Music Journal April 2021

Page 1


PENINSULA MOMENTS At The Peninsula Bangkok, world-class hospitality enriched with compelling Thai cultural experiences creates perfect memorable moments.



Volume 26 No. 8 April 2021

สวั​ัสดี​ีผู้​้�อ่า่ นเพลงดนตรี​ีทุกุ ท่​่าน เทศกาล สงกรานต์​์ หรื​ือปี​ีใหม่​่ไทยเวี​ียนกลั​ับมา อี​ีกครั้​้�ง สำำ�หรั​ับปี​ีนี้​้� สถานการณ์​์การแพร่​่ ระบาดของไวรั​ัสโคโรนายั​ังคงอยู่​่�กั​ับเรา ไม่​่ไปไหน โดยตั​ัวเลขผู้​้�ติ​ิดเชื้​้�อพุ่​่�งสู​ูงขึ้​้�น มากกว่​่าปี​ีที่​่�แล้​้วในช่​่วงเวลาเดี​ียวกั​ัน ทำำ�ให้​้ เทศกาลสงกรานต์​์ในปี​ีนี้​้� เป็​็นปี​ีที่​่� ๒ ที่​่�ควร ต้​้องระมั​ัดระวั​ังในการเดิ​ินทาง เยี่​่�ยมเยี​ียน ญาติ​ิผู้​้�ใหญ่​่ เพื่​่�อเป็​็นการป้​้องกั​ันการแพร่​่ ระบาดของโรคไปสู่​่�ครอบครั​ัวอั​ันเป็​็นที่​่�รั​ัก ในเดื​ือนมี​ีนาคมที่​่�ผ่​่านมา มี​ีเรื่​่�องที่​่�น่​่า ยิ​ินดี​ี ที่​่�วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหิ​ิดล ได้​้รับั การจั​ัดอั​ันดั​ับในด้​้าน Performing Arts ให้​้อยู่​่�ในอั​ันดั​ับ ๕๑-๑๐๐ ของโลก จาก QS World University Ranking ซึ่ง่� ถื​ือเป็​็นสถาบั​ันแรกของประเทศไทย ที่​่�ได้​้ เข้​้าไปอยู่​่�ใน ๑๐๐ อั​ันดั​ับแรกของโลกใน ด้​้านนี้​้� นั​ับเป็​็นเรื่​่�องที่​่�น่​่าตื่​่�นเต้​้นยิ​ินดี​ีเป็​็น อย่​่างยิ่​่�ง ท่​่ามกลางสถานการณ์​์วุ่​่�นวาย ของโรคระบาดที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นในช่​่วงนี้​้� QS World University Ranking เป็​็นการจั​ัดอั​ันดั​ับมหาวิ​ิทยาลั​ัยต่​่าง ๆ จากทั่​่�วทุ​ุกมุ​ุมโลก ทั้​้�งในด้​้านภาพรวมของ มหาวิ​ิทยาลั​ัย และในด้​้านของสาขาวิ​ิชา เฉพาะ โดยจั​ัดเป็​็นประจำำ�ทุ​ุกปี​ี การจั​ัดทำำ�

เจ้าของ

ฝ่​่ายภาพ

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คนึงนิจ ทองใบอ่อน

บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ

จรูญ กะการดี นรเศรษฐ์ รังหอม

หัวหน้ากองบรรณาธิการ

พิสูจน์อักษรและรูปเล่ม

ธั​ัญญวรรณ รั​ัตนภพ

ธัญญวรรณ รัตนภพ

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

เว็บมาสเตอร์

ภรณ์ทิพย์ สายพานทอง

Kyle Fyr

ฝ่ายศิลป์

QS World University Ranking เริ่​่�ม เป็​็นครั้​้�งแรกเมื่​่�อปี​ี ค.ศ. ๒๐๐๔ ปั​ัจจุ​ุบั​ัน การจั​ัดอั​ันดั​ับมหาวิ​ิทยาลั​ัยของ QS ถื​ือว่​่า ได้​้รั​ับการยอมรั​ับอย่​่างกว้​้างขวางทั่​่�วโลก ซึ่​่�งสำำ�หรั​ับในปี​ีนี้​้� มหาวิ​ิทยาลั​ัยภาพรวม อั​ันดั​ับที่​่� ๑ ของ QS World University Ranking คื​ือ Massachusetts Institute of Technology หรื​ือที่​่�เราคุ้​้�นเคยกั​ันในชื่​่�อ MIT นั่​่�นเอง ในส่​่วนของมหาวิ​ิทยาลั​ัยอั​ันดั​ับ ๑ ด้​้านสาขา Performing Arts ในปี​ีนี้​้� คื​ือ The Julliard School สำำ�หรั​ับการจั​ัดอั​ันดั​ับในปี​ีหน้​้า วิ​ิทยาลั​ัย หวั​ังว่​่าจะสามารถรั​ักษามาตรฐานเพื่​่�อให้​้ อยู่​่�ใน ๑๐๐ อั​ันดั​ับแรกของโลกต่​่อไป นอกจากนี้​้� ยั​ังมี​ีบทความด้​้านดนตรี​ี วิ​ิทยาเกี่​่�ยวกั​ับคี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ันที่​่� มี​ีชื่​่�อเสี​ียงมาแนะนำำ�ให้​้ผู้​้�อ่า่ นรู้​้�จั​ักถึ​ึง ๒ คน คนหนึ่​่�งมี​ีชื่​่�อเสี​ียงในด้​้านของดนตรี​ีคลาสสิ​ิก และอี​ีกคนมี​ีชื่​่�อเสี​ียงด้​้านดนตรี​ีแจ๊​๊สและ แร็​็กไทม์​์ของประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ขอให้​้ผู้​้�อ่​่านรั​ักษาสุ​ุขภาพให้​้แข็​็งแรง และปลอดภั​ัยจากโควิ​ิด-๑๙ ดวงฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิริ​ิ ิ

สำำ�นั​ักงาน

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วารสารเพลงดนตรี) ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่​่อ ๓๒๐๕ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ musicmujournal@gmail.com

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส�ำหรับข้อเขียนที่ได้รับการ พิจารณา กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะปรับปรุงเพื่อความเหมาะสม โดยรักษาหลักการและแนวคิดของผู้เขียนแต่ละท่านไว้ ข้อเขียน และบทความที่ตีพิมพ์ ถือเป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ขอรับผิดชอบบทความนั้น


สารบั ญ Contents Dean’s Vision

Musicology

04

24

วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์: การปรั​ับตั​ัวสู่​่�ความยั่​่�งยื​ืน ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen)

Cover Story

George Walker: African-American Classical Composer Achareeya Fukiat (อั​ัจฉรี​ียา ฟู​ูเกี​ียรติ​ิ)

06

QS World University Rankings by Subject ในอั​ันดั​ับ Top 100 ของ สาขา Performing Arts: ความทุ่​่�มเทและมุ่​่�งมั่​่�น ในคุ​ุณภาพอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ณั​ัฏฐา อุ​ุทยานั​ัง (Nuttha Udhayanang)

Music Entertainment

28

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๔: แฟรงก์​์ จอห์​์นสั​ัน ความภู​ูมิ​ิใจ ของชาวแอฟริ​ิกั​ัน-อเมริ​ิกั​ัน กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart)

Thai and Oriental Music

08

“เรื่​่�องเล่​่าเบาสมองสนองปั​ัญญา” เพลงไทยสากล-เนื้​้�อร้​้องจาก วรรณคดี​ี (ตอนที่​่� ๙) ๓ ยอดฝี​ีมื​ือ ร่​่วมใจประสาน สร้​้างสรรค์​์งานเพลง “จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ” กิ​ิตติ​ิ ศรี​ีเปารยะ (Kitti Sripaurya)

32

เพลงโหมโรงมหรสพ เพลงที่​่�ถู​ูกลื​ืม เอกพสิ​ิษฐ์​์ พชรกุ​ุศลพงศ์​์ (Ekpasit Pacharakusolphong)

40

คณะสุ​ุวรรณศิ​ิลป์​์ ปี่​่�พาทย์​์ แตรวง ในตำำ�บลศาลายา ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin)

Study Abroad

46

การเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�น ปริ​ิญญาตรี​ี ในประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา (ตอนที่​่� ๒) ปริ​ิญธร ป่​่านแก้​้ว (Parintorn Pankaew)


DEAN’S VISION

วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์:

การปรั​ับตั​ัวสู่​่�ความยั่​่�งยื​ืน เรื่​่�อง: ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen) คณบดี​ีวิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

เดื​ือนเมษายนเหมื​ือนเป็​็นเดื​ือน ที่​่�คนไทยทุ​ุกคนรอคอย เพราะเป็​็น เดื​ือนแห่​่งการเฉลิ​ิมฉลองเทศกาล สำำ�คั​ัญ คื​ือ วั​ันสงกรานต์​์ หรื​ือปี​ีใหม่​่ ไทยนั่​่�นเอง แต่​่ในช่​่วงสองปี​ีที่​่�ผ่า่ นมา สถานการณ์​์โควิ​ิด-๑๙ ทำำ�ให้​้การ เฉลิ​ิมฉลองเป็​็นไปได้​้ด้ว้ ยความยาก ลำำ�บาก หลายคนก็​็ต้อ้ งยอมเสี​ียสละ ไม่​่เดิ​ินทางกลั​ับไปเยี่​่�ยมญาติ​ิผู้​้�ใหญ่​่ เนื่​่�องจากอาจจะนำำ�เชื้​้�อและความ เสี่​่�ยงเข้​้าไปหาท่​่านเหล่​่านั้​้�นได้​้ จึ​ึงเป็​็น อี​ีกหนึ่​่�งปี​ีที่​่�บรรยากาศของเทศกาล 04

สงกรานต์​์เป็​็นช่​่วงที่​่�เงี​ียบเหงา ใน ด้​้านการทำำ�งานของวิ​ิทยาลั​ัย ในการ ระบาดรอบที่​่� ๓ นี้​้� เกิ​ิดความยุ่​่�งยาก ในการบริ​ิหารจั​ัดการ เนื่​่�องจากเชื้​้�อ เป็​็นสายพั​ันธุ์​์�ที่​่�สามารถแพร่​่กระจาย ไปได้​้อย่​่างรวดเร็​็ว ทางวิ​ิทยาลั​ัยเองก็​็ มี​ีความเสี่​่�ยงสู​ูงที่​่�เราต้​้องส่​่งนั​ักศึ​ึกษา เข้​้ากั​ักตั​ัวและรั​ักษาพยาบาล เป็​็น เหตุ​ุการณ์​์ที่​่�ไม่​่มี​ีใครคาดคิ​ิดว่​่าจะ เกิ​ิดขึ้​้�นและเป็​็นเหตุ​ุการณ์​์ที่​่�ใกล้​้ตั​ัว มาก เนื่​่�องจากการแพร่​่ระบาดทั้​้�ง สองรอบไม่​่ได้​้มี​ีผลกระทบโดยตรง

กั​ับทางวิ​ิทยาลั​ัยในแง่​่ของการติ​ิดเชื้​้�อ แต่​่ในครั้​้�งนี้​้� วิ​ิทยาลั​ัยต้​้องเตรี​ียมการ อย่​่างมากและเคร่​่งครั​ัด แน่​่นอนมั​ัน สร้​้างความไม่​่สะดวกกั​ับทั้​้�งนั​ักเรี​ียน นั​ักศึ​ึกษา และบุ​ุคลากรของวิ​ิทยาลั​ัย แต่​่เป็​็นเรื่​่�องที่​่�หลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ เรา ต้​้องคำำ�นึ​ึงถึ​ึงความปลอดภั​ัยของทุ​ุก คนเป็​็นที่​่�ตั้​้�ง ในขณะนี้​้�ก็​็เป็​็นช่​่วงสอบ ปลายภาคของนั​ักศึ​ึกษาทุ​ุกคน เรา ได้​้มี​ีการปรั​ับให้​้จั​ัดการสอบเป็​็นรู​ูป แบบออนไลน์​์ มี​ีการบั​ันทึ​ึกเทปไว้​้ ก่​่อนแล้​้วส่​่งให้​้กรรมการตรวจสอบ


ซึ่ง่� เป็​็นเรื่​่�องที่​่�ไม่​่ปกติ​ิสำำ�หรั​ับการเรี​ียน การสอนทางด้​้านดนตรี​ี เพราะปั​ัจจั​ัย ในการสอบไม่​่เหมื​ือนเดิ​ิม แต่​่เราก็​็ หลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ที่​่�ต้​้องจั​ัดการสอบใน รู​ูปแบบนี้​้� เพื่​่�อให้​้ทุ​ุกอย่​่างสามารถ เดิ​ินหน้​้าต่​่อไปได้​้ ส่​่วนการบริ​ิหารจั​ัดการ วิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ก็​็ไม่​่ได้​้นิ่​่�งนอนใจ เรา ยั​ังคงพั​ัฒนางานอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง โดย เฉพาะอย่​่างยิ่​่�งโครงการนครปฐม เมื​ืองดนตรี​ี ของยู​ูเนสโก หลายคน เล็​็งเห็​็นถึ​ึงความสำำ�คั​ัญในโครงการนี้​้� มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดลเอง มี​ีความพร้​้อม ในด้​้านต่​่าง ๆ สำำ�หรั​ับการสมั​ัครเข้​้า ร่​่วมอยู่​่�แล้​้ว แต่​่ในครั้​้�งนี้​้�เป็​็นความ ร่​่วมมื​ือ ร่​่วมแรง ร่​่วมใจ ของจั​ังหวั​ัดด้​้วย ไม่​่ใช่​่แค่​่มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล หรื​ือ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์เพี​ียงองค์​์กร เดี​ียวอี​ีกต่​่อไป เราเข้​้าใจบทบาทของ ความร่​่วมมื​ือว่​่าในโลกยุ​ุคใหม่​่การ ร่​่วมมื​ือเป็​็นสิ่​่�งที่​่�สำำ�คั​ัญมาก ไม่​่มีใี คร ที่​่�จะสามารถอยู่​่�ได้​้อย่​่างยั่​่�งยื​ืนเพี​ียง ลำำ�พั​ัง ต้​้องมี​ีระบบนิ​ิเวศที่​่�เหมาะสม กั​ับการพั​ัฒนาร่​่วมกั​ัน ซึ่​่�งเป็​็นที่​่�น่​่า ยิ​ินดี​ีอย่​่างยิ่​่�งว่​่า ทางจั​ังหวั​ัดนครปฐม ก็​็ได้​้เล็​็งเห็​็นถึ​ึงความสำำ�คั​ัญในเรื่​่�องนี้​้� จึ​ึงทำำ�ให้​้เกิ​ิดความร่​่วมมื​ือในหลาย

ภาคส่​่วนในการทำำ�งานร่​่วมกั​ันครั้​้�ง นี้​้� ทั้​้�งภาคการศึ​ึกษา เช่​่น สถาบั​ัน บั​ัณฑิ​ิตพั​ัฒนศิ​ิลป์​์ วิ​ิทยาลั​ัยนาฏศิ​ิลป มหาวิ​ิทยาลั​ัยศิ​ิลปากร มหาวิ​ิทยาลั​ัย ราชภั​ัฏนครปฐม ภาครั​ัฐที่​่�มี​ีส่​่วน ร่​่วมในจั​ังหวั​ัด วั​ัฒนธรรมจั​ังหวั​ัด องค์​์การบริ​ิหารส่​่วนท้​้องถิ่​่�นต่​่าง ๆ และภาคเอกชนอื่​่�น ๆ เช่​่น หอการค้​้า จั​ังหวั​ัด รวมไปถึ​ึงชมรมต่​่าง ๆ เช่​่น ชมรมคนรั​ักสุ​ุนทราภรณ์​์ เป็​็นต้​้น ทุ​ุก ภาคส่​่วนได้​้ร่ว่ มมื​ือร่​่วมแรงกั​ันทำำ�ให้​้ โครงการนี้​้�พร้​้อมที่​่�จะสมั​ัครเพื่​่�อยื่​่�น เป็​็นตั​ัวแทนประเทศไทย เข้​้ารั​ับการ รั​ับรองจากยู​ูเนสโก เพื่​่�อเป็​็นเมื​ือง ดนตรี​ีของโลก เมื่​่�อได้​้รับั การรั​ับรอง จั​ังหวั​ัดจะสามารถพั​ัฒนาแลกเปลี่​่�ยน องค์​์ความรู้​้�และสร้​้างงานเพื่​่�อเพิ่​่�ม สุ​ุขภาวะให้​้แก่​่ชุมุ ชน ให้​้แก่​่ประชาชน และทำำ�ให้​้เกิ​ิดการเจริ​ิญเติ​ิบโตใน จั​ังหวั​ัดมากขึ้​้�นด้​้วย ในขณะนี้​้�เราได้​้ เตรี​ียมเอกสารและข้​้อมู​ูลพร้​้อมแล้​้ว เพื่​่�อจะยื่​่�นใบสมั​ัครโครงการ City of Music หวั​ังว่​่าความร่​่วมมื​ือในครั้​้�งนี้​้� จะสร้​้างประโยชน์​์ให้​้แก่​่ประชาชนใน จั​ังหวั​ัดได้​้อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ในแง่​่การจั​ัดกิ​ิจกรรมของวิ​ิทยาลั​ัย ทางวิ​ิทยาลั​ัยเองได้​้มี​ีการปรั​ับตั​ัว

เพื่​่�อให้​้องค์​์กรได้​้ก้า้ วหน้​้าไปได้​้อย่​่าง มั่​่�นคง มี​ีการเตรี​ียมพร้​้อมในการวาง โครงสร้​้างองค์​์กรใหม่​่เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความ คล่​่องตั​ัวมากขึ้​้�น มี​ีจุดุ มุ่​่�งหมายในการ ปรั​ับส่​่วนต่​่าง ๆ ในการทำำ�งานให้​้เข้​้ม แข็​็งมากขึ้​้�น และพยายามสนั​ับสนุ​ุน ให้​้บุคุ ลากรได้​้มีโี อกาสในการพั​ัฒนา ตนเอง โลกได้​้เปลี่​่�ยนไปเร็​็วขึ้​้�นทุ​ุก ๆ วั​ัน การที่​่�ยั​ังอยู่​่�กั​ับองค์​์ความรู้​้�เก่​่า ๆ เพี​ียงอย่​่างเดี​ียว อาจจะไม่​่สามารถ ทำำ�ให้​้องค์​์กรข้​้ามผ่​่านวิ​ิกฤตนี้​้�ไปได้​้ เรามี​ีจุ​ุดมุ่​่�งหมายที่​่�จะเป็​็นองค์​์กรที่​่� สามารถเลี้​้�ยงตั​ัวเองได้​้ โดยไม่​่พึ่​่�งพา การสนั​ับสนุ​ุนของภาครั​ัฐ ซึ่​่�งต้​้องเกิ​ิด การปรั​ับตั​ัวและเปลี่​่�ยนแปลงค่​่อน ข้​้างมาก เพราะวิ​ิทยาลั​ัยได้​้เรี​ียนรู้​้�ว่า่ เมื่​่�อในอดี​ีตเราเคยพึ่​่�งพางบประมาณ สนั​ับสนุ​ุนของภาครั​ัฐเป็​็นจำำ�นวนมาก กระทั่​่�งได้​้ถู​ูกตั​ัดงบประมาณ จนใน ขณะนี้​้�เหลื​ืองบประมาณเพี​ียงน้​้อยนิ​ิด จากภาครั​ัฐที่​่�เข้​้ามาสนั​ับสนุ​ุนใน บางเรื่​่�อง เช่​่น การก่​่อสร้​้าง แต่​่ใน อนาคตเราจะหวั​ังให้​้ภาครั​ัฐเข้​้ามา เลี้​้�ยงดู​ูเราเช่​่นในอดี​ีตนั้​้�นคงเป็​็นไป ไม่​่ได้​้ บุ​ุคลากรเองจึ​ึงมี​ีความจำำ�เป็​็น อย่​่างมากที่​่�ต้​้องปรั​ับตั​ัวเอง เพิ่​่�มพู​ูน ทั​ักษะที่​่�มี​ีให้​้มากขึ้​้�น เข้​้าใจกฎระเบี​ียบ ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องจากทางมหาวิ​ิทยาลั​ัยและ วิ​ิทยาลั​ัยให้​้มากขึ้​้�น ในปี​ีนี้​้�เราจั​ัดทำำ� แบบประเมิ​ินในรู​ูปแบบใหม่​่เพื่​่�อมุ่​่�ง เน้​้นให้​้เห็​็นผลการประเมิ​ินอย่​่างเป็​็น ธรรม และกระตุ้​้�นให้​้เกิ​ิดการพั​ัฒนา ตนเองของบุ​ุคลากรในวิ​ิทยาลั​ัย โดย มุ่​่�งหวั​ังว่​่าสิ่​่�งที่​่�เราทำำ�จะเริ่​่�มส่​่งผลดี​ี เมื่​่�อสถานการณ์​์โควิ​ิดมี​ีแนวโน้​้มที่​่�ดี​ี ขึ้​้�น จะช่​่วยให้​้เรามี​ีความพร้​้อมใน การเปลี่​่�ยนแปลงองค์​์กรให้​้ไปสู่​่�การ เดิ​ินหน้​้าอย่​่างยั่​่�งยื​ืน

