จุลสารกองการเจ้าหน้าที่ 11/2562

Page 1

กฎหมาย...รูไว...ไมมี OUT (EP 1) โดย...วรารัตน เหลาสิงห งานวินัยและนิติการ กลับมาอีกครั้งกั บบทความลงจุลสาร กองการเจาหนาที่ ป 2019 เราจะเห็นวาช วงนี้ ธนาคารตาง ๆ พากันปลดพนักงานกันไปมากมาย และไดนําเทคโนโลยี AI มาใชแทนคน (ตกงานกัน เปนแถวววววว) สวนพนักงานที่อยูก็ตองพากันทํายอดใหกับธนาคาร เชน หาลูกคาทําบัตรเครดิ ต เปนตน วันนี้เลยจะมาพูดถึงความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับบัตรเครดิต หากคางชําระจะมีโทษอยางไร คดีหนี้บัตรเครดิต เปนคดีแพง ผลลัพธของคดี คือ การบังคับเอาทรัพยสินของลู ก หนี้ ไปขายทอดตลาด เอาเงินมาชําระหนี้ (เรียกวา “การบังคับคดี”) หากเราถูกฟองตองทําอยางไร..... คําตอบ คือ รอจา นั่งยิ้มหวาน ๆ แลวรอรับหมายศาลที่บานเลยจา (ก็เอาเงินเขาไปใชแลวไมยอม ชําระคืนเขาก็ตองฟองไงจะ) ศาลจังหวัดสงขลา อยูตรงขามกับศาล แขวงสงขลา..ขาม ถนนไปหิดเดียวนิ

ถาเปนคดีที่ราคาทรัพยพิพาทเกิน 300,000.- บาท เราก็ไปศาลจังหวัด ถาเปนคดีที่ราคาทรัพยพิพาทนอยกวา 300,000.- บาท เราก็ไปศาลแขวง

ไปศาล....สวนใหญศาลทานจะใหมีการไกลเกลี่ยระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้กันกอน ถาตกลง กันไดวาเราไหวเทาไหร จะจายใหไดเทาไหร ก็ประนอมยอมความกัน และเรามีหนาที่จายตามขอตกลง ที่ยอมความกันไว แตถาตกลงกั นไม ไดศาลก็ จะจั ดให มีการไกล เกลี่ยอี กรอบ (ไกลเกลี่ ยโดยศาล) เราก็ตองแถลงตอศาลวาเราไหวเทาไหร ยังไง ขอใหพูดความจริง อยาโกหกทานเปานะ....ทานจะได เมตตาบาง การฟองรองหนี้บัตรเครดิต มีอายุความ 2 ป นับจากวันที่เราผิดนัดชําระหนี้ แต ๆ ๆ เราอยาไปนับอายุความเอาเองนะจะ เพราะรายละเอียดปลีกยอยเรื่องอายุความยังมีอีกหลายอยาง (ไว คอยมาเล า) และถ าเราถู ก ฟ อ งเตรี ยมตัวจางทนายความได เลยจ า (แอบกระซิ บหน อยนะว า งานวินัยฯ มีทนายความตั้ง 4 คน แหนะ!!! สวนคาทนายความไปตกลงกันเองนะจะ) ถาถูกฟองแลวแพคดีเราจะโดนอะไรบาง......เราก็จะโดนยึดหรืออายัดทรัพย ไงละจะ ละจะ ละจะ ๐ ๐ ๐ เราจบเรื่องนี้ไวที่ EP 1 แลวคอยมาตอกันอีก EP 2 นะจะ ๐ ๐ ๐ Cr…Kwamkidhen.com


ครบเครื่องเรื่องงานธุรการ!!! โดย...สมบูรณ บัวเทพ งานธุรการ งานธุรการเป นงานที่มีขอบขายและหนาที่ความรับผิดชอบของงานที่คอนขางกว าง ผูที่ทํางานธุ รการสามารถเข าไปช วยเหลื องานในฝายอื่ นๆ ได งานธุ รการจะเป นงานที่เ กี่ ยวข อ ง กับการดูแลงานเอกสารต าง ๆ การติ ดต อ ประสานงานภายใน และนอกองค กร การจั ดเก็ บและ คนหาเอกสาร การจัดเตรียมการประชุม เปนตน คุ ณสมบั ติโดยรวมแล ว ต องเป นคนที่ รับความรั บผิ ดชอบสู ง มี ความอดทน มุ งมั่ น ในการทํางาน อีกทั้งมีความคลองแคลว มีใจรักงานบริการ ใจเย็น มีมนุษยสัมพันธดี เขากับบุคคลอื่น ได งาย สามารถประสานงานระหวางบุ คคล หรื อระหว างองค กรไดเ ป นอย างดี อดทนตอ สภาวะ แรงกดดั นในการทํ างานได นอกจากคุ ณสมบั ติขางต นแล ว อาจจะตองมี ทัศนคติ ดานบวกเหล านี้ รวมอยูดวย เพื่อเพิ่มความสุขในการทํางานให มีมากขึ้น งานธุรการจะมีขอบขายความรั บผิ ดชอบ อยูที่การชวยเหลือ หรือจัดการธุระตางๆ ใหกับบุคคลในองคกร อาจจะมีความแตกตางกันไปบาง ตาม หนวยงานที่ตัวเองสังกัดอยู งานธุ ร การเป น ตํ า แหน ง งานที่ สํ า คั ญ ตํ า แหน ง หนึ่ ง ในหน วยงาน แต ห น า ที่ ความรับผิดชอบนั้น อาจจะตองใชความอดทนอยูบาง แตหากเราสามารถควบคุม ดูแลงานสวนนี้ให ออกมาไดดี งานของเราก็จะออกมาเปนดังที่คาดหวัง


