Thailand Political Leprosy

Page 1

การรักษาและควบคุมโรคเรื้ อน และโรคเรื้ อนทางการเมือง ตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย ศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ รามสู ต ประธานกรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์


การรักษาและควบคุมโรคเรื้ อนและโรคเรื้ อนทางการเมือง ตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย (1) ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระ รามสู ต • • • •

ประธานกรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสั ย ในพระบรมราชู ปถัมภ์ ทีป่ รึกษากรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข อดีตอธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่ อ และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุ ข อดีตนายกสมาคมแพทย์ เวชศาสตร์ ป้องกันแห่ งประเทศไทย

(1) - เอกสารประกอบการอภิปรายอิสระครั้งแรกในการร่ วมอภิปรายอิสระเรื่ อง “การรักษาและควบคุมโรคเรื้ อนและโรคเรื้ อนทางการเมืองตามแนวทางพระราช ทฤษฎีราชประชาสมาสัย” จัดอภิปรายอิสระและแถลงข่าวสื่ อมวลชน โดยคณะรัฐบุคคล ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุ งเทพฯ ในวันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน 2557 และจัดบรรยายครั้งที่สองในการประชุมคณะผูน้ าทางความคิดและผูน้ าด้านอาชีพเพื่อร่ วมแก้วกิ ฤติการเมืองของประเทศไทย ณ สถาบันราช ประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ขในวันพุธที่ 7 พฤษภาคม 2557 - เนื่องจากเวลาอภิปรายและบรรยายมีจากัดจึงไม่สามารถอภิปรายครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดที่เตรี ยมไว้ในเอกสารนี้ได้อย่างครบถ้วน - เป็ นความคิดเห็นส่ วนตัวของผูอ้ ภิปรายและผูบ้ รรยายที่กาหนดหัวข้ออภิปรายและบรรยายดังกล่าวโดย ศ. ดร. ปราโมทย์ นาครทรรพ กรรมการรัฐบุคคล โดยมิได้มีการให้ขอ้ มูล หรื อคาแนะนาใดๆ ก่อนอภิปรายเพื่อให้เป็ นการอภิปรายอิสระอย่างแท้จริ ง - ความคิดเห็นทั้งหมดในเอกสารนี้เป็ นความคิดเห็นส่ วนตัวของผูเ้ ขียนที่ใช้ในการอภิปรายอิสระครั้งนี้ เท่านั้นโดยไม่ใช่ความเห็นของคณะรัฐบุคคล คณะ ผูน้ าทางความคิด และผูน้ าด้านอาชีพเพื่อร่ วมแก้วกิ ฤติการเมืองของประเทศไทย มูลนิธิราชประชาสมาสัยฯ สถาบันราชประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค 2 กระทรวงสาธารณสุ ข และสมาคมแพทย์เวชศาสตร์ ป้องกันฯ และไม่มีขอ้ ผูกพันเป็ นทางการใดๆ กับองค์กรต่างๆ ดังกล่าว


สารบัญ หน้ า 1. วัตถุประสงค์ การอภิปรายอิสระและบรรยายเรื่ อง “การรักษาและควบคุมโรคเรื้อนและโรคเรื้อนทางการเมือง” 2. ความหมายของ “ราชประชาสมาสั ย” 3. สรุปความเป็ นมาและพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ตามแนวพระราชทฤษฎี “ราชประชาสมาสั ย” ในงานโครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดาริ จนสามารถกาจัดโรคเรื้อนสาเร็จอย่ างน่ ามหัศจรรย์ สมดัง พระราชดาริและพระราชปณิธาน ในปี 2537 เป็ นประเทศแรกในโลก ก่อนเป้ าหมายในปี 2548 ขององค์ การอนามัยโลก 4. เปรียบเทียบโรคเรื้อนและโรคเรื้อนทางการเมืองในมิติและมุมมองต่ างๆ 4.1 สรุปตารางเปรียบเทียบโรคเรื้อนและโรคเรื้อนทางการเมือง 4.2 นิยาม 4.3 สาเหตุของการเกิดโรค 4.4 พยาธิสภาพและอาการของโรค 4.5 การวินิจฉัยโรค 4.6 การรักษาโรคเรื้อนโดยใช้ ยารักษาร่ วมกับการใช้ ทฤษฎีราชประชาสมาสั ยเพื่อเป็ นแนวทางประยุกต์ ในการรักษาโรค เรื้อนทางการเมือง 5. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะแนวทางการรักษาและควบคุมโรคเรื้อนทางการเมืองตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชา สมาสั ย 6. บทสรุป

4 5 6

10 10 14 15 16 19 21 26 31

3


1. วัตถุประสงค์ การอภิปรายและบรรยายอิสระเรื่ อง “การรักษาและควบคุมโรคเรื้อน และโรคเรื้อนทางการเมือง ตามแนวทางประราชทฤษฎีราชประชาสมาสั ย” 1. เพื่ออภิปรายความหมาย ความสาคัญ และ ความเป็ นมาของพระราชทฤษฎี “ราชประชาสมาสั ย” ที่ได้รับพระราชทานเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่ วมของประชาชน ชุมชน และองค์กรเกี่ยวข้อง การดาเนินงานโครงการควบคุมโรคเรื้ อนตามแนวพระราชดาริ ที่ยากลาบากมากในปี พ.ศ. 2500 – 2537 จนสามารถกาจัดโรคเรื้ อนได้สาเร็จสมดังพระราชดาริ และพระราชปณิ ธาน ในปี 2537 อย่างน่ามหัศจรรย์ 2. เพื่อเปรี ยบเทียบระหว่าง “โรคเรื้อนทางการเมือง” กับ “โรคเรื้อน” ในมิติหรื อมุมมองต่างๆ เช่น นิยาม สาเหตุการเกิดโรค อาการแทรกซ้อน การวินิจฉัย การรักษา การควบคุมและกาจัดโรค ตามแนวพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย 3. เพื่อให้ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนวทางการประยุกต์ทฤษฎีราชประชาสมาสัยและข้อเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการดาเนินการเกี่ยวกับโรคเรื้ อนทางการเมืองหรื อวิกฤติการณ์ทางการเมืองในปัจจุบนั

4


2. ความหมายของ “ราชประชาสมาสั ย ” 2.1 “ราชประชาสมาสัย” (Raj Pracha Samasai) เป็ นนามที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั แก่ สถาบันราชประชาสมาสัย กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้รับพระราชทาน พระราชดาริ พระราชทรัพย์รวมทั้งเงินที่ผรู ้ ่ วม เสด็จพระราชกุศล เพื่อจัดตั้งสถาบันนี้ข้ ึนมาที่โรงพยาบาลโรคเรื้ อนพระประแดง สมุทรปราการ ในปี 2503 เพื่อ พัฒนาการวิจยั ค้นคว้าและฝึ กอบรมและเผยแพร่ ความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้องด้านโรคเรื้ อน โดยได้รับทรงพระราชกรุ ณา พระราชทานนามและความหมาย “ราชประชาสมาสัย” ว่าหมายถึง “พระมหากษัตริย์และประชาชนย่ อมอาศัยซึ่งกันและ กัน” (Mutual support between The King and People) และได้ทรงพระกรุ ณาฯ เสด็จพระราชดาเนินในพิธีวางศิลา ฤกษ์และพิธีเปิ ดอาคารในวันที่ 16 มกราคม 251 และ 2503 ตามลาดับ 2.2 “ราชประชาสมาสัย” ยังได้รับพระกรุ ณาพระราชทานนามและพระราชทรัพย์ให้กระทรวงสาธารณสุข จัดตั้ง 1) มูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปี 2503 เพื่อสนับสนุนงานโรคเรื้ อน ต่างๆ และงานตามแนว พระราชดาริ ต่างๆ 2) โรงเรี ยนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปี 2507 โดยได้เสด็จพระราชดาเนินในพิธีเปิ ดโรงเรี ยนฯ ใน วันที่ 16 มกราคม 2507 เพื่อพระราชดาริ ให้เป็ นโรงเรี ยนต้นแบบในการให้การศึกษาสงเคราะห์แก่บุตรผูป้ ่ วยโรค เรื้ อนให้ร่วมเรี ยนกับนักเรี ยนปกติได้โดยปราศจากความรังเกียจเดียดฉันท์และไม่ยอมรับ เพื่อแก่ไขปัญหาเดิมที่ โรงเรี ยนทั้งประเทศไม่ยอมรับบุตรผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนให้เข้าเรี ยนร่ วมกับนักเรี ยนปกติ จนต้องตั้งโรงเรี ยนตาม สถานพยาบาลและนิคมโรคเรื้ อนและโรงเรี ยนของกองการศึกษาพิเศษกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อรับบุตรผูป้ ่ วยโรค เรื้ อนที่ไม่สามารถได้ร่วมเรี ยนกับนักเรี ยนปกติในโรงเรี ยนทัว่ ประเทศได้ 2.3 “วันราชประชาสมาสัย” จากความสาคัญของวันที่ 16 มกราคม ของทุกปี กระทรวงสาธารณสุขและมูลนิธิราชประชา สมาสัยฯ จึงจัดให้เป็ น “วันราชประชาสมาสัย” เพื่อจัดงานน้อมราลึกในพระมหากรุ ณาธิคุณและเฉลิมฉลองในสถาบัน ราชประชาสมาสัยและนิคมโรคเรื้ อน และสานักงานป้องกันควบคุมโรคเขตต่างๆ ฯลฯ รวมทั้งรณรงค์เผยแพร่ พระราช กรณี ยกิจในงานโรคเรื้ อนและงานต่างๆ และอื่นๆ ตามแนวพระราชดาริ และพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัยแก่ สื่ อมวลชน ชุมชนและประชาชน เพื่อสานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณและร่ วมมือโดยเสด็จพระราชกุศลสนับสนุนงานโรค เรื้ อนและโครงการอื่นๆ ตามแนวพระราชดาริ ดังกล่าว