05


COVER STORY

QS World University Rankings by Subject ในอันดับ Top 100 ของสาขา Performing Arts: ความทุ่มเทและมุ่งมั่นในคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เรื่​่�อง: ณั​ัฏฐา อุ​ุทยานั​ัง (Nuttha Udhayanang) ผู้​้�จั​ัดการการตลาดและประชาสั​ั มพั​ันธ์​์ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

อั​ันดั​ับสถาบั​ันอุ​ุดมศึ​ึกษา หรื​ือ University/School Ranking ถื​ือเป็​็น ส่​่วนหนึ่​่�งของปั​ัจจั​ัยในการตั​ัดสิ​ินใจ เลื​ือกสถาบั​ันการศึ​ึกษาของผู้​้�สมั​ัคร เรี​ียน เกณฑ์​์คร่​่าว ๆ ในการจั​ัดอั​ันดั​ับ สถาบั​ันอุ​ุดมศึ​ึกษาหรื​ือมหาวิ​ิทยาลั​ัย ตั้​้�งแต่​่ยุคุ baby boomer มาจากการ เที​ียบผลคะแนนสอบเข้​้า สถานะ ของสถาบั​ันนั้​้�น ๆ และความสำำ�เร็​็จ ของบั​ัณฑิ​ิตที่​่�จบการศึ​ึกษาไปแล้​้ว ซึ่ง่� ส่​่วนใหญ่​่มหาวิ​ิทยาลั​ัยอั​ันดั​ับต้​้น ๆ ของประเทศหรื​ือของโลกจะเป็​็น มหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�มี​ีการก่​่อตั้​้�งมาเป็​็น 06

เวลานาน และสามารถผลิ​ิตบั​ัณฑิ​ิต ที่​่�ประสบความสำำ�เร็​็จออกไปดำำ�รง ตำำ�แหน่​่งหน้​้าที่​่�ที่​่�สำำ�คั​ัญต่​่าง ๆ ใน สั​ังคม การจั​ัดอั​ันดั​ับสถาบั​ันการศึ​ึกษา ด้​้วยหลั​ักการเช่​่นนี้​้� เรี​ียกว่​่า prestige ranking (reputation ranking) หรื​ือการจั​ัดอั​ันดั​ับคุ​ุณภาพตาม ความคิ​ิดเห็​็นส่​่วนมากในสั​ังคมบน บรรทั​ัดฐานที่​่�กำำ�หนดขึ้​้�นร่​่วมกั​ัน ซึ่ง่� คื​ือ คุ​ุณภาพที่​่�สั​ังคมหรื​ือโลกยอมรั​ับ มาถึ​ึงในยุ​ุคแห่​่งการแข่​่งขั​ันแบบ ก้​้าวกระโดดในปั​ัจจุ​ุบันั การจั​ัดอั​ันดั​ับ มหาวิ​ิทยาลั​ัยไม่​่เป็​็นเพี​ียงปั​ัจจั​ัยหนึ่​่�งใน

การตั​ัดสิ​ินใจเลื​ือกสถาบั​ันของนั​ักเรี​ียน นั​ักศึ​ึกษา แต่​่อั​ันดั​ับสถาบั​ัน หรื​ือ University Ranking เป็​็นเสมื​ือนสิ่​่�ง วั​ัดคุ​ุณภาพของสถาบั​ันการศึ​ึกษา นอกเหนื​ือไปจากการเป็​็นสถาบั​ันที่​่� สร้​้างบั​ัณฑิ​ิตที่​่�พร้​้อมด้​้วยความรู้​้�ความ สามารถแก่​่สั​ังคม เกณฑ์​์ในการวั​ัด คุ​ุณภาพเพื่​่�อจั​ัดอั​ันดั​ับมหาวิ​ิทยาลั​ัย ระดั​ับนานาชาติ​ิในปั​ัจจุ​ุบันั นั้​้�น นอก เหนื​ือจากคุ​ุณภาพการเรี​ียนการสอน สภาพแวดล้​้อมในการเรี​ียนรู้​้�ของผู้​้� เรี​ียน (teaching and learning environment) ยั​ังประกอบไปด้​้วย


คุ​ุณภาพงานวิ​ิจัยั งบประมาณ รายได้​้ ชื่​่�อเสี​ียงของงานวิ​ิจัยั การอ้​้างอิ​ิงในงาน วิ​ิจัยั และการนำำ�งานวิ​ิจัยั ของสถาบั​ัน ไปใช้​้อ้า้ งอิ​ิง การขั​ับเคลื่​่�อนพั​ัฒนาใน อุ​ุตสาหกรรมของสาขาวิ​ิชา นวั​ัตกรรม ที่​่�เป็​็นสิ่​่�งใหม่​่ในวงวิ​ิชาการ ความพึ​ึง พอใจของผู้​้�ใช้​้บั​ัณฑิ​ิต สั​ัดส่​่วนของ อาจารย์​์และนั​ักศึ​ึกษา สั​ัดส่​่วนของ อาจารย์​์และนั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิ รวม ทั้​้�งความเป็​็นนานาชาติ​ิของเจ้​้าหน้​้าที่​่� นั​ักศึ​ึกษา และงานวิ​ิจัยั จะเห็​็นได้​้ว่า่ คุ​ุณภาพของสถาบั​ันการศึ​ึกษาที่​่�เป็​็น ที่​่�ยอมรั​ับในระดั​ับนานาชาติ​ินั้​้�น ไม่​่ ได้​้จบอยู่​่�ที่​่�การสร้​้างบั​ัณฑิ​ิตเหมื​ือน อย่​่างที่​่�เคยเป็​็นมา สถาบั​ันการศึ​ึกษา ที่​่�เป็​็นที่​่�ยอมรั​ับจำำ�เป็​็นต้​้องพั​ัฒนาให้​้ มี​ีบทบาทในการพั​ัฒนาสั​ังคม ทั้​้�ง ระดั​ับประเทศและระดั​ับนานาชาติ​ิ ระบบจั​ัดอั​ันดั​ับสถาบั​ันระดั​ับ อุ​ุดมศึ​ึกษาระดั​ับนานาชาติ​ิที่​่�ได้​้รั​ับ การยอมรั​ับและมี​ีมายาวนานนั้​้�น ได้​้แก่​่ ARWU (Academic Ranking of World Universities), THE (Times Higher Education World University Ranking) และ QS (Quacquarelli Symonds) World University Ranking โดยสั​ัดส่​่วนของ แต่​่ละเกณฑ์​์และวิ​ิธีกี ารเก็​็บข้​้อมู​ูลที่​่� ใช้​้วัดั คุ​ุณภาพจะมี​ีความแตกต่​่างกั​ัน ไปในแต่​่ละระบบ นอกจากการจั​ัด อั​ันดั​ับตั​ัวสถาบั​ันอุ​ุดมศึ​ึกษาแล้​้ว QS World University Ranking (QS WUR) ยั​ังจั​ัดอั​ันดั​ับ World Rankings แยกตามสาขาการศึ​ึกษา ในปั​ัจจุ​ุบันั มี​ีการจั​ัดอั​ันดั​ับด้​้วยกั​ันทั้​้�งหมด ๕๑ สาขาวิ​ิชา QS WUR เป็​็นระบบวั​ัด คุ​ุณภาพที่​่�ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับ “การ เป็​็นที่​่�ยอมรั​ับ” (reputation) โดย แยกเกณฑ์​์ออกเป็​็น ผลงานวิ​ิจั​ัย การเรี​ียนการสอน ความพึ​ึงพอใจ ของผู้​้�ใช้​้บั​ัณฑิ​ิต และการรั​ับรู้​้�ใน ระดั​ับนานาชาติ​ิ ซึ่ง่� การเป็​็นระบบที่​่� วั​ัดคุ​ุณภาพจาก “การเป็​็นที่​่�ยอมรั​ับ” ที่​่�ได้​้รั​ับจากสั​ังคมระดั​ับนานาชาติ​ิ

โดยข้​้อมู​ูลส่​่วนใหญ่​่ที่​่�ใช้​้เป็​็นสั​ัดส่​่วน อยู่​่�ในรู​ูปแบบของแบบสอบถาม ความคิ​ิดเห็​็น ทำำ�ให้​้มหาวิ​ิทยาลั​ัย ที่​่�เป็​็นมหาวิ​ิทยาลั​ัยขนาดใหญ่​่หรื​ือ เป็​็นมหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�ก่​่อตั้​้�งมานานมี​ี ข้​้อได้​้เปรี​ียบอย่​่างมาก ด้​้วยที่​่�ชื่​่�อของ มหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�มี​ีขนาดเล็​็กและใหม่​่ ยั​ังไม่​่เป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ัก เมื่​่�อต้​้นเดื​ือนมี​ีนาคมที่​่�ผ่​่านมา Quacquarelli Symonds (QS) ประกาศผลการจั​ัดอั​ันดั​ับ QS World University Rankings by Subject 2021 ซึ่​่�งมหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดลได้​้รับั การจั​ัดอั​ันดั​ับจำำ�นวน ๑๗ สาขาวิ​ิชา จากทั้​้�งหมด ๕๑ สาขาวิ​ิชา โดยเป็​็น อั​ันดั​ับ ๑ ในไทย ใน ๗ สาขาวิ​ิชา (๑ สาขาวิ​ิชาหลั​ัก และ ๖ สาขาวิ​ิชา เฉพาะ) ได้​้แก่​่ Performing Arts อั​ันดั​ับที่​่� ๕๑-๑๐๐, Life Science & Medicine อั​ันดั​ับที่​่� ๑๔๒, Anatomy & Physiology อั​ันดั​ับที่​่� ๑๐๑-๑๒๐, Biological Sciences อั​ันดั​ับที่​่� ๒๐๑๒๕๐, Medicine อั​ันดั​ับที่​่� ๑๑๖, Nursing อั​ันดั​ับที่​่� ๑๐๑-๑๕๐ และ Pharmacy & Pharmacology อั​ันดั​ับที่​่� ๑๐๑-๑๕๐ โดยสาขาวิ​ิชาที่​่�ได้​้รั​ับการจั​ัด ให้​้อยู่​่�ในอั​ันดั​ับ Top 100 เป็​็นครั้​้�ง แรกของมหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ได้​้แก่​่ สาขาวิ​ิชา Performing Arts ซึ่​่�ง คิ​ิดคะแนนจากความมี​ีชื่​่�อเสี​ียงด้​้าน การเรี​ียนการสอน ชื่​่�อเสี​ียงของงาน วิ​ิจั​ัย ความพึ​ึงพอใจของผู้​้�ใช้​้บัณ ั ฑิ​ิต และการรั​ับรู้​้�ในระดั​ับนานาชาติ​ิด้า้ น ดนตรี​ีเป็​็นที่​่�ยอมรั​ับในระดั​ับสากล ดั​ัง ที่​่�กล่​่าวไปแล้​้วข้​้างต้​้น การที่​่�วิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ซึ่ง่� เป็​็นสถาบั​ันการศึ​ึกษา ด้​้านดนตรี​ีที่​่�ก่อ่ ตั้​้�งมาเป็​็นเวลา ๒๖ ปี​ี สามารถได้​้รับั การจั​ัดอั​ันดั​ับเข้​้า Top 100 ของ QS WUR by Subjects นั้​้�น เป็​็นเรื่​่�องที่​่�เกิ​ินความคาดหมาย ด้​้วยเป็​็นสถาบั​ันที่​่�ก่​่อตั้​้�งได้​้ไม่​่นานเมื่​่�อ เที​ียบกั​ับสถาบั​ันการศึ​ึกษาด้​้านดนตรี​ี อื่​่�น ๆ จึ​ึงถื​ือเป็​็นสิ่​่�งพิ​ิสูจู น์​์ความสำำ�เร็​็จ

ของแนวทางการบริ​ิหารจั​ัดการการ ศึ​ึกษาด้​้านดนตรี​ีของวิ​ิทยาลั​ัยอี​ีกครั้​้�ง หนึ่​่�ง ความสำำ�เร็​็จในด้​้านการเป็​็นที่​่� ยอมรั​ับในด้​้านความเป็​็นเลิ​ิศและการ พั​ัฒนาการเรี​ียนการสอนด้​้านดนตรี​ีของ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหิ​ิดล มี​ีมาอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง เห็​็นได้​้จาก ความสำำ�เร็​็จในการได้​้รั​ับการรั​ับรอง คุ​ุณภาพจากสถาบั​ัน MusiQuE (Music Quality Enhancement) องค์​์กรด้​้านการพั​ัฒนาคุ​ุณภาพการ ศึ​ึกษาดนตรี​ีในภู​ูมิ​ิภาคยุ​ุโรป โดย วิ​ิทยาลั​ัยได้​้รั​ับผลการประเมิ​ินว่​่า เป็​็น “สถาบั​ันที่​่�มี​ีความเป็​็นเลิ​ิศ เป็​็นอย่​่างยิ่​่�ง (Truly Exceptional Institution)” และต่​่อมาก็​็ได้​้รับั การ รั​ับรองคุ​ุณภาพของหลั​ักสู​ูตรปริ​ิญญา ตรี​ี ดุ​ุริ​ิยางคศาสตรบั​ัณฑิ​ิต: ดศ.บ. (Bachelor of Music: B.M.) และ ปริ​ิญญาโทในหลั​ักสู​ูตรศิ​ิลปศาสตรมหา บั​ัณฑิ​ิต (Master of Arts: M.A.) และดุ​ุริ​ิยางคศาสตรมหาบั​ัณฑิ​ิต (Master of Music: M.M.) โดย ได้​้รั​ับผลประเมิ​ินที่​่�ดี​ีเยี่​่�ยมในทุ​ุก ๆ มาตรฐานการประเมิ​ินของยุ​ุโรป ดั​ัง นั้​้�น การที่​่�วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ได้​้ รั​ับการจั​ัดอั​ันดั​ับโดย QS WUR by Subject ในอั​ันดั​ับ Top 100 ของ สาขา Performing Arts ในครั้​้�งนี้​้� ถื​ือเป็​็นเครื่​่�องยื​ืนยั​ันถึ​ึงความทุ่​่�มเท และมุ่​่�งมั่​่�นในคุ​ุณภาพ ทั้​้�งในด้​้าน ของหลั​ักสู​ูตร คณาจารย์​์ นั​ักศึ​ึกษา การวิ​ิจั​ัย และการเป็​็นสถาบั​ันการ ศึ​ึกษาระดั​ับนานาชาติ​ิ ความสำำ�เร็​็จ ในครั้​้�งนี้​้�เป็​็นความภาคภู​ูมิใิ จและเป็​็น ก้​้าวการพั​ัฒนาที่​่�สำำ�คั​ัญของวิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ ที่​่�ตอกย้ำำ��ถึ​ึงวิ​ิสัยั ทั​ัศน์​์ และพั​ันธกิ​ิจของวิ​ิทยาลั​ัย เพื่​่�อมุ่​่�งไป สู่​่�การเป็​็นสถาบั​ันดนตรี​ีชั้​้�นนำำ� ที่​่�ไม่​่ เพี​ียงแต่​่เป็​็นสถาบั​ันการศึ​ึกษาที่​่�ให้​้ ความรู้​้�และเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งในการหล่​่อ หลอมนั​ักดนตรี​ีของสั​ังคมเท่​่านั้​้�น แต่​่ ยั​ังมุ่​่�งเน้​้นการสร้​้างพื้​้�นที่​่�สร้​้างสรรค์​์ และจรรโลงสั​ังคมผ่​่านดนตรี​ีต่​่อไป 07


MUSIC ENTERTAINMENT

“เรื่​่�องเล่​่าเบาสมองสนองปั​ัญญา”

เพลงไทยสากล-เนื้​้�อร้​้องจาก วรรณคดี​ี (ตอนที่​่� ๙) ๓ ยอดฝี​ีมื​ือ ร่​่วมใจประสาน สร้​้างสรรค์​์งานเพลง “จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ” เรื่อง: กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya) อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาดนตรีสมัยนิยม วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วรรณกรรมอมตะ “จุ​ุฬาตรี​ีคูณ ู ” อั​ันลื​ือเลื่​่�อง จากเล่​่มหนั​ังสื​ือนวนิ​ิยายพิ​ิมพ์​์จำำ�หน่​่ายหลายครั้​้�ง กลายมาเป็​็น ละครวิ​ิทยุ​ุ ละครโทรทั​ัศน์​์ และภาพยนตร์​์ ไม่​่น่า่ เชื่​่�อว่​่าเป็​็นงานประพั​ันธ์​์ของนั​ักเรี​ียนมั​ัธยมปลาย อายุ​ุเพี​ียง ๑๗ ขวบปี​ี เขาผู้​้�นั้​้�นคื​ือ “พนมเที​ียน” (ฉั​ัตรชั​ัย วิ​ิเศษสุ​ุวรรณภู​ูมิ​ิ - ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ซึ่​่�งเคยกล่​่าวไว้​้ว่า่ “(จุ​ุฬาตรี​ีคูณ ู ) เคยไปเสนอโรงพิ​ิมพ์​์ แต่​่ไม่​่มี​ีใครรั​ับ เราก็​็เก็​็บไว้​้ พอกลั​ับมาคนเริ่​่�มรู้​้�จั​ัก จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ ยั​ังไม่​่ได้​้พิ​ิมพ์​์ก็​็มี​ีคนมาขอไป ทำำ�ภาพยนตร์​์ แล้​้วพอ ครู​ูแก้​้ว อั​ัจฉริ​ิยะกุ​ุล และ ครู​ูเอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน เจ้​้าของวงดนตรี​ีสุ​ุนทราภรณ์​์ ได้​้อ่​่าน ก็​็ 08


