คู่มือการสอนการออกแบบภายในพิพิธภัณฑ์

Page 1

1

เอกสารประกอบการสอน • สัปดาหที่ 1 ความหมายของพิพิธภัณฑสถาน พิพิธภัณฑ [พิ-พิด-ทะ-พัน] เปนคําที่มีมาแตโบราณ มีรากศัพทมาจากภาษาบาลี-สันกฤต จากคําวา วิวิธ เปนคําวิเศษณ แปลวา ตาง ๆ กัน สมาสกับคําวา ภัณฑ เปนคํานามแปลวา สิ่งของ เครื่องใช ดังนั้น เมื่อรวมกันจึงไดคําวา วิวิธภัณฑ หรือ ตามสําเนียงไทย คือคําวา พิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑสถาน [พิ-พิด-ทะ-พัน-ทะ-สะ-ถาน] ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 กลาวไววา เปนคํานาม หมายถึง "สถาบันถาวรที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งตาง ๆ ที่มี ความสําคัญดานวัฒนธรรม หรือ ดานวิทยาศาสตร โดยมีความมุงหมายเพื่อใหเปนประโยชนตอ การศึกษาเลาเรียน และกอใหเกิดความเพลิดเพลินใจ” ความคิดพื้นฐานและหลักการของพิพิธภัณฑ แนวความคิดการจัดตั้ง

เพื่อการอนุรักษ (วัตถุเปนศูนยกลาง)

เพื่อการศึกษา (มนุษยเปนศูนยกลาง)

รูปแบบการจัดแสดง

รูปแบบการจัดแสดง

อื่นๆ

ภาพ 1 ความคิดพื้นฐานและหลักการของพิพิธภัณฑ

อื่นๆ


2

บทบาทของพิพิธภัณฑสถาน บทบาท - บทบาทดานสังคมและ วัฒนธรรม

- บทบาทดานเศรษฐกิจ - บทบาทดานการเมือง

รายละเอียด 1. เปนศูนยรวมดานวัฒนธรรมของสังคม 2. เปนองคกรที่สงวนรักษาอนุรักษมรดกดานวัฒนธรรม 3. เปนองคกรที่ใหบริการการศึกษาแกคนในสังคมและตางถิน่ 4. เปนองคกรที่สรางจิตสํานึกและความภาคภูมิใจในการรักษา เอกลักษณดานวัฒนธรรมของสังคม เปนสถานที่พกั ผอนและทองเทีย่ วของคนในสังคมและตางถิน่ 1. ทําใหคนในสังคมรูจักตนเอง รักถิน่ ฐาน อยูรวมกันอยางปกติ 2. ประสานใหคนในทองถิน่ อื่นเขาใจวัฒนธรรมของทองถิ่นตนเอง ตาราง 1 บทบาทของพิพิธภัณฑสถาน

หนาที่ของพิพธิ ภัณฑสถาน โดยสรุปมีองคประกอบหลักอยู 8 ประการ ดังนี้ 1. การรวบรวมวัตถุ (Collecting) โดยมีที่มาจาก 2. ตรวจสอบ จํ า แนกแยกประเภทและศึ ก ษาวิ จั ย (Identifying, classifying, research) 3. การทําบันทึกหลักฐาน (Recording) 4. ซอมสงวนรักษาวัตถุ (Conservation and preservation) 5. รักษาความปลอดภัย (Museum security) 6. การจัดแสดง (Exhibition) 7. หนาที่ใหการศึกษา (Museum education) 8. หนาที่ดานสังคม (Social function) หนาที่ของพิพธิ ภัณฑสถานสามารถแบงเปน 2 สวนหลัก คือ งานหลังฉาก (back of the house ) และงานหนาฉาก (front of the house)


3

ภาพ 2 แผนผังหนาที่ของพิพิธภัณฑสถาน กลุมผูใชงานบริการภายในพิพิธภัณฑสถาน แบงตามระดับความคิด การศึกษาและรสนิยม ดังนี้ 1. นักเรียน (Pupils) เปนกลุมผูใชบริการที่ตองการความเพลิดเพลิน มีความพึงพอใจกับ การจัดแสดงแบบงาย ๆ เพื่อการเรียนรูจดจําคนหาประสบการณ ตื่นเตนตอการเรียนรูและสนใจ ความงามของวัตถุในหองจัดแสดง 2. เขาชมทั่วไป (Adult) เปนผูใหญ เปนกลุมผูใชบริการกลุมใหญที่สุด ผูใชบริการกลุมนี้ ตองการคําแนะนําดานความสําคัญของวัตถุและความประทับใจวัตถุจัดแสดง ตลอดจนตองการ คําอธิบายประกอบและการจัดแสดงที่สัมพันธกับวัตถุจัดแสดง 3. ผูสนใจพิเศษ หรือ ผูเชี่ยวชาญ (Experts of Specialist) เปนกลุมผูใชบริการที่ตองการ ดูวัตถุจัดแสดงอยางละเอียดเพื่อประโยชนการศึกษาหรือการคนควา การแบงตามเกณฑ ของจิ รา จงกล (2537) แบ งกลุมผูใชบริการจากการรวบรวมสถิติ ผูเขาชมซึ่งคลายคลึงกับ UNESCO แบงได 4 กลุมดังนี้ คือ 1. กลุมประชาชนทั่วไป (General public) นิยมเขาชมพิพิธภัณฑสถานในวันสุดสัปดาห หรื อ วั น หยุ ด ประชาชนทั่ ว ไปอาจไม มี ค วามรู เ ป น ภู มิ ห ลั ง เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งราววั ต ถุ จั ด แสดงใน พิพิธภัณฑสถาน การเขาชมไมมีวัตถุประสงคเฉพาะเพียงตองการชมของแปลกที่ไมเคยพบเห็น เปนการหาความเพลิดเพลินโดยทั่วไปมากกวาการหาความรู


4 2. กลุมนักทองเที่ยว (Tourists) ปจจุบันการคมนาคมทั่วโลกสะดวกรวดเร็ว ประชาชน จากประเทศหนึ่งเดินทางไปประเทศอื่น ๆ อยางงายดาย พิพิธภัณฑสถานปจจุบันจึงเปนจุดสนใจ ของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ โดยนักทองเที่ยวสวนมากประกอบไปดวยคนที่มีภูมิหลังแตกตาง กันและตองการเรียนรูเรื่องราวของวัตถุไมเพียงแตเที่ยวดูเพลิน ๆ 3. กลุมนักวิชาการและนักปราชญ (Scholars) ผูใชบริการประเภทนี้มีจํานวนไมมากและ มี ค วามรู พื้ น ฐานเรื่อ งราวของวั ต ถุ จั ด แสดงเปน อย า งดี มี จุ ด ประสงค เ พื่ อการศึ ก ษาหาข อ มู ล ไมสนใจเทคนิคจัดแสดง 4. กลุมสุดทายคือ นักเรียน (School children) เปนกลุมผูใชบริการที่มีจํานวนมากที่สุด และมีความตองการการบริการมากกวาประเภทอื่นจุดมุงหมายสําคัญ คือ ตองการเรียนรูเรื่องราว ตาง ๆ ดังนั้นการจัดแสดงที่มีคําบรรยาย จึงเปนประโยชนมากสําหรับผูใชบริการกลุมนี้ การแบงสวนงานภายในพิพิธภัณฑสถาน (organization ) คณะกรรมการ ผูอํานวยการ ผูชวยผูอํานวยการ เลขานุการ ฝายวิชาการ

ฝายธุรการ

ฝายเทคนิค

- ภัณฑารักษแผนก ตาง ๆ - แผนกการศึกษาและ ประชาสัมพันธ

- ธุรการ สารบรรณ การเงิน - รักษาความปลอดภัย - ดูแลอาคารสถานที่ - ทะเบียนวัตถุ - รานคาของที่ระลึก - หนังสือ

- ปฏิบัติการซอมสงวน รักษาวัตถุ - ออกแบบนิทรรศการ - ชางเทคนิค และชางทุก ประเภท - ชางศิลป - ชางภาพ - ชาง ฯลฯ

ภาพ 3 แผนผังการแบงสวนงานภายในพิพิธภัณฑสถาน (Organization)


5 ชนิด / ประเภทของพิพิธภัณฑ ชนิดของพิพิธภัณฑ แบงได 2 แบบ คือ 1.แบงตามลักษณะการบริหารหรือเปนเจาของ 1.1 พิพิธภัณฑสถานสวนบุคคลขนาดเล็ก 1.2 พิพิธภัณฑสวนบุคคลขนาดใหญ 1.3 พิพิธภัณฑกึ่งบุคคลกึ่งราชการหรือพิพิธภัณฑของมูลนิธิ 1.4 พิพิธภัณฑของรัฐบาล 2.แบงตามลักษณะของสิ่งที่รวบรวมไวหรือตามแขนงวิชา 2.1 พิพิธภัณฑดานศิลปะ (Museum of Arts) 2.2 พิพิธภัณฑศิลปะรวมสมัย (Gallery of Contemporary Arts) 2.3 พิพิธภัณฑดานธรรมชาติวิทยา (Natural History Museum) 2.4 พิพิธภัณฑดานวิทยาศาสตรและเครื่องจักรกล (Museum of Science and Technology) 2.5 พิพิธภัณฑดานมานุษยวิทยาและชาติพันธุว ทิ ยา (Museum of Anthropology and Ethnology) 2.6 พิพิธภัณฑดานประวัติศาสตรและโบราณคดี (Museum of History and Archaeology) 2.7 พิพิธภัณฑประจําเมืองหรือทองถิ่น (Regional Museum – City Museum) 2.8 พิพิธภัณฑแบบพิเศษ (Specialized Museum) 2.9 พิพิธภัณฑของมหาวิทยาลัยและสถาบันศึกษา (University Museum) ประเภทของพิพิธภัณฑในประเทศไทย 1. พิพิธภัณฑประเภททัว่ ไป (General Museum หรือ Encyclopedia Museum) : หรือ ประเภทรวม โดยแบงประเภทงานเปนแผนกตาง ๆ ตามแขนงวิชา 2 .พิพิธภัณฑทางศิลปะ (Museum of Arts) : ที่แบงเปน 5 แบบ 2.1พิพิธภัณฑสถานศิลปะประยุกต (Arts Museum) 2.2 หอศิลป (Arts Gallery) 2.3 ศิลปะสมัยใหม (Modern Arts) 2.4 พิพิธภัณฑสถานศิลปะประเภทการแสดง ( Museum of arts performance) 2.5 พิพิธภัณฑสถานศิลปกรรมแรกเริ่ม


6 3.พิพิธภัณฑสถานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Museum of Anthropology & Ethnology) 4. พิพิธภัณฑดานธรรมชาติวิทยา (Nature Science Museum) 5.พิพิธภัณฑดานประวัติศาสตรและโบราณคดี (Museum of History & Archaeology) 5.1 พิพิธภัณฑสถาน ที่จัดแสดงหลักฐานประวัติศาสตรแสดงชีวิตความเปนอยู หรือวัฒนธรรมและประเพณีพื้นเมืองอาจแยกเปน พิพิธภัณฑเฉพาะเรื่อง 5.2 พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร รวบรวมและจัดแสดงหลักฐานประวัติศาสตร เกี่ยวกับการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม เปนตน 5.3 บานประวัติศาสตร เชน อาคารหรือบานที่มีความสําคัญดานประวัติศาสตร จัดแสดงตามสภาพจริง เชน พิพิธภัณฑบาน ม.ร.ว คึกฤทธิ์ บานดุริยางคศิลปน มนตรี ตราโมท เปนตน 5.4 โบราณสถาน อนุสาวรียและสถานที่สําคัญ ดานวัฒนธรรม เมืองประวัติ ศาสตร พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตรและโบราณคดี 6. พิพิธภัณฑสถานชาติพันธวิทยาและประเพณีพื้นเมือง (Museum of Anthropology & Ethnology)