5


3. สรุปความเป็ นมาและพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวตามแนวทางพระราช ทฤษฎี “ราชประชาสมาสั ย” ในงานโครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดาริจนสามารถ กาจัดโรคเรื้อนสาเร็จสมดังพระราชดาริ พระราชปณิธานในเวลา 37 ปี เป็ นประเทศแรกในโลก ความจริ งแนวทางทฤษฎีราชประชาสมาสัยได้นามาใช้ในงานโรคเรื้ อนนับแต่ รัชสมัย ล้นเกล้าฯ ร.5 – ร. 8 แต่คาว่า “ราชประชาสมาสัย” ได้รับพระราชทานนามโดยล้นเกล้าฯ ร.9 องค์ปัจจุบนั ในปี 2503 โดยมีความเป็ นมาสรุ ปได้ดงั นี้ รัชสมัย ร. 5 – ร. 8 ในยุคการควบคุมโรคแบบเก่าสมัยยังไม่มียารักษาโรคเรื้ อนและความรังเกียจสู งมาก ต้องใช้วธิ ี แยกกักผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนไว้ในสถานพยาบาล (ปี 2541 - 2489) โรคเรื้ อน 4 แห่ง โดยแห่งแรกล้นเกล้าฯ ร.5 ทรงพระราชทานที่ดินและงบประมาณสนับสนุนจาก สภากาชาดสยามให้คณะมิชชันนารี จดั ตั้ง สถาบันโรคเรื้ อนแมคเคนขึ้นที่เชียงใหม่สาหรับภาคเหนือในปี 2451 และ รพ.โรคเรื้ อนนครศรี ธรรมราชสาหรับภาคใต้ และ รพ.โรคเรื้ อนพระ ประแดง สมุทรปราการ สาหรับภาคกลางและ รพ.โรคเรื้ อนศรี ฐาน ที่ขอนแก่น สาหรับภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือใน 2 -5 ปี ต่อมา หลังจากนั้น รัฐบาลได้สร้างนิคมโรคเรื้ อน 14 แห่งทัว่ ประเทศตามลาดับ โดยมีสมเด็จพระศรี สวริ นทราบรมราชเทวี พระพัณนวัสสาอัยยิการเจ้า นายกสภา กาชาดสยาม และสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เป็ นผูร้ ับสนองพระราชดาริ และพระบรมราชโองการ เพื่อ สนับสนุนและมีพอ่ ค้าประชาชนร่ วมบริ จาคเงินสมทบเป็ นจานวนมากให้จดั สร้างขึ้นเมื่อยังไม่มีกรม และกระทรวงสาธารณสุ ข ในรัชสมัย ร.5 – ร.7 ระหว่างปี 2451 - 2477สะท้อนความจริ งที่วา่ แนวทางราชประชาสมาสัยได้ใช้มาก่อนแล้ว โดยขณะนั้นมีผปู ้ ่ วยโรคเรื้ อน ประมาณ 1 หมื่น และล้นเกล้าฯ ร.7 ทรงประกาศพระบรมราชโองการเป็ นครั้งแรกต้องปราบโรคเรื้ อนให้สูญสิ้ นไปจากราชอาณาจักรสยาม รัชสมัย ร. 9 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ค้นพบยารักษาโรคเรื้ อน จึงเปลี่ยนจากยุคการแยกกักกันผูป้ ่ วยไว้ใน รพ.โรคเรื้ อน และนิคมโรคเรื้ อนเป็ นยุค (ปี 2496) การควบคุมโรคแบบใหม่ ที่มุ่งค้นหารักษาผูป้ ่ วยที่บา้ น โดยในปี ปี 2496 องค์การอนามัยโลก (WHO) สุ่ มสารวจพบมีผปู ้ ่ วยทัว่ ประเทศ 140,000 คน ด้วยความชุกมีผปู ้ ่ วย 50 คน ต่อประชากร 1 หมื่นคน (ประชากร 1 ล้านเป็ นโรคเรื้ อน 5,000 คน) (ปี 2498 – 2499) กระทรวงสาธารณสุ ขดาเนินการโครงการทดลอง โครงการควบคุมโรคเรื้ อนแบบใหม่ ที่ ขอนแก่นโดยการสนับสนุนของ WHO และ UNICEF ที่มุ่งใช้ทีมเคลื่อนที่สารวจค้นหาและรักษาผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนที่บา้ น (ปี 2500) แต่มีอุปสรรคที่มืดมนไม่สามารถขยายโครงการไปทัว่ ประเทศได้ในปี 2500 เพราะ - สังคมรังเกียจสู ง ประชาชนชุมชนรังเกียจกลัวไม่ร่วมมือ ผูป้ ่ วยต้องหลบซ่อนตัวค้นหายาก - ขาดแคลนแพทย์ เจ้าหน้าที่โรคเรื้ อนมาทางานโรคเรื้ อน เพราะความรังเกียจกลัว - สถานีอนามัย โรงพยาบาลในจังหวัดต่างๆ ไม่ยอมให้ผปู ้ ่ วยเข้าไปรักษาในบริ เวณอาคารเพราะเกรงจะกระทบ ความรังเกียจกลัวของผูป้ ่ วยโรคอื่นและบุคลากร - ขาดยาที่มีประสิ ทธิภาพใช้ยา Dapsone ตัวเดียวที่มีฤทธิ แค่หยุดการเจริ ญแบ่งตัวของเชื้อโรคเรื้ อน ทาให้อาการกาเริ บรุ นแรงและพิการมาก และเกิดการดื้อยาได้ง่าย - ขาดสถาบันฝึ กอบรมและวิจยั ด้านโรคเรื้ อน เพื่อผลิตบุคลากรด้านโรคเรื้ อนให้เพียงพอต่อการขยายโครงการแบบทีมเคลื่อนที่ในปี 2500 และศึกษาวิจยั โรคเรื้ อน 6 รวมทั้งขาดงบประมาณอบรมแพทย์และบุคลากรสาธารณสุ ขทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ ให้มีความรู ้เลิกรังเกียจผูป้ ่ วย และยอมให้การรักษาผูป้ ่ วยทัว่ ประเทศฯลฯ


ปัญหาโรคเรื้ อนดังกล่าวทรงทราบสู่เบื้องพระยุคลบาทจากอธิบดีกรมอนามัย และที่ปรึ กษาโรคเรื้ อน องค์การอนามัยโลก (WHO) ทรง รับ โครงการควบคุมโรคเรื้ อนไว้เป็ นโครงการตามแนวพระราชดาริ ที่ทรงมุ่งให้ขยายโครงการครอบคลุมทัว่ ประเทศให้รวดเร็ วก่อนที่ โรคเรื้ อน จะแพร่ ระบาดเป็ นปัญหารุ นแรง พระราชทาน พระราชทรัพย์ และที่มีผบู ้ ริ จาคเงินร่ วมโดยเสด็จพระราชกุศลจนเพียงพอ ให้ กระทรวงสาธารณสุข ก่อสร้างอาคารเพื่อจัดตั้งสถาบันฝึ กอบรมและวิจยั โรคเรื้ อนและมูลนิธิช่วยโรคเรื้ อนขึ้น 16 ม.ค. 2501 - เสด็จพิธีวางศิลาฤกษ์ อาคารฝึ กอบรมวิจยั โรคเรื้ อน ที่โรงพยาบาลโรคเรื้ อนพระประแดง สมุทรปราการ 16 ม.ค. 2503 - เสด็จพิธีเปิ ดสถาบันฝึ กอบรมและวิจยั โรคเรื้ อน ปี 2503 พระราชทานนามว่า “สถาบันราชประชาสมาสั ย” พระราชทานความหมายว่า “กษัตริย์และประชาชนย่ อมพึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกัน” (Mutual Support Between The King And People) และพระราชทานพระราช ดารัสว่า “การจัดตั้งสถาบันฯ นี้ข้ ึนมา เพื่อช่วยบาบัดโรคเรื้ อนให้สูญสิ้นไปจากแผ่นดินไทย” อันนับเป็ นพระบรมราชโองการครั้งที่สอง นับจากรัชสมัยล้นเกล้าฯ ร.7 - เงินที่เหลือจากการก่อสร้างสถาบันฯ ทรงพระกรุ ณาพระราชทานให้กระทรวงสาธารณสุขจัดตั้ง มูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระ บรมราชูปถัมภ์ ปี 2503เพื่อสนับสนุนงานโรคเรื้ อนทุกด้าน และให้มูลนิธฺฯ จัดสร้างโรงเรี ยนสาหรับบุตรผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนขึ้นที่บริ เวณ อาเภอพระประแดง ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา ตรงข้ามฝั่งที่ รพ.โรคเรื้ อน พระประแดง ตั้งอยู่ 16 ม.ค. 2507 - เสด็จพิธีเปิ ดโรงเรี ยนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2507 เพื่อเป็ นโรงเรี ยนต้นแบบในการให้การศึกษาสงเคราะห์แก่ บุตร ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนให้ร่วมเรี ยนกับนักเรี ยนปกติทวั่ ไปได้ วันราชประชาสมาสั ย - (วันสัญลักษณ์) กระทรวงสาธารรสุขร่ วมกับมูลนิธิราชประชาสมาสัยฯ และหน่วยงานเกี่ยวข้องจัดรณรงค์กระตุน้ ประชาชน ชุมชน (16 ม.ค. ของทุกปี ) และองค์กรเกี่ยวข้องสังคมให้นอ้ มราลึกในพระมหากรุ ณาธิคุณ และร่ วมรณรงค์ตามทฤษฎี “ราชประชาสมาสัย” ในการช่วยค้นหา ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนที่หลงเหลือในชุมชน และช่วยสนับสนุนการดูแลสงเคราะห์ฟ้ื นฟูสภาพผูป้ ่ วยที่รักษาหายและพิการ และสนับสนุนงาน โครงการควบคุมโรคเรื้ อน เพื่อกาจัดโรคเรื้ อน ให้สาเร็ จอย่างยัง่ ยืนและสนับสนุนโครงการตามแนวพระราชดาริ อื่นๆ ต่อมาเช่น 1) โครงการเฝ้าระวังค้นหาและรักษาผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนจากบุคคลต่างด้าวที่เข้ามาในประเทศไทย 2) โครงการราชประชาสมาสัยเฉลิมพระเกียรติ เพื่อให้ทุนการศึกษาบุตรผูป้ ่ วยโรคแอดส์ที่กาพร้า 3) โครงการจัดตั้งชมรมจิตอาสาราชประชาสมาสัยตาบล ฯลฯ เป็ นต้น - ทุก 16 มกราคมทุกปี จัดเป็ นวันราชประชาสมาสัย เพื่อการรณรงค์ทวั่ ประเทศ และร่ วมน้อมราลึกและสานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณ และร่ วมค้นหาผูป้ ่ วยหลงเหลือในชุมชน - ผลพวงจากพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัยประชาชน / องค์กร ใน / ต่างประเทศ ร่ วมโดยเสด็จพระราชกุศลสนับสนุนงานโรค เรื้ อน ตามพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัยอย่างท่วมท้น อย่างไม่เคยมีปรากฎในงานสาธารณสุขและควบคุมโรคติดต่อโรคใด จน สามารถกาจัดโรคเรื้ อนได้สาเร็ จ สมดังพระราชดาริ และพระราชปณิ ธานเป็ นประเทศแรกในโลกในปี 2537 ก่อนเป้าหมายปี 2548 ของ องค์การอนามัยโลก อันเป็ นผลเนื่องด้วยพระเมตตาบารมีและพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัยอย่างแท้จริ ง 7 ปี 2499


สรุปความสาเร็จโครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดาริ และพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสั ย ด้วยพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย ทาให้ประสบความสาเร็ จทุกโครงการ อาทิ / สถาบัน รปส. / โรงเรี ยน รปส. / มูลนิธิ รปส. การขยายโครงการควบคุมโรคเรื้ อนครอบคลุมทุกจังหวัด ทัว่ ประเทศได้ใน ปี 2500 – 2519 (19 ปี ) ตามคาแนะนาและช่วยเหลือขององค์การอนามัย โลก องค์การยูนิเซฟ และองค์กรเกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศอย่างท่วมท้นที่จะก่อนโอนมอบงานควบคุมโรคเรื้ อน ให้ระบบบริ การ สธ. ทุก จังหวัดรับไปดาเนินการต่อ  อบรมแพทย์ / บุคลากร สธ. ทัว่ ประเทศ ใช้เวลาอบรม 6 ปี ในปี 2514 -2519 ด้วยการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กร UNICEF  กาจัดโรคเรื้ อนสาเร็ จ ไม่เป็ นปัญหา สธ. ปี 37 สมดังพระราชปณิ ธาน โดย - ค้นหาผูป้ ่ วยมารักษาหาย อยูใ่ นชุมชนได้ 190,000 คน จากเป้าหมายที่สุ่มสารวจประมาณ 140,000 คนในปี 2496 - ลดความชุกจากเมื่อเริ่ มขยายโครงการในปี 2500 ในอัตราผูป้ ่ วย 50 ต่อประชากร 1 หมื่น หรื อประชากร 1 ล้านเป็ นโรคเรื้ อน 5,000 คน เหลือ < 1 / 10,000 ปี 37 ซึ่งเป็ นเกณฑ์ที่ WHO รับรองว่ากาจัดโรคเรื้ อนได้สาเร็ จไม่เป็ นปัญหาสาธารณสุขต่อไป - ปัจจุบนั ปี 2556 ความชุกเหลือ 0.09 / ประชากร 1 หมื่น( ประชากร 1 ล้าน เป็ นโรคเรื้ อน 9 คน ) ปี 2503 – 2540 - ในหลวงโปรดเกล้าฯให้กรรมการมูลนิธิฯ เข้าเฝ้ารายงานความก้าวหน้าทุก 3 – 5 ปี พระราชทานข้อแนะนาทุกด้าน มาโดยตลอด - ไม่มีโครงการ สธ. ใดที่ในหลวงทรงห่วงใย และติดตามจนสาเร็ จอย่างโรคเรื้ อน - ไม่มีโครงการ สธ. ใดที่ได้รับความร่ วมมือสนับสนุนร่ วมมืออย่างท่วมท้นจากประชาชน ชุมชน องค์กรในและต่างประเทศเท่าโรคเรื้ อ สมดังพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย ปี 2540 กรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัยฯ นาคณะบุคคลเกี่ยวข้อง 314 คน เข้าเฝ้าในหลวง หลังกาจัดโรคเรื้ อนสาเร็ จ ปี 2537ได้พระราชทาน การบ้าน 2 ข้อ 1. ให้เฝ้าระวังค้นหารักษาโรคเรื้ อนในบุคคล / แรงงานต่างด้าวจากประเทศเพื่อนบ้านที่อาจนาโรคเรื้ อนมาใหม่ อันเป็ นที่มาของ “โครงการเฝ้าระวัง โรคเรื้ อนแรงงานต่างด้าว” ในปี 41 – 56 ซึ่งสามารถค้นพบผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนในแรงงานต่างด้าวพบ 411 คน (ร้อยละ 95 เป็ นพม่า) สะท้อนพระ อัจฉริ ยภาพและพระราชวิสยั ทัศน์กว้างไกล แม้พวกเรา สธ. ยังไม่ทนั ได้คิด มัวแต่ดีใจว่ากาจัดสาเร็ จแล้ว 2. เมื่อทางานกาจัดโรคเรื้ อนสาเร็ จแล้ว และช่วยบุตรผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนสาเร็ จแล้ว ขอให้มูลนิธิฯช่วยให้ทุนการศึกษาบุตรผูป้ ่ วยโรคเอดส์กาพร้า ที่ ยากจนในชนบท อันเป็ นที่มาของการจัดตั้ง “โครงการราชประชาสมาสัยเฉลิมพระเกียรติ เพื่อให้ทุนการศึกษาแก่บุตรโรคเอดส์ที่กาพร้า” ปี ละ 999 ทุน (ระดับประถมทุนละ 4000 บาทต่อคน ระดับมัธยม ปี ละ 5000 บาทต่อคน และระดับอาชีวะและอุดมศึกษา ปี ละ 8000 บาทต่อคน) โดย จาก ปี 41 – ปัจจุบนั มีผรู ้ ับทุนพระราชทานรวมเกือบสามพันคน จบการศึกษาสูงสุดที่ตอ้ งการเกือบเจ็ดร้อยคน โดยจบอาชีวะและปริ ญญาตรี เกือบ สองร้อยคน สมดังพระราชดาริ และพระราชปณิ ธาน 

