นงาน ศิ​ิลปะ จิ​ิตรกรรม ประติ​ิมากรรม สถาปั​ัตยกรรม การครอบก็​็คื​ือการ จั​ับมื​ือให้​้กระทำำ�การนั้​้�น ๆ เช่​่น จั​ับ มื​ือให้​้เขี​ียน จั​ับมื​ือให้​้วาด จั​ับมื​ือให้​้รำ�� รวมทั้​้�งจั​ับมื​ือให้​้ตี​ี คำำ� “ครอบ” อาจ จะสวยงามทางด้​้านภาษา แต่​่การ สื่​่�อสารความหมายยั​ังไม่​่เข้​้ากั​ันกั​ับ สิ่​่�งที่​่�กระทำำ� ๕. ครอบขั้​้�นที่​่� ๑ ครอบเพื่​่�อ เรี​ียนเพลงโหมโรง การครอบหรื​ือ การจั​ับมื​ือในทางดนตรี​ีไทยเพื่​่�อ เป็​็นการอนุ​ุญาตให้​้ได้​้เรี​ียนในวิ​ิชา เพลงหน้​้าพาทย์​์ที่​่�สู​ูงขึ้​้�น เช่​่น การ จั​ับมื​ือให้​้สามารถเรี​ียนเพลงสาธุ​ุการ

ได้​้ แต่​่เดิ​ิมกำำ�หนดไว้​้ว่​่าให้​้จั​ับมื​ือตี​ี ทำำ�นองขึ้​้�นต้​้นในเพลงสาธุ​ุการ ชาว บ้​้านทั่​่�วไปก็​็จะจั​ับด้​้วยทำำ�นองขึ้​้�นต้​้น ของเพลงสาธุ​ุการ โดยจั​ับมื​ือให้​้ผู้​้�ที่​่� จะเรี​ียนเพลงสาธุ​ุการตี​ีตะโพนที่​่�เป็​็น ทำำ�นองขึ้​้�นต้​้นหน้​้าทั​ับสาธุ​ุการ ๓ ครั้​้�ง แต่​่ปั​ัจจุ​ุบั​ันนิ​ิยมจั​ับมื​ือให้​้ตี​ี ทำำ�นองขึ้​้�นต้​้นเพลงสาธุ​ุการด้​้วย ฆ้​้องวงใหญ่​่ ๓ ครั้​้�ง สิ่​่�งนี้​้�ก็​็เป็​็นสิ่​่�งที่​่� ปริ​ิวรรตไปตามกาลเวลา ครอบขั้​้�น ที่​่� ๑ นี้​้� เราเรี​ียกว่​่าครอบเพื่​่�อที่​่�จะ เรี​ียนเพลงโหมโรง ๖. ครอบในลำำ�ดั​ับต่​่อมา เรี​ียก ว่​่าครอบเพื่​่�อที่​่�จะเรี​ียนตระโหมโรง ซึ่​่�งเป็​็นกระบวนการในการเรี​ียน โหมโรงเย็​็น ผู้​้�เรี​ียนจะได้​้รั​ับการจั​ับ มื​ือให้​้ตีทำำ� ี นองขึ้​้�นต้​้นเพลงตระหญ้​้า ปากคอก หรื​ือตระโหมโรงตั​ัวที่​่� ๑ จำำ�นวน ๓ ครั้​้�ง กล่​่าวกั​ันว่​่า ได้​้ตระ โหมโรง ๑ ตั​ัว เที​ียบเท่​่าระดั​ับอนุ​ุบาล ได้​้ ๓ ตั​ัว ชั้​้�นประถม ได้​้ ๕ ตั​ัว ชั้​้�น มั​ัธยม และได้​้ ๗ ตั​ัว ชั้​้�นบั​ัณฑิ​ิต เป็​็นต้​้น นอกจากนี้​้�ยั​ังต้​้องเรี​ียนเพลง ที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับพิ​ิธี​ีกรรมรั​ับพระ ส่​่งพระ เพลงช้​้า เพลงเรื่​่�อง เพลงฉิ่​่�งพระฉั​ัน เพลงโหมโรงเทศน์​์ เพลงประจำำ�กั​ัณฑ์​์ เทศน์​์มหาชาติ​ิ เพลงรั​ับร้​้องประเภท สามชั้​้�น ประเภทเพลงเถา ในหน้​้าทั​ับ ปรบไก่​่ ๗. หลั​ังจากนี้​้�หากต้​้องการที่​่�จะ เรี​ียนเพลงในขั้​้�นสู​ูงขึ้​้�น ก็​็นำำ�ดอกไม้​้ธูปู เที​ียนเครื่​่�องกำำ�นลบู​ูชาตามที่​่�ครู​ูท่า่ น นั้​้�นกำำ�หนดไปรั​ับการจั​ับมื​ือ ซึ่ง่� การ จั​ับมื​ือหรื​ือการครอบทั้​้�ง ๒ ขั้​้�นตอน ที่​่�ผ่​่านมาก็​็อาจจะไม่​่ต้อ้ งทำำ�ในพิ​ิธีไี หว้​้ ครู​ูก็​็ได้​้ ดั​ังนี้​้�จึ​ึงเป็​็นการย้​้อนแย้​้งกั​ับ ที่​่�เป็​็นอยู่​่�ในปั​ัจจุ​ุบันั เรื่​่�องนี้​้� ครู​ูพินิ​ิ จิ ฉายสุ​ุวรรณ ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ ท่​่านเคย บอกกั​ับผู้​้�เขี​ียนว่​่า ตั​ัวครู​ูเอง จั​ับมื​ือ สมั​ัยเริ่​่�มเรี​ียน ครู​ูจั​ับมื​ือให้​้ตี​ีตะโพน ทำำ�นองขึ้​้�นต้​้นสาธุ​ุการเป็​็นครั้​้�งแรก และครั้​้�งที่​่�สองก็​็คือื จั​ับมื​ือให้​้ตีทำำ� ี นอง


ขึ้​้�นต้​้นเพลงตระโหมโรง ๓ ครั้​้�ง ต่​่อแต่​่นั้​้�นมาก็​็ไม่​่เคยได้​้รั​ับการจั​ับ มื​ือให้​้ตีเี พลงชั้​้�นสู​ูงขั้​้�นที่​่�สู​ูงขึ้​้�น เพี​ียง แต่​่จะต่​่อเพลงขั้​้�นที่​่�สู​ูงขึ้​้�นก็​็มี​ีผู้​้�นำำ� พากราบขอให้​้ครู​ูผู้​้�ใหญ่​่ที่​่�มีศัี กั ดิ์​์�และ สิ​ิทธิ์​์�ในการจั​ับมื​ือดำำ�เนิ​ินการให้​้ โดย ยึ​ึดถื​ือปฏิ​ิบัติั ว่ิ า่ ต้​้องเป็​็นวั​ันพฤหั​ัสบดี​ี เท่​่านั้​้�น การกำำ�หนดขั้​้�นตอนในการศึ​ึกษา เพลงหน้​้าพาทย์​์ที่​่�มีอี ยู่​่�ในปั​ัจจุ​ุบันั จึ​ึง เป็​็นการกำำ�หนดให้​้เข้​้าระบบการศึ​ึกษา แต่​่ที่​่�เขี​ียนถึ​ึงนี้​้�มาจากการประสบพบ เห็​็นเป็​็นประสบการณ์​์โดยตรงของ ผู้​้�เขี​ียนเองที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องอยู่​่�กั​ับระบบ การศึ​ึกษาในสถาบั​ันระดั​ับอุ​ุดมศึ​ึกษา มองว่​่าการครอบดนตรี​ีในขั้​้�นต่​่าง ๆ ไม่​่ได้​้เอื้​้�อเฟื้​้�อกั​ับหลั​ักสู​ูตรที่​่�กระทำำ� ขึ้​้�น ไม่​่ได้​้มี​ีคำำ�อธิ​ิบายรายวิ​ิชาใด ๆ กำำ�หนดว่​่าต้​้องผ่​่านการครอบขั้​้�นที่​่� ๑ ขั้​้�นที่​่� ๒ ขั้​้�นที่​่� ๓ ขั้​้�นที่​่� ๔ ขั้​้�นที่​่� ๕ หรื​ือต้​้องครอบอย่​่างไร ต้​้องผ่​่าน พิ​ิธี​ีการไหว้​้ครู​ูแบบถู​ูกต้​้องอย่​่างไร ๘. พิ​ิธีจุี ลุ เจิ​ิมและครอบแก่​่ผู้​้�เข้​้า ร่​่วมพิ​ิธี​ีที่​่�ไม่​่ได้​้เรี​ียนรู้​้�ทางดนตรี​ีไทย โดยตรง เป็​็นสิ่​่�งที่​่�พบเห็​็นในพิ​ิธี​ีไหว้​้ ครู​ูดนตรี​ีไทยปั​ัจจุ​ุบันั ซึ่​่�งแต่​่เดิ​ิมผู้​้�เข้​้า ร่​่วมพิ​ิธีจี ะมี​ีเฉพาะนั​ักดนตรี​ีหรื​ือผู้​้�จะ เรี​ียนดนตรี​ีไทยและมี​ีจำำ�นวนไม่​่มาก นั​ัก ปี​ีหนึ่​่�ง ๆ ได้​้เข้​้าร่​่วมพิ​ิธี​ีเพื่​่�อรั​ับ น้ำำ��มนตร์​์ธรณี​ีสารและเจิ​ิม เพื่​่�อขจั​ัด สิ่​่�งอั​ัปมงคลที่​่�อาจจะเกิ​ิดขึ้​้�นโดยที่​่�ไม่​่ สามารถรู้​้�ได้​้โดยตนเอง จากการที่​่� ได้​้เล่​่นได้​้ร้​้องมาตลอดทั้​้�งปี​ี ซึ่ง่� เป็​็น เรื่​่�องในหมู่​่�คนดนตรี​ีไทยจะกระทำำ� เป็​็นการเฉพาะ ดั​ังที่​่�เห็​็นในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ผู้​้�ที่​่�ไม่​่ได้​้เรี​ียนทางดนตรี​ีไทยก็​็มักั จะ เข้​้ามารั​ับการประพรมน้ำำ��มนตร์​์ ธรณี​ีสารจุ​ุลเจิ​ิม และสำำ�คั​ัญว่​่าได้​้ รั​ับพรความเป็​็นมงคล ในทางตรง กั​ันข้​้ามกลั​ับเป็​็นการเพิ่​่�มธรณี​ีสาร ให้​้แก่​่ตนเองอี​ีก ๙. พิ​ิธีสี งฆ์​์ที่​่�กระทำำ�กั​ันในพิ​ิธีไี หว้​้ ครู​ูดนตรี​ีไทย เป็​็นสิ่​่�งที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นด้​้วย

ความศรั​ัทธาในพระพุ​ุทธศาสนา การบำำ�เพ็​็ญกุ​ุศลในพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูดนตรี​ี ไทย ก็​็เพื่​่�อทั​ักษิ​ิณาอุ​ุทิ​ิศส่​่วนกุ​ุศล แก่​่บุ​ุพการี​ี บุ​ุรพคณาจารย์​์ และผู้​้� ที่​่�มี​ีคุณ ุ าคุ​ุณต่​่อดนตรี​ีไทยเป็​็นสำำ�คั​ัญ การนิ​ิมนต์​์พระสงฆ์​์มาเจริ​ิญพระพุ​ุทธ มนต์​์พระปริ​ิตร เพื่​่�อให้​้บังั เกิ​ิดความ เป็​็นสิ​ิริ​ิมงคลกั​ับเครื่​่�องดนตรี​ีไทยที่​่� เป็​็นเครื่​่�องทำำ�มาหาเลี้​้�ยงชี​ีพ การตั้​้�ง แต่​่งจั​ัดปะรำ��พิธีิ ก็ี เ็ ป็​็นสิ่​่�งสำำ�คั​ัญที่​่�คน มองข้​้าม คื​ือ มั​ักจั​ัดสถานที่​่�สำำ�หรั​ับ พระสงฆ์​์เจริ​ิญพระพุ​ุทธมนต์​์ให้​้มี​ี ด้​้านหลั​ังเป็​็นปริ​ิมณฑล โดยความ เหมาะสมด้​้วยการสวด เสก สิ่​่�งใดๆ ก็​็ตาม ผลย่​่อมบั​ังเกิ​ิดตามเหตุ​ุที่​่�ตั้​้�ง การจั​ัดให้​้พระสงฆ์​์นั่​่�งหั​ันหลั​ังจะเกิ​ิด ผลอย่​่างใดเล่​่า เรื่​่�องนี้​้�ควรตระหนั​ัก คิ​ิดและสำำ�นึ​ึกรู้​้�อย่​่างยิ่​่�งในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ดั​ังนี้​้�คื​ือสิ่​่�งที่​่�ควรจะหั​ันมามองว่​่า ตราบใดที่​่�ดนตรี​ีไทยเป็​็นสิ่​่�งสำำ�คั​ัญ ระดั​ับชาติ​ิ ดนตรี​ีไทยมี​ีที่​่�ยืนื ในระบบ การศึ​ึกษาจนถึ​ึงขั้​้�นระดั​ับดุ​ุษฎี​ีบัณ ั ฑิ​ิต ดนตรี​ีไทยได้​้รั​ับการจั​ัดวางไว้​้เป็​็น กิ​ิจกรรมที่​่�สำำ�คั​ัญในระดั​ับการศึ​ึกษา รวมทั้​้�งพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูดนตรี​ีไทยก็​็ได้​้ถู​ูก จั​ัดให้​้เป็​็นความสำำ�คั​ัญในกิ​ิจกรรม ประจำำ�ปี​ีการศึ​ึกษาของสถาบั​ันการ ศึ​ึกษา แต่​่กระบวนการรายละเอี​ียดที่​่� เชื่​่�อมโยงกั​ับหลั​ักสู​ูตรและรายวิ​ิชาที่​่� เปิ​ิดสอนมี​ีความเกี่​่�ยวข้​้องกั​ันอย่​่างไร บ้​้าง ที่​่�กล่​่าวมานี้​้�ไม่​่ได้​้หมายความ ว่​่าจะให้​้ยกเลิ​ิกพิ​ิธี​ีไหว้​้ครู​ูดนตรี​ีไทย หรื​ือนำำ�ออกจากกิ​ิจกรรมประจำำ�ปี​ี ของสาขา ของหลั​ักสู​ูตร หรื​ือของ คณะวิ​ิชา แต่​่ควรช่​่วยกั​ันหั​ันกลั​ับ มามองว่​่า มี​ีการตั้​้�งงบประมาณใน แต่​่ละครั้​้�งแต่​่ละปี​ีใช้​้งบประมาณใน การจั​ัดพิ​ิธี​ีกรรมหลายหมื่​่�นบาทต่​่อ ครั้​้�ง เราจำำ�เป็​็นจะต้​้องเชื่​่�อมโยงให้​้ เห็​็นความสำำ�คั​ัญว่​่า พิ​ิธี​ีกรรมความ เชื่​่�อไม่​่ได้​้จั​ัดขึ้​้�นเพื่​่�ออะไร แต่​่จั​ัดขึ้​้�น เพื่​่�อพั​ัฒนาการเรี​ียนการสอนให้​้

สู​ูงขึ้น้� นี้​้� น่​่าจะเป็​็นเหตุ​ุผลที่​่�สำำ�คั​ัญ ซึ่ง่� ในศาสตร์​์อื่​่�น ๆ และแขนงอื่​่�นน่​่าจะไม่​่มี​ี จึ​ึงควรที่​่�เราชาวดนตรี​ีไทยจะช่​่วย กั​ันคิ​ิดอ่​่าน เพื่​่�อให้​้พิ​ิธี​ีกรรมไหว้​้ครู​ู นอกจากความเชื่​่�อความศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์� การสร้​้างให้​้เกิ​ิดขวั​ัญกำำ�ลั​ังใจ การ แสดงซึ่​่�งความกตั​ัญญู​ูกตเวทิ​ิตาคุ​ุณ แล้​้ว ยั​ังสามารถเชื่​่�อมโยงกั​ับการ จั​ัดการเรี​ียนการสอนในขั้​้�นต้​้นจนถึ​ึง ขั้​้�นสู​ูงสุ​ุดได้​้

13


MUSIC ENTERTAINMENT

“เรื่​่�องเล่​่าเบาสมองสนองปั​ัญญา”

เพลงไทยสากล-เนื้​้�อร้​้องจาก วรรณคดี​ี (ตอนที่​่� ๗) หลายหลากวรรณคดี​ีไทย ๐๑ เรื่อง: กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya) อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาดนตรีสมัยนิยม วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ยั​ังมี​ีเพลงไทยสากลยอดนิ​ิยมอมตะอี​ีกหลายต่​่อหลายเพลงที่​่�เจ้​้าของงานผู้​้�รั​ังสรรค์​์ประพั​ันธ์​์ขึ้​้�นด้​้วย แรงบั​ันดาลใจจากเนื้​้�อหาในวรรณคดี​ีไทย “เรื่​่�องเล่​่าเบาสมองสนองปั​ัญญา” ตอนนี้​้� ขอนำำ�เสนออี​ีก ๘ เพลง ที่​่�แม้​้จะเป็​็นเพลงเก่​่าน้​้อย เก่​่าธรรมดา ถึ​ึงเก่​่ามาก แต่​่ “เก่​่า” เกื​ือบทั้​้�งหมดนั้​้�นยั​ังเป็​็นที่​่�นิ​ิยม มี​ี การนำำ�ไปใช้​้งานทั้​้�งกิ​ิจกรรมการแสดงในรู​ูปแบบต่​่าง ๆ การประกวดขั​ับร้​้องเพลงซึ่ง่� แพร่​่หลายมากโดย เฉพาะรายการทางโทรทั​ัศน์​์ช่อ่ งบั​ันเทิ​ิงทั้​้�งหลายต้​้องมี​ีจัดั มี​ีการขุ​ุดหาเพลงไทยสากลเก่​่าเก็​็บที่​่�เกื​ือบถู​ูก ลื​ืมไปแล้​้วมาใช้​้งาน แหล่​่งบั​ันเทิ​ิงคาราโอเกะทุ​ุกระดั​ับชั้​้�น ตั้​้�งแต่​่ร้​้านริ​ิมถนนไปจนถึ​ึงในโรงแรมหรู​ูหรา จำำ�จั​ักต้​้องหาเพลงสำำ�หรั​ับลู​ูกค้​้าสู​ูงวั​ัยได้​้มาขั​ับร้​้องสนองความทรงจำำ�ในอดี​ีต รวมถึ​ึงเพลงร่​่วมยุ​ุคสมั​ัย ที่​่�ได้​้มาตรฐานและมี​ีแนวโน้​้มจะเป็​็นผลงานอมตะต่​่อไป บทความชุ​ุดนี้​้� ผู้​้�เขี​ียนขอนำำ�เสนอโดยระบุ​ุชื่​่�อเพลงขึ้​้�นมาก่​่อนเข้​้าสู่​่�เนื้​้�อหา ทั้​้�งทางดนตรี​ีและถ้​้อยคำำ� ของเนื้​้�อร้​้อง พร้​้อมประวั​ัติคิ วามเป็​็นมาแบบกะทั​ัดรั​ัด ท่​่านผู้​้�อ่​่านที่​่�สนใจในรายละเอี​ียด สามารถสื​ืบค้​้น ต่​่อได้​้ผ่​่านทาง Google แหล่​่งข้​้อมู​ูลอั​ันอุ​ุดม

14


๑. มนต์​์รั​ักอสู​ูร (https://www.youtube.com/watch?v=sY_-m3gJMjA) นิ​ิยายเรื่​่�องนี้​้�เป็​็นผลงานการประพั​ันธ์​์ของ “วรรณิ​ิศา พาพร” สร้​้างเป็​็นภาพยนตร์​์ในปี​ี พ.ศ. ๒๕๒๑ โดย เอแพ็​็กซ์​์โปรดั​ัคชั่​่�น นั​ันทา ตั​ันสั​ัจจา เป็​็นผู้​้�อำำ�นวยการสร้​้าง กำำ�กั​ับการแสดงโดย ม.จ.ทิ​ิพยฉั​ัตร ฉั​ัตรชั​ัย นำำ�แสดงโดย พิ​ิศาล อั​ัครเศรณี​ี ร่​่วมกั​ับ เนาวรั​ัตน์​์ ยุ​ุกตะนั​ันท์​์ ก่​่อนหน้​้านั้​้�นในปี​ี พ.ศ. ๒๕๑๘ ไทยที​ีวีสี​ี ช่ี อ่ ง ๙ จั​ัดทำำ�เป็​็นละครออกเผยแพร่​่ทางโทรทั​ัศน์​์ ปี​ี พ.ศ. ๒๕๓๒ และ พ.ศ. ๒๕๔๗ ไทยที​ีวี​ีสี​ีช่​่อง ๓ จั​ัดสร้​้างนำำ�ออกอากาศ ถึ​ึงปี​ี พ.ศ. ๒๕๕๙ ในยุ​ุคของโทรทั​ัศน์​์ดิ​ิจิทัิ ัล มี​ีการ จั​ัดทำำ�เป็​็นละครออกอากาศทางช่​่อง ๘ กิ​ิจกรรมเหล่​่านี้​้�แสดงถึ​ึงความนิ​ิยมของผู้​้�คนที่​่�มี​ีต่​่อ “มนต์​์รั​ักอสู​ูร” เพลง “มนต์​์รักั อสู​ูร” ขั​ับร้​้องโดย วิ​ินัยั จุ​ุลละบุ​ุษปะ - ทั​ัศนั​ัย ชะอุ่​่�มงาม คำำ�ร้​้อง-ทำำ�นอง ประพั​ันธ์​์โดย ไพบู​ูลย์​์ บุ​ุตรขั​ัน บั​ันทึ​ึกเสี​ียงครั้​้�งแรก ปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๔ เพลงนี้​้�ท่​่อนแรกดั​ัดแปลง มาจากคำำ�โคลงโลกนิ​ิติ​ิ บทที่​่� ๕ (สุ​ุภาษิ​ิตเก่​่าแก่​่ที่​่�มีมี าตั้​้�งแต่​่สมั​ัยโบราณ ไม่​่ทราบผู้​้�แต่​่งดั้​้�งเดิ​ิม) โคลงโลกนิติ บทที่ ๕ รูปแร้งดูร่างร้าย ภายนอกเพียงพึงชัง เสพสัตว์ที่มรณัง ดังจิตสาธุชนกล้า

รุงรัง ชั่วช้า นฤโทษ กลั่นสร้าง ทางผล

ความหมาย นกแร้งรูปร่างหน้าตาดูชั่วร้ายรกรุงรัง ชอบกิน ซากสัตว์ที่ตายแล้ว หากมองอีกด้านจะเห็น ประโยชน์ ว่ า มั น ช่ ว ยกํ า จั ด พวกของเน่ า เสี ย เปรียบได้กับคนที่รูปลักษณ์ภายนอกดูสกปรก ไม่เรียบร้อย หากแต่มีจิตใจอันประเสริฐซ่อน อยู่ภายใน

ในกรอบตารางด้​้านล่​่างเป็​็นเนื้​้�อเพลงทั้​้�งหมดของ “มนต์​์รั​ักอสู​ูร” แบ่​่งออกเป็​็น ๖ ท่​่อน ตามแนวทำำ�นอง ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๖ ในโน้​้ตเพลงตามตั​ัวอย่​่างถั​ัดไป ๑) (ช) รูปแร้งดูร่างร้าย รุงรัง ภายนอกเพียงพึงชัง ชั่วช้า เสพสัตว์ที่มรณัง นฤโทษ สาธุชนนั้นอ้า เลิศด้วย ดวงใจ ๒) (ญ) โอมเอย อย่าเป่ามาเลยมนต์รักอสูร รักยิ่งเพิ่มพูนเทียมโขดเขินเนินไศล รังสีอสูรบ่สดใส ผิว์ดําผิวนอก แต่ในผ่องเนื้อนพคุณ

๓) (ช) ดวงใจผูกอยู่ภายในความรักแน่นหนา รักเทพธิดาแผ่เมตตามาเปรียบบุญ นางฟ้าองค์ไหนไม่นําหนุน โอ้ความรัก ดังอรุณ รุ่งฟ้าแล้วมาสูญสิ้น

