รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2554

Page 1

รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

บทที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา

1


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

2

บทที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา โรงเรี ยนมาลาสวรรค์พิทยา ตังอยู ้ เ่ ลขที่ 303 หมู่ 3 ถนนสุวรรณศร ตําบลบ้ านนา อําเภอบ้ านนา จังหวัดนครนายก รหัสไปรษณีย์ 26110 โทรศัพท์ 0 – 3738 – 1021 โทรสาร 0 – 3738 – 1019 E – mail : malasawan@hotmail.com Website : mala.ac.th ตังอยู ้ ใ่ นเขตพื ้นที่การศึกษานครนายก ้ ่อปี สังกัดสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ รับอนุญาตจัดตังเมื พุทธศักราช 2495 ระดับการศึกษาที่เปิ ดสอนตังแต่ ้ ระดับชันปฐมวั ้ ย ถึงระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 6 1.1 ข้ อมูลนักเรี ยน (ข้ อมูล ณ เดือน มิ.ย. 2554) จํานวนนักเรี ยนทังหมดในปี ้ การศึกษา 2554 แยกเป็ นระดับชันดั ้ งนี ้ ระดับชัน้

จํานวนห้ องเรี ยน

บริบาล อนุบาล 1 อนุบาล 2 อนุบาล 3 ประถมศึกษาปี ที่ 1 ประถมศึกษาปี ที่ 2 ประถมศึกษาปี ที่ 3 ประถมศึกษาปี ที่ 4 ประถมศึกษาปี ที่ 5 ประถมศึกษาปี ที่ 6 มัธยมศึกษาปี ที่ 1 มัธยมศึกษาปี ที่ 2 มัธยมศึกษาปี ที่ 3 มัธยมศึกษาปี ที่ 4 มัธยมศึกษาปี ที่ 5 มัธยมศึกษาปี ที่ 6 รวม

1 4 4 4 5 4 4 4 4 4 3 3 3 3 2 2 54

ชาย 7 57 68 82 75 82 84 74 90 72 61 76 68 45 37 35 1,013

จํานวนผู้เรียน หญิง 7 44 74 70 71 93 68 72 84 77 59 73 70 93 66 43 1,064

รวม 14 101 142 148 146 175 152 146 174 149 120 149 138 138 103 78 2,077


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

1.2 ข้ อมูลครูและบุคลากร (ข้ อมูล ณ วันที่ 10 มิ.ย. 2554) ในปี การศึกษา 2554 สถานศึกษามีข้อมูลบุคลากรดังนี ้คือ ลําดับที่ 1 2 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27 28 29 30 31

ชื่อ - สกุล บาทหลวงประยุทธ ชลหาญ ซิสเตอร์ วรรณวิมล สุขสวัสดิ์ ซิสเตอร์ จติ ราพร ณ ขอนแก่ น นางสาวนฤมล สัตยานุวัฒน์ นางอรพินทร์ เจริญส่ ง นางกนกวรรณ เปี ยสาตร์ นางจินดา บุตรสละ นายปั ญญา บุตรสละ นายนิวัฒน์ สายบูรณ์ นางสาวรุ้ งนภา ใจบุญ นางสาวสวรรญา สีมว่ ง นางทิพวรรณ หน่ายมี นางธารารัตน์ รักษาถ้ อย นางสาวยุพา เลิศศิริโรจน์ นางบุปผา ยี่โกเฮง นางสาวยลรดี เรื อนเงิน นางรัฐษราภรณ์ ศรี สติ านนท์ นางจันทิมา วุฒิเมธา นางอุไร กุสลาศัย นางสาวรัตนาภรณ์ รอดเกตุกลุ นางสุภาพร ประสิทธิพร นางอัญชลี บัวสุวรรณ์ นางสาวยุทธิดา สิงทุย นางสาวจารุวรรณ กลิน่ สุคนธ์ นางลัดดาวัลย์ เกษทอง นางสาวเขมิการ์ ทารี มกุ ข์ นางจารุวรรณ เชื่อแสง นางสาวลลิลสิริ สุวรรณศร นางประนอม บําบัดภัย นางกําไร คลองสมบัติ นางอุษา ลดหวัน่

ตําแหน่ ง / วิทยฐานะ

หน้ าที่ / ภาระงานที่รับผิดชอบ

ผู้รับทําการแทนผู้รับใบอนุญาต ผู้จดั การ / ผู้อาํ นวยการ ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการ

ฝ่ ายบริหาร / สอนวิชาคําสอน ฝ่ ายบริหาร/สอนวิชาคําสอน/ประวัตศิ าสตร์ ฝ่ ายบริหาร/สอนวิชาคําสอน ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายบริหาร/สอนวิชาคําสอน/สังคมศึกษา ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการฝ่ ายธุรการ-การเงิน ฝ่ ายบริหาร/สังคมศึกษา ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการฝ่ ายสัมพันธ์ ชุมชน ฝ่ ายบริหาร/สังคมศึกษา ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการฝ่ านจิตตาภิบาล ฝ่ ายบริหาร//ฝ่ ายการเงิน/สอนวิชาคําสอน ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการฝ่ ายอาคารถานที่ ฝ่ ายบริหาร/สอนวิชาคําสอน/คริสต์ ศาสนา ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการฝ่ ายกิจการนักเรียน ฝ่ ายบริหาร/คณิตสาตร์ ม.6 ผู้ช่วยฝ่ ายบริหารแผนกปฐมวัย หัวหน้ าแผนกปฐมวัย สอนอนุบาล 1/1 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 1/1

ครูประจําชันอนุ ้ บาล 1/2 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 1/3 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 1/4 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 2/1 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 2/2 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 2/3 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 2/4 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 3/1 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 3/2 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 3/3 ครูประจําชันอนุ ้ บาล 3/4 ครูพิเศษ ครูพิเศษ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่

สอนอนุบาล 1/2 สอนอนุบาล 1/3 สอนอนุบาล 1/4 สอนอนุบาล 2/1 สอนอนุบาล 2/2 สอนอนุบาล 2/2 สอนอนุบาล 2/4 สอนอนุบาล 3/1 สอนอนุบาล 3/2 สอนอนุบาล 3/3 สอนอนุบาล 3/4 สอนพลศึกษา, ว่ายนํ ้า อ.2 – ป.1 สอนคอมพิวเตอร์ อ.1 – ป.1 , เจ้าหน้าที่ธุรการ

1 1 1 1 1 2 2

สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมชุม,ลูกเสื อสํารอง

3


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

ลําดับที่

ชื่อ - สกุล

32 33 34 35

นางสาวสุภาพิชญ์ ศิริพนั ธ์ นางผาเวียง พึง่ ทอง นางอัมพร อยูส่ ขุ

36 37 38 39 40 41

นางมาลัย ดาษพินิจ นางสาวรัตนาภรณ์ โตศรี ธนวัติ นางณัฐพร อมรสว่างวงศ์ นางสาวชนิดา อุดมสิทธิพฒ ั นา นางรัตติยา วิรัตน์ นางศุภาวรรณ แจ่มพึง่

42

นางสาววิไล ลําภาษี

43 44 45 46 47

นางสาวนภาดา บํารุงสุข นางสาวทิตยาภรณ์ บุญกิจ นางสาวศิริพร พลูอาภรณ์ นางสาวพเยาว์ พลอยแก้ ว

48 49 50 51 52 53

นางสาวอนงค์ น้ อยสําแดง นางสาววิไลภรณ์ สีใส นายเอนก เจียรนันท์ นางศิริพร บํารุงวงศ์ นางปิ ยวรรณ ทองสุข

54 55 56

นางอัมรา รามพิชยั นางจิตสุภา จําปี กาง

57 58

นางพุทธรักษา เวียงจันทร์

59

นางระวีวรรณ คําเทศ

นางจุฑาทิพย์ อังเจริ ้ ญ

นายพีระวัฒน์ สุวรรณโรจน์

นางพรเพ็ญ รอดประเสริฐ

นางชูจิตร สังข์ทองโรจน์ นายบุญช่วย วิรัตน์

ตําแหน่ ง / วิทยฐานะ ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 2 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 2 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 3 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 3 / หัวหน้ าระดับ ป.1- ป.3 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 3 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 3 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 5 / หัวหน้ าหอพักนักเรี ยนประจํา ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 5 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 5 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 5 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 / หัวหน้ าระดับ ป.4 – ป.6 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 ครูประจําชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 1 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 1 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 1 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 2 / หัวหน้ าระดับ ม.1 – ม.3 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 2 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 2 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 / หัวหน้ ากลุม่ สาระสุขศึกษา-พละศึกษา

ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 / หัวหน้ ากลุม่ สาระคณิตศาสตร์ ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4/ หัวหน้ ากลุม่ สาระวิทยาศาสตร์ /ครูชํานาญการ

4

หน้ าที่ / ภาระงานที่รับผิดชอบ สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง สอนวิชาบูรณาการ,ชุมนุม,ลูกเสื อสํารอง

ศิลปะ ป.1,ป.2 ,ชุมนุม,ลูกเสือ สังคมศึกษา ป.4 , คริ สต ม.1 , ชุมนุม. ลูกเสือ คณิตสาสตร์ ป.4 ,ชุมนุม, ลูกเสือ ภาษาอังกฤษ ป.4 คณิตศาสตร์ ป.5,ชุมนุม,ลูกเสือ วิชาการงาน ป.4 – ป.6, ชุมนุม, ลูกเสือ สังคม ป.5 ภาษาไทย ป.5, ม.4,ชุมนุม,ลูกเสือ ภาษาไทย ป.6 , ม.4 คณิตศาสตร์ ป.6, ชุมนุม, ลูกเสือ ชีวะวิทยา ม.4 – ม.6 ภาษาอังกฤษ ม.3-ม.4 ,ลูกเสือ ภาษาไทย ม.1,ม.3 , ลูกเสือ นาฏศิลป์ ป.4 – ม.1 ,ชุมนุม, ลูกเสือ วิทยาศาสตร์ ม.1 – ม.2 ,ชุมนุม,ลูกเสือ พละศึกษา ม.1 – ม.4 ,ชุมนุม,ลุกเสือ ประวัติศาสตร์ ม.1 – ม.3 , ชุมนุม,ลูกเสือ ภาอังกฤษ ม.1 – ม.2 , ชุมนุม,ลูกเสือ สุขศึกษา ม.1 – ม.6 , ชุมนุม,ลูกเสือ สังคมศึกษา ม.4 –ม.5 ,ชุมนุม,ลูกเสือ คณิตศาสตร์ ม.3 ,ชุมนุม,ลูกเสือ วิทยาศาสตร์ ม.3 ,ม.5 ,ชุมนุม,ลูกเสือ


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

ลําดับที่ 60

ชื่อ - สกุล นางสาวจินดารัตน์ จันทนาค

61

นางสําราญ หอมกลาง

62

นางสาวสมยงค์ พุฒตาล

63

นางสุณิสา พงษ์ มี

64

นางบุศริ นทร์ มังกรแก้ ว

65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90

นางสาวพุฒตาล รอดประเสริฐ นางบุญกรอง ราษฎ์เจริญ นางวัชราภรณ์ ศรี บศุ ราคัม นางสาวสุมารถ ทรงสัตย์ นางสาวอรุณฉาย สิงหศิริ นางสรินทร โสภา นางสาวสมบูรณ์ ทวีบญ ุ นางสาวภรภัทร สุวิมล นางสาวปราณี เอมโอชา นางสาวณัชชภา แสนมะฮุง นางปาริ ฉตั ร บุญช่วยชู นางสาววิมลพรรณ แพร่ศิริพฒ ุ ิพงศ์ นางสาวณัฐกฤตา จันบัว นางศศิ สังข์สขุ นางสาวอริ ยา เจริญพร นางสาวนารี นาถ กุลทัศน์ นายเจริ ญ สีสนั นายปกรณ์ งาคม นายสุรชัย ชโลธร นายทรงศักดิ์ รักษาถ้ อย นายกัณฑพจน์ ขันธมาลี นายสมภพ สรรพเจริญ ว่าที่ร้อยตรี อารี เรื อนเงิน นายอภิวตั ร สุวิมล นายนโรดม ภักดี นายวิษรุต กลิ่นหอม

ตําแหน่ ง / วิทยฐานะ ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 / หัวหน้ ากลุม่ สาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 5/ หัวหน้ ากลุม่ สาระภาษาต่างประเทศ

ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 5 ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 6 / หัวหน้ างานแนะแนว ครูประจําชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 6 ครูพิเศษ

5

หน้ าที่ / ภาระงานที่รับผิดชอบ วิทยาศาสตร์ ป.4,ป.6,ชุมนุม,ลูกเสือ การงาน ม.1 – ม.6 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ภาษาอังกฤษ ม.4 – ม.6 ,ชุมนุม,ลูกเสือ คอมพิวเตอร์ ม.1 – ม.6 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ภาษาอังกฤษ ป.3 ,แนะแนว ม.5-ม.6 ,ชุมนุม,ลูกเสือ

ภาษาไทย ม.5 – ม.6 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ภาษาไทย ป.4 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ / หัวหน้ าวัดผลประเมินผล คณิตศาสตร์ ม.4 – ม.6 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ภาษาไทย ป.4 ,ผู้ดแู ลห้ องพยาบาล,ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ ประวัติศาสตร์ ม.1 –ม.2 ,แนะแนว,ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ ครูพิเศษ เจ้ าหน้ าที่วดั ผล,สุขศึกษา ป.3 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ เจ้ าหน้ าที่ธุรการ,สุขศึกษา ป.4,ชุมนุม,ลูกเสือ เจ้ าหน้ าที่ธุรการ,คอมพิวเตอร์ ป.3 ,ลูกเสือ,ผู้ดแู ลห้ องเครื่ องเขียน ครูพิเศษ เจ้ าหน้ าที่ธุรการ,ดนตรี ป.1-ป.2 ,ลูกเสือ,ผู้ดแู ลห้ องเครื่ องเขียน ครูพิเศษ ครูพิเศษ เจ้ าหน้ าที่วิชาการ,คอมพิวเตอร์ ป.5 ,ลูกเสือ ครูพิเศษ เจ้ าหน้ าที่วิชาการ,คอมพิวเตอร์ ป.6,ลูกเสือ ครูพิเศษ / ผู้ช่วยบรรณารักษ์ การงาน ป.2 – ป.3 , ลูกเสือ ครูพิเศษ คอมพิวเตอร์ ม. 4 –ม.6 ครูพิเศษ / บรรณารักษ์ ภาษาอังกฤษ ป.6, ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ / เจ้ าที่บญ ั ชี คอมพิวเตอร์ ป.2, ลูกเสือ ครูพิเศษ วิทยาศาสตร์ ป.5 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ คณิตศาสตร์ ม.2, ลูกเสือ ครูพิเศษ ศิลปะ ป.5 – ม.2, ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ ดนตรี ม.1 – ม.6 , ลูกเสือ ครูพิเศษ ศิลปะ ม.3 – ม.6 ,ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ เกษตร ม.1 – ม.6 ,ลูกเสือ ครูพิเศษ พละศึกษา ป.1 – ป.6 , ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ/หัวหน้ าระดับ ม.4 – ม.6 แนะแนว ม.2 – ม.4 , ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ/ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ ม.1 , ลูกเสือ ครูพิเศษ ดนตรี ป.6 – ม.2 ชุมนุม,ลูกเสือ ครูพิเศษ พละศึกษา ป.6 – ม.2 ,ชุมนุม,ลูกเสือ


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

ลําดับที่ ชื่อ - สกุล 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109

Miss. Arlyn B. Alicando Miss. Nancy Dayrit Mendoza Miss. Joy De Pedro Barrientos Miss. Alieen A.Georlin Miss. Wei Jix Yu Miss. Huang Xizo Jin นางสุชิน อินทรจันทร์ นางจิราพัชร โสดา นางอุษา คชสิทธิ์ นางธิดารัตน์ เจริญรัถ นางพยอม สุขเจริญ นางฉวีวรรณ สุขมาก นางปรานอม เนียมหอม นางสาวสุมาลี ศรี มกุ ข์ นางสาวธัญลักษณ์ เจริญสุข นางสาวลักษณา ปฏิบตั ิ นางสาวรุจิราลักษณ์ ฉลาดถ้ อย นางวราภรณ์ เรื อนวงษ์ นางพเยาว์ พิกลุ เงิน

ตําแหน่ ง / วิทยฐานะ

หน้ าที่ / ภาระงานที่รับผิดชอบ

ครูพิเศษชาวต่างชาติ (ภาษาอังกฤษ)

ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ป.1 – ป.4 ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ป.5 – ม.1 ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.2 – ม.4 ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.5 – ม.6 ภาษาจีน ป.1 – ป.6 ภาจีน ม.1 – ม.6 ครูพี่เลี ้ยงชันบริ ้ บาล ครูพี่เลี ้ยง อ. 1/1 ครูพี่เลี ้ยง อ. 1/2 ครูพี่เลี ้ยง อ. 1/3 ครูพี่เลี ้ยง อ. 1/4 ครูพี่เลี ้ยง อ. 2/1 ครูพี่เลี ้ยง อ. 2/2 ครูพี่เลี ้ยง อ. 2/3 ครูพี่เลี ้ยง อ. 2/4 ครูพี่เลี ้ยง อ. 3/1 ครูพี่เลี ้ยง อ. 3/2 ครูพี่เลี ้ยง อ. 3/3 ครูพี่เลี ้ยง อ. 3/4

ครูพิเศษชาวต่างชาติ (ภาษาอังกฤษ) ครูพิเศษชาวต่างชาติ (ภาษาอังกฤษ) ครูพิเศษชาวต่างชาติ (ภาษาอังกฤษ)

ครูพิเศษชาวต่างชาติ (ภาษาจีน) ครูพิเศษชาวต่างชาติ (ภาษาจีน) ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล ครูพี่เลี ้ยงระดับอนุบาล

รายชื่อครู พเิ ศษภายนอก 110

ร.ท. เป็ นไท ปิ่ นม่ วง

112 113

ร.ท.หญิง ดร. พนมวรรณ ปานสี เทา ส.ท. ไชยรั ตน์ ทศเสถียร นางสาวอังคณา อึง้ สุวรรณพาณิชย์

114

นางสาววันทนา อมรพัฒนา

111

อาจารย์ พเิ ศษ ร.ร.นายร้ อยฯ สาขาฟิ สิกส์ อาจารย์ พเิ ศษ ร.ร.นายร้ อยฯ สาขาเคมี อาจารย์ พเิ ศษสาขาฟิ สิกส์ อาจารย์ พเิ ศษภาษาต่ างประเทศ (จีน)

อาจารย์ พเิ ศษสาขา คณิตศาสตร์

สอนวิชาฟิ สิกส์ ม.5 – ม.6 สอนวิชาเคมี ม.4 – ม.6 สอนวิชาฟิ สิกส์ ม.4 สอนวิชาภาษาจีน สอนคณิตศาสตร์ ม.3

6


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

สรุ ปข้ อมูลภาพรวมบุคลากรของสถานศึกษา ตําแหน่ ง

ผู้บริหาร ครูสายผู้สอน ครูพเิ ศษภายนอก ครูพ่ เี ลียงระดับอนุบาล รวม อายุเฉลี่ย / ปี อายุงานเฉลี่ย / ปี

ปริญญาโทขึน้ ไป

ปริญญาตรี

ตํ่ากว่ าปริญญาตรี

รวม

5 3 2 10

5 81 3 89

2 13 15

10 86 5 13 114

จํานวนนักเรียนต่อห้ องเรี ยน (เฉลี่ย) สัดส่วน ครู : นักเรี ยน จํานวนนักเรี ยนที่ออกกลางคัน จํานวนนักเรี ยนที่เรี ยนซํ ้าชัน้

35 8 38 1 : 18 7 3

คน คน คน คน

1.3 ข้ อมูลทรัพยากรของสถานศึกษา สถานศึกษามีพื ้นที่ประมาณ 47 ไร่ ประกอบด้ วย สระว่ายนํ ้าแผนกอนุบาล 1 สระ สนามเด็กเล่นและ ออกกําลังกาย 3 สนาม สนามฟุตบอล 2 สนาม สนามบาสเก็ตบอล 1 สนาม อาคารเอนกประสงค์ (โรงยิม) อาคารเรี ยนและอาคารประกอบการทังหมด ้ 6 หลัง 1. อาคารวิตอร์ ลาเกร์ เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริมเหล็ก 2 ชัน้ ประกอบด้ วย ชันที ้ ่1 ห้ องเรี ยนอนุบาล 1/1 – อนุบาล 1/4 ชันที ้ ่2 ห้ องเรี ยนอนุบาล 2/1 – อนุบาล 2/4 2. อาคารพระเยซู เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริมเหล็ก 2 ชัน้ ประกอบด้ วย ชันที ้ ่1 ห้ องธุรการแผนกอนุบาล ห้ องสหกรณ์อนุบาล ห้ องคอมพิวเตอร์ ห้ องศูนย์สื่อ ห้ องเรี ยนอนุบาล 3/1 – อนุบาล 3/4 ห้ องเรี ยนบริ บาล ชันที ้ ่2 ห้ องเรี ยนประถมศึกษาปี ที่ 1/1 – ประถมศึกษาปี ที่ 1/5 ห้ องเก็บของ ห้ องพักพนักงาน 3. อาคารหอพักนักเรียนประจํา เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริมเหล็ก 3 ชัน้ ประกอบด้ วย ชันที ้ ่1 ห้ องเรี ยนนักเรียนประจําชันม.2 ้ – ม.6 ห้ องซักผ้ า ห้ องนํ ้า ชันที ้ ่2 ห้ องนอน ห้ องแต่งตัวนักเรียนประจําชาย ห้ องพักครู ชันที ้ ่3 ห้ องเรี ยนนักเรียนประจําชัน้ ป.1 – ม.1 ห้ องนอนนักเรี ยนหญิง ห้ องพักครู

7


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

8

เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริมเหล็ก 5 ชัน้ ประกอบด้ วย ห้ องครัว,โรงอาหาร,ห้ องสุขาชาย - หญิง ห้ องพยาบาล ห้ องวิชาการ ห้ องผู้อํานวยการ ห้ องผู้จดั การ ห้ องธุรการ ห้ องการเงิน ห้ องสมุด ห้ องธนาคารโรงเรี ยน ห้ อง ป.2/1 ป.2/2 , ห้ องสุขา ชันที ้ ่2 ห้ องเรี ยน ,ห้ องพักครู และห้ องสุขา ชันที ้ ่3 ห้ องเรี ยน ,ห้ องพักครู และห้ องสุขา ชันที ้ ่4 ห้ องเรี ยน ,ห้ องพักครู, ห้ องสุขา และห้ องประกอบการคณิตศาสตร์ ชันที ้ ่5 ห้ องวิทยาศาสตร์ ห้ องปฏิบตั กิ ารทางภาษา ห้ องคอมพิวเตอร์ ห้ องควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ห้ องประชุม ห้ องนาฏศิลป์ ห้ องศาสนสัมพันธ์ 5. อาคารเรียนหลังเก่ า (อาคารชั่วคราว) เป็ นอาคารเรี ยนเสริ มเหล็กชันเดี ้ ยว ประกอบด้ วย ห้ องคหกรรม ห้ องดนตรี ไทย ห้ องปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์ ห้ องศิลปะ ห้ องดนตรี สากล/วงโยธวาทิต ห้ องพักครูตา่ งชาติ ห้ อง การงานเกษตร ห้ องพักพนักงาน ห้ องสุขา 6. อาคารหอประชุมอนุบาล เป็ นหอประชุมเอนกประสงค์จนุ กั เรี ยนได้ ประมาณ 1,500 คน สําหรับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรี ยนประกอบด้ วยห้ องควบคุมเสียง / ห้ องเก็บของ / ห้ องสุขา ชาย – หญิง 7. อาคารเอนกประสงค์ (โรงยิม) เป็ นอาคารเอนกประสงค์สําหรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ และจัดการเรี ยนการสอน เช่น วิชาพละ ศึกษา / กิจกรรมนันทนาการ และหน่วยงานภายนอกอื่น ๆ ยืมให้ สถานที่ในการจัดกิจรรม เช่น แข่งขันกีฬา สัมพันธ์ของโรงเรี ยนเอกชน จ.นครนายก, การจัดการแข่งขันกีฬา เทศบาล ต.บ้ านนา เป็ นต้ น 4. อาคารเปาโล ชัน้ G ชันที ้ ่1

1.4 ข้ อมูลงบประมาณของสถานศึกษา รายรั บ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินอื่นๆ(ระบุ) รวมรายรั บ

จํานวน/บาท รายจ่ าย 21,838,785 งบดําเนินการ/เงินเดือน-ค่าจ้ าง 51,873,277 งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3,423,485 งบอื่นๆ(ระบุ) 77,144,547 รวมรายจ่ าย

จํานวน/บาท 54,787,233 8,029,586 9,996,731 72,813,550


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

9

1.5 ข้ อมูลชุมชนโดยรวม ชุมชนโดยรอบบริ เวณโรงเรี ยนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้ าขายและรับจ้ าง ด้ านผู้ปกครองส่วนใหญ่ อาชีพหลักคือ ค้ าขาย รับจ้ างและรับราชการ ชุมชนส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ศาสนาคริ สต์ และศาสนา รายได้ เฉลี่ยของผู้ปกครองต่อครอบครัว อิสลาม ตามลําดับ ผู้ปกครองส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ 120,000 บาทต่อปี 1.6 ข้ อมูลแหล่ งเรียนรู้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา และภูมิปัญญาท้ องถิ่น 1. ห้ องสมุด

มีขนาด 224 ตารางเมตร จํานวนหนังสือค้ นคว้ าในห้ องสมุด จํานวนประมาณ 20,000 เล่ม จํานวนผู้เรี ยนที่ใช้ ห้องสมุดในปี การศึกษานี ้คิดเป็ นประมาณ 800 คน/วัน มีการบริ การการ