8


ปี 2553 : จัดตั้งชมรมจิตอาสาราชประชาสมัยตาบลและตามแนวพระราชดาริ ต่อมาหลังกาจัดโรคเรื้ อนสาเร็ จ ในปี 2537 การเข้าเฝ้าของกรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัยฯ ห่างลงจากเดิมทุก 3 – 5 ปี เป็ นทุก 8 -10 ปี ในปี 2545, 2555 ในหลวงทรงมอบให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จแทน พระราชทานข้อแนะนาว่า เมื่อกาจัดโรคเรื อน้ สาเร็ จแล้ว มูลนิธิราชประชาสมาสัย ควรช่วยสนับสนุนการดูแลผูพ้ ิการ ผูส้ ูงอายุ และปัญหาอื่นๆ ในชุมชนต่อไปได้ตามความเหมาะสมและกาลัง โดยไม่ตอ้ งจากัดเฉพาะงานโรคเรื้ อนและงานช่วยเหลือบุตรผูป้ ่ วยโรคเอดส์ที่กาพร้าอย่างเดียวมูลนิธิฯร่ วมกับสถาบันราชประชาสมาสัยจึง ได้จดั ตั้ง “ชมรมจิตอาสาราชประชาสมาสัยตาบล” ตามแนวพระราชดาริ ร่ วมกับ อบต./ เทศบาลตาบล ร่ วมโดยเสด็จพระราชกุศล โดยยึดหลักการ 1) ยึด พระราชทฤษฎี ราชประชาสมาสัย ให้จิตอาสาราชประชาสมาสัยตาบลร่ วมกันเสด็จโดยพระราชกุศล “ทาดี เพื่อพ่อแห่งแผ่นดินและแผ่นดิน เกิดให้ สมกับที่ได้เกิดมาภายใต้พระบรมโพธิสมภาร” 2) ยึด พระราชปรัชญา “ปิ ดทองหลังพระ” ทาดีโดยไม่หวังผลตอบแทนโดยจิตอาสาราชประชาสมาสัย เป็ นชาวบ้านในตาบลที่อาสาพระราชามา ช่วยงาน ต่างๆที่มุลนิธิราชประชาสมาสัย ร่ วมกับชมรมจิตอาสาราชประชาสมาสัยตาบล จัดขึ้นภายใต้การฝึ กอบรมและสนับสนุนจาก รพ. ส่งเสริ มสุขภาพตาบล (รพ.สต.) และ รพ.ชุมชนประจาอาเภอ(รพช.) อบต. และ เทศบาลตาบล ใน 10 ด้าน คือ 1. โรคเรื้ อน (ทางานเฝ้าระวัง ค้นหาแล้วช่วยดูแลผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนที่พิการ สูงอายุ) 2. ผูพ้ ิการจากโรคอื่นๆ 3. ผูส้ ูงอายุ 4. เด็กกาพร้าโรคเอดส์ และอื่นๆ 5. ยาเสพติด 6. โรคที่เป็ นปัญหาในชุมชน / ตาบล 7. สาธารณสมบัติ / สุขาภิบาล / สิ่ งแวดล้อม 8. ผูด้ อ้ ยโอกาสในชุมชน 9. เฝ้าระวังบุคคลและแรงงานต่างด้าวมิให้นาโรคติดต่อมาแพร่ โรค โดยการค้นหา รักษา และควบคุมอย่างต่อเนื่องตามพระราชดาริ 10. ร่ วมมือด้านดูแลความมัน่ คงชุมชน (จิตอาสาราชประชาสมาสัยตาบลจึงเป็ นนวัตกรรมใหม่ที่คณะรัฐบุคคล หรื อกลุ่มอื่นๆ ในกลุ่มคณะปฏิรูปประชาธิปไตยและประเทศไทยอาจ ร่ วมมือสนับสนุนเพื่อขยายในการจัดตั้งชมรมจิตอาสาราชประชาสมาสัยตาบลให้ครบทุกตาบลทัว่ ประเทศเพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ตามเป้าหมายที่ 10 ในการฝึ กอบรมและรณรงค์เผยแพร่ ความรู ้และการปฏิบตั ิของประชาชนและชุมชนทุกตาบลทัว่ ประเทศในด้านการส่งเสริ มคุณธรรมจริ ยธรรม และค่านิยมใหม่ๆ ที่ดีงามรวมทั้งในด้านการรณรงค์เสริ มสร้างพัฒนาประชาธิปไตยที่สมบูรณ์เหมาะสมถูกต้องอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข สาหรับประเทศไทยต่อไป) 9


4. การเปรียบเทียบโรคเรื้อน และโรคเรื้อนทางการเมืองในมิติ / มุมมองต่ างๆ 4.1 สรุปตารางเปรียบเทียบโรคเรื้อน และโรคเรื้อนทางการเมือง (เปรี ยบเทียบโรคมิใช่เปรี ยบเทียบตัวผูป้ ่ วยซึ่งเปรี ยบเทียบกันไม่ได้)

โรคเรื้อน (Medical Leprosy)

โรคเรื้อนทางการเมือง (Political Leprosy)

เชื้ อโรคทีเ่ ป็ นสาเหตุการ ติดเชื้อและเกิดโรค

เชื้อแบคทีเรียหรื อเชื้อโรคเรื้อน (Mycobacterium leprae) ชอบอาศัย ตามผิวหนังและเส้ น ประสาทส่ วน ปลายบริเวณมือ เท้า ใบหน้ า

เชื้อกิเลสทางการเมือง (โลภ หลง โกรธ) :โลภและหลงยึดติดกับตาแหน่ ง ผลประโยชน์ อานาจ พวกพ้ อง โกรธผู้มีความเห็นต่ างและขัดผลประโยชน์ เชื้อตัณหาทางการเมือง (ภวตัณหา :ความทะยานอยากมีอยากเป็ น (ตาแหน่ ง ผลประโยชน์ อานาจ พวกพ้อง) อภิวตัณหา : ความทะยานอยาก ไม่ มีไม่ เป็ น ไม่ อยากลงจาก ตาแหน่ ง อานาจ ผลประโยชน์ )

แหล่งแพร่ โรค

ผู้ป่วยโรคเรื้อน

ผู้ป่วยโรคทางการเมือง (นักการเมือง และสมุนบริวารทีป่ ่ วยเป็ นโรคทางการ เมือง เช่ นเดียวกับผู้สัมผัสโรคเรื้อน

ลาดับที่

ข้ อเปรียบเทียบ

1

2

10


ลาดับที่

ข้ อเปรียบเทียบ

3

กลุ่มเสี่ ยงทีม่ ีโอกาสติด เชื้อและป่ วยเป็ นโรค

4

สาเหตุการติดเชื้ อจาก ภูมิค้ ุมกัน หรื อภูมิ ต้ านทานบกพร่ อง / พยาธิสภาพ ทีท่ าให้ เกิดอาการโรค

• • • •

โรคเรื้อน

โรคเรื้อนทางการเมือง

ผู้สัมผัสร่ วมบ้ าน ผู้สัมผัสเพื่อนบ้ าน ผู้สัมผัสในชุ มชน ผู้สัมผัสทางสั งคมนานๆ ครั้ง

• ผู้สัมผัสนักการเมืองและบริวารทีป่ ่ วยเป็ นโรคเรื้อนทางการเมือง • ผู้สนใจรับรู้ ข้อมูลข่ าวสารด้ านเดียวจากสื่ อต่ างๆ ของกลุ่มผู้ป่วย โรคทางการเมือง

• ภูมิค้ ุมกันร่ างกายระบบเม็ดเลือดบกพร่ องทาให้ เม็ด • ภูมิค้ ุมกันทางจิตใจ จิตวิญญาณ คือ คุณธรรม จริยธรรมและหิริ เลือดขาวขนาดใหญ่บกพร่ องไม่ สามารถค้ นหา กิน โอตัปปะ บกพร่ อง ไม่ สามารถกาจัดกิเลศ ตัณหาทางการเมืองได้ ย่อย ทาลายเชื้อโรคเรื้อนได้ (เหมือนตารวจเลีย้ ง จนเกิดติดเชื้อกิเลสตัณหาทางการเมืองทาให้ มีกเิ ลศตัณหา พอก โจร) ทาให้ เชื้อโรคเรื้อนเจริญแบ่ งตัวเพิม่ ขึน้ เป็ น พูน จนเกิดอาการโรคเรื้อนทางการเมืองทีฉ่ ้ อฉลดุจหัวหน้ าโจร จานวนมากมาย (โจรเต็มเมือง) ต้ องใช้ เม็ดเลือด มหาโจรครอบครองประเทศ ปล้น โกงชาติ แผ่นดิน ทาลายฝ่ าย ขาวทีม่ ีฤทธิ์ทาลายเชื้ อรุ นแรง (เหมือนทหาร) มา คิดเห็นตรงข้ าม และเมื่อมีฝ่ายต่ อต้ านมาก ก็จะเพิม่ ภูมิหรื อแรง กาจัดจนเกิดการอักเสบและทาลายเนื้อเยื่อผิวหนัง ต้ านทานปราบปรามอย่ างรุ นแรง และกาเริบเสิ บสานไม่ ยาเกรง และเส้ นประสาทส่ วนปลาย ทาให้ เกิดอาการผิวหนัง กฎหาย ทาให้ บ้านเมืองเสี ยหายผู้คนล้ มตาย ตุ่ม แผ่ น ผื่น นูนแดงหนา และพิการ

11


ลาดับที่ ข้ อเปรียบเทียบ

โรคเรื้อน

โรคเรื้อนทางการเมือง

5

อาการ

• อาการผิวหนังเป็ นวงด่ าง แผ่น ผื่นตุ่ม นูนแดงหนา ชาหยิกไม่ เจ็บ • มือเท้ าชา กล้ ามเนื้อ มือเท้ า ใบหน้ า อ่ อนกาลังเกิดอัมพาต ข้ อมือตก เดิน เท้ าตก หลับตาไม่ สนิท นิว้ มือเท้ างอ และกุด

• ขาดคุณธรรม จริยธรรม หิริโอตับปะ ทาให้ จติ ใจและจิตวิญญาณทีถ่ ูกครอบงาพอกพูนด้ วยกิเลศ ตัณหาจนเกิดอาการของ กิเลส คือ 1) โลภ อยากมีอานาจผลประโยชน์ ทางการเมือง 2) หลง (โมหะ) หลงในอานาจและผลประโยชน์ 3) โกรธ (โทษะ) • เมื่อมีผ้ขู ัดแย้ งอานาจและผลประโยขน์ พวกตนจึงเกิดอาการของพฤติกรรมและเกิดอาการของ ตัณหา คือ 1) ภวตัณหา ความทะยานอยากมีอานาจและผลประโยชน์ ทางการเมือง 2) อภิวตัณหา ความทะยานอยาก ไม่ ยอมปล่ อยอานาจ ตาแหน่ ง และผลประโยชน์ ทางการเมือง แม้ ถูกลงโทษและ ตัดสิทธิ ดุจมหาโจร และโจรครองเมือง ใช้ อานาจ เผด็จการ คอรัปชั่นปล้ นชาติ ทาลายล้ างฝ่ ายตรง ข้ ามอย่ างรุนแรง โดยไม่ คานึงถึงความถูกต้ อง กฎหมาย รัฐธรรมนูญ คานึงถึงแค่ อานาจประโยชน์ ตนเองแสะพวกพ้อง โกหก ฉ้ อฉล คอรัปชั่น อย่ างไม่ อายและเกรงกลัวบาปและกฎหมาย