๔) (ญ) สายลมกระซิบมาเบา ๆ (ช) พัดเอากลิ่นเนื้อเจือบาง ๆ (ญ) มนต์รักแว่วลาง ๆ ไม่จางจากใจ ให้ถวิล

๕) (ช) สวยเอยเทพธิดาลาวัณย์ (ญ) สัมพันธ์อสูรทูนเทวิน (ช) มนต์รักดังเพลงพิณ พื้นดินอาบแสง ทองผ่องพรรณ

๖) (ญ+ช) โอมเอย เป่าผ่านไปเลยความรักสลาย ขอรักหญิงชายรุ่งเรืองคล้ายดังสวรรค์ ความรักอันแท้อย่าแปรผัน เปรียบรังสีแวมแจ่มจันทร์ เช่นกันมนต์รักอสูร

15


16


รู​ูปแบบทำำ�นองอยู่​่�ในลั​ักษณะของเพลง ๔ ท่​่อน AABA โดยมี​ีท่​่อนนำำ�เพลง (ท่​่อน ๑) ที่​่�คำำ�ร้​้องมาจากโคลง โลกนิ​ิติ​ิ บทที่​่� ๕ เป็​็น verse นำำ�เข้​้าสู่​่�ท่​่อน ๒, ๓, ๔ และ ๕ แล้​้วปิ​ิดท้​้ายด้​้วยท่​่อน ๖ ซึ่ง่� แนวทำำ�นองเหมื​ือน กั​ับท่​่อน ๒, ๓ และ ๖ ทำำ�นองโดยรวมบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน C major scale มี​ีบางช่​่วงที่​่�ให้​้ความรู้​้�สึ​ึกของ A natural minor scale เช่​่น ๔ ห้​้องแรกของท่​่อน ๒, ๓ และ ๖ ดั​ังตั​ัวอย่​่างต่​่อไปนี้​้�

ไพบู​ูลย์​์ บุ​ุตรขั​ัน

17


๒. ชมละเวง (https://www.youtube.com/watch?v=Oi3kDeQ6o3c) เพลง “ชมละเวง” คำำ�ร้​้อง-ทำำ�นอง ไสล ไกรเลิ​ิศ บั​ันทึ​ึกเสี​ียงครั้​้�งแรกโดย ชริ​ินทร์​์ นั​ันทนาคร ต่​่อมา ทนงศั​ักดิ์​์� ภั​ักดี​ีเทวา ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงเป็​็นคนที่​่�สอง ซึ่​่�งทำำ�ให้​้เพลงนี้​้�เป็​็นที่​่�นิ​ิยมแพร่​่หลายมากยิ่​่�งขึ้​้�น ครู​ูไสล ไกรเลิ​ิศ ประพั​ันธ์​์เพลงนี้​้�ด้​้วยแรงบั​ันดาลใจจากวรรณคดี​ีเรื่​่�อง “พระอภั​ัยมณี​ี” ของสุ​ุนทรภู่​่� ข้​้อมู​ูลเพลงจาก FB พร่​่างเพชรในเกร็​็ดเพลง ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ พอสรุ​ุปได้​้ว่​่า “นางละเวงเป็​็นธิ​ิดาของ เจ้​้าเมื​ืองลั​ังกา และเป็​็นน้​้องสาวของอุ​ุศเรน เมื่​่�อพ่​่อและพี่​่�ชายรบพ่​่ายแพ้​้ฝ่​่ายพระอภั​ัยจนตายไป นางละเวงขึ้​้�น ครองเมื​ืองแทน และต้​้องการแก้​้แค้​้นพระอภั​ัย นางจึ​ึงส่​่งภาพวาดของนางแนบไปกั​ับจดหมายชั​ักชวนเมื​ืองต่​่าง ๆ ให้​้ร่​่วมกั​ันตี​ีเมื​ืองผลึ​ึก ซึ่​่�งพระอภั​ัยมณี​ีและนางสุ​ุวรรณมาลี​ีปกครองอยู่​่� นางละเวงเป็​็นหญิ​ิงรู​ูปงามยิ่​่�งนั​ัก พระ อภั​ัยแค่​่เห็​็นรู​ูปก็​็หลงใหลพร่ำ���เพ้​้อ” ดั​ังเนื้​้�อร้​้อง ๑) สวรรค์สร้างเธอให้งามสวยเลิศวิไล ดังเทพ ๒) ฉันกลัวดวงเนตรคมเหมือนเกล็ดมณี เทวี งามเหมือนภาพเลขา เธอสวยกว่ามาลี เป็นที่หวั่นเกรง ปรางเหมือนกลีบบัวแย้ม งามเฉิดโฉมเทพี ท่าทีคล้ายนางละเวง งามเหมือนแก้มละเวง เธอเฉิดโฉมชายเกรง เพ่งมองเย้ยจันทร์วันเพ็ญ ๓) ปทุมนาง งามเหนือทรวงสล้าง เคียงคู่ เพียงมองดู สะท้านฤทัยใจเต้น สวยเอยเพิ่งจะเห็น แม่เป็นสุดาสวรรค์

๔) โสภาใครเท่าบุญของเจ้าเลิศแล้ว ดังแก้วผ่องพรรณ ตาเหมือนหยาดน้ําค้าง เธอสวยอย่างลาวัณย์ งามผ่องพักตร์ เพ็ญจันทร์ เพริศพรรณเหนือนางใดเอย

โน้​้ตเพลงแนวทำำ�นองหลั​ัก ผู้​้�เขี​ียนฯ แกะจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับพร้​้อมแนวทางคอร์​์ด (chord progression) ขั​ับร้​้องโดย ทนงศั​ักดิ์​์� ภั​ักดี​ีเทวา ปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

ไสล ไกรเลิ​ิศ

18

ทนงศั​ักดิ์​์� ภั​ักดี​ีเทวา


19


ลี​ีลาดนตรี​ีโดยรวมที่​่�ค่​่อนข้​้างช้​้า สอดคล้​้องกั​ับคำำ�ร้​้องที่​่�พรรณนาเชิ​ิดชู​ูชมเชยนางละเวง แนวทำำ�นองทั้​้�งเพลง บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน Bb major scale ผสานกั​ับ G minor scale (หลั​ักการดนตรี​ีตะวั​ันตกเขาว่​่า ๒ บั​ันไดเสี​ียงนี้​้�เป็​็น ญาติ​ิกั​ัน) รู​ูปแบบเพลงแบ่​่งเป็​็น ๔ ท่​่อน ตามฟอร์​์มยอดนิ​ิยม AABA หรื​ือ song form ๓. ที่​่�รั​ัก (https://www.youtube.com/watch?v=_pyc6k7PsUc•) เพลง “ที่​่รั� กั ” ผลงานการประพั​ันธ์​์ของศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ ๒ ท่​่าน คื​ือ ครู​ูสมาน กาญจนผลิ​ิน ร่​่วมกั​ับ ครู​ูสุนุ ทรี​ียา ณ เวี​ียงกาญจน์​์ ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงครั้​้�งแรกโดย ชริ​ินทร์​์ นั​ันทนาคร (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๗ พิ​ิจารณา คำำ�ร้​้องเพลงนี้​้� นอกจากการสั​ัมผั​ัสที่​่�สละสลวย ยั​ังมี​ีการใช้​้คำำ�ซ้ำำ�� เช่​่น “นานแล้​้ว” นำำ�หน้​้าทุ​ุกวรรคในท่​่อนแรก ซึ่​่�งดู​ูโดดเด่​่นไม่​่เป็​็นส่​่วนเกิ​ินให้​้รกรุ​ุงรั​ัง ข้​้อมู​ูลจากหนั​ังสื​ือ “ตำำ�นานครู​ูเพลง เพลงไทยสากล ลู​ูกกรุ​ุง” เรี​ียบเรี​ียง โดย คี​ีตา พญาไท กล่​่าวว่​่า “ท่​่อนแยกของเพลงที่​่�ว่​่า อย่​่าเหมื​ือนน้ำำ�ค้ � า้ งพราวพร่​่างใบพฤกษ์​์ พอยามดึ​ึกเหมื​ือน ดั​ังจะดื่​่ม� กิ​ินได้​้ พอรุ่​่�งรางก็​็จางหายไป... มี​ีที่​่�มาจากวรรณกรรมจั​ันทโครพ ดั​ังคำำ�กลอนเดิ​ิมที่​่�ตั​ัดทอนมาจาก ตอน ๒ พระจั​ันทโครพเปิ​ิดผอบ โจรป่​่าชิ​ิงนางโมรา” ...อารมณ์นางเหมือนน้ําค้างที่ร่มพฤกษ์ เมื่อยามดึกดั่งจะรองไว้ดื่มได้ พอรุ่งแสงสุริยฉายก็หายไป มาเห็นใจเสียเมื่อใจจะขาดรอน...

20

นางมีจิตใจรวนเรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปรไปเรื่อยตามกาลเวลา

๑) นานแล้วพี่หลงพะวงมิหน่าย นานแล้วพี่หมายจะได้ภิรมย์ นานแล้วพี่รักคอยจักชื่นชม นานแล้วรักเพียงลมลมตรมเช้าค่ํา

๒) ที่รักนะรักแต่ใจมิกล้า ที่ช้านะช้ามิกล้าเผยคํา ที่คิดนะคิดกลัวอกจะช้ํา เอ่ยคําแล้วเจ้าจะทําช้ําใจ

๓) อย่าเหมือนน้ําค้างพราวพร่างใบพฤกษ์ พอยามดึกเหมือนดังจะดื่มกินได้ พอรุ่งรางก็จางหายไป รู้แน่แก่ใจได้แต่ระทมชีวี

๔) ที่รักนะรักเพราะเทพเสริมส่ง ที่หลงนะหลงเพราะเจ้าแสนดี ที่หวงนะหวงเพราะสวยอย่างนี้ กลัวใครเขามาแย่งพี่ไปเอย


21


เมื่​่�อจั​ัดระเบี​ียบเพลงตามแนวทางการดนตรี​ีสากล สามารถแบ่​่งออกเป็​็น ๔ ท่​่อน ท่​่อนละ ๘ ห้​้องเพลง อยู่​่� ในรู​ูปแบบ song form AABA กลุ่​่�มเสี​ียงทั้​้�งหมดเมื่​่�อนำำ�มาเรี​ียงตามหลั​ักบั​ันไดเสี​ียง พบว่​่าเป็​็นลั​ักษณะของ C dorian mode ดั​ังปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

ลี​ีลาดนตรี​ีเพลงนี้​้�มี​ีความโดดเด่​่นเป็​็นที่​่�น่​่าสนใจสำำ�หรั​ับนั​ักดนตรี​ีหลายคน โดยเฉพาะช่​่วงรั​ับหลั​ังจากจบ การขั​ับร้​้องเที่​่�ยวแรก ผู้​้�เรี​ียบเรี​ียงเสี​ียงประสานออกแบบแนวดนตรี​ีที่​่�ขยายความมาจากแนวทำำ�นองเดิ​ิม ดู​ูจาก ตั​ัวอย่​่างต่​่อไปนี้​้�

๓ ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ สมาน กาญจนะผลิ​ิน สุ​ุนทรี​ียา ณ เวี​ียงกาญจน์​์ ชริ​ินทร์​์ นั​ันทนาคร

๔. คนธรรพ์​์รำ��พึ​ึง (https://www.youtube.com/watch?v=NMFcRlWwvvQ) วรรณคดี​ี “กากี​ี” เป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ักกั​ันอย่​่างแพร่​่หลาย เรื่​่�องนี้​้�มี​ีต้​้นเค้​้ามาจากนิ​ิทานชาดกในพระไตรปิ​ิฎก เนื้​้�อหา แสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงสตรี​ีที่​่�ไม่​่มีคี วามซื่​่�อสั​ัตย์​์ต่อ่ สามี​ี ครู​ูไสล ไกรเลิ​ิศ ประพั​ันธ์​์เพลง “คนธรรพ์​์รำ��พึงึ ” โดยได้​้แรงบั​ันดาล ใจจากวรรณคดี​ี “กากี​ี” ตอนคนธรรพ์​์ นามว่​่า นาฏกุ​ุเวร พร่ำ���รำ��พึ​ึงคะนึ​ึงถึ​ึงนางกากี​ีที่​่�ถู​ูกท้​้าวพรหมทั​ัตเนรเทศ 22


(สำำ�นวนวั​ัยรุ่​่�นปั​ัจจุ​ุบั​ันว่​่า “เท”) ออกไปจากเมื​ือง โดยครู​ูไสลนำำ�ทำำ�นองเพลงไทย “ดาวทอง” หรื​ืออี​ีกชื่​่�อหนึ่​่�ง “โศกพม่​่า” มาดั​ัดแปลงให้​้เข้​้ารู​ูปแบบของเพลงไทยสากล ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงครั้​้�งแรกโดย ชริ​ินทร์​์ นั​ันทนาคร (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๖ เนื้​้�อเพลงในตารางต่​่อไปนี้​้�พรรณนาไว้​้อย่​่างกระจ่​่างชั​ัดยิ่​่�งนั​ักถึ​ึงอารมณ์​์รั​ัก ใคร่​่ที่​่�คนธรรพ์​์ “นาฏกุ​ุเวร” มี​ีต่​่อนางกากี​ี

๑) ชื่นใดหาใครจะสู้ ชื่นยอดชู้กากี กลิ่นเจ้านี้พี่ยังอาวรณ์ ดวงใจจากพี่ไป ฤทัยพี่แทบขาดรอน อาวรณ์เจ้าไม่วาย ตรอมตรมอยู่เดียวดาย ยามพระพายโชยกลิ่นเจ้ามา กลิ่นสุดาหอมระรื่น ๒) จากไปวิมานเมืองแก้ว ลืมพี่แล้วทรามชื่น พี่ทนฝืนระกําดวงใจ รอคอยยอดเทวี ฤดีพี่แทบบรรลัย ดวงใจพี่กังวล รวยรินกลิ่นสุคนธ์ ลอยหอมวนดังกลิ่นเจ้าเอย พี่เลยฝืนใจข่ม ๓) อยู่ไกลแม้ใจยังมั่น คงโศกศัลย์ชีวี ป่านฉะนี้เจ้าคงระทม นอนเดียวเปลี่ยวอุรา น้ําตาเจ้าจะนอง ปรางทองเจ้าจะตรม ใครพาเจ้าลอยลม ไปชิดชมเจ้ายอดสุดา แก้วตาขวัญใจพี่

23


ลี​ีลาดนตรี​ีเพลงนี้​้�โดยรวมให้​้อารมณ์​์เศร้​้าจากการตั้​้�งอั​ัตราความเร็​็ว (tempo) และการใช้​้เครื่​่�องดนตรี​ี (instrumentation) ที่​่�ฟั​ังดู​ูหม่​่นหมอง ลั​ักษณะเพลงเป็​็นแบบ ๑ ท่​่อน ความยาว ๑๔ ห้​้อง คำำ�ร้​้องมี​ี ๓ ท่​่อน ใช้​้ทำำ�นองเดี​ียวกั​ัน กลุ่​่�มเสี​ียงทั้​้�งหมดบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน F major scale ๕. กากี​ีเหมื​ือนดอกไม้​้ (https://www.youtube.com/watch?v=5GqYllt3Ryo) เพลงนี้ท�ำนองเป็นของครูไสล ไกรเลิศ โดยดัดแปลงจากเพลงไทย “ลีลากระทุ่ม” ค�ำร้องเป็นผลงานของครู ศักดิ์ เกิดศิริ เพลง “กากีเหมือนดอกไม้” บันทึกเสียงครั้งแรกขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร (ศิลปินแห่งชาติ) เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ เนือ้ หาในค�ำร้องเป็นการเปรียบเทียบ (อุปมาอุปไมย) ระหว่างดอกไม้และกากี รายละเอียด โปรดดูจากเนื้อร้องในกรอบตารางต่อไปนี้

๑) โอ้มาลีนี้ใครชมเล่น กลีบเจ้าเป็นรอยช้ํา ใครทําให้เจ้าเฉา หรือภุมรา แกล้งมาภิรมย์ชมเจ้า มองแล้วพายิ่งเศร้า เจ้าเคยพริ้มเพรา กลับมาอับเฉาเพราะมือคนชม ใครอยากจะรัก ใครอยากจะดม ใครอยากจะชม นิยมว่าเด่นดี ๒) เปรียบกานดาโสภางามผ่อง โอ้รูปทองใจทราม มีนามว่ากากี สวยอรชร กลิ่นขจรหอมดังมาลี กรรมของนางเทวี เจ้างามโสภี แต่ใจบัดสีเพราะมีอารมณ์ ใจอยากจะรัก ใจอยากจะชม ใจกลับระทม เพราะลมสวาทเอย

24


ลี​ีลาดนตรี​ีฟั​ังคล้​้ายกั​ับเพลง “คนธรรพ์​์รำ�พึ � ึง” ลั​ักษณะเพลงแบ่​่งออกเป็​็น ๒ ท่​่อนใหญ่​่ ความยาวท่​่อนละ ๒๒ ห้​้อง จั​ัดระเบี​ียบกลุ่​่�มเสี​ียงโดยหลั​ักการทางดนตรี​ีสากลพบว่​่าเป็​็นลั​ักษณะของ mode ตามภาพต่​่อไปนี้​้�

ศั​ักดิ์​์� เกิ​ิดศิ​ิริ​ิ

๖. พิ​ิมพิ​ิลาไลย (https://www.youtube.com/watch?v=S1TaMs3PBHo) “พิ​ิมพิ​ิลาไลย” เป็​็นตั​ัวละครเอกฝ่​่ายหญิ​ิงจากวรรณคดี​ี “ขุ​ุนช้​้างขุ​ุนแผน” เป็​็นวรรณคดี​ีที่​่�คนไทยรู้​้�จักั กั​ันอย่​่าง กว้​้างขวาง เหตุ​ุการณ์​์ตามท้​้องเรื่​่�องเกิ​ิดขึ้​้�นในเมื​ืองสุ​ุพรรณบุ​ุรี​ี หลายคนเชื่​่�อกั​ันว่​่าเค้​้าโครงเรื่​่�องสื​ืบเนื่​่�องมาจากเรื่​่�อง จริ​ิงที่​่�เล่​่าสู่​่�กั​ันฟั​ังจากรุ่​่�นสู่​่�รุ่​่�น มี​ีการเสริ​ิมเติ​ิมแต่​่ง (ภาษาวั​ัยรุ่​่�นว่​่า “ใส่​่ไข่​่”) เพิ่​่�มความสนุ​ุกสนานจนกลายเป็​็น นิ​ิทานและกลอนเสภาในภายหลั​ัง ตั​ัวละครในเรื่​่�องมี​ีความเป็​็นมนุ​ุษย์​์ คื​ือเหมื​ือนชี​ีวิติ จริ​ิง บทเพลง “พิ​ิมพิ​ิลาไลย” เป็​็นหนึ่​่�งในหลายเพลงที่​่�มี​ีการประพั​ันธ์​์กันั ขึ้​้�นมา เป็​็นผลงานของครู​ูสง่​่า อารั​ัมภี​ีร (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึก เสี​ียงครั้​้�งแรกโดย สุ​ุเทพ วงศ์​์กำำ�แหง (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ในกรอบตารางต่​่อไปคื​ือเนื้​้�อร้​้องของเพลงนี้​้� 25


๑) พิมพิลาไลย พิมพิลาไลย พิมพิลาไลย พิมพิลาไลย

๒) พิมเอ๋ยพิมของพี่ ศรีเอยแม่ยอดนารี เมืองสุพรรณ นวลผิวพรมบ่มกระแจะจันทร์ ผ่องพรรณสรรพางค์นางพริ้ม โอ้เจ้างาม แสนงามนามพิม ใจพี่หวามยามแม่ยิ้มพิมพ์ใจ

๓) พิมพิลาไลยแห่งใจเรา แค่เห็นเงา ยังรักใคร่ แม้นพี่ตาย ฟื้นมารักใหม่ ดวงใจพี่ให้กับนาง

๔) พิมพิลาไลยพี่ รักเพียงหนึ่งชีวี ไม่มีจาง ประทับใจพี่จนวายวาง หนึ่งนางเหลือคําเอื้อนเอ่ย

๕) โอ้เจ้าพิมพิลาไลยเอย อย่าเมินเฉย จงได้เผยใจมา โอ้เจ้าพิมพิลาไลยเอย อย่าเมินเฉย จงได้เผยใจมา

เมื่​่�อประกอบเนื้​้�อร้​้องเข้​้ากั​ับทำำ�นองที่​่�ผู้​้�เขี​ียนบทความถอดจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับ บั​ันทึ​ึกเป็​็นโน้​้ตสากลพร้​้อม แนวทางคอร์​์ด ปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

26


นำำ�กลุ่​่�มเสี​ียงทั้​้�งหมดที่​่�ปรากฏในบทเพลงนี้​้�มาเรี​ียงจั​ัดแถวตามแนวทางของการดนตรี​ีสากล ผลที่​่�ได้​้ประจั​ักษ์​์ ว่​่า ทำำ�นองเพลงนี้​้�บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บนบั​ันไดเสี​ียง G major เพลงแบ่​่งออกเป็​็น ๕ ท่​่อน อิ​ิงตามลั​ักษณะของคำำ�ร้​้อง ท่​่อน แรก (verse) เกริ่​่�นด้​้วยการใช้​้ชื่​่�อเพลงมาขั​ับร้​้องแปรเปลี่​่�ยนไปตามกลุ่​่�มโน้​้ตทั้​้�ง ๔ เสี​ียงที่​่�ต่​่างกั​ันออกไป โดยคง ลั​ักษณะกระสวนจั​ังหวะเดี​ียวกั​ัน (same pattern) ดั​ังภาพต่​่อไปนี้​้�

อี​ีก ๔ ท่​่อนที่​่�เหลื​ือ เป็​็นรู​ูปแบบของเพลงยอดนิ​ิยม (popular song) ทั่​่�วไป ที่​่�ส่​่วนใหญ่​่มี​ีขนาดความยาว ท่​่อนละ ๘ ห้​้องเพลง

สง่​่า อารั​ัมภี​ีร

สุ​ุเทพ วงศ์​์กำำ�แหง

๗. กามนิ​ิต วาสิ​ิฏฐี​ี (https://www.youtube.com/watch?v=gZTPLqKS_rY) “กามนิ​ิต วาสิ​ิฏฐี”ี เป็​็นวรรณคดี​ีแปลจากงานต้​้นฉบั​ับภาษาเยอรมั​ัน เรื่​่�อง Der Pilger Kamanita เขี​ียนโดย นั​ักประพั​ันธ์​์ชาวเดนมาร์​์ก ชื่​่�อ คาร์​์ล แอดอล์​์ฟ เกลเลอโรป (Karl Adolph Gjellerup) เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๔๔๙ โดย เสฐี​ียรโกเศศ (พระยาอนุ​ุมานราชธน) - นาคะประที​ีป (พระสารประเสริ​ิฐ) ในปี​ี พ.ศ. ๒๔๗๓ ปราชญ์​์ทั้​้�ง ๒ ท่​่านถอดความออกมาได้​้อย่​่างดี​ีเยี่​่�ยม เนื้​้�อเรื่​่�องโดยรวมเป็​็นหลั​ักคำำ�สอนทางพุ​ุทธศาสนา จึ​ึงเป็​็นที่​่�ซาบซึ้​้�งจั​ับใจผู้​้� อ่​่านชาวไทยและได้​้รับั ความนิ​ิยมอย่​่างแพร่​่หลาย ผู้​้�เขี​ียนบทความขอนำำ�เสนอเพลงไทยสากลที่​่�มี​ีเนื้​้�อหาเกี่​่�ยวข้​้อง กั​ับวรรณกรรมเรื่​่�องนี้​้� ๒ เพลง ได้​้แก่​่ เพลงกามนิ​ิต วาสิ​ิฏฐี​ี และเพลงอโศกรั​ักสลั​ักใจ ท่​่านผู้​้�อ่​่านฟั​ังคลิ​ิปเพลงนี้​้�จากลิ​ิงก์​์ด้​้านบน พร้​้อมพิ​ินิ​ิจเนื้​้�อร้​้องดั​ังปรากฏอยู่​่�ในกรอบตารางต่​่อไปนี้​้� ก็​็พอจะ รั​ับรู้​้�เรื่​่�องราวโดยรวมของงานวรรณกรรมชิ้​้�นนี้​้�ได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี ผลงานเพลงนี้​้�ประพั​ันธ์​์โดย ครู​ูพยงค์​์ มุ​ุกดา (ศิ​ิลปิ​ิน แห่​่งชาติ​ิ) ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงโดย วิ​ิเชี​ียร ภู่​่�โชติ​ิ ช่​่วงก่​่อนปี​ี พ.ศ. ๒๕๐๐ (ต้​้นฉบั​ับเป็​็นแผ่​่นครั่​่�ง)