ยืม – คืน โดยใช้ ระบบ Mas Library 2. ห้ องปฏิบัตกิ าร ได้ แก่ ห้ องบริ หารจัดการ 4 ห้ อง ห้ องคอมพิวเตอร์ 2 ห้ อง ห้ องวิทยาศาสตร์ 2 ห้ อง ห้ องปฏิบตั กิ ารทางภาษา 1 ห้ อง ห้ องปฏิบตั กิ ารทางคณิตศาสตร์ 1 ห้ อง ห้ อง ห้ องศิลปะ 1 ห้ องนาฏศิลป์/ ดนตรี 3 ห้ อง ห้ องพยาบาล 2 ห้ อง ห้ องศาสนสัมพันธ์ 1 ห้ อง ห้ องแนะแนว 1 ห้ อง ห้ องสื่อการเรี ยนการสอน 3 ห้ อง ห้ องสมุด 1 ห้ อง ห้ องคําสอน 1 ห้ อง ห้ องพักครูกลุม่ สาระฯ 8 ห้ อง ห้ องบริ การเครื่ องเขียน 1 ห้ อง ห้ องควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ 1 ห้ อง ห้ องประชุม 2 ห้ อง ห้ องเรี ยน 59 ห้ อง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

3. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้ อมโปรแกรมใช้ งาน มีทงั ้ หมด 160 เครื่อง คอมพิวเตอร์ จํานวน (เครื่อง) 1. ใช้ ในการเรี ยนการสอน 120 2. ใช้ ในการบริ หาร 40 3. ใช้ สืบค้ นข้ อมูลทางอินเทอร์ เน็ตได้ 160 4 แหล่ งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน แหล่ งเรียนรู้ภายในโรงเรียน o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

แหล่ งเรียนรู้ภายนอก

สวนหย่อม/สวนสุขภาพ - โบสถ์/วัด/มัสยิด /โบราณสถาน/โบราณวัตถุ/พิพิธภัณฑ์ สวนสมุนไพร - สถานที่ทอ่ งเที่ยวธรรมชาติ/สวนสาธารณะ/สวนสัตว์/อุทยาน สวนเกษตร - สถานที่ราชการ/โรงพยาบาล/ไปรษณีย์/สถานีตํารวจ/เทศบาล สวนวรรณคดี โรงเรี ยนนายร้ อยพระจุลจอมเกล้ า เรื อนเพาะชํา โรงเรี ยนเตรี ยมทหาร สนามเด็กเล่น เขื่อนขุนด่านปราการชล ลานกิจกรรม อุทยานแห่งชาติวงั ตะไคร้ และนํ ้าตกต่าง ๆ ห้ องสมุด โฮมสเตย์ ห้ องคอมพิวเตอร์ สถานศึกษาธรรมชาติสวนป่ าเจ็ดคต ห้ องปฏิบตั ิการทางภาษา ธนาคาร/โรงแรม/ห้ างสรรพสินค้ า/ตลาด/โรงงาน พื ้นที่เพาะปลูก/ไร่/สวน ป้ายนิเทศ/บอร์ ด สุสานนักบุญเปาโลกลับใจ บ้ านนา หัตถกรรมพื ้นบ้ าน/สินค้ าพื ้นเมือง โบสถ์นกั บุญเปาโล บ้ านนา ค่ายลูกเสือ สนามบาสเกตบอล สนามวอลเลย์บอล ห้ องศาสนสัมพันธ์ – ห้ องคําสอน ห้ องศิลปะ ห้ องคหกรรม ห้ องรี ไซล์เคิ ้ล มุมหนังสือ อาคารเอนกประสงค์ โรงอาหาร สระว่ายนํ ้า สหกรณ์ภายในโรงเรี ยน

10


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

11

5. ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้ าน/ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น/ ผู้ทรงคุณวุฒทิ ี่สถานศึกษาเชิญมาให้ ความรู้แก่ครู / ผู้เรี ยน ที่ ประเภทความรู้ จํานวนครัง้ 1. การประกอบวิชาชีพ 3 2. การเกษตร 6 3. คหกรรม 3 4. หัตถกรรม 3 5. ศิลปะ/ดนตรี 3 6. กีฬา 3 7. วัฒนธรรม/จารี ต-ประเพณี 3 8. ศาสนา/คุณธรรม จริยธรรม/คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ 6 9. ความปลอดภัย/อุบตั เิ หตุ/กฎหมาย/ระเบียบวินยั 3 10. สุขภาพ/การแพทย์/สุขอนามัย 3 11. สิง่ แวดล้ อม/ทรัพยากร 3 12. การจัดการเรี ยนการสอน/หลักสูตร/การประเมิน 3

1.7 ผลงานดีเด่ นในรอบปี ที่ผ่านมา ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้ รับ โรงเรี ยนมาลาสวรรค์ พทิ ยา

1. โรงเรี ยนส่งเสริมกิจกรรมตามโครงการ “หนึง่ ใจให้ ธรรมมะ” เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมด้ านจิตใจและ วุฒิภาวะทางอารมณ์ 2. รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 โครงการประกวดออม ทรัพย์ในสถานศึกษา โรงเรี ยนขนาดใหญ่เนื่องในครอบ รอบ 52 ปี สหกรณ์ออมทรัพย์ครูนครนายก จํากัด 3. รางวัลพัฒนาห้ องสมุดดีเด่นด้ านกิจกรรมส่งเสริมการ อ่าน ประจําปี การศึกษา 2554 4. รางวัลดีเยี่ยมอันดับที่ 1 โครงการโรงเรี ยนสะอาด บรรยากาศและสิง่ แวดล้ อมดี ปี การศึกษา 2554 5. โรงเรี ยนเผยแพร่ศีลธรรมทางพระพุทธศาสนาใน ความอุปถัมภ์กรมการศาสนาลําดับที่ 2

หน่ วยงานที่มอบรางวัล 1. มูลนิธิมิราเคิลออฟไลน์ในทูลกระหม่อม ั นาพรรณวดี หญิงอุบลรัตน์ราชกัลยา ศิริวฒ 2. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูนครนายกจํากัด

3. ฝ่ ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 4. สํานักงานเขตพื ้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครนายก 5. จังหวัดนครนายก


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ครู 1. ครูจนั ทิมา วุฒิเมธา 2. ครูลลิสิริ สุวรรณศร 3. ครูรัตติยา วิรัตน์ 4. ครูอมั รา รามพิชยั 5. ครูสมยงค์ พุฒตาล 6. ม.บุญช่วย วิรัตน์ 7. ครูรัตนาภรณ์ รอดเกตุกลุ 8. ครูมาลัย ดาษพินิจ 9. ครูสมุ ารถ ทรงสัตย์ 10. ครูสมยงค์ พุฒตาล 11. ครูสมบูรณ์ ทวีบญ ุ 12. ครูศิริพร บํารุงวงศ์ 13. ครูอมั รา รามพิชยั 14. ครูจฑุ าทิพย์ อังเจริ ้ ญ 15. ครูร้ ุงนภา ใจบุญ 16. ครูระวีวรรณ คําเทศ 17. ครูจฑุ าทิพย์ อังเจริ ้ ญ 18. ครูนภาดา บํารุงสุข 19. ครูบศุ ริ นทร์ มังกรแก้ ว 20. ครูมาลัย ดาษพินิจ 21. ครูรัตนาภรณ์ รอดเกตุกลุ 22. ครูอรพินทร์ เจริ ญส่ง นักเรี ยน 1. นางสาวสุทธิดา แซ่หงุ่ย

1. โล่เงินครูดีเด่นระดับเขตการศึกษา ระดับอนุบาล 2. โล่เงินครูดีเด่นระดับเขตการศึกษา ระดับ ป.1-ป.3 3. โล่เงินครูดีเด่นระดับเขตการศึกษา ระดับ ป.4-ป.6 4. โล่เงินครูดีเด่นระดับเขตการศึกษา ระดับ ม.1-ม.3 5. โล่เงินครูดีเด่นระดับโรงเรี ยน ระดับ ม.4-ม.6 6. ครูชํานาญการ 2 7. โล่ครูดีศรี พระหฤทัย 8. โล่ครูดีศรี พระหฤทัย 9. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติและเกียรติบตั รครูผ้ สู อนดีเด่น กลุม่ สาระภาษาไทย 10. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติและเกียรติบตั รครูผ้ สู อนดีเด่น กลุม่ สาระภาษาต่างประเทศ 11. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติและเกียรติบตั รครูผ้ สู อนดีเด่น กลุม่ สาระสุขศึกษา-พละศึกษา 12. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติและเกียรติบตั รครูผ้ สู อนดีเด่น กลุม่ สาระศิลปะ 13. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติและเกียรติบตั รครูผ้ สู อนดีเด่น กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 14. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติและเกียรติบตั รครูผ้ สู อนดีเด่น กลุม่ สาระคณิตศาสตร์ 15. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติและเกียรติบตั รครูผ้ สู อนดีเด่น แผนกอนุบาล 16. รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ (เบญจมดิเรก คุณาภรณ์) 17. รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ (จตุตถดิเรกคุณา ภรณ์) 18. รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ (จตุตถดิเรกคุณา ภรณ์) 19. รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ (จตุตถดิเรกคุณา ภรณ์) 20. รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ (จตุตถดิเรกคุณา ภรณ์) 21. รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ (จตุตถดิเรกคุณา ภรณ์) 22. รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ (จตุตถดิเรกคุณา ภรณ์)

12

1. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 3. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 4. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 5. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 6. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 7. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 8. ฝ่ ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 9. คุรุสภา 10. คุรุสภา 11. คุรุสภา 12. คุรุสภา 13. คุรุสภา 14. คุรุสภา 15. คุรุสภา 16. สํานักพระราชวัง 17. สํานักพระราชวัง 18. สํานักพระราชวัง 19. สํานักพระราชวัง 20. สํานักพระราชวัง 21. สํานักพระราชวัง 22. สํานักพระราชวัง

1. รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมคิดเลขเร็ว 1. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน ระดับชัน้ ม.4 – ม.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับชาติ ครัง้ กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

2. นางสาวสุทธิดา แซ่หงุ่ย

3. เด็กชายติณณ์ติวฒ ุ ิ เย็นเพชร

ที่ 61 ประจําปี การศึกษา 2554 2. รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง รองชนะเลิศอันดับ 1 กิจกรรมคิดเลขเร็ว ระดับชัน้ ม.4 – ม.6 งานศิลปหัตถกรรม นักเรี ยนภาคกลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61

3. รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมมารยาทไทย ระดับชัน้ ป.1 – ป.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนภาคกลางและ ภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61 ประจําปี การศึกษา 2554 4. เด็กหญิงพิมพ์ชนะ มาลัยพงษ์ 4. รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมมารยาทไทย ระดับชัน้ ป.1 – ป.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนภาคกลางและ ภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61 ประจําปี การศึกษา 2554 5. เด็กหญิงกมลชนก นวลสนอง 5. รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรม Multy Skills Competition ระดับชัน้ ป.4 – ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ภาคกลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ 61 6. เด็กหญิงภัสสร เกษทอง 6. รางวัล Yamaha Bronze Prize 7. รางวัลการแข่งขันเทควันโด สปอร์ ตฮีโร่ ชิงแชมป์ ภาคกลาง 7. เด็กชายชลัช กิจสุวรรณ ครัง้ ที่ 2 8. เด็กชายภูริเชษฐ์ บุตรตรี เพชร 8. รางวัลการแข่งขันเทควันโด สปอร์ ตฮีโร่ ชิงแชมป์ ภาคกลาง ครัง้ ที่ 2 9. รางวัลเกียริ บตั รเป็ นผู้มีความประพฤติดี มีคณ ุ ธรรม สมควร 9. นางสาวภารตี ทวีชยั ได้ รับการยกย่องให้ เป็ นตัวอย่างที่ดีแก่เด็กและเยาวชน รายการที่ 10 - 18 10. เด็กชายณัฐพง เรื่ องสาย 11. เด็กชายศรัณย์ สุขนิน รางวัลชนะเลิศ ชนิดกีฬาฟุตซอล รุ่นอายุไม่เกิน 12 ปี การ 12. เด็กชายณฐกรณ์ แหยมศรี ไส แข่งขันกีฬานักเรี ย – นักศึกษา จ. นครนายก ปี การศึกษา 2554 13. เด็กชายกฤติพงษ์ ฉายชูวงษ์ รายการที่ 13 – 41 รางวัลเด็กดีศรี พระหฤทัย 14. เด็กชายวสุ รัตน์เกล้ า 15. เด็กชายชัยวัฒน์ พุ่มอํ่า 16. เด็กชายธราวุฒิ อินทรสูต 17. เด็กชายศุภกร จึงรัศมีพานิช 18. เด็กชายอัครพล ทองอินทร์ 19. เด็กหญิงปารวี เอี่ยมเทียน 20. เด็กหญิงลลิตวดี สิงห์หมณี 21. เด็กหญิงชนัญธิดา พงษ์ โพธิ์ 22. เด็กหญิงจรรยาศรี ขําวร 23. เด็กชายสิรภพ วงศ์วิลยั 24. เด็กหญิงชนัญชิดา อินชมพู 25. เด็กหญิงปภาดา เอ่ยศิริ 26. เด็กชายสรรพวิท แป้นไผ่ 27. เด็กหญิงชญานิษฐ์ ศิรอักษา 28. เด็กหญิงพชรมน กองอรรถ 29. เด็กชายธนภัภทั ร์ ไพบูลย์ 30. เด็กชายณฐกรณ์ แหยมวิลยั 31. ด.ญ.หทับชนก ขวัญเจริ ญศรี

13

2. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

3. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 4. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 5. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 6. บริ ษัท YAMAHA 7. การกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัดราชบุรี 8. การกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัดราชบุรี 9. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รายการที่ 10 – 18 การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดนครนายก รายการที่ 13 – 41 โรงเรี ยนพระหฤทัยคอนแวนต์/คณะพระหฤทัยของ พระเยซูเจ้ าแห่งกรุงเทพฯ


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 32. เด็กหญิงณัฎฐากร ยิ ้มแย้ ม 33. เด็กหญิงชนากานต์ สุดแดน 34. ด.ช.กัณต์ภิสิฏฐ์ โกสุมศุภมาลา 35. ด.ญ. พัตราภรณ์ แดนไธสง 36. น.ส.ภารตี ทวีชีย 37. น.ส. อารี รัตน์ โพธิ์ทบั ไทร 38. น.ส. วรรณิภา สิงห์คํา 39. น.ส. หทัยทิพย์ ชนติกา 40. น.ส.ยุวดี แขนสันเทียะ 41. นายนราพันธ์ แจ่มจํารัส 42. เด็กหญิงอมลนัฐ ภูมริ นทร์ 43. เด็กชายพงศรัณย์ พุฒซ้ อน 44. เด็กชายธนบดี เพ็ชรนิล 45. เด็กชายสรรพวิท แป้นไผ่ 46. เด็กชายบุญนิธิ วงษ์ ปา 47. เด็กหญิงศิรวดี จุลวงศ์ 48. นางสาวศิริรัตน์ พินดวง 49. นางสาวฐิ ติยา สีสนั 50. นางสาวรัชดาภรณ์ แตงสุข

รายการที่ 42 – 50 ได้ รับรางวัลเกียรติบตั รเป็ นผู้ประพฤติชอบใน ความซื่อสัตย์

1.8 ข้ อมูลคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 1. บาทหลวงประยุทธ ชลหาญ 2. บาทหลวงศุภศิลป์ สุขสุศลิ ป์ 3. บาทหลวงเดชา อาภรณ์รัตน์ 4. บาทหลวงธนันชัย กิจสมัคร 5. ซิสเตอร์ จิตราพร ณ ขอนแก่น 6. นางสาวนฤมล สัตยานุวฒ ั น์ 7. นายปั ญญา บุตรสละ 8. ซิสเตอร์ วรรณวิมล สุขสวัสดิ์

รายการที่ 42 – 50 สํานักงานป้องกันและ ปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

ผู้ทําการแทนผู้รับใบอนุญาต ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้จดั การ/ผู้อํานวยการ

14


รายงงานการพัฒนาาคุณภาพการศึ กษา ปี การศึกษา ก 2554

15

1.99 ผลการปรระเมินคุณภาาพภายนอกรรอบสองของ สมศ. โรงเรี ยนมมาลาสวรรค์พทยา ิ ได้ รับกการประเมินจาาก สมศ. ในรออบที่ 2 เมื่อวันนที่ 11 – 13 กุกมภาพันธ์ 25553 มีตาารางการประเมิมินดังนี ้

ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน: ฐ ประถมมศึกษาและมมัธยมศึกษา ผลปประเมิน การศึกษาขขัน้ พืน้ ฐาน : ประถมและะมัธยมศึกษา

ผลปประเมิน

อิงเกณฑ์ ง

อิงสถาานศึกษา

ค่ า เฉลี่ย

ผลการ รับรอง มาตรฐาน คุณภาพ

ค่ าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

คะแนน

รระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 ผู้เรี ยนมีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรมและค่านยมที นิ ่พงึ ประสงค์

3.59

ดีมาก

4

ดีมาก

3.80

ดีมาก ม

มาตรฐานที่ 2 ผู้เรี ยนมีสขุ นิสยั สุขภาพกายและสุขภาพจิ ภ ตที่ดี

3.62

ดีมาก

4

ดีมาก

3.81

ดีมาก ม

มาตรฐานที่ 3 ผู้เรีรยนมีสนุ ทรี ยภาพและลัลักษณะนิสยั ด้ านศิลปะ ดนตรี และกีฬา

3.38

ดี

4

ดีมาก

3.69

ดีมาก ม

2.86

ดี

3

ดี

2.93

ดี

2.78

ดี

3

ดี

2.89

ดี

3.38

ดี

3

ดี

3.19

ดี

3.58

ดีมาก

3

ดีมาก

3.29

ดี

3.51

ดีมาก

3

ดี

3.29

ดี

2.94

ดีมาก

4

ดีมาก

3.76

ดีมาก ม

3.75

ดีมาก

4

ดีมาก

3.88

ดีมาก ม

3.86

ดีมาก

4

ดีมาก

3.93

ดีมาก ม

4.00

ดีมาก

4

ดีมาก

4.00

ดีมาก ม

3.60

ดีมาก

3

ดี

3.30

ดีมาก ม

3.27

ดี

ดี

3.14

ดี

ด้ านผู้เรียน

มาตรฐานที่ 4 ผู้เรี ยนมีความสามารถถในการคิดวิเคราะห์ คิด สังเคราะห์ มีวิจารรณญาณ มีความคิดสร้ ด างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมี ร วิสยั ทัศน์

มาตรฐานที่ 5 ผู้เรี ยนมีความรู้และทั ล กษะที่จําเป็ นตาามหลักสูตร มาตรฐานที่ 6 ผู้เรี ยนมีทกั ษะในกการแสวงหาความรู้ด้ดวยตนเอง รัก การเรี ยนรู้ และพพัฒนาตนเองอย่างตต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 7 ผู้เรี ยนมีทกั ษะในกการทํางาน รักการทํทํางาน สามารถ ทํางานร่ วมกับผู้อือื่นได้ และมีเจตคติที่ดีตอ่ อาชีพสุจริ ต ด้ านครู มาตรฐานที่ 8 คครูมีคณ ุ วุฒิ/ความรูรู้ ความสามารถตรงงกับงานที่ รับผิดชอบและมีมีครูเพียงพอ มาตรฐานที่ 9 คครูมีความสามารถใในการจัดการเรี ยนกการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพแลละเน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคั าญ ด้ านผู้บริหาร มาตรฐานที่ 10 ผู้บบริหารมีภาวะผู้นําและมีความสามารถในการบบริหารจัดการ

มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการรจัดองค์กร /โครงสร้ร้ างและการ บริ หารงานอยย่างเป็ นระบบ ครบบวงจร ให้ บรรลุ เป้าหมายการรศึกษา มาตรฐานที่ 122 สถานศึกษามีการรจัดกิจกรรมและกาารเรี ยนการสอน โดยเน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ มาตรฐานที่ 133 สถานศึกษามีหลักสู ก ตรเหมาะสมกับผูผ้ เรี ยนและท้ องถิ่น มีสื่อการเรี ยนกาารสอนที่เอื ้อต่อการรเรี ยนรู้ มาตรฐานที่ 144 สถานศึกษาส่งเสริริ มความสัมพันธ์และความร่ ล วมมือกับ

3

ชุมชนในการพัฒนาการศึ ฒ กษา

3ได้ ผลการรจัดการศึกษาขอองสถานศึกษาในนภาพรวมได้ มาตรฐานคุ า ณภาพ สมศ.

ไม่ ได้


รายงงานการพัฒนาาคุณภาพการศึ กษา ปี การศึกษา ก 2554

16

2. ข้ อเสนอแนะจากการประเมินภภายนอกรอบบสอง ย รับการพัฒนาให้ มมากยิง่ ขึ ้นในดด้ านความรู้และทักษะที่จําาเป็ นตามหลักั สูตรในกลุม่ 1. ผู้เรี ยนควรได้ สาระการเรี ยนรู้ต่ตาง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ภาษาต่าางประเทศ รววมทังสั ้ งคม ศาสสนาแลวัฒนธธรรม เป็ นต้น 2. ผู้เรี ยนควรได้ ย รับการพัฒนามากกยิ่งขึ ้นด้ านคความสามารถถในการคิดวิเคคราะห์ การคิคิดสังเคราะห์ห์ า คิดไตร่ตรอง กการคิดสร้ างสสรรค์และมีวสัสิ ยทัศน์ การคิดแบบมีวิจารณญาณ 3. ครูควรได้ ว รับการพั พัฒนาด้ านกาารจัดการเรี ยนการสอนด้ น วยกิ ย จกรรมและะสื่อที่หลากหหลาย เพื่อพัฒนา ฒ ม ์ทางการรเรี ยนสูงขึ ้นในนทุกกลุม่ สารระ ผู้เรี ยยนให้ มีผลสัมฤทธิ 4. ครูควรได้ ว รับการพั พัฒนาด้ านกาารสร้ างสือ่ หรือนวั อ ตกรรมเพืพื่อพัฒนาผู้เรีรยน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้ าน า การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคคราะห์ การคิดแบบมีวิจารรณญาณ การคิดไตร่ตรองง การคิดสร้ างสรรค์ า และะ วิสยยทั ั ศน์ ห งเสริ​ิมให้ ครูได้ รับบการพัฒนาคความรู้ความเข้ าใจในการเขี เขียนโครงการรให้ มีความ 5. ผู้บริหารควรส่ สอดดคล้ องระหว่างชื า ่อโครงการร หลักการแลละเหตุผล วัตถุ ต ประสงค์ เป เ ้ าหมาย หรืรื อตัวบ่งชี ้ควาามสําเร็จกิจกรรม ก และะขันตอนการด ้ ดําเนินงาน รวมทั ร งการปร ้ ระเมินโครงกาารควรมีการประเมินทังคุ ้ ณ ณภาพและเชิงปริ ง มาณ และมี การประเมินความมพึงพอใจของผู้เข้ าร่วมโคครงการด้ วย สํสาหรับขันตอ ้ อนการดําเนินนงานควรเขียนให้ น ชดั เจนเป็ น รูปธธรรมว่า ขันต ้ อนนัน้ ๆ ทําอะไร ทําอย่าางไรและทําเมืมื่อไร 6. สถานนศึกษาควรจัดั ทําเอกสารสสรุปผลการประเมินโครงการของแต่ละปีปี โดยให้ มหัีหวั ข้ อที่สําคัญที่ แสดดงถึงผลของกการดําเนินโครรงการให้ ครบบถ้ วน ได้ แก่ ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ค์ เป้าหมายหหรื อตัวบ่งชี ้ ควาามสําเร็จผลการประเมินโคครงการ / ผลกการดําเนินงานนที่สอดคล้ องกั ง บตัวบ่งชี ้ แและความพึงพอใจของ ผู้เข้ าาร่วมโครงการ น ดทําเออกสารต่าง ๆ เช่น หลักสูตู รท้ องถิ่น กการสรุปผลกาารดําเนินงานน 7. สถานนศึกษาพัฒนาการจั เป็ นนต้ น ให้ เป็ นรูปเล่ ป มอย่างเรีรยบร้ อย เพื่ออสะดวกแก่การใช้ า หรื อเก็บไว้ ไ เป็ นสารสนนเทศต่อไป


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

ส่ วนที่ 2 แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

17


รายงงานการพัฒนาาคุณภาพการศึ กษา ปี การศึกษา ก 2554

18

บทที่ 2 แผนพั แ ฒนาาคุณภาพของสถาน นศึกษา 2.1 ปรัชญา แลละ คติพจน์น์ ปรัชญา “ คุณธรรมนํ ณ าวิชชาการ ” จากปรัชญาของโรงเรี ช รี ยน “คุณธรรรมนําวิชาการร” เป็ นหลักแหห่งความรู้และะความจริงทียึ่ยดึ เป็ นแนวทางใน ้ ดดเป็ นแนวทางงในการอบรมมและสัง่ สอนนนักเรี ยนให้ เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การจัดการศึกษาาของโรงเรี ยน รวมทังยึ จ ภายยใต้ ความเชื่อมัน่ ร่วมกันทีว่​่วา ต้ องดีก่อนนแล้ วเก่งถึงจะตามมา คติพจน์น์ สําหรับคติ ค พจน์ของโรรงเรียนเป็ นแนนวทางมุง่ เสริรมสร้ างคุณลักษณะอั ก นพึงปประสงค์ให้ ปรากฏชัดเป็ น รูปธธรรมในตัวของงผู้เรี ยน ดังนี ้คือ รักคุณธรรม

มุง่ พัฒนาให้ นกั เรีรี ยนเป็ นผู้มีจตใจที ิ ่ดีงามเป็ป็ นคนดีของคครอบครัว สังคม ง และ ประะเทศชาติ

รักเรี​ี ยน

มุง่ พัฒนาให้ เป็ นนผู้ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน มีความรู้ความสามารถด้ ว ด้ านวิชาการตตามศักยภาพของ แต่ละบุ ล คคล

รักวินัย

มุง่ ให้ ผ้ เู รียนเป็ นคคนอดทนอดกกลัน้ และปฏิฏิบตั ติ นให้ อยูใ่ ในระเบียบวินันยของโรงเรี ยนจน ย กลาายเป็ นนิสยั อันนดีงาม

รักคความสะอาดด

มุง่ ให้ นกั เรี ยนรู้จกั รักษาความสะอาดตนเอง ที่อยูอ่ าศัย และสภาพแวดล้ อมทัว่ ไป