7 • สัปดาหที่ 2 หลักการของการจัดตั้งพิพิธภัณฑ 1. รวบรวมเก็บรักษามรดกดานวัฒนธรรมทุกประเภทของชาติไวมิใหเสื่อมสูญและจัดแสดง ใหประชาชนศึกษาคนควาหาความรู 2. เป น แหล ง ข อ มู ล ข า วสารทุ ก สาขาของศิ ล ปวิ ท ยา เช น โบราณคดี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ าสตร ทรั พ ยากรธรรมชาติ ชาติ พั น ธุ วิ ท ยา เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมต า ง ๆ เป น ต น โดยแหลงขอมูลนี้สามารถใหบริการการศึกษาแกประชาชนไดอยางกวางขวางดวย 3. เป น แหล ง การศึ ก ษานอกระบบ สํ า หรั บ ผู ไ ม มี โ อกาสศึ ก ษาในระบบโรงเรี ย นและ เปนแหลงที่สามารถจัดสื่อการเรียนที่มีคุณภาพ เพื่อสนองความตองการของสถานศึกษา นักเรียน นักศึกษาเขามาใชสื่อเหลานี้ไดอยางเสมอภาคกัน 4. เปนที่พักผอนหยอนใจ ใหความเพลิดเพลินแกประชาชนทุกวัย 5. เปนแหลงสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศ สามารถดึงดูดนักทองเที่ยว ทั้งภายในประเทศ และชาวตางชาติ เขามาศึกษาชื่นชมกับมรดกดานวัฒนธรรม ตลอดจน ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ 6. มุงสงเสริมใหเปนสถาบันการศึกษาเปดอยางแทจริงที่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัยสามารถ แสวงความรูดวยตนเองไดตลอดเวลาอยางเทาเทียมกัน สวนประกอบของอาคารพิพิธภัณฑ 1. สวนบริการสาธารณะ (Public services) เปนสวนของอาคารพิพิธภัณฑ หรือ หองตาง ๆ ที่จัดไวบริการแกประชาชน ไดแก 1.1 ทางเขา-ออก (Entrance and exit) 1.2 ที่จําหนายบัตรผานประตู (Ticketing) 1.3 หองรับฝากของ (Cloak room) 1.4 ที่ติดตอสอบถาม (Information desk) 1.5 รานพิพิธภัณฑสถาน (Museum shop) 1.6 สถานที่พักผอนและตอนรับผูเขาชม (Lobby) 1.7 ตูโทรศัพทสาธารณะ (Public telephone) 1.8 หองอาหาร (Restaurant/cafeteria) 1.9 หองน้ํา (Rest room) 1.10 ที่จอดรถ (Car parking)


8 2. สวนงานบริการดานการศึกษา (Educational services ) 2.1 หองประชุมหรือหองบรรยาย (Auditorium) 2.2 หองเรียนและหองปฏิบัติงาน (Classroom and studies) 2.3 หองเก็บของใหยืม (Loan collection) 2.4 หองทํางานเจาหนาที่การศึกษา (Staff offices) 2.5 หองสมุด (Museum library) 3. สวนงานบริหาร (Administrative office) สวนงานบริหารนี้ไดแก หองทํางานผูอํานวยการพิพิธภัณฑสถาน หองประชุม เจาหนาที่ หองทํางานเลขานุการและเจาหนาที่ฝายธุรการสารบรรณ การเงิน ฯลฯ สํานักงาน บริหารควรเปนศูนยกลางใกลกับที่ทํางานภัณฑารักษ นายทะเบียน เจาหนาที่ฝายการศึกษาและ หนวยงานอื่น ๆ บางแหงจัดไวชั้นหนึ่งหรือซีกหนึ่งของอาคารโดยมีทางขึ้นจาก lobby บางแหง มีทางเขาตางหาก บางแหงใชขึ้น mezzanines เปนสํานักงานทั้งชั้น 4. สวนงานฝายภัณฑารักษและหนวยปฏิบัติอื่น ๆ (Curatorial offices and service quarters) 4.1 สํานักงานภัณฑารักษ (Curatorial office) : งานบริหารของพิพิธภัณฑ แบงเปน department ตาง ๆ สํานักงานภัณฑารักษแตละ department ประกอบดวยหองทํางาน ภัณฑารักษ หองศึกษาคนควา คลังเก็บของ (workroom, study room, and study collection) 4.2 หองคลัง (Museum storage):ในทางปฏิบัติอาจทําได 2 วิธี คือ 1 วัตถุเหลือ จัดหรือวัตถุที่เก็บรักษาเพื่อการศึกษาคนควาอาจกระจายหองเก็บอยูตาม department ตาง ๆ ของภัณฑารักษ ภัณฑารักษแตละแผนกจะเก็บรักษาคลังเก็บวัตถุเพื่อคนควาและดูแลรักษาวัตถุ เหลือจากจัดแสดง สวนวิธีที่ 2 คือ มีคลังเฉพาะเปนคลังรวม โดยทั่วไปอยูในความดูแลของ นายทะเบียน หรืออาจมีแผนกคลังดูแลโดยเฉพาะ เก็บรักษาและจัดอยางเปนระเบียบ ใหบริการ เขาศึกษาคนควาได 4.3 สํานักงานทะเบียนและงานเทคนิค (Registrar quarters and technical services) : สํานักงานทะเบียน ประกอบดวย หองรับรอง (receiving room) สํานักงาน (office) หองเก็บของ storage) หองถายรูป (photography workroom) หองชางไม (workshop) และ หองปฏิบัติการสงวนรักษา (conservation workshop) 4.4 หองทํางานฝายเทคนิค (technical workshop) 4.5 หองปฏิบัติการชางทั่วไป (general workshop) 4.6 หองปฏิบัติการฝายศิลป (arts workshop)


9 5. สวนงานรักษาความปลอดภัย (Security services) 6. สวนงานการจัดแสดง (Exhibition halls) หองจัดแสดงมีความสําคัญที่สุดสําหรับพิพิธภัณฑสถานหองนิทรรศการเปนงาน หนาฉากของพิพิธภัณฑสถานโดยแบงเปนนิทรรศการถาวร (Permanent exhibition) และ นิทรรศการหมุนเวียน (Temporary exhibition) 6.1 การแบงเนื้อที่หองจัดแสดง (Exhibition space): ตองคํานึงถึงหนาที่และ ความจําเปนของพิพิธภัณฑสถานแตละประเภท แตละแหง เชนตองแบงเนื้อที่ออกตามประเภท ของวัตถุ แบง เป น ห อ งแสดงถาวร หองแสดงชั่วคราว หรืออาจตองแบง เปน หองแสดงสํา หรับ ประชาชน สําหรับนักเรียน นักศึกษา เปนตน ตองมีตามวัตถุประสงคไวให 6.2 ลักษณะหองจัดแสดง (Exhibition room): มีหลายแบบ เชน หองแสดงแบบ ธรรมดา (Simple chamber) หองแสดงภาพภาพเขียนที่ใชแสงธรรมชาติจากหลังคา (Sky lighted gallery) หองแสดงชนิดไมมีหนาตาง (Windowless) หรือการจัดแสดงแบบ Period room และ พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาจัดแสดง habitat groups ตองการเนื้อที่มากถาเปนสัตวใหญ เชน ชางหรือยีราฟ ตองเตรียมเนื้อที่ไวเปนพิเศษ 6.3 หองจัดแสดงชั่วคราว (Temporary exhibition hall) 6.4 การจัดกลุมหอง (Zoning) : ตองวางแผนสําหรับการเขาชมเปนไปตามแผนที่ กําหนด คือเขาหองหนึ่งตอไปถึงหองหนึ่งเปนลําดับ จนกระทั่งออกทางเดิม 6.5 การกําหนดเสนทางเดิน (Circulations) 7. สวนอื่นๆ ในพิพิธภัณฑสถาน 7.1 หองพักของคนงาน (Staff room) : คนสวน คนทําความสะอาด ตางประเทศ มีหองเปลี่ยนเสื้อผาและ locker room สําหรับเก็บของและมีที่รับประทานอาหารกลางวันที่ทุกคน นําติดตัวมา 7.2 เรือนพักเจาหนาที่ ไดแก เรือนยาม (Living quarters) : เปนที่อยูของ เจาหนาที่รักษาการเฝาพิพิธภัณฑ 7.3 โรงรถ (Garages) : แมไมมีโรงรถสวนตัวสําหรับเจาหนาที่หรือผูชม


10 • สัปดาหที่ 3 ความหมายของนิทรรศการ นิทรรศการ (Exhibition) โดยทั่วไปคือการจัดนําเอาภาพถาย ภาพเขียน สถิติ แผนภูมิหรือ วัสดุกราฟฟคอื่น ๆ ไดแก ของจริง หุนจําลอง โสตทัศนูปกรณบางประเภท เชน ภาพยนตร ภาพนิ่ง (Slide) จัดแสดงพรอมคําบรรยายประกอบ การอภิปรายและการสาธิตเรื่องตาง ๆ ที่นาสนใจหรือ กําลังอยูในความสนใจของกลุมประชาชนที่เลือกมาเปนเปาหมาย ความแตกตางของคําวานิทรรศการกับการจัดดิสเพลย นิทรรศการมีลักษณะเปนสื่อความหมายสองทาง (Two- way communication) ระหวาง สถาบันผูจัดนิทรรศการกับประชาชนหรือกลุมเปาหมายที่มาชม ผูชมสามารถสอบถามเจาหนาที่ ผูจัดถึงเรื่องราวความเปนไปของการจัดแสดง ส ว นดิ ส เพลย เ ป น การสื่ อ ความหมายแบบเอกวิ ถี ห รื อ แบบทางเดี ย ว (One-way communication) มีความหมายเพียงเพื่อชี้แจงแถลงขาว รายงานเรื่องราวเหตุการณหรือชักชวน ใหผูชมเกิดความสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หลักการออกแบบการจัดแสดง 1. ความสําคัญของการจัดแสดงนิทรรศการ อยูที่วัตถุ นิทรรศการของพิพิธภัณฑสถาน ตางกับนิทรรศการทั่วไปคือ ตองเนนความสําคัญที่วัตถุ สวนคําบรรยายหรือสวนประกอบอยางอื่น เปนเพียงองคประกอบที่ชวยใหวัตถุจัดแสดงมีความหมายสมบูรณ 2. การให เรื่องราว ความรูเ กี่ยวกับวัตถุจัดแสดงนิทรรศการ องคประกอบที่ทําใหวัตถุ มี ค วามหมาย ความสํ า คั ญ ต อ งมี คํ า บรรยายและการให คํ า บรรยาย การใช เ ทคนิ ค อยู ที่ ความเหมาะสมและเรื่ อ งที่ จั ด แสดง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถานประเภทวิ ท ยาศาสตร ธรรมชาติ วิ ท ยา ตองใชองคประกอบ เชน ตัวหนังสือบรรยาย แผนที่ และอื่น ๆ เพื่อใหเรื่องราวเกี่ยวกับวัตถุจัดแสดง 3. การจัดแสดงนิทรรศการมีวัตถุประสงค คือ ตองมีความสัมพันธตอเนื่องกันใหเรื่องราว ขั้นตอนไปตามลําดับจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง ใหผูชมเขาใจเรื่องราวติดตอกัน ดังนั้นการจัดแสดง ตองมีหัวเรื่องเปนหัวเรื่องใหญ หัวเรื่องยอยมีความสัมพันธกันเปนลําดับ 4. ใหความประทับใจ เพลิดเพลิน ความชื่นชม เห็นความสําคัญและคุณคาของวัตถุให ผูชมยอมรับวาพิพิธภัณฑสถานไดรวบรวมสงวนรักษาและจัดแสดงนิทรรศการนั้น มีคุณคาสูงควร แกการคุมครองรักษาใหคงอยูตลอดไป


11 5. การจัดแสดงนิทรรศการตองถือหลักจัดอยางงาย ๆ คือไมจัดแสดงใหดูซับซอน พิสดาร สับสน ตองวางแผนออกแบบใหเหมาะสม ไมมากไมนอย ถาหากจัดเกะกะ รก ไมเปนระเบียบ หรือ ดูซับซอนทําใหขาดความสําคัญ คนดูจะเบื่อหนาย ขาดความสนใจและไมเกิดความประทับใจ การใชหลักการจัดอยางงาย ๆ แตดูมีความสําคัญ ทําใหเกิดความประทับใจ ใหความรูสึกเห็น คุณคาและไมเบื่อหนายแมจะเขาชมอีกหลายครั้งก็ตาม 6. ใหความปลอดภัยแกวัตถุ ใชวิธีการหรือเทคนิคใดตองพิจารณาการจัดแสดงนิทรรศการ ไมทําใหวัตถุเสียหายและปลอดภัยจากโจรกรรม หนาที่ของพิพิธภัณฑสถานตองคุมครองสงวน รักษาวัตถุใหคงอยูตลอดไป ไมใหเกิดความเสื่อมสภาพเสียหายแตกหัก ไมใหถูกโจรกรรม การจัด แสดงนิทรรศการตองระมัดระวังเรื่องอุณหภูมิ ความรอน ความเย็น ฝุนละออง ความชื้น แสงสวาง อาจทําใหวัตถุเสียหาย ความเด น ไดแก ความเด น ของเสน ทิศ ทาง รู ปแบบ รู ปร า ง ขนาด และสี เพื่ อดึ ง ดูด ความสนใจของผูชม ความสมดุล โดยจัดนิทรรศการใหมีความสมดุลดวยวิธีการสองแบบ คือ 1 การจัดสวนสองขางของแบบที่แสดงใหเทากัน 2 การจัดสวนของแบบที่แสดงใหมีความสมดุลทางดานสายตาหรือความรูสึก ลักษณะของหองจัดแสดงที่นิยม ดังนี้คือ ก. ห อ งแสดงแบบธรรมดา คื อ ห อ งแสดงที่ มี ห น า ต า ง ซึ่ ง อาจเป น หน า ต า งสู ง หรื อ มีหนาตางเพียงดานเดียวแลวใชแสงไฟฟาชวยในการจัดแสดง ข. หองแสดงแบบยกพื้นโลง เปนหองแสดงแบบเกา นิยมสรางกันมากในยุโรปและอเมริกา คือ มีหองโถงชั้นลาง ขึ้นบันไดเปนหองโลงที่สามรถมองเห็นชั้นลางไดตลอด ค. หองแสดงแบบหอประชุมใหญ เปนหองขนาดใหญมีหนาตางทั้งสองดาน ง. หองแสดงแบบเฉลียง คือ จัดเฉลียงใหเปนที่แสดงงาน อาจจัดเปนเฉลียงการแสดง เปนบันไดเวียนจากพื้นชั้นลางจนถึงยอดอาคาร โดยใชแสงธรรมชาติและแสงไฟชวย จ. หองแสดงที่ใชแสงจากหลังคา เชน หองแสดงพิพิธภัณฑศิลปะซึ่งในอดีตจะเปนปญหา มากสํ า หรั บ สถาปนิ ก ในการควบคุ ม ความหนั ก เบาของแสง ในป จ จุ บั น สามารถใช แ สงไฟฟ า ประดิษฐทดแทนได ฉ. หองแสดงแบบไมมีหนาตาง นิยมกันมากในประเทศทางตะวันตก โดยปลอยเนื้อที่วาง ไวสําหรับดัดแปลงจัดนิทรรศการไดตามตองการ