27


๑) เฮเฮ เฮฮา มาฟังฉันว่าเรือ่ งหลังยังมี จะกล่าวสุนทรเป็นกลอนลิขิตเรือ่ งกามนิตกับวาสิฏฐี ๓) เนตรมาพบสบกันนวลนางไหวหวั่นในดวงฤดี ๒) กามนิตยอดชายจะไปค้าขายที่โกสัมพี ทําให้ใจสะทกลูกคลีพลัดตกไปจากเวที โชคและบุญหนุนนําได้เจอสาวงามชื่อวาสิฏฐี กามนิตว่องไวกระโดดเข้ารับลูกไว้ทันที นางกับมิตรสหายเดาะคลีถวายองค์ลักษมี โยนไปให้นวลน้องประสานตามองสุดแสนเปรมปรีดิ์ นางมีรูประหงเสมือนดังองค์เทพไท้เทวี ๔) ต่างได้รักร่วมจิตจนกามนิตกลับอุชเชนี สุดที่จะวิโยคใต้ลานอโศกที่เคยสุขี ต่างได้น้อมสาบานจะร่วมสมานชั่วฟ้าธาตรี จึงได้จากกันไปแต่สองดวงใจโศกศัลย์โศกี

๕) กามนิตโชคร้ายมาเจอยอดชายโจรองคุลี ฝ่ายเจ้าสาตาเคียรก็มาพากเพียรร่วมวาสิฏฐี บอกว่ากามนิตได้สิ้นชีวิตในพนาลี นางจึงเศร้าหนักหนาต้องวิวาห์เพื่อชนกชนนี

๖) กามนิตกลับมาได้เห็นแล้วพาให้ช้ําฤดี เลยต้องเสียผู้คนระทมทุกข์ทนไปทั้งสองศรี จนวาระสุดท้ายสิ้นชีพสลายจึงรู้เรื่องดี เลยตั้งอธิษฐานจะขอพบกันสุขาวดี

๗) เฮเฮ เฮฮา ที่ฟังฉันมาต้องขอลาที จบเรื่องโดยย่อแต่พอสําราญ ผู้ฟังทุกท่านจงสวัสดี

โน้​้ตสากลที่​่�ผู้​้�เขี​ียนบทความทำำ� transcription บั​ันทึ​ึกโดย Sibelius Notation program พร้​้อม chord progression

28


เพลงนี้​้�มี​ีแนวทำำ�นองเรี​ียบง่​่าย สามารถเดาทางเพลงได้​้ (predictable melody) รู​ูปลั​ักษณะเพลงโดยรวม เป็​็นแบบ ๓ ท่​่อน คล้​้ายกั​ับฟอร์​์ม ABA โดย A คื​ือ ท่​่อนเกริ่​่�นนำำ�และท่​่อนจบเพลง (ท่​่อน ๑ และ ๗) ส่​่วนแนว ทำำ�นองหลั​ักมี​ีเพี​ียง ๑ ท่​่อน คื​ือ B ที่​่�มี​ีความยาว ๘ ห้​้อง ซึ่​่�งมี​ีเนื้​้�อร้​้องถึ​ึง ๖ ท่​่อน (๒-๖) กลุ่​่�มเสี​ียงทั้​้�งหมด บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน D minor scale

พยงค์​์ มุ​ุกดา

วิ​ิเชี​ียร ภู่​่�โชติ​ิ

๘. อโศกรั​ักสลั​ักใจ (https://www.youtube.com/watch?v=PA-VvXET7FU) “อโศกรั​ักสลั​ักใจ” เป็​็นอี​ีกเพลงที่​่�เนื้​้�อหาเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับวรรณกรรม กามนิ​ิต วาสิ​ิฏฐี​ี ทำำ�นองเป็​็นผลงานของครู​ู นคร ถนอมทรั​ัพย์​์ (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ขุ​ุนพลเพลงอี​ีกท่​่านหนึ่​่�งของเมื​ืองไทย ร่​่วมกั​ับเกษตร สั​ังวรการ ผู้​้�ประพั​ันธ์​์ คำำ�ร้​้อง ต้​้นฉบั​ับขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงโดย สุ​ุเทพ วงศ์​์กำำ�แหง (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ๑) อโศกนี้มีแดนแว่นแคว้นดวงมาลย์ ข้าครองรักยั่งยืนนาน จําหลักวิญญาณ ด้วยดวงชีวา ก่อกําแพงใจ กั้นไว้รายรอบอาณา สร้างสรรค์พารา ไว้รอคอยท่าวาสิฏฐี

๒) ชาตินี้ชีวีข้าพลีสังเวย ไม่ยอมรักอื่นชื่นเชย อโศกเจ้าเอยโปรดจงปรานี อ้าองค์เทวัญ ข้านั้นมีคู่ชีวี มอบรักภักดี แล้วมามีมารแกล้งผลาญหัวใจ

๓) นางเอยอยู่แคว้นแดนไหนดวงใจของข้า ๔) อโศกนี้มีแดนแว่นแคว้นวิไล ข้ารอนแรมมาสุดหล้าฟ้าไกล ข้ามีรักคู่หทัย สถิตอยู่ในหว่างกลางอุรา ข้านี้ ขอจัดรถทองท่องไป ข้าคอยจอมใจ หวั่นไหวในห้วงวิญญา รับเจ้ามาไว้ ณ วังเวียงใจเป็นคู่เสน่หา เทพไท้เทวา พระแม่คงคาจงโปรดเห็นใจ

29


30


รู​ูปแบบเพลงเป็​็น song form - AABA ยอดนิ​ิยม กลุ่​่�มเสี​ียงทั้​้�งหมดบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน E minor scale โปรด สั​ังเกตว่​่าเกื​ือบทุ​ุกคำำ�ร้​้องคล้​้องจองกั​ับเสี​ียงของโน้​้ตเพลงนี้​้� (ทำำ�ให้​้ผู้​้�ขั​ับร้​้องไม่​่ต้​้องเอื้​้�อนหรื​ือบิ​ิดเสี​ียงไปมาก) อั​ัน แสดงถึ​ึงความสามารถของผู้​้�ประพั​ันธ์​์ในการเลื​ือกสรรคำำ�ที่​่�เปล่​่งเสี​ียงได้​้ไม่​่ผิ​ิดเพี้​้�ยนไปจากโน้​้ตแนวทำำ�นอง เรี​ียก ว่​่าทั้​้�ง ๒ ท่​่านเจ้​้าของผลงาน “เข้​้าขากั​ันได้​้ดี​ี” ในการสร้​้างสรรค์​์งานเพลงไพเราะชิ้​้�นนี้​้�

นคร ถนอมทรั​ัพย์​์

เพลงไทยสากลไพเราะเสนาะโสตอุ​ุโฆษนานจาก “หลากหลายวรรณคดี​ีไทย” ยั​ังมี​ีอีกี หลายเพลงครั​ับ ผู้​้�เขี​ียน จะคั​ัดสรรนำำ�มาเสนอท่​่านผู้​้�อ่​่านอี​ีกสั​ัก ๖-๘ เพลง สำำ�หรั​ับบทความตอนต่​่อไป ... ขอบคุ​ุณครั​ับ

(ขอบคุ​ุณข้​้อมู​ูลทุ​ุกประเภทสำำ�เนา/ตั​ัดทอนจาก Google แหล่​่งข้​้อมู​ูลอั​ันอุ​ุดม)

31


MUSICOLOGY

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๒:

ชี​ีวิ​ิตและผลงานของ Black Mozart ผู้​้�ที่​่�ทำำ�ให้​้ปารี​ีสเป็​็นเมกกะของซิ​ิมโฟนี​ี เรื่​่�อง: กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart) นั​ักข่​่าวอิ​ิสระ

Joseph Bologne, Chevalier de SaintGeorge ผลงานของ Mather Brown

ตอนที่​่�แล้​้วเราได้​้เกริ่​่�นถึ​ึง Joseph Bologne และมี​ีคำำ�ถามว่​่า ชี​ีวิ​ิตและ ผลงานของชายผิ​ิวดำำ�คนนี้​้� สร้​้างแรง อิ​ิจฉาให้​้กับั โมสาร์​์ท ผู้​้�ที่ถู่� กู ยกย่​่องว่​่า เป็​็นอั​ัจฉริ​ิยภาพทางดนตรี​ีได้​้จริ​ิงหรื​ือ? หลั​ังจากลองหาข้​้อมู​ูลเกี่​่�ยวกั​ับ Joseph Bologne ก็​็พบคำำ�ตอบของ คำำ�ถามนั้​้�น... “จริ​ิง” เขาเป็​็นแชมป์​์ฟันั ดาบตั้​้�งแต่​่อายุ​ุ ๒๐ เป็​็นผู้​้�นำำ�กองทั​ัพช่​่วงปฏิ​ิวั​ัติ​ิ ฝรั่​่�งเศส นั​ักไวโอลิ​ินผู้​้�มี​ีพรสวรรค์​์ ครู​ูดนตรี​ีของพระนางมารี​ีอ็อ็ งตั​ัวแน็​็ต คี​ีตกวี​ีประจำำ�ราชสำำ�นั​ักฝรั่​่�งเศสช่​่วง ศตวรรษที่​่� ๑๘ และได้​้รับั การยอมรั​ับ 32

ว่​่ า เป็​็ น คี​ี ต กวี​ี เ ชื้​้�อสายแอฟริ​ิ กั​ั น คนแรก งานเพลงของเขามี​ีหลายประเภท ทั้​้�งซิ​ิมโฟนี​ี โซนาตา คอนแชร์​์โต โอเปร่​่า และสตริ​ิงควอเท็​็ต เป็​็นผู้​้�นำำ�วง ออร์​์เคสตราที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่อย่​่าง Le Concert des Amateurs... และเกื​ือบจะได้​้ เป็​็นผู้​้�อำำ�นวยการของ Paris Opera แต่​่ติ​ิดอยู่​่�ตรงที่​่�เขาผิ​ิวดำำ� ชี​ีวิ​ิตและผลงานของ Bologne จึ​ึง ส่​่งผลต่​่อการเมื​ืองและศิ​ิลปวั​ัฒนธรรม อย่​่างยากจะหาใครเปรี​ียบ ทว่​่า เหตุ​ุที่​่�คี​ีตกวี​ีผิ​ิวดำำ�คนนี้​้�ไม่​่ เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั เช่​่นอั​ัจฉริ​ิยภาพทางดนตรี​ี

ที่​่�เกิ​ิดในยุ​ุคสมั​ัย ราวกั​ับว่​่าไม่​่เคยมี​ี ตั​ัวตน ก็​็มีข้ี อ้ สั​ันนิ​ิษฐานหนึ่​่�งว่​่า เกิ​ิด จากความพยายามของนโปเลี​ียน ที่​่�ต้​้ อ งการจะลบเขาออกจาก ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ฝรั่​่�งเศส ... ความสำำ�เร็​็จของ Bologne ไม่​่ใช่​่ เรื่​่�องง่​่าย ๆ แม้​้จะเป็​็นยุ​ุคปั​ัจจุ​ุบั​ันที่​่� กำำ�แพงแห่​่งการกี​ีดกั​ันลดต่ำำ��ลง ยิ่​่�ง สำำ�หรั​ับชายผิ​ิวดำำ�ผู้​้�ใช้​้ชีวิี ติ ในฝรั่​่�งเศส ช่​่วงศตวรรษที่​่� ๑๘ มั​ันอาจจะยาก เป็​็นสองเท่​่า!! Joseph Bologne เกิ​ิดเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒๕ ธั​ันวาคม ค.ศ. ๑๗๔๕ ณ เกาะ


Bologne ประลองดาบกั​ับ La Chevalière d’Éon เมื่​่�อปี​ี ๑๗๘๗

Guadeloupe อาณานิ​ิคมของฝรั่​่�งเศส ในทะเลแคริ​ิบเบี​ียน จาก George Bologne de Saint-Georges พ่​่อที่​่� เป็​็นเจ้​้าของไร่​่อ้อ้ ยและกาแฟผู้​้�มั่​่�งคั่​่�ง อดี​ีตสมาชิ​ิกสภาเมื​ือง Metz และ Anne แม่​่ผู้​้�เป็​็นทาสเชื้​้�อสายเซเนกั​ัล วั​ัย ๑๖ ปี​ี (ถ้​้าใครเคยดู​ูภาพยนตร์​์ เรื่​่�อง 12 Years a Slave น่​่าจะ ช่​่วยให้​้เข้​้าใจชี​ีวิ​ิตของทาสได้​้ดีขึ้​้�ี น) แม้​้จะมี​ีสถานะเป็​็นบุ​ุตรนอก สมรส แต่​่เขาและแม่​่ก็ไ็ ด้​้รับั การดู​ูแล ที่​่�ดี​ีจากพ่​่อ เมื่​่�ออายุ​ุได้​้ ๗ ปี​ี เขาถู​ูกส่​่งไป ฝรั่​่�งเศสเพื่​่�อเข้​้าเรี​ียนตามแบบชนชั้​้�น สู​ูง และอี​ีก ๒ ปี​ีถัดั มา แม่​่ก็เ็ ดิ​ินทาง ไปฝรั่​่�งเศสด้​้วย ที่​่�นั่​่�นเธอไม่​่ได้​้มี​ี สถานะเป็​็นทาส ทั้​้�งสองพั​ักอยู่​่�ใน อะพาร์​์ตเมนต์​์ย่า่ น Saint-Germain ชุ​ุมชนชนชั้​้�นกลางเก่​่าแก่​่ของฝรั่​่�งเศส มี​ี ชี​ี วิ​ิ ต ความเป็​็ น อยู่​่�ที่​่�ดี​ี โ ดยการ สนั​ับสนุ​ุนของพ่​่อ เมื่​่�ออายุ​ุ ๑๓ ก็​็เข้​้าเรี​ียนที่​่� Royal Polytechnic Academy สถาบั​ันสอน ฟั​ันดาบชั้​้�นแนวหน้​้าของยุ​ุค ได้​้เรี​ียนรู้​้�

ทั​ักษะการฟั​ันดาบและการต่​่อสู้​้�บน หลั​ังม้​้า ซึ่ง่� ล้​้วนเป็​็นวั​ัตรปฏิ​ิบั​ัติ​ิของ ชนชั้​้�นสู​ูง ฝี​ีมือื ของเขาพั​ัฒนารวดเร็​็ว กระทั่​่�งอายุ​ุ ๑๕ ก็​็สามารถเอาชนะนั​ัก ฟั​ันดาบชื่​่�อดั​ัง แต่​่ใช่​่ว่า่ ทุ​ุกคนจะพึ​ึงใจ ที่​่�ได้​้เห็​็นลู​ูกครึ่​่�งผิ​ิวดำำ�มี​ีฝีมืี อื ฟั​ันดาบ เก่​่งกาจ หนึ่​่�งในนั้​้�นคื​ือปรมาจารย์​์นักั ฟั​ันดาบ อย่​่าง Alexandre Picard จากเมื​ือง Rouen ที่​่�เคยเรี​ียกเขาว่​่า “Boeëssieère’s mulatto” ถ้​้อยคำำ� หยามหยั​ันถึ​ึงการเป็​็นบุ​ุตรนอกสมรส และมี​ีผิ​ิวดำำ� ต่​่อหน้​้าผู้​้�คนมากมาย ผู้​้�ชนะของการประลองแห่​่ง ศั​ักดิ์​์�ศรี​ีครั้​้�งนั้​้�น คื​ือ Bologne ที่​่�ยั​ัง มี​ีสถานะเป็​็นแค่​่นั​ักเรี​ียน ไม่​่เพี​ียงเป็​็นแมตช์​์ระหว่​่างนั​ัก ฟั​ันดาบมื​ืออาชี​ีพที่​่�โตเป็​็นผู้​้�ใหญ่​่เต็​็ม วั​ัยกั​ับเด็​็กที่​่�ยั​ังเรี​ียนไม่​่จบ แต่​่การ ประลองนั้​้�นยั​ังเป็​็นภาพสะท้​้อนถึ​ึง การมี​ีอยู่​่�ของระบบทาส ผู้​้�ชมแบ่​่งเป็​็น สองฝ่​่าย คื​ือ ฝ่​่ายที่​่�นิ​ิยมทาส และ ฝ่​่ายที่​่�ต่​่อต้​้านความรุ​ุนแรง ชั​ัยชนะ ที่​่�เขาคว้​้ามาได้​้จึงึ ทำำ�ให้​้สังั คมเล็​็งเห็​็น ถึ​ึงความไม่​่ชอบธรรมของระบบทาส

และการกดขี่​่�เพื่​่�อนมนุ​ุษย์​์เพี​ียงเพราะ เขามี​ีสี​ีผิ​ิวที่​่�แตกต่​่าง และเมื่​่�อเขาเรี​ียนจบจากโรงเรี​ียน ฟั​ันดาบแล้​้ว ก็​็เข้​้าเป็​็นกองทหารรั​ักษา พระองค์​์ขององค์​์จักั รพรรดิ​ิ ก่​่อนจะ ได้​้รับั ตำำ�แหน่​่ง ‘Chevalier’ ซึ่​่�งเที​ียบ เท่​่ากั​ับ ‘อั​ัศวิ​ิน’ ของอั​ังกฤษ และเป็​็น ผู้​้�สื​ืบทอดตำำ�แหน่​่ง (Title) ของพ่​่อ จนมี​ีชื่​่�อว่​่าเป็​็น ‘Joseph Bologne, Chevalier de Saint-Georges’ ดั​ังที่​่�เราทราบในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ... อี​ีกหนึ่​่�งวั​ัตรปฏิ​ิบั​ัติ​ิของชนชั้​้�น สู​ูงในสมั​ัยนั้​้�นก็​็คือื “ดนตรี​ีคลาสสิ​ิก” เขาได้​้เรี​ียนไวโอลิ​ินโดยครู​ูที่​่�พ่อ่ จั​ัดหามาให้​้ และทำำ�ผลงานดี​ีไม่​่ยิ่​่�ง หย่​่อนไปกว่​่าฝี​ีมื​ือการฟั​ันดาบ พอ อายุ​ุได้​้ ๒๔ ปี​ี François-Joseph Gossec (1734-1829) ผู้​้�ควบคุ​ุม วงและนั​ักแต่​่งเพลงซิ​ิมโฟนี​ี และน่​่าจะ เป็​็นครู​ูคนหนึ่​่�งของ Bologne ด้​้วยนั้​้�น ได้​้ก่อ่ ตั้​้�ง Concert des Amateurs วงออร์​์เคสตราที่​่�รวบรวมนั​ักดนตรี​ี ฝี​ีมือื ดี​ีทั่​่�วยุ​ุโรป โดยนั​ักไวโอลิ​ินผิ​ิวดำำ� 33


François-Joseph Gossec (1734-1829)

ได้​้รั​ับเชิ​ิญให้​้มาเป็​็นนั​ักไวโอลิ​ินที่​่� ๑ ซึ่​่�งไม่​่ใช่​่เรื่​่�องปกติ​ินั​ักในสมั​ัยนั้​้�น แต่​่ การแสดงของเขาก็​็จับั ใจผู้​้�ชมไม่​่น้อ้ ย สร้​้างชื่​่�อเสี​ียงให้​้เขาไม่​่ยิ่​่�งหย่​่อนไปกว่​่า การฟั​ันดาบ และเขาได้​้แสดงเดี่​่�ยว ครั้​้�งแรกในปี​ี ๑๗๗๒ เมื่​่�ออายุ​ุได้​้ ๒๗ ปี​ี หลั​ั ง จากบรรเลงดนตรี​ี จ น เชี่​่�ยวชาญ เขาก็​็เริ่​่�มประพั​ันธ์​์ผลงาน ของตั​ัวเอง เพลงของ Bologne ส่​่วนใหญ่​่ มี​ีความซั​ับซ้​้อนและต้​้องใช้​้เทคนิ​ิคชั้​้�น สู​ูงในการบรรเลง โดยในปี​ี ๑๗๗๓ ได้​้ รั​ับเชิ​ิญให้​้เป็​็นผู้​้�ควบคุ​ุมวง Concert des Amateurs ซึ่ง่� ถื​ือเป็​็นจุ​ุดเปลี่​่�ยน สำำ�คั​ัญในชี​ีวิติ เขาโลดแล่​่นอยู่​่�ในแวดวง ชนชั้​้�นสู​ูงในปารี​ีส ได้​้รับั เชิ​ิญไปแสดง ดนตรี​ีในปราสาทราชวั​ังต่​่าง ๆ รวม ถึ​ึงพระราชวั​ังแวร์​์ซายด้​้วย ที่​่�นั่​่�นเขา ได้​้บรรเลงดนตรี​ีร่​่วมกั​ับพระนาง มารี​ีอ็อ็ งตั​ัวแน็​็ต และกลายเป็​็นพระ สหายคนหนึ่​่�งของพระเจ้​้าหลุ​ุยส์​์ที่​่� ๑๕ ระหว่​่างนั้​้�นเขาก็​็ประพั​ันธ์​์เพลง สตริ​ิงควอเท็​็ตชิ้​้�นแรกขึ้​้�น ซึ่​่�งถื​ือเป็​็น เพลงแรกของฝรั่​่�งเศสเลยก็​็ว่​่าได้​้ แม้​้ว่า่ เวลานั้​้�นการค้​้าทาสยั​ังคง มี​ีอยู่​่�ในยุ​ุโรป และสิ​ิทธิ์​์�ของคนผิ​ิวดำำ� ยั​ังไม่​่เท่​่าเที​ียมกั​ับฝรั่​่�งผิ​ิวขาว แต่​่ 34

เขาก็​็ได้​้รั​ับยกย่​่องอย่​่างสู​ูงในปารี​ีส “ชาวปารี​ีสยกย่​่องเขา ที่�เ่ ขาทำำ�ให้​้ ปารี​ีสกลายเป็​็นเมกกะแห่​่งซิ​ิมโฟนี​ี” Gabriel Banat ผู้​้�ศึ​ึกษาชี​ีวิ​ิตของ Bologne กล่​่าวไว้​้ การแสดงของเขาเป็​็นที่​่�เล่​่าขาน โดยเฉพาะในหมู่​่�หญิ​ิงสาวไฮโซ และ หนึ่​่�งในผู้​้�ชมขาประจำำ�คื​ือพระนาง มารี​ีอ็อ็ งตั​ัวแน็​็ต ที่​่�ต่​่างก็​็เห็​็นตรงกั​ันว่​่า Bologne หล่​่อเหลาเป็​็นพิ​ิเศษด้​้วย ภาพลั​ักษณ์​์ exotic และเขาเองก็​็ชื่​่�น ชอบที่​่�มี​ีสาว ๆ เข้​้ามาพั​ัวพั​ันเช่​่นกั​ัน แต่​่ก็ไ็ ม่​่มีคี วามสั​ัมพั​ันธ์​์ใดที่​่�พั​ัฒนาไป จนถึ​ึงขั้​้�นแต่​่งงาน นั่​่�นเพราะ “สี​ีผิวิ ” ที่​่�เข้​้มของเขาไม่​่อาจเป็​็นที่​่�ยอมรั​ับได้​้ กฎหมายฝรั่​่�งเศสขณะนั้​้�นห้​้ามการ แต่​่งงานกั​ับคนต่​่างเชื้​้�อชาติ​ิ สถานะทางสั​ังคมที่​่�สู​ูงขึ้​้�นและ การได้​้รับั การยอมรั​ับจากราชสำำ�นั​ัก ไม่​่อาจเป็​็นใบเบิ​ิกทางสู่​่�ชี​ีวิ​ิตที่​่�ไร้​้ อุ​ุปสรรค เขายั​ังต้​้องเจอกั​ับเรื่​่�องที่​่� ทำำ�ให้​้หัวั ใจสลายหลายต่​่อหลายครั้​้�ง ทั้​้�งเรื่​่�องงานดนตรี​ีและเรื่​่�องความรั​ัก ตลอดเส้​้นทางอาชี​ีพสายดนตรี​ี ของ Bologne ยั​ังคงต้​้องเผชิ​ิญกั​ับ อคติ​ิ โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งกั​ับอุ​ุปรากร อย่​่างในการพรี​ีเมี​ียร์​์ ‘Ernestine’ อุ​ุปรากรเรื่​่�องแรก ผู้​้�ชมบางส่​่วน ก่​่อกวนการแสดงโดยส่​่งเสี​ียงคล้​้าย เสี​ียงแส้​้ พร้​้อมกั​ับออกเสี​ียง ‘Oheé!’ (Yoo-hoo!) ที่​่�ใช้​้กับั ทาส เหตุ​ุการณ์​์ นั้​้�นถื​ือเป็​็น “ความอั​ัปยศ” หนึ่​่�งใน เส้​้นทางดนตรี​ีของชี​ีวิติ แต่​่เขายั​ังคง อดทน สร้​้างสรรค์​์งานต่​่อไป ในปี​ี ๑๗๗๗ Bologne ตั​ัดสิ​ินใจ สมั​ัครเข้​้าเป็​็นผู้​้�อำำ�นวยการของ Paris Opera ซึ่​่�งเป็​็นตำำ�แหน่​่งที่​่� สำำ�คั​ัญ และแม้​้ว่า่ เขาจะเป็​็นตั​ัวเลื​ือก ที่​่�พระเจ้​้าหลุ​ุยส์​์ที่​่� ๑๕ พอใจ ทว่​่า สมาชิ​ิกของวงกลั​ับคั​ัดค้​้าน นั​ักร้​้อง นำำ�หญิ​ิงที่​่�มี​ีอิ​ิทธิ​ิพล ๓ คน ถึ​ึงกั​ับ เขี​ียนจดหมายทู​ูลสมเด็​็จพระราชิ​ินี​ี เพื่​่�อบอกว่​่าไม่​่ต้​้องการเกี่​่�ยวข้​้อง