ช่​่วยกั​ันแต่​่งเพลงประจำำ�เรื่​่�องจุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณให้​้อี​ีก ๕ เพลง คื​ือ เพลงจุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ เพลงเจ้​้าไม่​่มี​ีศาล เพลงอ้​้อมกอด พี่​่� เพลงใต้​้ร่​่มมลุ​ุลี​ี และเพลงปองใจรั​ัก ก็​็เลยได้​้ตี​ีพิ​ิมพ์​์ที​ีหลั​ัง เป็​็นนวนิ​ิยายที่​่�มี​ีเพลงประจำำ�ด้​้วย” (ข้​้อมู​ูลจาก https://raremeat.blog/%e0%b8%88%e0%b8%b8%e0%b8%ac%e0%b8%b2%e0%b8%95%e0%b8% a3%e0%b8%b5%e0%b8%84%e0%b8%b9%e0%b8%93-1967/) นอกจากนี้​้� นิ​ิตยสาร “ปากไก่​่” ฉบั​ับเดื​ือนพฤษภาคม ๒๕๕๘ หน้​้า ๔๐ ย่​่อหน้​้าที่​่� ๓ บทความ พนมเที​ียน กราบครู​ูแก้​้วผ่​่านคำำ�นำำ�จิ​ินตนิ​ิยาย “จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ” พรรณนาถึ​ึงที่​่�มาของทั้​้�ง ๕ บทเพลง ดั​ังสำำ�เนาตั​ัดทอนมา ต่​่อไปนี้​้�

09


10


เพลงแรกที่​่�ผู้​้�เขี​ียนฯ ขอนำำ�เสนอ ได้​้แก่​่ เพลง “จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ” (https://www.youtube.com/ watch?v=5CNcXtenyfU) ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงต้​้นฉบั​ับโดย มั​ัณฑนา โมรากุ​ุล - ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ ในช่​่วงทศวรรษ ๒๔๙๐ คำำ�ร้​้อง/ทำำ�นอง ประพั​ันธ์​์โดย แก้​้ว อั​ัจฉริ​ิยะกุ​ุล และ เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน บรรเลงโดย วงดนตรี​ีสุนุ ทราภรณ์​์ หลั​ังจากนั้​้�นมี​ีการนำำ�มาทำำ�ซ้ำำ��ออกเผยแพร่​่อีกี หลายต่​่อหลายครั้​้�ง ขั​ับร้​้องโดยศิ​ิลปิ​ินที่​่�มี​ีชื่​่�อเสี​ียง ในรู​ูปแบบดนตรี​ี ที่​่�หลากหลายของแต่​่ละยุ​ุคสมั​ัย “จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ” เป็​็นวั​ังน้ำำ�� วนที่​่�เกิ​ิดจากแม่​่น้ำ�ำ� คงคาและยมุ​ุนาไหลมาบรรจบกั​ัน ความรุ​ุนแรงของสายน้ำำ�ที่​่ � �มา บรรจบกั​ันทำำ�ให้​้เกิ​ิดเป็​็นวังั น้ำำ��วน และในยามค่ำำ��คื​ืนจะมี​ีทางช้​้างเผื​ือกทอดยาวขาวโพลนลงมาบรรจบ ณ วั​ังน้ำำ��วน นั้​้�นด้​้วย ทางช้​้างเผื​ือกนั้​้�นเรี​ียกว่​่า “คงคาสวรรค์​์” จึ​ึงเท่​่ากั​ับว่​่าบริ​ิเวณนั้​้�นมี​ีแม่​่น้ำำ��สามสายไหลมาบรรจบกั​ัน จึ​ึง เรี​ียกบริ​ิเวณนั้​้�นว่า่ “จุ​ุฬาตรี​ีคูณ ู ” (ที่​่�มา Facebook: “พร่​่างเพชรในเกร็​็ดเพลง” ลงวั​ันที่​่� ๔ มิ​ิถุนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑) กรอบตารางด้​้านล่​่างเป็​็นเนื้​้�อร้​้องของเพลงนี้​้� ๑) ข้าแต่คงคา จุฬาตรีคูณ ดวงใจข้าอาดูร หนักเอย ความงามวิไล ข้ามิได้ปรารถนา ข้าชังหนักหนา เจ้าเอย

๒) เพราะชนนีข้าวิไล จึงถูกสังเวยเสียในสายชล ด้วยรักเอย จุฬาตรีคูณ ชนนีชีพสูญ ในสายจุฬาตรีคูณ นี่เอย

๓) ดารารายเลิศโสภา ข้าไม่นาพาเพราะกลัวว่า ๔) ให้ข้าน่าชัง สิ้นหวังชื่นชม ขอให้ไร้ผู้นิยม จะถูกสังเวย โปรดสาปสรร ขอให้โฉมอัน นาพา ขอให้สมใจ ในปรารถนา น่าเชย สิ้นสวยเลย ไร้ค่า นะจุฬาตรีคณ ู เจ้าเอย

11


โน้​้ตสากลพร้​้อมคำำ�ร้​้องและ chord progression บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน F major scale ปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

12


ลักษณะเพลงแบ่งเป็น ๔ ท่อน ความยาวท่อนละ ๘ ห้อง เมื่อพิจารณาลีลาท�ำนองพบว่าฟอร์มเพลงนี้จัด อยู่ในประเภท ABCD (ไม่มีการซ�้ำท�ำนอง นอกจากกระสวนจังหวะ [pattern] ที่พ้องกันอยู่บ้าง) ข้อสังเกต ห้องแรกของท่อน ๔ มีโน้ตบลูส์ ดังภาพ หรือจะมองแบบ mode ท่อนนี้เป็น mixolydian

ลำำ�ดั​ับที่​่� ๒ ได้​้แก่​่ เพลง “จ้​้าวไม่​่มี​ีศาล” (https://www.youtube.com/watch?v=S14zXBYvm58) คำำ�ร้​้องประพั​ันธ์​์โดย แก้​้ว อั​ัจฉริ​ิยะกุ​ุล ทำำ�นองเป็​็นของ เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงต้​้นฉบั​ับโดย วิ​ินั​ัย จุ​ุลละบุ​ุษปะ ในช่​่วงปี​ีเดี​ียวกั​ับเพลงแรก สำำ�เนี​ียงเพลงนี้​้�ฟั​ังดู​ูเศร้​้าหม่​่นหมองด้​้วยฝี​ีมื​ือการประพั​ันธ์​์ทำำ�นองของ ยอดขุ​ุนพลเพลงท่​่านหนึ่​่�งของเมื​ืองไทย ให้​้เสี​ียงที่​่�เป็​็น minor scale ผสมผสานกั​ับ major scale ได้​้อย่​่างแนบ เนี​ียน ด้​้านเนื้​้�อร้​้องที่​่�สอดคล้​้องกั​ันดี​ียิ่​่�งกั​ับทำำ�นองจากยอดฝี​ีมือื ระดั​ับบรมครู​ู (มี​ีสำำ�นวนที่​่�กล่​่าวกั​ันในวงการเพลง ไทยสากลว่​่า “ทำำ�นองเอื้​้�อ - เนื้​้�อแก้​้ว” แพรวเพริ​ิศพริ้​้�ง) ๑) โอ้ เกิดมา ไอศูรย์ราชาของข้าก็มี แคว้นใดข้าไปทั่วในปฐพี ข้าถือเป็นที่ครองนาน

๒) ประเวศเขตแดน ซอกซอน เที่ยวเร่สัญจร หาดวงสมรนงคราญ จากจรที่กิน ถิ่นฐาน จ้าวไม่มีศาล ขอทานเขากินสิ้นคน

๓) ปรารถนา พบดวงดาราเบื้องบน ถึงต้องทุเรศอับจน ทุกข์ใจจาทนกัดฟัน

๔) ข้าปอง โฉมงามรูปทองน้องเอย ขอเพียงชื่นชมชิดเชย ดังที่เคยคิดมั่น

๕) ทั้งดวงใจ พี่จะให้ไอศูรย์ร่วมกัน ร่วมยศราชันย์ ร่วมขวัญข้าเอย

แก้​้ว อั​ัจฉริ​ิยะกุ​ุล

เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน

วิ​ินั​ัย จุ​ุลละบุ​ุษปะ

ผู้​้�เขี​ียนบทความนี้​้�ทำำ� transcription ตามหลั​ักการทางดนตรี​ีสากล พร้​้อมแนวทาง chord ผลออกมา ปรากฏดั​ังภาพต่​่อไปนี้​้�

13


14


แนวทำำ�นองโดยรวมบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน F dorian, F minor และ F major scale ผสมกั​ันอย่​่างลงตั​ัว โดยมี​ี สำำ�เนี​ียงของความเป็​็น minor ที่​่�โดดเด่​่นได้​้ยิ​ินชั​ัดเจนเป็​็นเจ้​้าเรื​ือน ดั​ังตั​ัวอย่​่าง

เพลงแบ่​่งเป็​็น ๕ ท่​่อน ความยาวท่​่อนละ ๘ ห้​้อง ลงตั​ัวตามสู​ูตรนิ​ิยมของเพลง popular ทั่​่�วไป ท่​่อน ๑ กั​ับท่​่อน ๓ ท่​่อน ๔ กั​ับท่​่อน ๕ มี​ีกระสวนจั​ังหวะ (pattern) ที่​่�คล้​้ายคลึ​ึงกั​ัน ดั​ังนั้​้�น อาจมองแนวทำำ�นองเพลง นี้​้�ตามหลั​ักการดนตรี​ีสากลว่​่าอยู่​่�ในฟอร์​์ม ABA'CC' ลำำ�ดั​ับที่​่� ๓ ได้​้แก่​่ เพลง “ใต้​้ร่​่มมะลุ​ุลี​ี” (https://www.youtube.com/watch?v=EQGzJbK3tM4) เป็​็น เพลงขั​ับร้​้องคู่​่� ชาย/หญิ​ิง บั​ันทึ​ึกเสี​ียงครั้​้�งแรกโดย เพ็​็ญศรี​ี พุ่​่�มชู​ูศรี​ี (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ร่​่วมกั​ับ วิ​ินัยั จุ​ุลละบุ​ุษปะ เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๔ โปรดพิ​ิจารณาเนื้​้�อร้​้องของเพลงนี้​้�เพื่​่�อซึ​ึมซั​ับความหมายที่​่�ครู​ูแก้​้ว อั​ัจฉริ​ิยะกุ​ุล รั​ังสรรค์​์ขึ้​้�น มาจากเนื้​้�อเรื่​่�องในวรรณกรรม “จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ” ดั​ังปรากฏในกรอบตารางต่​่อไปนี้​้� ๑) (ญ) โอ มะลุลีร่มนี้มืดมน ช้าเหลือทน อับจนหัวใจ ต้องพรากรักไป ภายใต้ ร่มไม้ของเจ้านี้

๒) (ช) ลืม รักที่หลั่งลงฝังกับใจ ฝังฝากให้ ใต้ร่มมะลุลี จงลืมรักพี่ อย่ามีฤดี อาลัยต่อกัน

๓) (ญ) ยากเย็น กรรมหรือเวรอันใด นาชักให้ ๔) (ญ) โอ รักที่ผ่านดังฝันชั่วคืน ครั้นพอตื่น ดวงฤทัยโศกศัลย์ กลับคืนหายไป (ช) พี่ตรม สุดภิรมย์ราพัน (ช) โธ่ อย่าร้องไห้ พลอยให้ดวงใจ บุญไม่เปรียบเทียบทัน ร้าวรานฤทัย ร้าวระทม ๕) (ช+ญ) ร่มมะลุลี เป็นที่สุดท้ายแห่งจุดหมายน้องพี่ มะลุลีเห็นใจน้องพี่ว่าสิ้นคืนนี้น้องพี่สิ้นกัน

เมื่​่�อแกะโน้​้ตเพลงจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับ นำำ�มาบั​ันทึ​ึกเป็​็นโน้​้ตสากลผ่​่าน Sibelius music notation program วางทางเดิ​ิน chord ตามหลั​ักการของดนตรี​ีสากล ผลปรากฏดั​ังภาพต่​่อไปนี้​้�

15


16


เมื่​่�อนำำ�กลุ่​่�มเสี​ียงของแนวทำำ�นองเพลงนี้​้�มาจั​ัดระเบี​ียบตามหลั​ักการบั​ันไดเสี​ียง (scaling) แบบดนตรี​ีตะวั​ันตก พบว่​่าบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน E harmonic minor scale ช่​่วยเสริ​ิมความหม่​่นเศร้​้าของเพลง

เมื่​่�อจั​ัดห้​้องโดยพิ​ิจารณาจากจุ​ุดพั​ักเพลง (cadence) สามารถจั​ัดแบ่​่งออกเป็​็น ๕ ท่​่อน ความยาวท่​่อนละ ๘ ห้​้อง ๔ ท่​่อนแรกอยู่​่�ในฟอร์​์มของ AABAC ท่​่อนที่​่� ๕ คื​ือท่​่อน C สั​ังเกตว่​่าท่​่อน ๓ และ ๔ มี​ีการย้​้อนกลั​ับ (repeat) เพื่​่�อการขั​ับร้​้องซ้ำำ��โดยสลั​ับจาก หญิ​ิง-ชาย เป็​็น ชาย-หญิ​ิง และขั​ับร้​้องพร้​้อมกั​ันที่​่�ท่​่อน ๕ เพื่​่�อสรุ​ุป ทั้​้�งเนื้​้�อหาของเพลงและแนวทำำ�นอง แล้​้วลงจบเพลง (Fine) ลำำ�ดั​ับที่​่� ๔ ได้​้แก่​่ เพลง “อ้​้อมกอดพี่​่�” (https://www.youtube.com/watch?v=fjlxwMMtAM0) เพลงนี้​้� บั​ันทึ​ึกเสี​ียงครั้​้�งแรกในปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๔ เช่​่นกั​ัน ขั​ับร้​้องโดย เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน Facebook “พร่​่างเพชรในเกร็​็ด เพลง” ลงวั​ันที่​่� ๕ มิ​ิถุ​ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ (ค.ศ. ๒๐๑๘) บรรยายความเป็​็นมาของเพลงนี้​้�ไว้​้ว่​่า ...เพลง “อ้​้อม กอดพี่​่�” อยู่​่�ในตอนที่​่�อริ​ิยวรรตกล่​่อมเจ้​้าหญิ​ิงนอน ระหว่​่างพาเจ้​้าหญิ​ิงรอนแรมมากลางป่​่า เป็​็นเพลงที่​่�ร้​้องยาก กว่​่าเพลงอื่​่�น ๆ ในชุ​ุด จึ​ึงเป็​็นหน้​้าที่​่�ของครู​ูเอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน ผู้​้�รั​ับบทอริ​ิยวรรตในเรื่​่�อง ในขณะที่​่�คุ​ุณมั​ัณฑนา โมรากุ​ุล รั​ับบทเจ้​้าหญิ​ิงดารารายพิ​ิลาส คุ​ุณวิ​ินั​ัย จุ​ุลละบุ​ุษปะ รั​ับบทขั​ัตติ​ิยะราเชนทร์​์ และคุ​ุณเพ็​็ญศรี​ี พุ่​่�มชู​ูศรี​ี รั​ับบทเจ้​้าหญิ​ิงอาภั​ัสรา พระคู่​่�หมั้​้�นของอริ​ิยวรรต... (ท่​่านผู้​้�อ่​่านที่​่�สนใจใฝ่​่หารายละเอี​ียดของวรรณกรรมเรื่​่�องนี้​้� สามารถสื​ืบค้​้นได้​้จากหลายแหล่​่งใน Google) คำำ�ร้​้องทั้​้�งเพลง (รวมถึ​ึงอี​ีก ๔ เพลง) ผู้​้�เขี​ียนฯ สำำ�เนาจาก เว็​็บไซต์​์ “บ้​้านคนรั​ักสุ​ุนทราภรณ์​์” ปรากฏในกรอบตารางต่​่อไปนี้​้� ตามด้​้วยโน้​้ตสากลพร้​้อมคำำ�ร้​้องและแนวทาง chord ที่​่�ผู้​้�เขี​ียนฯ แกะจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับ

๑) ขวัญ ชีวีพี่เอย ขวัญ เจ้าจงอย่าเลยจากไป ๒) นอน ในอ้อมกอดพี่ แขน พี่วางแทนที่ตั่งทอง นอน เนื้อละมุนหนุนกลางหว่างใจ นอน ขวัญดวงใจในอ้อมประคอง พี่ประคองในอ้อมกอดไว้ เพื่อขวัญฤทัย คุ้มกันภัยให้แทนเกราะทอง ให้น้องนิทรา ได้หนุนรอง อย่าหมองเลย ๓) เนตร น้องมีประกายดารา น้องจงนิทรา ๔) ซ่อนแสง เก็บไว้ให้พี่ ตื่นนี้ พี่จะชมชื่นใจ อย่าลืมตาน้องเอย (ฮัม ...............) หลับเถิดหนาน้องอย่าเผยดวงตาเลย เพราะตาทรามเชย จะเย้ยแสงดาวนภาอับไป

17


18


ฟอร์​์มเพลงนี้​้�จั​ัดระเบี​ียบเรี​ียกขานตามอย่​่างดนตรี​ีสากลว่​่า AABC นั่​่�นคื​ือ แบ่​่งออกเป็​็น ๔ ท่​่อน ความยาว ของ ๓ ท่​่อนแรก (AAB - 1-2-3) มี​ีขนาด ๘ ห้​้องเพลง ส่​่วนท่​่อน C (4) มี​ีเพี​ียง ๖ ห้​้อง เป็​็นที่​่�น่​่าสั​ังเกตว่​่า เครื่​่�องหมายกำำ�กั​ับจั​ังหวะ (time signature) เป็​็น 6|4 ด้​้วยประสบการณ์​์ทางดนตรี​ีร่ว่ ม ๕๐ ปี​ีของผู้​้�เขี​ียนฯ เมื่​่�อ ฟั​ังไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับเพลงนี้​้� พร้​้อมพิ​ิจารณาประโยคและจุ​ุดพั​ักเพลง จึ​ึงอนุ​ุมานว่​่าเป็​็นเช่​่นนั้​้�น (อาจใช้​้ 3|4 ก็​็ได้​้ แต่​่ห้​้องเพลงจะยาวเพิ่​่�มขึ้​้�นอี​ีก ๑ เท่​่าตั​ัว) เมื่​่�อจั​ัดระเบี​ียบกลุ่​่�มเสี​ียงทั้​้�งหมดตามหลั​ักการ พบว่​่าแนวทำำ�นองทั้​้�ง เพลงบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน D harmonic minor scale

ลำำ�ดั​ับที่​่� ๕ ได้​้แก่​่ เพลง “ปองใจรั​ัก” (https://www.youtube.com/watch?v=odrPIR7_nvY) ขั​ับร้​้อง บั​ันทึ​ึกเสี​ียงต้​้นฉบั​ับโดย เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน คู่​่�กั​ับ มั​ัณฑนา โมรากุ​ุล เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๔ Facebook “พร่​่างเพชร ในเกร็​็ดเพลง” ลงวั​ันที่​่� ๕ มิ​ิถุ​ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ (ค.ศ. ๒๐๑๘) สรุ​ุปว่​่าเนื้​้�อหาเพลงนี้​้�เป็​็นการโต้​้ตอบระหว่​่าง อนุ​ุสติ​ิของอริ​ิยวรรตขณะใกล้​้สวรรคต กั​ับวิ​ิญญาณของเจ้​้าหญิ​ิงดารารายพิ​ิลาสที่​่�สั่​่�งความถึ​ึงกั​ัน กรอบตาราง ต่​่อไปนี้​้�เป็​็นคำำ�ร้​้องของทั้​้�งเพลง

มั​ัณฑนา โมรากุ​ุล

๑) (ญ) โอ้ความรักเอย สุดชื่นสุดเชย สุดจะเฉลยราพัน (ช) รักเจ้าเฝ้าแต่ฝัน ผูกพัน รักพี่กระสัน คอยหา

๒) (ญ) พี่คอยน้องคอย ต่างคนต่างคอย แต่บุญเราน้อยหนักหนา (ช) คอยเจ้าเจ้าไม่มา เจ้าหนีหน้า แก้วตาหนีพี่ไป

๓) (ญ) รักพี่สุดที่อาวรณ์ รักจรจาไกล (ช) อย่าเลย อย่าไป พี่หวงดวงใจ ขอให้พี่ได้เคียงครอง