12 รูปแบบการจัดแสดง สามารถแบงออกเปน 4 รูปแบบดังตอไปนี้ ก) การจัดแสดงเพื่อความงาม (Aesthetic the Sensation) ข) การจัดแสดงใหความรู (Instruction Present) ค) การจัดแสดงตามสภาพธรรมชาติ (Natural Context Exhibition) ง) การจัดแสดงตามสภาพจริง (Authentic Setting Present) ประเภทของนิทรรศการ โดยการแบงประเภทนิทรรศการตามกําหนดระยะเวลาการจัดแสดง คือ นิทรรศการถาวร (Permanent exhibition) และนิทรรศการชั่วคราว (Temporary exhibition) แบงเปน 3 ประเภท ตามจุดประสงคของการจัด คือ 1. นิทรรศการชั่วคราวที่จัดแสดงเปนเอกเทศ เปนการกําหนดจัดชวงระยะ เวลาหนึ่ง เพื่อแสดงสิ่งใด ๆ โดยไมสัมพันธเกี่ยวของกับการจัดนิทรรศการประเภทอื่น 2. นิทรรศการชั่วคราวที่จัดแสดงเพื่อเสริมนิทรรศการถาวร จัดขึ้นเพื่อเสริมการแสดงที่มีอยู 3. นิทรรศการหมุนเวียน (Traveling exhibition): เปนนิทรรศการที่จัดขึ้นเพื่อแสดงในที่ หลาย ๆ แหงหมุนเวียนไป โดยมุงอํานวยความสะดวกแกผูชมหรือประชาชนอาจแสดงในรูปของ รถเผยแพรเคลื่อนที่ (Mobile units) การแบงประเภทนิทรรศการตามสถานที่จัดแสดง 1. นิทรรศการในรม (Indoor exhibition) 2. นิทรรศการกลางแจง (Outdoor exhibition) 3. การจั ดแสดงกึ่งกลางแจง (Semi-Outdoor Exhibition) สภาพแวดลอมเหมื อน กลางแจ ง มี การจั ดภูมิ ทัศน เชื่ อมโยงกับพื้น ที่กลางแจง (Landscape) การจัดแสดงประเภทนี้ สะดวกแกการควบคุมกวาแบบกลางแจง แตตองควบคุมชิ้นงานและที่วางใหดี เพราะมีผลตอ การชมงาน การแบงประเภทนิทรรศการตามลักษณะผังทางเดินของผูชม 1. แบบควบคุม (Control typed) คือ การจัดแสดงนิทรรศการโดยกําหนดทางเดิน เขาออกเปนการบังคับใหผูชมเดินตามทิศทางที่กําหนดไว 2. แบบไมควบคุม (Un-control typed) คือ การจัดแสดงนิทรรศการที่เปดโอกาสให ผูเขาชมเลือกชมไดอยางอิสระตามความสนใจ


13 แบงตามจุดมุงหมาย 1. นิทรรศการเพื่อการประชาสัมพันธ (Information) กลาวคือ ตองตั้งเปาหมายแนนอนวา ตองการใหผูชม หรือกลุมประชาชนเปาหมายไดรับอะไร จากการมาชมนิทรรศการ 2. นิทรรศการเพื่อการศึกษา (Education): เพื่อใหความรูกับนักเรียน สามารถจัดใน หองเรียน ภายนอกอาคาร ในอาคาร หรือในมหาวิทยาลัย 3. นิทรรศการเพื่อการสงเสริมการขาย (Promotion): การจัดนิทรรศการเพื่อการสงเสริม การขายของบริ ษั ท หรือ ร า นค า มั ก นิ ย มจั ด ในโรงแรมเพราะสะดวก มี สถานที่ ก ว า งขวางและ เปนที่รูจักของคนทั่วไป สื่อการจัดแสดง (Media) วัสดุกราฟฟค (Graphic) : วัสดุกราฟฟค หมายถึงวัสดุลายเสนหรือสื่อลายเสน ประกอบดวยภาพลายเสน ตัวอักษรและสัญลักษณตาง ๆ เพื่อเสนอเรื่องราว ความรูหรือเนื้อหา สาระให รั บ รู แ ละเข า ใจง า ย รวดเร็ ว และถู ก ต อ งหรื อ เสนอสิ่ ง ที่ เ ป น นามธรรมให เ ป น รู ป ธรรม สามารถดึงดูดความสนใจไดเปนอยางดีจากความ หมายที่นักวิชาการกลาวไวขางตนสรุปไดวา วัสดุกราฟฟคเปนสื่อที่ใชนําเสนอเรื่องราว โดยมีการใชลายเสนเปนองคประกอบหลักสําหรับ การสรางภาพ คําตัวอักษรและสัญลักษณตาง ๆ เพื่อใหผูชม เกิดความสนใจและเขาใจเนื้อหา เรื่องราวดีขึ้น นิยมใชกับงานศิลปกรรมและประกอบการจัดนิทรรศการ วัสดุกราฟฟค แบงเปน 6 ประเภท ดังนี้ 1. แผนภูมิ (Chart): ใชอธิบายความหมายดวยลายเสนและภาพ ประกอบดวย 1.1 แผนภูมิแบบตาราง (Tabular chart) แสดงความสัมพันธระหวางเวลากับ เหตุการณ เชน ตารางเรียน ตารางเวลารถไฟ ตารางกําหนดการตาง 1.2 แผนภูมิแบบอธิบายภาพ (Illustrative chart) แสดงรายละเอียดของภาพ เชน แผนภูมิแสดงสวน ประกอบของสิ่งตาง ๆ โดยใชภาพแสดงรายละเอียด 1.3 แผนภูมิแบบตนไมและลําธาร (Tree chart and stream chart) แสดง รายละเอีย ดใหเ ห็นสวนยอย ๆ ที่ แยกจากตนหรือลําธารเดียวกัน ใชสําหรับการวิเ คราะหหรือ จําแนกประเภท เชน อัตถประวัติความเปนมาของฮิตเลอร 1.4 แผนภูมิองคกร (Organization chart) แสดงความสัมพันธของสายงาน ในหนวยงานหรือองค การ เชน แผนภูมิแสดงการแบงสายงาน 1.5 แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ (Comparison chart) ใชแสดงการเปรียบเทียบ ความแตกตางของสิ่งตาง ๆ ระหวางขนาด รูปราง ลักษณะ แนวความคิด ฯลฯ


14 1.6 แผนภูมิแบบตอเนื่อง (Flow chart) แสดงขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงจาก จุดเริ่มตนไปจนจุดสุดทายหรือแสดงกิจกรรมเปนขั้นตอนตามลําดับตอเนื่อง 1.7 แผนภูมิแบบวิวัฒนาการ (Development chart) แสดงพัฒนาการของ สิ่ ง ต า ง ๆ ต อ เนื่ อ งเปน ลํ า ดั บ จากจุ ด เริ่ม ต น ไปจุ ดสุ ด ท า ยลัก ษณะคลา ยแผนภูมิ แ บบต อ เนื่ อ ง แตไมยอนไปจุดเริ่มตนอีก 2. แผนสถิติ (Graph) : แสดงขอมูลเพื่อเปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณตัวเลขที่เปลี่ยนไป ตามกาลเวลา นิยมใชจัดนิทรรศการมีดังนี้ 2.1 กราฟเสน (Line graph) แสดงความกาวหนาหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ ของขอมูล ถาใชเปรียบเทียบขอมูลตั้งแต 2 เสนขึ้นไปอาจแสดงใหเห็นความแตกตางดวย สี เสนประ หรือเสนเต็ม 2.2 กราฟแทง (Bar graph) แสดงปริมาณหรือจํานวนของขอมูลดวยแทงสี่เหลี่ยม แตละแทงแทนขอมูลแตละขอมูล โดยความสูงของแทงตางกันตามจํานวนหรือปริมาณของขอมูล ใชสําหรับเปรียบเทียบขอมูลจํานวน 2 - 3 ขอมูล 2.3 กราฟวงกลม (Circle or pie graph) แสดงการเปรียบเทียบจํานวนหรือ ปริมาณดวยภาพวงกลม โดยใชจํานวนปริมาณทั้งหมด 100% เทียบกับจํานวนองศาของวงกลม คือ 360 องศาแบงสวนขอมูลยอยเปนสวน ๆ 2.4 กราฟพื้นที่ (Area graph) แสดงขอมูลเพื่อเปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณ ดวยรูปทรงเรขาคณิต เชน สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม ฯลฯ 2.5 กราฟรูปภาพ (Pictorial graph) คือ การใชภาพลายเสนแบบงาย ๆ แสดง ความหมายของขอมูลแทนการใชกราฟแทงเพื่อเปนการกระตุนความสนใจ เชน ใชภาพ 1 ภาพ แสดงแทนคนลานคน 3. แผนภาพ (Diagrams) : เปนวัสดุกราฟฟคที่แสดงระบบการทํางานภายในที่ซับซอน ของสิ่งตาง ๆ ที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาใหเขาใจงายโดยใชเสนและสัญลักษณ 3.1 ภาพประชาสัมพันธ (Poster) คือแผนปายมีภาพประกอบคําบรรยายสั้น ๆ ใชสื่อความหมายที่ตองการแสดงเรื่องราวใหเขาใจอยางรวดเร็วโดยไมตองแปลความหมาย 3.2 แผนที่ (Map) ใชแสดงทิศทาง อาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ โดยใชสี เสน สัญลักษณ และการกําหนดมาตราสวน เพื่อยอระยะทางใหสามารถสื่อความหมายในพื้นที่ จํากัด 3.3 การตูน (Cartoon) คือ การใชภาพลายเสนแทนบุคคล สัตว สิ่งของ ฯลฯ ทํานอง ลอเลียนหรืออารมณขัน เพื่อสื่อความหมายใหเขาใจงายและจดจําไดนาน


15 4. วัสดุสามมิติ (3 dimension) : คือ วัสดุที่มีความกวาง ยาว ลึก นิยมใชจัดนิทรรศการ มี 4 ประเภท ดังนี้ 4.1 ของจริง (Real objects): เปนสื่อที่สามารถดึงดูดความสนใจที่ดี เพราะการ เรียนรูดวยสื่อของจริงทําใหเกิดความเขาใจอยางรวดเร็ว เปนการเรียนรูจากประสบการณตรง 4.2 ของตัวอยาง (Specimens หรือ samples): เปนสื่อที่มีลักษณะเหมือนของ จริง แตกตางกันตรงของตัวอยางเปนเพียงสวนหนึ่งของของจริงหรืออาจเปนของจริงที่ประดิษฐ ขึ้นมา เพื่อเปนของตัวอยางไมใชทําเพื่อประโยชนใชสอยโดยเฉพาะ 4.3 หุนจําลองหรือแบบจําลอง (Model): คือ วัสดุที่จําลองมาจากของจริง โดยขยาย หรือยอสวนจากวัสดุของจริง มีหลายประเภท คือ 1. หุนจําลองแสดงรูปรางลักษณะภายนอก (Solid model) 2. หุนจําลองเทาของจริง (Exact model) 3. หุนจําลองแบบขยายหรือยอสวน (Enlarged and reduce model) 4. หุนจําลองแบบผาซีก (Cut away) 5. หุนจําลองแบบแยกสวน (Build up model) 6. หุนจําลองแบบเคลื่อนไหวแสดงการทํางาน (Working model) 5. อันตรทัศน หรือ ไดโอรามา (Diorama) : หรือเวทีจําลอง คือ ภาพสามมิติแสดง เหตุการณ สถานที่เลียนแบบธรรมชาติที่ใกลเคียงของจริงตามสัดสวนที่เหมาะสม สรางความสนใจ เราใจเปนอยางดี อั น ตรทั ศ น เป น สื่ อ จั ด แสดงโดยการนํ า วั ต ถุ ห รื อ หุ น จํ า ลองขนาดเล็ ก มาประกอบกั บ ฉากหลัง เพื่อใชจําลองใหเห็นบรรยากาศโดยมีความลึก เปนธรรมชาติใกลเคียงความจริงมากที่สุด เทาที่จะทําได การจัดแสดงอาจมีขนาดเล็กไดแก จัดแสดงภายในตูไปจนมีขนาดใหญจัดแสดงเปน หองไดบางครั้งอาจใชเทคนิคกลไก เชน การใช แสง สี เสียง รวมจัดแสดง 6. วัสดุประดับตกแตง : ใชสรางบรรยากาศใหนิทรรศการมีความสวยงาม มีชีวิตชีวา และ กระตุนความสนใจไปสูเนื้อหาเรื่องราว แบงเปน 2 ประเภท 1. วัสดุตกแตงเนื้อหา หมายถึงวัสดุที่ใชเสริมหรือประดับเพื่อใหเนื้อหานิทรรศการ มีความเดนสะดุดตา เพราะการนําเสนอเนื้อหาวิชาการแตเพียงอยางเดียว ไมชวยสรางบรรยากาศ ใหเกิดความตื่นตาตื่นใจ 2. วั สดุ ตกแตง เพื่อสร า งบรรยากาศ เปน การนํา วัสดุ เชน ต น ไม ดอกไม ผ า สี กระดาษสีตลอดจนระบบแสงสีเสียงมาจัดประกอบนิทรรศการเพื่อใหไดบรรยากาศที่สอดคลองกับ เนื้อหาเรื่องราวที่จัดแสดงและมีความสวยงามแปลกตานาดูยิ่งขึ้น