กั​ับ ‘Mulatto’ การที่​่�เขาไม่​่ได้​้รั​ับ เลื​ือกสร้​้างความอั​ับอายอย่​่างมาก ขณะเดี​ียวกั​ันก็​็ยั​ังไม่​่มี​ีนั​ักดนตรี​ีคน ไหนที่​่�มี​ีความสามารถพอที่​่�จะรั​ับ ตำำ�แหน่​่งนั้​้�น และแม้​้ว่า่ เขาจะพบรั​ักกั​ับอดี​ีต ภรรยาของพลทหารคนหนึ่​่�ง จนมี​ี ลู​ูกชายด้​้วยกั​ัน แต่​่ชีวิี ติ ของบุ​ุตรชาย คนเดี​ียวต้​้องจบสิ้​้�นลง จากอิ​ิทธิ​ิพล ของอดี​ีตสามี​ีของคนรั​ัก เราสามารถ พบร่​่องรอยของความสิ้​้�นหวั​ัง โศก เศร้​้าเสี​ียใจในท่​่อนที่​่� ๒ ของ Violin Concerto in D Major, Op. Post. No. 2 (1773) เพลงที่​่�เขาอุ​ุทิ​ิศให้​้ แก่​่บุ​ุตรชายผู้​้�จากไป ต้​้องเข้​้มแข็​็งแค่​่ไหนจึ​ึงสามารถ ทำำ�ได้​้เช่​่นนั้​้�น? เขายั​ังคงสร้​้างสรรค์​์งาน เขี​ียน อุ​ุปรากรออกมา ๗ เรื่​่�อง และยั​ังเป็​็น นั​ักดนตรี​ีคู่​่�ใจคนสำำ�คั​ัญของ Joseph Haydn (1732-1809) และมี​ีส่ว่ น สำำ�คั​ัญในการแต่​่งเพลงชุ​ุด Paris symphonies ซึ่ง่� Bologne เองก็​็ ทำำ�หน้​้าที่​่�ควบคุ​ุมวงในรอบพรี​ีเมี​ียร์​์ อี​ีกด้​้วย การที่​่�เขาถู​ูกเรี​ียกว่​่า ‘Black Mozart’ จึ​ึงไม่​่น่​่าจะใช่​่การยกย่​่อง เพราะนอกจาก Bologne จะแก่​่กว่​่า สร้​้างผลงานไว้​้มากมาย มี​ีชีวิี ติ ที่​่�น่า่ อิ​ิจฉา ร่​่วมงานกั​ับบุ​ุคคลสำำ�คัญ ั และ ยั​ังสร้​้างแรงบั​ันดาลใจให้​้โมสาร์​์ทด้ว้ ย ที่​่�ว่​่าสร้​้างแรงบั​ันดาลใจ เพราะ งานชิ้​้�นสำำ�คั​ัญของโมสาร์​์ทอย่​่าง Sinfonia concertante in E-flat Major, K. 364 (1778) ที่​่�เป็​็น ผลผลิ​ิตจากการเดิ​ินทางทั​ัวร์​์ยุ​ุโรป และหนึ่​่�งในเมื​ืองที่​่�เขาหยุ​ุดและใช้​้ เวลามากที่​่�สุ​ุดคื​ือปารี​ีส ศู​ูนย์​์กลาง ทางวั​ัฒนธรรมที่​่�สำำ�คั​ัญ ว่​่ากั​ันว่​่างาน ชิ้​้�นนี้​้�แตกต่​่างจากงานที่​่�โมสาร์​์ทเคย สร้​้างสรรค์​์ขึ้​้�น ที่​่�เด่​่นชั​ัดคื​ือลั​ักษณะ การเรี​ียบเรี​ียงคล้​้ายคลึ​ึงกั​ับงานเพลง ของคี​ีตกวี​ีชาวปารี​ีสที่​่�สร้​้างขึ้​้�นเมื่​่�อปี​ี


Thomas-Alexandre Dumas Davy de la Pailleterie (1762-1806) นายทหารคู่​่�ใจของ Joseph Bologne ผู้​้�ร่​่วมรบในสงคราม

๑๗๗๗ ซึ่​่�งความแตกต่​่างเดี​ียวคื​ือ งาน ของโมสาร์​์ทมี​ีเสี​ียงสู​ูงกว่​่าครึ่​่�งเสี​ียง นั่​่�นอาจเป็​็นผลจากการที่​่�โมสาร์​์ท ได้​้ใช้​้เวลาร่​่วมกั​ับ Bologne และ วิ​ิจารณ์​์งานของกั​ันและกั​ัน ... ด้​้ า นชี​ี วิ​ิ ต ทางการเมื​ื อ งของ Bologne ก็​็น่​่าสนใจไม่​่แพ้​้กั​ัน ในช่​่วงที่​่�กระแสการปฏิ​ิวั​ัติ​ิพั​ัด โหมทั่​่�วฝรั่​่�งเศส เขาในฐานะคนดั​ังที่​่� เลื​ือกข้​้างการปฏิ​ิวัติั ิ ต้​้องเดิ​ินทางไป ยั​ังเกาะอั​ังกฤษเพื่​่�อความปลอดภั​ัย ของตั​ัวเอง ที่​่�นั่​่�นเขาเป็​็นที่​่�โปรดปราน ในราชวั​ังอั​ังกฤษอย่​่างรวดเร็​็ว โดย ในปี​ี ๑๗๘๗ มกุ​ุฎราชกุ​ุมารอั​ังกฤษ ได้​้สั่​่�งให้​้ Mather Brown (17611831) จิ​ิตรกรวาดภาพเหมื​ือนของ Bologne ซึ่​่�งคนที่​่�ได้​้เห็​็นต่​่างก็​็บอก ว่​่าช่​่างเหมื​ือนตั​ัวจริ​ิงราวกั​ับแกะ ระหว่​่างนั้​้�นเขาก็​็ให้​้การสนั​ับสนุ​ุน กลุ่​่�มปฏิ​ิวั​ัติ​ิ เดิ​ินทางไปมาระหว่​่าง ๒ ประเทศ และเมื่​่�อเหตุ​ุการณ์​์ปะทุ​ุ ขึ้​้�น เขาก็​็อาสาเข้​้าร่​่วมรบ ก่​่อนจะ ได้​้เลื่​่�อนยศเป็​็นผู้​้�พั​ันกองทหารที่​่�มี​ี การรวบรวมทหารผิ​ิวดำำ�จากทั่​่�วยุ​ุโรป เอาไว้​้ และหนึ่​่�งในนายทหารก็​็คื​ือ

Thomas-Alexandre Dumas บิ​ิดา ของ Alexandre Dumas (18021870) ผู้​้�ประพั​ันธ์​์วรรณกรรมชื่​่�อดั​ัง อย่​่าง The Count of Monte Cristo, The Three Musketeers, Twenty Years After และ The Vicomte of Bragelonne: Ten Years Later บทบาทของ Bologne ไม่​่เพี​ียง นำำ�ทั​ัพในการรบ แต่​่ยังั นำำ�แสดงดนตรี​ี ควบคู่​่�ไปด้​้วย ก่​่อนสงครามจะสงบและปรากฏ ผลของการปฏิ​ิวั​ัติ​ิ เขาถู​ูกจั​ับและ คุ​ุมขั​ังโดยไม่​่ถู​ูกตั้​้�งข้​้อกล่​่าวหา แม้​้ ในท้​้ายที่​่�สุ​ุดจะถู​ูกปล่​่อยตั​ัว แต่​่ก็​็ไม่​่ ได้​้รั​ับตำำ�แหน่​่งต่​่าง ๆ กลั​ับคื​ืนมา ขณะเดี​ียวกั​ัน การต่​่อสู้​้�เพื่​่�ออิ​ิสรภาพ และความเท่​่าเที​ียมในฝรั่​่�งเศสยั​ัง ไม่​่จบลง ทว่​่า Bologne ก็​็ยั​ังได้​้ เห็​็นความเปลี่​่�ยนแปลง เมื่​่�อมี​ีการ ประกาศเลิ​ิกทาสในฝรั่​่�งเศสเมื่​่�อวั​ัน ที่​่� ๔ กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๑๗๙๔ เขาจากไปในวั​ัยเพี​ียง ๕๓ ปี​ี ด้​้วย อาการติ​ิดเชื้​้�อในกระเพาะปั​ัสสาวะ บ้​้างก็​็ว่​่าเป็​็นเพราะแผลติ​ิดเชื้​้�อ แต่​่ เรื่​่�องราวของเขายั​ังคงเป็​็นตำำ�นาน ประธานาธิ​ิบดี​ี John Adams

(1735-1826) ยกย่​่องเขาว่​่า เป็​็น “ชายผู้​้ป� ระสบความสำำ�เร็​็จมากที่สุ่� ดุ คนหนึ่​่�งของยุ​ุโรป” รั​ัฐบาลคิ​ิวบา ยกย่​่องให้​้เขาเป็​็น “ฮี​ีโร่​่ผู้�ยิ่​่้ ง� ใหญ่​่แห่​่ง แคริ​ิบเบี​ียน” กระทั่​่�งในปี​ี ๒๐๐๑ สภานครปารี​ีสได้​้ตั้​้�งชื่​่�อถนน Rue du Chevalier de Saint-George ใจกลางกรุ​ุงปารี​ีส เพื่​่�อเป็​็นเกี​ียรติ​ิแก่​่ เขา... Joseph Bologne, Chevalier de Saint-George ปั​ัจจุ​ุบั​ัน แม้​้เรื่​่�องราวชี​ีวิ​ิตและ ผลงานของเขาในฐานะคี​ีตกวี​ีผิ​ิวดำำ� คนแรกในวงการเพลงคลาสสิ​ิก ยั​ังไม่​่เป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ักแพร่​่หลายเฉกเช่​่น (คี​ีตกวี​ีผิ​ิวขาว) คนอื่​่�น แต่​่ความ สำำ�เร็​็จที่​่� Bologne ได้​้สร้​้างขึ้​้�น ก็​็ เปรี​ียบเสมื​ือนอิ​ิฐก้​้อนแรกของเส้​้น ทางดนตรี​ีคลาสสิ​ิก ที่​่�เขาได้​้ก่​่อร่​่าง และปู​ูทางให้​้นั​ักดนตรี​ีผิ​ิวสี​ีที่​่�มี​ีใจรั​ัก ดนตรี​ีคลาสสิ​ิกรุ่​่�นหลั​ัง

อ้​้างอิ​ิง https://www.classicalmusicindy. org/putting-diversity-center stage/ https://www.classicfm.com/ discover-music/periods-genres/ film-tv/black-mozart-biopic chevalier-de-saint-georges https://nyadiff.org/dc-2019/ movies/the-black-mozart-in cuba-2/ https://indianexpress.com/ article/explained/explained who-was-black-mozart and-why-calling-him-that-is problematic-6537983 35


THAI AND ORIENTAL MUSIC

แคนประยุ​ุกต์​์ เทพภมร ดาวรุ่​่�ง เรื่​่�อง: ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin) อาจารย์​์ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

36

แคนวงประยุ​ุกต์​์ เทพภมร ดาวรุ่​่�ง ก่​่อ ตั้​้�งเมื่​่�อประมาณ ๑๐ ปี​ีที่​่�ผ่​่านมา ปั​ัจจุ​ุบั​ัน อยู่​่�ที่​่� ๒๔/๒ หมู่​่�ที่​่� ๒ ตำำ�บลบ้​้านคา อำำ�เภอ บ้​้านคา จั​ังหวั​ัดราชบุ​ุรี​ี ซึ่​่�งเป็​็นแคนวงที่​่�ได้​้ รั​ับการสื​ืบทอดทางความรู้​้�มาจากคณะแสน สิ​ิมา ของนายผาง สี​ีมาเล่​่าเก่​่า และคณะ เจริ​ิญชั​ัย ของนายเจริ​ิญ รอดแสง “แคนวง ของคณะก็​็มาจากกลุ่​่�มคนจากตำำ�บลลำำ�เหย อำำ�เภอดอนตู​ูม จั​ังหวั​ัดนครปฐม ที่​่�เข้​้ามาตั้​้�ง ถิ่​่�นฐาน ย้​้ายกั​ันมาอยู่​่�ที่​่�นี่​่�” แรกเริ่​่�มของการก่​่อตั้​้�งคณะ เกิ​ิดขึ้​้�นจาก นายพิ​ิชัยั แก้​้วเนตร ซึ่​่�งเป็​็นนั​ักดนตรี​ีในคณะ ของแสนสิ​ิมา “ในตอนนั้​้�นเป็​็นนักั ดนตรี​ีในวง ก็​็ไปเล่​่นทั้​้�งสองวง ทั้​้�งของนายผาง และของ นายเจริ​ิญ ต่​่อมาลุ​ุงผางเสี​ียชี​ีวิ​ิต ก็​็เหลื​ือแค่​่ คณะเดี​ียว เลยมี​ีความคิ​ิดที่​่�อยากจะทำำ�ต่​่อ ถ้​้าไม่​่ทำำ�ก็​็คงไม่​่มี​ี แล้​้วก็​็สู​ูญหายไป” เมื่​่�อมี​ี ความคิ​ิดที่​่�อยากจะรั​ักษาแคนวงให้​้อยู่​่�กั​ับ ชุ​ุมชนต่​่อไป นายพิ​ิชั​ัยจึ​ึงได้​้ปรึ​ึกษากั​ับนาย อภิ​ิชาติ​ิ ธนั​ันทา ซึ่ง่� เป็​็นพี่​่�ชายของนายพิ​ิชั​ัย


เพื่​่�อดำำ�เนิ​ินการในเรื่​่�องของการตั้​้�งคณะ และซื้​้�อเครื่​่�องดนตรี​ี ได้​้ตั้​้�งชื่​่�อคณะ โดยได้​้นำำ�ชื่​่�อจากเครื่​่�องรางสาริ​ิกา ของวั​ัดเก่​่าต้​้นมะค่​่า ที่​่�มี​ีชื่​่�อว่​่า เทพภมร มาตั้​้�งเป็​็นชื่​่�อคณะ โดยใช้​้ชื่​่�อว่​่า “แคนวงประยุ​ุกต์​์ เทพภมร ดาวรุ่​่�ง” ด้​้านของการเรี​ียนรู้​้� นายพิ​ิชัยั ได้​้ เรี​ียนรู้​้�วิธีิ กี ารตี​ีกลองประเภทต่​่าง ๆ มาจากนายผางและนายเจริ​ิญ โดย เริ่​่�มจากการดู​ู ฟั​ัง แล้​้วนำำ�ไปปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ตาม เป็​็นการเรี​ียนรู้​้�แบบครู​ูพั​ักลั​ัก จำำ� จนสามารถบรรเลงได้​้ “ในช่​่วง แรกที่​่�กลั​ับมาบ้​้าน ตอนนั้​้�นยังั ไม่​่เป็​็น ดนตรี​ี เราก็​็ไปเห็​็นเขาตี​ี เขาเล่​่นกันั

นายพิ​ิชั​ัย แก้​้วเนตร เจ้​้าของคณะ

เราก็​็ไปดู​ู ไปฟั​ัง ก็​็เริ่​่�มจำำ� แล้​้วนำำ� มาเล่​่นบ้​้าง พอเล่​่นไปเล่​่นมา เราก็​็ บรรเลงได้​้” จากนั้​้�นจึ​ึงเริ่​่�มเรี​ียนรู้​้�ทาง เพลงและบทเพลงต่​่าง ๆ ด้​้วยการฟั​ัง การจำำ� แล้​้วนำำ�ไปบรรเลงตาม ทั้​้�ง จากการฟั​ังที่​่�ไปบรรเลงในงาน แล้​้ว ได้​้ยินิ ได้​้ฟังั คณะอื่​่�นบรรเลง “พอเล่​่น ได้​้ เราจั​ับทางได้​้ เราก็​็เริ่​่�มฟั​ังเพลง บ้​้าง ฟั​ังจากคณะอื่​่�น ๆ แล้​้วก็​็เริ่​่�ม แกะทำำ�นอง แกะทางของเพลง ก็​็จำำ� เอา แล้​้วเอาไปบรรเลงต่​่อได้​้” การ เรี​ียนรู้​้�ดั​ังกล่​่าว จึ​ึงเป็​็นการเรี​ียนรู้​้�ที่​่� เกิ​ิดจากการจดจำำ� แล้​้วนำำ�ไปปฏิ​ิบัติั ิ จนเกิ​ิดความชำำ�นาญ นอกจากนี้​้�

การไปบรรเลงในงานอื่​่�น ยั​ังทำำ�ให้​้ เกิ​ิดประสบการณ์​์ทางการเรี​ียนรู้​้�ที่​่� เพิ่​่�มขึ้​้�นอี​ีกด้​้วย ด้​้านการรั​ับงานแสดง ในปั​ัจจุ​ุบันั แคนวงประยุ​ุกต์​์ เทพภมร ดาวรุ่​่�ง มี​ีนักั ดนตรี​ีที่​่�มีฝี​ี มืี อื และมี​ีความพร้​้อม ในการรั​ับงานแสดง โดยนั​ักดนตรี​ี ส่​่วนใหญ่​่เป็​็นนั​ักดนตรี​ีที่​่�ร่ว่ มบรรเลง อยู่​่�ในคณะแคนวงอื่​่�น ๆ และมารั​ับ งานแสดงร่​่วมกั​ัน ส่​่งผลให้​้คณะ สามารถรั​ับงานแสดงได้​้อย่​่างต่​่อ เนื่​่�อง เป็​็นคณะแคนวงที่​่�ได้​้รับั ความ นิ​ิยม มี​ีชื่​่�อเสี​ียงในจั​ังหวั​ัดราชบุ​ุรีแี ละ จั​ังหวั​ัดใกล้​้เคี​ียง “งานส่​่วนใหญ่​่เป็​็น งานกฐิ​ิน งานรั​ับนาค งานบวช งาน ขั​ันหมาก รำ��วงย้​้อนยุ​ุค คณะจะรั​ับ งานที่​่�ราชบุ​ุรี​ี นครปฐม เพชรบุ​ุรี​ี เป็​็นส่​่วนใหญ่​่ แต่​่ก่​่อนงานมี​ีตลอด ไม่​่เคยว่​่าง งานแสดงมี​ีประมาณ ๓๐ งานต่​่อเดื​ือน นั​ักดนตรี​ีก็เ็ วี​ียน ๆ กั​ัน มา แล้​้วแต่​่จะเรี​ียกเขามาช่​่วย เรา มี​ีงานก็​็เรี​ียกกั​ันมา ถ้​้างานชน เราก็​็ เรี​ียกคณะอื่​่�น ๆ มารั​ับงานต่​่อไป” แสดงให้​้เห็​็นว่​่า บทบาทของแคนวง ส่​่วนใหญ่​่จะนำำ�มาใช้​้ในการบรรเลงใน งานที่​่�ต้​้องการความสนุ​ุกสนาน เช่​่น งานบุ​ุญ งานประเพณี​ี งานแห่​่นาค หรื​ืองานทั่​่�ว ๆ ไป ด้​้านของบทเพลงที่​่�ใช้​้ในการ บรรเลง ส่​่วนใหญ่​่เป็​็นบทเพลงตาม ยุ​ุคสมั​ัย เช่​่น เพลงลู​ูกทุ่​่�ง เพลงลู​ูก กรุ​ุง เพลงสมั​ัยนิ​ิยมทั่​่�ว ๆ ไป “เพลง ที่​่�ใช้​้ส่ว่ นใหญ่​่เป็​็นเพลงตามสมั​ัยนิ​ิยมที่​่� คนนิ​ิยมฟั​ังกั​ัน เราต้​้องให้​้ความสำำ�คัญ ั กั​ับคนที่​่�จ้​้างเราไปเล่​่น เขาอยากได้​้ เพลงแบบไหน เราก็​็ต้​้องเล่​่นให้​้เขา ได้​้” นอกจากนี้​้�แล้​้ว คณะแคนวงยั​ัง สามารถไปบรรเลงให้​้กั​ับการแสดง รำ��วงย้​้อนยุ​ุคอี​ีกด้​้วย “เราก็​็ปรั​ับเพลง ของเราให้​้มีคี วามสนุ​ุกสนาน นางรำ�� เราก็​็ไปจ้​้างเขา ส่​่วนดนตรี​ีเราทำำ�เอง

37


การแสดงของคณะ

38

หมด เราประยุ​ุกต์​์เพลง นำำ�เพลงที่​่� มี​ีความสนุ​ุกสนานมาบรรเลงต่​่อ ๆ กั​ัน เราเน้​้นความสนุ​ุกสนาน สร้​้าง ความบั​ันเทิ​ิง ถ้​้าเราทำำ�ได้​้ดี​ี เราก็​็ จะมี​ีงานเรื่​่�อย ๆ เขาจะบอกกั​ันไป ปากต่​่อปาก” นอกจากบทเพลงที่​่� ต้​้องให้​้ทั​ันยุ​ุคสมั​ัยแล้​้ว นายพิ​ิชั​ัย ยั​ังได้​้ให้​้ความสำำ�คั​ัญต่​่อการพั​ัฒนา คณะ จึ​ึงได้​้นำำ�เครื่​่�องดนตรี​ีสากลและ เครื่​่�องเสี​ียงต่​่าง ๆ เข้​้ามาประยุ​ุกต์​์ กั​ับแคนวง เพื่​่�อช่​่วยอำำ�นวยความ สะดวกในการบรรเลงมากยิ่​่�งขึ้​้�น แต่​่ ในขณะเดี​ียวกั​ัน คณะก็​็ยั​ังคงรั​ักษา การแห่​่แบบเดิ​ิมเอาไว้​้ “ที่​่�คณะจะ ไม่​่ใช่​่รถแห่​่ คณะอื่​่น� เขาใช้​้รถแห่​่กั​ัน หมดแล้​้ว แต่​่คณะเรายั​ังใช้​้รถลาก ในการบรรทุ​ุกเครื่​่�องเสี​ียงแทน เรา ก็​็ไม่​่ได้​้ทิ้​้�งของเดิ​ิม แต่​่ดั้​้�งเดิ​ิม เขา ก็​็แห่​่ เดิ​ินกั​ันมาแบบนี้​้� ในขณะที่​่� เรานำำ�เอาเทคโนโลยี​ีมาใช้​้ เสี​ียงดั​ัง ขึ้​้�น เป่​่าแคน เป่​่าเครื่​่�องสากล ก็​็ไม่​่ ต้​้องเหนื่​่�อยเหมื​ือนแต่​่ก่​่อน แต่​่การ แห่​่ในแบบเดิ​ิมมั​ันก็​็เป็​็นเอกลั​ักษณ์​์ ของคณะเรา การแห่​่แบบนี้​้�ก็​็ได้​้รส