6

อาการแทรกซ้ อน กาเริบเกิดโรคเห่ อ

• เมื่อภูมคิ ้ มุ กันปรับเพิม่ ขึน้ เพื่อต่ อต้ าน ทาลายเชื้อทีเ่ หลืออยู่อย่ างรุนแรงจะ เกิดอาการกาเริบโรคเห่ อทาให้ ผวิ หนัง ทีน่ ูนแดง หนาอักเสบ บวมแดงร้ อน เจ็บ และเส้ นประสาทส่ วนปลายอักเสบ ปวดและพิการมากขึน้

• เมื่อภูมติ ้ านทานปรับเพิม่ ขึน้ กิเลสตัณหาเพิม่ มาก ขึน้ จนเหิมเกริมกาเริบเสิบสาน ใช้ วธิ ีต่อต้ านปราบ ปรามรุนแรงต่ อกลุ่มคนทีต่ ่ อต้ านอานาจ ผลประโยชน์ พวกตนจนผู้คนล้ มตายบาดเจ็บ บ้ านเมืองเสียหาย มากขึน้

7

ความพิการ

• โรคเรื้อนทาให้ เกิดความพิการทาง ร่ างกาย เช่ น นิว้ มือ เท้ างอ อัมพาต ข้ อมือตก เดินเท้ าตก หลับตาไม่ สนิท กระดูกนิว้ มือเท้ ากุดสั้นลง แต่ จติ ใจ และสมองของผู้ป่วยเป็ นปกติ จึงมี คุณธรรม จริยธรรม และหิริโอตัปปะ เยีย่ มคนปกติทวั่ ไป

• โรคเรื้อนทางการเมืองทาให้ เกิดความพิการจิตใจ และจิตวิญญาณ หรื อพิการจิตใจ ทีเ่ ต็มไปด้ วย กิเลส ตัณหาทางการเมือง ไร้ คุณธรรม จริยธรรม หิริโอตัปปะ ลุ่มหลงในอานาจเงินตรา พวกพ้ อง ผลประโยชน์ คดโกง ฉ้ อฉล แม้ ร่างกายจะไม่ พกิ ล พิการ แต่ จติ ใจพิกลพิการ

12


ลาดับที่

ข้ อเปรียบเทียบ

โรคเรื้อน

โรคเรื้อนทางการเมือง

8

การรักษา ควบคุม กาจัด

การให้ วคั ซีน บีซีจี เพิม่ ภูมิต้านทานตั้งแต่ วัยเด็ก และใช้ ยาหลายชนิด ฆ่าเชื้อให้ ตาย เพื่อให้ ผ้ ปู ่ วยหายจากโรคและฟื้ นฟูสภาพถ้ า มีความพิการ ร่ างกาย จิตใจ กาจัดมิให้ เกิด ผู้ป่วย โรคเรื้อนในอัตราความชุ กต่ากว่ า 1 /ประชากร 1 หมื่น

• การให้ วคั ซีน อบรมให้ ความรู้ แต่ วยั เด็ก ด้ านคุณธรรม จริยธรรม และ ความรู้ ประชาธิปไตย ทีถ่ ูกต้ องสมบูรณ์ อย่ างแท้ จริง เพื่อเพิม่ ภูมิค้ ุมกัน และใช้ การปฏิรูปกฎหมาย รัฐธรรมนูญ ศาล องค์ กรอิสระสอบสวนและ ลงโทษ ตัดสิ ทธิทางการเมือง ให้ รุนแรงเด็ดขาดมากขึน้ (ใช้ ยาแรง) และ การปฏิรูปก่ อนเลือกตั้ง อบรมฟื้ นฟูด้านคุณธรรมจริยธรรมและ ประชาธิปไตยทีส่ มบูรณ์ อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข • กาจัดกวาดล้างและป้ องกันไม่ ให้ คนชั่ว คนเลว มาแป็ นนักการเมือง ปกครองบ้ านเมืองตามพระราชดารัส

9

ผลกระทบการถูก ประทับตราบาป (stigma) ดูหมิ่น ดูแคลน อย่ างไร้ ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์

ถูกประทับตราบาปเป็ นคนโรคเรื้ อน ขีเ้ รื้อน กุดถัง คนสกปรก คนบาป ทั้งทีพ่ วกเขามี จิตใจทีม่ ีคุณธรรม ตริยธรรมเหมือนคน ปกติ แต่ ร่างกายพิกลพิการจากโรคเรื้อน

ถูกประทับตราบาปเป็ นนักการเมืองเลวทราม ชั่ วช้ า โกงชาติ คอร์ รับชั่ น ทรราช แม้ ร่างกายปกติและดูภูมิฐานจากอานาจ เงินตรา ตาแหน่ งอันมี เกียรติ แต่ จิตใจและจิตวิญญาณเต็มไปด้ วยกิเลสตัณหา ฉ้ อฉล คดโกง ชาติ และประชาชน

10

ผลหระทบการถูกรังเกียจ เดียดฉันท์ (prejudice)

ถูกรังเกียจเดียดฉันท์ ขยะแขยง ไม่ อยากเข้ า ใกล้ ไม่ อยากอยู่ ร่ วมในบ้ าน ชุ มชนและสั งคม

สั งคมรังเกียจไม่ อยากพบเห็นเข้ าใกล้ เป่ านกหวีดไล่

13


4.2 นิยามโรคเรื้อน (Leprosy)  โรคเรื้อนทางการแพทย์ (Medical Leprosy) เป็ นโรคติดต่อเรื้ อรังที่เป็ นปัญหาสาธารณสุข จิตวิทยา สังคม และ เศรษฐกิจที่เกิดในผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนโดยมีสาเหตุเกิด จากการติดเชื้อแบคทีเรี ย คือ เชื้อโรคเรื้ อน (Mycobacterium Leprea) ที่ชอบอาศัยบริ เวณผิวหนังและเส้นประสาทส่วน ปลายตามมือ เท้า และใบหน้าเนื่องจากผูป้ ่ วยมีภูมิคุม้ กันระบบเม็ดเลือดขาวบกพร่ องต่อเชื้อโรคเรื้ อน ไม่สามารถทาลาย เชื้อได้ เชื้อจึงเจริ ญเติบโตเพิ่มจานวนและแพร่ กระจายทาให้เกิดพยาธิสภาพและอาการโรคเรื้ อนตามอวัยวะดังกล่าวและ เกิดความพิการตามมา  โรคเรื้อนทางการเมือง (Political Leprosy) เป็ นโรคทางการเมืองที่เกิดในนักการเมืองและบริ วารที่มีสาเหตุจากเชื้อโรคเรื้ อนทางการเมือง คือ กิเลศและตัณหาทาง การเมือง และเกิดการติดเชื้อกิเลศและตัณหาทางหารเมือง เนื่ องจากการขาดภูมิคุม้ กันทางคุณธรรมและจริ ยธรรม (Lack of Moral and Ethic) และขาดหิ ริโอตัปปะไม่สามารถกาจัดกิเลศ และตัณหา ทางการเมืองได้ทาให้เกิดจิตใจและจิต วิญญาณที่เสื่ อมทรามมากด้วยกิเลส ตัณหาเสมือนทรราชหัวหน้าโจร และสมุนโจรและเกิดอาการโรคทางการเมืองด้วย การมีพฤติกรรมทางการเมืองแบบทรราชหัวหน้าซ่องโจรทางการเมืองและสมุนโจรที่ฉอ้ ฉล โกหก หลอกลวง ไม่เคารพ กฎหมายและความถูกต้อง ดีงาม และเป็ นธรรม ยึดประโยชน์พวกพ้องที่ลว้ นเป็ นโจรทางการเมืองเป็ นใหญ่ เผด็จการใช้ อานาจหน้าที่ในทางมิชอบ แบบมหาโจรหรื อทรราชที่แสวงประโยชน์ที่ไม่ถูกต้องเป็ นธรรมและผิดกฎหมายหรื อออก กฎหมายใหม่เพื่อเอื้อประโยชน์ตนเองและพวกพ้องเพื่อมีอานาจเผด็จการคดโกง คอรัปชัน่ แบบปล้นชาติอย่างยิ่งใหญ่ เปิ ดเผยและชอบใช้ความโกรธและความรุ นแรง แก่ผทู ้ ี่มีความเห็นแตกต่าง ไม่เห็นด้วยและขัดผลประโยชน์และคดโกง คอรัปชัน่ เล่นพวก ซึ่ งก่อให้เกิดความแตกแยก ความรุ นแรงและปั ญหาทางการเมือง การปกครอง สังคมจิตวิทยา สังคม เศรษฐกิจ ความเจริ ญและความมัน่ คงของประเทศจนอาจล่มสลายได้

14


4.3 สาเหตุของการเกิดโรค  โรคเรื้อนทางการแพทย์ (Medical Leprosy) เกิดจากการสัมผัสทางผิวหนังอย่างใกล้ชิดเป็ นเวลานานกับผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนที่เป็ นแหล่งแพร่ โรคจนเกิดการติดเชื้ อโรคเรื้ อนและเกิด อาการโรคเรื้ อน ด้วยระยะฟั กตัว 3 – 5 ปี ก่ อนเกิดอาการโดยมักเกิดในผูส้ ัมผัสโรคกับผูป้ ่ วยอย่างใกล้ชิดที่มีความบกพร่ องของ ภูมิคุม้ กันหรื อภูมิตา้ นทานระบบเม็ดเลือดขาวของร่ างกายต่าหรื อไม่มีเลยทาให้เม็ดเลือดขาวไม่สามารถค้นหาและกินย่อยทาลายเชื้ อ โรคเรื้ อนที่เข้าสู่ ผวิ หนังได้ทาให้เชื้อสามารถเจริ ญเติบโตแบ่งตัวเพิม่ จานวนมากขึ้นตามผิวหนังและเส้นประสาทส่ วนปลายตามแขนขา ใบหน้าจนเกิดพยาธิสภาพการอักเสบและทาลายของอวัยวะดังกล่าวทาให้เกิดอาการผิวหนังเป็ นตุ่ม แผ่น ผื่นนูนแดงหนา และมีอาการ ชา ไม่รู้สึกที่แตกเป็ นแผล น้ าเหลืองเยิม้ ส่ งกลิ่นเหม็นที่น่าเกลียด น่ากลัวและน่ารังเกียจเดียจฉันท์และเกิดอัมพาตความพิการของมือ เท้า ใบหน้า เช่ น นิ้ วงอ ข้อมือและเดินเท้าตก หลับตาไม่สนิ ท กระดูกนิ้ วมือเท้า หดสั้นกุดลง ฯลฯ ซึ่ งส่ งผลกระทบต่างๆ และเป็ น ปั ญหาต่างๆ ทางสาธารณสุ ขและสังคมเศรษฐกิจ จากการถูกประทับตราบาป (Social Stigma) ว่าเป็ นขี้เรื้ อนกุดถัง และสังคมรังเกียจ ขยะแขยง ไม่อยากเข้าใกล้และไม่อยากให้อยูร่ ่ วมในบ้าน ในชุมชนและสังคม (Social Prejudice)ตามมาและเป็ นแหล่งแพร่ ติดต่อโรค เรื้ อนต่อไป  โรคเรื้อนทางการเมือง (Political Leprosy) เกิดจากการสัมผัสและมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและการเมืองอย่างใกล้ชิดเป็ นเวลานานกับนักการเมืองที่เป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองที่เป็ น แหล่งแพร่ โรค จนเกิดการติดเชื้อโรคเรื้ อนทางการเมืองคือกิเลส และตัณหาสู งเนื่องจากการขาดภูมิคุม้ กันด้านคุณธรรม จริ ยธรรม หิ ริ โอตัปปะที่จะทาลายเชื้อคือกิเลส และตัณหา และเกิดอาการโรคเรื้ อนทางการเมืองด้วยระยะฟั กตัว 1 – 2ปี ก่อนเกิดอาการ โดยมักพบ ในผูป้ ่ วยด้วยโรคทางการเมืองที่มีความบกพร่ องของภูมิคุม้ กันด้านคุณธรรมจริ ยธรรมและในผูส้ ัมผัสและมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและ การเมืองกับผูป้ ่ วยโรคเรื อน้ ทางการเมืองที่มีภูมิคุม้ กันด้านคุณธรรม จริ ยธรรมต่าหรื อไม่มีเลยต่อการป้ องกัน ทาลายกิเลศตันหาและการ แสวงผลประโยชน์ร่วมทางการเมือง ทาให้เกิดกิเลศ ตัณหาและการแสวงผลประโยชน์ร่วมทางการเมืองลุกลามมากขึ้น จนเกิดพยาธิ สภาพทางจิตใจและจิตวิญญาณและอาการของโรคเรื้ อนทางการเมืองที่เป็ นทรราชมหาโจรและสมุนโจรปล้นชาติ ที่เผด็จการโกหก คด โกง ฉ้อฉล คอรัปชัน่ แสวงอานาจและผลประโยชน์ในทางมิชอบและผิดกฎหมายเพื่อประโยชน์ร่วมของตนเองและพวกพ้องและมีแรง ต่อต้านด้วยความโกรธและความรุ นแรง ต่อผูท้ ี่มีความคิดเห็นที่แตกต่างและขัดผลประโยชน์ของตนและพวกซึ่ งเป็ นพฤติกรรมที่น่า รังเกียจและมีความพิการทางจิตใจและจิตวิญญาณอันชัว่ ร้าย ฉ้อฉลเป็ นผลให้เกิดการสร้างปั ญหาต่างๆ ของประเทศชาติทางการเมือง เศรฐกิจ สังคม และความมัน่ คงตามมาและเป็ นแหล่งแพร่ โรคเรื้ อนทางการเมืองต่อไป 15