16 สื่อกิจกรรม (Activities) หรือวิธีการ (Methods) หมายถึง การนําวัสดุอุปกรณตาง ๆ จัดแสดง รวมกันโดยใชกิจกรรมหรือวิธีการเปนหลัก ทําใหกลุมเปาหมายรับรูสิ่งตาง ๆ จากประสาทสัมผัส ทั้งหา รวมทั้งมีสวนรวมในการแสดงออกของกิจกรรมนั้น ๆ อาจจัดในรูปของกลุมหรือมวลชนทั่วไป ตามลักษณะของกิจกรรม แบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. การสาธิต (Demonstration): เปนการแสดงใหเห็นถึงกระบวนการ ขั้นตอน หรือผลของ การปฏิบัติ โดยใชอุปกรณประกอบ เพื่อสื่อใหเห็นถึงการปฏิบัติจริง 2. เกมส (Games) คื อ กิจกรรมที่มีลักษณะของการแขง ขัน เชิง นัน ทนาการ ผู เล นต อง เคารพกฎกติกา บางครั้งตองใชทักษะไหวพริบปฏิภาณหรือความแข็งแกรงดานรางกาย ฯลฯ 3. ประสบการณนาฏการ (Dramatized experience) คือ การแสดงเพื่อใชสื่อความหมาย ให ผู ช มเข า ใจเนื้ อ หาเรื่ อ งราวที่ นํ า เสนอ เช น การแสดงละครหุ น ดนตรี การแสดงบทบาท (role playing) การแสดงพื้นบาน ไดแก ลิเก ลําตัด หมอรํา มโนราห ฯลฯ สื่อนิทรรศการประเภทอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กลาวมาแลว มีสื่ออื่น ๆ ดังนี้ 1. ภาพประกอบ (Illustration) : ใชภาพถายจากของจริงหรือภาพวาด เพราะบางครั้ง ภาพถายของจริงไมสามารถเนนสวนที่ตองการแสดงใหชัดเจน ควรเปนภาพที่งายตอการเขาใจ ตรงกั บ จุ ด ประสงค ที่ ต อ งการสื่ อ ควรมี ข นาดใหญ ให ร ายละเอี ย ดของสิ่ ง ที่ ต อ งการได ชั ด เจน ภาพที่ มี ข นาดใหญเ พี ย งจํ า นวนนอย สามารถสื่อ ความหมาย และดึง ดู ด ความสนใจไดดีก ว า ภาพเล็กจํานวนหลาย ๆ ภาพ 2. สไลด (Slide) : หมายถึงการใชภาพโปรงใสบนแผนฟลมหรือแผนกระจก เพื่อสื่อ ความหมายดวยภาพหรือขอความสั้น ๆ 3. ภาพโปรงใส (Transparencies) : หมายถึง ภาพที่แสงสวางทะลุได อาจเปนภาพวาด หรือภาพถายลงบนแผนวัสดุโปรงใส เชน แผนพลาสติก อาซีเตรท กระจก ฯลฯ โสตทัศนูปกรณประเภทเครื่องฉาย เชน เครื่องฉายภาพยนตร เครื่องฉายสไลด เครื่องฉาย ทึบแสง เครื่องฉายภาพโปรงใส ทีวี และวีดีทัศน โสตทัศนูปกรณประเภทเครื่องเสียง แบงเปน 2 ลักษณะ คือ การกระจายเสียงภายใน อาคาร และการกระจายเสี ย งทั่ ว บริ เ วณงาน ใช สํ า หรั บ ประชาสั ม พั น ธ ง าน เช น การแนะนํ า บรรยาย อธิ บ ายหรื อ เชิ ญ ชวนให ผู ช มรั บ รู เ รื่ อ งราวรายละเอี ย ดของงานนิ ท รรศการว า มี ก าร จัดเรื่องใดและที่ใด สื่อคอมพิวเตอร เปนสื่อที่นิยมใชประกอบการจัดนิทรรศการ สามารถใหรายละเอียดขอมูล ครบถวน เลือกดูตามความสนใจโดยไมจํากัดเวลา การใชสื่อนิทรรศการเพียงอยางเดียว อาจมี ขอจํากัดเรื่องของขนาดพื้นที่ทําใหไมสามารถนําเสนอขอมูลอยางละเอียดครบถวน


17 วัสดุครุภัณฑที่ใชจัดนิทรรศการ ตองมีความมั่นคง แข็งแรง สะดวกตอการเคลื่อนยาย ปองกันการโจรกรรม บางครั้งตอง คํานึงถึงความสามารถควบคุมอุณหภูมิ การติดตั้งในระดับสายตาของผูชมโดยทั่วไปการเลือกใช วัสดุและครุภัณฑสําหรับการจัดแสดงแตละครั้ง สิ่งที่ตองพิจารณา คือ วัตถุประสงคของนิทรรศการ เนื้อหาที่ตองการแสดง หองหรือสถานที่จัดแสดง วัสดุและครุภัณฑในการจัดแสดง แตละเรื่องใช อุปกรณตางกันตามความเหมาะสมกับสิ่งแสดงนั้น ๆ ดังนี้ ปาย : อุปกรณอยางหนึง่ ใชสําหรับแสดงรูปภาพ วัสดุอปุ กรณ ตลอดจนผลงานหรือสินคา ที่ใชในนิทรรศการ ในทีน่ ี้รวมถึงปายนิเทศที่ใชในวงการศึกษาดวย แบงไดดังนี้ 1. ปายชนิดถาวร ไมสามารถเคลื่อนที่ได เชน ปายที่ทาํ ติดกับฝาผนังถาวร 2. ปายชนิดเคลื่อนยายได มักทําเปนแผนเล็ก ๆ เบาพอที่จะยกไปติดตั้งตามที่ตาง ๆ 3. ปายพับไดมวนได มีรูปรางแบบเลมหนังสือขนาดใหญ ใชพลิกดูทีละแผน 4. ปายที่ใชเชือกหรือลวดเปนโครงสรางสําหรับจัดแสดงหนังสือ รูปภาพ วัสดุอื่น ๆ ปายนิเทศ: เปนรูปแบบของสื่อประชาสัมพันธชนิดหนึ่งที่ไดรับความนิยมในวงการ การศึกษา ประโยชนของปายนิเทศ 1. ใช อธิ บ ายเหตุก ารณ สํา คัญ โดยใชเ ป น ปา ยประกาศประจํ า วัน เป น แหลง รวบรวม ขาวสารที่เกิดขึ้นในทองถิ่น ในประเทศและกิจกรรมระหวางประเทศ 2. เพื่อเราความสนใจใหมดวยการใชปายนิเทศประชาสัมพันธกิจกรรมตาง ๆ ปายนิเทศ ที่จัดอยางดีจะกระตุนความอยากรูอยากเห็นใหติดตามปญหาหรือขอความพิเศษในโอกาสตอไป เปนการจูงใจใหอยากอาน อยากศึกษาตอไปอีก 3. เป น การรายงานกิ จกรรมพิเ ศษในโรงเรี ย นหรือชุม ชน เชน แจง รายชื่อ หนัง สือใหม ของหองสมุด แจงขาวสารของชุมชนมีสวนใหผูคนสนใจ และเขาชวยกิจกรรมนั้น ๆ หรือใชเปนสื่อ ประกอบการสอน 4. เปนการสรุปสาระสําคัญของโครงการและทบทวนสิ่งที่ไดเรียนไปแลวในชั้นเรียน


18

ระยะดู

ความสูงหรือขนาดของตัวอักษรหรือวัสดุ

64 ฟุต

2 นิ้ว

32 ฟุต

1 นิ้ว

16 ฟุต

½ นิ้ว

8ฟุต

½ นิว้

ตาราง 2 ความสัมพันธระหวางขนาดตัวอักษร วัสดุจัดแสดงกับระยะการมองเห็น ทางสัญจรกับปายนิเทศ : ขอสังเกตการจัดวางวัตถุจัดแสดงรายละเอียดหรือคําบรรยาย วัตถุดังนี้ 1. วางวัตถุขนานกับขอมูล ผลคือผูชมอาจไมเดินผานชองทางที่กําหนดไว ทําใหผูชม มีความเขาใจนอยกวาที่ควร 2. วางวั ต ถุ เ ป น กลุ ม และวางวั ต ถุ ไ วเ ป น ช ว ง ๆ ทํ า ให ผู ช มสับ สน ไมรู ว า คํ า อธิ บ ายใด เปนวัตถุใด 3. วางขอมูลการบรรยายติดกับวัตถุแตละชิ้นทําใหงายตอการทําความเขาใจและงายตอ การเคลื่อนจุดที่ตั้งใหม 4. จัดสวนพิเศษสําหรับใหขอมูลรายละเอียดแกผูชมที่สนใจอยางจริงจัง แตไมเหมาะ สําหรับผูชมที่ไมสนใจเพราะทําใหรูสึกเบื่อ แผงกั้นสวนและแผงติดงานแสดง: การจัดแผงแสดงคํานึงถึงการตกแตงผนัง พื้นและ เพดานต อ งสั ม พั น ธ กั น ใช ป ระโยชน อย า งสมบู ร ณ ทั้ ง ด า นฉาก ค้ํ า ยั น และเนื้ อ ที่ ว า งสํ า หรั บ จัดแสดงแผงแสดงควรเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนที่งาย การจัดวางแผงควรเวนเนื้อที่วางใหสมดุล กับเนื้อที่หองแสดง ควรใชแผงแสดงงานที่มีระบบติดตั้งและรื้อถอนไดสะดวก เหมาะกับนิทรรศการ ที่เคลื่อนยายจัดแสดง และนิทรรศการที่จัดในระยะสั้น แผงติดตั้งงานแสดงเหมาะกับงาน 2 มิติ สามารถจําแนกเปน 2 ระบบ ดังนี้คือ 1. ระบบที่ไมมีตัวยึด เชน ระบบแสดงงานเปนทอเหล็กตอกันหลายเฟรมตั้งอยูโดยวาง สลับทิศทางกัน