การแสดงของคณะ

ได้​้ความรู้​้�สึ​ึกทางดนตรี​ีในอี​ีกแบบ ที่​่� ไม่​่เหมื​ือนใคร” จากข้​้อมู​ูลในด้​้านการ รั​ับงานแสดง ด้​้านการนำำ�บทเพลง และเครื่​่�องเสี​ียงเข้​้ามาประยุ​ุกต์​์ใช้​้ พบว่​่า การเปลี่​่�ยนแปลงทางสั​ังคม และวั​ัฒนธรรมที่​่�เข้​้ามา ได้​้ส่​่งผลให้​้ เกิ​ิดการปรั​ับตั​ัวของคณะ ทั้​้�งในด้​้าน ของบทเพลงที่​่�ต้​้องเป็​็นไปตามยุ​ุคสมั​ัย การนำำ�เครื่​่�องเสี​ียงหรื​ือเทคโนโลยี​ีเข้​้า มาร่​่วมการแสดง แต่​่ในขณะเดี​ียวกั​ัน การนำำ�รู​ูปแบบการแห่​่ของดั้​้�งเดิ​ิมมา ผสมผสานกั​ับเทคโนโลยี​ี ทำำ�ให้​้เกิ​ิด เป็​็นเอกลั​ักษณ์​์ของคณะ ส่​่งผลให้​้ คณะยั​ังคงมี​ีบทบาทในสั​ังคมและ วั​ัฒนธรรม เป็​็นคณะแคนวงประยุ​ุกต์​์

ที่​่�ยั​ังได้​้รั​ับความนิ​ิยมในปั​ัจจุ​ุบั​ัน จากการศึ​ึกษาประวั​ัติ​ิของแคน วงประยุ​ุกต์​์ คณะเทพภมร ดาวรุ่​่�ง ถื​ือได้​้ว่​่าเป็​็นคณะแคนวงอี​ีกคณะใน ชุ​ุมชนบ้​้านเก่​่าต้​้นมะค่​่า อำำ�เภอ บ้​้านคา จั​ังหวั​ัดราชบุ​ุรี​ี ที่​่�ได้​้รั​ับการ ถ่​่ายทอดความรู้​้�มาจากคณะของนาย ผาง สี​ีมาเล่​่าเก่​่า และพั​ัฒนาจนเกิ​ิด เป็​็นคณะแคนวงอี​ีกคณะหนึ่​่�งที่​่�มี​ีชื่​่�อ เสี​ียง มี​ีการแห่​่แบบดั้​้�งเดิ​ิมที่​่�เป็​็น เอกลั​ักษณ์​์ สะท้​้อนถึ​ึงความเป็​็นมา ของวั​ัฒนธรรมดนตรี​ีแคนวงในอดี​ีต นอกจากนี้​้� การพั​ัฒนาและปรั​ับปรุ​ุงโดย การนำำ�บทเพลง นำำ�เครื่​่�องเสี​ียง และ นำำ�เทคโนโลยี​ีเข้​้ามาประยุ​ุกต์​์กับั แคน

วง ล้​้วนแล้​้วแต่​่เป็​็นการปรั​ับตั​ัวเพื่​่�อ ให้​้สอดคล้​้องกั​ับยุ​ุคสมั​ัย สอดคล้​้อง กั​ับกระแสของการเปลี่​่�ยนแปลงทาง สั​ังคมและวั​ัฒนธรรม ซึ่​่�งส่​่งผลให้​้ คณะแคนวงยั​ังสามารถดำำ�รงอยู่​่�ได้​้ ในสั​ังคมปั​ัจจุ​ุบันั และเป็​็นคณะแคน วงที่​่�มี​ีชื่​่�อเสี​ียงในจั​ังหวั​ัดราชบุ​ุรี​ีอี​ีก คณะหนึ่​่�งด้​้วย

อ้​้างอิ​ิง พิ​ิชั​ัย แก้​้วเนตร สั​ัมภาษณ์​์เมื่​่�อ วั​ันที่​่� ๑๐ ธั​ันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

39


THE BACH JOURNEY

Thomaskirche (โธมั​ัสเคี​ียร์​์เคอ), Leipzig จากด้​้านตะวั​ันออกของโบสถ์​์

ตามรอยเส้นทาง Bach (ตอนที่​่� ๒๗)

เรื่อง: ฮิ โรชิ มะซึชิม่า (Hiroshi Matsushima) อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเครื่องเป่ าลมไม้ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

๒๗. เมื​ือง Leipzig (ไลป์​์ซิ​ิก) IV [ต้​้นแบบด้​้านดนตรี​ี] หลั​ังจากประพั​ันธ์​์ผลงาน “Das Musikalische Opfer (ดาส มู​ูสิ​ิ คาลิ​ิชเชอ อปแฟร์​์: The Musical Offering), BWV 1079” เป็​็นที่​่�

40

แปล: ชั​ัชพล เจี​ียมจรรยง (Chatchapon Jiamjanyoung) อาจารย์​์ประจำำ�ภาควิ​ิชาเครื่​่�องลมไม้​้ วิ​ิทยาลั​ัยดนตรี​ี มหาวิ​ิทยาลั​ัยรั​ังสิ​ิ ต

เรี​ียบร้​้อย Bach ได้​้เริ่​่�มประพั​ันธ์​์ผลงาน “Die Kunst der Fuge (ดี​ี คุ​ุนสท์​์ แดร์​์ ฟิ​ิวก์​์: The Art of Fugue), BWV 1080” นี่​่�อาจกล่​่าวได้​้ว่า่ เป็​็นผลงาน ต่​่อเนื่​่�องจาก The Musical Offering ก็​็ว่า่ ได้​้ แต่​่มีทำำ� ี นองที่​่�แตกต่​่างกั​ันไป

และมี​ีการพั​ัฒนาทำำ�นองที่​่�หลาก หลาย อย่​่างไรก็​็ตาม ในผลงานชิ้​้�น นี้​้� Bach ได้​้ทดลองทำำ�ทุ​ุกอย่​่างที่​่� เป็​็นไปได้​้เกี่​่�ยวกั​ับ fugue ในผลงาน ชิ้​้�นนี้​้� ในขณะที่​่�เขาได้​้พั​ัฒนาการ ประพั​ันธ์​์เพลงแบบ canon ในผลงาน


Musikalische Opfer หลั​ักการของ fugue ไม่​่มี​ีอะไร ยาก: ทำำ�นองเริ่​่�มแรก (subject) จะ นำำ�เสนอทำำ�นองโซปราโน ส่​่วนแนว อื่​่�น ๆ อย่​่าง อั​ัลโต เทเนอร์​์ เบส ที่​่� ทยอยเพิ่​่�มเติ​ิมเข้​้ามา จะทำำ�หน้​้าที่​่� เลี​ียนแบบและทำำ�ซ้ำำ��แนวทำำ�นองเริ่​่�ม แรก แต่​่ที่​่�ทำำ�ให้​้ fugue แตกต่​่างจาก canon คื​ือ ในขณะที่​่� canon มั​ัก จะใช้​้ทำำ�นองสั้​้�น ๆ และมี​ีการทำำ�ซ้ำำ�� ที่​่�ชั​ัดเจน แต่​่ fugue จะมี​ีการแต่​่ง ทำำ�นองที่​่�ยาวกว่​่าและมี​ีโครงสร้​้างที่​่� สมบู​ูรณ์​์ในแต่​่ละแนว (มี​ีการแบ่​่ง สั​ัดส่​่วนของแต่​่ละทำำ�นองไว้​้อย่​่าง ชั​ัดเจน) และไม่​่ได้​้มี​ีการเลี​ียนแบบ ทำำ�นองที่​่�ตายตั​ัว นอกจากนี้​้� fugue อาจมาในรู​ูปแบบของการนำำ�ทำำ�นอง

แรกเริ่​่�มมาแปลงออกไปก็​็ได้​้เช่​่นกั​ัน (การพลิ​ิกกลั​ับ การยื​ืดขยาย ฯลฯ) ซึ่ง่� เป็​็นสิ่​่�งที่​่�หาได้​้ยากมากใน canon ในส่​่วนของ subject นั้​้�น จะคอยวน กลั​ับมาอยู่​่�เรื่​่�อย ๆ ตลอดทั้​้�งเพลง แต่​่ไม่​่ได้​้อยู่​่�ในแนวโซปราโนเสมอไป หรื​ือหากกล่​่าวในอี​ีกมุ​ุมหนึ่​่�งอาจจะ บอกได้​้ว่​่า fugue ก็​็คื​ือ canon ที่​่� ซั​ับซ้​้อนขึ้​้�นนั่​่�นเอง การประพั​ันธ์​์ fugue มี​ีแนวทางใน การพั​ัฒนาเพลงที่​่�เป็​็นไปได้​้มากกว่​่า canon โดยเฉพาะถ้​้าผู้​้�ประพั​ันธ์​์จัดั แนว ทำำ�นองหลั​ักไว้​้ ๒-๓ แนว (double หรื​ือ triple fugue) Bach พยายาม แสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงแนวทางที่​่�เป็​็นไปได้​้ ทุ​ุกทางในการพั​ัฒนา fugue โดย เริ่​่�มจาก fugue แบบง่​่าย ๆ (จาก

หมายเลข ๑ ถึ​ึง ๔) จนไปถึ​ึงการนำำ� ทำำ�นองเริ่​่�มต้​้นมากลั​ับหั​ัวกลั​ับหาง (หมายเลข ๑๒) ซึ่​่�งเป็​็นการนำำ�แนว ทำำ�นองหลั​ักมาพลิ​ิกกลั​ับโดยที่​่�ไม่​่ทำำ�ให้​้ ผิ​ิดกฎของ contrapuntal (คอนทรา พุ​ุงทั​ัล: เคาน์​์เตอร์​์พอยท์​์) และยั​ัง คงความไพเราะเอาไว้​้ นอกจากผลงาน “Die Canonischen Veränderungen (ดี​ี คา โนนิ​ิสเคน เฟเรนเดรุ​ุงเงน: The Canonic Variations), BWV 769” แล้​้ว Die Kunst der Fuge ยั​ังเป็​็น อี​ีกหนึ่​่�งผลงานที่​่�ประพั​ันธ์​์ขึ้​้�นสำำ�หรั​ับ สมาคม Mizler society แต่​่เดิ​ิม Bach ต้​้องการที่​่�จะประพั​ันธ์​์ผลงาน fugue ชุ​ุดนี้​้�ทั้​้�งหมด ๒๔ ท่​่อน แต่​่ใน ขณะที่​่�เขากำำ�ลั​ังประพั​ันธ์​์ท่อ่ นที่​่� ๑๙

หน้​้าสุ​ุดท้​้ายของ Die Kunst der Fuge (ลายมื​ือของ Bach) Bach ไม่​่ได้​้กำำ�หนดเครื่​่�องดนตรี​ีใด ๆ ไว้​้เป็​็นพิ​ิเศษ อาจ เนื่​่�องมาจากการที่​่� Bach ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับรู​ูปแบบมากกว่​่าสี​ีสั​ันของเสี​ียง Carl Philipp Emanuel Bach ได้​้ลงท้​้าย ในผลงานที่​่�ยั​ังไม่​่สมบู​ูรณ์​์นี้​้�ว่​่า “ในขณะที่​่�ผู้​้�ประพั​ันธ์​์กำำ�ลั​ังเขี​ียนโน้​้ต BACH ลงในแนวเคาน์​์เตอร์​์พอยท์​์ของ fugue บทนี้​้� เขาก็​็ได้​้เสี​ียชี​ีวิ​ิตลง” อย่​่างไรก็​็ตาม Bach ไม่​่ได้​้เสี​ียชี​ีวิ​ิตขณะประพั​ันธ์​์ผลงานชิ้​้�นนี้​้�จริ​ิง ๆ เขาจำำ�เป็​็นต้​้องหยุ​ุดการประพั​ันธ์​์ ผลงานชิ้​้�นนี้​้�ในขณะที่​่�เขายั​ังมี​ีชี​ีวิ​ิตอยู่​่� เนื่​่�องจากการที่​่�เขาเริ่​่�มสู​ูญเสี​ียการมองเห็​็นตั้​้�งแต่​่ช่​่วงปลายปี​ี ค.ศ. ๑๗๔๘ (พ.ศ. ๒๒๙๑) และอาจเริ่​่�มให้​้ผู้​้�อื่​่�นเป็​็นคนบั​ันทึ​ึกโน้​้ตบทเพลงที่​่�ซั​ับซ้​้อนบทนี้​้�แทน ซึ่​่�งในตอนแรก ผลงานชิ้​้�นนี้​้�มี​ีความเป็​็นไปได้​้ ที่​่�จะอยู่​่�ในรู​ูปแบบของ fugue แบบ ๔ แนว ไม่​่ใช่​่ ๓ แนว

41


เขาก็​็ต้​้องวางมื​ือจากงานประพั​ันธ์​์ ชิ้​้�นนี้​้� เนื่​่�องมาจากอาการป่​่วย (วิ​ิธี​ี การแบ่​่งท่​่อนมี​ีหลายแบบมากครั​ับ) เป็​็นไปได้​้ว่า่ เขารู้​้�ตั​ัวอยู่​่�แล้​้วว่​่า จะมี​ีชีวิี ติ อยู่​่�ได้​้อีกี ไม่​่นาน เราพบลาย เซ็​็นของเขาในท่​่อนที่​่� ๑๙ ของ Die Kunst der Fuge ซึ่​่�งยั​ังประพั​ันธ์​์ ไม่​่เสร็​็จ: ทำำ�นองหลั​ักของแนวที่​่� ๓ ของท่​่อนนี้​้� เริ่​่�มจากห้​้องที่​่� ๑๙๓ มี​ี

โน้​้ตหลั​ักอยู่​่� ๔ ตั​ัว คื​ือ B, A, C, H (B-flat, A, C และ A-natural) จากการที่​่�นั​ักวาดภาพในยุ​ุคฟื้​้�นฟู​ู ศิ​ิลปวิ​ิทยาได้​้มีกี ารแฝงสั​ัญลั​ักษณ์​์ที่​่� บ่​่งบอกถึ​ึงตนเองไว้​้ในภาพวาด Bach จึ​ึงอยากทำำ�เช่​่นนั้​้�นกั​ับผลงานอั​ันยอด เยี่​่�ยมของตนเองบ้​้าง ความสนใจของ Bach ในช่​่วงปี​ี ท้​้าย ๆ จะเกี่​่�ยวกั​ับเรื่​่�องเคาน์​์เตอร์​์

การรั​ักษาต้​้อในช่​่วงศตวรรษที่​่� ๑๘ โดย Robert James (ค.ศ. ๑๗๐๓-๑๗๗๖ / พ.ศ. ๒๒๔๖-๒๓๑๙) จากหนั​ังสื​ือ “Dictionnaire Universel de Médecine” มี​ีประโยคหนึ่​่�งได้​้กล่​่าวถึ​ึงนาย Taylor ไว้​้ ว่​่า “ผมอดขำำ�กั​ับวิ​ิธี​ีการผ่​่าตั​ัดของหมอชาวอั​ังกฤษคนหนึ่​่�งที่​่�มี​ีชื่​่�อว่​่า Taylor ไม่​่ได้​้ เขาผ่​่าเปิ​ิดกระจกตาและตาขาวก่​่อนที่​่�จะนำำ�เลนส์​์ตา ออกมา ซึ่​่�งเป็​็นการรั​ักษาที่​่�แปลกมาก แต่​่ชายคนนั้​้�นก็​็ดู​ูมี​ีทั​ักษะที่​่�ดี​ีที​ี เดี​ียว แต่​่ด้​้วยความเคารพนะครั​ับ สำำ�หรั​ับผมแล้​้ว นั่​่�นมั​ันปาหี่​่�ชั​ัด ๆ” (Charles de Brosses, ค.ศ. ๑๗๓๙ / พ.ศ. ๒๒๘๒)

42

พอยท์​์; การประพั​ันธ์​์เพลงแบบหลาก แนวที่​่�ทุ​ุกทำำ�นองมี​ีความสำำ�คั​ัญเท่​่า เที​ียมกั​ัน มี​ีการจั​ัดการเสี​ียงประสาน และการเลี​ียนแบบทำำ�นองในระดั​ับ เสี​ียงที่​่�แตกต่​่างกั​ันได้​้อย่​่างลงตั​ัว อี​ีก ทั้​้�งยั​ังมี​ีการเปลี่​่�ยนแปลงทำำ�นองหลั​ัก ได้​้อย่​่างอิ​ิสระ Bach ได้​้เป็​็นผู้​้�นำำ�การ ประพั​ันธ์​์เพลงลั​ักษณะนี้​้�ที่​่�มี​ีมาตั้​้�งแต่​่ ยุ​ุคกลางไปสู่​่�จุ​ุดสู​ูงสุ​ุด [ปัญหาครอบครัว] Bach ยั​ังคงพยายามประพั​ันธ์​์ผล งานออกมาอย่​่างสุ​ุดความสามารถ แต่​่ ก็​็ยังั ต้​้องคอยห่​่วงเรื่​่�องเกี่​่�ยวกั​ับลู​ูก ๆ ของเขาด้​้วย หนึ่​่�งในนั้​้�น คื​ือ Gottfried Heinrich (ก็​็อทฟรี​ีด ไฮน์​์ริ​ิค: ค.ศ. ๑๗๒๔-๑๗๖๓ / พ.ศ. ๒๒๖๗-๒๓๐๖) บุ​ุตรชายคนแรกของ Johann Sebastian และ Anna Magdalena แม้​้จะมี​ี ทั​ักษะในการเล่​่นคี​ีย์บ์ อร์​์ดที่​่�ดี​ีแต่​่กลั​ับ มี​ีอาการป่​่วยทางจิ​ิต ส่​่วน Johann Gottfried (โยฮั​ันน์​์ ก็​็อทฟรี​ีด: ค.ศ. ๑๗๑๕-๑๗๓๙ / พ.ศ. ๒๒๕๘-๒๒๘๒) บุ​ุตรชายคนที่​่� ๔ ของ Bach และ Maria Barbara ก็​็เป็​็นนั​ักดนตรี​ีที่​่�มีพี รสวรรค์​์เช่​่นกั​ัน แต่​่เป็​็นคนขาดความรั​ับผิ​ิดชอบ จน Bach ต้​้องช่​่วยให้​้ได้​้งาน แต่​่แล้​้วก็​็ ไปติ​ิดหนี้​้�สิ​ินเอาไว้​้มากมาย ซึ่ง่� ทำำ�ให้​้ Bach หั​ัวเสี​ียเป็​็นอย่​่างมาก และเสี​ีย ชี​ีวิ​ิตลงด้​้วยวั​ัยเพี​ียง ๒๔ ปี​ี นอกจากนี้​้� Bach ยั​ังพยายาม หางานให้​้กับั Wilhelm Friedemann (วิ​ิลเฮล์​์ม ฟรี​ีเดอมั​ันน์​์: ค.ศ. ๑๗๑๐ -๑๗๘๔ / พ.ศ. ๒๒๕๓-๒๓๒๗) ผู้​้�ที่​่� มี​ีพรสรรค์​์ด้า้ นดนตรี​ีเช่​่นกั​ัน อย่​่างไร ก็​็ตาม หลั​ังจากที่​่� Bach เสี​ียชี​ีวิติ ลง เขาก็​็เริ่​่�มมี​ีอาการผิ​ิดปกติ​ิทางจิ​ิต มี​ี อาการซึ​ึมเศร้​้าและเสี​ียชี​ีวิติ ลง อย่​่าง น้​้อย ๆ ก็​็เป็​็นหนึ่​่�งในลู​ูกของ Bach ไม่​่กี่​่�คนที่​่�เสี​ียชี​ีวิ​ิตหลั​ังพ่​่อ


[การผ่​่าตั​ัดและเสี​ียชี​ีวิ​ิต] ความตายเป็​็นสิ่​่�งที่​่�แน่​่นอน ใน วั​ันศุ​ุกร์​์ประเสริ​ิฐของปี​ี ค.ศ. ๑๗๔๙ (พ.ศ. ๒๒๙๒) Bach ได้​้แสดง บทเพลง Johannes Passion ที่​่� โบสถ์​์ Nikolaikirche (นิ​ิโคลาย เคี​ียร์​์เค่​่อ) เขารั​ักผลงานชิ้​้�นนี้​้�มาก และแก้​้ไขโน้​้ตอยู่​่�เรื่​่�อยมานั​ับตั้​้�งแต่​่ การแสดงครั้​้�งแรกในปี​ี ค.ศ. ๑๗๒๔ (พ.ศ. ๒๒๖๗) และนี่​่�คื​ือการแสดง ผลงานขนาดใหญ่​่ต่อ่ หน้​้าฝู​ูงชนเป็​็น ครั้​้�งสุ​ุดท้​้าย จากการโหมงานหนั​ัก ส่​่งผลให้​้ใน ช่​่วงต้​้นปี​ี ค.ศ. ๑๗๔๙ (พ.ศ. ๒๒๙๒) เขาเริ่​่�มสู​ูญเสี​ียการมองเห็​็นและมี​ี สุ​ุขภาพที่​่�ย่ำำ��แย่​่ลง ข่​่าวนี้​้�แพร่​่กระจาย ไปอย่​่างรวดเร็​็ว เมื่​่�อข่​่าวไปถึ​ึงสภา เมื​ือง Leipzig ทางสภาจึ​ึงจั​ัดการ ทดสอบเพื่​่�อหาคนมาแทนตำำ�แหน่​่ง ของ Bach ทั​ันที​ี และเชิ​ิญ Johann

Gottlob Harrer (โยฮั​ันน์​์ ก็​็อทโลบ ฮาร์​์เรอร์​์: ค.ศ. ๑๗๐๓-๑๗๕๕ / พ.ศ. ๒๒๔๖-๒๒๙๘) วาทยกร วงขั​ับร้​้องประสานเสี​ียงจากเมื​ือง Dresden (เดรสเดน) ซึ่ง่� ข่​่าวนี้​้�ก็​็รู้​้� ไปถึ​ึงหู​ู Bach เช่​่นกั​ัน เพื่​่�อเป็​็นการ สยบข่​่าวลื​ือและแสดงให้​้เห็​็นว่​่ายั​ัง มี​ีแรง เขาจึ​ึงเดิ​ินทางไปร่​่วมพิ​ิธี​ีล้​้าง บาปของหลานตนเอง เมื่​่�อ Harrer เห็​็นว่​่า Bach ยั​ังไม่​่ยอมตายง่​่าย ๆ เขาจึ​ึงต้​้องเดิ​ินทางกลั​ับ Dresden ไปด้​้วยความผิ​ิดหวั​ัง ในช่​่วงเวลานั้​้�นได้​้มีจัี กั ษุ​ุแพทย์​์ชาว อั​ังกฤษเดิ​ินทางมายั​ังเมื​ือง Leipzig เพื่​่�อผ่​่าตั​ัด บรรยาย และสาธิ​ิตเกี่​่�ยว กั​ับความสามารถทางการผ่​่าตั​ัดของ เขา Bach จึ​ึงได้​้ลองฝากความหวั​ัง ครั้​้�งสุ​ุดท้​้ายไว้​้กั​ับจั​ักษุ​ุแพทย์​์คน นี้​้� และลองเข้​้ารั​ับการรั​ักษา การ ผ่​่าตั​ัดเกิ​ิดขึ้​้�นทั้​้�งหมด ๒ ครั้​้�ง คื​ือ