2.2 วิสัยทัศน์ ภายในปีปี การศึกษา 2554 – 25566 โรงเรียนมมาลาสวรรค์พิพทิ ยา มุง่ ส่งเสสริมให้ ผ้ เู รี ยนมี น คณ ุ ธรรม มีจิตตสาธารณะ รักและรับใช้ นําปรัชญ ญาเศรษฐกิจพอเพี จ ยงมาปประยุกต์ใช้ ในนการดําเนินชีวิวติ ใฝ่ รู้ ใฝ่ฝเรี ยน รักการอ่าน รู้จกั คิด สามารรถใช้ ภาษาอังงกฤษและภาษาจีนในการรสื่อสาร เท่าททันวิทยาศาสสตร์ และเทคโนนโลยี ษ ยนสู ย ม่ าตรฐานนตามแนวพระราชบัญญัตการศึ ิ กษาแหห่งชาติและมาาตรฐานสากลล ยกรระดับการศึกษาของโรงเรี


รายงงานการพัฒนาาคุณภาพการศึ กษา ปี การศึกษา ก 2554

19

ข ยนมาลาสวรร น รค์ พทิ ยา 2.3 อัตลักษณ์ ของโรงเรี “ คววามรัก ” ความรัก พระะเป็ นเจ้ าคือองงค์ความรัก พระองค์ พ ทรงสสร้ างโลก สร้รางมนุษย์ด้วยความรั ย ก คววาม พ นเจ้ ามอบให้ เพื่อใให้ มนุษย์นําไปปใช้ ในการอยูยู่ รักจึงเป็ นพื ้นฐานนและความงดดงามแห่งจิตวิญญาณ ที่พระเป็ ้ กนี ้และโลกหน้น้ า ร่วมกันอย่างสันติสขุ ทังในโลก โรงเรี ยนมาลาสวรรค์ น ์พิทยา จึงมุง่งปลุกฝั ง บ่มเพาะผู เ ้ เรี ยนใหห้ มีมโนธรรมทีที่ดี มีธรรมในนหัวใจ และนนํา ้น ามงดงามแห่งจิ ง ตวิญญาณ ณไปพัฒนาตนนเองให้ เป็ นมนนุษย์ที่สมบูรณ์ ณ ควาามรัก 4 ประะการที่เป็ นพืนฐานและควา ดังนี ้​้คือ “รักคุณธรรม” ธ

หมายถึง

รัก และศรัทธาในการประพฤฤติปฏิบตั ติ นเปป็ นคนดีตอ่ ศาสสนาที่ตนนับถือ ต่อตนเองง ต่อครอบครัรับ สังคม และ ประะเทศชาติ “รักเรี ยน” น หมายถึง รัก ในการศึกษาาเล่าเรี ยน ใฝ่ฝรู้ใฝ่ เรี ยน จนนก่อให้ เกิด สติปัปญญา ความมรู้ และความมสามารถเต็มศั ม กยภาพ “รักวินยั ” หมายถึง รัก ที่จะประพฤติติปฏิบตั ติ นให้ห้ อยูใ่ นระเบียบวิ ย นยั ของ โรงเเรี​ียน และขอองสังคม จนกกลายเป็ นอุปนิสยั อันดีงามม หมายถึง รัก ในความสะออาด รู้จกั ดูแลลตนเอง ที่อยูอ่ าศัย และ “รักความมสะอาด” บรรรยากาศสิง่ แวดล้ อมรอบตัวั ให้ สะอาดน่ามองน่ า าอยู่ ความรัก จึงหมายถึ ห ง พระพรสําหรัรับชีวิตที่พระเเป็ นเจ้ าทรงมมอบให้ เพื่อเป็ นพื น ้นฐานในกการ ดําเนนินชีวิตของตตนให้ สะอาดดใจกาย สว่างปั ญญา พบบแต่สนั ติสขุ ตลอดไป ต

ณ์ ของโรงเรียนมาลาสวรร น รค์ พทิ ยา 2.4 เอกลักษณ์

“โรงเเรียนแห่ งความสุ ง ภาพ” ภ “ความสสุภาพ” คือพื อ ้นฐานของคคุณธรรมทุกอย่ อ าง ดังนันบุ น้ คคลที่มีคววามสุภาพจะเป็ นผู้มีเกียรติติ มี ั้ วาจาา และใจ และหากบุ แ คคลลใดถ้ าได้ ปฏิบัตติ นอยูใ่ นคความ บุคลิกภาพที่ดี มีกิริยามารยาาทที่งดงามทังกาย สุภาาพ สังคมนันย่ น้ อมมีความมสงบสุขร่มเย็น็ น่าอยูอ่ าศัย ประเทศศชาติก็จะมีแตต่ความเจริญก้ าวหน้ าเทียบเท่า อารยประเทศอย่างแท้ จริง


รายงงานการพัฒนาาคุณภาพการศึ กษา ปี การศึกษา ก 2554

20

“มาลาสวรรค์” หมายถึงดอกไม้ แแห่งสวรรค์ ซึง่ เป็ นนามชือของพระแม่ ่อ มมารี ย์ผ้ ทู รงเป็ นองค์อปุ ถัมภ์ภของ โรงเเรี​ี ยนมาลาสววรรค์พิทยา พระแม่มารียย์​์ ได้ รับเกียรติอัอนสูงสุดจากพระผู้เป็ นเจ้ าาให้ เป็ นพระมมารดาของพรระเยซู พระะแบบฉบับที่เด่ดนชัดของพรระแม่มารี ย์คืออความสุภาพ พ เรี ยบร้ อย นอบน้ น อมถ่อมมตนและเรี ยบง่ บ าย พระแม่มารี ม ย์ เป็ นนผู้ประพฤติดทัที งกาย ้ วาจาา และใจ โรรงเรี ยนมาลาสวรรค์พิทยาจึงน้ อมรับนําาพระแบบฉบับั แห่งความสสุภาพ ของพระแม่มารี ย์ย์ มาใช้ ในกาารบ่มเพาะแลละหล่อหลอมให้ ผ้ เู รี ยนเติบโตเป็ บ นเมล็ด พันธุ์แห่งควาามสุภาพ ที่ส่สงผล “โโรงเรียนแห่ งความสุ ง ภาพ พ” จึงหมายยถึงโรงเรี ยนมมาลาสวรรค์พิพิทยา สะท้ท้ อนเป็ นเอกลัลักษณ์ของโรงงเรี ยน มุง่ เนน้ นพัฒนาส่งเสริมให้ โรงเรียนมีบรรยากกาศของ “ควาามสุภาพ” ที่ก่อให้ เกิดเเป็ นคุณลักษณะอันพึงประะสงค์ ของผู้เรี ยน ดังนี ้คือ 1. กายยสุภาพ หมาายถึงแต่งกายยสุภาพเรี ยบร้ร้ อย สะอาด ถูกต้ องตามรระเบียบของโรรงเรียน และะ ถูกต้ องตามกาลเเทศะ รวมทังมี ง้ กิริยามารยยาทในการแสสดงความเคารพ และท่าททางการยืน การเดิ ก น การนนัง่ ที่ ถูกต้ องตามแบบอย่างของวัฒนธรรมไทย ฒ ม เ่ สสมอ เช่น ขออบคุณ ขอบใใจ 2. วาจจาสุภาพ หมายถึงใช้ คําพูดที่สภุ าพแสดดงถึงความมีมารยาทอยู ขอโททษ ไม่พดู จาาหยาบคาย หรื ห อใช้ คําที่ไม่เหมาะสม 3. ใจสุสุภาพ หมายยถึงเป็ นผู้ที่มนีนํ ้าใจอันประกกอบไปด้ วยคุณธรรมจริยธธรรม กตัญญูกตเวที เป็ นผูผู้คดิ ดี ใจดี เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ อ ซื่อสัตย์สุสจุ ริต ประหยัดั อดออม และมีจิตอาสา

2.5 พันธกิจ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

การดําเนินชีวิวติ น หลักธรรมของศาสนาทีที่ตนนับถือเป็ นแนวทางในก น ส่งเสสริมให้ ผ้ เู รียนใช้ สร้ างให้ ผ้ เู รี ยนมีอัอตลักษณ์ เออกลักษณ์ แลละคุณลักษณ ณะอันพึงประสสงค์ของโรงเรีรยนคาทอลิก น ้ จกั ประหยัด อดออม ตามแนวพระราชดําริเศรษฐฐกิจพอเพียง ส่งเสสริมให้ ผ้ เู รียนรู จัดกระบวนการเรี ก รี ยนรู้ที่เน้ นผู้เเรี​ี ยนให้ เป็ นผูผู้ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน รักการอ่าน และใช้ ภาษาอังกฤษษและ ภาษษาจีนในการสืสื่อสารอย่างง่าย ๆ ได้ สนับสนุ บ นให้ ผ้ เู รียนใช้ ย สื่อเทคโนนโลยีในการเเรี​ียนรู้และการศึกษาค้ นคว้ว้ าได้ พัฒนาผู้เรี ยนและระบบการบริ​ิ หารจัดการใให้ มีประสิทธิภาพตามมาต ภ ตรฐานการศึกษาของชาติ ก ุ ธรรรม จริยธรรรม พัฒนาบุคลากรตตามมาตรฐานนวิชาชีพและเป็ นผู้มีคณ ้อ อการเรี ยนรู น้ พัฒนาสภาพแวดดล้ อมให้ มีบรรรยากาศที่เอื ้อต่ ว อระหว่างงบ้ าน วัด โรงเรี ยน และชชุมชนเพื่อพัฒ ฒนาการศึกษาของโรงเรี ษ ยนโดย น ประะสานความร่วมมื ใช้ ภูภมู ิปัญญาท้ องถิ ง ่นและช่วยเหลือผู้รอโอกกาส


รายงงานการพัฒนาาคุณภาพการศึ กษา ปี การศึกษา ก 2554

21

2.6 คุณลักษณ ณะอันพึงประสงค์ ของนักกเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รักชาติ ศาสน์ ศ กษัตริย์ย ซื่อสัตย์สุสจริต มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรูรู้ อยูอ่ ย่างพอเพี ง ยง มุง่ มัน่ ในนการทํางาน รักความมเป็ นไทย มีจิตสาธธารณะ รักและรั​ับใช้

2.7 เป้าหมาย 1. ผู้เรี ยนร้ร้ อยละ 90 มีคุคณธรรม จริ ยธธรรมและคุณลัลกษณะอันพึงประสงค์ ง 2. ผู้เรี ยนร้ร้ อยละ 90 มีพัพฒนาการทา งด้ านร่ างกายย อารมณ์ สังคม ค จิตใจ สติปปั​ั ญญาและมีจิจติ สาธารณะ

รัก

และรับใช้ ใ พร้ อมทังมี ้ มีสนุ ทรี ยภาพ 3. ผู้เรี ยนร้ร้ อยละ 90 ตระหนักและะรู้ จักการรั กษาสิ ษ ่งแวดล้ อม ใช้ พลังงานแและทรั พยากรอย่างคุ้ม ค่า และ สามารถถประยุกต์หลักปรั ก ชญาเศรษษฐกิจพอเพียงมาใช้ ได้ ในชีวตประจํ ิ าวัน 4. ผู้เรี ยนร้ร้ อยละ 90 มีทัทกษะในการอ่อ่าน รู้จกั และมีมีความสามารถถใช้ เทคโนโลยียีแสวงหาความมรู้ 5. ผู้เรี ยนร้ร้ อยละ 85 สามารถใช้ ภาษษาอังกฤษและะภาษาจีนในการสื่อสารแบบบง่าย ๆ 6. ครูผ้ สู อนมีคณ ุ ธรรม จริ จ ยธรรม และะได้ รับการพัฒนาตามมาตรฐ ฒ ฐานวิชาชีพครูรู 7. ครูผ้ สู อนสามารถใช้ ภาษาอั ภ งกฤษใในการสื่อสารไได้ ตามศักยภาาพ 8. ครู ผ้ สู อนสามารถใช้ อ นวั น ตกรรมทางงการศึกษาแลละเทคโนโลยีในการจั ใ ดกิจกกรรมการเรี ยนการสอนได้ น อย่ยางมี ประสิทธิภาพ 9. ครูผ้ สู อนสามารถจั อ ดกิ ด จกรรมการเรีรี ยนการสอนทีที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญได้ อยย่างมีประสิทธิภาพ 10. โรงเรี ยนมี น ระบบการบบริ หารจัดการตตามมาตรฐานนสากล 11. โรงเรี ยนมี น หลักสูตรสถถานศึกษาที่เน้ นการจัดกิจกรรมการเรี ก ยนกการสอนที่หลาากหลาย มีการนิ า เทศติดตามมและ การวัดและประเมิ แ นผลที่มีประสิทธิธภาพ 12. โรงเรี ยนจั น ดสภาพแวดดล้ อมที่เอื ้อต่ออการเรี ยนรู้ ส่งเสริ ง มการใช้ แหล่งเรี ยนรู้ในกการจัดกิจกรรมการเรี ยนการรสอน 13. โรงเรี ยนมี น การร่วมมือกั อ บผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ในการพัฒนาศักยภภาพให้ กบั ผู้เรียน ย


รายงงานการพัฒนาาคุณภาพการศึ กษา ปี การศึกษา ก 2554

22

ณ กษาโรงเรียนนมาลาสวรรคค์ พทิ ยา 2.8 เป้าหมายแและยุทธศาสสตร์ ตามแผนนพัฒนาคุณภาพการศึ

เป้าหหมายข้ อที่ 1 ผู้รับบผิดชอบหลัก

ผู้เรียนร้ ย อยละ 90 มีคณ ุ ธรรม จริ จ ยธรรมและคคุณลักษณะอันั พึงประสงค์ ฝ่ ายจิตตาภิบาล ผู้รับผิ บ ดชอบร่ วม ฝ่ ายยวิชาการ

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตตร์ ท่ ี 1 ปลูกฝั งและสร้ างจิตสํานึกให้

กิจกรรรม / งาน / โครงการ 1. โครงการแพร่ธรรรมด้ วยรัก - กิจกรรมค่ายยคุณธรรม

ผู้เรี ยนเป็ นผู้มีคณ ุ ธรรม จริ​ิ ยธรรม

- กิจกรรมเด็ก ดี​ี ศรี พระหฤทัย

ยึดมัน่ และปปฏิบตั ติ ามหลักศาสนา ศ

- กิจกรรมการรสอนคริ สตศาสตร์ร์

แสดงออกถึงอัตลักษณ์และะเอกลักษณ์ ของโรงเรี ยน และมีความจงงรักภักดีตอ่ สถาบันพระะมหากษัตริ ย์

- กิจกรรมการรสอนคําสอนของนนักเรี ยนคอทอลิก 2. 2 โครงการเอกลักกษณ์วฒ ั นธรรมทาางศาสนา 3. 3 โครงการจิตอาสสา 4. 4 โครงการธนาคาารคุณธรรม 5 โครงการศาสนสสัมพันธ์ 6. 6 โครงการจิตสา ธารณะ

ยุทธศาสตตร์ ท่ ี 2 ปลูกฝั งให้ ผ้ เู รี ยนมี คุณลักษณ ณะอันพึงประสงค์ตามที่ โรงเรี ยนกําาหนด

ตัวชีว้ ัดความมสําเร็จ 1.1 ผู้เรี ยนนมีทกั ษะในการออ่าน และสามารถ ประยุกต์ใช้ ให้ เกิดประโยชนน์ได้ มีคณ ุ ภาพเฉฉลี่ย ร้ อยละ 90 1.2 ผู้เรี ยนนปลูกจิตสํานึกที่ดีงาม และค่านิยม ความเป็ นไททย การมีมนุษยสั ษ มพันธ์ในการ ทํางาน ร่วมมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขทัง้ ทางด้ านกาารเรี ยนและการดดํารงชีวิตในสังคม มีคณ ุ ภาพเฉฉลี่ยร้ อยละ 90 1.3 ผู้เรี ยนนเกิดความรักชาาติ ศาสนา พระมหากษัษัตริ ย์ มีคณ ุ ภาพพเฉลี่ยร้ อยละ 90 9

7. 7 โครงการสืบสาานรํ าลึกพระคุณ 1. โครงการส่งเสริริ มระเบียบวินยั ใส่ ใ ใจมารยาท

1.4 นักเรี ยยนมีคณ ุ ลักษณ ณะอันพึงประสงงค์

สะอาดการแต่ ส งกาาย

ตามที่โรงเรีรี ยนกําหนดมีคุคณ ุ ภาพเฉลี่ย

2. 2 โครงการสืบสาานรํ าลึกพระคุณ 3. 3 โครงการจิตอา สา 4. 4 โครงการธนาค ารคุณธรรม 5. 5 โครงการรักเมือองไทย 6. 6 โครงการคิดเป็ น ทําเป็ น แก้ ปัญหาได้ ญ 7. 7 โครงการวิชากาารเข็มแข็ง 8. 8 โครงการช่วยเหหลือแก้ ไขใส่ใจด้ วยรั ว ก

ร้ อยละ 85


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

เป้าหมายข้ อที่ 2 ผู้รับผิดชอบหลัก

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ท่ ี 3 ส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนมีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีจิตสาธารณะ รัก และรับใช้

ยุทธศาสตร์ ท่ ี 4 ส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนได้ พฒ ั นา ทักษะและกล้ าแสดงออก มี สุนทรี ยภาพด้ านศิลปะ ดนตรี กีฬา

23

ผู้เรี ยนร้ อยละ 90 มีพฒ ั นาการทางด้ านร่างกาย สังคม จิตใจ สติปัญญา และมีจิตสาธารณะ รักและรับใช้ พร้ อมทั้งมีสนุ ทรี ยภาพ ฝ่ ายกิจการนักเรี ยน ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายจิตตาภิบาลและฝ่ ายสัมพันธ์ชมุ ชน

กิจกรรม / งาน / โครงการ 1. กิจกรรมจิตอาสา 2. กิจกรรมการอบรมเพศศาสตร์ ศกึ ษา 3. โครงการออกกําลังกาย 4. โครงการธนาคารคุณธรรม 5. โครงการจิตสาธารณะ 6. โครงการคิดเป็ น ทําเป็ น แก้ ปัญหาได้ 7. โครงการส่งเสริมสุนทรี ยภาพทางด้ าน ศิลปะ ดนตรี กีฬา 1. กิจกรรมวันสถาปนาลูกเสือแห่งชาติและ วันถวายราชสดุดี 2. กิจกรรมแข่งขันกีฬาต้ านยาเสพติด 3. กิจกรรมประกวดดนตรี โฟค์ซ็อง 4. โครงการจิตสาธารณะ 5. โครงการคิดเป็ น ทําเป็ น แก้ ปัญหาได้ 6. โครงการส่งเสริมสุนทรี ยภาพ ทางด้ าน ศิลปะ ดนตรี กีฬา 7. โครงการมุง่ สูจ่ ดุ หมาย หนึง่ ใจเดียวกัน 8. โครงการวิชาการเข็มแข็ง 9. โครงการร่วมด้ วยช่วยกันลดขยะมลพิษใน โรงเรี ยน

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ 2.1 ผู้เรี ยนมีสขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90 2.2 ผู้เรี ยนมีจิตอาสา และจิตสาธารณะ มี คุณภาพเฉลี่ยร้ อยละ 85 2.3 ผู้เรี ยนเป็ นผู้มีจิตตารมณ์ รักและรับใช้ มี คุณภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90

2.4 ผู้เรี ยนมีทกั ษะละสุนทรี ยภาพด้ านศิลปะ ดนตรี กีฬา มีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90 2.5 ผู้เรี ยนมีความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ผลงานมี คุณภาพเฉลี่ยร้ อยละ 85 2.6 ผู้เรี ยนมีความกล้ าแสดงออกในทางที ถูกต้ องและเหมาะสมกับวัยมีคณ ุ ภาพเฉลี่ย ร้ อยละ 85


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 เป้าหมายข้ อที่ 3

24

ผู้เรี ยนร้ อยละ 90 ตระหนักและรู้จกั การรักษาสิง่ แวดล้ อม ใช้ พลังงานและทรัพยากรอย่าง คุ้มค่า และสามารถประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ได้ ในชีวิตประจําวัน

ผู้รับผิดชอบหลัก

ฝ่ ายกิจการนักเรี ยน

ยุทธศาสตร์

ผู้รับผิดชอบร่ วม

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ฝ่ ายวิชาการ ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ

ยุทธศาสตร์ ท่ ี 5 ปลูกฝั งจิตสํานึกวิถีชีวิตแห่ง

1. โครงการจิตอาสา

3.1 นักเรี ยนสามารถดํารงชีวิตตามหลัก

2. โครงการร่วมด้ วยช่วยกันลดขยะมลพิษในโรงเรี ยน

เศรษฐกิจพอเพียง มีคณ ุ ภาพเฉลีย่ ร้ อยละ 90

ความพอเพียง

3. กิจกรรมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3.2 นักเรี ยนสามารถวางแผนในการดํารงชีวิต

4. กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ

ได้ อย่างมีคณ ุ ภาพ มีคณ ุ ภาพเฉลีย่ ร้ อยละ 90

5. โครงการธนาคารคุณธรรม

ยุทธศาสตร์ ท่ ี 6 ปลูกฝั งจิตสํานึกให้ รักษ์ สิง่ แวดล้ อม

1. กิจกรรมการประหยัดไฟประหยัดนํ ้า และ ประหยัดพลังงาน 2. โครงการร่วมด้ วยช่วยกันลดขยะมลพิษใน โรงเรี ยน 3. โครงงานวิทยาศาสตร์

ใช้ พลังงานและ

ทรัพยากรให้ ค้ มุ ค่า

3.3 นักเรี ยนเกิดจิตสํานึกในการรักษ์ สิ่งแวดล้ อม มีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90 3.4 นักเรี ยนสามารถใช้ พลังงานและทรัพยากร อย่างคุ้มค่า มีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90

เป้าหมายข้ อที่ 4

ผู้เรี ยนร้ อยละ 90 มีทกั ษะในการอ่าน รู้จกั และมีความสามารถใช้ เทคโนโลยีแสวงหาความรู้

ผู้รับผิดชอบหลัก

ฝ่ ายกิจการนักเรี ยน

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ท่ ี 7 ส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนมีทกั ษะในการ อ่าน และสามารถประยุกต์ใช้ ให้ เกิด ประโยชน์ได้

ยุทธศาสตร์ ท่ ี 8 ส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนมี ความสามารถและมีวิจารณญาณ ในการใช้ เทคโนโลยีแสวงหาความรู้

ผู้รับผิดชอบร่ วม

กิจกรรม / งาน / โครงการ 1. โครงการวิชาการเข็มแข็ง - กิจกรรมส่งเสริ มการอ่านเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ - กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ และ สัปดาห์รัก การอ่าน 2. โครงการอ่านเข็มแข็ง

- กิจกรรมบันทึกรักการอ่าน - กิจกรรมค่ายวิชา 1. กิจกรรมแหล่งเรี ยนรู้ 2. กิจกรรมทัศนศึกษา ตามโครงการคิดเป็ น ทํา เป็ น แก้ ปัญหาได้ 3. โครงการวิชาการเข็มแข็ง

ฝ่ ายวิชาการ ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ 4.1 นักเรี ยนมีทกั ษะ มีนิสยั รักการอ่าน ในการ คิดและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ ได้ มีคณ ุ ภาพ เฉลี่ยร้ อยละ 90 4.2 จัดหาอุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทนั สมัยเอื ้อต่อ การเรี ยนการสอน 4.3 ผู้เรี ยนสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งเรี ยนรู้ ภายในและภายนอกได้ มีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90 4.4 ผู้เรี ยนมีวิจารณญาณในการใช้ เทคโนโลยีในการ แสวงหาความรู้ได้

มีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90

4. กิจกรรมค่ายกลุม่ สาระ 8 กลุม่ สาระ

4.5 ผู้เรี ยนมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีและ

5. โครงการอ่านเข็มแข็ง

สามารถสร้ างผลงานได้ เหมาะสมตามวัย ได้ มี คุณภาพเฉลี่ยร้ อยละ 90


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

เป้าหมายข้ อที่ 5 ผู้เรี ยนร้ อยละ 85 สามารถใช้ ภาษาอังกฤษและภาษาจีนในการสื่อสารแบบง่าย ๆ ผู้รับผิดชอบหลัก ฝ่ ายวิชาการ ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายสัมพันธ์ชมุ ชน ยุทธศาสตร์

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ยุทธศาสตร์ ท่ ี 9 พัฒนาผู้เรี ยนให้ มีความสามารถ ในการสื่อสารภาษาต่างประเทศ แบบง่าย ๆ ในชีวิตประจําวันได้

1. กิจกรรมส่งเสริ มทักษะวิชาการ

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ 5.1 ผู้เรี ยนมีความสารถในการใช้

2. การจัดการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษและ ภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารอย่างง่าย ๆ ได้ ภาษาจีน มีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 85 3. เอกสารประกอบการจัดการเรี ยนการสอน 4. แผนการจัดการเรี ยนรู้

5.2 ผู้เรี ยนมีความคิดริเริ่ มสร้ างสรรค์ผลงาน

5. กิจกรรมค่ายวิชาภาษาอังกฤษ + ภาษาจีน รู้จกั ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล มีคณ ุ ภาพเฉลี่ย 6. กิจกรรมค่าย 8 กลุม่ สาระวิชา ร้ อยละ 85 7. กิจกรรมการท่องศัพท์ตอนเช้ า

เป้าหมายข้ อที่ 6

ครูผ้ สู อนมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และได้ รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพครู

ผู้รับผิดชอบหลัก

ฝ่ ายบุคลากร

ยุทธศาสตร์

ผู้รับผิดชอบร่ วม

ฝ่ ายวิชาการ

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ยุทธศาสตร์ 10

1. โครงการฟื น้ ฟูบคุ ลากรครู - กิจกรรมวันสําคัญทางศาสนา สนับสนุนให้ ครูผ้ สู อนมีคณ ุ ธรรม - กิจกรรม “พาครูไปวัด” จริยธรรมและปฏิบตั ิตนตาม 2. โครงการท่องโลกกว้ างทางไกล รวมหนึ่ง จรรยาบรรณและได้ รับการ ใจเดียว พัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพครู - กิ จกรรมนําครู ทัศนศึกษา /ดูงาน ทัง้ ใน และต่างประเทศ 3. โครงการใฝ่ ความรู้ สูส่ ร้ างสรรค์ - กิ จกรรมอบรม/สัม มนาทัง้ ในและนอก สถานที่ - กิจกรรมส่งเสริ มและสนับสนุนให้ ศกึ ษาต่อ

4. โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการทําวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ 6.1 ครูผ้ สู อนทุกคนเป็ นผู้มีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรม 6.2 ครูปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 6.3 ครูทกุ คนได้ รับการพัฒนาตนเองตาม มาตรฐานวิชาชีพอยูอ่ ย่างเสมอ

25


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

เป้าหมายข้ อที่ 7 ครู ผ้ ูสอนสามารถใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ ตามศักยภาพ ผู้รับผิดชอบหลัก ฝ่ ายบุคลากร ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายวิชาการ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 11 สนับสนุนให้ ครูผ้ สู อนสามารถใช้ ภาษาอังกฤษและภาษาจีนในการ สื่อสารได้ ตามศักยภาพ

เป้าหมายข้ อที่ 8 ผู้รับผิดชอบหลัก

ยุทธศาสตร์

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ

1. กิจกรรมเรี ยนภาษาอังกฤษทุกสัปดาห์ 7.1 ครูผ้ สู อนสามารถใช้ ภาษาต่างประเทศ กับครูเจ้ าของภาษา ในการสื่อสารได้ ตามศักยภาพร้ อยละ 85 2. กิจกรรมเรี ยนภาษาจีนทุกสัปดาห์กับ ครูเจ้ าของภาษา

ครูผ้ สู อนสามารถใช้ นวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ฝ่ ายบุคลากร ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายวิชาการ,ฝ่ ายอาคารสถานที่

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ยุทธศาสตร์ 12 1. สวัสดิการด้ านเทคโนโลยีให้ กบั ครู สนับสนุนครูผ้ สู อนในเรื่ องการใช้ 2. จัดหาคอมพิวเตอร์ สําหรับครูในแต่ละ นวัตกรรมทางการศึกษาและ กลุม่ สาระ เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการ 3. กิจกรรมผลิตสื่อการเรี ยนการสอนโดย เรี ยนการสอน ใช้ คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต 4. แบ่งปั นความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ กิจกรรมอบรมสัมมนาสําหรับครู

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ 8.1 ครูผ้ สู อนสามารถใช้ นวัตกรรมทาง การศึกษาและเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอนร้ อยละ 85 8.2 ครูมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มี ประสิทธิภาพที่เอื ้อต่อการเรี ยนการสอนทุกปี การศึกษาร้ อยละ 85

26


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 เป้าหมายข้ อที่ 9 ผู้รับผิดชอบหลัก

ครูผ้ สู อนสามารถจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ ฝ่ ายบุคลากร ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายวิชาการ,ฝ่ ายอาคารสถานที่

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 13 สนับสนุนการจัดการเรี ยนการสอนโดย ใช้ ทกั ษะกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อ นําผู้เรี ยนได้ สเู่ ป้าหมาย

เป้าหมายข้ อที่ 10 ผู้รับผิดชอบหลัก

1. 2. 3. 4. 5.