ประเมินคางานอยางไร ?? ใหผาน โดยนวพร หอมจันทร งานบริหารงานบุคคล ความกาวหน าในตํ าแหน งของข าราชการพลเรื อนในสถาบั นอุ ดมศึ กษา ตําแหน ง ประเภทวิ ชาชี พเฉพาะหรื อ เชี่ ยวชาญเฉพาะ และตํ าแหน งประเภททั่ วไป ซึ่ งในที่ นี้ขอใช คํา ว า “ตําแหนงสายสนับสนุน” ก.พ.อ.กําหนดใหดําเนินการ 2 สวน คือ 1) การกําหนดระดับตําแหนงให สูงขึ้นโดยการประเมินคางานของตําแหนง และ 2) การแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงสําหรับพนักงาน มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ตําแหนงประเภทปฏิบัติการและวิชาชีพ (ตําแหนงสาย สนับสนุน) ก็ให ใชหลั กเกณฑ เดียวกั บข าราชการ ซึ่งการที่จะกําหนดตํ าแหนงใดเป นระดั บสู งขึ้ น ตําแหนงนั้นตองมีหนาที่และความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุงยากของงานในตําแหนงที่เพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงไปถึงขนาดที่จะตองกําหนดตําแหนงเปนระดับสูงขึ้น โดยจะตองวิเคราะหภาระกิจ ของหน วยงานและการประเมิ นค างานเพื่ อ วั ดคุ ณภาพของตํ าแหนงตามลั กษณะงาน หน าที่ และ ความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุงยากของงาน ความรูความสามารถและประสบการณที่ตองการ ในการปฏิบัติงาน (ก.พ.อ.:2553) การประเมิ นค างาน (Job Evaluation) เปนการประเมินคุณภาพงานของตําแหน ง หรือการจัดลําดับชั้ นงาน (Ranging) หรือตีคางาน เพื่อกําหนดระดั บตําแหนงที่สมเหตุสมผลและ เปนธรรม โดยนํางานมาวิเคราะหลักษณะหนาที่ ความรับผิดชอบ คุณภาพ และความยุงยากของงาน ที่เปนปจจุบัน (ก.พ.:2558) ซึ่งการประเมินคางานใหดําเนินการกรณีที่มีการกําหนดตําแหนงงานใหม ในหนวยงาน หรือเมื่อภาระงานของตําแหนงในหนวยงานเปลี่ยนแปลงไปจนถึงตองกําหนดตําแหนง เปนระดับสูงขึ้น ดังนั้นการที่สวนงานจะเสนอขอประเมิน คางานของตําแหนงจําเปนตองพิจารณา ถึงภาระงานของตํ าแหนงที่ เ พิ่ มขึ้ นหรื อเปลี่ ยนแปลงไป ซึ่ งมิ ใชพิจารณาภาระงานของตัวบุ คคล เนื่องจากตําแหนงเปนของหนวยงานมิใชของบุคคล กรณีที่สวนงานเสนอขอประเมินคางานแตภาระ งานของตําแหนงใหมยังไมสะทอนภาระงานของตําแหนงในระดับที่สูงขึ้นทั้งหนาที่ความรับผิดชอบ คุ ณภาพ และความยุ งยากซั บซ อ นของงาน มหาวิ ทยาลั ย จึ งยั งไม พิจารณาให กํ าหนดตํ า แหน ง เปนระดับสูงขึ้น ดังนั้นการเสนอขอประเมินคางานโดยใหไดรับการพิจารณาอนุมัติ มีขอควรปฏิบัติ และขอควรคํ านึงซึ่งไดรวบรวมและสรุ ปจากมติ คณะกรรมการประเมิ นเพื่อแตงตั้งบุ คคลให ดํารง ตําแหนงสูงขึ้น โดยแยกเปน 2 ประเด็น ดังนี้


 แบบประเมินคางาน 1.1 แบบประเมินคางาน มีจํานวนไมเกิน 2 หนากระดาษ A 4 เนื่องจากตองการ ให ส รุ ปภาระงานของตํ า แหน ง ที่ เ ป น ภาระงานหลั ก ที่ สํ า คั ญๆ กระชั บและรั ด กุ ม กรณี ที่ เ กิ น 2 หนากระดาษ กองการเจาหนาที่จะสงกลับคืนใหสวนงานแกไขกอนเสนอคณะกรรมการประเมินเพื่อ แตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงสูงขึ้นพิจารณาในทุกกรณี 1.2 แบบประเมินคางานใหเขียนตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกําหนด (ตามหนังสือที่ ม.อ.023/1953 ลงวันที่ 18 เม.ย.2561) ดังนี้ แนวทางการเขียนแบบประเมินคางานกรณีปฏิบัติงานเฉพาะดานหรือเฉพาะทาง (ตําแหนงระดับชํานาญงาน ชํานาญงานพิเศษ ชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ) หนาที่และความรับผิดชอบของตําแหนง ตําแหนงเดิม 1.เป น งานที่ ป ฏิ บั ติ ในป จจุ บั น โดยเขี ย นตาม มาตร ฐานกํ า หนดตํ าแหน งคื อ ด านการ ปฏิ บั ติ ก าร ด านก าร วางแผน ด านก าร ประสานงาน และดานการบริการ 2.ระบุเฉพาะงานหลัก ๆ ไมตองลงรายละเอี ยด มากนัก กระชับ รัดกุม 3. เปนงานที่มีขอบเขตเนื้อหาไมหลากหลายเปน การปฏิบติตามมาตรฐานกําหนดตําแหนงที่มีอยู

ตําแหนงใหม 1.ระบุงานที่ปฏิบัติอยูในปจจุบันที่ตองอาศัยความรู ประสบการณ หรือ ความชํานาญการในการปฏิบัติ โดยเขียนตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง คือ ดานการปฏิบัติการ ดานการวางแผน ดานการประสานงาน และ ดานการบริการ 2. เลือก Key Word จากมาตรฐานกําหนดตําแหนงที่ตรงกับงานที่ปฏิบัติ เชน ตรวจสอบ ทดสอบ ศึกษา คนควา ทดลอง วิเคราะห สังเคราะห หรือวิจัย 3. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานเดิมกับงานใหมใหเห็นชัดเจน 4.ยกกรณีตัวอยางงานที่ตําแหนงปฏิบัติอยูจริง

เอกสารอางอิง ร ะ บุ เ อ ก ส า ร ห รื อ แหล ง ข อ มู ล ที่ ส ามารถ สื บค น งานที่ ป ฏิ บั ติ แ ละ กรณีตัวอยางได

ตัวอยาง ดานการปฏิบัติการ

ดานการวางแผน ดานการประสานงาน ดานการบริการ

ศึกษาวิเคราะหขอมูลการจัดทํานโยบายที่สอดคลองกับยุทธศาสตร เชน แผนพัฒนามหาวิทยาลัย แผนพัฒนาวิทยาเขต/ แผนความเชื่อมโยงยุทธศาสตร/เกณฑอัตรากําลัง ศึกษาวิเคราะหและจัดทําขอมูลสนับสนุนการบริหารจัดการของ ม.อ. ในการประชุมตัดสินใจ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ การบริหารจัดการขอมูล รวมกําหนดนโยบาย จัดทําแผนกิจกรรม ขอกําหนดแนวปฏิบัติในระดับภาควิชาและคณะ วางแผน ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงาน และปรับแผน เชน แผนกลยุทธ/ แผนพัฒนาบุคลากร/ แผนปฏิบัติการประจําป ประสานงานกับสหวิชาชีพ หนวยงานตางๆ ครอบครัว ประสานการทํางานรวมกันทั้งและภายนอก เชน จัดกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสานงานภายในภายนอก และบริการวิชาการงานวิจัยสูชุมชน สอน พัฒนา นําความรู ประสบการณและเทคนิคไปประยุกตใชแกปญหาและเผยแพรผลงานสูภายนอก ฝกอบรมเผยแพรความรูด าน.....................