ในเดื​ือนมี​ีนาคมและเมษายนของปี​ี ค.ศ. ๑๗๕๐ (พ.ศ. ๒๒๙๓) แต่​่ การผ่​่าตั​ัดก็​็ไม่​่ประสบความสำำ�เร็​็จ ชายผู้​้�อ้​้างตนว่​่าเป็​็น “อั​ัศวิ​ิน” และ “จั​ักษุ​ุแพทย์​์หลวง (ถวายการรั​ักษา ดวงตาให้​้แก่​่พระเจ้​้า George ที่​่� ๒)” มี​ีชื่​่�อว่​่า John Taylor หลั​ังจากผ่​่าตั​ัด ให้​้ Bach ผ่​่านมา ๒ ปี​ี เขายั​ังไป ผ่​่าตั​ัดต้​้อให้​้แก่​่ Handel (แฮนเดล) อี​ีกด้​้วย แต่​่สุ​ุดท้​้ายก็​็จบด้​้วยความ ล้​้มเหลวอี​ีกเช่​่นเคย หมอปลอมคน นี้​้�ได้​้สร้​้างสถิ​ิติ​ิด้​้วยการทำำ�ให้​้คี​ีตกวี​ี ชาวเยอรมั​ันตาบอดไปถึ​ึง ๒ คน จากการผ่​่าตั​ัด ๒ ครั้​้�ง และผล ข้​้างเคี​ียงจากยา ส่​่งผลให้​้ Bach ตาบอดสนิ​ิท และมี​ีสุ​ุขภาพที่​่�แย่​่ลง เรื่​่�อย ๆ แต่​่อย่​่างไรก็​็ตาม Bach ยั​ัง คงทำำ�งานต่​่อไป โดยรั​ับนั​ักเรี​ียนใหม่​่ เพิ่​่�มมาอี​ีกหนึ่​่�งคน นั่​่�นคื​ือ Johann Gottfried Müthel (โยฮั​ันน์​์ ก็​็อท

โบสถ์​์ Johhaneskirche และบริ​ิเวณสุ​ุสานในช่​่วงปี​ี ค.ศ. ๑๗๐๐ (พ.ศ. ๒๒๔๓) โดย Johann Stridbeck (โยฮั​ันน์​์ ชตริ​ิดเบค) (Stadtgeschichtliches Museum, Leipzig / Public Domain)

43


ฟรี​ีด มื​ือเธล: ค.ศ. ๑๗๒๘-๑๗๘๘ / พ.ศ. ๒๒๗๑-๒๓๓๑) และประพั​ันธ์​์ เพลงโดยให้​้ Altnikol (อั​ัลต์​์นิ​ิโคล) บุ​ุตรบุ​ุญธรรมของตนเป็​็นผู้​้�ช่​่วยจด บั​ันทึ​ึกโน้​้ต ผลงานเพลงขั​ับร้​้อง ประสานเสี​ียงชิ้​้�นสุ​ุดท้​้ายของเขาก็​็ คื​ือ “Vor deinen Thron tret ich hiermit (ฟอร์​์ ดายเนน โธรนเทรท อิ​ิค เฮี​ียร์​์มิทิ : เบื้​้�องหน้​้าบั​ัลลั​ังก์​์ของ ท่​่าน บั​ัดนี้​้�ข้​้าปรากฏกายา), BWV 668” ก็​็ถู​ูกประพั​ันธ์​์ขึ้​้�นด้​้วยวิ​ิธี​ี เดี​ียวกั​ันนี้​้� หลั​ังจากเสร็​็จสิ้​้�นผลงาน ชิ้​้�นนี้​้� Bach ก็​็ไม่​่มีแี รงที่​่�จะทำำ�งานอี​ีก ต่​่อไป ในวั​ันที่​่� ๑๘ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๗๕๐ (พ.ศ. ๒๒๙๓) อยู่​่� ๆ เขา ก็​็เริ่​่�มมองเห็​็นขึ้​้�นมาเล็​็กน้​้อย แต่​่ใน อี​ีกไม่​่กี่​่�ชั่​่�วโมงต่​่อมา อาการของเขา ก็​็เริ่​่�มทรุ​ุดและมี​ีไข้​้ขึ้​้�นสู​ูง ในวั​ันที่​่� ๒๒

กรกฎาคม เขาได้​้รับั ประทานอาหาร ค่ำำ��มื้​้�อสุ​ุดท้​้ายแล้​้วมี​ีลมหายใจอยู่​่�ต่​่อ อี​ีก ๖ วั​ัน และแล้​้วในวั​ันที่​่� ๒๘ เวลา ๒๐.๔๕ น. เขาก็​็ได้​้ลาโลกไปสู่​่�อ้​้อม กอดของพระเจ้​้าด้​้วยวั​ัย ๖๕ ปี​ี ร่​่างของเขาถู​ูกฝั​ังอยู่​่�ในสุ​ุสานของ โบสถ์​์ Johanniskieche (โยฮั​ันนิ​ิส เคี​ียร์​์เค่​่อ) ซึ่​่�งตั้​้�งอยู่​่�นอกกำำ�แพงเมื​ือง และหลุ​ุมศพของเขาก็​็ได้​้ถูกู ผู้​้�คนลื​ืม เลื​ือนไปกว่​่า ๑๕๐ ปี​ี หลุ​ุมศพของ เขาได้​้ถูกู ค้​้นพบในช่​่วงศตวรรษที่​่� ๑๙ จากการที่​่�โบสถ์​์ Johanniskirche ซ่​่อมแซมบู​ูรณะขนานใหญ่​่ ร่​่าง ของเขาได้​้ถู​ูกนำำ�ออกจากหลุ​ุมศพ แล้​้วนำำ�เข้​้าไปเก็​็บไว้​้ภายในโบสถ์​์ Johanniskirche แต่​่เมื่​่�อโบสถ์​์ถู​ูก ทำำ�ลายไปในช่​่วงสงครามโลกครั้​้�งที่​่� ๒ ในช่​่วงปี​ี ค.ศ. ๑๙๕๐ (พ.ศ. ๒๔๙๓)

๒๐๐ ปี​ีหลั​ังการตายของ Bach ร่​่าง ที่​่�เหลื​ือของเขาได้​้ถูกู ย้​้ายไปยั​ังโบสถ์​์ Thomaskirche (โธมั​ัสเคี​ียร์​์เค่​่อ) และได้​้อยู่​่�ที่​่�นั่​่�นจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน [บทส่​่งท้​้าย] หลั​ังจากที่​่�บรมครู​ูได้​้เสี​ียชี​ีวิ​ิต ไป นี่​่�ก็​็ผ่​่านมา ๒๗๐ ปี​ีแล้​้ว โลก เปลี่​่�ยนแปลง มนุ​ุษย์​์เปลี่​่�ยนไป แต่​่ ดนตรี​ีของ Bach ยั​ังทรงพลั​ังและ สวยงามไม่​่เปลี่​่�ยนแปลง ดนตรี​ี ข องเขาช่​่ า งทรงพลั​ั ง เหลื​ือเกิ​ิน! การเปลี่​่�ยนแปลงไม่​่ใช่​่สิ่​่�งเลวร้​้าย เพราะเราเรี​ียนรู้​้�ได้​้มากมายจากการ เปลี่​่�ยนแปลง แต่​่การมี​ีอยู่​่�ของสิ่​่�งที่​่�ไม่​่ เคยเปลี่​่�ยนแปลง ก็​็สร้​้างพลั​ังให้​้เรา ได้​้เช่​่นกั​ัน เมื่​่�อเรารู้​้�สึกึ หวาดวิ​ิตกและ

Alte Johannisfriedhof (อั​ัลเทอ โยฮั​ันนิ​ิสฟรี​ีดโฮฟ) เป็​็นสุ​ุสานที่​่�มี​ีคุ​ุณค่​่าทางประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ ตั้​้�งอยู่​่�หลั​ังพิ​ิพิ​ิธภั​ัณฑ์​์ Grassi (กราสซี​ี: พิ​ิพิ​ิธภั​ัณฑ์​์ของมหาวิ​ิทยาลั​ัย Leipzig ที่​่�รวบรวมเครื่​่�องดนตรี​ีบาโรกเอาไว้​้มากมาย) ต่​่อมาในช่​่วงต้​้น ศตวรรษที่​่� ๒๐ ได้​้ถู​ูกดั​ัดแปลงเป็​็นสวนสาธารณะของพิ​ิพิ​ิธภั​ัณฑ์​์

44


หลุ​ุมศพของ Bach ในโบสถ์​์ Thomaskirche น่​่าประทั​ับใจมากที่​่�ได้​้มี​ีโอกาสมาเห็​็นสถานที่​่�ที่​่�ร่​่างของนั​ักดนตรี​ีอั​ัจฉริ​ิยะ พำำ�นั​ักอยู่​่�

เหนื่​่�อยกั​ับความเปลี่​่�ยนแปลง ลอง นึ​ึกย้​้อนไปถึ​ึงสิ่​่�งที่​่�ไม่​่เคยเปลี่​่�ยนแปลง เลยมานั​ับศตวรรษ ดนตรี​ีของ Bach ก็​็เป็​็นหนึ่​่�งในนั้​้�น มั​ันเยี​ียวยาเรา ให้​้ กำำ�ลั​ังใจเรา และให้​้พลั​ังเราเพื่​่�อใช้​้ ชี​ีวิ​ิตอยู่​่�ต่​่อไป ในปี​ี ค.ศ. ๑๙๗๗ (พ.ศ. ๒๕๒๐) ท่​่ อ นแรกของ Brandenburg Concerto หมายเลข ๒, “Gavotte en rondeaux” จาก Partita หมายเลข ๓, และ Prelude and Fugue in C, หมายเลข ๑ จาก The Well-

Tempered Clavier เล่​่ม ๒ ได้​้ ถู​ูกบรรจุ​ุลงไปในข้​้อความของยาน อวกาศที่​่�จะถู​ูกส่​่งออกไปนอกโลก เพื่​่�อเป็​็นการสื่​่�อสารกั​ับสิ่​่�งมี​ีชีวิี ติ ทรง ภู​ูมิปัิ ญ ั ญาจากต่​่างดาว อุ​ุปกรณ์​์ที่​่�ใช้​้ บั​ันทึ​ึกเสี​ียงที่​่�ถู​ูกส่​่งออกไปถู​ูกห่​่อหุ้​้�ม ด้​้วยแร่​่ยู​ูเรเนี​ียม-๒๓๘ ซึ่​่�งสามารถ มี​ีอายุ​ุอยู่​่�ได้​้ถึ​ึง ๔๐ ล้​้านปี​ี ทำำ�ไมต้​้องดนตรี​ีของ Bach? เพราะเพลงของ Bach มี​ีการคำำ�นวณ มาอย่​่างดี​ีและงดงาม ตรรกะเกี่​่�ยว กั​ับการคำำ�นวณ เป็​็นภาษาสากล

ในจั​ักรวาล นั​ักฟิ​ิสิ​ิกส์​์จึ​ึงมี​ีแนวคิ​ิด ว่​่า เพลงแบบนี้​้�คงมี​ีประโยชน์​์ที่​่�จะ ใช้​้สื่​่�อสารกั​ับสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตนอกโลกได้​้ เพลงของ Bach คงอยู่​่�มาหลาย ศตวรรษแล้​้ว และดนตรี​ีของเขาก็​็ จะคงอยู่​่�ไปอี​ีกหลายล้​้านปี​ี แม้​้ว่​่า มนุ​ุษยชาติ​ิจะสู​ูญสิ้​้�นไปแล้​้วก็​็ตาม หากคุ​ุณรู้​้�สึ​ึกว่​่าชี​ีวิ​ิตนี้​้�มื​ืดมน กั​ังวล กั​ับอนาคตที่​่�ยั​ังมาไม่​่ถึ​ึง หายใจเข้​้า ลึ​ึก ๆ แล้​้วมานั่​่�งฟั​ังเพลงของ Bach กั​ันเถอะ

45


[ชวงชีวิตของ Johann Sebastian Bach] ค.ศ. ๑๖๘๕ (พ.ศ. ๒๒๒๘)

เกิดที่เมือง Eisenach (ไอนเซอนาค) เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม เขามีความทรงจํามากมายเกี่ยวกับชีวิตในวัยเด็กของเขาที่ Eisenach รวมไป ถึงบานของครอบครัว (มีหองพักสําหรับนักดนตรีฝกหัดดวย) มีทั้งโรงเรียน สอนภาษาละตินและวงขับรองประสานเสียงของโรงเรียนโบสถ St. George (เซนตจอรจ) ที่มีออรแกน ศาลาวาการที่จะมีเสียงแตรบรรเลงมาจากหอคอย

ค.ศ. ๑๖๙๓-๑๖๙๕ เขาเรียนที่โรงเรียนสอนภาษาละติน (พ.ศ. ๒๒๓๖-๒๒๓๘) สูญเสียแมไปเมื่อป ค.ศ. ๑๖๙๔ (พ.ศ. ๒๒๓๗) ในขณะนั้นอายุได ๙ ป ค.ศ. ๑๖๙๕ (พ.ศ. ๒๒๓๘)

ยายไปอยูเมือง Ohrdruf (โอรดรุฟ) โดยอาศัยอยูกับพี่ชายคนโต Johann Christoph (โยฮันน คริสตอฟ) จากการเสียชีวิตของ Johann Ambrosius (โยฮันน อัมโบรซิอุส) เขาจึง กลายเปนเด็กกําพรา Bach ไดเขาเรียนที่โรงเรียนภาษาละติน ในชวงเวลา นั้ น การศึ ก ษาที่ เ ป น ที่ ย อมรั บ จะอยู ที่ เ มื อ งของดยุ ค แห ง Saxe-Gotha (ซักเซอ-โกธา) เขาตองไปเรียนกับพี่ชายของเขา Johann Jakob (โยฮันน ยาโคบ) และลูกพี่ลูกนอง Johann Ernst (โยฮันน แอรนสท) เขารวมวง ขับรองประสานเสียงของโรงเรียน ซึ่งตองไปแสดงที่ปราสาท Ehrenstein (เอฮเรนชไตน) งานแตงงานและงานศพอยูเปนประจํา ภายใตการดูแลของ Johann Christoph ผูเปนพี่ชาย Bach ไดมีโอกาส เรียนออรแกน ในชวงเวลานั้นออรแกนของโบสถ St. Michael เพิ่งไดรับ การซอมแซมเสร็จสมบูรณ ทําให Johann Sebastian ในวัยเด็กไดมีโอกาส เรียนรูเกี่ยวกับโครงสรางของออรแกน ในป ค.ศ. ๑๗๐๔ (พ.ศ. ๒๒๔๗) เขาไดประพันธบทเพลง Capriccio (คาปริซชิโอ) ผลงานสําหรับคียบอรด และอุทิศใหแกพี่ชายของเขา สามพี่นองตระกูล Bach ไดสูญเสียบานไปในเหตุไฟไหมครั้งใหญ เมื่อป ค.ศ. ๑๗๕๓ (พ.ศ. ๒๒๙๖)

ค.ศ. ๑๗๐๐-๑๗๐๒ รวมเปนนักรองประสานเสียงของโรงเรียน Michaelisschule (มิคาเอลลิส (พ.ศ. ๒๒๔๓-๒๒๔๕) ชูเลอ) ในเมือง Lüneburg (ลือเนอบวรก) เขายังคงไปเยี่ยมเยียน Johann Adam Reincken (โยฮันน อดัม ไรนเคน) ที่ Hamburg (ฮัมบวรก) และเรียนรูการบรรเลงออรแกนแบบเยอรมันทางตอนเหนือ ในป ค.ศ. ๒๐๐๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙) สําเนาของผลงานสําหรับออรแกนหลาย ฉบั บ ถู ก ค น พบที่ ห อ งสมุ ด Anna Amalia (อั น นา อามาเลี ย ) ที่ เ มื อ ง Weimar (วายมาร) ซึ่งตัวตนฉบับเปนลายมือของ Bach ในชวงแรกที่ยังคง หลงเหลืออยู จากการวิเคราะหแลว Bach ตองเริ่มมีความสามารถดาน ดนตรีและการแสดงตั้งแตอายุได ๑๓ ป: ตัวสําเนาใน Weimar เปนผลงาน ของเขาที่อยูในชวงที่ยังเปนนักเรียนอยูที่ Lüneburg และ Ohrdruf ซึ่ง ผลงาน ๒ ชิ้นในนั้นถือวาเปนงานออรแกนที่ยากที่สุดในชวงเวลานั้น นอกจากนี้นักวิจัยยังพบวา กระดาษที่ Bach ใช ไดมาจาก Georg Böhm (เกออรก เบอฮม) นักออรแกนและคีตกวีที่มีชื่อเสียงของเมือง Lüneburg จึงเปนหลักฐานไดดีวา Bach เคยเปนนักเรียนของ Georg Böhm

46


ค.ศ. ๑๗๐๓ (พ.ศ. ๒๒๔๖)

เขาทํางานในวังของดยุค Johann Ernst (โยฮันน แอรนสท) ที่ ๓ แหง Weimar Bach ไดทําหนาที่เปนนักไวโอลินและเปนผูชวยของ Johann Effler (โยฮันน เอฟฟเลอร) นักออรแกนประจําวังเปนเวลาราว ๆ ๖ เดือน ไดรับการแนะนําใหเปนนักออรแกนประจําโบสถ Neue Kirche (นอยเออ เคียรเคอ) เมือง Arnstadt (อารนชตัดท) ในเดือนกรกฎาคม Bach ไดมีโอกาสทดสอบออรแกนหลังใหม ฝมื อของ Johann Friedrich Wender (โยฮันน ฟรีดริค เวนเดอร) ที่โบสถ Neue Kirche (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปน Bach Kirche) ที่ Arnstadt ซึ่งเปนเมือง ที่สมาชิกหลาย ๆ คนในตระกูล Bach พักอาศัยและทํางานอยู และเขาก็ได เปนนักออรแกนที่นั่น

ค.ศ. ๑๗๐๕-๑๗๐๖ เดินทางไป Lübeck (ลือเบค) และอยูตออีกหลายเดือน (พ.ศ. ๒๒๔๘-๒๒๔๙) Bach เดินทางกวา ๔๐๐ กิโลเมตร ดวยการเดิน เพื่อไปฟงการแสดงของ Dietrich Buxtehude (ดีท ริค บุกซเ ตฮูเ ดอ) แตก็ตองแลกดวยการถูก ตักเตือนจาก Arnstadt เพราะเขาหายไปหลายเดือน ค.ศ. ๑๗๐๗ (พ.ศ. ๒๒๕๐)

ทํางานเปนนักออรแกนที่โบสถ Blasiuskirche (บลาซิอุสเคียรเคอ) เมือง Mühlhausen (มึลเฮาเซน) และแตงงานกับ Maria Barbara (มาเรีย บารบารา) ในเดือนมิถุนายน Bach เริ่มทํางานเปนนักออรแกนที่เมือง Mühlhausen ในวันที่ ๑๗ ตุลาคม เขาแตงงานกับลูกพี่ลูกนองของเขา Maria Barbara ที่ Dornheim (ดอรนไฮม) ใกลกับ Arnstadt

ค.ศ. ๑๗๐๘-๑๗๑๗ ได รั บ แต ง ตั้ ง ให เ ป น นั ก ดนตรี เ มเบแร แ ละนั ก ออร แ กนประจํ า วั ง ของดยุ ค (พ.ศ. ๒๒๕๑-๒๒๖๐) Wilhelm Ernst (วิลเฮลม แอรนสท) และ Ernst August (แอรนสท เอากุสต) แหง Saxen-Weimar (ซักเซน-วายมาร) จนถึงป ค.ศ. ๑๗๑๗ (พ.ศ. ๒๒๖๐) เขาไดประพันธผลงานสําหรับออรแกน และฮารปซิคอรดไวจํานวนมาก และยังมี cantata (คันตาตา) อีกกวา ๓๐ บท บุ ต รชาย Wilhelm Friedemann (วิ ล เฮล ม ฟรี เ ดอมั น น ) และ Carl Philipp Emanuel (คารล ฟลิปป เอมานูเอล) เกิดที่ Weimar หลัก ๆ เขาจะทํางานอยูที่โบสถของวัง ซึ่งโดนไฟไหมไปเมื่อป ค.ศ. ๑๗๗๔ (พ.ศ. ๒๓๑๗) ค.ศ. ๑๗๑๓ (พ.ศ. ๒๒๕๖)

การแสดงครั้งแรกของ cantata “Was mir behagt, ist nur die muntre Jagd, (วาส เมียร เบฮากต อิสต นัวร ดี มุนเทอ ยากด)” BWV 208 Bach ประพันธ cantata บทนี้เพื่อใชในงานเฉลิมฉลองวันเกิดของดยุค Christian (คริสเตียน) แหง Sachsen-Weissenfels (ซัคเซน-ไวสเซนเฟลส) ไมกี่ปตอมา Bach ไดแสดงมากมายที่วังหลวงของ Weissenfels ซึ่งไดรับ ผลตอบรับที่ดีจนสงผลใหมีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีมากขึ้น ในป ค.ศ. ๑๗๒๙ (พ.ศ. ๒๒๗๒) เขาไดรับการแตงตั้งใหเปนหัวหนา วง ขับรองประสานเสียงของ Sachsen-Weissenfels โดยผูสําเร็จราชการแหง Weissenfels - เปนตําแหนงที่ทําใหเขาไมสามารถยายไปไหนได 47


48

ค.ศ. ๑๗๑๗ (พ.ศ. ๒๒๖๐)

เซ็นสัญญาเปนหัวหนาวงขับรองประสานเสียงใหกับวังของเจาชาย Leopold (เลโอโปลด) แหง Anhalt-Köthen (อันฮัลท-เคอเธน) จดหมายลาออกของเขาที่ Weimar ไมไดรับการอนุมัติและยังถูกจําคุกอยู เปนเดือนโทษฐานที่ไมเชื่อฟงเจานาย ในเดือนธันวาคม Bach ไดถูกปลอยตัวและมีคําสั่งปลดตําแหนงอยางไมเต็มใจ เขาจึงไปเริ่มงานใหมที่ Köthen ได นอกจากนี้ ในเดือนธันวาคม เขายังเดินทางไปยัง Leipzig บานในอนาคต ของเขา เพื่อตรวจสอบออรแกนของโบสถ Paulinerkirche (เพาลิเนอเคียรเคอ)

ค.ศ. ๑๗๒๐ (พ.ศ. ๒๒๖๓)

การจากไปของภรรยาคนแรก Maria Barbara เมื่อ Bach เดินทางกลับมาจากการเดินทางไป Karlovy Vary (คารโลวี ฟารี) กับเจาชาย เขาก็ไดพบวา ภรรยาของเขา Maria Barbara มีอาการ ปวยจนเสียชีวิตและถูกฝงเปนที่เรียบรอยแลว

ค.ศ. ๑๗๒๑ (พ.ศ. ๒๒๖๔)

แตงงานกับ Anna Magdalena (อันนา มักดาเลนา)

ค.ศ. ๑๗๒๓ (พ.ศ. ๒๒๖๖)

ไดรับตําแหนงนักรองของโบสถ Thomaskiche (โธมัสเคียรเคอ) ใน Leipzig หนาที่ของเขาในโบสถ Thomaskirche นั้น รวมไปถึงการนํา cantata ออก แสดงในงานพิธีของโบสถทุกวันอาทิตยและทุกงานเทศกาล สงผลใหตองมี cantata ออกบรรเลงราว ๆ ๖๐ บท/ป

ค.ศ. ๑๗๒๔ (พ.ศ. ๒๒๖๗)

การแสดงครั้งแรกของ “Johannespassion (โยฮันนเสพาสซิโอน)” BWV 245 เปนการทํางานรวมกันครั้งแรกของ Bach และ Picander (พิคานเดอร)

ค.ศ. ๑๗๒๙ (พ.ศ. ๒๒๗๒)

เขารวมเปนสวนหนึ่งของ Collegium Musicum (คอลเลเจียม มูสิคุม) สถานที่รวมตัวคือราน Café Zimmermann (คาเฟ ซิมเมอรมันน) หนึ่งใน รานกาแฟเจาดังของ Leipzig เขาซอมและแสดงอาทิตยละครั้งที่นั่นทุก อาทิตย และแสดงกลางแจงในชวงฤดูรอน จากกิจกรรมที่ทํารวมกับนักดนตรีกลุมนี้ สงผลใหมีผลงานออกมามากมาย อาทิ Orchestral Suites (BWV 1066-68), violin และ harpsichord concertos (BWV 1041-43, BWV 1052-58), Kaffee-Kantate (BWV 211) เปนตน

ค.ศ. ๑๗๓๐ (พ.ศ. ๒๒๗๓)

บันทึกขอความ “แบบรางสั้น ๆ แตไดใจความ” สําหรับ “ดนตรีในโบสถ” Bach ไดสงจดหมายไปยังสภาประจําเมืองเพื่อขอเงินสนับสนุนสําหรับวง ขับรองประสานเสียงและวงออรเคสตรา