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ

กิจกรรมพัฒนาบุคลากร การสัมมนาอบรมสําหรับครู กิจกรรมงานวิจยั ในชันเรี ้ ยน โครงการใฝ่ ความรู้ สูส่ ร้ างสรรค์ การอบรมการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้

9.1 ครูจดั การเรี ยนการสอนโดยใช้ ทกั ษะ กระบวนการที่ หลากหลาย 9.2 ครูผ้ สู อนได้ รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 9.3 ครูจดั ทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ น สําคัญ มีการวัดและ ประเมินผลเรี ยนรู้ตามสภาพ จริ งทุกปี การศึกษา

โรงเรี ยนมีระบบการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล ฝ่ ายวิชาการ ผู้รับผิดชอบร่ วม

ยุทธศาสตร์

กิจกรรม / งาน / โครงการ

14. พัฒ นาระบบการบริ ห ารจัด การให้ เป็ นไปตามมาตรฐานสากล

1. งานจัดทําแผนพัฒนาโรงเรี ยน 2. งานจัดทําแผนปฏิบตั ิการประจําปี 3. งานจัดทําปฏิทินปฏิบตั ิงานประจําปี 4. งานนิเทศและตรวจสอบ 5. งานจัดระบบประกันคุณภาพมาตรฐาน การศึกษาภายในและภายนอก

เป้าหมายข้ อที่ 11 ผู้รับผิดชอบหลัก

27

ฝ่ ายกิจการนักเรี ยน ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ

10.1 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ม่งุ สู่ มาตรฐาน การศึกษาสากล 10.2 มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 10.3 มีแผนปฏิบตั ิงานประจําปี 10.4 มีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 10.5 มีการประกันคุณภาพการศึกษา

โรงเรี ยนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่หลากหลายมีการนิเทศ ติดตามและการวัดและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ฝ่ ายวิชาการ ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายกิจการนักเรี ยน

ยุทธศาสตร์

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ

15. พัฒนาหลักสูตรของโรงเรี ยนให้ เน้ น การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ หลากหลาย มีการนิเทศติดตามและการ วัดและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ

1. 2. 3. 4. 5. 6.

การประเมินหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครูผ้ สู อน การนิเทศการสอน การจัดทําคูม่ ือการวัดและประเมินผล การอบรมสัมมนาสําหรับครู

11.1 มีการจัดระบบการนิเทศการสอน และ นําผล การนิเทศมาปรับปรุงการ สอนอย่างสมํ่าเสมอ 11.2 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้ นกิจกรรมการเรี ยน การสอนที่หลากหลาย

16 พัฒนาผู้เรี ยนให้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนของผู้เรี ยนตามเกณฑ์มาตรฐาน การศึกษา

1. การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรี ยนการสอน

11.3 ผู้เรี ยนให้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผู้เรี ยนตาม เกณฑ์มาตรฐานการศึกษามีคณ ุ ภาพเฉลี่ยร้ อยละ 85

2. การพัฒนาผู้เรี ยนให้ เต็มศักยภาพ 3. โครงการวิชาการเข็มแข็ง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

เป้าหมายข้ อที่ 12 ผู้รับผิดชอบหลัก

โรงเรี ยนจัดสภาพแวดล้ อมที่เอื ้อต่อการเรี ยนรู้ ส่งเสริ มการใช้ แหล่งเรี ยนรู้ในการจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอน ฝ่ ายอาคารสถานที่ ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายสัมพันธ์ชมุ ชน

ยุทธศาสตร์ 17. พัฒนาสภาพแวดล้ อมและแหล่ง เรี ยนรู้ให้ สามารถใช้ จดั การกิจกรรมการ เรี ยนการสอนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

เป้าหมายข้ อที่ 13 ผู้รับผิดชอบหลัก

28

กิจกรรม / งาน / โครงการ

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ

1. งานพัฒนาอาคารสถานที่ 2. งานพัฒนาห้ องปฏิบตั ิการ สภาพแวดล้ อม และแหล่งการเรี ยนรู้ 3. งานพัฒนาห้ องสมุด 4. โครงการร่ วมด้ วยช่วยกันลดขยะมลพิษใน โรงเรี ยน 5. โครงการสร้ างกําแพง 6. กิจกรรมการประกวดห้ องเรี ยน 7. กิจกรรมเวรเขตความสะอาด

1. ใช้ แหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้ องถิ่นใน การบูรณาการเรี ยนการสอน 2. จัดสภาพแวดล้ อมที่เอื ้อต่อการเรี ยนรู้ และมี บรรยากาศของโรงเรี ยนคาทอลิก 3. จัดสรรวัสดุ อุปกรณ์และสื่อเพื่อการเรี ยนการสอน อย่างเพียงพอและพร้ อมใช้

โรงเรี ยนมีการร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ในการพัฒนาศักยภาพให้ กบั ผู้เรี ยน ฝ่ ายสัมพันธ์ชมุ ชน ผู้รับผิดชอบร่ วม ฝ่ ายธุรการ - การเงิน

ยุทธศาสตร์ 18. สนับสนุน และร่ วมมื อกับผู้ปกครอง ชุมชน ศิษย์ เก่ าและองค์ ต่าง ๆ เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาศัก ยภาพให้ กั บ ผู้เรี ยน

กิจกรรม / งาน / โครงการ 1. กิจกรรมประชุมชี ้แจงผู้ปกครอง 2. โครงการมาลาสื่อสาร 3. โครงการสัมพันธ์รักมาลา 4. โครงการสืบสานรํ าลึกพระคุณ 5. กิจกรรมพี่แนะแนวน้ อง

ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ 1. การสร้ างสัมพันธ์ภาพที่ดี ระหว่างโรงเรี ยนกับ ชุมชน 2. ความร่ วมมือระหว่างโรงเรี ยนกับชุมชนในการ จัดการเรี ยนรู้


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

29

2.9 ข้ อมูลโครงสร้ างการบริหาร สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้ าง โดยแบ่งการบริ หารงานออกเป็ น

แผนภูมิโครงสร้ างการบริหารงานของโรงเรียนมาลาสวรรค์ พทิ ยา

บาทหลวงประยุทธ ชลหาญ ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต คณะกรรมการบริหารโรงเรี ยน ซิสเตอร์ วรรณวิมล สุขสวัสดิ์ ผู้จดั การ / ผู้อํานวยการ

น.ส. นฤมล สัตยานุวฒ ั น์ ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายวิชาการ

น.ส. รุ้งนภา ใจบุญ หัวหน้ าแผนกปฐมวัย

นางจินดา บุตรสละ ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายจิตตาภิบาล

นายนิวฒ ั น์ สายบูรณ์ ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายกิจการนักเรี ยน

ซิสเตอร์ วรรณวิมล สุขสวัสดิ์ ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายบุคลากร

กรรมการเครื อข่ายผู้ปกครอง

นางอรพินทร์ เจริญส่ง ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายธุรการ - การเงิน

นายปั ญญา บุตรสละ ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายอาคารสถานที่

นางกนกวรรณ เปี ยสาตร์ ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายสัมพันธ์ชมุ ชน


รายงานกการพัฒนาคุณภาพการศึ ภ กษา ปี การศึกษา 2554

3 30

2.10 โคครงสร้ างหลั​ักสูตรการศึกษาขั ก น้ พืน้ ฐฐาน แนวปฏิบตั ใิ นการจั น ดทําหลักสูตรโรงเรี ยยนมาลาสวรรค์พทิ ยา การศึกษษาขันพื ้ ้นฐานดังนี ้

กําหนดตามมโครงสร้ างหลัลักสูตรแกนกลลาง

โคครงสร้ างเววลาเรียน น ค์พิทยา กําหนดกรอบโคร ห รงสร้ างเวลาเเรี​ี ยน ดังนี ้ หลักั สูตรโรงเรียนมาลาสวรรค เวลาเรี ยน กลุ่มสารระการเรียนรู้/ กิจจกรรม

ระดับประถมศึศึกษา

ระดับมั บ ธยมศึกษาตออนต้ น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

y กลุ่มสารระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศศาสตร์ วิทยาศศาสตร์ สังคมศึกกษา ศาสนา และวัฒ ฒนธรรม c ประวัติศา าสตร์

๒๐๐ ๒๐๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐๐ ๑๖๐ ๑๖๖๐ ๒๐๐ ๒๐๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐๐ ๑๖๐ ๑๖๖๐ ๘๐

๘๐

๘๐

๘๐๐

๘๐

๘๐๐

๑๒๐ ๑๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๒๐

ม. ๑

ม. ๒

ม. ๓

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

๒๔๐

(๓ นก.)

(๓ นก.)

(๓ นก.)

(๖ นก.)

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

๒๔๐

(๓ นก.)

(๓ นก.)

(๓ นก.)

(๖ นก.)

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

๒๔๐

(๓ นก.)

(๓ นก.)

(๓ นก.)

(๖นก.)

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

๓๒๐

(๔ นก.)

(๔ นก.)

(๔ นก.)

(๘ นก.)

(๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐๐) (๔๐) (๔๐๐) ๔๐ (๑ นก) ๔๐ (๑ นก) ๔๔๐ (๑ นก)

ศาสนาศีศีลธรรมจริ ยธรรม c หน้ าที่พล ลเมืองฯ (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐๐) (๘๐) (๘๐๐) c เศรษฐศา าสตร์ c ภูมิศาสต ตร์

ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ม. ๔ – ๖

๘๐(๒ นก)

c

สุขศึกษษาและพล ศึกษา ศิลปะ การงานอาชีชีพและ เทคโนโลยี

ภาษาต่างงประเทศ รวมเเวลาเรียน (พื พืน้ ฐาน)

y กิจกรรมพพัฒนาผู้เรียน

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐๐

๘๐

๘๐๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐๐

๘๐

๘๐๐

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐๐

๘๐

๘๐๐

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐๐

๘๐

๘๐๐

๘๔๐ ๘๔๐๐ ๘๔๐ ๘๔ ๐ ๘๔๐ ๘๔๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๒๐

๑๒๐ ( ๓ นก)

๑๒๐ ( ๓ นก)

๑๒๐ ( ๓ นก)

๒๔๐ (๖ นก)

๘๐

๘๐

๘๐

๑๒๐

(๒นก.)

(๒ นก.)

(๒ นก.)

(๓นก.)

๘๐

๘๐

๘๐

๑๒๐

(๒นก.)

(๒ นก.)

(๒ นก.)

(๓ นก.)

๘๐ (๒นก.)

๘๐ (๒ นก.)

๘๐ (๒ นก.)

๑๒๐ (๓ นก.)

๑๒๐ (๓ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๑๒๐

๑๒๐ (๓ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๑๒๐

๒๔๐ (๖ นก.) ๑,๖๔๐ (๔๑ นก.) ๓๖๐

๑๒๐ (๓ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๑๒๐

yรายวิชา / กิจจกรรมทีส่ ถานศึกษา จัดเพิม่ เติม ตามความพร้ อม และจุดเน้ น

ปี ละไม่เกิน ๔๐ ชัว่วโมง

ปละไม่ ปี เกิน ๒๐๐ ชัว่ โมงง

ไม่ ไ น้อยกว่า ๑,๖๐๐ ชัว่ โมง

รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

ไม่ เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโโมง/ปี

ไม ม่ เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปีปี

รวม ๓ ปี ไม่ ไ น้อยกว่ า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ๑ รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๑ อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ รายวิชาเพิ่มเติม อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ๒

เวลาเรียน ( ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐(๑๐*) ๔๐ (๑๐) ๑,๐๐๐

31


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๒ ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม อ ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ๓

เวลาเรียน ( ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐(๑๐*) ๔๐ (๑๐) ๑,๐๐๐

32


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๓ พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓ อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ รายวิชาเพิ่มเติม อ ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ๔

( ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐(๑๐*) ๔๐ (๑๐) ๑,๐๐๐

33


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ๔ ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔ พ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ รายวิชาเพิ่มเติม อ ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ๕

( ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐(๑๐*) ๔๐ (๑๐) ๑,๐๐๐

34


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ รายวิชาเพิ่มเติม อ ๑๕๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๕ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

เวลาเรียน ( ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ ๖

๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐(๑๐*) ๔๐ (๑๐) ๑,๐๐๐

35


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ๖ ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๖ พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ รายวิชาเพิ่มเติม อ ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๖ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

36

เวลาเรี ยน ( ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐(๑๐*) ๔๐ (๑๐) ๑,๐๐๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๑

รหัสวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๑ รายวิชา

เวลาเรี ยน

รหัสวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๒ รายวิชา

เวลาเรี ยน


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 นก. ชั่วโมง รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๑ ๔๔๐ ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๕ ๖๐ ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐ พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๑ ๔๐ ศ ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑ ๔๐ ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ ๑ ๔๐ อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ ๑๐๐ ค ๒๑๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๑ ๑ ๔๐ อ ๒๑๒๐๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๑ ๑ ๔๐ จ ๒๑๒๐๑ อ่านเขียนภาษาจีน ๑ ๐.๕ ๒๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๖๐ ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ๑๕(+๕*) ชุมนุม ๑๕(+ ๕*) (๑๐) ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๓.๕ ๖๐๐

37

นก. ชั่วโมง รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๑ ๔๔๐ ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ ๖๐ ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ว ๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๑๑๐๓ สังคมศึกษา ๒ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ ๐.๕ ๒๐ พ ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ๑ ๔๐ ศ ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ๑ ๔๐ ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ ๑ ๔๐ อ ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ ๑๐๐ ค ๒๑๒๐๒ เสริ มทักษะคณิตศาสตร์ ๒ ๑ ๔๐ อ ๒๑๒๐๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๒ ๑ ๔๐ จ ๒๑๒๐๒ อ่านเขียนภาษาจีน ๒ ๐.๕ ๒๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๖๐ ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ๑๕(+๕*) ชุมนุม ๒๐ ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

(๕) ๑๓.๕

๖๐๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๒

รหัสวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๑ รายวิชา

เวลาเรี ยน

รหัสวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๒ รายวิชา

เวลาเรี ยน


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 นก. ชั่วโมง รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๑ ๔๔๐ รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ส ๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๔ ส๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๑ ๔๐ พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา๔ ศ ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๑ ๔๐ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๓ ๑ ๔๐ ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๔ อ ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๑.๕ ๖๐ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ ๑๐๐ รายวิชาเพิ่มเติม ค ๒๒๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๓ ๑ ๔๐ ค ๒๒๒๐๒ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๔ อ ๒๒๒๐๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๓ ๑ ๔๐ อ ๒๒๒๐๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๔ จ ๒๒๒๐๑ อ่านเขียนภาษาจีน ๓ ๐.๕ ๒๐ จ ๒๒๒๐๒ อ่านเขียนภาษาจีน ๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ● กิจกรรมนักเรี ยน ๑๕(+๕*) ลูกเสือ / เนตรนารี ลูกเสือ / เนตรนารี ๑๕(+๕*) ชุมนุม ชุมนุม (๑๐) ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๓.๕ ๖๐๐ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

นก. ๑๑ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๐.๕ ๑ ๑ ๑ ๑.๕ ๒.๕ ๑ ๑ ๐.๕

38 ชั่วโมง ๔๔๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๑๐๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐ ๖๐ ๒๐ ๑๕(+๕*) ๒๐ (๕)

๑๓.๕

๖๐๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัสวิชา

รายวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง

รหัสวิชา

รายวิชา

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

39

ง รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๑ ๔๔๐ รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๑ ๔๔๐ ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ ๖๐ ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ ๖๐ ค ๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑.๕ ๖๐ ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๑.๕ ๖๐ ว ๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๑.๕ ๖๐ ว ๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๓๑๐๓ สังคมศึกษา ๖ ๑.๕ ๖๐ ส ๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ส ๒๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๖ ๐.๕ ๒๐ พ ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๑ ๔๐ พ ๒๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๑ ๔๐ ศ ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๑ ๔๐ ศ ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ๑ ๔๐ ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ๑ ๔๐ ง ๒๓๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๖ ๑ ๔๐ อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑.๕ ๖๐ อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ ๑๐๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ ๑๐๐ ค ๒๓๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๕ ๑ ๔๐ ค ๒๓๒๐๒ เสริ มทักษะคณิตศาสตร์ ๖ ๑ ๔๐ อ ๒๓๒๐๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๕ ๑ ๔๐ อ ๒๓๒๐๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๖ ๑ ๔๐ จ ๒๓๒๐๑ อ่านเขียนภาษาจีน ๕ ๐.๕ ๒๐ จ ๒๓๒๐๒ อ่านเขียนภาษาจีน ๖ ๐.๕ ๒๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๖๐ ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ● กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสือ / เนตรนารี ๑๕(+๕*) ลูกเสือ / เนตรนารี ๑๕(+๕*) ๑๕(+๕*) ชุมนุม ชุมนุม ๒๐ (๑๐) ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ (๕) ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๓.๕ ๖๐๐ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๓.๕ ๖๐๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๔ (โปรแกรมวิทย์ - คณิต) ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัสวิชา

รายวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง

รหัสวิชา

รายวิชา

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

40

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค ๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ว ๓๑๑๐๑ สิง่ มีชีวิตกับการดํารงชีวิต ส ๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ส ๓๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ พ ๓๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ศ ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑

๘ ๑ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

๓๒๐ ๔๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค ๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว ๓๑๑๐๒ เคมีพื ้นฐาน ส ๓๑๑๐๓ สังคมศึกษา ๒ ส ๓๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ พ ๓๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ศ ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒

๘ ๑ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

๓๒๐ ๔๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

ง ๓๑๑๐๑

๐.๕ ๑ ๘ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๑.๕ ๑

๒๐ ๔๐ ๓๒๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐

ง ๓๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๒ อ ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ รายวิชาเพิ่มเติม ว ๓๑๒๐๒ ฟิ สกิ ส์ ๒ ว๓๑๒๒๒ เคมี ๒ ว๓๑๒๔๒ ชีววิทยา ๒ ว ๓๑๒๘๒ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๒ ค ๓๐๒๐๒ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๒ อ ๓๑๒๐๒ ทักษะภาษาอังกฤษ ๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๐.๕ ๑ ๘ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๑.๕ ๑

๔๐ ๔๐ ๓๒๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐

การงานอาชีพและเทคโนโลยี๑ อ ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ รายวิชาเพิ่มเติม ว ๓๑๒๐๑ ฟิ สกิ ส์ ๑ ว ๓๑๒๒๑ เคมี ๑ ว ๓๑๒๔๑ ชีววิทยา ๑ ว ๓๑๒๘๑ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๑ ค ๓๑๒๐๑ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๑ อ ๓๑๒๐๑ ทักษะภาษาอังกฤษ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๒๐ ๒๐ ๑๖

๗๐๐

๒๐ ๒๐ ๑๖

๗๐๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๕ (โปรแกรมวิทย์ - คณิต) ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัสวิชา

รายวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง

รหัสวิชา

รายวิชา

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ค ๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ว ๓๒๑๐๑ ฟิ สกิ ส์พื ้นฐาน ส ๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ส๓๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ พ ๓๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ศ ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ง ๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๓ อ ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ รายวิชาเพิ่มเติม ว ๓๒๒๐๑ ฟิ สกิ ส์ ๓ ว ๓๒๒๒๑ เคมี ๓ ว ๓๒๒๔๑ ชีววิทยา ๓ ว ๓๒๒๘๑ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๓ ค ๓๒๒๐๑ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๓ อ ๓๒๒๐๑ ทักษะภาษาอังกฤษ ๓ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๘ ๑ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๘ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๑.๕ ๑

๓๒๐ ๔๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๒๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๖

๗๐๐

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค ๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว ๓๒๑๐๒ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ส๓๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๔ ส๓๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ศ ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง ๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๔ อ ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รายวิชาเพิ่มเติม ว ๓๒๒๐๒ ฟิ สกิ ส์ ๔ ว๓๒๒๒๒ เคมี ๔ ว๓๒๒๔๒ ชีววิทยา ๔ ว ๓๒๒๘๒ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๔ ค ๓๒๒๐๒ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๔ อ ๓๒๒๐๒ ทักษะภาษาอังกฤษ ๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๘ ๑ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๘ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๑.๕ ๑

41 ๓๒๐ ๔๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๒๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๖

๗๐๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๖ (โปรแกรมวิทย์ - คณิต) ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัสวิชา

รายวิชา

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง

รหัสวิชา

รายวิชา

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ค ๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ว ๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ส ๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ พ ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ศ ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ง ๓๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ อ ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ รายวิชาเพิ่มเติม ว ๓๓๒๐๑ ฟิ สกิ ส์ ๕ ว ๓๓๒๒๑ เคมี ๕ ว ๓๓๒๒๑ ชีววิทยา ๕ ว ๓๓๒๘๑ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๕ ค ๓๓๒๐๑ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๕ ส๓๓๒๒๑ อาเซี่ยนศึกษา ๑ อ ๓๓๒๐๑ ทักษะภาษาอังกฤษ ๕ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๖.๕ ๑ ๑ ๑ ๑ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๙ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๑.๕ ๑ ๑

๒๖๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๕.๕

๖๘๐

รายวิชาพืน้ ฐาน ๖.๕ ท ๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑ ค ๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๑ ว ๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ๑ ส ๓๓๑๐๓ สังคมศึกษา ๖ ๑ พ ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๐.๕ ศ ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ๐.๕ ง ๓๓๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ ๐.๕ อ ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑ รายวิชาเพิ่มเติม ๙ ว ๓๓๒๐๒ ฟิ สกิ ส์ ๖ ๑.๕ ว๓๓๒๒๒ เคมี ๖ ๑.๕ ว๓๓๒๔๒ ชีววิทยา ๖ ๑.๕ ว ๓๓๒๘๒ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๖ ๑ ค ๓๓๒๐๒ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๖ ๑.๕ ส๓๓๒๒๒ อาเซี่ยนศึกษา ๒ ๑ อ ๓๓๒๐๒ ทักษะภาษาอังกฤษ ๖ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๕.๕

42 ๒๖๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๖๘๐

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๔ (โปรแกรมภาษา-สังคม) ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัส รายวิชา วิชา รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค ๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน รหัสวิชา รายวิชา นก. ชั่วโมง ๘ ๓๒๐ รายวิชาพืน้ ฐาน ๑ ๔๐ ท ๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ ๖๐ ค ๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๘ ๓๒๐ ๑ ๔๐ ๑.๕ ๖๐


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ว ๓๑๑๐๑ สิง่ มีชีวิตกับการดํารงชีวิต ส ๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑

๑.๕ ๑ ส ๓๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ ๐.๕ พ ๓๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๐.๕ ศ ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๐.๕ ง ๓๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๑ ๐.๕ อ ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๑ รายวิชาเพิ่มเติม ๘ จ ๓๑๒๐๑ ภาษาจีน ๑ ๒ อ ๓๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ๑ ๒ อ ๓๑๒๑๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๑ ๑ ท ๓๑๒๐๑ ประวัติวรรณคดี ๑ ๑ ส ๓๑๒๐๑ เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น ๑ ศ ๓๑๒๐๑ ซิลค์สกรี น 1 ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๖

๖๐ ว ๓๑๑๐๒ เคมีพื ้นฐาน ๔๐ ส ๓๑๑๐๓ สังคมศึกษา ๒ ๒๐ ส ๓๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ ๒๐ พ ๓๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ๒๐ ศ ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ๒๐ ง ๓๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ ๔๐ อ ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๓๒๐ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม ๘๐ จ ๓๑๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ๘๐ อ ๓๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ ๔๐ อ ๓๑๒๑๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ท๓๑๒๐๒ ประวัติวรรณคดี ๒ ๔๐ ส๓๑๒๐๒ กฎหมายเบื ้องต้ น ๔๐ ศ ๓๑๒๐๒ ซิลค์สกรี น 2 ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ๒๐ ชุมนุม ๒๐ ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ ๗๐๐ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๑.๕ ๑ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๘ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑

43 ๖๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๒๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๖

๗๐๐

รายวิ ชาเพิ่มเติ ม ขึ้นกับโรงเรี ยน แต่ตอ้ งจัดให้ได้ภาคเรี ยนละ ๒.๕ หน่วยกิ ต ส่วนกิ จกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ให้ใช้หลักการเดี ยวกับระดับประถมศึกษา

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๕ (โปรแกรมภาษา-สังคม) ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ค ๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ว ๓๒๑๐๑ ฟิ สกิ ส์พื ้นฐาน ส ๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๘.๐ ๓๒๐ ๑ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ๑ ๔๐

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ค ๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ว ๓๒๑๐๒ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ส๓๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๔

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๘.๐ ๓๒๐ ๑ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ๑ ๔๐


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ส๓๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ พ ๓๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ศ ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ง ๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓ อ ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม จ ๓๒๒๐๑ ภาษาจีน ๓ อ ๓๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ อ ๓๒๒๑๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๓ ท ๓๒๒๐๑ วรรณกรรมปั จจุบนั ส ๓๒๒๘๑ ภูมิศาสตร์ กายภาพ ศ ๓๒๒๐๑ งานออกแบบ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๙ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑

๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๗

๗๔๐

ส๓๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ศ ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ ง ๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ อ ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม จ๓๒๒๐๒ ภาษาจีน ๔ อ๓๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ๔ อ ๓๒๒๑๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๔ ท๓๒๒๐๒ การเขียน ๑ ส๓๒๒๘๒ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ ๓๒๒๐๒ งานเพนท์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๙ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑

44 ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๗

๗๔๐

รายวิ ชาเพิ่มเติ ม ขึ้นกับโรงเรี ยน แต่ตอ้ งจัดให้ได้ภาคเรี ยนละ ๒.๕ หน่วยกิ ต ส่วนกิ จกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ให้ใช้หลักการเดี ยวกับระดับประถมศึกษา

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๖ (โปรแกรมภาษา-สังคม) ภาคเรี ยนที่ ๑

ภาคเรี ยนที่ ๒

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๖.๕ ๒๖๐ ๑ ๔๐

ค ๓๓๑๐๑ ว ๓๓๑๐๑ ส ๓๓๑๐๑ พ ๓๓๑๐๑

๑ ๑ ๑ ๐.๕

รหัสวิชา

รายวิชา

คณิตศาสตร์ ๕ วิทยาศาสตร์ ๕ สังคมศึกษา ๕ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕

๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ภาษาไทย ๖ ๓๓๑๐๒ ค ๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ว ๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ส ๓๓๑๐๓ สังคมศึกษา ๖ พ ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๖.๕ ๒๖๐ ๑ ๔๐ ๑ ๑ ๑ ๐.๕

๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ศ ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๐.๕ ง ๓๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ๐.๕ อ ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม ๙ ส๓๓๒๒๑ อาเซี่ยนศึกษา ๑ ๑ จ ๓๓๒๐๑ ภาษาจีน ๕ ๒ อ ๓๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ๕ ๒ อ ๓๓๒๑๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๕ ๑ ท ๓๓๒๐๑ หลักภาษาไทย ๑ ส ๓๓๒๐๑ ศาสนสัมพันธ์ ๑ ง ๓๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๑ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๕.๕

๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๖๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๖๘๐

ศ ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ๐.๕ ง ๓๓๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ ๐.๕ อ ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม ๙ ส๓๓๒๒๒ อาเซี่ยนศึกษา๒ ๑ จ ๓๓๒๐๑ ภาษาจีน ๖ ๒ อ๓๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ๖ ๒ อ๓๓๒๑๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๖ ๑ ท๓๓๒๐๒ การเขียน ๒ ๑ ส๓๓๒๐๒ เหตุการณ์โลกปั จจุบนั ๑ ง ๓๓๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๒ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๕.๕

45 ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๖๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๖๘๐

รายวิ ชาเพิ่มเติ ม ขึ้นกับโรงเรี ยน แต่ตอ้ งจัดให้ได้ภาคเรี ยนละ ๒.๕ หน่วยกิ ต ส่วนกิ จกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ให้ใช้หลักการเดี ยวกับระดับประถมศึกษา

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๔ (โปรแกรมคณิต-ภาษา) ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัส รายวิชา วิชา รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค ๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ว ๓๑๑๐๑ สิง่ มีชีวิตกับการดํารงชีวิต ส ๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ส ๓๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ พ ๓๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๘ ๓๒๐ ๑ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ๑ ๔๐ ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค ๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว ๓๑๑๐๒ เคมีพื ้นฐาน ส ๓๑๑๐๓ สังคมศึกษา ๒ ส ๓๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ พ ๓๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๘ ๓๒๐ ๑ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ๑ ๔๐ ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ศ ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๐.๕ ง ๓๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๑ ๐.๕ อ ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑

รายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๑๒๐๑ ภาษาจีน ๑ อ ๓๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ๑ อ ๓๑๒๑๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๑ ศ ๓๑๒๑๑ งานเขียนแบบ ๑ ค ๓๑๒๐๑ คณิตศาสตร์ เพิ่ม ๑ ศ ๓๑๒๐๑ ซิลค์สกรี น 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๑ ๘.๕ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑.๕ ๑

๑๖.๕

๒๐ ศ ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ๒๐ ง ๓๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ ๔๐ อ ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๓๔๐ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม ๘๐ จ ๓๑๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ๘๐ อ ๓๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ ๔๐ อ ๓๑๒๑๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ศ๓๑๒๑๒ งานเขียนแบบ ๒ ๖๐ ค ๓๑๒๐๒ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๒ ๔๐ ศ ๓๑๒๐๒ ซิลค์สกรี น 2 ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ๒๐ ชุมนุม ๒๐ ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ ๗๒๐ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๐.๕ ๐.๕ ๑ ๘.๕ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑.๕ ๑

46 ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๓๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๖.๕

๗๒๐

รายวิ ชาเพิ่มเติ ม ขึ้นกับโรงเรี ยน แต่ตอ้ งจัดให้ได้ภาคเรี ยนละ ๒.๕ หน่วยกิ ต ส่วนกิ จกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ให้ใช้หลักการเดี ยวกับระดับประถมศึกษา

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๕ (โปรแกรมคณิต-ภาษา) ภาคเรี ยนที่ ๑ รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ค ๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓๑ ว ๓๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ส ๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ส ๓๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ พ ๓๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ศ ๓๒๑๐๑ ศิลปะ ๓

ภาคเรี ยนที่ ๒ เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๘ ๓๒๐ ๑ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ๑ ๔๐ ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐

รหัสวิชา

รายวิชา

รายวิชาพืน้ ฐาน ท ๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ค ๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ว ๓๒๑๐๒ เคมีพื ้นฐาน ส ๓๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๒ ส ๓๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ พ ๓๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ศ ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๒

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง ๘ ๓๒๐ ๑ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ๑ ๔๐ ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ง ๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๓ อ ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ รายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๒๒๐๑ ภาษาจีน ๓ อ ๓๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ๓ อ ๓๒๒๑๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๓ ง ๓๒๒๐๑ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๑ ค ๓๒๒๐๑ คณิตศาสตร์ เพิ่ม ๓ ศ ๓๒๒๐๑ งานออกแบบ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๐.๕ ๑ ๙.๕ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑.๕ ๑

๑๗.๕

๒๐ ง ๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ ๔๐ อ ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๓๘๐ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม ๘๐ จ ๓๒๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ๘๐ อ ๓๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ ๘๐ อ ๓๒๒๑๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ง๓๒๒๐๒ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๒ ๔๐ ค ๓๒๒๐๒ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๒ ๔๐ ศ ๓๒๒๐๒ งานเพนท์ ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ๒๐ ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ๒๐ ชุมนุม ๒๐ ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ ๗๖๐ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๐.๕ ๑ ๘.๕ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑.๕ ๑

47 ๒๐ ๔๐ ๓๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๑๗. ๕

๗๖๐

รายวิ ชาเพิ่มเติ ม ขึ้นกับโรงเรี ยน แต่ตอ้ งจัดให้ได้ภาคเรี ยนละ ๒.๕ หน่วยกิ ต ส่วนกิ จกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ให้ใช้หลักการเดี ยวกับระดับประถมศึกษา

โครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ ๖ (โปรแกรมคณิต-ภาษา) ภาคเรี ยนที่ ๑

ภาคเรี ยนที่ ๒

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง รายวิชาพืน้ ฐาน ๖.๕ ๒๖๐ ท ๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑ ๔๐ ค ๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑ ๔๐ ว ๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๑ ๔๐ ส ๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๑ ๔๐ พ ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๐.๕ ๒๐ ศ ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๐.๕ ๒๐ ง ๓๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี๕ ๐.๕ ๒๐ อ ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑ ๔๐

เวลาเรี ยน นก. ชั่วโมง รายวิชาพืน้ ฐาน ๖.๕ ๒๖๐ ท ๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑ ๔๐ ค ๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๑ ๔๐ ว ๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ๑ ๔๐ ส ๓๓๑๐๓ สังคมศึกษา ๖ ๑ ๔๐ พ ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๐.๕ ๒๐ ศ ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ๐.๕ ๒๐ ง ๓๓๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ ๐.๕ ๒๐ อ ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑ ๔๐

รหัสวิชา

รายวิชา

รหัสวิชา

รายวิชา


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 รายวิชาเพิ่มเติม ส๓๓๒๒๑ อาเซี่ยนศึกษา ๑ จ ๓๓๒๐๑ ภาษาจีน ๑ อ ๓๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๑ อ ๓๓๒๑๑ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๑ ค ๓๓๒๐๑ คณิตศาสตร์ เพิ่ม ๑ ง ๓๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๑ ง ๓๓๒๑๒ งานสารสนเทศ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด

๙.๕

๓๘๐ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรม

๓๘๐

๑ ๒ ๒ ๑ ๑.๕ ๑ ๑

๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐

๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๒๐

๒๐ ๒๐ ๑๖

๗๐๐

๙. ๕ ส๓๓๒๒๒ อาเซี่ยนศึกษา๒ ๑ จ ๓๓๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ๒ อ ๓๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ๒ ๒ อ ๓๓๒๑๒ อ่านเขียนภาษาอังกฤษ ๒ ๑ ค ๓๓๒๐๒ คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ๒ ๑.๕ ง ๓๓๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๒ ๑ ง ๓๓๒๒๒ งานสารสมเทศ ๒ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ● กิจกรรมแนะแนว ● กิจกรรมนักเรี ยน ชุมนุม ● กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ประโยชน์ รวมเวลาเรี ยนทัง้ หมด ๑๖

รายวิ ชาเพิ่มเติ ม ขึ้นกับโรงเรี ยน แต่ตอ้ งจัดให้ได้ภาคเรี ยนละ ๒.๕ หน่วยกิ ต ส่วนกิ จกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ให้ใช้หลักการเดี ยวกับระดับประถมศึกษา

2.11 รายนามคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาและงานวิชาการสถานศึกษา 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ซิสเตอร์ วรรณวิมล นางสาวนฤมล นางประนอม นางชูจิตร นายบุญช่วย นางอัมรา

7. นางพรเพ็ญ 8. นายทรงศักดิ์ 9. นางาสําราญ

48

สุขสวัสดิ์ สัตยานุวฒ ั น์ เจริ ญสุข สังข์ทองโรจน์ วิรัตน์ รามพิชยั

ผู้อํานวยการ ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ ายวิชาการ หัวหน้ ากลุม่ สาระภาษาไทย หัวหน้ ากลุม่ สาระคณิตศาสตร์ หัวหน้ ากลุม่ สาระวิทยาศาสตร์ หัวหน้ ากลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รอดประเสริ ฐ หัวหน้ ากลุม่ สาระสุขศึกษาและ พลศึกษา หัวหน้ ากลุม่ สาระศิลปะ รักษาถ้ อย หอมกลาง หัวหน้ ากลุม่ สาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

๒๐ ๒๐ ๗๐๐


รายงานกการพัฒนาคุณภาพการศึ ภ กษา ปี การศึกษา 2554

10. นางสมยยงค์ 11. นางบุศรินทร์ 12. นางวัชราภรณ์ ร

พุฒตาล มังกรแก้ ว ศรี บศุ ราคัม

หัวหน้ ากลลุม่ สาระภาษาต่างประเทศ กรรมการ

หัวหน้ างานแนะแนว ง หัวหน้ างาานวัดผลและปรระเมินผล

กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

4 49


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

ส่ วนที่ 3 ผลการประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษา

50


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

51

ส่ วนที่ 3 ผลการประเมินการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในปี การศึกษา 2554 โรงเรี ยนมีการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และบรรลุถึง ความสําเร็จตามมาตรฐานการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน ทัง้ 5 ด้ านคือ 1. มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรี ยน มาตรฐานที่ 1 - 6 2. มาตรฐานด้ านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 7 - 12 3. มาตรฐานด้ านการสร้ างสังคมแห่งการเรี ยนรู้ มาตรฐานที่ 13 4. มาตรฐานด้ านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 14 5. มาตรฐานด้ านมาตรการส่งเสริ ม มาตรฐานที่ 15 มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรี ยน มาตรฐานที่ 1

ผู้เรี ยนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐาน

1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี ้ 1.1 มีสขุ นิสยั ในการดูแลสุขภาพ และออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ตัวบ่งชี ้ 1.2 มีนํ ้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน

ตัวบ่งชี ้ 1.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้ โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจาก สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบตั ิเหตุ และ ปั ญหาทางเพศ ตัวบ่งชี ้ 1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมัน่ ใจ กล้ าแสดงออกอย่าง เหมาะสม ตัวบ่งชี ้ 1.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้ เกียรติผ้ อู ื่น ตัวบ่งชี ้ 1.6 สร้ างผลงานจากเข้ าร่ วมกิจกรรมด้ านศิลปะ ดนตรี / นาฏศิลป์ กีฬา/ นันทนาการ ตามจินตนาการ

ค่ านํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

96.85 97.81

5.00 0.50 0.50

4.79 0.48 0.48

เทียบ ระดับ คุณภาพ 5 5 5

99.02

1.00

0.99

5

ดีเยี่ยม

95.00 98.00

1.00 1.00

0.95 0.98

5 5

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

91.91

1.00

0.91

5

ดีเยี่ยม

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

ความ หมาย ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 สถานศึกษาตระหนักในความสําคัญของการพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีพฒ ั นาการทางด้ านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ สติปัญญาและมีจิตสาธารณะ รักและรับใช้ พร้ อมทั ้งมีสนุ ทรี ยภาพ โดยกําหนด พันธกิจและเป้าหมายใน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี พ.ศ. 2554 - 2556 ทําให้ ผ้ บู ริ หาร ครู และบุคลากรทุกฝ่ ายร่วมกันพัฒนาผู้เรี ยน ตังแต่ ้ การจัดการเรี ยนการสอนกลุม่ สาระการเรี ยนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ศิลปะ มาเป็ นแนวทาง ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ ทําให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับการปลูกฝั งให้ ตระหนักถึงอันตรายจากสิง่ เสพติด เช่น งานโรงเรี ยนสีขาว การจัดกิจกรรมต่อต้ านยาเสพติด การเรี ยนดนตรี ไทย นาฏศิลป์ ศิลปะ การเล่นกีฬา การวาดภาพ ระบายสี นอกจากนี ้โรงเรี ยนยังจัดกิจกรรมทั้งในและนอกหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ทําให้ นกั เรี ยนได้ แสดงออกผ่าน วงโยธวาทิต วงดนตรี สากล วงดนตรี ไทย การประกวดวงโฟล็คซองสภานักเรี ยนต้ านยาเสพติด กีฬาสภานักเรี ยนต้ าน ยาเสพติด กิจกรรมการอบรมเพศศึกษาในสถานศึกษา การจัดกิจกรรมวันต่อต้ านเอดส์ในสถานศึกษา การส่งนักเรี ยน แกนนําไปร่วมอบรมในเรื่ องการต่อต้ านการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การจัดโครงการส่งเสริ มสุนทรี ยภาพด้ านศิลปะ


รายงานกการพัฒนาคุณภาพการศึ ภ กษา ปี การศึกษา 2554

5 52

ดนตรี กีฬา รวมทังก ้ การเข้ าร่วมแข่งขั ง นกีฬาภายใในจากกิจกรรมมกีฬาสี – วันเด็ น ก วันเยาววชน การส่งเสสริ มให้ ผ้ เู รี ยนไได้ ออกกําลังั กายกับการเต้ นแอโรบิค และกิจกรรมววันสุนทรภู่ ทังนี ั ้ ้ โรงเรี ยนได้ ดําเนินงานออย่างเป็ นรูปธรรรมและต่อเนื่อง อ เป็ นระบบบ ตามวงจร PDCA P ซึง่ โรงเรีรี ยนได้ รับความร่วมมือจากททุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง ตังแต่ ้ ฝ่ ายการศึกษาออัครสังฆมณฑ ฑล กรุงเทพฯฯ ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต ญ ผู้บริ หารโโรงเรี ยน คณะะครู ชุมชน ผู้ปกครอง และะนักเรี ยน เป็ นผลให้ นกั เรี ยน ย ส่วนใหญ ญ่มีนํ ้าหนัก ส่วนสูงและสมรรรถภาพทางกาารตามเกณฑ์ มีสขุ ภาพจิตที่ดี มีสนุ ทรี ยภภาพ กล้ าแสดงงออก มีสขุ นิสัสยั ในการดูแแลสุขภาพตน ป้องกันตนเอองจากสิง่ เสพติติด เห็นคุณค่าในตนเอง า มีมนุ ม ษยสัมพันธ์ และสร้ างผลงงานจากการเข้ข้ า ร่วมกิจกรรรมด้ านศิลปะะ ดนตรี /นาฏศิศิลป์ กีฬา ทําใให้ การพัฒนาผูผู้เรี ยนในมาตรรฐานนี ้มีระดับบคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลกการประเมินเชิชงคุณภาพ ดังนี ้ ผู้เรี ยนมีจุดเด่ น คือ ผู้เรี ยนส่วนใหญ่ ว รักการรออกกําลังกาย มีนํ ้าหนัก ส่วนสูงตามเกณ ณฑ์ สรุ ปภาพ พรวมของมาตตรฐานที่ 1 มีคุณภาพระดัดับ ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

มาตรฐานที่ 2

53

ผู้เรี ยนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมที่พงึ ประสงค์

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

ค่ านํา้ หนัก

คะแนนที่ ได้

เทียบระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

5.00

4.67

5

ดีเยี่ยม

95.12

2.00

1.90

5

ดีเยี่ยม

92.68

1.00

0.92

5

ดีเยี่ยม

91.49

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

91.70

1.00

0.91

5

ดีเยี่ยม

2. ผู้เรี ยนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมที่พงึ ประสงค์ ตัวบ่งชี ้ 2.1 มีคณ ุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามหลักสูตร ตัวบ่งชี ้ 2.2 เอื ้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีตอ่ ผู้มพี ระคุณ ตัวบ่งชี ้ 2.3 ยอมรับความคิดเห็นและวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่าง ตัวบ่งชี ้ 2.4 ตระหนัก รู้คณ ุ ค่า ร่วมอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้ อม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 สถานศึกษาตระหนักในความสําคัญของการปลูกฝั งผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยกําหนดปรัชญา วิสยั ทัศน์ นโยบาย พันธกิจด้ านคุณภาพผู้เรี ยนและเป้าหมายในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี พ.ศ. 2554 – 2556 ทําให้ ผ้ บู ริ หารโรงเรี ยน คณะครู และบุคลากรทุกฝ่ ายได้ ร่วมมือกันปลูกฝั งผู้เรี ยน โดยสอดแทรก คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ในทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ซึ่งได้ รับความร่ วมมือจากครู ทกุ คนอย่างจริ งจัง และจัดกิจกรรม โครงการต่างๆ อย่างต่อเนื่องตามแผนปฏิบตั ิการ ประจําปี 2554 ได้ แก่ โครงการธนาคารคุณธรรมมี กิจกรรม 2 กิจกรรม คือกิจกรรมสะสมความดี ความซื่อสัตย์ นักเรี ยนบันทึกความดีความซื่อสัตย์ก่อนนําใส่กล่องต้ องให้ ครูรับรองก่อน และนําไปใส่ในกล่องความดีความซื่อสัตย์เมื่อครบเดือนครูนําใบความดีมานับนักเรี ยนคนใดส่งใบความดี ครบ 5 ใบ มอบเกียรติบตั รให้ นกั เรี ยนทุกเดือนอย่างเด่นชัด ส่วนกิจกรรมออมทรัพย์ในสถานศึกษา โรงเรี ยนเปิ ดให้ นักเรี ยนทําการฝากเงินสัปดาห์ละ 2 วันโดยมีรุ่นพี่เป็ นเจ้ าหน้ าที่ รับฝากเงินทุกสัปดาห์ นักเรี ยนคนใดฝากธนาคารและ ไม่ถอนในแต่ละเดือนครู มีของรางวัลมอบให้ ในแต่ละเดือนด้ วย โครงการแพร่ ธรรมด้ วยรัก มีกิจกรรมพระวาจานํา ทาง ชีวิต และ กิจกรรมสมโภชแม่พระรับเกียรติยกขึ ้นสวรรค์รวมถึง กิจกรรมสมโภชพระหฤทัยฯ กิจกรรมนมัสการพระกุมาร เจ้ า โครงการศาสนสัม พันธ์ มี กิจ กรรมค่า ยคุณ ธรรมจริ ย ธรรม โครงการจิ ตอาสา โครงการแห่เ ที ย นจํ า นํ า พรรษา โครงการส่งเสริ มระเบียบวินยั ใส่ใจมารยาท สะอาดการแต่งกาย ได้ มีการฝึกมารยาทที่ควรปฏิบตั ิ ต่อผู้ใหญ่ ต่อเพื่อน ต่อน้ อง ๆ โครงการสืบสานรํ าลึกพระคุณ วันพ่อ-วันแม่ กิจกรรมวันไหว้ ครูและการแสดงมุฑิตาจิตต่อครูในวันครู รวมถึง การปลูกฝั งให้ ผ้ เู รี ยนรู้ จักคุณค่าของนํ ้า ไฟฟ้า ให้ ใช้ นํา้ – ไฟอย่างประหยัด ตลอดจนจัดกิจกรรมประชาธิ ปไตยใน โรงเรี ยน ได้ แก่ การเลือกตังสภานั ้ กเรี ยน การเลือกหัวหน้ าห้ อง การจัดพื ้นที่ในโรงเรี ยนให้ ผ้ เู รี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ถึง มัธยมศึกษาปี ที่ 6 รับผิดชอบดูแลเขตความสะอาดประจําวัน การจัดทําโครงการจัดทําแหล่งเรี ยนรู้ โครงการ โรงเรี ยน สะอาดบรรยากาศดี ซึ่งโครงการนี ้โรงเรี ยนได้ รับรางวัลที่ 1 ของจังหวัดนครนายก การจัดบอร์ ดที่ส่งเสริ มการ เรี ยนรู้ และการจัดกิจกรรมหน้ าเสาธง โดยคูณครูให้ การอบรมทุกวัน ซึง่ ทั้งหมดนี ้โรงเรี ยนได้ ทําอย่างจริ งจังและต่อเนื่อง เป็ นระบบตามวงจร PDCA โรงเรี ยนได้ รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง นับแต่ฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑล กรุ งเทพฯ ผู้ลงนามแทนผู้รับ ใบอนุญาต ผู้บ ริ หารโรงเรี ยน คณะครู ผู้ปกครอง นักเรี ยนและชุมชน ทํ าให้ ผ้ ูเรี ยนทุก ระดับชั้นเป็ นผู้เรี ยนที่ดีของโรงเรี ยน เป็ นลูกที่ดีของพ่อแม่ รู้ จกั บําเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม เอื ้ออาทรและกตัญญูต่อผู้มี พระคุณ จึงทําให้ การพัฒนาผู้เรี ยนในมาตรฐานนี ้ที่ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลการประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ ผู้เรี ยนมีจุดเด่ น คือ ผู้เรี ยนส่วนใหญ่ เอื ้ออาทรและกตัญญูตอ่ ผู้มีพระคุณ สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 2 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

54

มาตรฐานที่ 3 ผู้เรี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รั กเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง มาตรฐาน 3. ผู้เรียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รั กการเรี ยนรู้ และ พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง ตัวบ่งชี ้ 3.1 มีนิสยั รักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้ องสมุด แหล่ง เรี ยนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว ตัวบ่งชี ้ 3.2 มีทกั ษะในการอ่าน ฟั ง ดู พูด เขียน และตังคํ ้ าถามเพื่อค้ นคว้ าหาความรู้เพิ่มเติม

ตัวบ่งชี ้ 3.3 เรี ยนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรี ยนรู้ระหว่างกัน ตัวบ่งชี ้ 3.4 ใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้และนําเสนอผลงาน