วิเคราะหเปรียบเทียบคุณภาพ และความยุงยากซับซอนของงานที่เปลี่ยนแปลงไป ตําแหนงเดิม

ตําแหนงใหม

เอกสารอางอิง

1.คุณภาพงาน

- เปนงานที่ปฏิบัติตามระเบียบหลักเกณฑ/มาตรฐาน 1.เปนงานที่ เสนอความเห็น /ทางเลื อกเพื่อการตัดสินใจของ งานที่กําหนดไว ผูบริหาร/หนวยงาน 2. งานมีความยากงายอยางไร มีการสรางเครื่องมือ นวัตกรรม -ปฏิบัติงานไดตามเปาหมายที่กําหนด -หากไมเปนไปตามเปาหมาย/มาตรฐาน หรือผิดพลาด เสนอเทคนิค วิธีการปฏิบัติงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของ จะสงผลกระทบตอผูรับบริการอยางไร นโยบาย เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป -มี ก ารวางแผน วิ เคราะห ตรวจสอบการปฏิ บัติงาน 3.เกิดประโยชนตอหนวยงาน /ผูรับบริการ/ชุมชน วิเคราะห ตรวจสอบการปฏิบัติงานเพื่อใหงานถูกตอง 4.ชวยลดขั้นตอน (Lean) ลดงบประมาณ ครบถวน 5. จั ด ทํ าเอกสารทางวิ ชาการเพื่ อ สร างความเข าใจเกี่ ย วกั บ ระเบียบหลักเกณฑ วิธีการปฏิบัติงาน 6. มี ก ารศึ ก ษา ค น คว า สั ง เคราะห วิ เ คราะห เ พื่ อ กํ า หนด วางระบบ ปรับปรุงการปฏิบัติงาน 2. ความยุงยากและความซับซอนของงาน 1. เปนการปฏิ บัติงานตามระเบี ยบหลั กเกณฑ ยุ งยาก 1.มี ค วามยุ ง ยากซั บ ซ อ นมาก เกี่ ย วข อ งกั บ ระเบี ย บต า งๆ ซับซอนนอย หลากหลาย/หลายหนวยงาน/หลายสาขาวิชาชีพ 2. มีแนวทาง/คูมือ/คําแนะนําการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 2. มีความหลากหลาย มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ยุงยากซับซอน กวาเดิม 3.ตองประยุกตใชความรูความสามารถและสบการณสูงมากเพื่อ ปรั บเปลี่ยนวิ ธีก าร แนวทางการปฏิ บัติงานให เหมาะสมกั บ สภาพการณ 4.มีความแมนยําในวิชาชีพ หากเกิดความผิดพลาดจะกระทบกับ หนวยงาน องคกร ผูรับบริการ

ร ะ บุ เ อ ก ส า ร ห รื อ แหล ง ข อ มู ล ที่ ส ามารถ สื บค น งานที่ ป ฏิ บั ติ แ ละ กรณีตัวอยางได

................................... ..................................... .....................................

ตัวอยาง คุณภาพงาน ความยุงยากและ ความซับซอนของงาน

วิเคราะหผลการดําเนินงาน เปรียบเทียบความตองการเพื่อหาแนวทางพัฒนาคณะใหสอดคลองกับตัวบงชี้และเกณฑ การประเมิน เชน พัฒนาระบบฐานขอมูลออกแบบวิธีคิดคํานวณตัวบงชี้ พัฒนาระบบฐานขอมูล เชน ฐานขอมูลบัณฑิตศึกษา ระบบยื่นคํารองออนไลน การผลิตสื่อยุงยาก มีหลายขั้นตอน ตองศึกษาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบ เชน งานออกแบบปกและรูปเลม ระเบียบมีความยุงยากซับซอนตองศึกษาวิเคราะหขอมูล ศึกษาแนวทางการดําเนินงานใหสอคคลองกับมาตรฐานของ คุรุสภา


วิเคราะหเปรียบเทียบการกํากับตรวจสอบและการตัดสินใจ ตําแหนงเดิม 1.การกํากับตรวจสอบ ..................................................................................... .................................................................................... ......................................................................................

ตําแหนงใหม

เอกสารอางอิง

1.งานที่ ป ฏิ บั ติ ไ ด รั บ การกํ า กั บ ตรวจสอบ

หรื อ ติ ด ตาม ................................... ความก าวหน าจากผู บั งคั บบั ญชาอย า งไร (ตามแผนงาน/ ..................................... โครงการ) ..................................... 2. งานที่เสนอตองผานใครบาง หรือเสนอผูมีอํานาจโดยตรง

2. การตัดสินใจ

..................................................................................... .................................................................................... ......................................................................................

2. มีความอิสระในการปฏิบัติงานอยางไร เชน สามารถตัดสินใจ

................................... ดวยตนเองอยางเปนอิสระในการปรับเปลี่ยนแนวทาง การแกไข ..................................... ปญหา หรือริเริ่มพัฒนาแนวทาง วิธีการปฏิบัติงาน .....................................

ตัวอยาง การกํากับตรวจสอบ การตัดสินใจ

ปฏิบัติการพยาบาลโดยอิสระ ติดตามผลสัมฤทธิ์ของงานตามแผนที่กําหนด ไดรับการตรวจสอบติดตาม ตามมาตรฐานที่กําหนด ตัดสินใจดวยตนเองอยางอิสระ ในการริเริ่มพัฒนาแนวทางและวิธีการปฏิบัติงาน ตัดสินใจและแกไขปญหาในภาวะวิกฤติไดอยางถูกตองเหมาะสม

1.3 ใหยกกรณีตัวอยางภาระงานของตําแหนงที่ปฎิบัติในทุกหัวขอ ซึ่งมิใชภาระงานที่ ระบุถึงตัวบุคคลที่ดํารงตําแหนงนั้นๆ กรณีภาระงานที่ระบุตัวบุคคล เชน -เปนผูรวมวิจัยหัวขอเรื่อง.................. - เปนวิทยากรพิเศษ อาจารยพิเศษ - ผลงานนําเสนอ KAIZEN Day ครั้งที่ .........วันที่............/ ผลงานตีพิมพใน.......... - การไดรับรางวัลตาง ๆ 1.4 เอกสารอางอิง ใหระบุเอกสารหรือแหลงขอมูลที่สามารถสืบคนภาระงาน หรือ กรณีตัวอยางของตําแหนงงานได เชน - เอกสารประกอบโครงการฝกอบรม .... - Flow chart การขอรับบริการงานออกแบบและผลิตสื่อ / คูมือการผลิตสื่อ/ website…..  ประเด็นการพิจารณาของคณะกรรมการประเมินคางานของสวนงาน 2.1 การใหคะแนนของคณะกรรมการประเมินคางาน ใหระบุเหตุผลในการ พิจารณาการใหคะแนนในแตละหัวขอ โดยระบุเหตุผลสั้นๆ วาตําแหนงนั้นมีหนาที่ความรับผิดชอบ


ความยุงยากของงานการกํากับตรวจสอบ และการตัดสินใจ เปนอยางไร ซึ่งมิใชการคัดลอกขอความ การอธิบายชวงการใหคะแนนหรือการคัดลอกขอความจากแบบประเมินคางานมาใส ตัวอยางเหตุผลในการพิจารณาใหคะแนน องคประกอบการประเมิน เหตุผลการพิจารณา หนาที่ความรับผิดชอบ (21-25 คะแนน) ภาระงานมีความหลากหลายทั้งงานชวยสอน งานฝกอบรมหองปฏิบัติการ งานบริการวิชาการ และงานวิจัย ความยุงยากของงาน (21-25 คะแนน) งานที่ปฏิบัติตองใชทักษะ และความชํานาญในการปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงาน ปรับปรุงวิธีทดสอบให ทันสมัย การกํากับตรวจสอบ (11-15 คะแนน) มีการรายงานผลการปฏิบัติเปนระยะตามแผนปฏิบัติงาน การตัดสินใจ (11-15 คะแนน) งานที่ปฏิบัติตองแกไขการปฏิบัติงานดวยตนเองเปนอยางดี ตามแนวทางปฏิบัติงานของหนวยงานและ มาตรฐานวิชาชีพ