ค.ศ. ๑๗๓๑ (พ.ศ. ๒๒๗๔)

การแสดงครั้งแรกของ “Marks-Passion (มารค พาสซิโอน)” BWV 247 เปนผลงาน Passion ของ Bach ที่หายสาบสูญ แสดงครั้งแรกที่เมือง Leipzig ในวันศุกรประเสริฐที่ ๒๓ มีนาคม ค.ศ. ๑๗๒๓ (พ.ศ. ๒๒๖๖) และปรับปรุงใหมในป ค.ศ. ๑๗๔๔ (พ.ศ. ๒๒๘๗) ตนฉบับไดสูญหายไปเหลือเพียงเนื้อรองที่ประพันธโดย Picander ที่เราได ฟงกันอยูทุกวันนี้เปนการตอยอดที่อางอิงมาจากหลักฐานตรงนี้อีกทีหนึ่ง


ค.ศ. ๑๗๓๓ (พ.ศ. ๒๒๗๖)

การอุทิศผลงาน “Missa (Kyrie และ Gloria),” BWV 232 Bach ไดสงผลงานชิ้นนี้เปนของขวัญใหแก Friedrich August (ฟรีดริค เอากุสต) ที่ ๒ ผูสําเร็จราชการคนใหมของ Sachsen เมือง Dresden เพื่อ หวังจะไดตําแหนงหัวหนาวงขับรองประสานเสียงหรือนักแตงเพลงประจําวัง ของ Sachsen

ค.ศ. ๑๗๓๔ (พ.ศ. ๒๒๗๗)

การแสดงส ว นแรกของ “Weihnachts-Oratorium (ไวฮ น าคทส โอราโทริอุม)” BWV 248 สวนที่เหลือถูกนําออกแสดงในวันที่ ๖ มกราคม ปถัดมา

ค.ศ. ๑๗๓๕ (พ.ศ. ๒๒๗๘)

Johann Christian (โยฮันน คริสเตียน) ลืมตาดูโลก Johann Christian เปนคีตกวีดานอุปรากรเพียงคนเดียวในตระกูล Bach เขาร่ําเรียนที่ประเทศอิตาลี ทํางานเปนนักออรแกนในโบสถที่เมือง Milan (มิลาน) กอนที่จะยายไปประเทศอังกฤษ ในป ค.ศ. ๑๗๖๔ (พ.ศ. ๒๓๐๗) เขาไดมีโอกาสรูจักกับ Mozart (โมสารท) ใน วัย ๘ ป ซึ่งเดินทางมา London (ลอนดอน) กับ Leopold (เลโอโปลด) พอของ เขา สงผลใหอัจฉริยะตัวนอยไดมีโอกาสเรียนรูดนตรีแบบ Galant (กาลองต)

ค.ศ. ๑๗๓๖ (พ.ศ. ๒๒๗๙)

การไมลงรอยกันกับคุณพออธิการของโบสถ Thomasschule Bach และ Johann August Ernesti (โยฮันน เอากุสต แอรเนสตี) มี ปญหาเกี่ยวกับสมาชิกในวงขับรองประสานเสียงอยูระยะหนึ่ง ในเดือนพฤศจิกายน หลังจากสงคําขอไปหลายครั้ง Bach จึงไดรับแตงตั้ง เปนนักแตงเพลงประจําวังของผูสําเร็จราชการแหง Sachsen และวังหลวง ของโปแลนด ทําใหเขาอยูเหนืออํานาจของผูมีอิทธิพลใน Leipzig

ค.ศ. ๑๗๔๒ (พ.ศ. ๒๒๘๕)

การแสดง cantata “Mer hahn en neue Oberkeet (แมร ฮาฮน เอ็น นอยเออ โอแบรเคท)” BWV 212 เปนที่รูจักกันในชื่อ Bauernkantate (เบาแอรนคันทาเทอ: คันตาตาชาว ชนบท) เปน cantata สําหรับคนทั่วไปชิ้นสุดทายของ Bach ที่หลงเหลือ อยู ถู ก นํ า ออกแสดงครั้ ง แรกเพื่ อ เป น การต อ นรั บ ขุ น นางคนใหม Karl Heinrich von Dieskau (คาร ล ไฮน ริ ค ฟอน ดี ส เคา) เมื่ อ วั น ที่ ๓๐ สิงหาคม ณ หมูบาน Kleinzchocher (ไคลนซโคเคอ) ใกลเมือง Leipzig

ค.ศ. ๑๗๔๗ (พ.ศ. ๒๒๙๐)

เดินทางสู Potsdam (โบทสดาม) และ Berlin (เบอรลิน) Bach ได เ ดิ นทางไปหาลูกชายของเขา Carl Philipp Emmanuel และ พระเจา Friedrich (ฟรีดริค) ที่ ๒ แหง Preussen (ปรอยสเซน) ณ วัง Sans Soucci (ซองซ ซู ชี ) เมื อ ง Potsdam ซึ่ ง ได รั บ การต อ นรั บ จาก กษัตริยอยางอบอุนและทาทายใหเขาดน fugue แบบสด ๆ จากทํานองที่ ทรงพระราชาน เขาไดนํามาประพันธตอจนเกิดเปนผลงานชุด “Das Musikalische Opfer (ดาส มูสิคาลิชเชอ อปแฟร: ดนตรีพระราชทาน),” BWV 1079 หลังจาก เขาเดินทางกลับมา Leipzig เปนที่เรียบรอย 49


เขารวมเปนสมาชิกของ “Correspondierende Societät der musicalischen Wissenschaften (โคเรสปอนดี เ รนเดอ โซสิ เ อเตต แดร มู สิ คาลิ ช เชน วิสเซนชาฟเตน: สมาคมดนตรีวิทยา)” ค.ศ. ๑๗๔๘ (พ.ศ. ๒๒๙๑)

“Mass in B minor,” BWV 232 เสร็จสมบูรณ

ค.ศ. ๑๗๔๙ (พ.ศ. ๒๒๙๒)

การแสดงครั้งสุดทายของ Johannes-Passion สุขภาพของ Bach ย่ําแยลง มีความเครียดจากการเริ่มมองไมเห็นและไม สามารถขยับมือขวาไดอยางปกติ

ค.ศ. ๑๗๕๐ (พ.ศ. ๒๒๙๓)

เสียชีวิต (อายุ ๖๕ ป) Bach ได เ ข า รั บ การผ า ตั ด ตาถึ ง ๒ ครั้ ง โดยจั ก ษุ แ พทย ที่ มี ชื่ อ เสี ย งใน ขณะนั้น John Taylor ซึ่งไมประสบความสําเร็จ รางถูกฝงอยูที่ Johannisfriedhof (โยฮันนิสฟรีดโฮฟ: สุสานเกาของโบสถ St. John) เมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม รางที่เหลือของ Johann Sebastian Bach ถูกยายมาฝงที่โบสถ Thomaskirche ตั้งแตป ค.ศ. ๑๙๕๐ (พ.ศ. ๒๔๙๓)

บรรณานุ​ุกรม

Bach-Archiv Leipzig. (2006, August 31). Earliest Music Manuscripts by Johann Sebastian Bach Discovered [Press Release]. Retrieved from http://www.music.qub.ac.uk/tomita/bachbib/news/ news-20060831e.html. Buelow, G. J. (1993). The Late Baroque Era: Vol 4. From The 1680s To 1740. London: The Macmillian Press. Buelow, G. J. (2004). A History of Baroque Music. Bloomington, IU: Indiana University Press. David, H. T., & Mendel, A. (1972). The New Bach Reader: A Life of Johann Sebastian Bach in Letters and Documents (Rev. ed). New York, NY: W. W. Norton. Dowley, T. (2014). New Illustrated Lives of Great Composers: Bach. London: Omnibus Press. Dümling, A. (2004). Friedrich II., sein Lehrer Quantz und der deutsche Geschmack in der Musik. Zeitschrift Für Religions- Und Geistesgeschichte [Frederick II, his teacher Quantz and the German taste in music. Journal of religious and intellectual history], 56(2), 124-135. Retrieved from http:// www.jstor.org/stable/23898668. Fischer, H. C. (2000). Johann Sebastian Bach: Sein Leben in Bildern und Dokumenten [Johann Sebastian Bach: His Life in Pictures and Documents]. Holzgerlingen, Germany: Hänssler Verlag. Humbach, R., Imhof, M., & Gildersleeve, S. (2003). Reisewege zu Bach [Travelling Ways to Bach]. Petersburg, Germany: Michael Imhof Verlag. Jerold, B. (2011). The Bach-Scheibe Controversy: New Documentation. Riemenschneider Bach Institute, 42 (1), 1-45. Retrieved from https://www.jstor.org/stable/41640613. Kenyon, S. N. (2011). The Faber Pocket Guide to Bach. London: Faber & Faber. Kevorkian, T. (2016). Baroque Piety: Religion, Society, and Music in Leipzig, 1650-1750. London: Routledge.

50


Melamed, D. R. (2018). Listening to Bach: The Mass in B Minor and the Christmas Oratorio. New York, NY: Oxford University Press. Neumann, W., & Schulze, H. J. (1972). Dokumente zum Nachwirken Johann Sebastian Bachs 1750 1800: Bach Dokumente III [Documents on the Aftermath of Johann Sebastian Bach 1750-1800: Bach Documents III]. Kassel: Bärenreiter. Newman, A. (1995). Bach and The Baroque 2e - European Source from the Baroque and Early Classical Periods with Special Emphasis on the Music of J.S. Bach. New York, NY: Pendragon Press. Pulver, J. (1912). Music at the Court of Frederick the Great. The Musical Times, 53 (835), 599-601. Retrieved from https://www.jstor.org/stable/907651. Rampe, S. (2015). Bachs Welt: Sein Leben, Sein Schaffen, Seine Zeit [Bach’s World: His Life, His Achievement, His Time]. Liliental, Germany: Laaber Verlag. Rampe, S. (2016). Das Neue Bach Lexikon [The New Bach Encyclopedia]. Liliental, Germany: Laaber Verlag. Schalk, C., & Messerli, C. R. (2005). Thine the Amen: Essays on Lutheran Church Music in Honor of Carl Schalk. Minneapolis: Lutheran University. Tierney, T. (2002). French Baroque and Rococo Fashions. Dover Publications. New York, NY: Dover Publications. Williams, P. (2016). Bach: A Musical Biography. Cambridge: Cambridge University Press Wolff, C. (2001). Johann Sebastian Bach: The Learned Musician. New York, NY: W. W. Norton & Company, Inc. Wolff, C. & Zepf, M (2012). The Organs of J. S. Bach: A Handbook. Champaign, Illinois: University of Illinois Press.

51


MUSIC THERAPY

Self-Reported Distractions of Middle School Students in Listening to Music and Prose Story: Parintorn Pankaew (ปริ​ิญธร ป่​่ านแก้​้ว) 4th year student in Music Therapy major University of Georgia, USA

Paying attention in music classes, ensembles, and lessons is important, especially for children. Attention is defined by speed or accuracy in doing tasks. A person is considered to be attentive if he or she follows an instruction and does the task without off-task behavior. To promote students’ attentiveness, teachers use many strategies to help students focus, for example, assigning one task at a time, or placing a student who often gets lost close to the front of the room to reduce distractions from other students. Attention is

52

a key part of reaching a student’s full potential. A study called “Self-Reported Distractions of Middle School Students in Listening to Music and Prose” was conducted by Patricia J. Flower and Alice Ann M. O’Neil in the music education field. It aims to investigate the effectiveness of the particular listening conditions on attentiveness. They selected participants from three different backgrounds to examine how background or interests may affect attention and enjoyment in listening or studying in music. The groups

of participants were students from a Suzuki summer camp, sixthgraders from a creative writing class, and the entire population of students from a middle school in a big city. These children had totally different backgrounds and knowledge in music. The students from the Suzuki summer camp could play musical instruments, such as piano, violin, cello, and viola. This group knew a wider range of musical repertoire than the other two groups. Only one student from a creative writing class had had a music lesson.


20 out of 74 students from the middle school reported that they had music lessons at least once in their early years. In total, there were 118 participants. The researchers chose two excerpts for the listening task. The one of the music excerpts selected was Prelude from Partita No. 3 in E Major by J.S. Bach. They did similar research and used this piece before. They found that many children do not know this piece. Thus, this piece would be appropriate for unfamiliar music. The prose selection was “The Spring Running” from The Jungle Book by Rudyard Kipling. This selection should be familiar and appropriate for the participants. Many children would know this song because it is from a famous animation. Students were instructed to listen to the music and click on the touchpad whenever they felt bored, distracted, or thought about other things unrelated to the music that they were listening to. Then, they continued listening to the excerpt until they were distracted again. After listening to music, students were asked to rate the familiarity of the excerpt from scale 1 (never heard it before) to 10 (know it very well). The research analysed (a) relationships between participants’ backgrounds and enjoyment, distraction, and familiarity, and (b) comparisons of music and prose excerpts on students’ enjoyment and attention. Students reported more distractions when they listened to Bach excerpts than the song

from The Jungle Book, yet they claimed they liked the Bach Prelude. Interestingly, as children claimed more familiarity with the Bach excerpt, they reported more distraction. Neither age, musical background, years of music lesson, nor music preference showed much relationship on the Bach excerpt. More students from Suzuki camp claimed that they liked the excerpt. In contrast, students rated fewer distractions to The Jungle Book song. The researchers explained that “The Spring Running’’ was written for children and teenagers, so the music is simpler in terms of musical elements, including melody, harmony, tempo, rhythm, timbre, texture, and form. That might be why students were more attentive when they listened to the music. They also found that greater familiarity paralleled an increased number of distractions. However, we need to keep in mind that the student’s self-familiarity wasn’t perfectly accurate. For instance, they know Mowgli and rated the excerpt from The Jungle Book on high, although they might not know the excerpt. Similarly, students might not know the Bach Prelude but they rated on high familiarity because they felt like, as a music student, they had to. Music therapists are always told to use preferred music with clients because it is the most effective music according to many studies. The results of this research show that familiarity played an important part in children’s attentiveness and distraction. They tend to be

more focused when they listen to familiar songs. If they know the song, they will be less likely to get distracted from other things around them. Choosing appropriate music is also important. Although many of the participants liked Bach Prelude, they got distracted easily. One of the reasons might be because the excerpt is too difficult to listen to. They might not have enough knowledge to critically listen to the excerpt. Children, who know the excerpt and have taken music lessons before, tend to enjoy it more. In addition, some of them didn’t know the “Spring Running”, but they rated less distractions than the Bach Prelude. The melody, harmony, and rhythm in the “Spring Running” are simpler and easier to enjoy. The research concludes that to music educators or music therapists, choosing appropriate music for a session is very important. Clients always respond more when they hear a song that they know. In contrast, they might still respond positively to unfamiliar music, but not as much as preferred music.

Reference

Flowers, P. J., & O’Neill, A. A. M. (2005). Self-Reported Distractions of Middle School Students in Listening to Music and Prose. Journal of Research in Music Education, 53(4), 308-321. https://doi.org/10.1177/002242940505300403

53


REVIEW

A Chorus Online: ละครเวที​ียุ​ุค New Normal เรื่​่�อง: ช่​่อลดา สุ​ุ ริ​ิยะโยธิ​ิน (Chorlada Suriyayothin) หั​ัวหน้​้าสาขาวิ​ิชาการขั​ับร้​้องและละครเพลง วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

ปี​ีนี้​้�ถื​ือได้​้ว่​่าเราอาจจำำ�เป็​็นต้​้อง เปลี่​่�ยนแปลงวิ​ิถีชี​ี วิี ติ แบบใหม่​่ ให้​้เข้​้า กั​ับยุ​ุคของ New Normal หรื​ือที่​่�เรา เรี​ียกกั​ันว่​่า “ความปกติ​ิแบบใหม่​่ใน สั​ังคมไทย” วิ​ิถี​ีของคนและเทรนด์​์ ที่​่�กำำ�ลั​ั ง จะเปลี่​่�ยนไปในช่​่ ว งของ สถานการณ์​์โควิ​ิด-๑๙ ที่​่�บอกเลยว่​่า เข้​้ามามี​ีบทบาทกั​ับการเปลี่​่�ยนแปลง ชี​ีวิ​ิตของคนไทยอยู่​่�ไม่​่น้​้อยที​ีเดี​ียว สถานการณ์​์นี้​้�กระตุ้​้�นให้​้เทคโนโลยี​ีเข้​้า มามี​ีบทบาทในทุ​ุก ๆ บริ​ิบทของคน ทุ​ุกกลุ่​่�มทุ​ุกอาชี​ีพอย่​่างเฉี​ียบพลั​ัน และไม่​่ทันั ตั้​้�งตั​ัว ทำำ�ให้​้วิถีิ ขี องคนบน โลกนี้​้� เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนแปลงครั้​้�งใหญ่​่ และพยายามหาทางออก เอาตั​ัวรอด แม้​้ในกลุ่​่�มคนที่​่�สร้​้างสรรค์​์ผลงาน ละครเวที​ีก็​็เช่​่นกั​ัน ก่​่อนหน้​้านี้​้� ปี​ีที่​่�แล้​้วในช่​่วงของ โควิ​ิด-๑๙ ที่​่�ระบาดรอบแรกในช่​่วงเดื​ือน มี​ีนาคม-มิ​ิถุนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ มี​ีกลุ่​่�ม นั​ักการละครก็​็ได้​้ปรั​ับตั​ัวเพื่​่�อทดลอง ทำำ�ละครออนไลน์​์ ซึ่​่�งนำำ�เสนอบริ​ิบทที่​่� แตกต่​่างกั​ันไป ตามเป้​้าหมายของกลุ่​่�ม ละครของตนเอง เช่​่น กลุ่​่�มละครคิ​ิด แจ่​่ม ที่​่�นำำ�เอาหนั​ังสื​ือนิ​ิทานน่​่ารั​ัก ๆ มานำำ�เสนอ โดยการเล่​่านิ​ิทานให้​้เด็​็ก ๆ ฟั​ังผ่​่านโปรแกรม Zoom โดยจะให้​้ ลิ​ิงก์​์เฉพาะผู้​้�ที่​่�สนใจเข้​้าร่​่วมเท่​่านั้​้�น ได้​้มี​ีกิ​ิจกรรมร่​่วมกั​ันเล็​็ก ๆ น้​้อย ๆ หรื​ือการปรั​ับตั​ัวของพื้​้�นที่​่�เล็​็ก ๆ ที่​่�

54

ภาพ collage และ switcher

มี​ีชื่​่�อว่​่า Sliding Elbow Studio ก็​็ เปิ​ิดห้​้อง live เพื่​่�ออ่​่านบทละครกั​ัน เพื่​่�อยั​ังคงให้​้พื้​้�นที่​่�ได้​้อยู่​่�รอด โดยการ นั​ัดแนะผู้​้�ชมในช่​่วงเวลาที่​่�กำำ�หนด มา นั่​่�งฟั​ังบทละครกั​ันเพลิ​ิน ๆ ไปเลย หลั​ังจากช่​่วงนี้​้� ทุ​ุกอย่​่างก็​็กลั​ับสู่​่�ภาวะ ปกติ​ิโดยยั​ังอยู่​่�ในมาตรการของการ ควบคุ​ุมโรค ซึ่​่�งจะว่​่าไปก็​็ยั​ังมี​ีลุ้​้�น เรื่​่�องของการติ​ิดเชื้​้�อมาเป็​็นระยะ ๆ

แต่​่เวลานั้​้�นก็​็ทำำ�ให้​้เราได้​้เรี​ียนรู้​้�ที่​่�จะ อยู่​่�ร่​่วมกั​ับความปกติ​ิแบบใหม่​่นี้​้�ได้​้ ง่​่ายขึ้​้�น ผลงานชิ้​้�นหนึ่​่�งที่​่�ได้​้มี​ีโอกาส ชมก่​่อนที่​่�จะเกิ​ิดโควิ​ิด-๑๙ ระลอก ใหม่​่นี้​้� คื​ือ “A Chorus Online” ของสาขาวิ​ิ ช าศิ​ิ ล ปะการแสดง คณะมนุ​ุษยศาสตร์​์และประยุ​ุกต์​์ ศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยหอการค้​้าไทย


ปิ​ิง ศิ​ิษย์​์เก่​่าสาขาวิ​ิชาการขั​ับร้​้องและละคร การอั​ัดเสี​ียง jingle เพื่​่�อใช้​้ในการแสดง เพลง วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหิ​ิดล

กำำ�กั​ับการแสดงโดย อาจารย์​์ดำำ�เกิ​ิง ฐิ​ิตะปิ​ิยะศั​ักดิ์​์� อาจารย์​์ได้​้รั​ับรางวั​ัล ศิ​ิลปิ​ินศิ​ิลปาธร ปี​ี ๒๕๖๒ ผลงาน ของอาจารย์​์เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั อย่​่างมากมาย และอาจารย์​์ยังั เป็​็นผู้​้�จั​ัดตั้​้�งกลุ่​่�มละคร New Theatre Society อี​ีกด้​้วย ก่​่อนที่​่�เราจะไปคุ​ุยกั​ันเรื่​่�อง A Chorus Online นั้​้�น เราขอย้​้อนไป ทำำ�ความรู้​้�จั​ักกั​ับเรื่​่�อง A Chorus Line ซึ่​่�งเป็​็นบทประพั​ันธ์​์หลั​ักก่​่อนที่​่� จะนำำ�มาดั​ัดแปลง A Chorus Line ประพั​ันธ์​์เพลงโดย Marvin Hamlisch เนื้​้�อร้​้องโดย Edward Kleban จาก หนั​ังสื​ือโดย James Kirkwood Jr. and Nicholas Dante เรื่​่�องราว หลั​ักเกิ​ิดขึ้​้�นในโรงละครแห่​่งหนึ่​่�งใน Broadway ความหวั​ังของนั​ักแสดง นั​ักเต้​้นกว่​่า ๑๐๐ ชี​ีวิติ ที่​่�มาจากทั่​่�ว ทุ​ุกสารทิ​ิศเพื่​่�อมาคั​ัดเลื​ือกนั​ักแสดง เพื่​่�อการแสดงใหม่​่ที่​่�กำำ�ลังั จะเกิ​ิดขึ้​้�น ผู้​้�กำำ�กั​ับการแสดง Zach และผู้​้�ช่​่วย ของเขา Larry นำำ�นั​ักเต้​้น ๒๔ ชี​ีวิติ มาผลั​ัดเปลี่​่�ยนหมุ​ุนเวี​ียนเพื่​่�อให้​้ได้​้ โชว์​์ศั​ักยภาพในการเต้​้น ร้​้องเพลง

และแสดง เพื่​่�อจะได้​้เป็​็นหนึ่​่�งคนที่​่�ได้​้ รั​ับคั​ัดเลื​ือกในครั้​้�งนี้​้� หลั​ังจากการคั​ัด เลื​ือกรอบแรก นั​ักเต้​้นทั้​้�งหมด ๑๗ คนได้​้ไปต่​่อ และหนึ่​่�งในนั้​้�นก็​็มี​ีคนที่​่� เคยเป็​็นหวานใจของ Zach ได้​้เข้​้า รอบไปด้​้วย Zach บอกพวกเขาว่​่า เขากำำ�ลั​ังมองหานั​ักเต้​้น ๘ คน ที่​่� แข็​็งแรงและเหมาะสมในการแสดง นี้​้� ผู้​้�ชาย ๔ คน และผู้​้�หญิ​ิง ๔ คน เขาต้​้องการจะเรี​ียนรู้​้�ชี​ีวิ​ิตของพวก เขาให้​้มากขึ้​้�น โดยอยากให้​้พวกเขาได้​้ แนะนำำ�ตั​ัวเอง แต่​่ด้ว้ ยความไม่​่เต็​็มใจ พวกเขาก็​็ได้​้ค่อ่ ย ๆ เผยอดี​ีตของพวก เขา เรื่​่�องราวค่​่อย ๆ ดำำ�เนิ​ินไป เริ่​่�ม ตั้​้�งแต่​่วัยั เด็​็กจนถึ​ึงประสบการณ์​์ต่า่ ง ๆ ที่​่�ผ่​่านมา รวมถึ​ึงอาชี​ีพของพวกเขา ด้​้วย เรื่​่�องราวของบางคนก็​็น่​่าสลด ใจ บางคนก็​็ถึงึ ขั้​้�นหั​ัวเราะตามไป จะ ว่​่าไปแล้​้ว A Chorus Line เป็​็นบท ละครที่​่�เริ่​่�มออกแสดงตั้​้�งแต่​่ปี​ี ค.ศ. ๑๙๗๕ แต่​่ก็​็ยั​ังคงความโด่​่งดั​ังและ เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั อย่​่างมากมาจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบันั อาจเป็​็นเพราะด้​้วยความชาญฉลาด ของผู้​้�เขี​ียนบทละคร ที่​่�ทำำ�ให้​้เรื่​่�องราว