๔) (ญ) พี่ปองน้องปอง ห้องหอ น้องจะไปรอคู่คลอ หอห้อง (ช) พี่ปองน้องปอง ต่างคนต่างปอง แล้วพี่จะครองคู่เอย

19


โน้ตสากลที่ผู้เขียนฯ ท�ำ transcription ผ่าน Sibelius notation program ปรากฏดังภาพต่อไปนี้

20


แนวท�ำนองเพลงเพลงนี้บันทึกอยู่บน F melodic minor scale ผสมกับ F major scale อย่างเหมาะสม กลมกลืน ดัง ๒ ตัวอย่างต่อไปนี้

ลั​ักษณะรู​ูปแบบ (form) เพลงเป็​็นแบบ AABC แบ่​่งเป็​็น ๔ ท่​่อน ความยาวท่​่อนละ ๘ ห้​้อง ตามสู​ูตรนิ​ิยม ของดนตรี​ี popular ทั่​่�วไป ข้อควรสังเกตส�ำหรับทั้ง ๕ เพลงนี้ พบว่ามีการใช้ค�ำที่ลงตัวกับเสียงโน้ตแทบทุกประโยคเพลง อันแสดงถึง ความสามารถอันเป็นเลิศของครูเอื้อ สุนทรสนาน และครูแก้ว อัจฉริยะกุล เป็นที่ประจักษ์กันดีว่า “ค�ำ” ใน ภาษาไทยมีเสียงสูงต�ำ่ ของวรรณยุกต์ การประพันธ์ทำ� นองให้กลมกลืนกับค�ำร้อง หรือในทางกลับกัน สร้างค�ำร้อง ให้เข้ากับท�ำนอง เจ้าของงานต้องใช้ฝีมือเฉพาะตัวผสานกับประสบการณ์ในระดับสูงยิ่ง

21


เมื่​่�อ ๓ ยอดฝี​ีมื​ือมาร่​่วมกั​ันรั​ังสรรค์​์งาน “จุ​ุฬาตรี​ีคู​ูณ” พนมเที​ียน - แก้​้ว อั​ัจฉริ​ิยะกุ​ุล - เอื้​้อ� สุ​ุนทร สนาน ผลงานนี้​้�จึ​ึงเป็​็นดั​ังที่​่�ประจั​ักษ์​์

22

“พนมเทียน” ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ประพันธนวนิยาย “จุฬาตรีคูณ” ตั้งแตอายุ ๑๗ ป ขณะกําลัง เรียนอยูชั้นมัธยมปลาย ตามมาดวยนวนิยายยอดนิยมอมตะ หลายเรื่องรวมทั้ง “เพชรพระอุมา” อันลือเลื่อง

“แกวฟา” แกว อัจฉริยะกุล

เจาของคํารองเพลงไทยสากลอมตะหลากหลายลีลา ทั้งเพลงชา เพลงเร็ว นักเขียนบทละคร เจาของละครวิทยุคณะแกวฟา ที่ครองใจผูคนในอดีต เปนผูประพันธเนื้อรองของทุกเพลง ในละคร “จุฬาตรีคูณ”

เอื้อ สุนทรสนาน

หัวหนาวงดนตรีสุนทราภรณ ผูสรางสรรคทํานองเพลงไทยสากล มากมายหลายหลากสไตล ผลงานสวนใหญยังคงมีการนํามาทําซ้าํ หลายตอหลายครั้งจวบปจจุบัน ประพันธทํานองทั้ง ๕ เพลง และรวมขับรอง ๒ เพลง ในละคร “จุฬาตรีคูณ”


ผู้​้�ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงต้​้นฉบั​ับ เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน วิ​ินั​ัย จุ​ุลละบุ​ุษปะ มั​ัณฑนา โมรากุ​ุล เพ็​็ญศรี​ี พุ่​่�มชู​ูศรี​ี

ขอบคุ​ุณข้​้อมู​ูลจาก Facebook “พร่​่างเพชรในเกร็​็ดเพลง” “บ้​้านคนรั​ักสุ​ุนทราภรณ์​์” ทั้​้�งหมดนี้​้�จากศู​ูนย์​์ใหญ่​่ รวมข้​้อมู​ูลอั​ันหลากหลาย “Google” สุ​ุดท้​้ายขอท่​่านผู้​้�อ่​่านใช้​้ชีวิี ติ ผ่​่านหน้​้าร้​้อนนี้​้�ไปด้​้วยความสุ​ุขสวั​ัสดี​ี และคลาด แคล้​้วจากภั​ัย COVID-19 (เจ้​้าตั​ัวร้​้าย)

23


MUSICOLOGY

George Walker: African-American Classical Composer Story: Achareeya Fukiat (อั​ัจฉรี​ียา ฟู​ู เกี​ียรติ​ิ) Piano Instructor Bromsgrove International School Thailand

George Walker is a wellknown concert pianist, composer, outstanding professor, and pioneering African-American musician. Walker was born on June 17, 1922 in Washington, D.C. He studied the piano as a child and later attended the Oberlin College (Bachelor of Music), the Curtis Institute (Artist Diploma), the American Academy at Fontainebleau, France (Artist Diploma), and the Eastman School

1

24

of Music (Doctor of Musical Arts degree). Over his lifetime he has composed many great works, including sonatas for piano, cantatas, many songs, choral works, organ pieces, sonatas for cello and piano, violin and piano and viola and piano, a brass quintet, a woodwind quintet, and even a mass. George Walker has been given numerous awards and prizes, including the Pulitzer Prize (1996). He made his real mark on history by becoming

the first black composer to win the Pulitzer Prize for his work, Lilacs for voice and orchestra.1 To fully understand how Walker developed great virtuosity and musical skill to earn international recognition, one must explore his career, compositional style, and inspirations. Walker began his distinguished career as a concert pianist with a debut recital in Town Hall, New York in 1945. This historical debut

Butterworth, Neil, Dictionary of American Classical Composers (NY: Routledge, 2005), 483.


was possible under the auspices of Mr. and Mrs. Efrem Zimbalist, directors of the Curtis Institute of Music. Two weeks after his New York debut, Walker played the Rachmaninoff Third Piano Concerto with Eugene Ormandy and the Philadelphia Orchestra. This performance was the prize for winning the Philadelphia Youth Auditions. The following year, Walker performed the Brahms Second Piano Concerto with the Baltimore Symphony, Reginald Stewart conducting.2 With National Concert Artists, Walker was the first black instrumentalist to be signed by a major concert management and made an extensive performing tour of seven European countries that included Sweden, Denmark, Holland, Germany, Switzerland, Italy, and England.3 Walker’s compositional accomplishments have also distinguished him as an esteemed composer. In 1957, he was awarded both a Fulbright Fellowship and a John Hay Whitney Fellowship. He was the first composer to receive the Whitney award to study composition with Nadia Boulanger. Boulanger had a tremendous impact upon his composing career. Walker said Boulanger was the first person to recognize his talent as a composer. Boulanger was

also very supportive of Walker’s compositions and never tried to influence his style. She told him to keep going instead of trying to change him.4 The premiere of Lament for Strings in 1947, later renamed Lyric for Strings, is his most widely performed orchestral piece. Although an adept orchestrator, his masterpiece for solo piano, Sonata No. 2, was written in 1956 as his doctoral dissertation for Eastman. In 1972, his Symphony for Orchestra was featured on a WNET television presentation, “Music of Black Composers.” Two examples of Walker’s mature voice date from 1975 with Piano Sonata No. 3 and Music for Brass (Sacred and Profane). Both works are angular and reflect his fascination with sonority.5 As a teacher, Walker has lectured and held master classes at many of the country’s toprated colleges and universities, and has been on the academic faculty at Dillard University, the Dalcroze School of Music, The New School for Social Research, Smith College, the University of Colorado, the Peabody Institute, the University of Delaware, and the Rutgers University. He retired from Rutgers as department chair after teaching music there for 27 years.6

In his compositional style aspects, it is very difficult to distinguish his compositional style as a particular style or period. However, his mature style reflects the influence of serialism, but is also characterized by neo-classical forms and textures, engaging melodies, dramatic instrumental coloring, rhythmic complexity and frequent references to spirituals, gospel, and other black folk, jazz, and popular idioms. Other influences include the music of Stravinsky, Schoenberg, Debussy and Ravel.7 His compositional style melds the techniques of Schoenberg, Stravinsky, Hindemith, Debussy, Ravel, and Copland. The motivic development, variation, and twelve tone melodic conception found in his works are clearly Schoenbergian in nature. His orchestration and rhythmic complexity, particularly the way each generates form, are hallmarks of a style very much influenced by Stravinsky. The influences of Hindemith can be seen in Walker’s use of counterpoint, while Walker’s pianistic background helps to generate his conception of melodic shape (much like Debussy and Ravel). Like Copland’s popular style, Walker’s music has a sense of lyricism, spaciousness of texture, and a connection to American folk materials.8

Walker, George, Composer website, http://georgetwalker.com/ Walker, George, Composer website, http://georgetwalker.com/ 4 Mickey Thomas Terry, “An Interview with George Walker,” The Musical Quarterly 84, No. 3 (Autumn, 2000): 378. 5 Ames, Jeffery L., “A pioneering twentieth-century African-American musician: The choral works of George T. Walker,” (Ph.D. diss., The Florida State University, 2005), 23. 6 Ames, Jeffery L., “A pioneering twentieth-century African-American musician: The choral works of George T. Walker,” (Ph.D. diss., The Florida State University, 2005), 23. 7 http://www.oxfordmusiconline.com.www.libproxy.wvu.edu/subscriber/ 8 Nelson, Ryan Todd, “Octatonic pitch structure and motivic organization in George Walker’s “Canvas” for wind ensemble, voices and chorus,” (D.M.A. diss., University of North Texas, 2003), 10-11. 2 3

25


Walker’s initial style began with the infusing of basic classical and baroque forms (variations, fugue, and sonata) with contemporary material. He leaned toward the use of these conservative forms at a time when his contemporaries were employing mostly free forms. Walker had a great interest in understanding historical techniques in his development and education as a composer. In understanding his musical language, it is also important to consider that his musicianship was grounded in piano literature and theory. Walker stated that “I was in no rush to imitate any of the current icons that attracted many American composers. I was not really concerned about developing a personal style. I was not interested in being a composer, but in having a technique that would be useful

at some time.”9 Walker can be a motivic or “idea” composer. His ideas may refer to one motive, a series of motives, meters, etc. They are sometimes not initially perceptible, but become more apparent when one is working with the score. This is not a new development, but shows likeness to the composers of the Second Viennese School and to late Stravinsky. Often, Walker will take an idea, and subject it to exploitation such as truncation, augmentation, and interpolation.10 On the other end of the spectrum, Walker evidences parallels to some attributes typically associated with African-American traditions. Much of his music evokes similar qualities of what are considered African-esque music styles and techniques. One

is the common use of the half step. The half step is the interval by which spirituals and gospel music typically modulate. It can also be used for “bending” of an established chord. The half step functions similarly to a common tone diminished seventh chord in a barbershop quartet piece, or a diminished secondary to its home chord. Deep River, a traditional spiritual demonstrates traditional half step motion.11 Walker also has been known to use modal scales which are associated with spirituals, such as Dorian, Phrygian, Mixolydian and minor pentatonic. Walker’s rhythms tend to be very intricate and lean heavily towards syncopation.12 Pursuing this further, I would like to discuss a little further the piece which won the Pulitzer Prize, Lilacs. Walker composed Lilacs for Voice and Orchestra in 1995 after being commissioned by the Boston Symphony Orchestra. Originally, the ensemble had requested an eight-minute long work for tenor and full orchestra to be performed by tenor Vinson Cole, and, of course, the Boston Symphony. Vinson Cole, however, found Walker’s work far too demanding, and in the end Faye Robinson, a soprano, was given the part.13 The cycle of four songs is based on the poem “When Lilacs Last in the Dooryard Bloom’d” by Walt Whitman. The text is a reflection of the assassination of President Abraham Lincoln, a man who

Mickey Thomas Terry, “An Interview with George Walker,” The Musical Quarterly 84, no.3 (Autumn, 2000): 378. 10 Archibald, Amber Cristina, “George Walker Viola Sonata (1989): A History, Analysis and Practical Performance Guide of a Great American Work,” (D.M.A. diss., University of Washington, 2012), 21. 11 Ibid. 12 Ibid. 13 http://music.nebrwesleyan.edu/~mhefner/215.html 9

26


Whitman identified with as a symbol of “freedom and emancipation,” especially to African-Americans. One need not ponder very long to understand Walker’s connection with the sixteen-stanza poem. Walker chose stanzas one, two, three, and thirteen for Lilacs. In an interview in the book Musical Landscapes in Color,14 Walker describes Lilacs as a throughcomposed compilation of disjunct melodies that features several recurring motifs throughout. There are three symbols represented in Whitman’s poem, lilac, star, and bird. Walker captured two of these (the lilac and bird, which can also be noted in the above example) by representing them each with their own leitmotif.15 Lilacs features occasional melismatic movement in the voice,

extensive use of chromaticism, frequent and irregular meter changes, and difficult rhythmic patterns for the entire ensemble. Walker dared to use a wide and difficult range of meters. He seems to favor more complex meters and also use duple. It is clear that George Walker wanted to convey the belief that music can live and breathe, and it can tell a story just by adding some accidentals, subtracting half of an orchestra, or writing it in memory of someone.16 In conclusion, I believe that George Walker is a highly successful and accomplished musician. He is not only a famous African-American classical composer, but also a distinguished professor, a virtuoso concert pianist, has published a lot of works, has received important commissions from many ensembles,

and has received many honorary awards and prizes. He has fulfilled many of his dreams. It is hard to find someone these days who has experienced as much success in so many different aspects of his career. Moreover, he opened doors for other African-American classical composers and inspired composers of all nationalities to reconsider their roots, as well as to consider the influence of other heritages when writing music. George Walker inspired composers to try something new, or different, and to put more thought, expression, and complicated technique behind their works. He made it known that cultural equality is possible and vital, and when you discover equality you can change how people see the world.

Banfield, William C., Musical Landscape in Color: conversations with Black American composers (MD: Scarecrow Press, 2003), 90. 15 Ibid. 16 Ibid. 14

Bibliography

Ames, Jeffery L. “A pioneering twentieth-century African-American musician: The choral works of George T. Walker.” Ph.D. diss., The Florida State University, 2005. Archibald, Amber Cristina. “George Walker Viola Sonata (1989): A History, Analysis and Practical Performance Guide of a Great American Work.” D.M.A. diss., University of Washington, 2012. Banfield, William C. Musical Landscape in Color: conversations with Black American composers. Maryland: Scarecrow Press, 2003. Butterworth, Neil. Dictionary of American Classical Composers. NY: Routledge, 2005. Nelson, Ryan Todd. “Octatonic pitch structure and motivic organization in George Walker’s “Canvas” for wind ensemble, voices and chorus.” D.M.A. diss., University of North Texas, 2003. Terry, Mickey Thomas, Ingrid Monson, and George Walker. “An Interview with George Walker,” in The Musical Quarterly 84, No. 3 (Autumn, 2000): 378. George Walker Homepage. http://georgetwalker.com/ George Walker’s Lyric for Strings and Lilacs for Voice and Orchestra. http://music.nebrwesleyan. edu/~mhefner/215.html Grove Music Online. http://www.oxfordmusiconline.com.www.libproxy.wvu.edu/subscriber/

27


MUSICOLOGY

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๔:

แฟรงก์​์ จอห์​์นสั​ัน ความภู​ูมิ​ิใจของชาวแอฟริ​ิกั​ัน-อเมริ​ิกั​ัน เรื่​่�อง: กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart) นั​ักข่​่าวอิ​ิสระ

Francis Johnson

หลั​ังจาก ๓ ตอนแรกของงาน ชุ​ุด “คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกันั ” หรื​ือที่​่� ขอเรี​ียกสั้​้�น ๆ ว่​่า “คี​ีตกวี​ีผิวิ ดำำ�” ได้​้ ถู​ูกนำำ�เสนอไปนั้​้�น คงพอจะเห็​็นและ อาจสรุ​ุปได้​้ว่า่ เรื่​่�องราวชี​ีวิติ ของพวก เขา “จบไม่​่สวย” เท่​่าใดนั​ัก แม้​้ว่​่า จะมี​ีความสามารถเพี​ียงใดก็​็ตาม ทว่​่าสิ่​่�งหนึ่​่�งที่​่�พอจะเรี​ียกว่​่าโชคดี​ี อยู่​่�บ้​้าง คื​ือการที่​่�พวกเขาไม่​่ได้​้เกิ​ิดมา เป็​็น “ทาส” และเสรี​ีภาพที่​่�พวกเขา มี​ีก็ค็ อยย้ำำ��เตื​ือนและทำำ�ให้​้เราเห็​็นว่​่า เส้​้นทางและความสำำ�เร็​็จในชี​ีวิติ เป็​็น สิ่​่�งที่​่�เรากำำ�หนดขึ้​้�นเองได้​้ 28

เช่​่นเดี​ียวกั​ับ Francis Johnson คุ้​้�นหู​ูกันั ในชื่​่�อ “แฟรงก์​์ จอห์​์นสั​ัน” ที่​่� ถู​ูกยกย่​่องให้​้เป็​็นบรรพบุ​ุรุษุ ของดนตรี​ี แจ๊​๊สและแร็​็กไทม์​์ของสหรั​ัฐอเมริ​ิกา จอห์​์นสั​ันเกิ​ิดมาในครอบครั​ัว ที่​่�ไม่​่ได้​้มี​ีสถานะเป็​็นทาส เขาจึ​ึงมี​ี อิ​ิสรภาพมากกว่​่า จนนำำ�พาตั​ัวเอง ไปอยู่​่�ในจุ​ุดที่​่�หลายคนเฝ้​้าฝั​ัน เขาได้​้ รั​ับการยกย่​่องว่​่าเป็​็นคี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสาย แอฟริ​ิกันั -อเมริ​ิกันั คนแรกที่​่�ผลงานการ ประพั​ันธ์​์ได้​้รับั การตี​ีพิมิ พ์​์และถู​ูกนำำ� ไปบรรเลงในวงกว้​้าง ทำำ�ให้​้งานของ เขามี​ีอิ​ิทธิ​ิพลต่​่อวงดุ​ุริ​ิยางค์​์ทหาร

วงเครื่​่�องเป่​่าทองเหลื​ือง ไม่​่ว่​่าจะมี​ี ขบวนพาเหรดหรื​ือเทศกาลดนตรี​ีใด ก็​็มั​ักมี​ีกลิ่​่�นอายดนตรี​ีของเขาเสมอ และ “อาจ” เป็​็นชาวอเมริ​ิกั​ันคน แรกที่​่�ทั​ัวร์​์คอนเสิ​ิร์ต์ ในยุ​ุโรปร่​่วมกั​ับ วงของตั​ัวเอง หากพู​ูดถึ​ึงนั​ักดนตรี​ีผิ​ิวดำำ�ผู้​้� ประสบความสำำ�เร็​็จอย่​่างสู​ูง ชื่​่�อของ เขาจะได้​้รับั การนึ​ึกถึ​ึงเสมอ และนั​ัก วิ​ิชาการหลายคนได้​้ยกย่​่องให้​้แฟรงก์​์ จอห์​์ น สั​ั น เป็​็ น ผู้​้�นำำ�ดนตรี​ี แ บบ Philadelphia School กลุ่​่�มดนตรี​ีแรก ของสหรั​ัฐอเมริ​ิกา