2.2 การสรุปผลการประเมินคางาน ใหระบุวาตําแหนงนั้นผาน หรือไมผานการประเมิน คางานอยางไร โดยระบุเหตุผลของตําแหนงงานนั้นๆ ซึ่งมิใชเหตุผลของตัวบุคคลที่ดํารงตําแหนงนั้น ๆ ตัวอยางสรุปผลการประเมินคางาน สรุปผลการประเมินคางาน/เหตุผล () ผานการประเมิน ( ) ไมผานการประเมิน

เห็นควรกําหนดตําแหนงเปนระดับชํานาญการ เนื่องจากภาระงานมีความยุงยากซับซอนมากขึ้น เปนงานที่มีความยุงยากซับซอน ตองใชความรูประสบการณในการคิดวิเคราะห วางแผนการปฏิบัติงาน ตรวจสอบติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามแผนงาน ตองใชความสามารถบริหารจัดการในเชิ ง นโยบายและวิธีปฏิบัติงานคอนขางมาก จึงเห็นสมควรกําหนดเปนระดับสูงขึ้น เปนลักษณะงานที่ตองใชความรู ความชํานาญดานวิชาชีพ และทักษะดานคอมพิวเตอรเปนอยางดีใน การออกแบบและผลิตสื่อใหมีความทันสมัย และความหลากหลาย

พึงเขาใจวาการประเมินคางานของตําแหนงเปนตีคาวาตําแหนงนั้นๆ มีหนาที่ความ รับผิดชอบ คุณภาพ และความยุงยากซับซอนเพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไปอยางไร ซึ่งมิใชประเมินคา งานของบุคคลที่ดํารงตําแหนงนั้นๆ เพราะตําแหนงเปนของหนวยงานไมใชของบุคคล และสิ่งสําคัญ ในการเสนอขอประเมินคางานคือภาระงานของตําแหนงใหมตองสะทอนภาระของตําแหนงในระดับที่ สูงขึ้น และหากสวนงานพิจารณาขอควรคํานึงในประเด็นที่กลาวถึงขางตนจะทําใหการเสนอขอ ประเมินคางานของตําแหนงไดรับการพิจารณาอนุมัติโดยไมยาก -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เอกสารอางอิง 1.ประกาศ ก.พ.อ.เรื่อง มาตรฐานการกําหนดระดับตําแหนงและการแตงตั้งขาราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษาใหดํารงตําแหนงสูงขึ้น พ.ศ.2553 2.สํานักงาน ก.พ. .2558. สรุปการบรรยายเรื่องหลักการและแนวคิดการกําหนดตําแหนงและการ ประเมินคางาน. วันที่ 16 ก.พ.2558 ณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


e - office กับงานธุรการยุคใหม โดย พรศรี สวางล้ําเลิศศิริ งานธุรการ ความทั นสมั ยของโลกไอที ชวยอํ านวยความสะดวกในการทํ างานของงานธุ ร การ สามารถใชเทคโนโลยีชวยให การติดตอสื่อสาร สงขอมูล ดวยระบบเครือขายคอมพิวเตอร รวมถึง สามารถจัดเก็บขอมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนี้ 1. ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยชวยใหการกระจายขาวสารดวยการสงอีเมล ชวยลดเวลา ในการติดตอสื่อสาร ประหยัดคาโทรศัพท และยังชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน 2. อยูนอกหนวยงาน ทําใหไมสามารถเดินทางมาสํานักงานในเวลาอันรวดเร็วได เพียง มีอินเทอรเน็ตก็สามารถเชื่อมโยงใหคุณสามารถทํางานเรงดวนไดไมจํากัดเวลาและสถานที่ 3. การที่สามารถสงขอมูลขาวสารภายในสํานักงานถึงกันผานทางอีเมล หรือการแชร ขอมูล ทําใหพนักงานสามารถเขาถึงขอมูลไดงาย ทราบขอมูลขาวสารโดยทั่วถึงกันโดยไมตองสั่งพิมพ เอกสาร ใหสิ้นเปลืองทรัพยากร 4. ชวยอํานวยความสะดวกดวยระบบการจัดเก็บ เอกสารเปนหมวดหมู ทําใหสามารถ เรี ยกใช เอกสารย อ นหลังได งาย โดยใช ระบบการค นหาเอกสาร ซึ่ งรวดเร็วและเปนระเบี ยบกว า การจัดเก็บเอกสารที่เปนกระดาษ ทั้งยังชวยลดเนื้อที่ในการจัดเก็บเอกสารอีกดวย 5. สามารถจัดประชุมกลุมทางโทรศัพทไดผานเสียงและจอภาพ ทําใหผูใชงานมากกวา 2 คน ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารของกลุม ไมเสียเวลาในการเดินทางมาประชุมในที่เดียวกัน 6. การทําตารางนัดหมายการประชุมและสงอีเมลนัดประชุมไปยังบุคคลที่ตองการ ให เขาประชุม ซึ่งผูเขารวมประชุมสามารถตอบรับ และทุก ๆ คนสามารถรับทราบไดในเวลาเดียวกันวา ใครสามารถเขาประชุมได และใครไมสามารถเขาประชุมไดบาง ระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย จาก e-office นอกจากชวยใหการทํางานสะดวก รวดเร็วและงายดายขึ้นแลว การลดการใชกระดาษไดยังเปนสิ่งจําเปนที่ทุกองคกรควรตระหนักถึง ทรัพยากรที่จะหมดไป ซึ่งแนนอนยอมสงผลสะทอนกลับมาถึงพวกเราทุกคน


ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อ โดยวัชรี ไชยศรี งานทะเบียนประวัติ การประเมิ นผลการปฏิ บัติงาน หลายคนไดยินชื่ อ นี้ ก็ทําหนาเบื อ นหนี อยาพึ่ งเบื่ อ กันลองมาฟงกั นกอนวาทําไมตองประเมิ นฯ และใครละที่จะไดประโยชนจากการประเมิน เริ่มตน จากบุคลากร ม.อ. มีหลายประเภท แตถาเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานจะสรุปเพื่อใหเขาใจงาย ว ากลุ มขาราชการและลู กจ างประจํ า ประเมิ นป ละ 2 ครั้ ง พนักงานมหาวิ ทยาลั ยและพนั ก งาน เงินรายได ประเมินปละ 1 ครั้ง ดังนั้นชวงพฤศจิกายนถึงมกราคม สําหรับขาราชการและลูกจางประจํา และช วงพฤษภาคมถึ งกรกฎาคม สํ าหรั บบุ คลากรทุ กประเภทจะเป นช วงโค งสุ ดท ายในการเร ง ปฏิ บัติงานใหครบตามข อตกลงและผลลั พธ ที่ได ยิ่งมี คุณภาพเท าไร ยิ่ งเกิ นกว าค าคาดหวั งเท าไร จะส งผลโดยตรงต อ การได มาซึ่ งคะแนนการประเมิ นผลการปฏิ บัติงาน หลายคนสงสั ยมั ยละว า การประเมินฯ ที่ตองมาทําขอตกลง ตองมารายงานผล และตองมีการประเมินทั้งผลการปฏิบัติงาน และยังมาประเมินพฤติกรรมหรือ Competency อีก มีเหตุผลอะไร ทําไมตองมาทําอะไรยุงยากและ คะแนนประเมินจะสําคัญขนาดไหนเชียว ลองมาฟงคําตอบจากประสบการณโดยตรงที่รับผิดชอบเรื่อง ประเมินผลการปฏิบัติงานมาตั้งแตพึ่งเริ่มบรรจุจนปจจุบันก็ยังทําอยู ฟงของจริงอาจจะผสมทฤษฎี นิดๆ สักนิดดีมัยเผื่ออะไรๆ จะดีขึ้น ความสําคัญอันดับหนึ่งเลย คลิกlink ไปที่รอยละหรือขั้นการเลื่อนเงินเดือน นึกภาพออกมัย ถายังไม ออกจะบอกใหวา คะแนนประเมินสงผลตอการไดรับเงินเดือนเพิ่มขึ้นในแตละป ใครไดเพิ่มมากนอย เทาไร ตามหลักทฤษฎีนะตองเปนผลมาจาก OUTPUT ที่มีประสิทธิภาพยิ่งผลลัพธเกินกวาเปายิ่งได เงินเพิ่มขึ้นจากการเลื่อนเงินเดือน และการประเมินพฤติกรรม ยิ่งไดคะแนนมากหรือคะแนนยิ่งสูง บงบอกวาคุณพรอมจะไปขางหนา พรอมและแข็งแรงพอทีจ่ ะทํางานใหเกิดประสิทธิภาพยิ่งๆ ขึ้นไป ความสําคัญอันดับสอง ฟงดูไพเราะมากเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงตนเอง ความไพเราะนี้สามารถ จับตองได ขึ้นอยูกับการเปดใจใหกวางเพื่อรับฟงขอตําหนิหรือคําชี้แนะ ถาฟงแลวยอนดูตัวเองมอง แงบวกแลวนําไปปรับปรุงตนเอง ทํานายไดเลยวาแนวโนม OUTPUT ปถัดไปนาจะดีขึ้นและเงินเลื่อน เงินเดือนนาจะเพิ่มขึ้นตามหลักของความสอดคลอง และการประเมินพฤติกรรมเชนกันหากทานได คะแนนดีๆ บงชี้นะวาพฤติกรรมหรือสมรรถนะรายการที่วัดทานอยูนั้นทานเปนดาวเดนขององคกร


มีความพรอมและสามารถเปนแบบอยางกับคนอื่นไดและตามหลักทฤษฎีเชื่อวาหากใครมีคะแนน ประเมินพฤติกรรมสูงจะสงผลตอการปฏิบัติงานใหดีตามไปดวย แตในทางกลับกันหากทานไดคะแนนพฤติกรรมนอยหรือผลคะแนนมีคาติดลบ ภาษาอังกฤษเรียกวา GAP อยานอยใจไป เพราะคาลบที่ทานไดเปนการเปรียบเทียบกับคาคาดหวังที่ผูบังคับบัญชาตั้งไวกับ ทาน การที่ไดคาลบหรือ GAP สื่อนัยยะ ได 2 ประเด็น ประเด็นแรก คาคาดหวังที่ตั้งไมเหมาะสมกับทาน เพราะการตั้งคาคาดหวังมีหลายทฤษฎีบางทฤษฎี กําหนดตามอายุหรือประสบการณการทํางาน บางทฤษฎีกําหนดคาคาดหวังตามตําแหนงหรือระดับ ตําแหนง ซึ่งไมมีทฤษฎีไหนถูกหรือผิด อยูที่ผูนํามาใชตองดูใหเหมาะสมกับผูถูกประเมินเปนรายบุคคล ประเด็นสอง ทานมีจุดออนจริง ๆ ตองยอนดูตนเองมองโลกแงบวกเขาไว ผูประเมินจะใหความเห็นวา ทานมีจุดออนอะไร อยางไร และตองพัฒนาอะไร หากเปดใจลองทําตามคําแนะนําดู บางครั้งอาจจะ พลิกผันชีวิตการทํางานของทานในทางที่ดีขึ้นไดโดยไมคาดฝน ลองดูหนอยนะ ความสําคัญอันดับสาม สุดทายใครละจะไดผลประโยชนจากการปฏิบัติงานที่มี OUTPUT ที่ดีเยี่ยม มี บุคลากรที่ พัฒนาตนเองตลอดเวลา มองโลกแง บวก รู จัก รั บฟ งความเห็ นผู อื่ น และส งผลต อ การทํางานเปนทีม รวมมือรวมใจกันผลักดันภารกิจตางๆ ดวยความอุตสาหะ (ครบสูตรตามสมรรถนะ หลักเลยนะเนี้ย PSU) นอกจากทานจะมีความสุขในการทํางาน สมหวังกับการลงแรงกายแรงใจในการ ทํางาน ผลพวงสุดทายผูที่ไดรับผลประโยชนอยางหลีกหนีไมไดนั้นคือองคกรหรือหนวยงานของทาน นั้นเอง มีคําถามมาอีกวาอาวแลวเกี่ยวอะไรกับองคกร ขอย้ําวาเกี่ยวแนนอน องคกรของเราทั้งหลาย คือมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หากมหาวิทยาลัยอยูไดสงผลใหเราอยูไดเชนกันเพราะเรามีเงินเดือน มีงานทํา มีที่อยูที่กิน ดังสุภาษิตที่วา “น้ําพึ่งเรือเสือพึ่งปา” เอาละวันนี้ทราบแลววาประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่ออะไร หวังวาบทความนี้จะเปน การกระตุนขวัญ กําลังใจใหชาว ม.อ. ทั้งหลายมีแรงฮึดในการทํางาน และที่สําคัญทานตองโปรโมท ตนเองใหคนอื่นเห็นความดี ความเกงของทาน วิธีการงายๆ คือการรายงานผลการปฏิบัติงานตาม บทบาทของทานในรอบปประเมิน ซึ่งมหาวิทยาลัยกําหนดวิธีการ ขั้นตอน และเครื่องมือที่ชวยในการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ไวในระบบ TOR ONLINE & COMPETENCY ONLINE แลว สุดทายนี้ ขอใหชาว ม.อ. ทุกทาน มีความสุขในการทํางาน ไวเจอกันฉบับหนาคะ