19 2. ระบบที่ มี ตัว ยึ ด มี ห ลายแบบเหมาะกั บ งานนิท รรศการระยะสั้ น ในเนื้ อที่จํา กัดไมมี สิ่งอํานวยความสะดวกตอการติดตั้ง แตมีการขนยายและรื้อถอนบอย ควรออกแบบใหมีน้ําหนัก เบา ทนทาน ติดตั้งและรื้อถอนงาย รูปแบบที่ใชกันมากในนิทรรศการชั่วคราว คือ แผงขาสลักรู กุญแจ โตะ : เปนสวนหนึ่งของนิทรรศการที่สรางงาย สามารถถอดเก็บ ปรับใชรวมกับสิ่งติดตั้ง อื่น ๆ โดยใชวิธีตอไปนี้ - ใชแผนไมอัดหนา ¼ หรือ ½ นิ้ว ขนาด 4x8 ฟุต เปนพื้นโตะ ใชโลหะขนาด ¾นิ้ว ประกอบเปนขาโตะ ปรับใหสูงหรือต่ําตามตองการ โตะแบบนี้มีลักษณะคลายโตะธรรมดา ปรับขา โตะใหเอียงเปนมุมประมาณ 20 องศา เหมาะสําหรับติดแสดงวัตถุแบบเรียบ หรืองานฝมือที่ตรึง ไวได - ใชแผนไมอัดหนา ¼ หรือ ½ นิ้ว ขนาด 4X8 ฟุต ปรับตั้งเปนแผงเอน ทําให รับแสง สวางในหองมากเหมาะที่ประชิดฝา นิยมใชมากแตไมเหมาะที่ตองออกมาอยูโดด ๆ กลางสถานที่ หรือตั้งหลังชนกันเพราะไมนาดู สิ่งที่นํามาติดแสดงมักเปนจําพวกของแบน ของเล็กและน้ําหนัก เบา ขอเสียคือเมื่อใชแลวตองซอมหรือทาสีใหม ตูจัดแสดง: การเลือกขนาดของตูจัดแสดงในงานนิทรรศการ แตละครั้งอยูที่ลักษณะของ วัตถุจัดแสดง โดยตูสําเร็จรูปสวนมากมีขนาด 4 ฟุต (1.20 ม.) 6 ฟุต (1.80ม.) 8 ฟุต (2.40ม.) ถาตองการใหมีขนาดตางจากนี้อาจสั่งทําใหมเปนกรณีพิเศษ ควรมีความลึกดานในอยางนอย 2 ฟุต 6 นิ้ ว (0.75ม.) กระจกตู ควรสูง 4 ฟุต (1.20ม.) 4 ฟุต 6 นิ้ว (1.35ม.) หรือ 5 ฟุต 6 นิ้ ว (1.65ม.) ติดไฟนีออนภายในชิดดานหนาตู ฐานลางของตูควรสูงไมเกิน 2 ฟุต (0.60ม.) เพื่อให เด็กเล็ก ๆ มองเห็นภายในตู ตูลักษณะตั้งเปนมุมฉาก เปนตูประเภทที่ใชประโยชนมากที่สุดสําหรับแปลนนิทรรศการ ที่แสดงใหเห็นอาณาบริเวณโดยรอบ เพราะสามารถจัดวางตูใหชิดผนัง สวนดานขางหรือดานหลัง ของตูปดทึบดวยไม ตูชนิดนี้สามารถแขวนวัตถุหรือวางวัตถุไวบนพื้นตู ภายในตูสามารถติดชั้น สํ า หรั บ วางวั ต ถุ และติ ด ป า ยคํ า บรรยายโดยไม ทํ า ให ตู เ สี ย หาย กระจกสํ า หรั บ เป ด ป ด หน า ตู มีลักษณะตั้งเปน มุมฉาก ดา นหนาควรเปน บานที่ปดเปดได อาจติดบานพั บหรือใชบานเลื่อน ถาเปนสิ่งแสดงถาวรไมจําเปนตอง ปด - เปด ชนิดของตูจัดแสดง แบงตามขนาดและลักษณะการใชงาน 1. Table showcase เปนแบบที่เหมาะสําหรับจัดแสดงวัตถุขนาดเล็ก สามารถมองเห็น ไดรอบ แมแตดานบนของวัตถุ


20 2. Equipped showcase with panels and drawers ประกอบสวนตาง ๆ มีการออกแบบ เปนอยางดี ตูแบบนี้สามารถใชประโยชนไดมากเพราะใชเนื้อที่สําหรับจัดแสดงนอย สามารถ ควบคุมแสงได 3. Upright showcase - Free standing showcase เปนตูขนาดใหญ สามารถวางวัตถุจัดแสดงได หลากหลาย ภายในตูอาจแบงเปนหลายชั้น ตูชนิดนี้สามารถใชแบงหองแสดงออกเปนสวน ๆ ถาดานหลังปดทึบใชเปนบอรดจัดแสดงได - Wall showcase แตเดิมเปนตูที่ออกแบบสําหรับจัดแสดงวัตถุที่มีความสูง โดยเฉพาะปจจุบันมีการใชตูชนิดนี้สําหรับวางวัตถุแสดงทั่วไป อาจออกแบบใหติดตั้งลอยตัว แขวน หรือฝงอยูในผนัง - Inset showcase เปนลักษณะการจัดวางตูแสดงเปนกลุม อยูระดับพื้นหรือ เหนือระดับพื้น เหมาะสําหรับหองแสดงที่มีผนังเพียงดานเดียว สามารถเคลื่อนยาย ไมตองตกแตง มากนัก เพียงจัดจังหวะใหลงตัวก็สามารถดึงดูดความสนใจของผูชม ที่เก็บของ : ปกติหองจัดแสดงนิทรรศการสวนใหญมีสวนเก็บตูแสดงสํารองที่ยังไมนํา ออกมาใช ต อ งมีก ารบํ า รุง รั ก ษา (Maintenance) เพื่อให อุป กรณส ว นประกอบต า ง ๆ มี ค วาม แข็งแรง ทนทานสามารถหยิบมาใชไดทันทีที่ตองการ แทนจัดแสดง : เปนแทนจัดแสดงที่สามารถมองเห็นวัตถุแสดงไดเพียงดานเดียวจนถึง ชมไดทั้งสี่ดาน การเลือกแทนจัดแสดงตองคํานึงถึงสิ่งจัดแสดงวามีลักษณะอยางไร ติดตั้งหรือ จัดแสดงลักษณะใดจึงเหมาะสม โดยพิจารณาขนาด ปริมาณของวัตถุจัดแสดงและขนาดของ สถานที่ ถากรณีที่จัดนิทรรศการหลายครั้ง ควรคํานึงถึงแทนจัดแสดงที่สามารถดัดแปลงนําไปใช ไดอีก ลักษณะการจัดแทนจัดแสดง ที่นยิ ม 3 แบบ มีดังนี้ 1. จัดแสดงแบบหันออก (Facing out) เปนลักษณะการจัดแสดงที่ดึงดูดผูชมทั่วไปแตให ความสะดวกกับผูชมที่สนใจไมดีเทาที่ควร การจัดแสดงแบบนี้เหมาะกับหองนิทรรศการขนาดเล็ก 2. จัดแสดงแบบหันออกหาผูชม (Facing outward) เปนการจัดแสดงที่ใหความสะดวก แกผูชมที่สนใจไดดีโดยเฉพาะผูชมที่เปนผูใหญ เพราะสามารถนําเสนอเรื่องพรอมทั้งสามารถจัด เจาหนาที่ใหคําแนะนําอยางใกลชิด 3. แบบผูชมเดินเขาหา (Facing inside) ใหความสะดวกแกผูชมที่เปนเปาหมายเฉพาะ รายโดยการชักชวนใหผูชมกลาเดินเขามาถามและมีการปองกันสิ่งรบกวน เพื่อใหผูชมมีสมาธิ กับการศึกษาวัตถุนั้น


21 ระบบการติดตั้งแทนจัดแสดง มี 5 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบการติดตั้งบนพื้นหรือติดกับพื้น นิทรรศการสวนใหญใชระบบการติดตั้งบนพื้น เพราะสามารถปรับใชไดหลากหลาย สวนสําคัญคือ ตัวเชื่อมตอสวนตาง ๆ ของแทนจัดแสดง วิธีการยึดแทนจัดแสดงใหมั่นคงมีหลายแบบ 2. ระบบติดผนัง การติดตั้งแทนจัดแสดงในระบบติดผนัง 3. ระบบติดตั้งหอยจากเพดานหองแสดง ระบบหองจากเพดานอาศัยชองในเพดานและ สายสลิ ง เป น ตั ว ยึ ด มี ที่ ยึ ด เคลื่ อ นที่ ไ ด อ ยู ใ นช อ งบนเพดาน ทิ้ ง ระยะห า งจากเพดานลงมาถึ ง แผงแสดงงาน 1 เมตร 4. ระบบขึงระหวางพื้นกับเพดาน ระบบนี้อาศัยแรงกดและแรงดึง ใชลวดขึงเปยโนขึง ใหตึงโดยยึดกับไมที่ยึดติดกับพื้นและเพดาน ลวดติดกับทอนไมดวยขอเกี่ยวและ eyes screw ใช clip ติดกระดาษใสชองที่เจาะไวบนงานและสวมหวง ดานหนาเปนเพียงปุม หรือ clip เทานั้น 5. ระบบขึงระหวางพื้น เพดาน และผนังโดยอาศัยแรงยกและแรงดึง ยึดแนนดวยการ สานกันของสายหรือการใชตัวยึดสามมิติ การติดตั้งงานศิลปะ 1. งานประติมากรรม สวนใหญมั กใชระบบการติดตั้งบนพื้น (วางบนแทนแสดงงาน) เพราะสามารถปรับใชกับที่ตางกันไดหลากหลาย 2. งานภาพเขี ย น การจั ด แสดงต อ งคํ า นึ ง ถึ ง การตกแต ง ผนั ง พื้ น และเพดาน ไปพร อ ม ๆ กั น อี ก ทั้ ง ยั ง ต อ งสั ม พั น ธ กั น และได ใ ช ป ระโยชน อ ย า งสมบู ร ณ ทั้ ง ในด า นที่ เ ป น ฉากค้ํายั น และเนื้ อที่ วางสํ า หรับจั ดแสดง โดยระบบที่ใชนี้จะเปน แบบยึดดา นหลังของตัว งาน เขากับผนัง เทคนิคการจัดทางสัญจร และการจัดแสดง (Circulation & Exhibition): การสัญจรภายในเปน สิ่งที่ตองใหความสําคัญมากในการออกแบบ เพราะหากไมวางแผนการสัญจรใหดี ผูชมจะหมด ความสนใจกอนจะดูนิทรรศการหมด โดยการสัญจรภายในการจัดแสดงงานจะแบงเปน 3 กลุม ตามการใชงาน ก) การสัญจรเพื่อชมนิทรรศการ จัดใหมีทางเขาชัดเจน มองเห็นไดงาย ทางเดินไม สวนกัน เพราะจะทําใหเกิดความวุนวายและแออัด การทําทางเดินไปในทางเดียวอาจทําใหผูชม เกิดความเบื่อหนาย ดังนั้นจึงมีการแบงเปนสวนยอย ๆ ตามเนื้อหาที่ใกลเคียงกัน เพื่อใหสามารถ เลือกชมเฉพาะสวนได


22 ข) การสัญจรของสวนบริการ เปนการติดตอสําหรับขนสงวัสดุสิ่งของไปยังหองที่สํารอง ไวกอนการแสดง การติดตอเพื่อขอรับบริการของหนวยงานตาง ๆ และบุคคลภายนอก มีการเตรียม ไวดานขางหรือดานหลังของอาคารเพื่อไมใหเกิดการปะปนกับผูชม และสามารถนําไปสูหองแสดง หองประกอบ หรือหองเก็บสิ่งแสดงไดโดยงาย อีกทั้งยังมีลิฟตสําหรับขนงานอีกดวย ค) การสัญจรของเจาหนาที่ มีลักษณะเปนการภายใน จึงออกแบบใหงายตอการสื่อสาร ระหวางเจาหนาที่หลังฉากดวยกันเอง หรือหลังฉากกับหนาฉาก โดยคํานึงเรื่องทางสัญจรเฉพาะ ของเจาหนาที่เปนสําคัญ การจัดทางสัญจร (Circulation): ภายในหองแสดงเมื่อพิจารณาตามลักษณะแกนสัญจร หลักสามารถแบงไดเปน 2 ระบบ คือ 1. Centralized System of Access : ขอไดเปรียบคือความสะดวกตอการควบคุมและ การดูแล กลาวคือ ผูชมถูกชักนําไปตามเสนทาง ขอเสียเปรียบคือถาสิ่งของตาง ๆ ที่จัดแสดงกอน ไมเกิดความประทับใจแกผูชมจะมีผลตอสิ่งแสดงที่ตองการชมโดยเฉพาะ การวางผั ง จั ด ตามเส น ทางเลื่ อ นไหลของผู ช ม เดิ น ตามเส น ทางตามแผนที่ ต ายตั ว จากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย อาจหยุดดูเปนชวง ๆ ระบบ Centralized System of Access แบงออกเปนแบบยอย ๆ ดังนี้

ภาพ 4 การจัดหองแบบเขาออกทางเดียว (http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Nattaphon_Boonutid/Chapter4.pdf)


23 1.1. Rectilinear Circuit คือ การเคลื่อนที่ชมเปนแนวตรง 1.2. Twisting Circuit คือ เสนทางเดินที่เปนวงจร แบบรอบโถงกลางจากบันได กลางเชื่อมตอระหวางขั้นโดยเฉพาะที่จําเปน ใชแสงธรรมชาติหรือมีพื้นที่หลายชั้น 1.3. Weaving Freely Lay out คือ ผังรูปสานไปมาอยางอิสระ ปกติมักใชทาง ลาดเขาชวยและใชองคประกอบที่นาสนใจเปนตัวชักนํา ผังแบบนี้ผูชมอาจหลงทางถาลักษณะ รูปเลขาคณิตเปนแบบตอเนื่องกันหมด 1.4. Comb Type Lay out เปนการจัดวางผังที่มีทางเดินกลางเปนหลัก มีสวน ใหเลือกชมในเวลาเดียวกัน ทางเขาอาจเปนดานทายดานใดดานหนึ่งหรือมีทางเขาอยูตรงกลาง ผูชมสามารถไปทางซายหรือขวาไดทันทีเปนการเพิ่มขอบเขตแกผูชม 1.5. Chain Lay out เปนการวางผังแบบตอเนื่อง จัดโดยนําหนวยที่แตกตางกัน มาเชื่อมตอกัน 1.6. Fan Shape ทางเขาจากกลางผังรูปพัด การจัดแบบนีท้ ําใหมีโอกาสมากตอ การเลือกชมแตผูชมตองตัดสินใจในการชมเร็ว ดานจิตวิทยา ผูชมไมชอบเพราะรูสึกวาเปนการ บังคับเกินไปและที่จุดรวมจะเปนจุดทีว่ ุนวาย 1.7. Star Shape ทางเขาจากศูนยกลางของผังรูปดาวมีลกั ษณะคลายหวี ผูชม ไมสามารถเคลื่อนไหว ไดสะดวก สามารถแยกออกตางหาก ความสมดุลของการจัดแกนทําใหเกิด ปญหาได 1.8. Block Arrangement มีลักษณะการเขาถึง 2 ลักษณะ คือ ก. เลือกความสะดวกในการจัดแสดงจุดทางเขาอยูตรงกลาง ข. ทางเขาจําเปนตองอยูริมเพื่อสามารถใชพื้นที่จัดแสดงอยางเต็มที่ กลาวโดยสรุป Centralized System of Access เปนระบบที่มที างเขา - ออกทางเดียว จากจุดเริ่มตนวกกลับมาที่จดุ เดิมอีกครั้ง ขอดี - ควบคุมและรักษาความปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพ - ใชบุคลากรจํานวนนอย และกําหนดทิศทางการเคลื่อนไหวของ ผูชมไดทั่วถึง ขอเสีย - ผูเขาชมอาจรูสึกวาไมมีอิสระการเดินชม ตองชมตามลําดับ ที่จัด