4.4 พยาธิสภาพและอาการของโรค (1) พยาธิสภาพและอาการของโรคเรื้อน อาการทางผิวหนัง: เกิดจากการติดเชื้อโรคเรื้ อนและเกิดพยาธิสภาพการอักเสบและทาลายของอวัยวะระบบผิวหนัง ระบบ เส้นประสาทส่วนปลายที่ควบคุมการทางานของระบบเส้นเลือดและระบบกล้ามเนื้อมือ เท้า และใบหน้า ทาให้เกิดอาการ ทางผิวหนัง พบเป็ นวงด่างสี ขาวหรื อแดง ผืน่ แผ่น และตุ่มนูนแดงหนาที่ชาไม่คนั หยิกไม่เจ็บตามใบหน้า แขน ขา ลาตัว และเยือ่ บุจมูกนูนหนา ซึ่งถ้าไม่ได้รับการรักษาหรื อเกิดปฏิกิริยาภูมิคุม้ กันต่อเชื้อโรคเรื้ อนที่รุนแรงทาให้ เกิดอาการกาเริ บ หรื อโรคเห่อ อาการผิวหนังนูนแดงจะอักเสบบวมแดง ร้อนเจ็บ และแตกเป็ นแผลและติดเชื้ออื่นๆ และพิการมากขึ้นต่อไป ได้ อาการโรคเรื้อนประสาทส่ วนปลายถูกทาลาย ทาให้ผวิ หนังมีอาการชา หยิกไม่เจ็บ ผิวหนังแห้ง เหงื่อไม่ออก กล้ามเนื้อมือ เท้า ใบหน้า อ่อนกาลัง ลีบ และเกิดอัมพาต ข้อมือตก เดินเท้าตก หลับตาไม่สนิทและกระดูกนิ้ว มือ เท้า ขาดเลือดจะหดสั้น กุดลง จมูกยุบซึ่งทาให้พิการและน่ารังเกียจกลัว และเป็ นปัญหาสังคมและเศรษฐกิจมากขึ้น (2) พยาธิสภาพและอาการโรคเรื้อนทางการเมือง เกิดจากเชื้อโรคเรื้ อนทางการเมือง คือ กิเลสและตัณหาจนเกิดพยาธิสภาพการทาลายของจิตใจและจิตวิญญาณทาง การเมือง เนื่องจากขาดภูมิคุม้ กันด้านคุณธรรม จริ ยธรรมและหิ ริโอตับปะ ไม่สามารถดับกิเลศ ตัณหาได้ จึงมีอาการพฤติกรรมทรราช ฉ้อฉลดุจมหาโจรที่เผด็จการ คดโกง คอรับชัน่ ปล้นชาติ ทาลายชาติและพฤติกรรมที่โกหก หลอกลวงและ ทาลายผูท้ ี่มี ความคิดเห็นแตกต่าง อาการโรคเรื้ อนทางการเมือง จึงพบทั้งในนักการเมืองที่ป่วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองรวมทั้งสมุน บริ วารผูท้ ี่สมั ผัสใกล้ชิดกับนักการเมืองที่ติดเชื้อโรคเรื้ อนทางการเมือง จนป่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมือง หรื อผูท้ ี่ได้รับ สื่ อข้อมูลข่าวสารทางการเมืองที่ไม่ถูกต้องและโกหกฉ้อฉลหลอกลวงด้านเดียวซ้ าซากติดต่อกันเป็ นเวลานาน 1 – 2 ปี จาก พวกพ้องและสื่ อแบบต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมของกลุ่มนักการเมืองและบริ วารที่เป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองจนเกิดการ ติดเชื้อโรคทาง การเมืองและเกิดอาการเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองต่อไป 16


(3) อาการผู้ป่วยโรคเรื้อนทางการเมือง นักการเมืองที่ขาดภูมิคุม้ กันด้านคุณธรรม จริ ยธรรม หิ ริโอตับปะ ทาให้ติดเชื้อโรคเรื้ อนทางการเมือง คือกิเลศของความโลภ หลงในอานาจ ผลประโยชน์และภวตัณหาความทะยานอยากมี อยากเป็ น สส. รัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี ที่ปรึ กษา และอภิ วตัณหา ไม่ อยากพ้น จากต าแหน่ ง อ านาจ ผลประโยชน์ฯลฯ เพื่อ ฉ้อ ฉล ใช้การเลื อกตั้ง และประชาธิ ปไตยจอมปลอม หลอกลวง ประชาชนให้หลงเชื่ อเพื่อเข้ามาคอรัปชัน่ เล่นพวกแสวงหาอานาจและผลประโยชน์ทางการเมืองในทางมิชอบที่ ผิดกฎหมายและความชอบธรรมและการโกหก หลอกลวงประชาชน และอภิวตัณหาของความทะยานอยากไม่มีไม่เป็ น เช่น ไม่อยากยากจนไม่ยอมสู ญเสี ยจากการออกจากตาแหน่ ง อานาจ และผลประโยชน์อย่างหน้าด้านไม่ยอมสละตาแหน่ ง แม้ กระทาผิดกฎหมายรัฐธรรมนูญและธรรมาภิบาลและประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข (4) อาการทางจิตและทางจิตวิทยา ส่ วนบุคคลสังคมจิตวิทยา (Social Psychology) และจิตวิทยากลุ่มและมวลชน (Group and mass Psychology) ผูส้ ัมผัสผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนทางการเมือง รวมทั้งผูร้ ับข้อมูลข่าวสารจากผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนทางการเมืองติดต่อกันนานๆ 1 – 2 ปี จะเริ่ มมีอาการหลงเชื่ อกับสารที่ส่งทางสื่ อต่างๆ ซึ่ งเป็ นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องโกหก หลอกลวง และฉ้อฉลด้านเดี ยวที่ได้รับ ซ้ าซากจากนักการเมืองที่เป็ นผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนทางการเมืองและสมุนและสื่ อแบบต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ของกลุ่มทาง การเมืองสมุนและสื่ อต่างๆ ที่ป่วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองจนเกิดการติดเชื้ อสะสมด้วยกิเลสตัณหาที่คล้ายคลึงในผูป้ ่ วย ด้วยโรคทางการเมือง และเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ฝังลึกมากขึ้นในจิตใจและวิญญาณทางการรับรู ้ ความเชื่ อ และเจตคติเชิ ง บวกต่อการเมืองในแนวทางและทิศทางที่เป็ นโรคทางการเมืองว่าเป็ นสิ่ งที่เหมาะสมถูกต้อง ดีงาม สาหรับตนเอง ญาติมิตร พวกพ้อ ง และสัง คม ประเทศชาติ จ นมี อ าการป่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมื อ งเกิ ด หลงคล้อ ยตามมี พ ฤติ กรรมส่ ง เสริ ม สนับสนุ นและเป็ นแหล่งแพร่ โรคเรื้ อนทางการเมือง ต่อไปในครอบครัว ชุ มชนและสังคม ประเทศชาติ ในขณะเดี ยวกัน ผูป้ ่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองรวมทั้งผูส้ มั ผัสและผูร้ ับข้อมูลข่าวสารผิดๆ ดังกล่าวจะมีการรับรู ้ ความเชื่ อ และเจตคติเชิ ง ลบที่ปฏิเสธไม่ยอมรับ โกรธและต่อต้านอย่างรุ นแรงต่อกลุ่มการเมืองหรื อผูม้ ีความคิดแตกต่างในทางการเมืองตรงกันข้าม หรื อขัดอานาจและผลประโยชน์ของพวกตน 17


(5) การเกิดปฏิกริ ิยาภูมิคุ้มกันที่เปลีย่ นแปลงมากขึน้ ทาให้มีพยาธิสภาพและอาการพฤติกรรมที่กาเริ บเสิ บสานรุ นแรง มากขึ้นเป็ นอาการแทรกซ้อนคล้ายการเกิดโรคเห่อกาเริ บ ในโรคเรื้ อนโดยจะเกิดอาการแทรกซ้อนของโรคเห่อเหิ มเกริ ม หลงในอานาจและอิทธิพลไม่ยาเกรงกฎหมายและมีพฤติกรรมที่ผดิ และต่อต้านท้าทายกฏหมายและรัฐธรรมนูญและมี พฤติกรรมโกรธเคือง และแรงต่อต้านและคุกคามก้าวร้าวรุ นแรงต่อญาติมิตร กลุ่มคนและประชาชนที่มีการรับรู ้ ความเชื่อ เจตคติ ความคิดเห็นและพฤติกรรมทางการเมืองที่แตกต่างและตรงข้ามหรื อมิได้ร่วมเป็ นโรคและมีอาการของผูป้ ่ วยโรค เรื้ อนทางการเมือง ปฏิกิริยาการใช้ความรุ นแรงแบบต่างๆ ของกลุ่มของคนที่ป่วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมือง และผูส้ มั ผัส กับผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองและผูร้ ับข้อมูลจากสื่ อต่างๆ ของกลุ่มที่ป่วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองต่อกลุ่มและ ฝ่ ายตรงข้ามในรู ปแบบต่างๆ ที่รุนแรงมาก ก่อให้เกิดความคิดเห็นแตกต่างที่ไม่ถูกต้อง ผิดกฎหมาย และรัฐธรรมนูญ และ ฉ้อฉลเกิดขึ้นในกลุ่มประชาชนที่หลงเชื่อ หลงผิด และได้รับผลประโยชน์ทางตรงและทางอ้อมเพิ่ม ปริ มาณและกระจาย มากยิง่ ขึ้น ซึ่งยากแก่การป้องกันและควบคุมกาจัด เนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากนักการเมืองและบริ วารที่ป่วยด้วย โรคทางการเมือง ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุ นแรง และร้ายแรงต่อความมัน่ คงและความเจริ ญรุ่ งเรื องของประเทศชาติในทุก ด้าน และเกิดการต่อต้านอย่างรุ นแรงซึ่งส่งผลเกิดความร้าวฉานแตกแยกของชนในชาติอย่างร้ายแรง จึงทาให้สงั คม ประเทศชาติเสี ยหายอย่างมากในทุกด้านจนอาจล่มสลายต่อไปได้

18


4.5 การวินิจฉัยโรค  การวินิจฉัยโรคเรื้อน โดยใช้การตรวจร่ างกาย และการตรวจหาเชื้อโรคเรื้ อนจากรอยโรคผิวหนัง พบอาการแสดงสาคัญ (Cardinal Signs) ของโรคเรื้ อน คือ 1. ตรวจพบรอยโรคผิวหนังที่มีลกั ษณะเฉพาะของโรคเรื้ อน เช่น วงด่างสี ขาวหรื อ แดง ผืน่ แผ่น ตุ่มนูแดงหนา 2. ตรวจพบอาการชาไม่รู้สึกในบริ เวณรอยโรคผิวหนังดังกล่าว หรื อชาปลายมือเท้า 3. ตรวจพบเส้นประสาทส่วนปลายตามมือ เท้า ใบหน้า ที่โตและคลาได้ 4. ตรวจพบเชื้อโรคเรื้ อนจากการกรี ดผิวหนังไปตรวจทางกล้องจุลทัศน์ โดยวินิจฉัยว่าเป็ นโรคเรื้ อนจากตรวจพบ 2 ข้อใน 3 ข้อแรก หรื อพบข้อ 4 ข้อเดียว