ขับรถโดยไมมีใบขับขี่ แตโดนคนอื่นชน ใครผิด เรียกประกันใหใชเงินไดไหม โดยปวโรตน แสงตะวัน งานวินัยและนิติการ โดยปกติ ทั่วไปแล วการขั บรถโดยไม มีใบขั บขี่ แน นอนว าเป นเรื่ อ งที่ ผิดกฎหมาย ซึ่งหากโดนเจาหนาที่ตํารวจเรียกตรวจแลวปรากฏวาไม มีใบขั บขี่ ก็จะโดนขอหาและเรียกให เสี ย คาปรับ แตถาเปนกรณีที่ไมมีใบขับขี่แตขับรถอยูในเสนทางตามปกติ แลวปรากฏวามีคนอื่นขั บรถ มาชนในขณะที่เราไมมีใบขับขี่นั้น ผลจะเปนอยางไรโดยหลักกฎหมายแลวความประมาทของผูกระทํา ความผิดเปนคนละสวนกับกรณีที่ผูเสียหายไมมีใบขับขี่ เพราะพฤติการณเปนคนละอยางกัน อาจกลาว ไดวาความประมาทเปนพฤติการณภายใน สวนใบขับขี่เปนพฤติการณภายนอกจะเอามาผสมรวมกัน แลวกลาวอางวาผูที่ไมมีใบขับขี่เปนผูผิดในเหตุรถชนดังกลาวนั้นไมได เพราะเขาไมไดประมาท เขาขับ รถอยูดีๆ แลวโดนชนจะวาเขาผิดไดอยางไร การไมมีใบขับขี่ของเขาไมไดหมายความวาเขาจะประมาท เสมอไป เมื่อเขาไมไดเปนฝายประมาท และความเสียหายไมไดเกิดจากเขาแตเขากลับตองเสียหาย เนื่องจากโดนชน เขาก็ไมใชฝายผิดยอมมีสิทธิเรียกคาเสียหายจากผูที่ขับมาชนได สวนกรณีที่ไม มี ใบขับขี่ตองไปเสียคาปรับแยกตางหากเทานั้นเอง สวนกรณีของประกันภัยโดยหลักแลว การที่เราโดนชนเปนเรื่องละเมิดที่ทําใหเราเกิด ความเสียหาย เจาของรถหรือผูครอบครองรถยอมมีสิทธิเรียกรองใหชดใชคาเสียหายจากผูทําละเมิดได โดยตองแยกเปนกรณีดวยวาเราเปนฝายถูกหรือเปนฝายผิด กลาวคือ - กรณีที่เราเป นฝายถูกไมตองพิจารณาเรื่องใบขับขี่ ประกันภัยของคูกรณีตองเป น ผูรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพยสินและบุคคลทั้งหมดโดยไมมีขอแมใดๆ - กรณีที่เราเปนฝายผิดและมีใบขับขี่ อันนี้ไมมีปญหาถึงแมเราจะเปนฝายผิด ประกัน ของเราก็จายแทนใหอยูแลว แตอาจเกิดปญหาวาหากไมเคยมี ใบขับขี่หรือมีแตเกิดปญหา เชนลื ม หมดอายุ หรือโดนยึด เชนนี้ประกันจะจายใหหรือไมสามารถแยกไดดังนี้ 1. กรณีที่ไมเคยมีใบขับขี่มากอน หมายความวา ทั้งชีวิตของผูขับขี่ไมเคยผานการทํา ใบขับขี่มากอน และรวมถึงกรณีที่สอบใบขับขี่ไมผานดวย ในกรณีนี้ประกันจะไมรับผิดชอบคาเสียหาย กับผูทําประกันเลย แตจะไปรับผิดชอบความเสียหายของทรัพยสินและบุคคลของคูกรณีเทานั้น 2. กรณี ที่ มีใบขั บขี่ แต ใบขั บขี่ ห มดอายุ หมายความว า ผู ขับขี่ เ คยสอบผ า นและ มีใบขับขี่แลว เพียงแตใบขับขี่หมดอายุเทานั้น อาจเปนเพราะลืมไปตออายุหรือกําลังจะไปตออายุ ใบขับขี่ก็ตาม ในกรณีนี้ประกันภัยจะรับผิดชอบทุกอยางตามชนิดของประกันภัยที่ทํา


3. กรณีที่มีใบขับขี่ แตลืมพกมา หมายความวา ผูขับขี่มีใบขั บขี่ เรี ยบร อยแลว และ ใบขับขี่ดังกลาวยังไมหมดอายุ งายๆ วาถูกตองครบทุกอยาง เพียงแคลืมพกมาในกรณีนี้ประกันภัยจะ รับผิดชอบทุกอยางตามชนิดของประกันภัยที่ทํา 4. กรณีที่มีใบขับขี่แตโดนยึด หมายความวา ผูขับขี่มีใบขับขี่เรียบรอยแลว แตในอดีต อาจเคยฝาฝนกฎหมายจนตองโดนยึดใบขับขี่ ในกรณีนี้ประกันภัยจะรับผิดชอบทุกอยาง ตามชนิดของ ประกันภัยที่ทํา จึงเห็นไดวาไมมีใบขับขี่ ไมไดหมายความวาจะผิดเสมอไป แตหากเกิดความเสียหาย ประกันจะจายคาเสียหายใหผูทําประกันหรือไม ดูใบขับขี่เปนสําคัญถาไมมีและเราเปนฝายผิดประกัน จะไมจายใหผูทําประกัน แตจะไปจายใหผูเสียหาย แตถามีใบขับขี่ประกันก็จะจายใหทั้งผูทําประกัน และผูเสียหาย


ความหมายของความหมายของผูดําเนินการหลักและผูประสานงานการพิมพเผยแพร โดย...สาวิตรี หอมอุทัย งานบริหารงานบุคคล ตามประกาศ ก.พ.อ เรื่ อ ง หลั กเกณฑ และวิ ธีก ารพิ จารณาแต งตั้ งบุ คคลให ดํารง ตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย พ.ศ.2560 ซึ่งตามเอกสารแนบทาย ประกาศ ก.พ.อ. ได กําหนดความหมายของผู ดําเนิ นการหลั กไว ในข อ 3 ลั กษณะการมี สวนร วม ในผลงานทางวิชาการ ตามประกาศดังกลาวแลวนั้น ก.พ.อ. ไดพิจารณาความหมายของผู ดําเนิ นการหลั กและผู ประสานงานการพิ มพ ตามเอกสารแนบประกาศ ก.พ.อ.ดังกลาวแลว เห็นควรใหปรับแกถอยคําความหมายของผูดําเนินการ หลั กและกําหนดความหมายของผู ประสานงานการพิ มพ เผยแพร หรื อ Corresponding Author เพิ่มเติม เพื่อใหชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนี้ ผูดําเนินการหลัก แบงออกเป นผูดําเนินการหลักในงานวิจัยและผูดําเนิ นการหลักในตํ ารา หนังสือ หรือผลงานอื่น ดังนี้ 1. ผูดําเนินการหลักในงานวิจัย (principal researcher/ investigator) หมายถึง บุคคลซึ่ง มีบทบาทและความรับผิดชอบสําคัญในการออกแบบการวิจัย การวิเคราะห ขอมูล และ การสรุปผลการวิจัยและใหขอเสนอแนะ ซึ่งจะทําหนาที่เปนผูประสานงานการเผยแพร ผลงานทางวิชาการดังกลาวดวยก็ได 2. ผูดําเนินการหลักในตํารา หนังสือ หรือผลงานอื่น (main author) หมายถึง บุคคลซึ่งมี บทบาทและความรับผิดชอบสําคัญในการออกแบบงานวิชาการนั้น กําหนดโครงรางเนื้อหา สาระสําคัญของงานและทําหนาที่บรรณาธิการเนื้อหาสาระและรูปแบบในการนําเสนอ รวมทั้งประสานงานการเผยแพรงานวิชาการดังกลาว รวมทั้งประสานงานการเผยแพรงาน วิชาการดังกลาว ผูประสานงานการเผยแพร (Corresponding Author) หมายถึ ง ผู รับผิดชอบในการติ ดต อ ประสานงานและให คําชี้ แจงทางวิชาการ แก กอง บรรณาธิการของวารสารที่เผยแพรผลงาน นั้น เอกสารอางอิง : หนังสือสํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ ที่ อว 0227.2(1)/ว90 ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2562