24 2. Decentralized System of Access: มีทางออกและทางเขาสองทางหรือมากกวา ผูชมอาจไมไดไปตามเสนทางที่กําหนด สามารถเดินไปมาอยางอิสระ ลักษณะเปนและทางเดิน ในใจกลางเมือง (พิพิธภัณฑอาจเปนสวนหนึ่งของตัวเมือง) วิธีนี้ผูชมอาจชมไมครบตอการชม ครั้งหนึ่ง ๆ อาจเขาชมครั้งตอไป ปจจุบันประโยชนดานสังคมจิตวิทยาที่พึงได มิอาจทําใหเกิดผล ทางปฏิบั ติ จากการจั ดองค ประกอบอยางสับสน (จิตวิ ท ยาเกี่ยวกับการเขาชม) ข อเสนอแนะ เกี่ยวกับจุดประสงคทางปฏิบัติ ทฤษฎีและการแขงขันยังมีอยู ในทางปฏิบัติมีลักษณะเปนแบบ “ถนนนิทรรศการ” กลาวโดยสรุป Decentralized System of Access หรือระบบที่มที างเขา - ออกมากกวา 2 ทาง มีอิสระตอการเดินชมโดยที่อาจมีการแยกทางเขาออกเปนทางเฉพาะ ขอดี - มีความนาสนใจตอการจัดแสดง - สามารถแบงกั้นหองทําใหเกิดพื้นที่จัดแสดงมากขึน้ - เกิดการกระตุนใหเดินดูการแสดงอยาง รวดเร็วมากขึ้น ขอเสีย - ผูเขาชมอาจไมรูตําแหนง ควรมี Landmark - เกิดมุมบังไมสามารถมองเห็นหองตางๆ ทําใหดูแลไมทวั่ ถึง

ภาพ 5 การจัดหองแบบทางเขาออกหลายทาง เทคนิคการจัดผังหองจัดแสดง (Exhibition planning) ในพิพิธภัณฑสถานเปนสิ่งที่ตอง พิจารณา เนื่องจากเปนขั้นตอนที่นําเสนอหรือถายทอดเรื่องราวสูผูชม เทคนิคการจัดแสดงหลัก ๆ ที่สําคัญคือ ก) ผังหองจัดแสดงและทางสัญจร : ผังหองจัดแสดงมีความสัมพันธกับทางสัญจรของผูชม เปนปจจัยสําคัญตอการนําผูชมไปสูสวนตาง ๆ ที่จัดแสดง เปนการลําดับเรื่องราวตั้งแตเริ่มตนไป จนจบ ผังของหองจัดแสดงแบงไดหลายลักษณะขึ้นอยูกับขนาด โครงสรางของอาคารที่จัดแสดง Mathews (1991) (อางถึงใน อาทิตยา จันทะวงษ, 2540) แบงหองจัดแสดงของหอศิลปะเปน 6 ลักษณะ ดังนี้


25 1. ผังแบบ Open Plan ไดแก ผังที่มีลักษณะเปนหองกวาง ทิศทางการเดินชม แบบอิสระ (Free Circulation) มีทางเขา - ออกเปนทางเดียวกัน เหมาะสําหรับการจัดแสดง ลักษณะทั่วไป

ภาพ 6 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Open Plan 2. ผังแบบ Core and Satellites / Enfilade ไดแก ผังที่มีหองหลักอยูตรงกลาง และมี ห อ งยอย ๆ หลายห อ งรายลอ มและเชื่อ มตอกับ หอ งหลั ก ทิศทางการเดิ น ชมแบบอิส ระ (Free Circulation) เดินชมจากหองหลักแลวแยกไปหองยอยแตละหอง (Circulation Control Core Specific Satellites) มีทางเขา - ออกเปนทางเดียวกันเหมาะสําหรับการจัดแสดงนิทรรศการ หลักในหองกลางและการจัดนิทรรศการหมุนเวียนหรือนิทรรศการพิเศษในหองยอย

ภาพ 7 หองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Core and Satellites / Enfilade


26 3. ผังแบบ Linear Procession ไดแก ผังที่มีหองหลายหองเรียงรายและเชื่อมตอ กันมีทิศทางการเดินชมแบบกําหนดได (Controlled Circulation) คือ การเดินชมจากหองแรก ไปหองสุดทาย มีทางเขา-ออกคนละทางเหมาะสําหรับจัดแสดงผลงานตามลําดับหรือตามหัวขอ เชน ยุคสมัยของศิลปะประเภทตางๆ เปนตน

ภาพ 8 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Linear Procession 4. ผังแบบ Loop ไดแก ผังที่มีหองเรียงรายตอกันเปนกลุมมีทิศทางการเดินชม จากหองหนึ่งไปอีกหองหนึ่งจนครบ (Circulation Returns to Entrance) มีทางเขา - ออกทาง เดียวกันเหมาะสําหรับการจัดกิจกรรมแบบรวมศูนยและแบบกระจายไปหองตาง ๆ

ภาพ 9 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Loop


27 5. ผังแบบ Complex ไดแก ผังที่มีหองหลายหองเรียงรายและเชื่อมตอกันหลาย ลักษณะมีทิศทางการเดินชมขึ้นอยูกับความตอเนื่องของหองตาง ๆ มีทางเขา - ออกทางเดียวกัน เหมาะสําหรับจัดแสดงที่ซับซอนหรือมีการจัดแสดงหลายหัวขอ

ภาพ 10 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Complex 6. ผังแบบ Labyrinth ไดแก ผังที่มีหองเรียงรายตอกันเปนกลุม มีหองอยูตรงกลาง ทิศทางการเดินชมแบบอิสระ (Free Circulation) มีทางเขา-ออกทางเดียวกันเหมาะสําหรับการ จัดแสดงที่เนนความสัมพันธของเรื่องราวกับผลงานทั้งหมด

ภาพ 11 ผังหองจัดแสดงนิทรรศการแบบ Labyrinth


28 ข) ระยะและพื้นที่จัดแสดง : พื้นที่จัดแสดงสามารถจําแนกเปนพื้นที่ใหญ ๆ ไดแก พื้นที่โลง สําหรับทางสัญจรและพื้นที่สําหรับจัดแสดงงาน ค) ขนาดของพื้นที่จัดแสดง : เปนปจจัยสําคัญสําหรับจัดแสดงในแตละพื้นที่มีความ สัมพันธตอการกําหนดขนาดและจํานวนของงานที่จัดแสดง การจัดที่ดีควรคํานึงถึงความเหมาะสม ระหวางพื้นที่จัดแสดง งานศิลปะที่จัดแสดง ระยะพื้นที่สําหรับการดูและการเดินชม ง) เทคนิคการจัดผังแสดงตามหลักจิตวิทยา เพื่อเพิ่มความนาสนใจใหหองจัดแสดง การพิจารณาจัดแนวสัญจรภายใน ตามหลักจิตวิทยาของมนุษย ดังนี้ 1. แบงเนื้อที่ภายในเปนหองเล็ก ๆ โดยกําหนดทางเขา – ออกสูหองแสดง อื่น ๆ ใหผูชมติดตาม 2. แบงพื้นที่จัดแสดงที่กวาง ๆ ใหเปนมุม กั้นดวยแผงกั้นสวน ทําหนาที่เปน การแนะแนวทางการเดินแบบที่ผูชมรูสึกมีอิสระในการชม 3. ชี้แนวทางเดินโดยการจัดเนื้อที่วางใหผูชมรูสึกเองและติดตามดวยความ เพลิดเพลิน 4. ชั ก นํ า ผู ช มดว ยสิ่ ง ที่นา สนใจเปน ระยะ ๆ ตามกํา หนดจนถึ ง ส ว นสํา คั ญ (climax) จ) ขอบเขตการมองเห็น มนุษยมีขอบเขตการมองที่จํากัดแบบไมตองหันศีรษะ ประมาณ 40 องศา แตความจริงแลวมนุษยสามารถมองเห็นไดกวางถึงประมาณ 120 องศา โดยมุมมอง ทางตั้ ง จะมากกว า มุ ม มองทางนอน ฉะนั้น การพิ จ ารณารูป แบบการจัด วางวั ต ถุ ให สอดคล อ ง สัมพันธกับขอบเขตการมองหรือลักษณะการหันศีรษะของมนุษยจึงมีผลการจัดนิทรรศการดวย เชนกัน

ภาพ 12 การเปรียบเทียบระหวางการหันศีรษะและการกลอกตา


29 ซึ่งจะเห็นไดวาการหันศีรษะงายกวาการกรอกตาพิจารณาดูภาพ ๆ หนึ่งหรือภาพที่จัดเปน กลุม อิริยาบถในการเคลื่อนที่ ที่งายที่สุด คือ การหมุนศีรษะหรือหมุนตัวเพื่อดูภาพอื่น ๆ ตอไป (ผังอันนี้แสดงโดย herdert bayer ในป 1937 แสดงใหเห็นวามนุษยมองดูภาพไดทุกทิศทาง ทั้งดานลางและบน)

ภาพ 13 การมองเห็นของคนสายตาปกติ การแสดงขอบเขตของการมองเห็นของคนสายตาปกติ ประมาณ 120 องศา แตมุมมองที่ผูดู สามารถมองเห็นไดโดยไมตองหันศีรษะ ประมาณ 40 องศา

ภาพ 14 ภาพกําหนดมุมมองทางดานตั้ง


30 การกําหนดมุมมองทางดานตั้งของมนุษยไว 27 องศา เหนือระดับสายตา และ 27 องศา ใตระดับสายตา เพราะเปนมุมมองที่สะดวกสบายที่สุดโดยไมตองกมหรือเงยศีรษะ ที่มา : Architect Data

ภาพ 15 ขอบเขตการมองเห็นวัตถุในระดับสายตาคนปกติที่ไมตองกมศีรษะ

ภาพ 16 ระดับสายตามนุษยตามขนาดของอายุในแนวตั้ง


31

ภาพ 17 ระบบการมองวัตถุในแนวนอนและแนวตั้ง ฉ) รูปแบบของการจัดแสดงนิทรรศการ นิทรรศการที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานโดยทั่วไป แบงเปน 3 รูปแบบ ตามลักษณะของสื่อจัดแสดง ไดแก การจัดแสดงที่เปน 2 มิติ, 3 มิติ และการ จัดแสดงที่มีบรรยากาศหอหุม


32 รูปแบบและลักษณะของการจัดแสดงนิทรรศการ รูปแบบของการจัดแสดงนิทรรศการ 1) การจัดแสดงที่เปน 2 มิติ

ลักษณะการจัดแสดง -ใช บ อร ด แสดงข อ มู ล เพี ย งอย า งเดี ย วหรื อ ประกอบวั ต ถุ ผู ช มรั บ รู เ รื่ อ งราวด ว ยการอ า น คํ า บรรยายหรื อ ดู ภ าพประกอบ ไม ส ามารถ เดินผานเขาไปในการจัดแสดง เชน การจัดแสดง ที่เนนวัตถุภายในตูจัดแสดง ภาพเขียน เปนตน

2) การจัดแสดงที่เปน 3 มิติ

- ใ ช บ อ ร ด แ ส ด ง ข อ มู ล ห รื อ วั ต ถุ จั ด แ ส ด ง ประกอบขึ้ น ผู ช มรั บ รู เ รื่ อ งราวด ว ยการอ า น คําบรรยายหรือดูภาพประกอบ สามารถเดินผาน เข า ไปในการจั ด แสดง เช น การจั ด แสดง ประติมากรรมลอยตัว

3) การจัดแสดงที่มีบรรยากาศหอหุม

- เป น การจัด แสดงที่ ผู ช มสามารถรับ รู เ รื่อ งราว ด ว ยการเดิ น ผ า นเข า ไปในพื้ น ที่ จัด แสดงที่ สร า ง บรรยากาศและสภาพแวดลอมหอหุม ไดแกการ จําลองสภาพเหมือนจริง เปนตน