Francis Johnson

เขาเกิ​ิดเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๑๖ มิ​ิถุนุ ายน ค.ศ. ๑๗๙๒ เรื่​่�องราววั​ัยเด็​็กของ จอห์​์นสั​ันยั​ังคงเป็​็นปริ​ิศนา ไม่​่มีข้ี อ้ มู​ูล ว่​่าเขาเรี​ียนหรื​ือฝึ​ึกดนตรี​ีอย่​่างไร ทว่​่าสามารถเล่​่นเครื่​่�องดนตรี​ีได้​้ หลายชนิ​ิด และเริ่​่�มเป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ักใน ฟิ​ิลาเดลเฟี​ียในฐานะ “นั​ักไวโอลิ​ิน” มื​ืออาชี​ีพ เมื่​่�อเข้​้าสู่​่�วั​ัยกลางคน โดย บรรเลงตามงานสั​ังคมต่​่าง ๆ ที่​่�คน ขาวเป็​็นคนจั​ัดขึ้​้�น นอกจากนี้​้� เขายั​ังเชี่​่�ยวชาญ การบรรเลงแตรเดี่​่�ยว โดยเรี​ียนรู้​้� วิ​ิชาจาก Richard Willis ผู้​้�อพยพ เชื้​้�อสายไอริ​ิช ที่​่�ต่​่อมากลายเป็​็นผู้​้�นำำ� วงดุ​ุริ​ิยางค์​์ทหารของ West Point Military Academy สถาบั​ันที่​่�นาย ทหารระดั​ับสู​ูงของไทยหลายคนเคย ร่ำ���เรี​ียนมา แม้​้สังั คมอเมริ​ิกันั ขณะนั้​้�นเริ่​่�มมี​ี ความก้​้าวหน้​้า แต่​่การมี​ีอาชี​ีพเป็​็น นั​ักดนตรี​ีของคนผิ​ิวดำำ�แทบไม่​่มีที าง เป็​็นไปได้​้ ต่​่างกั​ับความสำำ�เร็​็จที่​่�วง

Francis Johnson Band สร้​้าง ขึ้​้�น สมาชิ​ิกในวงทุ​ุกคนล้​้วนมี​ีผิ​ิว ดำำ�และมี​ีชื่​่�อเสี​ียงในฟิ​ิลาเดลเฟี​ีย ซึ่​่�งเป็​็นเมื​ืองบ้​้านเกิ​ิดอย่​่างมาก เรี​ียกว่​่าเป็​็นวงดนตรี​ีที่​่�อยู่​่�คู่​่�ชุ​ุมชน แอฟริ​ิกั​ัน-อเมริ​ิกั​ันมาตั้​้�งแต่​่ยุ​ุคแรก เริ่​่�มเลยก็​็ว่​่าได้​้ วงของจอห์​์นสั​ันได้​้รั​ับเชิ​ิญจาก ไฮโซผิ​ิวขาวไปแสดงคอนเสิ​ิร์ต์ ในงาน ปาร์​์ตี้​้�และงานเลี้​้�ยงที่​่�หรู​ูหรา และ เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั ในแวดวงสั​ังคมชั้​้�นสู​ูงของ ฟิ​ิลาเดลเฟี​ีย ความสามารถนำำ�พา พวกเขาให้​้เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั ในระดั​ับประเทศ เมื่​่�อได้​้ร่ว่ มงานกั​ับวงดุ​ุริยิ างค์​์ทหารบก และขึ้​้�นแสดงคอนเสิ​ิร์ต์ ณ Saratoga Springs รี​ีสอร์​์ตสไตล์​์วิ​ิกตอเรี​ียน ชื่​่�อดั​ัง สถานที่​่�ซึ่​่�งวง Philadelphia Orchestra ใช้​้เวลาช่​่วงหน้​้าร้​้อน หลายปี​ีที่​่�นั่​่�น ในปี​ี ค.ศ. ๑๘๒๔ เมื่​่�ออายุ​ุได้​้ ๓๒ ปี​ี ทั้​้�งตั​ัวจอห์​์นสั​ันและวงของเขา เริ่​่�มมี​ีชื่​่�อเสี​ียงมากขึ้​้�น มี​ีการประพั​ันธ์​์

เพลงออกมามากมาย ส่​่วนใหญ่​่ถู​ูก บรรเลงในวั​ันครบรอบ Revolutionary War เพื่​่�อเชิ​ิดชู​ูเกี​ียรติ​ิแก่​่ General Lafayette (หรื​ือนามเต็​็มว่​่า Gilbert du Motier, Marquis de Lafayette; 1757-1834 ขุ​ุนนางและนายทหาร ชาวฝรั่​่�งเศส ผู้​้�มี​ีบทบาทสำำ�คั​ัญในการ ปฏิ​ิวัติั อิ เมริ​ิกาและปฏิ​ิวัติั ฝรั่​่� ิ งเศส จน ถู​ูกยกย่​่องให้​้เป็​็นฮี​ีโร่​่จากคนทั้​้�ง ๒ ชาติ​ิ) วี​ีรบุ​ุรุ​ุษสงคราม ในวาระที่​่� เดิ​ินทางกลั​ับมายั​ังสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ความสำำ�เร็​็จและชื่​่�อเสี​ียงของ จอห์​์นสั​ัน กลายเป็​็นแม่​่เหล็​็กดึ​ึงดู​ูด คนที่​่�สนใจดนตรี​ีให้​้เข้​้ามาเรี​ียนวิ​ิชา ดนตรี​ีกั​ับเขา มี​ีทั้​้�งศิ​ิษย์​์ผิ​ิวขาวและ ผิ​ิวดำำ� ซึ่​่�งรายได้​้ที่​่�ไหลเข้​้ากระเป๋​๋า ก็​็ทำำ�ให้​้เขาถู​ูกจั​ัดอยู่​่�ในคนชั้​้�นกลาง ระดั​ับสู​ูงของอเมริ​ิกาเลยที​ีเดี​ียว ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ดนตรี​ีถู​ูกบั​ันทึ​ึก ไว้​้เป็​็นความภู​ูมิใิ จของชาวแอฟริ​ิกันั อเมริ​ิกั​ันอี​ีกครั้​้�ง เมื่​่�อในปี​ี ค.ศ. ๑๘๓๗ ขณะที่​่�อายุ​ุได้​้เพี​ียง ๓๕ ปี​ี จอห์​์นสั​ันก็​็กลายเป็​็นหั​ัวหน้​้าวง ดนตรี​ีผิ​ิวดำำ�คนแรกที่​่�สามารถพาวง ไปเล่​่นในยุ​ุโรปได้​้สำำ�เร็​็จ ได้​้แสดง ต่​่อหน้​้าพระพั​ักตร์​์สมเด็​็จพระราชิ​ินี​ี วิ​ิกตอเรี​ีย ณ พระราชวั​ังบั​ักกิ​ิงแฮม ได้​้รับั พระราชทานแตรเงิ​ินรางวั​ัลและ สั​ัญลั​ักษณ์​์แทนการยอมรั​ับในความ สามารถทางดนตรี​ีของจอห์​์นสั​ัน และวง ระหว่​่างทั​ัวร์​์ยุ​ุโรป ก็​็ได้​้ซึ​ึมซั​ับ วั​ัฒนธรรมดนตรี​ีที่​่�กำำ�ลั​ังเป็​็นที่​่�นิ​ิยม ขณะนั้​้�น และพากลั​ับอเมริ​ิกาด้​้วย ช่​่วงปี​ี ค.ศ. ๑๘๓๘-๑๘๓๙ จอห์​์นสั​ันแบนด์​์ก็​็ได้​้แนะนำำ�ให้​้ชาว อเมริ​ิกั​ันรู้​้�จั​ักกั​ับดนตรี​ีวอลทซ์​์ที่​่�ได้​้ รั​ับอิ​ิทธิ​ิพลจาก Johann Strauss I (1804-1849) และพั​ัฒนาแนว ดนตรี​ีจนกลายเป็​็นดนตรี​ีคลาสสิ​ิก สไตล์​์ป๊​๊อป อย่​่างที่​่�เราได้​้ยิ​ินกั​ันใน ปั​ัจจุ​ุบั​ัน 29


General Lafayette ขุ​ุนนางชาวฝรั่​่�งเศส ที่​่�ถู​ูกขนานนามว่​่าเป็​็นไฮโซ คนแรกของอเมริ​ิกา

วงของจอห์​์นสั​ันยั​ังเปิ​ิดกว้​้าง มี​ีการรั​ับนั​ักดนตรี​ีผิ​ิวขาวเข้​้าเป็​็น สมาชิ​ิกของวง จนนำำ�ไปสู่​่�คอนเสิ​ิร์ต์ ที่​่�แสดงโดยนั​ักดนตรี​ีหลากหลายเชื้​้�อ ชาติ​ิครั้​้�งแรกในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาก็​็ว่า่ ได้​้ และโด่​่งดั​ังขึ้​้�นอย่​่างมากหลั​ังจาก ทั​ัวร์​์คอนเสิ​ิร์​์ตทั่​่�วอเมริ​ิกา พวกเขา เดิ​ินทางไปเหนื​ือสุ​ุดที่​่�เมื​ืองโตรอนโต ตะวั​ันตกสุ​ุดที่​่�เซนต์​์หลุ​ุยส์​์ และจรด ใต้​้สุ​ุดที่​่�หลุ​ุยส์​์วิ​ิลล์​์ ตั​ัวจอห์​์นสั​ันเอง ยั​ังได้​้ประพั​ันธ์​์ เพลงขึ้​้�นจำำ�นวนมาก เช่​่น งานที่​่� ประพั​ันธ์​์ขึ้​้�นเพื่​่�อเป็​็นเกี​ียรติ​ิแก่​่การ เดิ​ินทางมาเยื​ือนสหรั​ัฐฯ อย่​่างเป็​็น ทางการของ Charles Dickens (1812-1870) นั​ักเขี​ียนชาวอั​ังกฤษ ชื่​่�อดั​ัง รวมทั้​้�งเพลงที่​่�ใช้​้บรรเลงใน งานฉลอง ๑๐๐ ปี​ีชาติ​ิกาล ของ 30

George Washington (17321799) ประธานาธิ​ิบดี​ีคนแรกของ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา ท่​่ามกลางความสำำ�เร็​็จ ชื่​่�อเสี​ียง และเงิ​ินทอง มี​ีสิ่​่�งหนึ่​่�งที่​่�แทบไม่​่ เปลี่​่�ยนไปตามกาลเวลา การที่​่� ฟรานซิ​ิส จอห์​์นสั​ัน และ สมาชิ​ิกในวงดนตรี​ีของเขา มี​ี “ผิ​ิวดำำ�” กลั​ับกลายเป็​็นอุ​ุปสรรคในการใช้​้ชีวิี ติ ทั้​้�งยั​ังบดบั​ังจนทำำ�ให้​้ผู้​้�คนไม่​่ได้​้ยิ​ิน ดนตรี​ี และไม่​่เห็​็นความสามารถที่​่� พวกเขามี​ี อย่​่างที่​่�มองเห็​็นในนั​ัก ดนตรี​ี “ผิ​ิวขาว” แม้​้จะมี​ีความสามารถเพี​ียงใด และอยู่​่�ในดิ​ินแดนที่​่�ชื่​่�อว่​่า “เสรี​ี” แต่​่ ชี​ีวิ​ิตของชาวแอฟริ​ิกั​ัน-อเมริ​ิกั​ัน ช่​่วงต้​้นศตวรรษที่​่� ๑๘ ก็​็ไม่​่ใช่​่เรื่​่�อง ง่​่าย วงของจอห์​์นสั​ันต้​้องเจอกั​ับการ

“เหยี​ียดผิ​ิว” ในคอนเสิ​ิร์​์ตที่​่�พวก เขาร่​่วมแสดง นั​ักดนตรี​ีผิ​ิวขาวบาง วง ปฏิ​ิเสธที่​่�จะแสดงในคอนเสิ​ิร์​์ต เดี​ียวกั​ัน และหลายครั้​้�งหลายหน ผู้​้�คนก็​็ไม่​่เชื่​่�อว่​่านั​ักดนตรี​ีผิ​ิวดำำ�จะ สามารถ “อ่​่าน” โน้​้ตออก และยื​ืนยั​ัน ว่​่านั​ักดนตรี​ีผิวิ ดำำ�บรรเลงได้​้ก็เ็ พราะ ฟั​ังและจำำ�มาเท่​่านั้​้�น อย่​่างคราวแสดงคอนเสิ​ิร์ต์ ที่​่�เมื​ือง เซนต์​์หลุ​ุยส์​์ รั​ัฐมิ​ิสซู​ูรี​ี สภาเมื​ืองได้​้ ออกหนั​ังสื​ือรั​ับรองการจั​ับกุ​ุม ซึ่ง่� ผลก็​็ คื​ือ วงของจอห์​์นสั​ันถู​ูกขั​ับไล่​่ออกมา จากเมื​ือง หรื​ือการแสดงคอนเสิ​ิร์ต์ ที่​่� เมื​ืองพิ​ิตต์​์สเบิ​ิร์​์ก รั​ัฐเพนซิ​ิลเวเนี​ีย ผู้​้�คนก็​็รุ​ุมทำำ�ร้​้ายรุ​ุนแรงจนถึ​ึงขั้​้�นที่​่� สามารถใช้​้คำำ�ว่​่า “ไล่​่ล่​่า” แต่​่โชคยั​ัง ดี​ีที่​่�พวกเขารอดมาได้​้ และได้​้รับั บาด เจ็​็บเพี​ียงเล็​็กน้​้อยเท่​่านั้​้�น ไม่​่มี​ีการบั​ันทึ​ึกไว้​้ว่​่าจอห์​์นสั​ัน และวงรั​ับมื​ือกั​ับการเหยี​ียดผิ​ิวอย่​่าง รุ​ุนแรงที่​่�ต้​้องเผชิ​ิญอย่​่างไร แต่​่สิ่​่�งที่​่� คงเหลื​ืออยู่​่�คื​ือผลงานที่​่�สะท้​้อนถึ​ึง การเรี​ียกร้​้องให้​้เกิ​ิดความเท่​่าเที​ียม อย่​่าง “The Grave of the Slave” และ “Recognition March on the Independence of Haiti” และ แม้​้ว่า่ จะมี​ีชื่​่�อเสี​ียง เป็​็นที่​่�ยอมรั​ับใน แวดวงสั​ังคมของชาวอเมริ​ิกันั ผิ​ิวขาว สามารถหาเงิ​ินได้​้เป็​็นกอบเป็​็นกำำ� แต่​่จอห์​์นสั​ันก็​็ยังั คงใช้​้เวลาไปกั​ับการ บรรเลงเพื่​่�อชุ​ุมชนผิ​ิวดำำ�ที่​่�เขาเกิ​ิดมา อยู่​่�เสมอ เรื่​่�องราวชี​ีวิติ ส่​่วนตั​ัวของแฟรงก์​์ จอห์​์นสั​ัน อาจไม่​่เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั มากนั​ัก มี​ีข้​้อมู​ูลเพี​ียงว่​่า เขาแต่​่งงานกั​ับพี่​่� สาวของเพื่​่�อนร่​่วมวง และอาศั​ัยอยู่​่�ใน บ้​้านหลั​ังเดิ​ิม บนถนน 4th Street ในฟิ​ิลาเดลเฟี​ียตลอดช่​่วงชี​ีวิ​ิต เขาล้​้มป่​่วยลงช่​่วงเดื​ือนมี​ีนาคม ค.ศ. ๑๘๔๔ ก่​่อนจะเสี​ียชี​ีวิติ ลงเมื่​่�อ วั​ันที่​่� ๖ เมษายน ปี​ีเดี​ียวกั​ัน ไม่​่ นานหลั​ังจากพ้​้นตำำ�แหน่​่งหั​ัวหน้​้า วง Francis Johnson Band ซึ่ง่�


Saratoga Springs สถานตากอากาศชื่​่�อดั​ัง

ในระหว่​่างเคลื่​่�อนหี​ีบศพไปสุ​ุสาน มี​ีผู้​้�คนร่​่วมขบวนศพเพื่​่�อไว้​้อาลั​ัย หลายร้​้อยชี​ีวิติ และบนหี​ีบศพมี​ีแตร เงิ​ินวางอยู่​่� แม้​้ลมหายใจของจอห์​์นสั​ันจะ

หมดลง ทว่​่าวงดนตรี​ีของเขายั​ังคง รั​ับงานและบรรเลงต่​่อไปอี​ีกเกื​ือบ ๒๐ ปี​ี ผลงานการประพั​ันธ์​์บางส่​่วนก็​็ถูกู นำำ�มาบั​ันทึ​ึกเสี​ียงอี​ีกครั้​้�งช่​่วงปลาย ศตวรรษที่​่� ๒๐ สะท้​้อนถึ​ึงความ

สามารถที่​่�ตั​ัวจอห์​์นสั​ันมี​ีได้​้อย่​่างดี​ี และความสำำ�เร็​็จที่​่� ฟรานซิ​ิส จอห์​์นสั​ัน สร้​้างขึ้​้�น ทำำ�ให้​้เขาได้​้รั​ับ ยกย่​่องให้​้เป็​็นบรรพบุ​ุรุ​ุษของดนตรี​ี แจ๊​๊สและแร็​็กไทม์​์ด้​้วย

31


THAI AND ORIENTAL MUSIC

เพลงโหมโรงมหรสพ เพลงที่​่�ถู​ูกลื​ืม เรื่​่�อง: เอกพสิ​ิ ษฐ์​์ พชรกุ​ุศลพงศ์​์ (Ekpasit Pacharakusolphong) ผู้​้�ช่​่วยศาสตราจารย์​์ ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา คณะครุ​ุศาสตร์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยราชภั​ัฏพิ​ิบู​ูลสงคราม

ด้​้วยเหตุ​ุว่า่ สภาพความเป็​็นอยู่​่� ของผู้​้�คนในสั​ังคมไทยแตกต่​่างไปจาก เดิ​ิม จากสั​ังคมที่​่�มี​ีชีวิี ติ ความเป็​็นอยู่​่� แบบเกษตรกร ปั​ัจจุ​ุบั​ันกลายเป็​็น สั​ังคมเมื​ืองที่​่�มี​ีอาชี​ีพอุ​ุตสาหกรรม มี​ี ความเจริ​ิญก้​้าวหน้​้าทางเทคโนโลยี​ี รวมทั้​้�งสภาพเศรษฐกิ​ิจที่​่�เปลี่​่�ยนไป การมี​ีอาชี​ีพของประชาชนก็​็เปลี่​่�ยนไป ส่​่งผลกระทบกั​ับชี​ีวิ​ิตความเป็​็นอยู่​่� แบบสั​ังคมเกษตรกรรมที่​่�มี​ีมาแต่​่ เดิ​ิม จำำ�ต้​้องเปลี่​่�ยนแปลงตามไปด้​้วย กิ​ิจกรรมทางวั​ัฒนธรรมประเพณี​ีรวม ทั้​้�งศาสนาที่​่�มี​ีความเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการ ดำำ�รงชี​ีวิติ ก็​็ได้​้รับั ผลกระทบและต้​้อง ปรั​ับเปลี่​่�ยนวิ​ิธีกี ารดำำ�รงอยู่​่�ให้​้ได้​้ วิ​ิถี​ี ชี​ีวิติ และการดำำ�รงอยู่​่�ของผู้​้�คนในสั​ังคม ไทยถู​ูกปรั​ับเปลี่​่�ยนไปตามกาลเวลา ตามกระแสของโลก ย่​่อมกระทบกั​ับ บริ​ิบทต่​่าง ๆ ที่​่�ประกอบขึ้​้�นในชี​ีวิ​ิต ประจำำ�วั​ัน การดำำ�รงอยู่​่� เกิ​ิด แก่​่ เจ็​็บ ตาย ต้​้องถู​ูกปรั​ับตามไปด้​้วย เศรษฐกิ​ิจก็​็เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งที่​่�ทำำ�ให้​้ ประเพณี​ีและวั​ัฒนธรรมของสั​ังคม ของชุ​ุมชนได้​้รับั ผลกระทบ ส่​่วนไหน ไม่​่มีคี วามจำำ�เป็​็นกั​ับการดำำ�รงชี​ีวิติ ก็​็ จะลด ละ และเลิ​ิก ไปในที่​่�สุ​ุด แต่​่สิ่​่�ง สำำ�คั​ัญที่​่�บรรดาผู้​้�รั​ักษาสื​ืบทอดความ รู้​้�ด้​้านศิ​ิลปะและวั​ัฒนธรรม ซึ่ง่� เป็​็น องค์​์ประกอบของชุ​ุมชน ของสั​ังคม ไทย โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง 32