ค่ านํา้ หนัก

คะแนนที่ ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

5.00

4.88

5

ดีเยี่ยม

98.06

2.00

1.96

5

ดีเยี่ยม

96.43 97.50 97.87

1.00 1.00 1.00

0.96 0.98 0.98

5 5 5

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 โรงเรี ยนได้ สง่ เสริ มและสนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนรักการเรี ยนรู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ โดยพัฒนา สภาพแวดล้ อมของโรงเรี ยนให้ เป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู้ มีการจัดกระบวนการเรี ยนการสอน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ให้ บรรลุตามเป้าหมาย ดังนี ้ จัดโครงการวิชาการเข้ มแข็ง เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ มีการ นําเทคโนโลยีมาใช้ ประกอบการเรี ยนการสอน และการศึกษาค้ นคว้ าเพิ่มเติมในห้ องสมุด ด้ วยการพัฒนาห้ องสมุดให้ เป็ นแหล่งเรี ยนรู้ที่ทนั สมัย น่าสนใจ มีกิจกรรมค่ายบูรณาการ โดยผู้เรี ยนได้ ศกึ ษาหาความรู้ด้วยตนเองตามฐานของทุก กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ มีกิจกรรมรักการอ่าน ซึง่ เป็ นการส่งเสริ มการอ่านให้ กบั ผู้เรี ยนและให้ ผ้ เู รี ยนได้ ใช้ เวลาว่างให้ เกิด ประโยชน์ โดยมีสมุดบันทักรักการอ่านและกิจกรรมที่หลาก หลายจากห้ องสมุด เช่น กิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด กิจกรรม วันภาษาไทยเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ ร้ ูและใช้ ภาษาไทยได้ อย่างถูกต้ อง กิจกรรมศึกษาแหล่งเรี ยนรู้นอกสถานที่ เป็ นกิจกรรม ต่อเนื่องที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนมีทกั ษะ ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งเรี ยนรู้ตา่ ง ๆ ทั้งในและนอกโรงเรี ยน รวมถึงการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้ อมูลกับแหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาในท้ องถิ่น โครงการคิดเป็ น ทําเป็ น แก้ ปัญหา ได้ เป็ นการพาผู้เรี ยนไปศึกษานอกสถานที่ ทําให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้จากประสบการณ์ตรง และเรี ยนรู้การทํางานร่วมกับ ผู้อื่น รวมถึงนําประสบการณ์ที่ได้ รับมาใช้ ในการดําเนินชีวิตประจําวันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีกิจกรรมหลักคือ การ เข้ าค่ายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี การไปทัศนศึกษานอกสถานที่ โครงการมุ่งสูจ่ ดุ หมายหนึง่ ใจเดียวกัน เป็ นโครงการที่ มุ่งพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีทกั ษะทางสังคม มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถปรับตัวเข้ ากับผู้อื่นได้ ส่งเสริ มและพัฒนาศักยภาพ ของ นักเรี ยนทั ้งทางด้ านอารมณ์ สังคม สติปัญญา มีการจัดกิจกรรมวันวิชาการของโรงเรี ยนเพื่อแสดงนิทรรศการผลงาน ให้ นักเรี ยนได้ เรี ยนรู้ด้วยตนเอง สรุปบทเรี ยนการเรี ยนรู้ตลอดปี ซึง่ ผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ ผ้ เู รี ยนมีทกั ษะในการ แสวงหาความรู้ รักการเรี ยนรู้ และสามารถใช้ เทคโนโลยีในการศึกษาค้ นคว้ า สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจําวัน และพัฒนาตนองต่อเนื่อง มีผลทําให้ การพัฒนาผู้เรี ยนในมาตรฐานนี ้มีระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผล การประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ ผู้เรี ยนมีจุดเด่ น คือ ผู้เรี ยนส่วนใหญ่มีนิสยั รักการอ่าน และใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้ได้ สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 3 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

มาตรฐานที่ 4

55

ผู้เรี ยนมีความสามารถในการคิดอย่ างเป็ นระบบ คิดสร้ างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ ปัญหาได้ อย่ างมีสติสมเหตุสมผล มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

4. เรี ยนมีความสามารถในการคิดอย่ างเป็ นระบบ คิดสร้ างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ ปัญหาได้ อย่ างมีสติสมเหตุผล ตัวบ่งชี ้ 4.1 สรุปความคิดจากเรื่ องที่อา่ น ฟั ง และดู และสื่อสารโดย 95.54 การพูดหรื อเขียนตามความคิดของตนเอง ตัวบ่งชี ้ 4.2 นําเสนอวิธีคิด วิธีแก้ ปัญหาด้ วยภาษาหรื อวิธีการของตนเอง 95.06 ตัวบ่งชี ้ 4.3 กําหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ 93.58 ตัวบ่งชี ้ 4.4 มีความคิดริเริ่ ม และสร้ างสรรค์ผลงานด้ วยความภาคภูมิใจ 90.83

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

5.00

4.70

5

ดีเยี่ยม

2.00

1.91

5

ดีเยี่ยม

1.00 1.00 1.00

0.95 0.94 0.90

5 5 5

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 4 โรงเรี ยนตระหนักและเห็นความสําคัญในการส่งเสริ มให้ นักเรี ยนคิดเป็ น ทําเป็ น แก้ ปัญหาได้ เป็ นไปตาม มาตรฐานการศึกษาที่ผ้ เู รี ยนควรได้ รับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด สอดคล้ องกับวิสยั ทัศน์ของโรงเรี ยนที่ม่งุ เน้ นให้ ผู้เรี ยนรู้จกั คิด โดยโรงเรี ยนจัดกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริ มและพัฒนาความสามารถทางการคิดของผู้เรี ยน อย่างต่อเนื่อง ดังนี ้ จัดกิจกรรมส่งเสริ มให้ นกั เรี ยนสามารถสรุปความคิดจากเรื่ องที่อ่าน ฟั งและดูนําไปสื่อสารได้ ตาม ความคิดของตนเองได้ ด้วยกิจรรมฐานรักการอ่าน บันทึกรักการอ่าน กิจกรรมห้ องสมุดบูรณาการการอ่านร่ วมกับทุก กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ กิจกรรมวันสัปดาห์ห้องสมุดในโครงการอ่านเข้ มแข็ง กิจกรรมศึกษาแหล่งเรี ยนรู้ ทงในและนอก ั้ โรงเรี ยนในโครงการวิชาการเข้ มแข็ง จัดกิจกรรมส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนได้ นําเสนอความคิด วิธีแก้ ปัญหาด้ วยภาษาหรื อ วิธีการของตนเอง กําหนดเป้าหมายคาดการณ์ ตัดสินใจแก้ ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบด้ วยกิจกรรมการเรี ยนการสอน แบบโครงงาน และการจัดทํารายงานรายวิชาต่าง ๆ กิจกรรมโครงการคิดเป็ น ทําเป็ นแก้ ปัญหาได้ กิจกรรมค่ายกลุ่ม สาระ 8 กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ในโครงการวิชาการเข้ มแข็ง กิจกรรมตลาดนัดอาชีพในโครงการร่ วมด้ วยช่วยกันลดขยะ มลพิษในโรงเรี ยน จัดกิจกรรมส่งเสริ มด้ านความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์และความภาคภูมิใจในผลงานของตนเองด้ วย กิจกรรมการจัดทําแฟ้มสะสมผลงาน Portfolio กิจกรรมชุมนุมชมรม และการจัดการเรี ยนการสอนของครู ที่ม่งุ เน้ น ความสําเร็ จในผลงาน ชิน้ งานของนักเรี ยน การแสดงผลงานของนักเรี ยนในกิ จกรรมวันสําคัญต่าง ๆ เช่น สัปดาห์ วิทยาศาสตร์ วันสุนทรภู่ วันภาษาไทยแห่งชาติ กิจกรรมวันแม่โครงการสืบสานรํ าลึกพระคุณวันพ่อ วันแม่ กิจกรรม ประกวดสื่อของห้ องเรี ยนในโครงการร่ วมด้ วยช่วยกันลดขยะมลพิษในโรงเรี ยน จัดกิจกรรมส่งเสริ มการปรับตัวเข้ ากับ สังคมอย่างชัดเจนด้ วยกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมค่ายลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมกีฬาสีภายใน กิจกรรมทัศน ศึกษา กิจกรรมพี่น้องกัลยาณมิตร กิจกรรมการเรี ยนนักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมค่าย English – Chinese Camp กิจกรรมโครงการมุ่งสู่จดหมายหนึ่งใจเดียวกันให้ ผ้ ูเรี ยนมี ทักษะทางสังคม มีมนุษย์สมั พันธ์ ปรั บตัวเข้ ากับผู้อื่นและ พัฒนาศักยภาพของนักเรี ยนทั้งด้ านอารมณ์ สังคม และสติปัญญาและทําให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับการพัฒนามาตรฐานนี ้ที่ระดับ คุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลการประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ ผู้เรี ยนมีจุดเด่ น คือ ผู้เรี ยนส่วนใหญ่มีความภูมิในใจผลงานของตนเอง รู้จกั แก้ ปัญหาด้ วยตนเอง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

56

สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 4 มีระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม

มาตรฐานที่ 5 ผู้เรี ยนมีความรู้ และทักษะที่จาํ เป็ นตามหลักสูตร มาตรฐาน 5. ผู้เรี ยนมีความรู้ และทักษะที่จาํ เป็ นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี ้ 5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนแต่ละกลุม่ สาระเป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวบ่งชี ้ 5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรเป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวบ่งชี ้ 5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวบ่งชี ้ 5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็ นไปตามเกณฑ์

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

72.98 96.41 96.23 49.82

5.00 1.00 1.00 2.00 1.00

4.12 0.74 0.96 1.92 0.50

4 3 5 5 2

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 5 โรงเรี ยนตระหนักในความสําคัญของการพัฒนาและส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนที่ดี โดยเห็นได้ จากการกําหนด ปรัชญา คติพจน์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ วิสยั ทัศน์ พันธกิจด้ านผู้เรี ยนและเป้าหมายในแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 – 2556 โดยกําหนดยุทธศาสตร์ ที่ม่งุ พัฒนาผู้เรี ยนให้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ของผู้เรี ยนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ดังนั้นเพื่อให้ การปฏิบตั งิ านบรรลุตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ โรงเรี ยนได้ จัดการเรี ยนการสอนทั้ง 8 กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ตามโครงสร้ างของหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมที่สงเสริ มศักยภาพ ของผู้เรี ยนเพื่อนําไปพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เช่น การท่องคําศัพท์ การท่องสูตรคูณและคิดเลขเร็ วก่อนเรี ยนใน วิชาคณิตศาสตร์ การจัดกิจกรรมค่ายกลุม่ สาระเพื่อพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้และสมรรถนะที่จําเป็ นตามหลักสูตรให้ กบั นักเรี ยน กิจกรรมการพูดภาษาอังกฤษและภาษาจีนหน้ าเสาธง เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเกิดทักษะการพูดและการฟั ง จัดมุมเพิม่ ทักษะภาษาอังกฤษและภาษาจีน ในเวลาพักเที่ยง และได้ ดําเนินโครงการตามแผนปฏิบตั กิ าร ประจําปี การศึกษา 2554 ได้ แก่ โครงการวิชาการเข้ มแข็ง เพื่อส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน มีความสามารถในการใช้ ทกั ษะ กระบวนการคิด สร้ างบรรยากาศการเรี ยนรู้ทั้งภายในและภายนอกห้ องเรี ยนรวมทั้งนักเรี ยนได้ มีโอกาสศึกษาแหล่ง เรี ยนรู้ทั้งภายนอกโรงเรี ยน โครงการใฝ่ ความรู้ สู้สร้ างสรรค์ และโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “การพัฒนาครูผ้ สู อน วิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ” ซึง่ ส่งเสริ มให้ ครูได้ จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ใช้ เทคนิคการสอน สื่อเทคโนโลยี และการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การทําวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน เพื่อ ส่งเสริ มให้ ครูใช้ การวิจยั ในการแก้ ปัญหาที่เกิดกับผู้เรี ยนและการจัดการเรี ยนการสอน โครงการอ่านเข้ มแข็ง กิจกรรมรัก การอ่านเพื่อส่งเสริ มผู้เรี ยนด้ านการอ่าน และปลูกฝั งนิสยั รักการอ่านและการศึกษาค้ นคว้ าให้ กบั ผู้เรี ยน กิจกรรมต่างๆ ได้ รับความร่วมมือที่ดีจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องตั้งแต่ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ผู้ลงนามแทนผู้รับ ใบอนุญาต ผู้บริ หาร คณะครู ผู้ปกครอง และนักเรี ยน ส่งผลให้ ผ้ เู รี ยนได้ มีการพัฒนาในด้ านต่างๆ มากขึ ้น และทําให้ ผู้เรี ยนได้ รับการพัฒนามาตรฐานนี ้ที่ระดับคุณภาพ ดีมาก และมีผลการประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ ผู้เรี ยนมีจุดเด่ น คือ ผู้เรี ยนส่วนใหญ่มีผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรและการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนตามเกณฑ์

ความ หมาย ดีมาก ดี ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม พอใช้


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

57

สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 5 มีระดับคุณภาพ ดีมาก

มาตรฐานที่ 6 ผู้เรี ยนมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อ่ ืนได้ และมีเจตคติท่ ดี ี ต่ ออาชีพสุจริต มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

6. ผู้เรี ยนมีทักษะในการทํางาน รั กการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อ่ ืนได้ และ มีเจตคติท่ ดี ีต่ออาชีพสุจริต ตัวบ่งชี ้ 6.1 วางแผนการทํางานและดําเนินการจนสําเร็จ 94.92 ตัวบ่งชี ้ 6.2 ทํางานอย่างมีความสุข มุง่ มัน่ พัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง 96.20 ตัวบ่งชี ้ 6.3 ทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ 94.46 ตัวบ่งชี ้ 6.4 มีความรู้สกึ ที่ดีตอ่ อาชีพสุจริ ตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ 91.70

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

5.00

4.72

5

ดีเยี่ยม

2.00 1.00 1.00 1.00

1.90 0.93 0.94 0.92

5 5 5 5

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 6 สถานศึกษาตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาให้ ผ้ เู รี ยนมีทักษะในการทํางาน รั กการทํางานสามารถ ทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีตอ่ อาชีพสุจริ ต จึงได้ จดั ทําแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน ปี 2554 – 2556 และจัดทํา แผนปฏิบตั ิงานประจําปี การศึกษา 2554 ปฏิทินปฏิบตั ิงานประจําปี การศึกษา 2554 โดยมีนโยบายและยุทธศาสตร์ ประจําปี ในการดําเนินงานตามโครงการในแต่ละฝ่ ายต่าง ๆ ได้ ตั้งเป้าหมายที่กําหนดไว้ และมีโครงการส่งเสริ มสนับสนุน ให้ ผ้ ูเรี ยนมีทักษะในการทํางาน รั กการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริ ต ได้ แก่ โครงการร่ วมด้ วยช่วยกันลดขยะมลพิษในโรงเรี ยน กิ จกรรมค่ายวิขาการ โครงการคิดเป็ น ทํ าเป็ น แก้ ปัญหาได้ โครงการวิชาการเข็มแข็ง กิจกรรมกี ฬาสี – วันเด็ก กิจกรรมศึกษาแหล่งเรี ยนรู้ นอกสถานที่ กิจกรรมจิตสาธารณะ กิจกรรมจิตอาสา โครงการธนาคารคุณธรรม ชุมนุมต่างๆ โครงการมุ่งสูจ่ ดุ หมายหนึ่งใจเดียวกัน ที่สง่ ผลให้ ผ้ เู รี ยนได้ เกิดทักษะในการทํางาน การวางแผนการทํางานและดําเนินงานจนสําเร็ จ ทํางานอย่างมีความสุข มีความมุ่งมัน่ ในการ พัฒนาและภูมิใจในผลงานของตนเอง สามารถทํางานร่ วมกับผู้อื่นได้ มีความรู้ สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริ ตและหาความรู้ เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองถนัดและสนใจ ทําให้ มีผลการประเมินมาตรฐานนี ้ที่ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม ผู้เรี ยนมีจุดเด่ น คือ ผู้เรี ยนส่วนใหญ่ ภูมิใจในผลงานของตนเอง สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 6 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

58

มาตรฐานด้ านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 7

ครู ปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐาน

7 : ครูปฏิบตั งิ านตามหน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตัวบ่งชี ้ที่ 7.1 ครูมีการกําหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรี ยนทังด้ ้ านความรู้ทกั ษะ กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตัวบ่งชี ้ที่ 7.2 ครูมีการวิเคราะห์ผ้ เู รี ยนเป็ นรายบุคคล และใช้ ข้อมูลในการวางแผนการ จัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรี ยน ตัวบ่งชี ้ที่ 7.3 ครูออกแบบและจัดการเรี ยนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พัฒนาการทางสติปัญญา ตัวบ่งชี ้ที่ 7.4 ครูใช้ สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนําบริ บทและภูมิปัญญา ของท้ องถิ่นมา บูรณาการในการจัดการเรี ยนรู้ ตัวบ่งชี ้ที่ 7.5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่ม่งุ เน้ นการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน ด้ วย วิธีการที่หลากหลาย ตัวบ่งชี ้ที่ 7.6 ครูให้ คําแนะนํา คําปรึกษา และแก้ ไขปั ญหาให้ แก่ผ้ เู รี ยนทังด้ ้ านการเรี ยน และคุณภาพ ชีวิตด้ วยความเสมอภาค ตัวบ่งชี ้ที่ 7.7 ครูมีการศึกษา วิจยั และพัฒนาการจัดการเรี ยนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ ผลในการ ปรับการสอน ตัวบ่งชี ้ที่ 7.8 ครูประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและเป็ นสมาชิก ที่ดีของสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ที่ 7.9 ครูจดั การเรี ยนการสอนตามวิชาที่ได้ รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

ค่ านํา้ หนัก

คะแนนที่ ได้

เทียบระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

10.00

9.54

5

ดีเยี่ยม

95.24

1.00

0.95

5

ดีเยี่ยม

94.05

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

95.24

2.00

1.90

5

ดีเยี่ยม

92.86

1.00

0.93

4

ดีมาก

96.43

1.00

0.96

5

ดีเยี่ยม

92.86

1.00

0.93

4

ดีมาก

94.04

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

100.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

98.81

1.00

0.99

5

ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 7 สถานศึกษามีความตระหนักถึงบทบาทหน้ าที่และความสําคัญของครู จึงได้ ดําเนินการจัดโครงการและกิจกรรม ต่าง ๆ ดังนี ้ เพื่อพัฒนาครู ให้ เป็ นผู้มีคุณธรรมจริ ยธรรม โดยการจัดโครงการอบรมฟื ้นฟูจิตใจบุคลากร กิจกรรมครู ดีศรี พระ หฤทัย/ครูดีเด่น มีความรู้ความสามารถตามหน้ าที่ที่รับผิดชอบ และพร้ อมที่จะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีการส่งเสริ มครูให้ ความรู้ ความเข้ าใจ เกี่ยวกับเป้าหมายการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื ้นฐานเพื่อนําไปใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ครูมีการวิเคราะห์ผ้ เู รี ยนเป็ นรายบุคคล และใช้ ข้อมูลในการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ุ ธรรม จริ ยธรรมที่นกั เรี ยนนําไปใช้ ใน ของผู้เรี ยน มีการใช้ เทคนิคกระบวนการสอนที่หลากหลาย ที่ม่งุ พัฒนาผู้เรี ยนให้ เป็ นผู้มีคณ ชีวิตประจําวัน นอกจากนี ้โรงเรี ยนยังส่งเสริ มครูให้ ใช้ สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรี ยนการสอนโดยมอบสื่อการเรี ยนการสอนด้ าน ั นาความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิบตั ิการ เทคโนโลยีให้ ครูได้ นํามาพัฒนาตนเองและผู้เรี ยน ส่งเสริมให้ ครูได้ พฒ การพัฒนาครู ผ้ สู อนวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โครงการใฝ่ ความรู้ ส่สู ร้ างสรรค์ โครงการท่องโลกกว้ างทางไกล รวมใจ หนึ่งเดียว ครู มีการวัดและประเมินผลที่ม่งุ เน้ น การพัฒนาการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนด้ วยวิธีที่หลากหลาย เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ มี การทําวิจยั ในชันเรี ้ ยน และนําผลการวิจยั พัฒนาผู้เรี ยน ตามโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรี ยนการ


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 สอน นอกจากนี ้โรงเรี ยนยังมีการให้ ครูอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานอย่างสมํ่าเสมอ ตามโครงการพัฒนาบุคลากร ความรู้มาพัฒนาในการจัดการเรี ยนการสอนและพัฒนาศักยภาพของตัวครูเอง

59 เพื่อนํา

มีจุดเด่ น คือ ครู ส่วนใหญ่ จัดการเรี ยนการสอนตามวิชาที่ได้ รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 7 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม

มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

8 : ผู้บริหารปฏิบตั งิ านตามบทบาทหน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตัวบ่งชี ้ที่ 8.1 ผู้บริ หารมีวิสยั ทัศน์ภาวะผู้นําและความคิดริ เริ่ มที่เน้ นการพัฒนาผู้เรี ยน 1.00 ตัวบ่งชี ้ที่ 8.2 ผู้บริ หารใช้ หลักการบริ หารแบบมีสว่ นร่วมและใช้ ข้อมูล ผลการ 2.00 ประเมินหรื อผลการวิจยั เป็ นฐานคิดทังด้ ้ านวิชาการและการจัดการ ตัวบ่งชี ้ที่ 8.3 ผู้บริ หารสามารถบริ หารจัดการการศึกษาให้ บรรลุเป้าหมาย 2.00 ตามที่กําหนดไว้ ใน แผนปฏิบตั ิการ ตัวบ่งชี ้ที่ 8.4 ผู้บริ หารส่งเสริ มและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ พร้ อมรับการกระจายอํานาจ 2.00 ตัวบ่งชี ้ที่ 8.5 นักเรี ยน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริ หารการจัดการศึกษา 1.00 ตัวบ่งชี ้ที่ 8.6 ผู้บริ หารให้ คําแนะนําคําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษา 2.00 เต็ม ศักยภาพและเต็มเวลา

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนนที่ ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความห มาย

10.00 1.00

10.00 1.00

5 5

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

2.00 1.00

2.00 1.00

5 5

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 8 ผู้บริ หารได้ ให้ ความสําคัญในการพัฒนาสถานศึกษาและบุคลากรของโรงเรี ยนอย่างต่อเนื่อง โดยเน้ นปรั ชญาของ โรงเรี ยน คือ “คุณธรรมนําวิชาการ” ได้ สนับสนุนให้ มีการจัดทําโครงการที่เน้ นในด้ านคุณธรรม จริ ยธรรมเป็ นอันดับแรก ปฏิบตั ิ ตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการทํางานและในการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน โดยยึดหลัก ในความสุจ ริ ต ยุติ ธ รรม การรั บ ฟั ง ปั ญ หา การให้ ร ะบบคุณ ธรรม รวมทัง้ การระดมการมี ส่ว นร่ ว มในการบริ ห าร เป็ นผู้ที่ มี บุคลิกภาพ สุภาพ แต่งกายสะอาด เรี ยบร้ อยเหมาะสมกับกาลเทศะเป็ นแบบอย่างที่ดี และเป็ นที่ชื่นชมกับผู้ที่พบเห็นโดยทัว่ ไป ใช้ หลักการบริ หารงานแบบมีสว่ นร่วม มีโครงสร้ างการบริ หารงานที่ชดั เจน ให้ โอกาสผู้เกี่ยวข้ องได้ เลือกตัดสินใจ เป็ นผู้ริเริ่ มให้ การสนับสนุนการจัดทําโครงการที่สง่ เสริมความเป็ นเลิศทางด้ านวิชาการ จัดให้ บคุ ลากรได้ รับการอบรมสัมมนา ดูงาน และศึกษา ต่อ เพื่อนําความรู้ และประสบการณ์มาเป็ นแนวทางในการจัดการศึกษาให้ มีประสิทธิภาพ จัดสวัสดิการสร้ างขวัญและกําลังใจ ให้ กบั บุคลากร เพื่อการปฏิบตั ิหน้ าที่ด้วยความรัก ความเสียสละต่อวิชาชีพ และมุง่ พัฒนาผู้เรี ยนเป็ นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ ต่อไป นอกจากนี ้ยังส่งเสริ มและสนับสนุนในการดําเนินงาน/โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ได้ แก่ การเข้ าร่วมวจนพิธีกรรมเปิ ดปี การศึกษา พิธีมิสซาในโอกาสต่าง ๆ เช่นวันศุกร์ ต้นเดือน พิธีฉลองวัดนักบุญเปาโล กลับใจ บ้ านนา นอกจากนี ้ยังส่งเสริ มและ สนับสนุนการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับพิธีกรรมสําคัญทางพุทธศาสนาให้ ผ้ เู รี ยนและบุคลากรซึง่ ส่วนใหญ่เคารพนับถือ ส่งเสริ มให้ จดั กิจกรรม อบรมคุณธรรม จริ ยธรรมแก่ครู และบุคลากรที่นับถือพุทธศาสนา เป็ นประจําทุกปี และจัดกิจกรรมการฟื น้ ฟูจิตใจครู คาทอลิก ประจําทุกปี มอบทุนการศึกษา ให้ กบั ผู้เรี ยนเป็ นประจําทุกปี ดังนี ้ ทุนการศึกษามาลาสวรรค์พิทยา จะมีทนุ ช่วยเหลือ และทุนเรี ยนดี ทุนการศึกษาบุตรบุคลากรต่าง ๆ ที่กําลังศึกษาอยู่ที่โรงเรี ยนมาลาสวรรค์พิทยา พัฒนาสภาพแวดล้ อมและ ทรัพยากรของโรงเรี ยนให้ เอื ้อต่อการเรี ยนรู้แก่ผ้ เู รี ยนอย่างเต็มที่ ได้ แก่ การจัดบรรยากาศรอบบริ เวณโรงเรี ยน ให้ เป็ นแหล่งเรี ยนรู้ ้ ดทํา เพิ่มขึ ้นปรับปรุงสวนในวรรณคดี จัดทํางบประมาณ ผู้อํานวยการเป็ นประธานดําเนินการแต่งตังคณะกรรมการในการจั


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

60

แผนปฏิบตั ิการประจําปี เพื่อให้ เกิดความชัดเจนในการดําเนินงานบริ หารแบบมีส่วนร่ วม โปร่ งใส ตรวจสอบได้ และสามารถ บริ หารงบประมาณได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ และคุ้มค่าเกิดประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิอย่างแท้ จริ ง ซึ่งแผนปฏิบตั ิการประจําปี จะ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาโรงเรี ยนฯ เพื่อให้ เป็ นไปตามวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และบรรลุวตั ถุประสงค์ที่กําหนดไว้ มีผลการ ประเมินเชิงคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลการประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ จุดเด่ นในมาตรฐานนีค้ ือ ผู้บริหารมีวิสยั ทัศน์ ภาวะผู้นําและความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ที่เน้ นการพัฒนาผู้เรี ยนและบุคลากร สรุ ปภาพรวมมาตรฐานที่ 8 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม

มาตรฐานที่ 9

คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบตั งิ านตามบทบาท หน้ าที่ อย่ างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ค่ านํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

9 : คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัตงิ านตามบทบาท หน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

5.00

4.70

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ที่ 9.1 คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบตั ิหน้ าที่ตามที่ระเบียบกําหนด

2.00

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ที่ 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษากํากับติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการ ดําเนินงานของ สถานศึกษาให้ บรรลุผลสําเร็ จตามเป้าหมาย

1.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ที่ 9.3 ผู้ปกครองและชุมชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนา สถานศึกษา