ตาราง 3 สรุปรูปแบบของการจัดแสดงนิทรรศการ และลักษณะการจัดแสดง


33 ขั้นตอนและขอพิจารณาออกแบบนิทรรศการ ขั้นตอน 1) รูจักวาผูชมเปนใคร

ขอพิจารณา ต อ งไม ป ระเมิ น ว า ผู ช มมี ค วามรู ต่ํ า หรื อ สู ง กว า ความเปนจริง 2) เขาใจในมุมมองและความรูสึกของผูชม พยายามมองการจัด แสดงจากอี ก ดา นหนึ่ง เป น มุมมองของผูชมวามีความตองการอะไร โดยไม พยายามคิดแทนหรือเขาขางตนวาผูชมเห็นและ เขาใจในสิ่งเดียวกันกับตนทั้งหมด 3) ลํา ดับตอเนื่องในการออกแบบเสน ทาง เนื้ อ หาควรมี ค วามต อ เนื่ อ งและสั ม พั น ธ กั น เดิ น ของผู ช มและความต อ เนื่ อ งของการ ไม ก ระโดดข า มทํ า ให เ กิ ด ความสั บ สน กํ า หนด เสน ทางเดินและการแบง พื้น ที่การจัดแสดงตอง ถายทอดเนื้อหา มีความชัดเจน มีปายบอกทางเปนระยะ 4) นําผูชมจากพื้นที่จุดหนึ่งไปสูจุดหนึ่งดวย เปนการชักจูงถาผูชมเดินจากจุด ก. ไปจุด ข. มีสิ่ง การสรางจุดดึงดูดความสนใจ นาสนใจที่คุมคาตอการเดินรออยู 5) สื่อสารโดยไมตองใชคําพูด สรางบรรยากาศหรือสภาพแวดลอมแบบสามมิติ ในการสื่อความหมาย อาจเปนสี รูปราง รูปทรง รู ป รส กลิ่ น เสี ย ง สั ม ผั ส ต า งๆ โดยไม พึ่ ง คําบรรยาย 6) ไมยัดเยียดขอมูลจนมากเกินไป ไมพยายามใชคําบรรยายที่เปนตัวหนังสือจํานวน มากที่ ต อ งใช เ วลาอ า นหรื อ บอกเล า เนื้ อ หาที่ มากเกินกวาที่ผูชมรับไดภายในครั้งเดียว ควรใช คําบรรยายตามความเหมาะสมโดยจัดเตรียมสื่อ ชนิดอื่นสําหรับผูชมบางคนที่มีความสนใจศึกษา เนื้อหาลึกซึ้ง ตาราง 4 สรุปขั้นตอนการจัดแสดงนิทรรศการ และขอพิจารณา


34 สัปดาหที่ 4 การออกแบบตกแตงภายในพิพิธภัณฑ (Museum Interior Design Process) การออกแบบพิพิธภัณฑประเภทตาง ๆ มีความตางกันมาก เนื่องจากการแบงตามลักษณะ การบริ ห ารหรื อ เป น เจ า ของ และแบ ง ตามลั ก ษณะของสิ่ ง ที่ ร วบรวมไว ห รื อ ตามแขนงวิ ช า วัตถุประสงคของพิพิธภัณฑ ทําเลที่ตั้ง ตลอดจนกลุมเปหมายที่เขาชมที่ตางกัน ซึ่งปจจัยเหลานี้ มีความสําคัญอยางยิ่งในการออกแบบพิพิธภัณฑ จึงตองมีการวิเคราะหรายละเอียดความเปน ไปไดของพิพิธภัณฑกอน เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรค ตลอดจนจุดแข็งของพิพิธภัณฑ แลวนํา ขอมูลที่ได มาใชในการออกแบบ ซึ่งจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. การวิเคราะหโครงการ (Project Analysis) - ความเปนมา ความสําคัญ และ วัตถุประสงค (History and Objective) - การบริหารจัดการองคกร (Organization) - วั ต ถุ จั ด แสดง (Object) การจั ด แสดง (Exhibition) และส ว นสํ า คั ญ (climax) ของโครงการ 2. การวิเคราะห ที่ตั้ง และสภาพแวดลอมโครงการ (Site Analysis) - ที่ตั้งโครงการ (Site Orientation) - สภาพแวดลอมโครงการ (Physical Environmental) - การเขาถึงโครงการ และ ลักษณะภูมิประเทศ (Approaching and Geography) - ลักษณะทางสถาปตยกรรม และโครงสราง (Architecture and Construction) - การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน (Interior Environmental) 3. การวิเคราะหการจัดพื้นที่ในโครงการ (Space Analysis) - จัดวางผังหองจัดแสดง (Space Planning) - พื้นที่ภายใน และทางสัญจร(Circulation) - การจัดวางวัตถุจัดแสดง (Exhibition) และจุดเดนของโครงการ (Highlight) - พื้นที่ใชสอยและบริการอื่น ๆ (Function & Service) - จัดระบบตาง ๆ ในพิพิธภัณฑ (Interior Environmental System) 4. การวิเคราะหศึกษา พฤติกรรมผูใชโครงการ (User’s Behavior Analysis) - ผูมารับบริการ (Visitor, Guest) - ผูใหบริการ (Staff, officer) 5. การจัดกิจกรรมและเทศกาล (Event & Activity)


35 ผลงานการออกแบบตกแตงภายในพิพิธภัณฑ เพื่อใหเปนแนวทางการศึกษา เผยแพร ขอมูลขาว สาร เหตุการณตาง ๆ และประชาสัมพันธกิจกรรมของพิพิธภัณฑ ใหกลุมเปาหมาย ไดรับรูและกระตุนเรงเรา หรือเปลี่ยนทัศนคติที่มีตอพิพิธภัณฑไปในทางที่พึงประสงค เพื่อสราง ความบันเทิงและความพึงพอใจแกประชาชนกลุมเปาหมาย โดยเปนตามหลักการของการจัดตั้ง พิพิธภัณฑ ดังนี้ 1.เปนที่รวบรวมเก็บรักษามรดกดานวัฒนธรรมทุกประเภทของชาติไวมิใหเสื่อมสูญ 2. เปนแหลงขอมูลขาวสารทุกสาขาของศิลปวิทยา 3. เปนแหลงการศึกษานอกระบบ เพื่อสนองความตองการของสถานศึกษา นักเรียน นักศึกษาเขามาใชสื่อเหลานี้ไดอยางเสมอภาคกัน ทั้งยังสามารถจัด กิจกรรมพัฒนาเยาวชนใน รูปแบบตาง ๆ 4. เปนที่พักผอนหยอนใจ โดยจัดสื่อการเรียนรูใหนาสนใจ เกิดความเพลิดเพลินในการ เรี ย นรู ตลอดจนจั ด สวนและสภาพแวดล อ มให ส วยงามร ม รื่ น และให บ ริ ก ารเพื่ อ การพั ก ผ อ น เชนเดียวกับสวนสาธารณะทั่วไป 5. เปนแหลงสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศ 6. มุงสงเสริมใหเปนสถาบันการศึกษาเปดอยางแทจริงที่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัยสามารถ แสวงความรูดวยตนเองไดตลอดเวลาอยางเทาเทียมกัน ขั้ น ตอนในการออกแบบตกแต ง ภายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ต า ง ๆ ให มี ป ระโยชน ใ ช ส อยตาม วัตถุ ป ระสงค และเป น สรา งอัตลัก ษณข ององคกรและความงามใหเ กิดขึ้น โดยนั กออกแบบมี การดําเนินการออกแบบดังตอไปนี้ 1. การจัดวางพื้นที่โครงการ (Space Planning) - การจัดวางผังบริเวณ (Zoning) - การวางผังสวนหนา (Front of The House) - การวางผังสวนหลัง (Back of The House) 2. การจัดวางผังตกแตงภายใน (Interior Planning) - การวางผังเครื่องเรือน (Lay out Furniture Plan) - การวางผังพื้น (Floor Plan) - การวางผังเพดาน ไฟฟาและงานระบบ (Electrical and Reflected Ceiling Plan) 3. การเขียนแบบรูปดาน รูปตัด และแบบขยาย (Elevation Section and Detail) 4. การกําหนดวัสดุ และอุปกรณ (Material and Equipment Specification) 5. การเขียนทัศนียภาพ (Perspective View)


36 สรุปขั้นตอนการออกแบบตกแตงภายในโครงการพิพิธภัณฑ (Museum Interior Design Process)

ภาพ 18 ความสัมพันธ ระหวางโครงการ ที่ตั้ง และกลุมผูใชงาน การวิ เ คราะห โ ครงการพิ พิธ ภัณ ฑ โดยแบง เป น 3 ส ว นใหญ ๆ ก อนที่จ ะกํ า หนด Programming คือ 1. โครงการ (Project) หรือองคกร (Organization) มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา /กําหนดใหชัดเจน การเลื อ กหัว ข อ โครงการ หั ว ขอที่เ ลือ กทํา ควร เลื อ กหั ว ข อ ที่ ต นเองชอบ สนใจ หรื อ คุ น เคย คอนขางดีมากกวาเรื่องอื่น ๆ ดูวามีประเด็นที่นาสนใจดานใด มีประโยชนใน วงกวางกับสังคมหรือไม กําหนดประเภทของพิพิธภัณฑ และอยูในสังกัด หนวยงานใดรัฐหรือเอกชนเปนผูดูแล

ประโยชนที่ได

จะทํ า ให การศึก ษาต อไมย ากลํา บากนัก และ เข า ถึง แหลง ขอมู ล ในการศึก ษาเชิ ง ลึก ไดง า ย กวาเนื่องจากมีความสนใจเดิมอยูแลว โครงการจะมี น้ํ า หนั ก เพี ย งพอที่ จ ะทํ า และ คิดตอยอดไดมากกวา เป น ตั ว กํ า หนดถึ ง กิ จ กรรมที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ใน พิพิธภัณฑนี้ วาจะเปนไปในทิศทางใด ตองให ภาพลั ก ษณ ที่ ดี แ ก owner หรื อ หน ว ยงาน ที่จัดการนั้นดวยหรือไม หรือ เนนการทําเพื่อ การกุ ศ ลโดยไม เ น น กํ า ไร หรื อ เป น แบบ เชิงพาณิชยที่ตองการผลกําไร ตาราง 5 แสดงรายละเอียดของโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ


37 ประโยชนที่ได รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา /กําหนดใหชัดเจน กําหนดรายละเอียดองคกร (Organization) เปนขอมูลที่จะใชในการออกแบบสวน back of อยางละเอียด ทั้งโครงสรางองคกร ระบุตําแหนง the house ทั้งหมด ตั้งแตการกําหนดพื้นที่ที่ แผนก จนไปถึงจํานวนคนใหชัดเจน เหมาะสมกับตําแหนงตาง ๆ การวาง planning ที่บงบอกลักษณะการทํางาน และพื้นที่ที่พอดี จํานวนคนทํางาน การกําหนดนิยามของโครงการ เป น การบอกความเป น โครงการอย า งย อ กระชับ ทําใหเขาใจไดงายที่สุดวา เปนโครงการ ที่ตองการสื่อออกมาแบบใด เชน โครงการที่ เนนการใหขอมูล และความเพลิดเพลินในการ เรียนรูเรื่องของชุมชน การกํ า หนดบทบาท หนา ที่ และวั ตถุ ป ระสงค เป น การกํ า หนดให เ ห็ น ความชั ด เจนของ ของโครงการ โครงการ และสามารถบงบอกถึงกิจกรรมที่จะ เกิดขึ้นตอไปได ตาราง 5 แสดงรายละเอียดของโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ (ตอ)

ภาพ 19 ตัวอยางแสดงผังองคกร


38 2. ที่ตั้งของโครงการ (Site) มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา /กําหนดใหชัดเจน ที่ตั้งโครงการ มีความเหมาะสม เกี่ยวของกับ ตัวเรื่องที่เลือกทํา ทั้งเรื่องของฟงคชั่นภายใน อาคารเดิม และบริบทที่ตองเกี่ยวของโดยตรง เทาที่เปนไปได สําหรับเรื่องที่เลือกทํา