กั​ับมหรสพ ต้​้องช่​่วยกั​ันรั​ักษาและ สื​ืบทอดให้​้คงอยู่​่�คู่​่�สั​ังคมไทยต่​่อไป การแสดงมหรสพของไทย เช่​่น โขน ละคร ลิ​ิเก หนั​ังใหญ่​่ หุ่​่�นกระบอก เป็​็นต้​้น เป็​็นการแสดงที่​่�มี​ีอยู่​่�ในสั​ังคม ทั้​้�งชุ​ุมชนเมื​ืองและชนบท มหรสพ ดั​ังกล่​่าวเป็​็นสิ่​่�งที่​่�แสดงออกถึ​ึงความ เป็​็นอยู่​่�ของผู้​้�คนว่​่ามี​ีความสุ​ุขสบาย มี​ีความรั​ักและสามั​ัคคี​ีกั​ัน เพราะ เหตุ​ุว่า่ การแสดงมหรสพนั้​้�นเป็​็นการ เอื้​้�อเฟื้​้อ� ให้​้ผู้​้�คนในสั​ังคมและชุ​ุมชนได้​้ รั​ับชมร่​่วมกั​ัน การมี​ีสังั คมที่​่�เป็​็นสั​ังคม เอื้​้�ออาทรต่​่อกั​ันเป็​็นสิ่​่�งที่​่�แสดงถึ​ึงความ รั​ักความสามั​ัคคี​ีของผู้​้�คนในสั​ังคม กิ​ิจกรรมทางสั​ังคมของชุ​ุมชนจึ​ึงเป็​็น กิ​ิจกรรมที่​่�หลอมรวมผู้​้�คนในสั​ังคมหรื​ือ ในชุ​ุมชนนั้​้�น ๆ ให้​้มี​ีสำำ�นึ​ึกรั​ักชุ​ุมชน ของตน วั​ัดวาอารามจึ​ึงเป็​็นศู​ูนย์​์กลาง ในการประกอบกิ​ิจกรรมต่​่าง ๆ โดยเฉพาะด้​้านประเพณี​ีวั​ัฒนธรรม ตามเทศกาล ซึ่​่�งมี​ีทั้​้�งความแตกต่​่าง และคล้​้ายคลึ​ึงกั​ัน แต่​่ก็ไ็ ม่​่ได้​้เป็​็นสิ่​่�งที่​่� จะทำำ�ให้​้ผู้​้�คนมี​ีความแตกแยกกั​ัน ดั​ัง จะเห็​็นได้​้ว่​่า บรรดามหรสพต่​่าง ๆ แม้​้จะอยู่​่�ในอี​ีกพื้​้�นที่​่�หนึ่​่�งหรื​ืออยู่​่�ในที่​่� ที่​่�ห่​่างไกลกั​ันคนละจั​ังหวั​ัด ก็​็สามารถ ที่​่�จะได้​้รั​ับการจ้​้างการหา ไปแสดง ในกิ​ิจกรรมประเพณี​ีวั​ัฒนธรรมใน อี​ีกสถานที่​่�หนึ่​่�งได้​้ หรื​ือบางครั้​้�งจะ ข้​้ามเขต ข้​้ามพื้​้�นที่​่� ไปในหลาย ๆ

จั​ังหวั​ัดก็​็มี​ี โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�ง การ แสดงลิ​ิเก เมื่​่�อสภาพเศรษฐกิ​ิจและ สั​ังคมชุ​ุมชนเปลี่​่�ยนแปลงไปตาม กระแสของโลก ที่​่�มี​ีทั้​้�งความเจริ​ิญด้​้าน วั​ัตถุ​ุ ความเจริ​ิญทางด้​้านเทคโนโลยี​ี และการสื่​่�อสาร พลอยทำำ�ให้​้มหรสพ ของไทยที่​่�มี​ีมาแต่​่เดิ​ิมไม่​่ได้​้รับั ความ นิ​ิยมและเสื่​่�อมถอยความนิ​ิยมลงมา จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบันั องค์​์ประกอบของการ แสดงมหรสพถู​ูกลดบทบาทลงและ ปรั​ับเปลี่​่�ยนหมุ​ุนทิ​ิศทางไปประกอบ ในด้​้านอื่​่�น ๆ การแสดงมหรสพของ ไทยจะต้​้องประกอบด้​้วยวงดนตรี​ีคือื วงปี่​่�พาทย์​์ สำำ�หรั​ับบรรเลงประกอบ มี​ีการพั​ัฒนาการประกอบการแสดง เป็​็นไปตามยุ​ุคตามสมั​ัยสื​ืบมาจน ปั​ัจจุ​ุบั​ัน ทั้​้�งที่​่�ยั​ังคงอยู่​่�และเสื่​่�อม สลายสู​ูญหายไปบ้​้าง ที่​่�ยั​ังทรงจำำ� กั​ันไว้​้ได้​้ก็​็จะต้​้องมี​ีการเก็​็บรวบรวม บั​ันทึ​ึกให้​้เป็​็นระบบคงอยู่​่�สื​ืบต่​่อไป เพลงโหมโรงก่​่อนการแสดง มหรสพของไทย ความหมายเป็​็นเพลง สั​ัญลั​ักษณ์​์ (Symbols) อย่​่างหนึ่​่�ง สำำ�หรั​ับบรรเลงก่​่อนที่​่�จะมี​ีการแสดง มหรสพต่​่าง ๆ ของไทย การทำำ�เพลง โหมโรงก่​่อนที่​่�จะมี​ีการแสดง น่​่าจะมี​ี มาแต่​่สมั​ัยกรุ​ุงศรี​ีอยุ​ุธยาแล้​้ว มี​ีนั​ัย บางประการสำำ�หรั​ับการทำำ�โหมโรง คื​ือ เป็​็นการป่​่าวประกาศให้​้ทราบ ว่​่ากำำ�ลั​ังจะมี​ีการแสดงมหรสพขึ้​้�น เป็​็นที่​่�สั​ังเกตว่​่า การแสดงมหรสพ ของไทยนั้​้�น มี​ีช่ว่ งเวลาในการแสดง ทั้​้�งเช้​้า กลางวั​ัน และเย็​็น จึ​ึงมี​ีเพลง โหมโรงเป็​็นช่​่วงเวลาตามการแสดงนั้​้�น และมี​ีบทเพลงที่​่�เรี​ียงร้​้อยเข้​้าเป็​็นชุ​ุด แตกต่​่างกั​ัน ในปั​ัจจุ​ุบันั การทำำ�เพลง ก่​่อนการแสดงมหรสพตามแบบที่​่�มี​ี มาแต่​่เดิ​ิมไม่​่ได้​้รับั ความนิ​ิยมที่​่�จะนำำ� มาบรรเลงก่​่อนการแสดง ทั้​้�งที่​่�ในการ แสดงยั​ังมี​ีการทำำ�เพลงก่​่อนการแสดง


อยู่​่� ซึ่​่�งไม่​่มี​ีสาเหตุ​ุแน่​่ชั​ัดว่​่าเหตุ​ุใดเพลงชุ​ุดที่​่�บรรเลงก่​่อนการแสดงในช่​่วงเวลาต่​่าง ๆ ทั้​้�งเวลาเช้​้า เวลากลางวั​ัน และเวลาเย็​็น จึ​ึงได้​้หายไปจากการจั​ัดการแสดงมหรสพของไทย ด้​้วยเหตุ​ุที่​่�ว่า่ มหรสพของไทยลดบทบาทในการ รั​ับใช้​้สั​ังคม ตามสภาพความเป็​็นอยู่​่�ของผู้​้�คนในปั​ัจจุ​ุบั​ัน แต่​่กระนั้​้�น เมื่​่�อมี​ีการแสดงมหรสพ เช่​่น โขน ละคร หนั​ังใหญ่​่ หรื​ือหุ่​่�นกระบอก ซึ่​่�งทั้​้�ง ๔ การแสดงไม่​่ได้​้รั​ับความนิ​ิยมที่​่�จะจั​ัดหาไปแสดงในงานประเพณี​ีตั้​้�งแต่​่เช้​้า แล้​้วก็​็ตาม แต่​่เมื่​่�อมี​ีการแสดงขึ้​้�นกลั​ับทำำ�ให้​้เพลงชุ​ุดโหมโรงสำำ�หรั​ับการแสดงนั้​้�น ไม่​่ได้​้เข้​้ามามี​ีส่​่วนในการแสดง จะด้​้วยเหตุ​ุใดก็​็ตามจึ​ึงทำำ�ให้​้บทเพลงต่​่าง ๆ ที่​่�มี​ีอยู่​่� ไม่​่ได้​้รั​ับความนิ​ิยม นอนอยู่​่�นิ่​่�ง ๆ แต่​่ยั​ังมี​ีความโชคดี​ีอยู่​่�บ้​้าง ที่​่�ทำำ�นองเพลงทุ​ุกเพลงไม่​่ได้​้สู​ูญหายไปจากวงวิ​ิชาการของดนตรี​ีไทย เพราะเพลงต่​่าง ๆ สามารถนำำ�ไปบรรเลง ประกอบในโอกาสอื่​่�น ๆ ได้​้ จึ​ึงขอนำำ�เพลงชุ​ุดโหมโรงมหรสพตามที่​่�ได้​้มี​ีการจดบั​ันทึ​ึกรายชื่​่�อเพลงด้​้วยลายมื​ือ “การประชุ​ุมครู​ูพิ​ิณพาทย์​์เปนพิ​ิเศษ” ๑ สิ​ิงหาคม ๒๔๗๔ (อ้​้างใน พงษ์​์ศิ​ิลป์​์ อรุ​ุณรั​ัตน์​์, ๒๙๑-๒๙๒) มี​ีดั​ังนี้​้� ๑. เพลงโหมโรงเช้​้า เป็​็นเพลงชุ​ุดโหมโรงก่​่อนการแสดงมหรสพข้​้างเช้​้า สำำ�หรั​ับโขน ซึ่​่�งประกอบด้​้วยเพลงดั​ังนี้​้� - ตระสารนิ​ิบาต แล้​้วรั​ัว - เข้​้าม่​่าน ทำำ� ๖ เที่​่�ยว แล้​้วลงลา - เสมอ แล้​้วรั​ัว - เชิ​ิด - กลม - ชำำ�นั​ัน สองท่​่อน - กราวใน - ชุ​ุบ - กราวรำ�� ๒. โหมโรงกลางวั​ัน เป็​็นเพลงชุ​ุดโหมโรงก่​่อนการแสดงมหรสพข้​้างกลางวั​ัน สำำ�หรั​ับโขน ซึ่ง่� ประกอบด้​้วย เพลงดั​ังนี้​้� - กราวใน - เสมอข้​้ามสมุ​ุทร แล้​้วรั​ัว - เชิ​ิด - ชุ​ุบ แล้​้วลงลา - กระบองกั​ัณฑ์​์ แล้​้วรั​ัว - ตะคุ​ุกรุ​ุกร้​้น - ใช้​้เรื​ือ แล้​้วรั​ัว - ปลู​ูกต้​้นไม้​้ แล้​้วรั​ัว - คุ​ุกพาทย์​์ แล้​้วรั​ัว - พั​ันพิ​ิราพ - ตระสารนิ​ิบาต แล้​้วรั​ัว - เสี​ียน ๒ เที่​่�ยว - เชิ​ิด ประถม แล้​้วรั​ัว - บาทสกุ​ุณี​ี ปลายลงกราวรำ�� ๓. โหมโรงเย็​็น เป็​็นเพลงชุ​ุดโหมโรงก่​่อนการแสดงมหรสพข้​้างเย็​็น สำำ�หรั​ับโขน ซึ่ง่� ประกอบด้​้วยเพลงดั​ังนี้​้� - ตระสารนิ​ิบาต แล้​้วรั​ัว - เข้​้าม่​่าน ทำำ� ๖ เที่​่�ยว แล้​้วลงลา - กราวใน - เชิ​ิด - กราวรำ��

33


พิ​ิจารณาจากรายชื่​่�อเพลงในช่​่วงเวลาทั้​้�ง ๓ เวลา เพลงที่​่�เรี​ียงร้​้อยเข้​้าชุ​ุดล้​้วนเป็​็นเพลงสำำ�หรั​ับประกอบการ แสดงทั้​้�งสิ้​้�น เพลงโหมโรงกลางวั​ัน มี​ีจำำ�นวนเพลงมากกว่​่าเพลงในชุ​ุดโหมโรงเช้​้าและเพลงชุ​ุดโหมโรงเย็​็น คงชื่​่�อเพลง อย่​่างที่​่�เรี​ียกมาเดิ​ิม เช่​่น ตระสารนิ​ิบาต ปั​ัจจุ​ุบั​ัน คื​ือ ตระสั​ันนิ​ิบาต หรื​ือ ชำำ�นั​ัน ปั​ัจจุ​ุบั​ัน คื​ือ ชำำ�นาญ เป็​็นต้​้น ลั​ักษณะทำำ�นองเพลงไทยเป็​็นปั​ัญหาอย่​่างหนึ่​่�งของการจดบั​ันทึ​ึกทำำ�นองเพลงประเภทต่​่าง ๆ ในดนตรี​ีไทย ด้​้วยระบบสั​ัญลั​ักษณ์​์ โน้​้ต เป็​็นสิ่​่�งที่​่�จะต้​้องหาวิ​ิธีกี ารบั​ันทึ​ึกให้​้เกิ​ิดการสื่​่�อสารได้​้ตรงหรื​ือใกล้​้เคี​ียงกั​ับทำำ�นองที่​่�เล่​่น ให้​้ได้​้มากที่​่�สุ​ุด เพื่​่�อป้​้องกั​ันไม่​่ให้​้ทำำ�นองเพลงเกิ​ิดการสู​ูญหาย หรื​ือการบั​ันทึ​ึกด้​้วยระบบโน้​้ตแบบพอเข้​้าใจก็​็เป็​็น สาเหตุ​ุหนึ่​่�งที่​่�ทำำ�ให้​้ทำำ�นองเพลงเกิ​ิดความวิ​ิบั​ัติ​ิคลาดเคลื่​่�อนได้​้ ในที่​่�นี้​้� จะได้​้นำำ�เพลงสำำ�คั​ัญในชุ​ุดโหมโรงมหรสพ ได้​้แก่​่ เพลงรั​ัว ลาเดี​ียว และเพลงคุ​ุกพาทย์​์ ที่​่�บั​ันทึ​ึกด้​้วย ระบบโน้​้ตสากลทางมานุ​ุษยวิ​ิทยาการดนตรี​ี (Ethnomusicology) เป็​็นลั​ักษณะของระบบการถอดเสี​ียงเป็​็นโน้​้ต (Transcription) ซึ่​่�งสามารถสื่​่�อได้​้ตามลั​ักษณะเสี​ียงตามทำำ�นองเพลงที่​่�ใกล้​้เคี​ียงกั​ับการปฏิ​ิบัติั จิ ริ​ิงมากที่​่�สุ​ุด ต่​่าง จากการบั​ันทึ​ึกแบบปกติ​ิทั่​่�วไปที่​่�ไม่​่สามารถแสดงถึ​ึงลั​ักษณะของเสี​ียงได้​้อย่​่างละเอี​ียด (Notation) ดั​ังนี้​้�

34


(ที่​่�มา: เอกพสิ​ิษฐ์​์ พชรกุ​ุศลพงศ์​์)

35


36


37


(ที่​่�มา: เอกพสิ​ิษฐ์​์ พชรกุ​ุศลพงศ์​์)

38


การจดบั​ันทึ​ึกทำำ�นองเพลงที่​่�มี​ี จั​ังหวะอิ​ิสระด้​้วยระบบโน้​้ตสากล สามารถที่​่�จะเก็​็บรายละเอี​ียดของ ทำำ�นองเพลงได้​้ค่​่อนข้​้างมาก และ ใกล้​้เคี​ียงกั​ับลั​ักษณะการบรรเลงของ เครื่​่�องดนตรี​ี รั​ับรู้​้�ได้​้ทั้​้�งเนื้​้�อทำำ�นอง

และการถ่​่ายทอดอารมณ์​์เพลงได้​้ เป็​็นอย่​่างดี​ี จึ​ึงคิ​ิดว่​่าเพลงต่​่าง ๆ โดยเฉพาะเพลงชุ​ุดโหมโรงมหรสพที่​่� ไม่​่มีโี อกาสนำำ�มาบรรเลงได้​้ตามที่​่�เคย มี​ีมาแต่​่เดิ​ิม ควรนำำ�มาบรรเลงกั​ันใน ปั​ัจจุ​ุบันั ตามสมควรแก่​่โอกาส เวลา

และสถานที่​่� เพื่​่�อเป็​็นการรั​ักษาสิ่​่�งที่​่� บรรพชนคนดนตรี​ีไทยได้​้สร้​้างสรรค์​์ ไว้​้ เพลงโหมโรงมหรสพ จะไม่​่เป็​็น เพลงที่​่�ถู​ูกลื​ืม ดั​ังนี้​้�แลฯ

อ้​้างอิ​ิง กรมศิ​ิลปากร. (๒๕๓๗). เพลงชุ​ุดโหมโรงเย็​็น ฉบั​ับรวมเครื่​่อ� ง. กรุ​ุงเทพมหานคร: โครงการจั​ัดตั้​้�ง วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล. เดชา ศรี​ีคงเมื​ือง. (๒๕๔๘). การวิ​ิเคราะห์​์ทำำ�นองสวดพระอภิ​ิธรรมในพิ​ิธี​ีศพหลวง. วิ​ิทยานิ​ิพนธ์​์ ระดั​ับมหาบั​ัณฑิ​ิต. นครปฐม: มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล. เดชา ศรี​ีคงเมื​ือง. (๑๘ มี​ีนาคม ๒๕๖๔). การบั​ันทึ​ึกโน้​้ตในบทเพลงไทยที่​่�มี​ีจังั หวะอิ​ิสระ. (เอกพสิ​ิษฐ์​์ พชรกุ​ุศลพงศ์​์, ผู้​้�สั​ัมภาษณ์​์) พงษ์​์ศิ​ิลป์​์ อรุ​ุณรั​ัตน์​์. (๒๕๕๓). มโหรี​ีวิ​ิจั​ักษ์​์. กรุ​ุงเทพมหานคร: บริ​ิษั​ัทสนิ​ิทวงศ์​์การพิ​ิมพ์​์ จำำ�กั​ัด. ราชบั​ัณฑิ​ิตยสถาน. (๒๕๔๕). สารานุ​ุกรมศั​ัพท์​์ดนตรี​ีไทย ภาคคี​ีตะ-ดุ​ุริ​ิยางค์​์. กรุ​ุงเทพมหานคร: สหมิ​ิตรพริ้​้�นติ้​้�ง.