19


 การวินิจฉัยโรคเรื้อนทางการเมือง โดยใช้การสังเกตุพฤติกรรมที่ปฏิบตั ิและแสดงออกของผูม้ ีอาการสงสัยป่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมือง ซึ่งพบอาการแสดง ที่สาคัญ (Cardinal Signs) ดังนี้ 1. ผูเ้ ป็ นนักการเมืองที่ขาดภูมิคุม้ กันด้านคุณธรรม จริ ยธรรม หิ ริโอตัปปะ ต่อเชื้อโรคเรื้ อนทางการเมือง คือ กิเลสและ ตัณหา จนติดเชื้อและเกิดอาการมีพฤติกรรม เยีย่ งโจรที่ฉอ้ ฉล โกหก หลอกลวงคอรัปชัน่ แสวงอานาจและ ผลประโยชน์ในทางมิชอบเพื่อตนเองและพวกพ้อง ไม่ยอนรับและปฏิบตั ิตามความถูกต้องดีงามและตามกฎหมายและ รัฐธรรมนูญ และธรรมาภิบาล และประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข 2. ผูเ้ ป็ นกลุ่มเสี่ ยงคือ ผูส้ มั ผัส และผูร้ ับข้อมูลข่าวสาร จากนักการเมือง และสื่ อของนักการเมืองที่เป็ นโรคทางการเมืองที่ มีพฤติกรรมสนใจชอบฟังวิทยุ โทรทัศน์ อ่านหนังสื อพิมพ์ หรื อสื่ อเอกสารที่จดั ทาและเผยแพร่ โดยกลุ่ม หรื อฝ่ ายที่ เป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองเป็ นประจาอย่างต่อเนื่อง จนเสพติด 3. มีพฤติกรรมการปฏิสมั พันธ์และแสดงออกในการสนใจยอมรับอย่างชัดเจนเป็ นประจาอย่างต่อเนื่อง ถึงข้อมูล / การ เคลื่อนไหว / ของบุคคล / กลุ่มผูป้ ่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองและมีอุดมการณ์ค่านิยมทางการเมืองเดียวกันจนติด เชื้อกิเลส ตัณหาของผูป้ ่ วยด้วยโรคเรื้ อนทางการเมือง และป่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมือง ต่อไป 4. มีพฤติกรรมในการให้การสนับสนุนหรื อการเข้าร่ วมการแสดงออกการเคลื่อนไหว หรื อการร่ วมชุมนุมในรู ปแบบ ต่างๆ กับแกนนากลุ่มที่ป่วยด้วยโรคเรื้ อนทางการเมือง และมีอุดมการณ์และค่านิยมทางการเมืองเดียวกัน เป็ นประจา อย่างต่อเนื่อง 5. มีพฤติกรรมเยีย่ งโจรเผด็จการที่ฉอ้ ฉล โกหก หลอกลวง คดโกงทุจริ ต คอรัปชัน่ ไม่ยอมรับและปฏิบตั ิตามกฎหมาย , รัฐธรรมนูญ ธรรมาภิบาล ความถูกต้องดีงาม และการปฏิบตั ิต่อต้านกฎหมาย และรัฐธรรมนูญ โดยมิยาเกรงและมีการ ต่อต้านที่แสดงออก อย่างรุ นแรงต่อบุคคลองค์กรหรื อกลุ่มการเมืองฝ่ ายตรงข้าม และศาลและองค์กรอิสระต่างๆที่มี ความคิดเห็นแตกต่างหรื อขัดแย้งผลประโยชน์ของฝ่ ายตนและมีการเคลื่อนไหวที่แสดงออกในการต่อต้านอย่างรุ นแรง ไร้คุณธรรม จริ ยธรรม และผิดกฎหมาย โดยการวินิจฉัยว่าเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมืองจากสังเกตพบพฤติกรรม 3 ข้อใน 4 ข้อแรก หรื อพบข้อ 5 ข้อเดียว 20


4.6 การรักษาโรคเรื้อน (1) ใช้ ยาเคมีบาบัดผสม 3 ชนิด คือ

1) ยาแด๊บโซน ที่ช่วยหยุดยั้งการเจริ ญแบ่งตัวของเชื้อโรคเรื้ อน 2) ยาโคลฟาซิมิน ที่ช่วยหยุดยั้งการเจริ ญแบ่งตัวของเชื้อโรคเรื้ อน และช่วยลดการ อักเสบของอาการกาเริ บแทรกซ้อนของโรคเห่อ 3) ยาไรแฟมฟิ ซิน ที่มีฤทธิฆ่าเชื้อโรคเรื้ อนได้รวดเร็วมาก การใช้ยาครั้งแรกเม็ด เดียว (600 มก.) สามารถฆ่าเชื้อโรคเรื้ อนในตัวผูป้ ่ วยให้ตาย 99.99% ภายใน 3 5 วัน (เปรี ยบได้ดงั ศาล องค์กรอิสระ เช่น ปปช. ฯลฯ สาหรับรักษาผูป้ ่ วยโรค เรื้ อนทางการเมือง)

(2) ระยะเวลาการให้ ยา (2.1) ในผูป้ ่ วยที่พบเชื้อน้อย หรื ออาจไม่พบเชื้อที่มีภูมิคุม้ กันสูงพอสมควร ให้ยาเคมีบาบัดผสมนาน 6 เดือน (2.2) ในผูป้ ่ วยที่พบเชื้อมาก หรื ออาจพบเชื้อมากที่มีภูมิคุม้ กันต่า หรื อไม่มีภูมิตา้ นทานเลย ให้ยานาน 2 ปี (3) การให้ ยาในผู้ป่วยที่เกิดอาการกาเริบ หรื อ โรคเห่ อจากปฏิกริยาภูมิคุ้มกันต่ อสู้ เชื้อโรคเรื้อนสู งมากขึน้ ให้ยาแก้อกั เสบ (Prednizalone) ร่ วมด้วยกับยาเคมีบาบัดผสมนาน 3 เดือน (4) การให้ สุขศึกษาความรู้ด้านโรคเรื้อน (civic education/health education) ประชาสัมพันธ์ให้เห็นความสาคัญของ โครงการควบคุมโรคเรื้ อนตามแนวพระราชดาริ และพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย ที่ประชาสังคม (civil society) ซึ่งประกอบด้วยองค์กรทุกภาคส่วน ชุมชน ประชาชน ผูป้ ่ วย และครอบครัว ต้องร่ วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (civic participation) และมีจิตสานึกประชาสังคม (Civic Consciousness) ในการรับยาอย่างสม่าเสมอให้หายไม่แพร่ โรคผูอ้ ื่น เพื่อสนองพระราชดาริและพระราชปณิธาน ด้วยความสานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณ ในพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย 21


(5) การน้ อมนาพระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวที่พระราชทานแก่คณะกรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัย ทุก 3 – 5 ปี ด้ านการรักษาโรคเรื้อนมาปฏิบัติ อาทิ • “ปัจจัยพื้นฐานสาคัญในการรักษาโรคเรื้ อน คือ ความเมตตา การุ ณย์” • “ต้องทาให้คนรู ้วา่ โรคเรื้ อนนี้มียาสามารถรักษาให้หายขาดได้” • “ในการขยายงานรักษาพยาบาลให้ทวั่ ถึง การโฆษณาต้องมัน่ ใจว่าบรรเทา ทุกข์จากการรักษาโรค รักษาอาการแทรกซ้อนและป้องกันความพิการ และแก้ไขความพิการให้ผปู ้ ่ วยมัน่ ใจในการรักษา ไม่หลบซ่อนตัว” • “ต้องปรับปรุ งจิตใจคนไข้โรคเรื้ อน ให้มีกาลังใจในการรักษา และดูแลตนเองในการรักษาและป้องกันความ พิการ” • “ต้องให้คนไข้โรคเรื้ อนรู ้วา่ ถ้ารี บมารักษาแต่เนิ่นๆ จะหายได้ง่ายและเร็ว และไม่มีความพิการ” (6) การรณรงค์กระตุ้นให้ ประชาชนและผู้ป่วยได้ สานึกในพระมหากรุณาธิคุณในวันราชประชาสมาสัย และงานรณรงค์ พิเศษต่ างๆ และร่ วมโดยเสด็จพระราชกุศลในการค้นหาผู้ป่วยที่ยงั หลงเหลือมารักษา ช่ วยเหลือดูแลผู้ป่วยที่พกิ าร และชราภาพ และการปฏิบัตติ นเป็ นผู้ป่วยที่ดี (พระราชดารัสด้ านวิธีการรักษาโรคเรื้อนสามารถนามาประยุกต์ ในการ รักษาโรคเรื้อนทางการเมือง ตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัยได้ อย่ างมาก) (7) การป้องกันควบคุมและกาจัดโรคเรื้อน เพื่อนาไปประยุกต์ ในโรคเรื้อนทางการเมืองตามแนวทางพระราชทฤษฎีราช ประชาสมาสัย

22


วิธีการป้องกันควบคุมและกาจัดโรคเรื้อน ในโครงการควบคุมโรคเรื้อน ตามแนวพระราชดาริ 1) วัตถุประสงค์การควบคุมโรคเรื้อน 1.1) ตัดการแพร่ ติดต่อโรคเรื้ อนในชุมชน เพื่อป้องกันมิให้เกิดผูป้ ่ วยใหม่ 1.2) รักษาผูป้ ่ วยทุกรายให้หายขาดจากโรคเพื่อจาหน่ายจากทะเบียนการรักษาและควบคุม และบูรณาการให้อยูใ่ น ชมชนได้ตามปกติ 1.3) ป้องกันความพิการแก่ผปู ้ ่ วย และฟื้ นฟูสภาพแก้ไขความพิการ ฝึ กอาชีพ ส่งเสริ มอาชีพแก่ผหู ้ ายป่ วย เพื่อให้ บูรณาการในชุมชนได้ตามปกติ 1.4) ควบคุมโรคเรื้ อนให้ความชุกต่ากว่าอัตราผูป้ ่ วย 1 คนต่อประชากร 1 หมื่นคน ซึ่งเป็ นเกณฑ์บ่งชี้วา่ โรคเรื้ อน สามารถกาจัดได้สาเร็จ ไม่เป็ นปัญหาสาธารณสุขต่อไป (สามารถนาไปประยุกต์ในการควบคุมและกาจัดโรคเรื้ อนทางการเมือง ที่ตอ้ งปฏิรูปประเทศไทย และประชาธิปไตย และควบคุมกาจัดนักการเมืองที่ไม่มีคุณธรรม จริ ยธรรม หลงอานาจ คดโกงเป็ นทรราชให้ลดลง และหมดไป ขณะ เดียวป้องกันคนเลวมาเป็ นนักการเมือง จนสามารถกาจัดกวาดล้างทรราชและสมุนให้หมดไปจากแผ่นดิน) 2) กิจกรรมหลักในการดาเนินงานควบคุมมาและกาจัดโรคเรื้อน (2.1) การให้สุขศึกษา ความรู ้โรคเรื้ อนแก่ประชาชน ชุมชน เน้นโรคเรื้ อนติดต่อยากรักษาหายได้ (2.2) การสารวจค้นหาผูป้ ่ วยที่เกิดใหม่ให้ชุมชนและติดตามตรวจผูส้ มั ผัส (2.3) การบาบัดรักษาผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนที่คน้ พบทุกรายจนหายขาด (2.4) การป้องกันอาการแทรกซ้อนและความพิการ (2.5) การฟื้ นฟูสภาพและสงเคราะห์ผปู ้ ่ วยที่พิการ พึ่งตนเองไม่ได้ (2.6) การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการควบคุมและกาจัดโรคเรื้ อน (2.7) การศึกษาวิจยั เพื่อสนับสนุน การควบคุม และการกาจัดโรคเรื้ อน 23


3) กิจกรรมหลักในการดาเนินงานควบคุมและกาจัดโรคเรื้อน ตามแนวพระราชดาริ และพระราชทฤษฏีราชประชา สมาสัย ที่องค์กรทุกภาคส่วน ชุมชน ประชาชน และผูป้ ่ วยโรคเรื้ อน ต้องร่ วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อสนอง พระราชดาริ และพระราชปณิธานด้วยความสานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณ (กิจกรรมการควบคุมและกาจัดโรคเรื้ อน สามารถประยุกต์ในการควบคุมและกาจัดโรคเรื้ อนทางการเมืองได้ อาทิ เช่น • การให้ความรู ้ปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม และประชาธิปไตยที่ถูกต้อง รวมทั้งข้อมูลนักการเมืองและบริ วารที่ หลงอานาจคดโกง หลอกลวง ประชาธิปไตย จอมปลอมมาแสวงอานาจและผลประโยชน์ทาลายบ้านเมือง แต่ วัยเด็ก และแก่ประชาชน • ค้นหา รักษาควบคุมกาจัด และกวาดล้างนักการเมืองและบริ วารที่เป็ นทรราช (ผูป้ ่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมือง และบริ วาร) • ป้องกันปราบปรามมิให้พวกนี้กาเริ บเสิ บสานใช้ความรุ นแรงต่อผูต้ ่อต้านอานาจแลผลประโยชน์ของทรราช และบริ วาร จนบาดเจ็บล้มตาย บ้านเมืองเสี ยหาย • เมื่อลงโทษตัดสิ ทธินกั การเมืองทรราชและบริ วารแล้ว ต้องฟื้ นฟูอบรมคุณธรรม จริ ยธรรม และประชาธิปไตย ที่ถูกต้องสมบูรณ์ ให้กลับใจเป็ นพลเมืองดี และติดตามประเมินผลต่อไป ฯลฯ เป็ นต้น • ประชาชนทุกคนต้องร่ วมกันประพฤติปฏิบตั ิตนและหน้าที่ตนอย่างมีคุณธรรม จริ ยธรรม ร่ วมกันทาความดี ดูแลบ้านเมือง และป้องกันมิให้คนเลวมาปกครองบ้านเมืองตามพระราชดารัส เพื่อพ่อแห่งแผ่นดินและแผ่นดิน เกิดตามแนวพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย) 4) การน้ อมนาพระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวที่พระราชทานแก่ คณะ กรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัย ทุก 3 – 5 ปี ต่ อการควบคุมโรคเรื้อน อาทิ • “โรคเรื้ อนแม้เป็ นโรคที่รักษาได้ ก็มีความลาบากในการควบคุม ทาให้การควบคุม ไม่ได้ตามเป้าหมาย และยากลาบาก ที่จะได้ตามเป้าหมายแท้ๆ แต่เราต้องปฏิบตั ิ ด้วยความเข้มแข็ง อดทน แม้จะมีอุปสรรคตอนนี้ ถ้าเรามีเป้าหมาย และความแน่ว แน่ โดยไม่เปลี่ยนแปลง ก็อาจลุไปได้ และชนะ และบรรลุเป้าหมายได้”