ทุ​ุกอย่​่างของทุ​ุกตั​ัวละครน่​่าสนใจ น่​่าติ​ิดตาม และนั​ักแสดงทุ​ุกตั​ัวยั​ัง เป็​็นแบบอย่​่างเรื่​่�องราวที่​่�น่​่าเรี​ียนรู้​้� เรื่​่�องการใช้​้ชีวิี ิต รวมถึ​ึงยั​ังเป็​็นแรง บั​ันดาลใจอย่​่างมหาศาลให้​้แก่​่นั​ัก แสดงรุ่​่�นใหม่​่ ๆ อยู่​่�เสมอ เพื่​่�อที่​่�จะ เติ​ิบโตในเส้​้นทางสายอาชี​ีพนี้​้�อย่​่างมี​ี คุ​ุณภาพ A Chorus Line นอกจาก จะได้​้จัดั แสดงในรู​ูปแบบละครเพลง อยู่​่�หลายครั้​้�งหลายครา และได้​้รางวั​ัล มากมายแล้​้ว A Chorus Line ก็​็ยังั ถู​ูกนำำ�มาทำำ�เป็​็นภาพยนตร์​์อี​ีกด้​้วย (ค.ศ. ๑๙๘๕) อย่​่างที่​่�เคยได้​้เกริ่​่�นไปแล้​้วว่​่า ยุ​ุค ที่​่�เราเรี​ียกกั​ันว่​่า โควิ​ิด-๑๙ คงจะ ต้​้องมี​ีการปรั​ับตั​ัวกั​ันพอสมควร A Chorus Online ของสาขาวิ​ิชา ศิ​ิลปะการแสดง คณะมนุ​ุษยศาสตร์​์ และประยุ​ุกต์​์ศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย หอการค้​้าไทย จึ​ึงเป็​็นละครเวที​ีที่​่� ดั​ัดแปลงตั​ัวบทละคร และ platform การนำำ�เสนอมาในรู​ูปแบบของการ ตั​ัดต่​่อวิ​ิดี​ีโอ เรื่​่�องราวเนื้​้�อเรื่​่�องเกิ​ิด ขึ้​้�นเหมื​ือนเรื่​่�องราวเดิ​ิม แต่​่แทนที่​่� 55


การวางภาพ footage

จะเจอกั​ันบนเวที​ี ก็​็มาเจอกั​ันในการ meeting online ของ platform หนึ่​่�ง โดยทุ​ุกตั​ัวละครก็​็มาจากทั่​่�วทุ​ุกสารทิ​ิศ ต่​่างอายุ​ุ ต่​่าง character ชื่​่�อตั​ัวละคร ทุ​ุกตั​ัวเปลี่​่�ยนเป็​็นชื่​่�อไทย ยกเว้​้นคู่​่� สามี​ีภรรยาคู่​่�หนึ่​่�ง ที่​่�สามี​ีเป็​็นสั​ัญชาติ​ิ เกาหลี​ีและภรรยาเป็​็นคนไทย สามี​ี ก็​็เลยเป็​็นชื่​่�อเกาหลี​ี ฉากแรกเริ่​่�มต้​้น ขึ้​้�นจากการต่​่อท่​่าเต้​้นเพื่​่�อเตรี​ียมตั​ัว เข้​้าไปเต้​้นที​ีละกลุ่​่�มให้​้ผู้​้�กำำ�กั​ับการ แสดงได้​้คั​ัดเลื​ือก โดยเป็​็นการขาน ชื่​่�อจากผู้​้�ช่​่วยผู้​้�กำำ�กั​ับ ทุ​ุกคนตั้​้�งใจ กั​ันมาก และเมื่​่�อเริ่​่�มเต้​้นก็​็มี​ีคนที่​่� เต้​้นผิ​ิด เต้​้นแล้​้วล้​้มบ้​้าง ทุ​ุกอย่​่าง ของบทละครนี้​้�ดำำ�เนิ​ินไปใกล้​้เคี​ียง กั​ับบทละครเดิ​ิมอยู่​่�พอสมควร จะ ได้​้กลิ่​่�นอายของการดั​ัดแปลงก็​็ช่​่วง ที่​่�นั​ักแสดงที่​่�เข้​้ารอบได้​้เล่​่าเรื่​่�องราว ของตั​ัวเอง จุ​ุดหั​ักเหของเรื่​่�องก็​็คื​ือ การที่​่�ตั​ัวละครเอกของเรื่​่�องเป็​็นเพศ 56

ชาย ซึ่​่�งเป็​็นนั​ักเต้​้นที่​่�เก่​่งมาก ได้​้ สมั​ัครเข้​้ามาอยู่​่�ในการคั​ัดเลื​ือกครั้​้�ง นี้​้�ด้​้วย การคั​ัดเลื​ือกของทุ​ุกคนก็​็ ยั​ังดำำ�เนิ​ินต่​่อไป มี​ีสภาวะอุ​ุปสรรค

ปั​ัญหาของตั​ัวละครอยู่​่�เนื​ือง ๆ ทุ​ุก ตั​ัวได้​้เล่​่าเรื่​่�องอดี​ีตชี​ีวิติ ของตั​ัวเองให้​้ ผู้​้�กำำ�กั​ับฟั​ังหมุ​ุนเวี​ียนสลั​ับกั​ันไป และ จุ​ุดดั​ัดแปลงก็​็คือื การพบกั​ันระหว่​่าง

อาจารย์​์ดำำ�เกิ​ิง ฐิ​ิตะปิ​ิยะศั​ักดิ์​์� ผู้​้�กำำ�กั​ับการแสดง และนั​ักศึ​ึกษาสาขาวิ​ิชาศิ​ิลปะ การแสดง


เบื้​้�องหลั​ังการตั​ัดต่​่อการแสดง

ตั​ัวละครเอกและหวานใจคนเก่​่า ครู​ู ผู้​้�ฝึ​ึกสอนดนตรี​ีในครั้​้�งนี้​้�ได้​้พบกั​ัน ซึ่​่�ง ทั้​้�งคู่​่�เป็​็นเพศชาย ซึ่​่�งถ้​้าพู​ูดถึ​ึงบริ​ิบท สมั​ัยนี้​้� คงไม่​่แปลกสั​ักเท่​่าไหร่​่แล้​้วกั​ับ การจะหยิ​ิบยกเรื่​่�องราวความรั​ักของ เพศเดี​ียวกั​ันมาไว้​้ในละครเวที​ี แต่​่สิ่​่�ง สำำ�คั​ัญของเรื่​่�องนี้​้�ก็​็คือื การได้​้ทำำ�ในสิ่​่�ง ที่​่�รั​ัก ได้​้โลดแล่​่นอยู่​่�บนเวที​ีที่​่�มีแี สงสี​ี เสี​ียง ได้​้มีคี วามสุ​ุขกั​ับเสี​ียงปรบมื​ือ ของท่​่านผู้​้�ชมที่​่�มาชมผลงานของเรา ในงานแสดง ความต้​้องการงานและ หั​ัวใจของนั​ักแสดงที่​่�ยั​ังมี​ีไฟ และรอ คอยที่​่�จะกลั​ับมายื​ืนบนเวที​ีอี​ีกครั้​้�ง เพลงแต่​่ละเพลงที่​่�หยิ​ิบยกมาใช้​้ ในเรื่​่�องนี้​้� ก็​็เป็​็นเพลงที่​่�คุ้​้�นหู​ูคนไทย กั​ันเป็​็นอย่​่างดี​ี โดยการเลื​ือกนำำ�เอา เพลงสมั​ัยนิ​ิยมมาเป็​็นตั​ัวแทนในการ สื่​่�อสารความรู้​้�สึ​ึกของตั​ัวละครแต่​่ละ ตั​ัวให้​้ชัดั เจนยิ่​่�งขึ้​้�น บางเพลงที่​่�เลื​ือก ก็​็มาจากละครเพลง และบางเพลง

ก็​็มาจากการแปลเนื้​้�อเพลงจากบท ละครหลั​ักมาเป็​็นเนื้​้�อภาษาไทยอี​ีก ด้​้วย และที่​่�ขาดไม่​่ได้​้คื​ือเพลงธี​ีม (theme) ของละครเรื่​่�องนี้​้� ได้​้ถู​ูก ประพั​ันธ์​์ใหม่​่ เป็​็น jingle (แปลว่​่า เพลงสั้​้�น ๆ ที่​่�ใช้​้ในการโฆษณา) เพื่​่�อ ใช้​้ในการเข้​้าสู่​่�ช่​่วงละครแต่​่ละช่​่วงจน ติ​ิดหู​ูกันั เลยที​ีเดี​ียว ส่​่วนนั​ักแสดงนั้​้�น ตามรู​ูปแบบของสาขาวิ​ิชาศิ​ิลปะการ แสดง มหาวิ​ิทยาลั​ัยหอการค้​้าไทย ก็​็ คื​ือ การนำำ�เหล่​่าคณาจารย์​์ของสาขา มาร่​่วมแสดงกั​ับนั​ักศึ​ึกษาของสาขา วิ​ิชา มากไปกว่​่านั้​้�น นั​ักแสดงรุ่​่�นใหญ่​่ รุ่​่�นเล็​็ก จากแวดวงละครเวที​ี รวม ทั้​้�งศิ​ิษย์​์เก่​่าสาขาวิ​ิชาการขั​ับร้​้องและ ละครเพลง ของวิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ก็​็ไปร่​่วมแสดง อยู่​่�ด้​้วยในงานชิ้​้�นนี้​้�ด้​้วย การใช้​้พื้​้�นที่​่�ของละครเรื่​่�องนี้​้� ถ้​้า เป็​็นเรื่​่�อง A Chorus Line เอง ก็​็

การใช้พื้นที่การแสดงเดียวกัน แต่ใช้เป็น ๒ ฉากการแสดง

57


ฉากห้​้องนอน

เป็​็นโรงละคร ฉากอยู่​่�ที่​่�เดี​ียวเลยก็​็คือื บนเวที​ี มี​ี props เข้​้ามาประกอบใน บางฉาก แต่​่พอมาเป็​็นรู​ูปแบบของ A Chorus Online การดั​ัดแปลงสู่​่� การตั​ัดต่​่อวิ​ิดีโี อก็​็จะเป็​็นการตั​ัดฉาก ไปสู่​่�สถานที่​่�ต่​่าง ๆ มี​ีที่​่�โล่​่ง ๆ ที่​่�หนึ่​่�ง ที่​่�สามารถให้​้นักั แสดงได้​้เต้​้นอย่​่างเต็​็ม ที่​่� ส่​่วนในแต่​่ละตั​ัวละครที่​่�ได้​้เล่​่าเรื่​่�อง ของตั​ัวเอง platform ที่​่�เป็​็นแบบ online จะอยู่​่�ที่​่�ไหนก็​็ได้​้ เราคุ​ุยกั​ันได้​้ หมด สถานที่​่�ที่​่�ถู​ูกเซ็​็ตฉากไว้​้ก็​็เป็​็น บรรยากาศในสวน มุ​ุมห้​้อง บนเตี​ียง นอน ห้​้องรั​ับแขก หรื​ือมุ​ุมเปี​ียโน จะ ที่​่�ไหนก็​็เชื่​่�อมต่​่อได้​้หมด กลายเป็​็นว่​่า โลกนี้​้�ดู​ูเล็​็กลงทั​ันตา วิ​ิธีกี ารถ่​่ายนั​ัก แสดงก็​็ถ่า่ ยแยกกั​ันเป็​็นคน ๆ แล้​้วก็​็ เอา footage (คลิ​ิปภาพยนตร์​์) นำำ� มาตั​ัดต่​่อกั​ัน เหมื​ือนกั​ับว่​่าทุ​ุกคนอยู่​่� บนโลก online โดยใช้​้ platform meeting สั​ักอั​ัน มี​ีสั​ัญญาณหลุ​ุด ต้​้องต่​่อเข้​้ามาใหม่​่ ถื​ือได้​้ว่า่ เป็​็นการ 58

สะท้​้อนสั​ังคม New Normal อย่​่าง แท้​้จริ​ิง บางครั้​้�งก็​็มีกี ารทำำ�หน้​้าจอที่​่� นั​ักแสดงคุ​ุยกั​ัน ๓ คน ให้​้เป็​็นรู​ูปแบบ collage (การนำำ�ภาพต่​่าง ๆ มาต่​่อ กั​ันภาพเดี​ียว) เพื่​่�อผู้​้�ชมจะได้​้เข้​้าใจ

ว่​่าใครคุ​ุยกั​ับใครบ้​้างในซี​ีนนี้​้� มี​ีการทำำ� switcher (ตั​ัดภาพสลั​ับ) เพื่​่�อให้​้ผู้​้� ชมรู้​้�สึ​ึกถึ​ึงการ online แบบจริ​ิง ๆ ที่​่�เวลาใครพู​ูดก็​็จะโผล่​่มาเป็​็นหน้​้า จอหลั​ักทั​ันที​ี ถื​ือได้​้ว่​่าเป็​็นรู​ูปแบบ

พื้​้�นที่​่�กลาง ที่​่�ใช้​้สำำ�หรั​ับฉากเต้​้น และร้​้องเพลงเดี่​่�ยว


การถ่​่ายทำำ�ผ่​่านกล้​้อง digital ทั่​่�วไป

ทำำ�รู​ูปแบบการแสดงเป็​็น platform online

ที่​่�ทำำ�ให้​้เราต้​้องติ​ิดตามเรื่​่�องให้​้ทั​ัน บางครั้​้�งเปลี่​่�ยนไปมาบ่​่อยแต่​่แล้​้วก็​็ สะท้​้อนภาพความจริ​ิงของสั​ังคม และ แต่​่ละบทของตั​ัวละครก็​็สะท้​้อนชี​ีวิติ ของทุ​ุกตั​ัวละครได้​้ครบถ้​้วน จะว่​่าไป A Chorus Line ก็​็ เป็​็นละครเรี​ียบง่​่าย เพราะถ้​้าพู​ูด ถึ​ึงเรื่​่�องราวต่​่าง ๆ การดำำ�เนิ​ินเรื่​่�อง อยู่​่�ที่​่�สถานที่​่�เดี​ียว เสื้​้�อผ้​้า หน้​้า ผม ของนั​ักแสดงก็​็ดูเู ป็​็นธรรมชาติ​ิ ซึ่ง่� มี​ี character ที่​่�แตกต่​่างกั​ันออกไป เสื้​้�อผ้​้าก็​็ดูเู ป็​็นสิ่​่�งที่​่�สามารถหาได้​้ทั่​่�วไป ไม่​่ได้​้ต้​้องแต่​่งหน้​้ามากมาย เพราะ เป็​็นเหมื​ือนผู้​้�คนทั่​่�วไปที่​่�มาออดิ​ิชั​ัน เป็​็นเสื้​้�อผ้​้าที่​่�เคลื่​่�อนไหวสบาย ๆ ชุ​ุด ที่​่�พร้​้อมสำำ�หรั​ับการออดิ​ิชั​ัน จะมี​ีก็​็ แค่​่ฉากสุ​ุดท้​้ายที่​่�ทุ​ุกคนจะต้​้องใส่​่ชุดุ พร้​้อมการแสดงเปิ​ิดม่​่านสำำ�หรั​ับโชว์​์ แรกในตอนจบ เพราะฉะนั้​้�น การจะ ดั​ัดแปลงมาสู่​่� A Chorus Online ก็​็ ไม่​่ยากเลย ทุ​ุกคนสวมชุ​ุดที่​่�บ่​่งบอก character ตั​ัวละคร แต่​่ออกจะเป็​็น เสื้​้�อผ้​้าที่​่�เราใช้​้อยู่​่�ในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ัน บางคนก็​็ดู​ูแต่​่งองค์​์มากหน่​่อย เช่​่น มี​ีตั​ัวละครหนึ่​่�งที่​่�น้​้องมี​ีเชื้​้�อสายจี​ีน ก็​็มาชุ​ุดจี​ีนกี่​่�เพ้​้าเลย แต่​่ก็​็อยู่​่�ในช่​่วง มุ​ุกขำำ� ที่​่�สามารถเข้​้าใจได้​้ ตั​ัวละคร ที่​่�เป็​็นคู่​่�สามี​ีภรรยา ก็​็เปลี่​่�ยนจาก ชาวอเมริ​ิกั​ันสู่​่�ชาวเกาหลี​ี เป็​็นคู่​่�ที่​่� สร้​้างเสี​ียงหั​ัวเราะในละครเวอร์​์ชั​ัน นี้​้� มาในเสื้​้�อผ้​้ากางเกงวอร์​์ม โทน ขาว มี​ีความน่​่ารั​ักแบบอมยิ้​้�มเบา ๆ แบบคู่​่�รั​ักต่​่างชาติ​ิที่​่�กุ๊​๊�กกิ๊​๊�ก มี​ีจั​ังหวะ comedy (ตลกขบขั​ัน) มาเรื่​่�อย ๆ เลยที​ีเดี​ียว หรื​ือจะเป็​็นเสื้​้�อผ้​้าสี​ีนีอี อน กั​ับตั​ัวละครเพศที่​่� ๓ ก็​็สร้​้างสี​ีสันั ได้​้ ไม่​่น้​้อยเลยที​ีเดี​ียว การตั​ัดต่​่อวิ​ิดีโี อละครเพลง ถื​ือ ได้​้ว่​่าเป็​็นอี​ีกแนวทางหนึ่​่�งในการนำำ� เสนอศิ​ิลปะการแสดงในรู​ูปแบบที่​่�ไม่​่ ได้​้ใหม่​่ แต่​่เป็​็นรู​ูปแบบที่​่�น่​่าสนใจใน การนำำ�เสนอในช่​่วง New Normal 59


นั​ักแสดง นั​ักเต้​้น

platform online meeting เพื่​่�อฝึ​ึกซ้​้อมร้​้องเพลง

60

นี้​้� เพราะไหน ๆ แล้​้วคนดู​ูก็​็ไม่​่ได้​้ ออกเดิ​ินทาง ในฐานะคนทำำ�ละครก็​็ จั​ัดทำำ�เพื่​่�อนำำ�เสนอศิ​ิลปะการแสดง นี้​้� ถึ​ึงหน้​้าจอบ้​้านท่​่านผู้​้�ชมกั​ันเลย ที​ีเดี​ียว จะดู​ูผ่า่ นทางไหนนั้​้�นก็​็สุดุ แท้​้ แต่​่อรรถรสของท่​่านผู้​้�ชมเอง เพราะ ปั​ัจจุ​ุบันั นี้​้�โทรศั​ัพท์​์เคลื่​่�อนที่​่�ของเราก็​็ สามารถทำำ�อะไรได้​้มากมายหลาย รู​ูปแบบ สามารถเชื่​่�อมต่​่อเข้​้าสู่​่�หน้​้า จอโทรทั​ัศน์​์ได้​้อย่​่างง่​่ายดาย และผู้​้� เขี​ียนเชื่​่�อว่​่า การนำำ�เสนอ A Chorus Online นี้​้� น่​่าจะถ่​่ายทำำ�โดยการใช้​้ โทรศั​ัพท์​์มือื ถื​ือเป็​็นหลั​ัก เพราะเป็​็น งานของนั​ักศึ​ึกษา อาจจะไม่​่ได้​้ลงทุ​ุน อุ​ุปกรณ์​์เครื่​่�องไม้​้เครื่​่�องมื​ือมากนั​ัก มี​ีพื้​้�นที่​่�ของมหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�สามารถ จั​ัดองค์​์ประกอบไฟได้​้ เพื่​่�อให้​้เปลี่​่�ยน อิ​ิริ​ิยาบถของฉากต่​่าง ๆ เพราะไม่​่ อย่​่างนั้​้�นงบประมาณที่​่�ใช้​้คงไม่​่น้​้อย ถ้​้าจะต้​้องจ้​้างช่​่างกล้​้อง ช่​่างไฟต่​่าง ๆ จำำ�นวนคนทำำ�งานคงเยอะแยะ ไม่​่ เหมาะแก่​่การทำำ�งานช่​่วงโควิ​ิด-๑๙ แน่​่ ๆ เรี​ียกได้​้ว่​่าเป็​็นการทำำ�งานที่​่� งบประมาณน้​้อย แต่​่ก็​็ได้​้อรรถรส ของละครเพลงไม่​่น้​้อยเลย สั​ังคมในรู​ูปแบบ New Normal นั้​้�น ไม่​่ว่า่ จะเป็​็นการงานอาชี​ีพไหน ๆ ก็​็ยังั จำำ�เป็​็นต้​้องปรั​ับตั​ัวเพื่​่�อความอยู่​่� รอด ไม่​่เว้​้นแต่​่งานศิ​ิลปะที่​่�เราคิ​ิดว่​่า อาจจะเป็​็นไปไม่​่ได้​้ ไม่​่ได้​้อรรถรส แต่​่เหมื​ือนในช่​่วงเวลานี้​้� ในยุ​ุคแห่​่ง ปี​ี ๒๐๒๑ นี้​้� เราคงจะเห็​็นว่​่าการใช้​้ เทคโนโลยี​ีนั้​้�น ไม่​่เป็​็นการ disruption (การทำำ�ลาย) อี​ีกต่​่อไป เพราะกลาย เป็​็นว่​่าเราคงต้​้องยอมรั​ับกั​ับโลกที่​่� กำำ�ลั​ังจะเปลี่​่�ยนไป ทุ​ุกอย่​่างไม่​่ว่​่า อาชี​ีพไหน ๆ เราคงจำำ�เป็​็นต้​้องเสิ​ิร์ฟ์ ให้​้ถึงึ ที่​่�บ้​้าน ถึ​ึงแม้​้ว่า่ ช่​่วงก่​่อนหน้​้านี้​้� ได้​้มีกี ารนำำ�เอาละครเพลงมาทำำ�เป็​็น ภาพยนตร์​์อยู่​่�มากมาย แต่​่วันั นี้​้�ก็​็คง ต้​้องย่​่อส่​่วนให้​้กลายเป็​็นซี​ีรี​ีส์​์หรื​ือ ละครเพลงโทรทั​ัศน์​์ไปแล้​้ว เพราะ


การทำำ�ภาพ collage และ switcher

ช่​่วงโควิ​ิด-๑๙ นี้​้� คงไม่​่มีใี ครที่​่�จะกล้​้า ออกนอกบ้​้านบ่​่อย ๆ คนเลื​ือกที่​่�จะ ไม่​่เข้​้าไปแหล่​่งชุ​ุมชนที่​่�แออั​ัดมาก ๆ แต่​่เลื​ือกที่​่�จะอยู่​่�บ้​้านมากกว่​่า ดั​ัง นั้​้�น การมี​ีทางเลื​ือกที่​่�เราชอบด้​้วยก็​็ คงจะดี​ี คิ​ิดว่​่าในอนาคตข้​้างหน้​้านี้​้� คงจะมี​ีอะไรให้​้เราได้​้ตื่​่�นเต้​้น ตื่​่�นตา ตื่​่�นใจกั​ับความเป็​็นไปได้​้อีกี มากมาย เพราะโควิ​ิด-๑๙ ครั้​้�งที่​่� ๒ นี้​้� ก็​็มี​ี การนำำ�เอาละครเพลงที่​่�ได้​้เคยโลด แล่​่นบนเวที​ี นำำ�มาฉายซ้ำำ��ให้​้ผู้​้�ชม ได้​้ชมกั​ันถึ​ึงหน้​้าจอโทรทั​ัศน์​์ หรื​ือ อาจจะเป็​็นการฉายในกลุ่​่�มเฉพาะ ผ่​่าน Facebook Zoom และอื่​่�น ๆ อี​ีกมากมาย อาจจะมี​ีละครเพลงใน platform ใหม่​่ ๆ มานำำ�เสนอกั​ันอี​ีก เป็​็นแน่​่ในอนาคตอั​ันใกล้​้

การจั​ัดภาพ collage

61


62


63


64


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.