39


THAI AND ORIENTAL MUSIC

คณะสุ​ุวรรณศิ​ิลป์​์

ปี่​่�พาทย์​์ แตรวง ในตำำ�บลศาลายา เรื่​่�อง: ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin) อาจารย์​์ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

นายฉะโอด สั​ังข์​์ขาล (คนกลาง แถวบน)

คณะสุ​ุวรรณศิ​ิลป์​์ ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นที่​่�ตำำ�บล ศาลายา อำำ�เภอพุ​ุทธมณฑล จั​ังหวั​ัด นครปฐม โดยนายฉะโอด สั​ังข์​์ขาล (ตา) ผู้​้�ที่​่�ได้​้เรี​ียนรู้​้�วิชิ าทางด้​้านดนตรี​ี มาพร้​้อมกั​ับครู​ูจำำ�เนี​ียร ศรี​ีไทยพั​ันธุ์​์� นายฉะโอดได้​้ไปเรี​ียนกั​ับคณะดนตรี​ี 40

ในละแวกวั​ัดดอนหวาย ต่​่อมาเมื่​่�อ เรี​ียนดนตรี​ีจนสามารถบรรเลงได้​้ อย่​่างชำำ�นาญ และได้​้แต่​่งงานกั​ับนาง กิ​ิมลั้​้�ง สั​ังข์​์ขาล (ยาย) จึ​ึงได้​้มาตั้​้�งคณะ ปี่​่�พาทย์​์และแตรวงที่​่�ตำำ�บลศาลายา ขณะนั้​้�น หลวงพ่​่อดี​ี สุ​ุวั​ัณโณ เจ้​้า

อาวาสวั​ัดสุ​ุวรรณ เป็​็นผู้​้�ตั้​้�งชื่​่�อคณะ ให้​้ จึ​ึงได้​้ใช้​้ชื่​่�อว่​่า คณะสุ​ุวรรณศิ​ิลป์​์ มาตั้​้�งแต่​่ในตอนนั้​้�น ต่​่อมาเมื่​่�อบุ​ุตรสาวนายฉะโอด คื​ือ นางสะอาด สั​ังขาร (มารดา สกุ​ุลเดิ​ิม สั​ังข์​์ขาล) ได้​้แต่​่งงานกั​ับ


นายมานะ สั​ังขาร

นายมานะ สั​ังขาร (บิ​ิดา) ซึ่ง่� เป็​็น ตระกู​ูลนั​ักดนตรี​ีจากอำำ�เภอบางเลน นายมานะเรี​ียนดนตรี​ีมาจากบิ​ิดา คื​ือ นายหน่​่วง สั​ังขาร (ปู่​่�) และไปศึ​ึกษา เพิ่​่�มเติ​ิมที่​่�บ้​้านครู​ูสกล แก้​้วเพ็​็ญกาศ แถววั​ัดพิ​ิกุ​ุลเงิ​ิน (บางใหญ่​่) เมื่​่�อ บรรเลงดนตรี​ีได้​้จนมี​ีวิชิ าความรู้​้� จึ​ึง ได้​้ไปเป็​็นอาจารย์​์สอนที่​่�มหาวิ​ิทยาลั​ัย ศิ​ิลปากรและโรงเรี​ียนวั​ัดพระงาม ในขณะนั้​้�นก็​็ได้​้เริ่​่�มก่​่อตั้​้�งวงปี่​่�พาทย์​์ มอญ ซึ่​่�งเครื่​่�องปี่​่�พาทย์​์มอญบาง ส่​่วนได้​้มาจากนายหน่​่วง สั​ังขาร ผู้​้�เป็​็นปู่​่� แต่​่เครื่​่�องดนตรี​ีก็​็ยั​ังมี​ีไม่​่ เพี​ียงพอสำำ�หรั​ับการตั้​้�งวงปี่​่�พาทย์​์ ท่​่านเจ้​้าอาวาสวั​ัดสาละวั​ัน เพื่​่�อน ของบิ​ิดา เป็​็นผู้​้�สนั​ับสนุ​ุนในการซื้​้�อ เครื่​่�องดนตรี​ี เนื่​่�องจากมี​ีความชอบ ในดนตรี​ี และต้​้องการสนั​ับสนุ​ุนให้​้ เป็​็นวงดนตรี​ีประจำำ�ในตำำ�บลศาลายา ทำำ�ให้​้คณะสามารถรั​ับงานบรรเลง ทั้​้�งวงปี่​่�พาทย์​์ไทย แตรวง และวง ปี่​่�พาทย์​์มอญได้​้ เมื่​่�อรั​ับงานได้​้หลาก หลายมากขึ้​้�นก็​็ส่ง่ ผลให้​้คณะเริ่​่�มมี​ีชื่​่�อ

นายประเสริ​ิฐ สั​ังขาร

41


แตรวงในอดี​ีต

เสี​ียงและเป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ัก ปั​ัจจุ​ุบั​ัน นายประเสริ​ิฐ สั​ังขาร (หนุ่​่�ม) บุ​ุตรชาย เป็​็นผู้​้�ดู​ูแลคณะ และได้​้ย้า้ ยวงปี่​่�พาทย์​์มาอยู่​่�บ้​้านเลขที่​่� ๑๔๑/๒๓ หมู่​่�ที่​่� ๑ หมู่​่�บ้​้านศาลายา ๒ อำำ�เภอพุ​ุทธมณฑล จั​ังหวั​ัดนครปฐม

แตรวงในปั​ัจจุ​ุบั​ัน

42

นายประเสริ​ิฐมี​ีความคุ้​้�นเคยกั​ับ ดนตรี​ีมาตั้​้�งแต่​่เด็​็ก และเริ่​่�มเรี​ียน ดนตรี​ีอย่​่างจริ​ิงจั​ังเมื่​่�ออายุ​ุประมาณ ๗ ปี​ี เรี​ียนกั​ับนายฉะโอด ผู้​้�เป็​็นตา โดยในช่​่วงแรกของการเรี​ียนดนตรี​ี จะฝึ​ึกด้​้วยเครื่​่�องดนตรี​ีฆ้​้องวงใหญ่​่

และเริ่​่�มต่​่อเพลงสาธุ​ุการเป็​็นเพลง แรก เมื่​่�อสามารถบรรเลงได้​้ จึ​ึงเริ่​่�ม ต่​่อเพลงอื่​่�น ๆ เรื่​่�อยมา ในส่​่วนของ การฝึ​ึกหั​ัดแตรวงก็​็เริ่​่�มเรี​ียนจากคุ​ุณ ตา โดยเริ่​่�มจากการฝึ​ึกนิ้​้�วตามเสี​ียง และให้​้ฝึกึ การฟั​ังไปพร้​้อมกั​ับการไล่​่


เสี​ียงเครื่​่�อง จากนั้​้�นจึ​ึงเริ่​่�มต่​่อเพลง “โตมากั​ับเสี​ียงดนตรี​ี เกิ​ิดมาก็​็ได้​้ยินิ เราก็​็ฟังั ทุ​ุกวันั จนเคยชิ​ิน พอเริ่​่ม� โต ตาก็​็ให้​้มาเรี​ียน ก็​็สอนจั​ับมื​ือตี​ี ฟั​ัง ไปตี​ีไป เราก็​็เล่​่นได้​้เอง” เมื่​่�อเติ​ิบโตขึ้​้�น จึ​ึงได้​้เข้​้าศึ​ึกษา ต่​่อที่​่�โรงเรี​ียนนาฏดุ​ุริ​ิยางคศาสตร์​์ (วั​ังหน้​้า) จนจบการศึ​ึกษาแล้​้วจึ​ึงได้​้ มาประกอบอาชี​ีพครู​ูพิเิ ศษที่​่�โรงเรี​ียน สุ​ุพิ​ิทยานุ​ุกู​ูล และได้​้สอนพิ​ิเศษที่​่� โรงเรี​ียนมารี​ีอุ​ุปถั​ัมภ์​์ จากนั้​้�นจึ​ึง ได้​้เริ่​่�มศึ​ึกษาการเขี​ียนและการอ่​่าน โน้​้ตสากลเพิ่​่�มเติ​ิมกั​ับครู​ูประหยั​ัด ที่​่� โรงเรี​ียนดุ​ุริยิ างค์​์ตำำ�รวจ เพื่​่�อที่​่�จะนำำ� มาพั​ัฒนาคณะที่​่�บ้​้าน และถ่​่ายทอด ความรู้​้�ทางดนตรี​ีให้​้แก่​่นักั ดนตรี​ีในวง และนั​ักเรี​ียนในโรงเรี​ียน ต่​่อมาเมื่​่�อนายประเสริ​ิฐแต่​่งงาน จนมี​ีบุ​ุตรสองคน คื​ือ นายธิ​ิติ​ิภั​ัทร สั​ังขาร และนายธิ​ิติณั ิ ฐั สั​ังขาร ก็​็ได้​้ ปลู​ูกฝั​ังและถ่​่ายทอดความรู้​้�วิชิ าการ ทางดนตรี​ีให้​้แก่​่บุตุ รทั้​้�งสองคน เพื่​่�อ

ให้​้สืบื ทอดวิ​ิชาความรู้​้�ทางดนตรี​ี และ เป็​็นกำำ�ลั​ังสำำ�คั​ัญในการพั​ัฒนาคณะ แตรวงสุ​ุวรรณศิ​ิลป์​์ต่​่อไปในอนาคต อี​ีกด้​้วย ปั​ัจจุ​ุบันั คณะสุ​ุวรรณศิ​ิลป์​์ยังั คง รั​ับงานแสดงทั่​่�วไป ทั้​้�งปี่​่�พาทย์​์ไทย แตรวง และปี่​่�พาทย์​์มอญ ซึ่ง่� นั​ักดนตรี​ี ปี่​่�พาทย์​์ก็เ็ ป็​็นนั​ักดนตรี​ีในละแวกใกล้​้ เคี​ียงและนั​ักศึ​ึกษาสถาบั​ันบั​ัณฑิ​ิต พั​ัฒนศิ​ิลป์​์มาร่​่วมบรรเลงด้​้วยกั​ัน “นั​ักดนตรี​ีในวงปี่​่พ� าทย์​์ ก็​็จะเป็​็นนักั ดนตรี​ีที่​่�เชิ​ิญกั​ันมาเล่​่นด้​้วยกั​ัน บาง ครั้​้�งก็​็เป็​็นเพื่​่�อน ๆ ของลู​ูกชายบ้​้าง เราก็​็ชวนกั​ันมา แต่​่ฝี​ีมื​ือต้​้องได้​้นะ คุ​ุณภาพในการเล่​่นต้​้องมี​ี เพราะ เราให้​้ความสำำ�คั​ัญในเรื่​่�องนี้​้�” ด้​้าน บทเพลงของวงปี่​่�พาทย์​์ที่​่�คณะนำำ�มา บรรเลง ส่​่วนใหญ่​่เป็​็นเพลงดั้​้�งเดิ​ิมที่​่� ได้​้รั​ับการถ่​่ายทอดมาตั้​้�งแต่​่รุ่​่�นคุ​ุณ ตา เป็​็นบทเพลงที่​่�นิ​ิยมบรรเลงกั​ัน เช่​่น เพลงประจำำ�วั​ัด เพลงมอญ ต่​่าง ๆ เพลงสามชั้​้�น เพลงสองชั้​้�น

ทั่​่�วไป ถ้​้าเป็​็นบทเพลงใหม่​่ ๆ ตาม สมั​ัยนิ​ิยม ก็​็แล้​้วแต่​่เจ้​้าภาพจะขอ ให้​้บรรเลง “เราพยายามรั​ักษาการ บรรเลงแบบดั้​้�งเดิ​ิมเอาไว้​้ หากเรา ไปสมั​ัยใหม่​่จนเกิ​ิดไป บทเพลงเก่​่า ที่​่�สื​ืบทอดกั​ันมาก็​็จะสู​ูญหาย แต่​่ถ้​้า เจ้​้าภาพต้​้องการเพลงในแบบสมั​ัย ใหม่​่ เราก็​็สามารถจั​ัดให้​้ได้​้” ส่​่วนในการบรรเลงแตรวง นั​ัก ดนตรี​ีส่ว่ นใหญ่​่เป็​็นนั​ักดนตรี​ีที่​่�อยู่​่�กั​ับ คณะมานานตั้​้�งแต่​่รุ่​่�นแรก ๆ เป็​็นนั​ัก ดนตรี​ีที่​่�คุณ ุ ตาได้​้ถ่า่ ยทอดความรู้​้�ทาง ดนตรี​ีให้​้ “นั​ักดนตรี​ีแตรวงของเรา เป็​็นนักั ดนตรี​ีที่​่อยู่​่�คู่​่�กั � บั วงมาตั้​้ง� แต่​่ก่อ่ ตั้​้ง� คณะเลยก็​็ว่า่ ได้​้ อายุ​ุจึงึ ค่​่อนข้า้ งที่​่� จะเยอะหน่​่อย แต่​่ก็ป็ ระสบการณ์​์สูงู ” บทเพลงของแตรวงที่​่�บรรเลงส่​่วน ใหญ่​่ จะเป็​็นเพลงสยามานุ​ุสสติ​ิ เพลงมาร์​์ช เพลงรำ��วง เพลงลู​ูกทุ่​่�ง ถ้​้าเป็​็นการบรรเลงงานศพ จะบรรเลง สโลว์​์มาร์​์ช เพลงพญาโศก เพลงที่​่� เกี่​่�ยวกั​ับความโศกเศร้​้า ในอดี​ีตการ

การบรรเลงปี่​่�พาทย์​์มอญ

43


การบรรเลงปี่​่�พาทย์​์มอญ

รั​ับงานแสดงต้​้องจองงานกั​ันข้​้ามปี​ี เนื่​่�องจากเป็​็นคณะที่​่�มี​ีชื่​่�อเสี​ียงและได้​้ รั​ับความนิ​ิยมมาก “สมั​ัยก่​่อน เจ้​้า ภาพจะต้​้องมาหาก่​่อน ติ​ิดต่​่องาน กั​ันข้​้ามปี​ี เพราะว่​่างานเยอะมาก เคยมี​ีต่อ่ เนื่​่อ� งกั​ัน ๑๕ งานติ​ิด ๆ ไม่​่ ได้​้หยุ​ุด ไม่​่ได้​้กลั​ับบ้​้าน แม่​่ต้​้องเอา เสื้​้อผ้ � า้ มาให้​้ งานมั​ันเยอะมากจริ​ิง ๆ ในตอนนั้​้�น” ต่​่ อ มาเมื่​่�อยุ​ุ ค สมั​ั ย มี​ี ก าร เปลี่​่�ยนแปลง คณะจึ​ึงได้​้มี​ีการปรั​ับ รู​ูปแบบของวงปี่​่�พาทย์​์และแตรวง ให้​้มี​ีความทั​ันสมั​ัยมากขึ้​้�น ในส่​่วน ของวงปี่​่�พาทย์​์ ได้​้มี​ีการนำำ�เครื่​่�อง เสี​ียงเข้​้ามาใช้​้ เพิ่​่�มไฟ เพิ่​่�มการ ประดั​ับตกแต่​่ง เพื่​่�อให้​้วงดู​ูสวยงาม ในส่​่วนของแตรวง ได้​้มี​ีการนำำ�รถ แห่​่ที่​่�มี​ีการติ​ิดตั้​้�งเครื่​่�องเสี​ียงเข้​้ามา ร่​่วมในการแห่​่ เพื่​่�อให้​้สะดวกสบาย ในการแห่​่มากยิ่​่�งขึ้​้�น นอกจากนี้​้� ยั​ัง ได้​้นำำ�เครื่​่�องดนตรี​ีสากลบางประเภท 44

เปลี่​่�ยนแปลงไป ความนิ​ิยมในการ ฟั​ังปี่​่�พาทย์​์ แตรวง ลดน้​้อยลง การ ประกอบอาชี​ีพดนตรี​ีจึ​ึงไม่​่ใช่​่อาชี​ีพ หลั​ักอี​ีกต่​่อไป และด้​้วยสถานการณ์​์ ในปั​ัจจุ​ุบันั ที่​่�เกิ​ิดโรคโควิ​ิด-๑๙ ระบาด ได้​้ส่ง่ ผลกระทบต่​่ออาชี​ีพของนั​ักดนตรี​ี เป็​็นอย่​่างมาก คณะจึ​ึงได้​้มีกี ารปรั​ับ ตั​ัวและช่​่วยเหลื​ือนั​ักดนตรี​ีด้​้วยกั​ัน “ไม่​่ค่อ่ ยมี​ีงานมาสั​ักพักั แล้​้ว แต่​่ตอน นี้​้�สถานการณ์​์ค่อ่ ย ๆ ดี​ีขึ้​้น� งานก็​็มา เรื่​่�อย ๆ นะ เจ้​้าภาพก็​็มี​ีติ​ิดต่​่องาน มากั​ันบ้า้ งแล้​้ว บางคณะเขาก็​็ส่ง่ มา พอเรามี​ีงานที่​่�ชนกันั เราก็​็ส่ง่ ไป ช่​่วย กั​ันไป นั​ักดนตรี​ีก็หมุ ็ นุ เวี​ียนช่​่วยกั​ัน จะได้​้ผ่​่านพ้​้นวิ​ิกฤตไปด้​้วยกั​ัน” จากการศึ​ึกษาประวั​ัติคิ ณะสุ​ุวรรณ ศิ​ิลป์​์ พบว่​่า เป็​็นคณะที่​่�ได้​้รั​ับการ สื​ืบทอดต่​่อเนื่​่�องกั​ันมาจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบันั และเป็​็นคณะที่​่�ยั​ังคงรั​ักษาเอกลั​ักษณ์​์ และวั​ัฒนธรรมทางดนตรี​ีอยู่​่�คู่​่�กับั ตำำ�บล ศาลายา จั​ังหวั​ัดนครปฐม มาอย่​่าง ยาวนาน ประเด็​็นสำำ�คั​ัญที่​่�ส่​่งผลให้​้ คณะสามารถดำำ�รงอยู่​่�ได้​้ คื​ือ การ ถ่​่ายทอดและการสื​ืบทอดวั​ัฒนธรรม ทางดนตรี​ีภายในครอบครั​ัว อั​ันเป็​็น รากฐานสำำ�คั​ัญในการสื​ืบทอดความรู้​้� วั​ัฒนธรรมทางดนตรี​ี นอกจากนี้​้� การพั​ัฒนาความรู้​้�ทางดนตรี​ีอย่​่าง ต่​่อเนื่​่�องและการปรั​ับปรุ​ุงให้​้คณะมี​ี ความทั​ันสมั​ัย ยั​ังเป็​็นเรื่​่�องที่​่�สำำ�คั​ัญ ในการต่​่อยอดเพื่​่�อการประกอบอาชี​ีพ และยั​ังส่​่งผลให้​้เป็​็นคณะดนตรี​ีที่​่�ได้​้รับั การยอมรั​ับและมี​ีชื่​่�อเสี​ียงในจั​ังหวั​ัด นครปฐมอี​ีกคณะหนึ่​่�งด้​้วย

เข้​้ามาร่​่วมในการแห่​่ เพื่​่�อเพิ่​่�มความ สนุ​ุกสนานให้​้กับั การบรรเลงแตรวง อี​ีกด้​้วย “ปี่​่�พาทย์​์ เราก็​็มี​ีการติ​ิดไฟ ติ​ิดพู่​่� เพื่​่อ� ให้​้ดูสู วยงามอลั​ังการมาก ยิ่​่�งขึ้​้�น ส่​่วนแตรวง เมื่​่�อประมาณ ๗ ปี​ี ได้​้ประยุ​ุกต์ว์ งโดยได้​้ทำำ�รถแห่​่เข้​้า มาช่​่วยในการดำำ�เนิ​ินการ เพื่​่�อให้​้ สะดวกมากขึ้​้�น” ซึ่​่�งการพั​ัฒนาดั​ัง กล่​่าวก็​็ได้​้ส่​่งผลให้​้คณะยั​ังคงได้​้รั​ับ ความนิ​ิยมมาจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน การรั​ับงานในปั​ัจจุ​ุบันั รั​ับทั้​้�งใน จั​ังหวั​ัดนครปฐมและจั​ังหวั​ัดใกล้​้เคี​ียง “งานส่​่วนใหญ่​่จะมี​ีช่ว่ งวั​ันศุกร์ ุ ์ เสาร์​์ อาทิ​ิตย์​์ เจ้​้าภาพสะดวกวั​ันประมาณ นี้​้�กั​ัน มั​ันก็​็ส่​่งผลต่​่อคณะนะ เพราะ วั​ันอื่​่�น ๆ ที่​่�ไม่​่มีงี าน เราก็​็ต้​้องไปทำำ� อย่​่างอื่​่นกั � นด้ ั ว้ ย เพื่​่อ� มารองรั​ับตรงนี้​้�” อ้​้างอิ​ิง ในอดี​ีต การประกอบอาชี​ีพดนตรี​ี ประเสริ​ิฐ สั​ังขาร สั​ัมภาษณ์​์เมื่​่�อวั​ัน สามารถเป็​็นอาชี​ีพหลั​ักที่​่�จะสามารถ ที่​่� ๑๑ กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ พ.ศ. ๒๕๖๔ เลี้​้�ยงปากท้​้องคนในครอบครั​ัวได้​้ แต่​่ ในปั​ัจจุ​ุบันั ด้​้วยสภาพสั​ังคมที่​่�มี​ีการ