1.70

2.00

1.70

4

ดีมาก

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 9 สถานศึกษาได้ ดําเนินการสรรหาบุคคลเพื่อเป็ นคณะกรรมการบริ หารโรงเรี ยน โดยมีคําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการ สรรหากรรมการบริ หารโรงเรี ยนตามที่กําหนดในตราสารจัดตั้งนิติบคุ คลโรงเรี ยนข้ อ 11 จํานวน 3 คน และรายงานผล การสรรหากรรมการบริ หารโรงเรี ยนต่อผู้ทําการแทนผู้รับใบอนุญาตเพื่อลงนามในคําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หาร โรงเรี ยน ซึง่ ประกอบด้ วย ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิ มีจํานวน 8 คนซึง่ มีวาระ 2 ปี กําหนดให้ มี การประชุมอย่างน้ อยภาคเรี ยนละ 2 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการบริ หารโรงเรี ยนมี บทบาทหน้ าที่ตามระเบี ยบ กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้ วยคณะกรรมการสถานศึกษา พ.ศ. 2543 เช่น กําหนดเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ นโยบาย และ แผนพัฒนาคุณภาพศึกษาของสถานศึกษา ให้ ความเห็นชอบแผนปฏิบตั ิการประจําปี หลักสูตรสถานศึกษา รายงาน คุณภาพการศึกษาประจําปี ของสถานศึกษา รับรองจํานวนนักเรี ยน ครู เพื่อขอรับเงินอุดหนุนรายบุคคล รับรองงบดุล และงบการเงิน งบประมาณของโรงเรี ยน อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น คณะกรรมการบริ หาร โรงเรี ยนมีการกํากับและส่งเสริ มกิจกรรมของสถานศึกษาให้ มีประสิทธิภาพและมีสว่ นร่ วมในการบริ หารจัดการด้ านต่าง ๆ ของโรงเรี ยน มีการเสริ มสร้ างความสัมพันธ์ ระหว่างสถานศึกษากับชุมชนรอบๆ โรงเรี ยน โดยผ่านกิจกรรม โครงการ ต่าง ๆ เช่น กิจกรรมประชุมผู้ปกครองทุกดับชั้น กิจกรรมแห่เทียน- จํานําพรรษา กีฬาสี วันเด็ก โครงการสืบสานรํ าลึก พระคุณ (วันพ่อ วันแม่ ) โครงการสัมพันธ์รักมาลา เป็ นต้ น นอกจากนี ้มีการส่งเสริ มและสนับสนุนให้ เด็กทุกคนได้ เข้ ารับ การศึกษาขั้นพื ้นฐานอย่างทัว่ ถึงมีคณ ุ ภาพและได้ มาตรฐาน โดย โรงเรี ยนดูแลจัดรถรับ-ส่งนักเรี ยนให้ ได้ รับความสะดวก ปลอดภัยในการเดินทางมาศึกษาที่โรงเรี ยน จัดหาทุนการศึกษาและสิ่งจําเป็ นแก่ผ้ เู รี ยนที่ขาดแคลน ตามโครงการดูแล ช่วยเหลือนักเรี ยน เข้ าร่วมโครงการกู้ยืมกองทุนเงินให้ ก้ ยู ืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) สําหรับนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ มีรายได้ ครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี เพื่อแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง ในเรื่ อง ค่าครอง


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

61

ชี พ ค่า เล่า เรี ย น และค่า ใช้ จ่ า ยที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ การศึก ษา พร้ อมทัง้ ดูแ ลเด็ ก พิ ก าร เด็ก ด้ อ ยโอกาส และเด็ก ที่ มี ความสามารถพิเศษ รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ ทําให้ มีผลการประเมินมาตรฐานนี ้ที่ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม มีจุดเด่ นในมาตรฐานนีค้ ือ มีคณะกรรมการรบริ หารโรงเรี ยนดูแล กํากับ ติดตามส่งเสริ มการดําเนินงานของ โรงเรี ยนให้ บรรลุผลสําเร็ จตามแผนที่กําหนดไว้ สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 9 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม

มาตรฐานที่ 10

สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรี ยนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรี ยนอย่ างรอบด้ าน

มาตรฐาน

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

10.00

9.40

5

ดีเยี่ยม

1.70

2.00

1.70

4

ดีมาก

1.70

2.00

1.70

4

ดีมาก

1.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

1.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

10 : สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรี ยนรู้ และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรี ยนอย่ างรอบด้ าน ตัวบ่งชี ้ 10.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้ องกับท้ องถิ่น ตัวบ่งชี ้ 10.2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ ผ้ เู รียนเลือกเรี ยนตาม ความถนัด ความสามารถ และความสนใจ ตัวบ่งชี ้ 10.3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนที่สง่ เสริ มและตอบสนองความต้ องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรี ยน ตัวบ่งชี ้ 10.4 สนับสนุนให้ ครูจดั กระบวนการเรี ยนรู้ที่ให้ ผ้ เู รี ยนได้ ลง มือปฏิบตั ิจริ งจน สรุปความรู้ได้ ด้วยตนเอง ตัวบ่งชี ้ 10.5 นิเทศภายใน กํากับ ติดตามตรวจสอบ และนําผลไปปรับปรุงการเรี ยนการ สอนอย่างสมํ่าเสมอ ตัวบ่งชี ้ 10.6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรี ยนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม ผู้เรี ยนทุกคน

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรที่สอดคล้ องกับปรัชญา วิสยั ทัศน์ และ เป้าหมายของโรงเรี ยน ตามแนวพัฒนา คุณภาพการศึกษาพ.ศ. 2554–2556 มีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา และนําผลประเมินมาใช้ ในการพัฒนาหลักสูตร มีการส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนได้ ไปแหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้ องถิ่น จัดรายวิชา และกิจกรรมเพิ่มเติม ที่สง่ เสริ มผู้เรี ยนตาม ความถนัด ความสามารถ และความสนใจของผู้เรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมจริ ยศึกษา กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร และกิจกรรมชุมนุมต่าง ๆ นอกจากนี ้สถานศึกษายังสนับสนุนให้ ครูจดั กระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ กิจกรรมที่เน้ นทักษะด้ านการคิด ตลอดจนเปิ ดโอกาสให้ นกั เรี ยนได้ ปฏิบตั จิ ริ งอย่างเป็ นระบบ เช่น การจัดกิจกรรมค่ายวิชาการ 8 กลุม่ สาระ การจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ การจัดทัศน ศึกษา และเพื่อให้ แผนงานเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ทางฝ่ ายวิชาการได้ มีการประเมินติดตามผลโดยการจัดนิเทศการ สอน และให้ หวั หน้ ากลุม่ สาระ เพื่อนครูเป็นผู้ร่วมนิเทศด้ วยอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งมีการจัดการอบรมให้ ความรู้ครูเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการใฝ่ ความรู้สสู่ ร้ างสรรค์ ทั้งนี ้เพื่อการพัฒนาการ จัดการเรี ยนการสอนของครู


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

62

สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรี ยนอย่างมีประสิทธิภาพ และครอบคลุมผู้เรี ยนทุกคนโดยกําหนด แผนปฏิบตั งิ านแนะแนว และจัดให้ มีโครงการช่วยเหลือแก้ ไขใส่ใจด้ วยรัก โครงการทุนการศึกษามาลาสวรรค์พิทยา ทําให้ มีผลการประเมินมาตรฐานนี ้ที่ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลการประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ จุดเด่ นในมาตรฐานนีค้ ือ หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้ องกับความต้ องการของท้ องถิ่น สรุ ปภาพรวมมาตรฐานที่ 10 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม

มาตรฐานที่ 11

สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนพัฒนาเต็ม ศักยภาพ

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้ 11 : สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อม และการบริการที่ส่งเสริมให้ ผ้ ูเรี ยนพัฒนาเต็มศักยภาพ ตัวบ่งชี ้ 11.1 ห้ องเรี ยน ห้ องปฏิบตั ิการ อาคารเรี ยน มัน่ คง สะอาด และปลอดภัย มีสิ่งอํานวย ความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพใช้ การได้ ดีสภาพแวดล้ อมร่ มรื่ น และมีแหล่ง 4.00 เรี ยนรู้สําหรับผู้เรี ยน ตัวบ่งชี ้ 11.2 จัดโครงการ/กิจกรรมที่สง่ เสริ มสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรี ยน 3.00 ตัวบ่งชี ้ 11.3 จัดห้ องสมุดที่ให้ บริ การสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื ้อให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ 3.00 ด้ วยตนเองและหรื อเรี ยนรู้แบบมีสว่ นร่วม

มาตรฐาน

ค่ า นํา้ หนัก 10.00

คะแนน ที่ได้ 10.00

เทียบระดับ คุณภาพ

5

ความ หมาย ดีเยี่ยม

4.00

4.00

5

ดีเยี่ยม

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 11 สถานศึกษาได้ จดั สภาพแวดล้ อมให้ เกิดความร่ มรื่ นที่สง่ เสริ มให้ ผ้ เู รี ยนและครูใช้ เป็ นแหล่งเรี ยนรู้เช่นสวนหย่อม ด้ านตะวันออกและตะวันตก แปลงเกษตร ลานออกกําลังกายโดยจัดให้ มีเครื่ องเล่นสําหรับให้ นกั เรี ยนได้ ออกกําลังกาย โดยมีการปรับปรุงอาคารสถานที่ และภูมิทศั น์ภายในโรงเรี ยนอย่างต่อเนื่อง เช่น ปลูกต้ นไม้ และปรับปรุงสวนหย่อม ทาสี ตามบริ เวณต่างๆให้ ดสู ดใสน่าอยู่ จัดให้ มีครู ดแู ลนักเรี ยนให้ เกิดความปลอดภัยในช่วงเวลาพักเพื่อป้องกันอันตรายที่ อาจจะเกิดขึ ้นกับนักเรี ยน นอกจากนี ้ยังได้ จดั ให้ มีแหล่งเรี ยนรู้ที่หลากหลายเช่นห้ องสมุด ห้ องโถงชั้น 1 ห้ องปฏิบตั ิการ วิทยาศาสตร์ ห้ องปฏิ บัติการทางภาษา ห้ องคอมพิวเตอร์ ห้ องประชุม ห้ องนาฎศิลป์ ห้ องศาสนสัมพันธ์ ห้ อ ง โภชนาการ ห้ องดนตรี ไทย ห้ องเคมี ห้ องศิลปะ ห้ องดนตรี สกล ห้ องเกษตร เพื่อเป็ นการเพิ่มพูนความรู้ให้ กบั นักเรี ยน จัดให้ นกั เรี ยนได้ ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ จัดกิจกรรมที่สง่ เสริ ม พัฒนาให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับโทษ ของยาเสพติด โดยมีนกั เรี ยนจากโรงเรี ยนเตรี ยมทหารมาจัดกิจกรรมต่อต้ านยาเสพติด และให้ ความรู้ เกี่ยวกับโทษของ ยาเสพติดแก่นกั เรี ยน การรักษาความสะอาดของห้ องเรี ยน มีการจัดแบ่งหน้ าที่นกั เรี ยนได้ มีสว่ นร่ วมในการรักษาความ สะอาดห้ องเรี ยนและแบ่งเขตความสะอาดประจําวันในบริ เวณโรงเรี ยน ได้ เข้ าร่ วมโครงการโรงเรี ยนสะอาด บรรยากาศ ดีกบั เขตพื ้นที่ได้ รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 จัดให้ มีการตรวจสุขภาพให้ กบั นักเรี ยนโดยมีเจ้ าหน้ าที่จากโรงพยาบาล บ้ านนามาทําการตรวจรักษา การเคลือบฟลูออไลด์จากเจ้ าหน้ าที่โรงพยาบาลราษฎร์ บูรณะ มีการวางแผน การซ่อม บํารุ งอาคารสถานที่อย่างเป็ นขั้นตอนพร้ อมให้ ใช้ งานได้ อยู่เสมอ เช่นการซ่อมบํารุ งไฟฟ้า พัดลม ประตูหน้ าต่างบาน


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

63

เกล็ด และเครื่ องปรั บอากาศ นอกจากนี ย้ ังจัดให้ มี การรณรงค์รักการอ่าน จัดห้ องสมุดที่ ให้ บริ การสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศที่เอื ้อให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ ด้วยตนเองจากการค้ นคว้ าและสืบค้ นข้ อมูลจากอินเตอร์ เน็ต พัฒนาห้ องคอมพิวเตอร์ ให้ เป็ นแหล่งเรี ยนรู้ ให้ นกั เรี ยนเข้ าไปศึกษาค้ นคว้ าหาความรู้ นับเป็ นการส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ ทําให้ มีผลการประเมินมาตรฐานนี ้ที่ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลการประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ มีจุดเด่ นในมาตรฐานนี ้ คือ ห้ องเรี ยน ห้ องปฏิบตั กิ าร อาคารเรี ยนมัน่ คงแข็งแรง สะอาด ปลอดภัยและบรรยากาศร่มรื่ น สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 11 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม

มาตรฐานที่ 12

สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาํ หนด ในกฎกระทรวง

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

12 : สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ตัวบ่งชี ้ 12.1 กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.00 ตัวบ่งชี ้ 12.2 จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มงุ่ 1.00 คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ 12.3 จัดระบบข้ อมูลสารสนเทศ และใช้ สารสนเทศในการบริ หารจัดการเพื่อพัฒนา 1.00 คุณภาพสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ 12.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ 0.43 สถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ 12.5 นําผลการประเมินคุณภาพทังภายในและภายนอกไปใช้ ้ วางแผนพัฒนา 0.43 คุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี ้ 12.6 จัดทํารายงานประจําปี ที่เป็ นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน 1.00

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

5.00 1.00

4.86 1.00

5 5

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

0.50

0.43

4

ดีมาก

0.50

0.43

4

ดีมาก

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 12 สถานศึกษาได้ กําหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2554 – 2556 แผนปฏิบตั กิ ารประจําปี การศึกษา 2554 และจากการศึกษารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2553 สถานศึกษากําหนดโครงสร้ างการ บริ หารงานด้ านวิชาการที่มีการกําหนดงานด้ านการประเมินคุณภาพการศึกษา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ประเมินคุณภาพการศึกษา และกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา รวมทั้งได้ จดั ระบบการบริ หารงาน เพื่อให้ การดําเนินงานเป็ นไปตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการกําหนดโครงการส่งเสริ มการประกันคุณภาพการศึกษา และประชุม ทํ า ความเข้ า ใจระบบงานมาตรฐาน มี ก ารแบ่ง มาตรฐานและตัว บ่ง ชี ใ้ ห้ กับ บุค ลากรทุก คนได้ ร่ ว มกัน รับผิดชอบ มีการตรวจสอบคุณภาพภายใน และส่งเสริ มให้ บุคลากรได้ เข้ าร่ วมรับการอบรมกับฝ่ ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เสมอมา การดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา มีการประเมินคุณภาพภายในโดยมีการ จัดทํารายงานการประเมินตนเอง เป็ นการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในรอบปี ของโรงเรี ยนให้ กบั หน่วยงานต้ นสังกัด หรื อ บุคคลที่เกี่ ยวข้ อง และสามารถนําข้ อมูลที่ได้ มาปรั บปรุ งพัฒนาโรงเรี ยนในปี ต่อๆ ไป ต้ นสังกัดได้ เข้ ามาตรวจสอบ


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

64

คุณ ภาพของการจัด การศึก ษาของสถานศึก ษารวมทั้ง ให้ ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ พัฒ นาสถานศึก ษาอย่า งต่อ เนื่ อ ง การ ดําเนินงานมีการกํ าหนดแผนงาน มีการประเมินผล และนําผลการประเมินมาพัฒนาปรั บปรุ ง โดยมีผ้ ูรับใบอนุญาต คณะกรรมการบริ หารโรงเรี ยน ผู้บริ หาร ครู ผู้ปกครอง ชุมชน เข้ ามามีส่วนร่ วมในการดําเนินงาน ผู้เข้ าร่ วมโครงการมี ความพึงพอใจในการดําเนินงานของสถานศึกษาในการประเมินคุณภาพภายในแต่ละปี สูงขึ ้น ทําให้ สถานศึกษามีผล การประเมินอยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม มีจุดเด่ นในมาตรฐานนี ้ คือ มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 12 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม

มาตรฐานด้ านการสร้ างสังคมแห่ งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้ าง ส่ งเสริม สนับสนุน ให้ สถานศึกษาเป็ นสังคมแห่ งการเรี ยนรู้ ร้ อยละ/ ระดับที่ได้ 13. สถานศึกษามีการสร้ าง ส่ งเสริม สนับสนุน ให้ สถานศึกษาเป็ นสังคมแห่ งการเรี ยนรู้ ตัวบ่งชี ้ 13.1 มีการสร้ างและพัฒนาแหล่งเรี ยนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ ประโยชน์จาก แหล่งเรี ยนรู้ ทังภายในและภายนอกสถานศึ ้ กษาเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ของ 5.00 ผู้เรี ยนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมทัง้ ผู้ที่เกี่ยวข้ อง ตัวบ่งชี ้ 13.2 มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่าง 5.00 สถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้ อง

มาตรฐาน

ค่ า นํา้ หนัก 10.00

คะแนน ที่ได้ 10.00

เทียบระดับ คุณภาพ 5

ความ หมาย ดีเยี่ยม

5.00

5.00

5

ดีเยี่ยม

5.00

5.00

5

ดีเยี่ยม

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน ให้ มีความรู้ความสามารถ คิดเป็ น ทําเป็ น แก้ ปัญหาได้ และปลูกฝั งให้ นกั เรี ยนมีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรม เพื่อให้ นกั เรี ยนเป็ นคนดี สามารถดํารงชีวติ อยูใ่ นสังคมได้ อย่างมีความสุข โดยเน้ นการมีสว่ นร่วมในการสนับสนุนการใช้ แหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาในท้ องถิ่น มีการแลกเปลี่ยน เรี ยนรู้ข้อมูลกับชุมชนและบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้ านต่าง ๆ ซึง่ ทางโรงเรี ยนได้ จดั ทําโครงการและ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ ครูและนักเรี ยนได้ ศกึ ษาหาความรู้จากแหล่งเรี ยนรู้ภายในและภายนอกโรงเรี ยนได้ อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพโดยนําภูมิปัญญาท้ องถิ่น ผู้ปกครอง ครู นักเรี ยน ชุมชน และหน่วยงานภายนอกเข้ ามาแบ่งปั น ความรู้ให้ กบั นักเรี ยน เพื่อให้ นกั เรี ยนได้ รับประสบการณ์ตรง สามารถนําความรู้มาประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวัน โดยมี การจัดทําแหล่งเรี ยนรู้เพื่อให้ นกั เรี ยนได้ ศกึ ษาค้ นคว้ า หาความรู้จากแหล่งเรี ยนรู้นั้น ๆ มีการจัดกิจกรรมศึกษาแหล่ง เรี ยนรู้นอกสถานที่ เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จัดทําโครงการ คิดเป็ น ทําเป็ น แก้ ปัญหา ได้ เป็ นกิจกรรมการเข้ าค่ายลูกเสือ – เนตรนารี ทัศนศึกษานอกสถานที่ ที่เน้ นให้ นกั เรี ยนได้ เรี ยนรู้จากการปฏิบตั จิ ริง และเรี ยนรู้การทํางานร่วมกับผู้อื่น มีโครงการมาลาสื่อสาร เพื่อสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างโรงเรี ยน ผู้ปกครอง และชุมชน และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ของโรงเรี ยนกับบุคลากรในโรงเรี ยน ผู้ปกครอง และชุมชนได้ รับทราบ อย่างสมํ่าเสมอ มีการเข้ าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนเช่น งานวันพ่อแห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ วันลอยกระทง การ


รายงานกการพัฒนาคุณภาพการศึ ภ กษา ปี การศึกษา 2554

6 65

แห่เทียนจจํานําพรรษาไปปถวายวัดต่าง ๆ และนํ านักเรี ยนวงโยยธวาทิตของโรรงเรี ยนไปแสดดงตามหน่วยงานต่าง ๆ ที่ขอ ข ความอนุเคราะห์มา โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรี ยนได้ จดั ทําเพื่อพัฒนาศั ฒ กยภาพพของผู้เรี ยนแลละสอดคล้ องกักับ มาตรฐานน ดังนี ้ 5 โครงการคิดเป็ป็ นทําเป็ นแก้ ปปั​ั ญหาได้ (กิจกรรรมทัศนศึกษานอกสสถานที่+กิจกรรมการรเข้ าค่ายพักแรมลูกเสืสือ – เนตรนารี) 5 โครงการอ่านดีมี ีสขุ อ่านสนนุกมีอนาคต 5 โครงการมาลาสื่อสาร 5 โครงการปรับปรุงและพัฒนนาห้ องคอมพิวเตอร์ ว กิจกรรมศึกษาแหล่งเรีรี ยนรู้นอกสถานที่ 5 กิจกรรมสัปดาาห์ห้องสมุด 5 กิจกรรมตลาดดนัดอาชีพ เป็ นต้ น กิจกรรมและโโครงการดังกล่ล่าวที่จดั ทําขึน้น ส่งผลให้ การรประเมินมาตรฐานนี ้อยูใ่ นรระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม แลละ ณ ดังนี ้ มีผลการปประเมินเชิงคุณภาพ จุดเด่ นใในมาตรฐานนีนีค้ ือ มีการจัดสร้ างงและพัฒนาแหหล่งเรี ยนรู้ในสสถานศึกษาพร้ร้ อมนํานักเรี ยนไปศึกษา แหล่งเรี ยนรู้นนอกสถานที่อย่ยางสมํ่าเสมอ พรวมมาตรฐาานที่ 13 มีคุคณภาพระดับ ดีเยี่ยม สรุ ปภาพ


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

66

มาตรฐานด้ านอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้ บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรั ชญาและจุดเน้ นที่กาํ หนดขึน้ ร้ อยละ/ ระดับที่ได้ 14 : การพัฒนาสถานศึกษาให้ บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรั ชญาและจุดเน้ นที่กาํ หนดขึน้

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบระดับ คุณภาพ

5.00

4.85

5

ความ หมาย ดีเยี่ยม

3.00

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม

1.85

2.00

1.85

5

ดีเยี่ยม

มาตรฐาน

ตัวบ่งชี ้ 14.1 จัดโครงการ กิจกรรมที่สง่ เสริมให้ ผ้ เู รี ยนบรรลุตามเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้ นของสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ 14.2 ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนบรรลุตามเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้ นของสถานศึกษา

ปั จจัยสนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 14 โรงเรี ยนมาลาสวรรค์พิทยาเป็ นโรงเรี ยนคาทอลิก มีจดุ ประสงค์ของการก่อตั้งสถานศึกษาก็เพื่อให้ บตุ รหลาน ของผู้ที่นบั ถือศาสนาคาทอลิกได้ เรี ยนคําสอนทางด้ านศาสนาและเรี ยนวิชาสามัญควบคูก่ นั ไป อีกทั้งต้ องการสร้ าง ความสัมพันธ์ที่ดีกบั ชุมชนต่างศาสนาที่ประสงค์จะส่งบุตรหลานเข้ ามาศึกษาหาความรู้ ดังนั้นภาพที่ชมุ ชนส่วนใหญ่ มองโรงเรี ยนมาลาสวรรค์พิทยาคือ โรงเรี ยนคริ สต์ที่นบั ถือองค์พระผู้เป็ นเจ้ า ซึง่ แสดงให้ เห็นถึงอัตลักษณ์ของโรงเรี ยน ได้ อย่างเด่นชัดคือ ความเป็ นคาทอลิกที่มีองค์พระผู้เป็นเจ้ าเป็ นองค์แห่งความรักและยึดมัน่ ในคําสอนที่เป็ นหัวใจของ ศาสนาคือ “รั กพระผู้เป็ นเจ้ าสิน้ สุดจิตใจ และรั กเพื่อนมนุษย์ เหมือนรั กตัวเอง” ดังนั้นโรงเรี ยนมาลาสวรรค์ พิทยาจึงใช้ อตั ลักษณ์ความเป็นคาทอลิก คือจิตตารมณ์ความรักเป็นพื ้นฐานเป็ นจุดเน้ นของการจัดการศึกษาของ โรงเรี ยน เพราะความรักก่อให้ เกิดคุณธรรม คุณธรรมก่อให้ เกิดสันติสขุ ในการอยูร่ ่วมกันของคนในสังคม และเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายตามวิสยั ทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้ นของโรงเรี ยน ในปี การศึกษา 2554 จึงได้ จดั ทํา โครงการธนาคาร คุณธรรม โครงการจิตอาสา โครงการรั กเมืองไทย โครงการอ่ านเข้ มแข็ง โครงการร่ วมด้ วยช่ วยกันลดขยะ มลพิษในโรงเรี ยน โครงการวิชาการเข้ มแข็ง โครงการเติมรั กให้ น้อง เพื่อส่งเสริ มสนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนบรรลุ เป้าหมาย วิสยั ทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้ นของโรงเรี ยนเพิ่มมากขึ ้น นอกจากนี ้ยังมีกิจกรรม / งาน ที่ช่วยสนับสนุนอีก


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

67

มากมาย ซึง่ โครงการดังกล่าว นักเรี ยนเข้ าร่วมเกินกว่าร้ อยละ 90 ส่วนการดําเนินงานมีการประชุมวางแผนการ ดําเนินงาน กํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง ผู้เรี ยนและบุคลากรมีความพึงพอใจเฉลี่ยคิด เป็ นกว่าร้ อยละ 90 การพัฒนาจากการจัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ดังกล่าวนี ้ เป็ นผลทําให้ การพัฒนาสถานศึกษา บรรลุเป้าหมายตามวิสยั ทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้ นของโรงเรี ยน มีระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลการประเมินเชิง คุณภาพ ดังนี ้ จุดเด่ นในมาตรฐานนีค้ ือ ผู้เรี ยนมีคณ ุ ธรรม มีจิตสาธารณะ ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน รักการอ่าน สรุ ปภาพรวมมาตรฐานที่ 14 มีคุณภาพระดับ ดีเยี่ยม

มาตรฐานด้ านมาตรการส่ งเสริม มาตรฐานที่ 15

การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้ น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ พัฒนาและ ส่ งเสริมสถานศึกษาให้ ยกระดับคุณภาพสูงขึน้