24


• “หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชน ควรร่ วมมือประสานสนับสนุนซึ่งกันและกัน จะได้ผลดียงิ่ ขึ้น โดย ไม่ถือว่าเป็ นงานเฉพาะของทางราชการ แต่เป็ นของประชาชนทุกคน โดยมีมูลนิธิราชประชาสมาสัยเป็ นผู ้ ประสานงาน” • “ทางที่ดีควรประชุมแบ่งงานกัน แล้วแต่องค์กรว่าจะทาอะไร ที่ไหน หนักไปทางไหน ในเขตไหน จะได้ไม่ เสี ยเวลาและกาลังไปเปล่า ๆ” • “ควรให้ประชาชนรู ้วา่ โรคนี้ติดกันอย่างไร ไม่ติดต่อได้ง่ายต้องคลุกคลี กับผูท้ ี่เป็ นโรคเรื้ อนนี้อย่างใกล้ชิดเป็ น เวลานานปี จึงจะติดต่อได้ หรื อแม้กระนั้นก็อาจไม่ติดต่อเลย และให้รู้วา่ รักษาแล้วจะหายได้ไม่ซุกซ่อน เพราะ เน้นว่าเป็ นโรคที่น่ารังเกียจ” • “ต้องลดแก้ความรังเกียจกลัวโรคเรื้ อนของประชาชน เพราะอาจจะทาให้ผปู ้ ่ วยหลบซ่อน ต้องไม่มารักษาจะทา ให้แพร่ โรคออกไปได้อีกมาก” • “ขอขอบใจและชมเชยเจ้าหน้าที่ ต้องทางานที่หนักยากไม่มีใครชอบเพราะมันน่ารังเกียจ แต่ถา้ ทาด้วยจิตใจที่ เมตตาสูง ตั้งใจไม่ยอ่ ท้อต่อความทุกข์ยากลาบาก ก็ขอฝากขอบใจและชมเชย” (พระราชดารัสด้านการควบคุมโรคเรื้ อน อาจนามาประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคเรื้ อนทางการเมืองได้)

25


5. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะ แนวทางการรักษา ควบคุม โรคเรื้อนทางการเมือง ตามแนวทางราชประชาสมาสั ย (1) ประยุกต์วิธีการและพระราชดารัสในการป้องกัน ควบคุม และกาจัดโรคเรื้ อนตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชา สมาสัย (2) การใช้ยาที่แรงรักษาผูป้ ่ วยด้วยโรคทางการเมืองแก่ผปู ้ ่ วยโรคทางการเมือง กลุ่มต่าง ๆ เพื่อกาจัดแหล่งแพร่ โรค ก่อน และหลังการปฏิรูปประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข (2.1) เร่ งปฏิรูปและใช้กฎหมาย ศาลและองค์กรอิสระ ลงโทษอย่างรุ นแรงเด็ดขาด และตัดสิ นตัดสิ ทธิทางการเมือง แก่ผปู ้ ่ วยด้วยโรคเรื้ อนทางการเมืองตลอดชีพ หรื ออย่างน้อย 10 ปี ตามโทษ อาทิ แก่คณะกรรมการบริ หาร พรรค สมาชิกพรรคการเมืองที่ป่วยด้วยโรคเรื้ อนทางการเมือง และผูน้ าและสมาชิก และสมาชิกองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชนที่สนับสนุนผูป้ ่ วยด้วยโรคทางการเมือง รวมทั้งผูร้ ับเงิน หรื อช่วยเหลือรับประโยชน์ เพื่อ ลงคะแนนออกเสี ยงเลือกตั้ง ผูป้ ่ วยด้วยโรคเรื้ อนทางการเมืองที่สมัครเป็ น ส.ส. / ส.ว. รวมทั้งสมาชิกองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น หรื อนักการเมืองท้องถิ่น (2.2) เร่ งปฏิรูปและใช้กฎหมายลงโทษอย่างรุ นแรงเด็ดขาดแก่ผนู ้ าและผูร้ ่ วมสนุบสนุนขบวนการล้มเจ้า (2.3) เร่ งปฏิรูปและใช้กฏหมายลงโทษอย่างรุ นแรงเด็ดขาดแก่ผปู ้ ่ วยโรคเรื้ อนทางการเมืองและผูส้ มั ผัสกับผูป้ ่ วยโรค เรื้ อนทางการเมืองที่ใช้ความรุ นแรงต่อต้านบุคคล / องค์กรที่มีความคิดเห็นแตกต่าง รวมทั้งต่อศาลและองค์กร อิสระที่รวมทั้งสร้างก่อความแตกแยกและเสี ยหายแก่ประเทศชาติ และตัดสิ ทธิทางการเมืองทุกอย่างตลอดชีพ หรื ออย่างน้อย 10 ปี ตามโทษ (2.4) ผูไ้ ด้รับการลงโทษใน ข้อ 2.1) – 2.3) ต้องได้รับการอบรมเสริ มสร้างคุณธรรมและจริ ยธรรม อย่างเข้มข้น ระหว่างต้องโทษ และหลังพ้นโทษตามกฎหมาย และได้รับการติดตามคุมประพฤติเป็ นเวลาเพียงพอ (2.5) เร่ งดาเนินการปฏิรูปประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุขให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ก่อนมีการเลือกตั้ง ใหม่ที่บริ สุทธิ์ยุติธรรม

26


(2.6) เร่ งดาเนินการปฏิรูปหน่วยงานที่สนับสนุนผูป้ ่ วยด้วยโรคเรื้ อนทางการเมืองในทางที่ไม่เหมาะสมถูกต้อง เช่น ตารวจ มหาดไทย อัยการ กรรมการเลือกตั้ง และสื่ อท้องถิ่นและสื่ อสารมวลชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฯลฯ (2.7) เร่ งโครงการรณรงค์เชิงรุ กอย่างเข้มข้น เสริ มสร้างจิตสานึกด้านคุณธรรมและจริ ยธรรม และประชาธิปไตยที่ สมบูรณ์อนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข หลังการปฏิรูปผ่านกระบวนการรณรงค์ประชาสังคม เช่น การให้ ความรู ้ประชาสังคม (Civic Education), การให้ประชาสังคมมีส่วนร่ วม (Civic Participation) และการสร้าง จิตสานึกประชาสังคม (Civic Consciousness) ฯลฯ และสื่ อทุกช่องทางรวมทั้งองค์กรสถาบันทุกภาคส่วน และผูส้ มัครเป็ นนักการเมืองท้องถิ่น หรื อระดับชาติ ต้องผ่านการตรวจสอบว่าป่ วยเป็ นโรคเรื้ อนทางการเมือง หรื อไม่และหลังได้รับการเลือกตั้งต้องได้รับการติดตามทดสอบความรู ้ความสามารถและตรวจสอบ พฤติกรรมว่าเป็ นผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนทางการเมืองหรื อไม่ทุกปี ถ้าวินิจฉัยว่าเป็ นต้องถูกปลดออกและลงโทษและ อบรมตามข้อ 2.1) – 2.4) (3) เร่ งรวมองค์กร / กลุ่มขบวนการที่ต่อต้านผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนทางการเมืองต่างๆ ให้เป็ นสภาประชาชนแห่งชาติ และสภา ประชาชนประจาจังหวัดและอาเภอ/ตาบล ต่อไป และร่ วมกับการจัดตั้งสภานิติบญั ญัติแห่งชาติ ระหว่างการปฏิรูป (4) ขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยให้ประชาชนคณะองค์มนตรี หรื อราชเลขานุการ หรื อปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อประธานวุฒิสภา หรื อรองประธานวุฒิสภาคนแรกในช่วงที่ไม่มีรัฐบาลปัจจุบนั เป็ นผูก้ ราบบังคมทูลและเลือก บุคคลดังกล่าวที่เหมาะสมและเต็มใจที่จะเป็ นผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการในแนวทางการ ขอพระบรมราช วินิจฉัยเพื่อโปรดเกล้าฯ ให้คณะปลัดกระทรวงทาหน้าที่ แทน ครม. และบริ หารบ้านเมือง รวมทั้งเร่ งดาเนินการ ปฏิรูปก่อนการเลือกตั้งเพื่อเร่ งรัดแก้ปัญหาโรคเรื้ อนทางการเมืองในช่วงระหว่างที่ยงั ไม่มีรัฐบาลและกฏหมาย และ รัฐธรรมนูญรองรับก่อน และระหว่างการปฏิรูปประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข 27


(5) การควบคุมกาจัดและกวาดล้างโรคเรื้ อนทางการเมือง ตามแนวทางราชประชาสมาสัยระหว่างและหลังการปฏิรูป ประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข (5.1) ยังคงใช้ยาที่แรงรักษาผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนทางการเมืองทั้ง 7 ข้อดังกล่าวแล้วต่อไป อย่างต่อเนื่องยัง่ ยืน โดยแก้ไข ปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และความเหมาะสม (5.2) ระหว่างยังไม่มีคณะรัฐมนตรี จากการเลืกตั้งตามรัฐธรรมนูญ หรื อไม่มีนายกรัฐมนตรี คนกลาง ควรให้คณะปลัด กระทรวงฯ ทาหน้าที่ ครม. ชัว่ คราวในการบริ หารบ้านเมืองและดาเนินการเร่ งรัดด้านการปฏิรูปประชาธิปไตยที่ สมบูรณ์อนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุขและต่อต้านกาจัดการกวาดล้างโรคเรื้ อนทางการเมืองนั้นควรร่ วมกันริ เริ่ ม จัดทาทั้งสองโครงการรณรงค์ต่อไปนี้ให้เป็ นวาระแห่งชาติ ให้ ครม.ชุดก่อนและหลังปฏิรูป รับไปดาเนินการ คือ (1) โครงการรณรงค์ส่งเสริ มพัฒนาประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุขตามแนวทางพระราชทฤษฎีราช ประชาสมาสัย (2) โครงการรณรงค์พฒั นาคุณธรรม จริ ยธรรมคนไทยตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัยเสนอ ครม. ชุด ใหม่ ระหว่าง และหลังการปฏิรูปเพื่อนาเสนอประธานองค์มนตรี หรื อราชเลขาธิการเพื่อขอพระราชทานพระราช วินิจฉัยเห็นชอบ และขอพระราชทานทรงรับเป็ น โครงการตามแนวพระราชดาริ เพื่อดาเนินการรณรงค์ป้องกัน รักษาควบคุมกาจัด กวาดล้างโรคเรื้ อนทางการเมืองหรื อ เพื่อให้ความรู ้ (civic education) แก่ประชาชนและ องค์กรทุกภาคส่วนเพื่อให้มีส่วนร่ วม (civic participation) และเสริ มสร้างจิตสานึกประชาสังคม (civic consciousness) ตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย ในการพัฒนาและปฏิรูปประชาธิปไตย ที่สมบูรณ์ อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข และการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรมของคนไทยที่สมบูรณ์เหมาะสม และมี ประสิ ทธิภาพอย่างยัง่ ยืน 28