นำำ�เข้​้าและจั​ัดจำำ�หน่​่ายโดยTSH MUSIC www.tshmusic.com (Tel. 02-622-6451-5)

45


STUDY ABROAD

การเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ี ในประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา (ตอนที่​่� ๒) เรื่​่�อง: ปริ​ิญธร ป่​่ านแก้​้ว (Parintorn Pankaew) นั​ักศึ​ึกษาชั้​้�นปีที่​่ ี � ๔ สาขาดนตรี​ีบำำ�บัด ั มหาวิ​ิทยาลั​ัยจอร์​์เจี​ีย ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา

ประสบการณ์​์การเรี​ียนปริ​ิญญา ตรี​ี ส าขาดนตรี​ี บำำ�บั​ั ด ที่​่�ประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา นอกเหนื​ือจากเรื่​่�อง ของวิ​ิชาที่​่�ต้​้องเรี​ียน สิ่​่�งที่​่�ผู้​้�เขี​ียน พบว่​่าน่​่าสนใจและน่​่าตื่​่�นเต้​้นมาก คื​ือเรื่​่�องวั​ัฒนธรรมในมหาวิ​ิทยาลั​ัย ในประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา สิ่​่�งแรกที่​่� นั​ักเรี​ียนต่​่างชาติ​ิทุกุ คนจะได้​้เจอคื​ือ การปฐมนิ​ิเทศนั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิ นั​ักศึ​ึกษาทั่​่�วไปจะมี​ีการปฐมนิ​ิเทศ เพี​ียงแค่​่วันั เดี​ียวเท่​่านั้​้�น แต่​่ที่​่� West Virginia University ที่​่�ผู้​้�เขี​ียนศึ​ึกษา อยู่​่� นั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิจะปฐมนิ​ิเทศ ๕ วั​ัน เพราะมี​ีหลายอย่​่างต้​้องเรี​ียนรู้​้� ก่​่อนเริ่​่�มปี​ีการศึ​ึกษา เช่​่น วั​ัฒนธรรม กฎเกณฑ์​์ของมหาวิ​ิทยาลั​ัย กฎหมาย วี​ีซ่​่า พาไปดู​ูหอพั​ัก และยั​ังมี​ีการ จั​ัดรถพานั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิไปซื้​้�อ 46

ของใช้​้จำำ�เป็​็นต่​่าง ๆ และอื่​่�น ๆ อี​ีก มากมาย นอกจากนี้​้� การปฐมนิ​ิเทศ ของนั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิยังั เปิ​ิดโอกาส ให้​้ได้​้เจอเพื่​่�อนใหม่​่จากทั่​่�วโลก ที่​่�งาน ปฐมนิ​ิเทศ ผู้​้�เขี​ียนได้​้พบเพื่​่�อนใหม่​่ มากมาย นั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิจะเกาะ กลุ่​่�มกั​ันเป็​็นกลุ่​่�มใหญ่​่ ๆ เพราะทุ​ุก คนล้​้วนอยากมี​ีเพื่​่�อนเมื่​่�ออยู่​่�ต่​่างแดน ส่​่วนมากจะเป็​็นนั​ักเรี​ียนแลกเปลี่​่�ยน และนั​ักศึ​ึกษาปริ​ิญญาโท นั​ักเรี​ียน ต่​่างชาติ​ิที่​่�มาศึ​ึกษาชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ีมี​ี น้​้อยมาก ยิ่​่�งถ้​้าเป็​็นสาขาดนตรี​ียิ่​่�ง น้​้อย ในวั​ันสุ​ุดท้​้ายของการปฐมนิ​ิเทศ จะเป็​็นการรวมนั​ักศึ​ึกษาใหม่​่ทั้​้�งหมด ทั้​้�งคนอเมริ​ิกันั และคนต่​่างชาติ​ิ ในวั​ัน สุ​ุดท้​้ายนี้​้� นั​ักศึ​ึกษาจะถู​ูกแบ่​่งออกไป ตามเอกของตั​ัวเอง นั​ักศึ​ึกษาเอกดนตรี​ี บำำ�บั​ัดที่​่� West Virginia University

มี​ีประมาณปี​ีละ ๑๕-๒๐ คน สิ่​่�งที่​่�น่​่า สนใจสำำ�หรั​ับผู้​้�เขี​ียนคื​ือ นั​ักศึ​ึกษาปริ​ิญญา ตรี​ีที่​่�ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกาในชั้​้�นปี​ีที่​่� ๑ หรื​ือ ๒ ไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องมี​ีเอกก็​็ได้​้ บาง คนยั​ังไม่​่แน่​่ใจว่​่าอยากเรี​ียนอะไร ก็​็ยั​ัง ไม่​่เลื​ือกเอก และสุ่​่�มลงวิ​ิชาหลากหลาย เพื่​่�อดู​ูว่​่าชอบหรื​ือไม่​่ วิ​ิชาที่​่�เอกดนตรี​ีบำำ�บัดั ต้​้องเรี​ียนก็​็มี​ี ความน่​่าสนใจมาก วิ​ิชาเรี​ียนจะถู​ูกแบ่​่งออก เป็​็น ๒ ประเภทหลั​ัก ๆ คื​ือ วิ​ิชาพื้​้�นฐาน ทั่​่�วไป หรื​ือ general studies และวิ​ิชา เอก หรื​ือ major studies วิ​ิชาพื้​้�นฐาน ทั่​่�วไป ยกตั​ัวอย่​่างเช่​่น คณิ​ิตศาสตร์​์ ภาษาอั​ังกฤษ ภาษาศาสตร์​์ สั​ังคม ประวั​ัติศิ าสตร์​์ และอื่​่�น ๆ ในช่​่วงเทอม แรกผู้​้�เขี​ียนไม่​่กล้​้าลงเรี​ียนวิ​ิชาทั่​่�วไป เพราะไม่​่มั่​่�นใจในทั​ักษะด้​้านภาษาอั​ังกฤษ ว่​่าจะดี​ีพอหรื​ือไม่​่ เทอมที่​่�สองจึ​ึงเริ่​่�ม


ทยอยลงวิ​ิชาทั่​่�วไป สิ่​่�งที่​่�ผู้​้�เขี​ียนสั​ังเกต ได้​้เกี่​่�ยวกั​ับวั​ัฒนธรรมการเรี​ียนการสอน ที่​่�อเมริ​ิกาคื​ือ นั​ักเรี​ียนต้​้องมี​ีความรั​ับ ผิ​ิดชอบอย่​่างมาก ส่​่วนตั​ัวผู้​้�เขี​ียนคิ​ิด ว่​่าเนื้​้�อหาที่​่�เรี​ียนไม่​่ยากมากเมื่​่�อเที​ียบ กั​ับที่​่�ไทย แต่​่การบ้​้านเยอะมาก และ ต้​้องอ่​่านหนั​ังสื​ือตลอดเวลา อาจารย์​์ ผู้​้�สอนจะไม่​่มีกี ารสั่​่�งงานหรื​ือเตื​ือนว่​่ามี​ี การบ้​้านอะไรต้​้องส่​่ง รายละเอี​ียดเกี่​่�ยว กั​ับการบ้​้าน ตารางเรี​ียนแต่​่ละสั​ัปดาห์​์ ร่​่วมทั้​้�งเอกสารประกอบการเรี​ียน จะ อยู่​่�ในเว็​็บของมหาวิ​ิทยาลั​ัยทั้​้�งหมด เรา ต้​้องคอยเช็​็คและส่​่งงานให้​้ทันั นอกจาก นี้​้� อาจารย์​์คาดหวั​ังว่​่าเราจะอ่​่านหนั​ังสื​ือ มาแล้​้วล่​่วงหน้​้าก่​่อนเข้​้าเรี​ียน บางครั้​้�งมี​ี pop quiz โดยที่​่�ไม่​่บอกล่​่วงหน้​้า หากไม่​่ อ่​่านหนั​ังสื​ือมาก่​่อน จะไม่​่สามารถทำำ�ได้​้ เลย การเรี​ียนในห้​้องเหมื​ือนเป็​็นการ ไปทวนในสิ่​่�งที่​่�เราได้​้อ่​่านไปมากกว่​่า การไปนั่​่�งเรี​ียนจริ​ิง ๆ นอกจากนี้​้� ใน ห้​้องเรี​ียนยั​ังมี​ีการพู​ูดคุ​ุยโต้​้ตอบถาม คำำ�ถามระหว่​่างอาจารย์​์และนั​ักศึ​ึกษา ตลอดเวลา ซึ่​่�งแตกต่​่างจากการเรี​ียนที่​่� ประเทศไทยมาก เพราะฉะนั้​้�น ผู้​้�เขี​ียน ต้​้องปรั​ับตั​ัวอย่​่างมากในการเรี​ียนเทอม แรก รู้​้�สึกึ เหมื​ือนต้​้องตื่​่�นตั​ัวตลอดเวลาว่​่า จะลื​ืมส่​่งงานหรื​ือพลาดอะไรไปหรื​ือไม่​่ เพราะไม่​่มี​ีการเตื​ือนหรื​ือทวงงานจาก อาจารย์​์ ทำำ�ให้​้เราต้​้องกระตื​ือรื​ือร้​้นอยู่​่� ตลอดเวลา ที่​่�สำำ�คั​ัญ เพื่​่�อน ๆ ไม่​่ค่อ่ ยถาม หรื​ือลอกการบ้​้านกั​ัน ถ้​้าทำำ�การบ้​้าน ไม่​่ได้​้ นั​ักเรี​ียนจะส่​่ง e-mail ถามกั​ับ อาจารย์​์ หรื​ือไปให้​้อาจารย์​์สอนนอก รอบในช่​่วงเวลา office hours ในส่​่วนของวิ​ิชาดนตรี​ี ไม่​่แตกต่​่าง จากการเรี​ียนการสอนที่​่�ไทยมากนั​ัก นั​ักศึ​ึกษาเอกดนตรี​ีทุ​ุกคนต้​้องเรี​ียน วิ​ิชาดนตรี​ีพื้​้�นฐานเหมื​ือนกั​ัน เช่​่น ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ดนตรี​ี ทฤษฎี​ีดนตรี​ี โสตทั​ักษะ เป็​็นต้​้น แต่​่ที่​่�น่​่าสนใจคื​ือ บางวิ​ิชาค่​่อนข้​้างยื​ืดหยุ่​่�นให้​้สอบข้​้าม ได้​้ อย่​่างเช่​่นวิ​ิชาทฤษฎี​ีดนตรี​ีและวิ​ิชา โสตทั​ักษะ นั​ักเรี​ียนสามารถสอบข้​้าม บางตั​ัว เพื่​่�อจะไปเรี​ียนตั​ัวที่​่�เหมาะสม

กั​ับทั​ักษะของนั​ักเรี​ียนได้​้ ซึ่ง่� ผู้​้�เขี​ียน คิ​ิดว่​่าดี​ีมาก ทำำ�ให้​้ประหยั​ัดเวลาใน การเรี​ียน นอกจากวิ​ิชาดนตรี​ีพื้​้�นฐานเหล่​่า นี้​้� แต่​่ละเอกจะมี​ีวิชิ าบั​ังคั​ับที่​่�แตกต่​่าง กั​ัน เอกดนตรี​ีบำำ�บั​ัดนั​ับว่​่าเป็​็นเอก ดนตรี​ีที่​่�มี​ีวิ​ิชาบั​ังคั​ับค่​่อนข้​้างเยอะ นอกจากวิ​ิชาดนตรี​ีพื้​้�นฐานแล้​้ว จะ ต้​้องเรี​ียนวิ​ิชาดนตรี​ีบำำ�บัดั อย่​่างน้​้อย เทอมละหนึ่​่�งตั​ัว เช่​่น introduction to music therapy, principal of music therapy, music therapy and children, music therapy behavioral, psychology of music และอื่​่�น ๆ อี​ีกมากมาย หากให้​้อธิ​ิบาย คร่​่าว ๆ แต่​่ละเทอมจะเรี​ียนวิ​ิชา ดนตรี​ีบำำ�บั​ัดในแต่​่ละสถานที่​่� เช่​่น ดนตรี​ีบำำ�บัดั กั​ับเด็​็ก ดนตรี​ีบำำ�บัดั กั​ับ ผู้​้�ใหญ่​่ ดนตรี​ีบำำ�บั​ัดในโรงพยาบาล การวั​ัดผลดนตรี​ีบำำ�บั​ัด จิ​ิตวิ​ิทยา ดนตรี​ี เป็​็นต้​้น นอกจากนี้​้� เอกดนตรี​ี บำำ�บั​ัดยั​ังต้​้องลงวิ​ิชาที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับการ ศึ​ึกษาและงานสั​ังคมด้​้วย เพราะ การจะเป็​็นนั​ักบำำ�บั​ัดที่​่�ดี​ีต้​้องเข้​้าใจ คนไข้​้ หรื​ือต้​้องเรี​ียนเกี่​่�ยวกั​ับสั​ังคม มนุ​ุษย์​์ เด็​็ก การสอน จิ​ิตวิ​ิทยา ตอนแรกผู้​้�เขี​ียนก็​็ไม่​่เข้​้าใจและไม่​่ อยากเรี​ียน แต่​่เมื่​่�อเรี​ียนไปแล้​้วพบ ว่​่าได้​้ใช้​้ประโยชน์​์จริ​ิง ๆ อย่​่างวิ​ิชา จิ​ิตวิ​ิทยาก็​็สามารถนำำ�มาปรั​ับใช้​้ได้​้ กั​ับทั้​้�งคนไข้​้และตั​ัวเราเอง นอกเหนื​ือจากการปรั​ับตั​ัวใน เรื่​่�องของวิ​ิชาเรี​ียน แน่​่นอนว่​่าสิ่​่�งที่​่� สำำ�คั​ัญเป็​็นอั​ันดั​ับต้​้น ๆ และจะไม่​่ พู​ูดถึ​ึงไม่​่ได้​้ คื​ือ การปรั​ับตั​ัวให้​้เข้​้า กั​ับสภาพสั​ังคม วั​ัฒนธรรม และ เพื่​่�อนใหม่​่ ก่​่อนจะไปเรี​ียนที่​่�ประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา ผู้​้�เขี​ียนกลั​ัวว่​่าอาจ จะโดนกลั่​่�นแกล้​้งเหมื​ือนที่​่�เห็​็นใน ภาพยนตร์​์ เพราะเราเป็​็นนั​ักเรี​ียน ต่​่างชาติ​ิ แต่​่ในความเป็​็นจริ​ิงแล้​้ว ไม่​่มีเี หตุ​ุการณ์​์แบบนั้​้�นเลย เนื่​่�องจาก West Virginia University เป็​็น มหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�มี​ีนั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิ

เยอะ คนในเมื​ืองจึ​ึงคุ้​้�นเคยและให้​้ ความช่​่วยเหลื​ือตลอด เพื่​่�อน ๆ ใน มหาวิ​ิทยาลั​ัยก็​็นิสัิ ยั ดี​ีทุกุ คน ผู้​้�เขี​ียน ยั​ังไม่​่เคยพบเจอกั​ับประสบการณ์​์ที่​่�ไม่​่ ดี​ีในช่​่วงเวลาที่​่�เรี​ียนที่​่�นี่​่� แต่​่กระนั้​้�น วั​ัฒนธรรมในมหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�อเมริ​ิกา ก็​็แตกต่​่างจากไทยเป็​็นอย่​่างมาก เช่​่น นั​ักศึ​ึกษาในมหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�อเมริ​ิกาจะ มี​ีปาร์​์ตี้​้�กันั เป็​็นประจำำ� เรี​ียกได้​้ว่า่ ทุ​ุก สั​ัปดาห์​์ แต่​่ถึงึ เวลาเรี​ียนก็​็เรี​ียนหนั​ัก ที่​่�มหาวิ​ิทยาลั​ัย West Virginia มี​ี การจั​ัดกิ​ิจกรรมสั​ังสรรค์​์ให้​้นักั ศึ​ึกษา ทุ​ุกสั​ัปดาห์​์ในช่​่วงวั​ันศุ​ุกร์​์และวั​ันเสาร์​์ เป็​็นกิ​ิจกรรมที่​่�เริ่​่�มตั้​้�งแต่​่สี่​่�ทุ่​่�มไปจนถึ​ึง ตี​ีสอง กิ​ิจกรรมเหล่​่านี้​้�มี​ีขึ้​้�นเพื่​่�อให้​้ นั​ักศึ​ึกษาได้​้ผ่อ่ นคลายหลั​ังจากเรี​ียน มาทั้​้�งสั​ัปดาห์​์ สำำ�หรั​ับผู้​้�เขี​ียนแล้​้ว คิ​ิดว่​่าตั​ัดสิ​ิน ใจไม่​่ผิ​ิดเลยที่​่�ไปเรี​ียนต่​่อด้​้านดนตรี​ี บำำ�บั​ัดที่​่�ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เพราะ สิ่​่�งที่​่�ผู้​้�เขี​ียนได้​้รับั ไม่​่ใช่​่แค่​่ความรู้​้�จาก การเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บัดั เท่​่านั้​้�น แต่​่รวม ไปถึ​ึงการได้​้เปิ​ิดโลกและเติ​ิบโตขึ้​้�นอี​ีก ขั้ันั�� ผู้​้�เขี​ียนได้​้เรี​ียนรู้​้�ที่​่�จะปรั​ับตั​ัวเข้​้า กั​ับสั​ังคมและสภาพแวดล้​้อมใหม่​่ ๆ รวมทั้​้�งการปรั​ับตั​ัวด้​้านภาษาและ วั​ัฒนธรรมที่​่�ไม่​่คุ้​้�นเคย ผู้​้�เขี​ียนเชื่​่�อว่​่า ความสามารถในการปรั​ับตั​ัวให้​้เข้​้ากั​ับ สั​ังคม สภาพแวดล้​้อม ภาษา และ วั​ัฒนธรรม เป็​็นสิ่​่�งที่​่�สำำ�คั​ัญสำำ�หรั​ับ การเรี​ียนในต่​่างประเทศ ในบทความตอนที่​่� ๓ ผู้​้�เขี​ียนจะ บรรยายถึ​ึงการฝึ​ึกงานของนั​ักศึ​ึกษา ดนตรี​ีบำำ�บัดั และการหาประสบการณ์​์ นอกห้​้องเรี​ียน รวมไปถึ​ึงการเตรี​ียม ตั​ัวสอบใบวิ​ิชาชี​ีพนั​ักดนตรี​ีบำำ�บัดั ใน ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา หากผู้​้�อ่​่าน สนใจศึ​ึกษาต่​่อด้​้านดนตรี​ีบำำ�บั​ัด และอยากทราบถึ​ึงการทำำ�งานของ นั​ักดนตรี​ีบำำ�บั​ัดในสถานที่​่�ต่​่าง ๆ สามารถติ​ิดตามได้​้ในวารสารเพลง ดนตรี​ีฉบั​ับต่​่อไป

47


48


49


50


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.