โครงการประกันภัยอุบัติเหตุสวนบุคคล (กลุม) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําปการศึกษา 2562 โดย อชิดา นิลรัตน งานสวัสดิการ ตามที่มหาวิทยาลัยจัดใหมีโครงการประกั นภัยอุบัติเหตุสวนบุคคล (กลุม) นักเรียน นักศึกษา โดยใหบุคลากรมีโอกาสเขารวมโครงการ(ตามความสมัครใจ)ดวย นั้น ในปการศึกษา 2562 มหาวิ ทยาลั ย ได คั ดเลื อ กบริ ษัท เมื อ งไทยประกั น ภั ย จํ ากั ด (มหาชน) จั ดทํ าประกั น ภั ย โดยมี รายละเอียดความคุมครอง ดังนี้ 1. เบี้ยประกันภัยคนละ 169 บาท ตอป 2. วันเริ่มความคุมครอง ตั้งแตวันที่ 26 กรกฎาคม 2562 เวลา 16.30 น. ถึงวันที่ 26 กรกฎาคม 2563 เวลา 16.30 น. 3. มีสิทธิ์เขารับการรักษาพยาบาลอุบัติเหตุไดทั้งในโรงพยาบาลของรัฐ เอกชน คลินิก และโพลีคลินิก ที่มีใบอนุญาตใหประกอบโรคศิลป ทั่วโลก 4. คารักษาพยาบาลเปนจํานวน 20,000 บาทตออุบัติเหตุแตละครั้งโดยไมจํากั ด จํานวนครั้ง 5. คาชดเชยกรณีเสียชีวิต ทุพพลภาพถาวร สูญเสียอวัยวะ เนื่องจากการขับขี่หรือ โดยสารจักรยานยนตหรือถูกฆาตกรรม/ทํารายรางกาย คุมครองการนัดหยุดงาน การจราจล การที่ ประชาชนกอความวุนวายถึงขนาดลุกฮือตอตานรัฐบาล 160,000 บาท 6. คุมครองกรณีสูญเสียอวัยวะ ตามขอตกลงคุมครองอ.บ. 2 ตั้งแต 1- 100 % ของ เงินประกัน 7. คาเคลื่อนยายเพื่อการรักษาพยาบาลและการสงศพกลับสูภูมิลําเนา รวมอยูใน วงเงินขอตกลงคุมครอง ขอ 5 ไมเกิน 5,000 บาท 8. ค าช วยเหลื อ งานศพในนามมหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร กรณี เ สี ย ชี วิต จาก อุบัติเหตุ และกรณีเสียชีวิตจากสุขภาพ จํานวนเงิน 40,000 บาท 9. ทานจะไดรับ P.A. Medical Card เพื่อใชแสดงตอ โรงพยาบาลทุ กแห งที่ อ ยู ใน โครงการทั่วประเทศโดยไมตองชําระคารักษาพยาบาลในวงเงินที่ระบุบนบัตรในกรณีที่ผูเอาประกันภัย ไมสะดวกที่จะเขารับการรักษาในโรงพยาบาลที่อยูในโครงการผูเอาประกันภัยสามารถเขารับการรักษา ที่โรงพยาบาลอื่นๆ ได โดยสํารองคาใชจายการรักษาพยาบาล


หากทานสํารองจายคารักษาพยาบาล ทานสามารถนําใบรับรองแพทย พ รอ ม ใบเสร็จรับเงินตัวจริง สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาบัตร PA และ สําเนาสมุดบัญชีหนา แรก กรอกเอกสารการเคลมประกัน มาเบิกได ดังนี้ 1. วิทยาเขตหาดใหญ และวิทยาเขตป ตตานี งานสวัสดิการ กองการเจาหน า ที่ ผูประสานงานประจําวิทยาเขต คุณอชิดา นิลรัตน เบอรติดตอ 081-5987758 2. วิทยาเขตสุราษฎรธานี กองวิชาการและการพัฒนานักศึกษา ผูประสานงาน ประจําวิทยาเขต คุณสุพรรณพร วรรณเวช เบอรติดตอ 086-9619585 3. วิ ท ยาเขตตรั ง สํ า นั ก งานอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตตรั ง ผู ป ระสานงานประจํ า วิทยาเขต คุณสมจิตร ลุงกี่ เบอรติดตอ 089-7385819 4. วิ ทยาเขตภูเก็ ต กองกิจ การนั ก ศึ กษาวิ ทยาเขตภู เก็ ต ผู ประสานงานประจํ า วิทยาเขต คุณแววตา อินทรชิต เบอรติดตอ 0918236108

หมายเหตุ อุบัติเหตุสาธารณะ หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิ ดขึ้นในอาคารสาธารณะ และรถ โดยสารสาธารณะ บริษัทจะใหคุมครองผลประโยชนอุบัติเหตุสาธารณะสําหรับนักเรียน นักศึกษาและ บุคลากร (1) ขณะเปนผูโดยสารและเกิดอุบัติเหตุขึ้นกับรถไฟ รถโดยสารขนสงมวลชน รถ โดยสารที่จดทะเบียนเพื่อการขนสงทางบกสาธารณะ และรถโดยสารสาธารณะ อื่นๆ เชน รถเมล รถไฟฟาใตดิน รถไฟลอยฟา (2) ขณะโดยสารในลิฟทสาธารณะ (3) ขณะอยูในอาคารสาธารณะและเกิดไฟไหม


ผลงานวิจัยเพื่อใชในการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการที่มาจากวิทยานิพนธของนักศึกษา นางสาวนันทนา พันธภัย งานบริหารบุคคล ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่ อง หลั กเกณฑ และวิธีการพิจารณาแต งตั้ งบุ คคลให ดํารง ตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย พ.ศ.2560 ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแต วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561 กําหนดลักษณะการมีสวนรวมในผลงานทางวิชาการ กรณีของผลงานวิจัย ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เผยแพรอันเปนผลมาจากวิทยานิพนธของนักศึกษาที่ผูขอกําหนด ตําแหนงทางวิชาการเปนอาจารยที่ปรึกษานั้น ผูนั้นตองเปนผูริเริ่ม กํากับดูแล และมีบทบาทสําคัญ ในการวิเคราะหและสังเคราะหผลการวิจัย โดยผูขอตําแหนงทางวิชาการอาจใชผลงานทางวิชาการ ดังกลาวไดในสัดสวนไมเกินรอยละ 50 นั้น ซึ่งมี กรณี ที่ผูขอกํ าหนดตํ าแหน งทางวิ ชาการหลายท านเข าใจผิ ดว าไมสามารถนํ า ผลงานวิจัยที่มาจากวิทยานิพนธของนักศึกษาที่ผูขอกําหนดตําแหนงเปนอาจารยที่ปรึกษา มาใชเสนอ ขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการได จึงขอเรียนชี้แจงวาการนําผลงานวิจัยที่มาจากวิทยานิพนธของ นักศึกษาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สามารถนํามาใชในการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการได ซึ่งผูขอจะตองเปนผูริเริ่ม กํากับดูแล และมีบทบาทสําคัญในการวิเคราะหและสังเคราะหผลการวิจัย และมีสัดสวนการมีสวนรวมในผลงานทางวิชาการไมเกินรอยละ 50


โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูประเพณี มข.- มอ.-มช. "3 พลังเพื่อแผนดิน" ครั้งที่ 5 นางสาวมันตรินี หนูฤทธิ์ งานพัฒนาและฝกอบรม เมื่ อ วั น ที่ 4 ตุ ล าคม 2562 มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแกน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัย เชียงใหม จั ดโครงการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ประเพณี มข.- มอ.-มช. "3 พลังเพื่อแผ นดิ น"ครั้ งที่ 5 โดยมี ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการ อุ ด มศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร วิ จั ย และ นวั ต กรรม เป นประธานในพิ ธี ผู ชวยศาสตราจารย ดร.นิ วัติ แกวประดับ อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร กลาวเปดงาน พรอมดวย รศ.เพียรศักดิ์ ภักดี รองอธิ ก ารบดี ฝ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและวิ ท ยาเขตหนองคาย ปฏิ บั ติ ร าชการแทนอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ศาสตราจารย ค ลิ นิ ก นายแพทย นิ เ วศน นั น ทจิ ต อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม และ รองศาสตราจารย ดร.พั น ธ ทองชุ ม นุ ม รองอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต กลาวตอนรับผูเขารวมโครงการ ในการนี้มีคณะผูบริหาร มหาวิทยาลัย คณาจารย บุคลากรจากทั้ง 3 มหาวิทยาลัย รวมพิธีกวา 500 คน ณ หองประชุมดวง ชนก ดวงจิตต รีสอรท อ.ปาตอง จ.ภูเก็ต


ซึ่ ง ในป 2562 นี้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทรไดรับเกียรติเปนเจาภาพใน การจัดโครงการดังกลาวซึ่งจัดขึ้นเปนครั้งที่ 5 ซึ่งไดรับการสนับสนุน ความรวมมือ จาก แตละมหาวิทยาลัยเปนอยางดี ในครั้งนี้ได จัดพิธีเปดเปนการรดน้ําตนกลา 3 สถาบัน โดยหวังวาตนกลาเหลานี้จะเติบโต พรอม กับแนวคิดที่สรางสรรค มีคุณภาพตอไป โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูประเพณี มข.- มอ.-มช."3 พลังเพื่อแผนดิน"ครั้งที่ 5 มีวัตถุประสงค เพื่อเปดโอกาสให ผูบริหารระหวางมหาวิทยาลัย ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณ แนวปฏิบัติการ พัฒนาตามพันธกิจและยุทธศาสตรของทั้ง 3 มหาวิทยาลัย รวมถึงการกระชับความสัมพันธระหวาง ผูบริหาร ผูปฏิบัติงานขององคกรดานการศึกษา และสรางมิตรภาพความรวมมือใหเกิดเปนรูปธรรม อยางยั่งยืน โดยสามารถเรียนรูรวมกันและ เขาใจความแตกตางของบริบทการพัฒนา ในแตละพื้นที่ ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผานมา ก ร อ บ ก า ร จั ด ง า น จ ะ มุ งเ น น ก า ร แลกเปลี่ยนเรียนรู กรณีตัวอยางของแตละ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ป ระสบผลสํ า เร็ จ และ กระชั บความสั มพั นธ กระทั่งดําเนิ นการ มาถึงปที่ 5 ที่ทิศทางการดําเนินงานเขมขน กวาทุกปที่ผานมา ภายในโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูประเพณี มข.- มอ.-มช. "3 พลังเพื่อแผนดิน"ครั้งที่ 5 นี้ ทางมหาวิทยาลัยไดรับเกียรติจาก ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึ กษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ในการปาฐกถาพิเศษ หัวขอ “การบริหารมหาวิทยาลัยภายใต กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” นอกจากนี้ทั้ง 3 มหาวิทยาลัยเครือขาย มี การทําพิธีลงนามตอสัญญาการทําความรวมมือกัน ระหวาง มหาวิทยาลัยขอนแก น มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร และมหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อสานตอความรวมมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู และ


สานต อความสั มพั นธ รวมกั นต อ ไป อี กทั้งในโครงการยั งมี การแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู รวมกั นระหว าง 3 มหาวิทยาลัย ซึ่งแบงกลุมแลกเปลี่ยนเรียนรูที่ครอบคลุมในดานตามหัวขอ ทั้งหมด 7 กลุมการเรียนรู ไดแก 1) ดานการเรียนการสอน Life Long Learning (Credit Bank) 2) ดานการวิจัย การปรั บระบบการวิ จัยของมหาวิ ทยาลั ย เพื่อรองรับการจัดสรรทุนวิจัยของประเทศ รู ปแบบใหม 3) ด านการบริ การวิ ชาการ การบริการวิชาการที่มีผลกระทบสูง (การ สร า งผลงานจากการบริ ก ารฯ เพื่ อ ขอ กําหนดตําแหนงทางวิชาการ) 4) ดานการ บริ ห ารจั ด การ Digital University (Smart office, Digital transformation, Big data) 5) ด า น ทะนุ บํารุ งศิ ลปวั ฒนธรรม Cultural Economy เศรษฐศาสตร เ ชิ งวั ฒนธรรม 6) ด านการพั ฒ นา นักศึกษา Smart Student 7) หัวขอ University Startup Ecosystem

ซึ่งเชื่อวาการรวมโครงการครั้งนี้ทุกทานจะประทับใจในการตอนรับอยางอบอุน และยังไดรับแรง บันดาลใจ พรอมนําแนวคิดสําคัญ จากการปาฐกถาพิเศษ การแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันไปสาน ตอ ในระดับคณะหนวยงาน เจาหนาที่ นักศึกษา อยางเปนรูปธรรมชัดเจน เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัย และสงผลตอความเขมแข็งของการพัฒนาประเทศไทยรวมกัน


โดยตลอดระ ยะ ที่ ผ านมา ทั้ ง 3 มหาวิทยาลัยไดรวมมือ รวมแรง รวมใจกัน จัด กิจกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางตอเนื่อง จนได รั บความไว วางใจจากรั ฐบาลให เ ป น สถาบั นในการศึ ก ษาหลั ก ของภู มิภ าค และ พัฒนาประเทศผานนโยบายตางๆ ที่รัฐบาล กําหนด นอกเหนือจากภารกิจหลักของทั้งสาม มหาวิทยาลัยดําเนินการอยู โดยเฉพาะอยาง ยิ่ง นโยบาย Thailand 4.0 ซึ่งเปนการพัฒนาประเทศดวยงานวิจัยและนวัตกรรม รวมถึงการผลิ ต บัณฑิต และพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มีทักษะ ความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญในแขนง วิชาชีพ เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน หมูบาน และภูมิภาคใหเกิดความเขมแข็ง และ นําไปสูการพัฒนาประเทศตอไป


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.