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

15 : การจัดกิจกรรมตามแนวนโยบาย จุดเน้ น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและ ส่ งเสริมสถานศึกษาให้ ยกระดับคุณภาพสูงขึน้ ตัวบ่งชี ้ 15.1 จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้ น 3.00 ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา ตัวบ่งชี ้ 15.2 ผลการดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย 1.85

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

5.00

4.85

5

ดีเยี่ยม

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

1.85

5

ดีเยี่ยม

ปั จจัยที่สนับสนุนผลการประเมินมาตรฐานที่ 15 สถานศึกษาได้ กําหนดวิสยั ทัศน์ของโรงเรี ยน พ.ศ. 2554-2556 แผนปฏิบตั งิ านประจําปี ได้ มีการกําหนด จุดเน้ นมุ่งส่ งเสริมให้ ผ้ ูเรี ยนมีคุณธรรม มีจติ สาธารณะ รั กและรั บใช้ นําปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ ใช้ ในการดําเนินชีวติ ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน รั กการอ่ าน ซึง่ เป็ นการจัดโครงการพิเศษ เพื่อตอบสนองนโยบาย แนวทางการปฏิรูปสถานศึกษาที่จะเป็ นการส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยน มีจิตสาธารณะในการช่วยเหลือ เอื ้ออาทรและแบ่งปั น ให้ กบั เพื่อนพี่น้องที่ด้อยโอกาส โดยมีโครงการจิตอาสาเพื่อเป็ นการปลูกฝั งคุณธรรม จริ ยธรรม ปลูกจิตสํานึกในด้ าน เมตตา รักและรับใช้ อันเกิดประโยชน์ตอ่ สาธารณชน ผลการดําเนินงานโครงการจิตอาสา คิดเป็ นร้ อยละ 94.38 และมีนกั เรี ยนเข้ าร่วมโครงการเฉลี่ยร้ อยละ 85 ส่วนการดําเนินงานมีการประชุมวางแผนโดยใช้ กระบวนการ PDCA ติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ การประเมินมาตรฐานนี ้อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม และมีผลการประเมินเชิงคุณภาพ ดังนี ้ มีจุดเด่ นในมาตรฐานนี ้ คือ มีโครงการตามนโยบาย จุดเน้ น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา สรุ ปภาพรวมของมาตรฐานที่ 15 มีระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

ส่ วนที่ 4 สรุ ปผลการประเมินและทิศทาง การพัฒนาในอนาคต

68


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

69

ส่ วนที่ 4 สรุ ปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนาในอนาคต ในการประเมินคุณภาพภายในของโรงเรี ยน มี เป็ นการประเมินมาตรฐาน 5 ด้ าน คือ มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรี ยน มาตรฐานด้ านการจัดการศึกษา มาตรฐานด้ านการสร้ างสังคมแห่งการเรี ยนรู้ มาตรฐานด้ านอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา มาตรฐานด้ านมาตรการส่งเสริ ม ซึง่ สรุปผลตามมาตรฐานเป็ นตารางต่อไปนี ้ ตารางการให้ คะแนนและสรุ ปผลการประเมิน มาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ระดับที่ ได้

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

30.00 5.00

27.88 4.79

5 5

ดีเยี่ยม

96.85

0.50

0.48

5

ดีเยี่ยม

97.81

0.50

0.48

5

ดีเยี่ยม

97.26

1.00

0.97

5

ดีเยี่ยม

95.00

1.00

0.95

5

ดีเยี่ยม

98.00

1.00

0.98

5

ดีเยี่ยม

91.91

1.00

0.91

5

ดีเยี่ยม

5.00

4.67

5

ดีเยี่ยม

2.00

1.90

5

ดีเยี่ยม

ด้ านคุณภาพผู้เรี ยน 1. ผู้เรี ยนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี ้ 1.1 มีสขุ นิสยั ในการดูแลสุขภาพ และออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ตัวบ่งชี ้ 1.2 มีนํ ้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ มาตรฐาน ตัวบ่งชี ้ 1.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้ โทษและหลีกเลีย่ งตนเองจาก สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบตั ิเหตุ และ ปั ญหา ทางเพศ

ตัวบ่งชี ้ 1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมัน่ ใจ กล้ าแสดงออกอย่าง เหมาะสม ตัวบ่งชี ้ 1.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้ เกียรติผ้ อู ื่น ตัวบ่งชี ้ 1.6 สร้ างผลงานจากเข้ าร่วมกิจกรรมด้ านศิลปะ ดนตรี / นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ

2. ผู้เรี ยนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมที่พงึ ประสงค์ ตัวบ่งชี ้ 2.1 มีคณ ุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามหลักสูตร

95.12

ความ หมาย ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ตัวบ่งชี ้ 2.2 เอื ้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีตอ่ ผู้มีพระคุณ ตัวบ่งชี ้ 2.3 ยอมรับความคิดเห็นและวัฒนธรรมที่แตกต่าง ตัวบ่งชี ้ 2.4 ตระหนัก รู้คณ ุ ค่า ร่วมอนุรักษ์ และพัฒนาสิง่ แวดล้ อม

92.68

1.00

0.92

5

ดีเยี่ยม

91.49

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

91.70

1.00

0.91

5

ดีเยี่ยม

5.00

4.88

5

ดีเยี่ยม

98.06

2.00

1.96

5

ดีเยี่ยม

96.43

1.00

0.96

5

ดีเยี่ยม

97.50

1.00

0.98

5

ดีเยี่ยม

97.87

1.00

0.98

5

ดีเยี่ยม

3. ผู้เรี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรี ยนรู้ และ พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง ตัวบ่งชี ้ 3.1 มีนิสยั รักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก ห้ องสมุด แหล่งเรี ยนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว ตัวบ่งชี ้ 3.2 มีทกั ษะในการอ่าน ฟั ง ดู พูด เขียน และตังคํ ้ าถามเพื่อ ค้ นคว้ าหาความรู้เพิ่มเติม ตัวบ่งชี ้ 3.3 เรี ยนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการ เรี ยนรู้ระหว่างกัน ตัวบ่งชี ้ 3.4 ใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้และนําเสนอผลงาน

มาตรฐาน

70

ร้ อยละ/ ระดับที่ได้

4. เรี ยนมีความสามารถในการคิดอย่ างเป็ นระบบ คิดสร้ างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ ปัญหาได้ อย่ างมีสติสมเหตุผล ตัวบ่งชี ้ 4.1 สรุปความคิดจากเรื่ องที่อา่ น ฟั ง และดู และสื่อสารโดย 95.54 การพูดหรื อเขียนตามความคิดของตนเอง ตัวบ่งชี ้ 4.2 นําเสนอวิธีคิด วิธีแก้ ปัญหาด้ วยภาษาหรื อวิธีการของตนเอง 95.06 ตัวบ่งชี ้ 4.3 กําหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ ปัญหาโดยมี 93.58 เหตุผลประกอบ ตัวบ่งชี ้ 4.4 มีความคิดริเริ่ ม และสร้ างสรรค์ผลงานด้ วยความภาคภูมิใจ 90.83 5. ผู้เรี ยนมีความรู้ และทักษะที่จาํ เป็ นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี ้ 5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนแต่ละกลุม่ สาระเป็ นไปตามเกณฑ์ 72.98 ตัวบ่งชี ้ 5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรเป็ นไปตามเกณฑ์ 96.41 ตัวบ่งชี ้ 5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็ นไปตามเกณฑ์ 96.23 ตัวบ่งชี ้ 5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็ นไปตามเกณฑ์ 49.82 6. ผู้เรี ยนมีทักษะในการทํางาน รั กการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อ่ ืนได้ และ มีเจตคติท่ ดี ีต่ออาชีพสุจริต ตัวบ่งชี ้ 6.1 วางแผนการทํางานและดําเนินการจนสําเร็จ 94.92 ตัวบ่งชี ้ 6.2 ทํางานอย่างมีความสุข มุง่ มัน่ พัฒนางาน และภูมิใจในผลงาน 96.20 ของตนเอง ตัวบ่งชี ้ 6.3 ทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ 94.46 ตัวบ่งชี ้ 6.4 มีความรู้สกึ ที่ดีตอ่ อาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพ 91.70 ที่ตนเองสนใจ ด้ านการจัดการศึกษา

ค่ า นํา้ หนัก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

5.00

4.70

5

ดีเยี่ยม

2.00

1.91

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.95

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

1.00 5.00 1.00 1.00 2.00 1.00

0.91 4.12 0.74 0.96 1.92 0.50

5 4 3 5 5 2

ดีเยี่ยม

5.00

4.72

5

ดีเยี่ยม

2.00

1.90

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.96

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.92

5

ดีเยี่ยม

50.00

48.44

5

ดีเยี่ยม

ดีมาก ดี ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม พอใช้


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 7. ครู ปฏิบัตงิ านตามหน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตัวบ่งชี ้ที่ 7.1 ครูมีการกําหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรี ยนทังด้ ้ านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตัวบ่งชี ้ที่ 7.2 ครูมีการวิเคราะห์ผ้ เู รี ยนเป็ นรายบุคคล และใช้ ข้อมูลใน การวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของ ผู้เรี ยน ตัวบ่งชี ้ที่ 7.3 ครูออกแบบและจัดการเรี ยนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคลและ พัฒนาการทางสติปัญญา

มาตรฐาน

71

10.00

9.54

5

ดีเยี่ยม

95.24

1.00

0.95

5

ดีเยี่ยม

94.05

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

95.24

2.00

1.90

4

ดีมาก

ร้ อยละ/ ค่ า ระดับที่ได้ นํา้ หนัก

ตัวบ่งชี ้ที่ 7.4 ครูใช้ สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนําบริบทและ 92.86 ภูมิปัญญาของท้ องถิ่นมา บูรณาการในการจัดการเรี ยนรู้ ตัวบ่งชี ้ที่ 7.5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มงุ่ เน้ นการพัฒนาการเรี ยนรู้ 96.43 ของผู้เรี ยน ด้ วยวิธีการที่หลากหลาย ตัวบ่งชี ้ที่ 7.6 ครูให้ คําแนะนํา คําปรึกษา และแก้ ไขปั ญหาให้ แก่ผ้ เู รี ยน 92.86 ทังด้ ้ านการเรี ยนและคุณภาพ ชีวิตด้ วยความเสมอภาค ตัวบ่งชี ้ที่ 7.7 ครูมีการศึกษา วิจยั และพัฒนาการจัดการเรี ยนรู้ในวิชาที่ 94.09 ตนรับผิดชอบ และใช้ ผลในการ ปรับการสอน ตัวบ่งชี ้ที่ 7.8 ครูประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและเป็ นสมาชิก 100.00 ที่ดีของสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ที่ 7.9 ครูจดั การเรี ยนการสอนตามวิชาที่ได้ รับมอบหมายเต็ม 98.81 เวลา เต็มความสามารถ 8. ผู้บริหารปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตัวบ่งชี ้ที่ 8.1 ผู้บริหารมีวิสยั ทัศน์ ภาวะผู้นํา และความคิดริเริ่มที่เน้ น 1.00 การพัฒนาผู้เรี ยน ตัวบ่งชี ้ที่ 8.2 ผู้บริหารใช้ หลักการบริหารแบบมีสว่ นร่วมและใช้ ข้อมูล 2.00 ผลการประเมินหรื อผลการวิจยั เป็ นฐานคิดทังด้ ้ าน วิชาการและการจัดการ ตัวบ่งชี ้ที่ 8.3 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้ บรรลุ 2.00 เป้าหมายตามที่กําหนดไว้ ใน แผนปฏิบตั ิการ ตัวบ่งชี ้ที่ 8.4 ผู้บริ หารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ พร้ อมรับ 2.00

คะแนน ที่ได้

เทียบ ความ ระดับ หมาย คุณภาพ

1.00

0.93

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.96

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.93

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.94

5

ดีเยี่ยม

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

1.00

0.99

5

ดีเยี่ยม

10.00

10.00

5

ดีเยี่ยม

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 การกระจายอํานาจ ตัวบ่งชี ้ที่ 8.5 นักเรี ยน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหาร 1.00 การจัดการศึกษา ตัวบ่งชี ้ที่ 8.6 ผู้บริ หารให้ คําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจ 2.00 ใส่การจัดการศึกษาเต็ม ศักยภาพและเต็มเวลา 9. คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัตงิ านตามบทบาท หน้ าที่อย่ างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

72

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีมาก

5.00

4.70

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ที่ 9.1 คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบตั ิหน้ าที่ตามที่ระเบียบกําหนด

2.00

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ที่ 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษากํากับติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการ ดําเนินงานของ สถานศึกษาให้ บรรลุผลสําเร็จตามเป้าหมาย

1.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ที่ 9.3 ผู้ปกครองและชุมชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนา สถานศึกษา

1.70

2.00

1.70

4

ดีมาก

คะแนน ที่ได้

เทียบ ระดับ คุณภาพ

ความ หมาย

10.00

9.40

5

ดีเยี่ยม

2.00

1.70

4

ดีมาก

2.00

1.70

4

ดีมาก

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

2.00

5

ดีเยี่ยม

10.00

10.00

5

ดีเยี่ยม

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ค่ า ระดับที่ได้ นํา้ หนัก

10. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรี ยนรู้ และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรี ยนอย่ างรอบด้ าน ตัวบ่งชี ้ 10.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้ องกับท้ องถิ่น 1.70 ตัวบ่งชี ้ 10.2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ ผ้ เู รี ยนเลือกเรี ยนตาม 1.70 ความถนัด ความสามารถ และความสนใจ ตัวบ่งชี ้ 10.3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนที่สง่ เสริ มและตอบสนองความต้ องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรี ยน

1.00

ตัวบ่งชี ้ 10.4 สนับสนุนให้ ครูจดั กระบวนการเรี ยนรู้ที่ให้ ผ้ เู รี ยนได้ ลง 1.00 มือปฏิบตั ิจริงจนสรุปความรู้ได้ ด้วยตนเอง ตัวบ่งชี ้ 10.5 นิเทศภายใน กํากับ ติดตามตรวจสอบ และนําผลไป 2.00 ปรับปรุงการเรี ยนการสอนอย่างสมํ่าเสมอ ตัวบ่งชี ้ 10.6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรี ยนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม 2.00 ผู้เรี ยนทุกคน 11. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อม และการบริการที่ส่งเสริมให้ ผ้ ูเรี ยนพัฒนา เต็มศักยภาพ ตัวบ่งชี ้ 11.1 ห้ องเรียน ห้ องปฏิบตั กิ าร อาคารเรี ยน มัน่ คง สะอาด และปลอดภัย มี สิง่ อํานวยความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพใช้ การได้ ดีสภาพแวดล้ อม ร่มรื่น และมีแหล่งเรี ยนรู้สําหรับผู้เรี ยน

4.00

4.00

4.00

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ 11.2 จัดโครงการ/กิจกรรมที่สง่ เสริ มสุขภาพอนามัยและความ ปลอดภัยของผู้เรี ยน

3.00

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ 11.3 จัดห้ องสมุดที่ให้ บริ การสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื ้อให้ ผ้ เู รี ยน เรี ยนรู้ด้วยตนเองและหรื อเรี ยนรู้แบบมีสว่ นร่วม

3.00

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 12. สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาํ หนดใน กฎกระทรวง ตัวบ่งชี ้ 12.1 กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.00 ตัวบ่งชี ้ 12.2 จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาที่มงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

73

5.00

4.80

5

ดีเยี่ยม

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

1.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

ตัวบ่งชี ้ 12.3 จัดระบบข้ อมูลสารสนเทศ และใช้ สารสนเทศในการบริ หาร จัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ 12.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ 12.5 นําผลการประเมินคุณภาพทังภายในและภายนอกไปใช้ ้ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

1.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

0.43

0.50

0.43

4

ดีมาก

0.43

0.50

0.43

4

ดีมาก

ตัวบ่งชี ้ 12.6 จัดทํารายงานประจําปี ที่เป็ นรายงานการประเมินคุณภาพ ภายใน

1.00

1.00

1.00

5

ดีเยี่ยม

มาตรฐาน

ร้ อยละ/ ค่ า ระดับที่ได้ นํา้ หนัก

ด้ านการสร้ างสังคมแห่ งการเรียนรู้ 13. สถานศึกษามีการสร้ าง ส่ งเสริม สนับสนุน ให้ สถานศึกษาเป็ นสังคม แห่ งการเรียนรู้ ตัวบ่งชี ้ 13.1 มีการสร้ างและพัฒนาแหล่งเรี ยนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ ประโยชน์จากแหล่งเรี ยนรู้ ทังภายในและภายนอก ้ 5.00 สถานศึกษาเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนและบุคลากร ของสถานศึกษา รวมทัง้ ผู้ที่เกี่ยวข้ อง ตัวบ่งชี ้ 13.2 มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่ 5.00 เกี่ยวข้ อง ด้ านอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา 14. การพัฒนาสถานศึกษาให้ บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรั ชญาและจุดเน้ นที่ กําหนดขึน้ ตัวบ่งชี ้ 14.1 จัดโครงการ กิจกรรมที่สง่ เสริมให้ ผ้ เู รี ยนบรรลุตามเป้าหมาย 3.00 วิสยั ทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้ นของสถานศึกษา ตัวบ่งชี ้ 14.2 ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนบรรลุตามเป้าหมาย 1.85 วิสยั ทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้ นของสถานศึกษา ด้ านมาตรการส่ งเสริม 15. การจัดกิจกรรมตามแนวนโยบาย จุดเน้ น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ พัฒนาและส่ งเสริมสถานศึกษาให้ ยกระดับคุณภาพสูงขึน้ ตัวบ่งชี ้ 15.1 จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้ น 3.00 ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา

คะแนน ที่ได้

เทียบ ความ ระดับ หมาย คุณภาพ

10.00

10.00

5

ดีเยี่ยม

10.00

10.00

5

ดีเยี่ยม

5.00

5.00

5

ดีเยี่ยม

5.00

5.00

5

ดีเยี่ยม

5.00

4.85

5

ดีเยี่ยม

5.00

4.85

5

ดีเยี่ยม

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม

2.00

1.85

5

ดีเยี่ยม

5.00

4.85

5

ดีเยี่ยม

5.00

4.85

5

ดีเยี่ยม

3.00

3.00

5

ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ตัวบ่งชี ้ 15.2 ผลการดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย รวมเฉลี่ยรวม

1.85

2.00 100.00

1.85 96.42

74 5 5

สรุ ปผลภาพรวมของสถานศึกษา คะแนนที่ได้ 96.42 ระดับคุณภาพ ระดับ 1 (ปรั บปรุ ง) ระดับ 2 (พอใช้ ) ระดับ 3 (ดี) 9 ระดับ 5 (ดีเยี่ยม) ระดับ 4 (ดีมาก)

วิเคราะห์ ปัจจัยจากผลการประเมิน ปั จจัยภายในสถานศึกษา จุดเด่ น ระดับประถม/มัธยมศึกษา มาตรฐานด้ านผู้เรี ยน - ผู้เรี ยนมีสขุ ภาพกายและจิตที่ดี รักการออกกําลังกาย มี นํ ้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี - ผู้เรี ยนมีความเอื ้ออาทรและกตัญญูตอ่ ผู้มีพระคุณ - ผู้เรี ยนมีนิสยั รักการอ่าน และใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้ - ผู้เรี ยนมีความภูมิใจในผลงานของตนเอง รู้จกั แก้ ปัญหาด้ วย ตัวเอง - ผู้เรี ยนมีความสามารถในด้ านดนตรี กีฬา และศิลปะ - ผู้เรี ยนยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ืนและตระหนักถึงคุณค่า และอนุรักษ์ พร้ อมพัฒนาสิง่ แวดล้ อม - ผู้เรี ยนเป็ นคนสุภาพ คือเป็ นสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี - ผู้เรี ยนเป็ นผู้ที่พร้ อมด้ วยความรัก คือ รักคุณธรรม รักเรี ยน รักวินยั รักความสะอาด - ผู้เรี ยนมีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา และมีเมตตา มาตรฐานด้ านครู - ครูจดั การเรี ยนการสอนตามวิชาที่ได้ รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ - ครูมีการพัฒนาความรู้ ความสามารถ วิธีการสอนอย่าง

จุดควรพัฒนา ระดับประถม/มัธยมศึกษา มาตรฐานด้ านผู้เรี ยน - ผู้เรี ยนบางส่วนควรได้ รับการส่งเสริ มให้ มีแรง บันดาลใจในการสร้ างผลงานตามจินตนาการ - ผู้เรี ยนบางส่วนมีผลการทดสอบระดับชาติไม่ เป็ นไปตามเกณฑ์ - ผู้เรี ยนบางส่วนควรได้ รับการฝึ กทักษะการ วางแผนในการทํางานให้ เป็ นระบบ

ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

75

สมํ่าเสมอ - ครูสอนตรงตามสาขาวิชาของตนเองและตามความถนัด - ครูมีสวัสดิการและขวัญกําลังใจ - ครูเป็ นผู้มีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรม เป็ นคนสุภาพ พร้ อมด้ วยความ รักและเมตตา มาตรฐานด้ านผู้บริหาร - ผู้บริ หารเป็ นนักบวชที่พร้ อมด้ วยคุณธรรม จริยธรรม ความรัก และความเมตตา - ผู้บริ หารเป็ นผู้ที่มีวิสยั ทัศน์ ภาวะผู้นํา ความคิดริ เริ่ ม สร้ างสรรค์ ที่เน้ นพัฒนาผู้เรี ยนและบุคลากร

ปั จจัยภายนอกสถานศึกษา โอกาส 1. สถานที่ตั้งเหมาะสมและภาพลักษณ์ที่ดีของโรงเรี ยน 2. ชุมชนให้ ความเชื่อถือและมีความคาดหวังสูงต่อโรงเรี ยน 3. สภาพชุมชนโดยรอบโรงเรี ยนมีหน่วยงานของรัฐและเอกชนที่อยู่ ใกล้ กบั โรงเรี ยน 4. ภูมิปัญญาท้ องถิ่นและแหล่งเรี ยนรู้โดยรอบโรงเรี ยน 5. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครอง ชุมชนกับโรงเรี ยน 6. สถานภาพทางครอบครัว และการดูแลเอาใจใส่บตุ รหลานของ ผู้ปกครอง 7. ผู้ปกครองและชุมชนให้ ความร่วมมือ เชื่อมัน่ และไว้ วางใจ โรงเรี ยนในด้ านคุณธรรมจริ ยธรรมและด้ านการเรี ยนการสอน 8. ความก้ าวหน้ า และบทบาทของเทคโนโลยีในปั จจุบนั

อุปสรรค 1. ความเชื่อมัน่ และค่านิยมในการเรี ยนต่อระดับ มัธยมศึกษาของผู้ปกครองนักเรี ยน 2. สื่อเทคโนโลยีตา่ ง ๆ มีอิทธิพลต่อนักเรี ยนเป็ นอย่าง ยิ่ง สื่อบางประเภทไม่มีการคัดกรองและตรวจสอบ ทําให้ เกิดผลกระทบต่อนักเรี ยน 3. สภาวะเศรษฐกิ จ ทํ า ให้ เกิ ด ผลกระทบในเรื่ อ ง ค่าใช้ จ่ายในการเล่าเรี ยน 4. สถานการณ์ทางการเมือง การเปลี่ยนรัฐบาล การ เปลี่ยนรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการบ่อยครั้ง 5. งบประมาณจากรัฐบาลในการนํามาพัฒนาผู้เรี ยน พัฒ นาครู ยั ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากรั ฐ น้ อยกว่ า


รายงานกการพัฒนาคุณภาพการศึ ภ กษา ปี การศึกษา 2554

9. การนําเทคคโนโลยีมาใช้ ในการจั ใ ดการเรี ยนสอน 10. สภาวะททางเศรษฐกิจ / ฐานะ / รายไได้ ของผู้ปกครรอง

โรงเรี ยนรัรัฐบาล

76


รายงานกการพัฒนาคุณภาพการศึ ภ กษา ปี การศึกษา 2554

777

แนวทางงการพัฒนาใในอนาคต 1. จัดกิจกรรรมส่งเสริ มทักั ษะการคิด เน้ นให้ นกั เรี ยนมี ย ส่วนร่ วมในการแสวง ม หาความรู้ ในทุ น กขันตอนมี ้ มี การวางแแผนการทํางาาน 2. จัดกิจกรรรมที่เน้ นการใช้ เทคโนโลยียีช่วยในการแสวงหาความรู้เพื่อเปิ ดโอกกาสให้ นกั เรี ยนได้ น เข้ าสูโ่ ลกก กว้ างทางงการเรี ยนรู้ สามารถใช้ เททคโนโลยีได้ อย่างมีวิจารณ ณญาณและมีปประสิทธิภาพพ 3. พัฒนาออาคารสถานทีที่ทุกบริ เวณขของโรงเรี ยนใให้ เป็ นอุทยานแห่งการเรี ยยนรู้ จัดแหลล่งเรี ยนรู้ หรื อ กิจกรรมการเรี ยนรู้ทส่ี่สงเสริมและท้ท้ าทายให้ นกั เรี​ียนหาความรู้ได้ ด้วยตนเออง เพื่อปลูกฝั งให้ นกั เรี ยน มีความสสามารถในกาารเรี ยนรู้ได้ ตลลอดชีวิต 4. ผู้เ รี ยนคควรได้ รับ การรพัฒนาให้ มี ผลสัม ฤทธิ์ ทางเรี ท ย นทุกกลุ ก ่ม สาระกาารเรี ย นรู้ และะผลการสอบบ ระดับชาติสงู ขึ ้น ความต้ อองการความมช่ วยเหลือ 1. การจัดกาารอบรมการใใช้ เทคโนโลยีททางการศึกษาา สือ่ และนววัตกรรมใหม่ ๆ ที่ทนั สมัยสําหรับ บุคลากรคครู - นักเรี ยน 2. เปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ด้ แข่งขันทางวิวิชาการให้ มากยิ่งขึ ้นทังใน ้ น - นอกสถานนศึกษา 3. การให้ คําปรึ า กษา แนะะนํา/นิเทศ 4. การสนับสนุ ส นงบประมมาณการสร้ างงห้ องปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ รวมทังการจั ้ ดหหาสื่อการเรี ยนการสอน น ที่ทนั สมัยเพิ ย ่มมากขึ ้น


รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554

ภาคผนวก

78


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.