(5.3) ควรปรับปรุ งบริ เวณสวนลุมพินีให้เป็ นแบบ Hyde Park ที่มหานครลอนดอน ที่ใช้สาหรับประชาชนที่ประสบ ปัญหาโรคเรื้ อนทางการเมือง หรื อได้รับผลกระทบจะได้มีเวทีไปร่ วมชุมนุม แสดงความคิดเห็นทางการเมือง รวมทั้งมหาประชาชนที่เป็ นประชาสังคม ที่ร่วมต่อต้านทรราช กับ กปปส. ซึ่งเป็ นประชาสังคม (civic society) ที่ ประกอบด้วยมหาประชาชนจากทั้งประชาชน ชุมชน และองค์กรต่าง ๆ ที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ความสานึกและ ความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอยูห่ วั และมีจิตสานึกที่ดีงามต่อบ้านเมืองและยึดมัน่ ในความถูกต้องและประชาธิปไตย ที่สมบูรณ์ อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข และมีจิตสานึกทางประชาสังคม (civil consciousness) ที่มีเมตตา/ การุ ณย์ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามแนวทางพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย และ พระราชอุดมการณ์ “ปิ ด ทองหลังพระ” หรื อการมุ่งทาความดีเพื่อส่วนรวมโดยไม่หลังผลตอบแทน เพื่อประโยชน์สุข ความมัน่ คง และ เจริ ญก้าวหน้าของประเทศอย่างแท้จริ ง ได้มาพบปะสังสรรค์กนั อย่างต่อเนื่องยัง่ ยืนที่ Hyde Park หรื อ “ลุมพินี พาร์ค” ทุกวันเสาร์ โดยอาจจัดหลังการแสดงดนตรี หรื อ Concert ประชาชน ประจาสัปดาห์ และอาจจัดวิทยากร ทางการเมืองและการส่งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรม ไปพูดให้ความรู ้ทางการเมืองที่ถูกต้อง และเป็ นเวทีสาหรับ รายงานผลการติดตามประเมินผลการปฏิรูป และการรักษาควบคุมกาจัดกวาดล้างโรคเรื้ อนทางการเมือง โดยมี การถ่ายทอดและเผยแพร่ ผา่ นทุกสื่ อ ที่ทาคู่ขนานไปกับการทางานของสภาประชาชนระดับประเทศ และระดับ จังหวัด อาเภอ ตาบล และหมู่บา้ นหลังการปฏิรูปประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข (5.4) การปฏิรูปและปรับหลักสูตรทางการศึกษาให้เพิ่มบูรณาการวิชาหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม หลักศาสนา วิชา รัฐศาสตร์การเมือง การปกครองประเทศ วิชาธรรมาภิบาล ฯลฯ ในหลักสูตรการศึกษาทุกระดับจากอนุบาล ถึง อุดมศึกษา (5.5) ขยายบทบาทหน้าที่ กกต. จังหวัด ศาสนาจังหวัด วัฒนธรรมจังหวัดในการสอนหลักศาสนา คุณธรรมจริ ยธรรม และเผยแพร่ ประชาธิปไตย ที่ถูกต้องหลังการปฏิรูปแก่นกั เรี ยน นักศึกษา ข้าราชการและประชาชน โดยเฉพาะ บทบาท หน้าที่ ศาสนาจังหวัดในการสอนอบรมและเผยแพร่ หลัก และการประยุกต์ศาสนาเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรมของนักเรี ยน นักศึกษา ข้าราชการและประชาชน รวมทั้งระบบการให้รางวัลจูงใจเชิงบวกด้วย . 29


(5.6) ขยายบทบาทหน้าที่ ปปช. จังหวัดในการสอน อบรม และเผยแพร่ หลักการและวิชาการป้องกันแก้ไข และการ ต่อต้านการประพฤติมิชอบ และคอรัปชัน่ แก่นกั เรี ยน นักศึกษา ข้าราชการ และประชาชน และการให้รางวัลจูงใจ (5.7) ปรับขยายบทบาทสถาบันพระปกเกล้าให้เพิ่มศักยภาพและปริ มาณในการอบรมทางการเมือง ประชาธิปไตยหลังการ ปฏิรูปและการป้องกันควบคุมกาจัดและกวาดล้างโรคเรื้ อนทางการเมืองแก่นกั การเมือง ข้าราชการและนักธุรกิจ รวมทั้งนักเรี ยน นักศึกษา และผูน้ าชุมชนให้ทวั่ ถึงมากขึ้น (5.8) ปรับขยายบทบาทศาสนาจังหวัด และวัฒนธรรมจังหวัดในการปฏิรูปของศาสนาพุทธ และวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มี ประโยชน์ต่อการส่งเสริ มคุณธรรมและจริ ยธรรม และประชาธิปไตยให้เหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น โดยเฉพาะพระภิกษุที่จะบวชต้องผ่านการสื บประวัติ และระหว่างบวชต้องได้รับการฝึ กอบรมวิชาศาสนาระดับ ต่างๆ ตามความเหมาะสมทุกองค์ และผ่านการติดตามกากับดูแลและประเมินผลพฤติกรรม ในการเผยแพร่ พระพุทธศาสนารวมทั้งคุณธรรม จริ ยธรรม รวมทั้งการดารงตน และสื บทอดทางศาสนาที่เหมาะสมถูกต้อง และมี กฎหมายหรื อวินยั สงฆ์ที่เข้มข้นและเคร่ งครัดในการลงโทษแก่พระภิกษุสงฆ์ที่ประพฤติมิชอบ และไม่ปฏิบตั ิตนให้ เป็ นประโยชน์แก่พุทธศาสนา (5.9) ทุกองค์กรที่เกี่ยวข้องด้านการรณรงค์เรื่ องคุณธรรม จริ ยธรรม และประชาธิไตย หลังการปฏิรูป ควรเสริ มหรื อบูรณา การรณรงค์เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม “ เงินคืออานาจและความสุขสาเร็จของชีวิตของคนไทย และความเจริ ญของชาติ แม้จะได้มาด้วยการคดโกง คอรัปชัน่ ” เป็ น ค่านิยมใหม่ “ ความสุขสาเร็จของชีวิตคนไทยและความเจริ ญของชาติ คือการยึดมัน่ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม จริ ยธรรม และร่ วมกัน ทาความดีเพื่อพ่อแห่งแผ่นดินและแผ่นดิน เกิด ด้วยการทาหน้าที่ตนเองให้ดีที่สุดและยึดความถูกต้อง ดีงาม และประโยชน์ส่วนรวมเป็ นใหญ่ ” (5.10) การน้อมนาพระบรมราโชวาทพระเจ้าอยุห่ วั ที่พระราชทานในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ศาสนา การศึกษา สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ฯลฯ มาบูรณาการในหลักสูตรและเนื้อหาการอบรม และการเผยแพร่ ความรู ้ในข้อ 5.2) - 5.9) และในการให้ความรู ้แก่ประชาสังคม (Civic Education) ดังตัวอย่างอาทิ พระบรมราโชวาทด้านการเมือง “ใน บ้านเมืองนั้นมีท้งั คนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครจะทาให้ทุกคนเป็ นคนดีได้ท้งั หมด การทาให้บา้ นเมืองมีความปกติสุข เรี ยบร้อย จึงไม่ใช่การทาให้ทุกคนป็ นคนดี แต่หากอยูท่ ี่การส่งเสริ มคนดีให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุม คนไม่ดีไม่ให้มีอานาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุน่ วายได้” 30


6. บทสรุ ป จากบทเรี ยนของมูลนิธิราชประชาสมาสัยฯ และกระทรวงสาธารณสุ ข ในการนาพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย และพระราช อุดมการณ์ปิดทองหลังพระ (ทาดีโดยไม่หวังผลตอบแทน) มาประยุกต์ใช้ในโครงการควบคุมโรคเรื้ อนตามแนวพระราชดาริ ซึ่งมีปัญหา อุปสรรคมากมายอย่างมืดมลในอดีตกาล จนประสบความสาเร็จสามารถกาจัดโรคเรื้ อนได้สมดังพระราชดาริ และพระราชปณิ ธาน และต่อมา หลังจากนั้นยังได้สนองพระราชดาริ อื่น ๆ อาทิในการดาเนินการโครงการราชประชาสมาสัยเฉลิมพระเกียรติ เพื่อให้ทุนบุตรผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนที่ กาพร้า, โครงการเฝ้าระวังค้นหาและรักษาโรคเรื้ อนในบุคคลและแรงงานต่างด้าว, โครงการจิตอาสาราชประชาสมาสัย ฯลฯ ซึ่งล้วนประสบ ความสาเร็จเพราะประชาชน ชุมชน องค์กรสนับสนุนที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่ วนทั้งในและต่างประเทศร่ วมโดยเสด็จพระราชกุศลช่วยเหลือ และ สนับสนุนอย่างท่วมท้นตามแนวทางพระราชทฤษฎีประชาสมาสัย (กษัตริ ยแ์ ละประชาชนย่อมอาศัยซึ่งกันและกัน) โดยมีพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั เป็ นผูพ้ ระราชทานพระราชดาริ และทรงร่ วมเป็ นองค์อุปถัมภ์และทรงติดตามผลแนะนาอย่างใกล้ชิดจนทุกโครงการสาเร็จสมดัง พระราชดาริ และพระราชปณิ ธาน โดยองค์กรเจ้าของโครงการต้องตั้งใจทางานอย่างมุ่งมัน่ และมีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล โดยไม่คานึง ผลประโยชน์ส่วนตัวหรื อการเมือง จนเป็ นที่ไว้วางพระราชหฤทัย และได้รับการร่ วมสนับสนุนจากประชาชน ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง อย่างท่วมท้น ดังนั้นแนวทางและประสบการณ์บทเรี ยนของการนาพระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย และพระราชปรัชญาปิ ดทองหลังพระดังกล่าว จึงน่าที่คณะรัฐบุคคลและคณะผูร้ ักชาติรักแผ่นดินอื่นๆ จะได้ศึกษาและนามาประยุกต์ใช้ในการรักษา ควบคุม กาจัดโรคทางการเมือง หรื อการ ปฏิรูปและแก้ไขปั ญหาวิกฤติทางการเมืองในปั จจุบนั ที่มืดมลถึงทางตันคล้ายปั ญหาโรคเรื้ อนในอดีต ผูเ้ ขียนหวังว่าเนื้ อหาและข้อเสนอแนะ ต่าง ๆ บางส่ วน ในบทสุ ดท้ายของบทความนี้ อาจพิจารณานาไปใช้ประโยชน์ประยุกต์ใช้ต่อไปได้ไม่มากก็นอ้ ย และขอขอบคุณอย่างยิง่ ต่อ ศ.ดร.ปราโมทย์ นาครทรรพ กรรมการคณะรัฐบุคคลที่ให้โอกาสผูเ้ ขียนมาร่ วมอภิปรายอิสระและการบรรยายรวมสองครั้งนี้ โดยท่านเป็ นผู ้ ริ เริ่ มกาหนดหัวข้ออภิปรายและบรรยายโดยเฉพาะการเปรี ยบเทียบการรักษาและควบคุมโรคเรื้ อนทางการเมืองกับโรคเรื้ อนตามแนวพระราช ทฤษฎีราชประชาสมาสัยไว้อย่างชาญฉลาดยิง่ เมื่อหลังจากการบรรยายทั้งสองครั้งนี้ ผูบ้ รรยายได้มีโอกาสศึกษาเอกสาร ผลงาน และข้อคิดของ อาจารย์ปราโมทย์ ที่หลากหลายที่ท่านกรุ ณามอบให้ผบู ้ รรยายจึงอยากขอชื่ นชมและยกย่องให้ท่านอาจารย์ปราโมย์เป็ นผูส้ ร้างวาระ (Agenda Builder) และผูน้ าทางความคิด (Opinion Leader) ที่เป็ นมืออาชีพที่หาตัวจับยากในปั จจุบนั และน่ าเสี ยดายที่วาระและวาทะกรรมโดยเฉพาะ ความคิดดีๆ ที่มีคุณค่าสู งของ ดร.ปราโมทย์ นาครทรรพ เช่นนี้อาจมิได้ถูกนาไปขยายผลให้เป็ นวาระและความคิดสาคัญระดับสาธารณะกรื อ ระดับชาติเพื่อประกอบการประยุกต์ใช้ในการแก้ไขวิกฤติทางการเมืองของชาติจากทุกภาคส่ วนที่รักชาติรักแผ่นดินต่อไป จากการที่ มี ผูน้ าพระราชทฤษฎี “ราชประชาสมาสัย ” ไปอ้างอิ งเพื่ อไปใช้ในทางการเมื อง เช่ น มรว.คึ กฤทธิ์ ปราโมช และ ดร. ปราโมทย์ นาครทรรพ อาจมีผลกระทบเบื้องพระยุคลบาทได้เพราะ “ราชประชาสมาสัย” พระราชทานสาหรับโครงการด้านโรคเรื้ อน ดังนั้น อาจจาเป็ นต้องกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตเพิอ่ ความถูกต้องเหมาะสม. 31


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.