ประโยชนที่ได

ทํ า ให เ กิ ด เหตุ ผ ลเพี ย งพอในการเลื อ กใช พื้ น ที่ ดั ง กลา ว และสามารถใชประโยชนข องพื้ น ที่ ใ น การเชื่อมโยงกิจกรรม ฟงคชั่นที่จะเกิดขึ้นนี้เขากับ ตัวบริบทโดยรอบได ทําใหไดบรรยากาศที่ user สัมผัสไดจริงเชน การทําพิพิธภัณฑที่เนนเรื่องการ ทําเครื่องปนดินเผา ก็ควรเลือกพื้นที่ที่มีบริบทเดิม รองรับตอกิจกรรมในการทําจริงได ซึ่งอาจตองมี โรงงาน เตาเผา อุปกรณตาง ๆ พรอมอยูกอนแลว หรือการทําพิพิธภัณฑเกี่ยวกับธรรมชาติ พืช สัตว ตาง ๆ ก็ควรเลือก site ที่เปนธรรมชาติหรือเปน สวน/ไร หรืออื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวของโดยตรงกับ เรื่องที่ทํา เปนตน ขนาดของอาคาร ให มี ค วามเหมาะสมกั บ การเลือกอาคารที่เล็กเกินไปจะไมสามารถรองรับ โครงการ กิจกรรมตามวัตถุประสงคของโครงการไดทั้งหมด หรื อ การเลื อ กอาคารที่ ใ หญ เ กิ น ไป ก็ จํ า เป น จะตองกําหนดฟงคชั่นการใชง านใหครบทุก ชั้น ขอบเขตงานก็จะกวางเกินไปได รู ป แบบสถาป ต ยกรรมเดิ ม เป น อาคารแบบ เพื่อดูความเกี่ยวของกับโครงการ เชน ยุค สไตล อนุ รั ก ษ ห รื อ ไม หรื อ อยู ภ ายใต ก ารดู แ ลของ ของสถาป ต ยกรรมตรงกั บ ยุ ค ของหั ว ขอ ที่ เ ลื อ ก หนวยงานหรือองคกรใด และเพื่อดูขอกฎหมายวาสามารถเปลี่ยนแปลง อาคารไดมากนอยเพียงใด การเขาถึงของโครงการ ดู ค วามสะดวกในการเข า ถึ ง ของกลุ ม user โดยเฉพาะหลัก ข อ มู ล ด า นกายภาพ ภู มิ ศ าสตร ทิ ศ ทางลม ใหเห็นถึงขอดี ขอเสีย ที่จะนํามาใชในการวางโซน แดด และบริบทขางเคียงวามีผลตออาคารแต ใหเกิดประโยชนสูงสุด และจะมีวิธีแกปญหาพื้นที่ ละสวนอยางไร เดิมอยางไร ตาราง 6 แสดงรายละเอียดที่ตั้งโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ


39 ประโยชนที่ได รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา / กําหนดใหชดั เจน ขอมูลดานศิลปะ วัฒนธรรมของชุมชนละแวก ทําใหสามารถพิจารณาไดวาจะทําโครงการใหมี นั้น วาเปนอยางไร ความกลมกลืน หรือชวยสงเสริมความเปนชุมชน นั้นไดอยางไร ตาราง 6 แสดงรายละเอียดที่ตั้งโครงการ และการนําไปใชในการออกแบบ (ตอ) 3. กลุมผูใชงาน (User) มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ รายละเอียดทีค่ วรนํามาพิจารณา ประโยชนที่ได /กําหนดใหชัดเจน การกําหนดกลุมผูใชงาน แบงเปน 2 กลุม คือ การให ค า น้ํ า หนั ก ออกแบบให ร องรั บ ผู ใ ช ง าน กลุม user หลัก และกลุม user รอง โดยคิดเปน โดยเนนไปที่ user หลักมากกวา ทําใหทํางาน เปอรเซ็นตใหชัดเจน ออกแบบที่ตอบโจทยไดมากกวา ขอมูลพฤติกรรมของ user ทั้งทางกายภาพ เชน อายุ เพศ ความสูง ดานพฤติกรรม เชน วัยรุน ชอบการไปเที่ ย วและกิ จ กรรมแบบหมู ค ณะ มีความสนใจสั้น ชอบความตื่นเตน แปลกใหม เป น ต น จนไปถึ ง ด า นจิ ต วิ ท ยาได แ ก ความ ตองการ ความชอบ รสนิยม การเขาถึงโครงการของ user

เปนตัวการออกแบบพื้นที่ใหรองรับ user ได อยางเฉพาะเจาะจง เชน กลุมวัยรุนมาเปนหมู คณะตองมาพื้นที่ใหนัดรวมตัวกัน หรือ ผูใหญ ตองมีพื้นที่ใหสูบบุหรี่แยกเปนสัดสวน เปนตน และจะเปนตัวกําหนด activity ที่จะเกิดขึ้นตาม ช ว งเวลาต า ง ๆ รวมถึ ง detail ที่ มี ค วาม เกี่ยวของได เ ป น ตั ว กํ า ห น ด ก า ร เ ลื อ ก site ที่ มี ค ว า ม เหมาะสมกับการเขาถึงโครงการของ user และ พื้นที่รองรับตาง ๆ เชน พื้นที่จอดรถทัวรสําหรับ รถทัศนศึกษาหรือกรุปทัวร เปนตน

ตาราง 7 แสดงรายละเอียดกลุมผูใชงาน และการนําไปใชในการออกแบบ


40 แผนภูมิ User ที่เขามาใชงานในโครงการ

ภาพ 20 แผนภูมิ User ที่เขามาใชงานในโครงการ จากการพิจารณา Site, User, Project รวมกันทั้งหมด แลวนํามาวิเคราะหขอมูลจะเปน ตัวกําหนด Programming ซึ่งนําไปสูการออกแบบพื้นที่ใชสอย (Functional) ตอไป

function

ภาพ 21 Site, User, Project เปนตัวกําหนด Programming


41 ความสัมพันธระหวาง programming ที่เปนกิจกรรมที่เกิดขึ้น และจะเปนตัวชวยกําหนด function ซึ่งเปนพื้นที่ที่รองรับกิจกรรมนั้น ฯ ตัวอยางเชน

ภาพ 22 ความสัมพันธระหวาง programming ที่กาํ หนด function โดยทั้งหมดนี้อาจใชการหา Case study ของโครงการ ที่มีความใกลเคียงกับโครงการ ของตนเองในการพิจารณาถึง function ตาง ๆ ที่ควรมีอยูประกอบดวยกันได


42 การกําหนดแนวความคิดในการออกแบบ (Theme and Conceptual Design)

ภาพ 23 Theme และ Conceptual Design ครอบคลุม Programming จากแผนภาพนี้จะเห็นวา สวนที่ครอบคลุม programming ทั้งหมด คือ Theme และ Conceptual Design โดย Theme คือ ภาพรวมของโครงการ หรือแกนของเรื่อง ที่สามารถใชคํา จํากัดความสั้น ๆ ในการเลาไดโดยภาพรวมนี้จะมีผลตอรูปแบบบรรยากาศของโครงการทั้งหมด และควรเปนคําที่เปนนามธรรมมากกวารูปธรรม เนื่องจากสามารถตีความตอไดกวางมากกวา การกําหนดให theme ที่เปนรูปธรรม เปนวัตถุสิ่งเดียว สวน Conceptual Design คือ แนวความคิดที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น เปนหนวยยอยของ theme ที่สามารถเอามาใชออกแบบในแตละสวน (function ตาง ๆ ) ได ซึ่งแตละ concept ควรมี ความสัมพันธกันหรือมีจุดรวมเดียวกัน ที่ link กันได จะทําใหงานออกมาดูมีเรื่องราว และนาสนใจ มากขึ้น เมื่อไดแนวความคิดทั้งหมดแลว ก็จะมีผลกับการทําโครงการตั้งแตการทํา planning ที่จะ สะทอนถึงแนวความคิดไดตั้งแตตน การทํา design การกําหนดรูปแบบการเขาถึงตัวโครงการ การทํา approachโครงการ วิธีการใชงาน space จนไปถึง detail ปลีกยอยตาง ๆ ที่นอกจาก จะตองอิงตามขอมูลที่ไดวิเคราะหมาทั้งหมดแลว ก็จําเปนจะตองมีกรอบของ theme และ concept design ที่จะทําใหตัวงานมีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวมากยิ่งขึ้นดวย โดยการกําหนด Theme และ Concept design ควรพิจารณาจากจุดเดน ความเฉพาะตัว ของตัวโครงการที่นาสนใจ มาสูการออกแบบตกแตงภายใน หรืออาจมาจากความตองการที่จะ แกปญหาที่มีอยูเดิมก็ไดเชนกัน


43 • สัปดาหที่ 5 ตรวจงานปฏิบัติการออกแบบ เปนรายบุคคล ตรวจแบบครั้ งที่ 1 ตรวจแบบแปลนพรอมรูปดานตามแนวความคิ ดในการออกแบบโครงการ พิพิธภัณฑ ชี้แนะใหนักศึกษาไดฝกใชความคิดสรางสรรคในการแกปญหางานออกแบบ โดยใหเริ่ม ออกแบบจากการศึกษา วิเคราะหขอมูลในเบื้องตน (รายบุคคล) กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน/ ปฏิ บั ติ ง าน: ปรั บ แก ไ ขแบบ ปรั บ แก รู ป ทั ศ นี ย ภาพ รูปทัศนียภาพลงสีเขียนมือ 1 รูป ขนาด A3 • สัปดาหที่ 6 ตรวจงานปฏิบัติการออกแบบ เปนรายบุคคล ตรวจแบบครั้งที่ 2 ตรวจแบบแปลนพรอมรูปดานตามแนวความคิดในการออกแบบโครงการ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ชี้ แ นะนํ า ให นั ก ศึ ก ษาได ฝ ก ใช ค วามคิ ด สร า งสรรค ใ นการแก ป ญ หางานออกแบบ ตรวจรูปทัศนียภาพ กิจกรรมการเรียนการสอน/ปฏิบัติงาน : ปรับแกไขแบบ ปรับแกรูปทัศนียภาพ รูป ทัศนียภาพลงสีเขียนมือ1 รูป ขนาด A3 • สัปดาหที่ 7 ตรวจงานปฏิบัติการออกแบบ รายบุคคล การนําเสนองานหนาชั้นเรียนเฉพาะแบบแปลนประกอบทัศนียภาพที่สมบูรณ ฝกการ นําเสนองาน (ทัศนียภาพเนนการนําเสนองานดวยทักษะการลงสีดวยมือใหสมบูรณ) กิจกรรมการเรียนการสอน/ ปฏิบัติงาน: แบบแปลน, แบบงานระบบ, รูปดาน, รูปตัด, แบบ ขยาย, เลือกรูปดานที่สําคัญ ลงสีไมจํากัดเทคนิค 1 ดาน สงรวมในรูปเลมขนาด A1 • สัปดาหที่ 8 สงงานเวลา 9.00 น. สงงานเขียนแบบที่สมบูรณพรอมรูปทัศนียภาพโครงการพิพิธภัณฑ ตามแบบมาตรฐาน วิชาชีพ ฯ ในรูปเลมขนาด A1 มาตราสวนตามความเหมาะสมไมจํากัดเทคนิคในการเขียนแบบ กิจกรรมการเรียนการสอน/ ปฏิบัติงาน : นําเสนอแบบโครงการพิพิธภัณฑ ที่ครบถวนสมบูรณเปน รายบุคคล


44 •

ตัวอยางงานนักศึกษา งานออกแบบตกแตงภายในพิพิธภัณฑแอนิเมชัน่ ไทย โดย นางสาวนันทนัช อมรพันธ (04520023)

ภาพ 24 พิพธิ ภัณฑศิลปะรวมสมัย Thai Cartoon Animation Museum พิพิธภัณฑประเภท : ศิลปะรวมสมัย นิยาม : เปนพิพิธภัณฑที่บอกเลาเรื่องราว ประวัติ ความเปนมาและความสําคัญของ การตูนแอนิเมชั่นไทย รวมทัง้ เปนศูนยรวม (community) ใหมสาํ หรับ ผูสนใจหรือชืน่ ชอบการตูนแอนิเมชัน่ ไทย บริหารจัดการโดย : เอกชน ที่มาและความสําคัญ : ในปจจุบันการตูนแอนิเมชั่นนับเปนสื่อความบันเทิงที่บงบอกถึงความคิดสรางสรรค และความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่หลาย ๆ ประเทศใหความสําคัญ เนื่องจากเปนสื่อที่ทุกคน เขาถึงงาย เปนที่นาจดจํา และสามารถถายทอดความเปนชาตินั้น ๆ ผานงานแอนิเมชั่นไดงาย และยั ง เปน อุ ต สาหกรรมเชิง สร างสรรค ที่เ ปน ที่ ส นใจในวงกว า ง แต ห ากมองในแง ข องการตู น แอนิ เมชั่ นที่ ทําโดยคนไทยแลว แม จะมีฝมื อทัดเทียมตางประเทศ แตก็ยังขาดการสนับสนุน ที่ เพียงพอ ทั้งจากภาครัฐที่ไมมีนโยบายสนับสนุนจนไปถึงภาพ ลักษณที่คนไทยเองมีตอวงการ การตูนแอนิเมชั่นไทยดวยกัน วายังคงไมนาสนับสนุนเทาของตางประเทศ


45 ดังนั้นโครงการนี้จึงเกิดขึ้น เพื่อเนนใหเยาวชน คนรุนใหม ผูที่มีความสนใจเรื่องการตูน แตเดิม ไดทราบถึงแงลึกของแอนิเมชั่นโดยเฉพาะประวัติความเปนมาและวิธีการผลิตออกมา ใหม ากขึ้ น เพื่ อ เปน การกระตุ น ความคิ ด สร า งสรรค และทํ า ใหเ ห็น คุณค า ของผลงานคนไทย ตั้ ง แต ใ นอดี ต จนถึ ง ผลงานในป จ จุ บั น มากขึ้ น รวมทั้ ง การให ค วามรู ต อ ยอดสํ า หรั บ ผู ที่ ส นใจ ศึกษาตอ ทั้งนี้เพื่อใหเปนการเสริมสรางความแข็งแรงของวงการแอนิเมชั่นไทยและใหเกิดเปน community ใหมของผูที่รักและตองการสนับสนุนแอนิเมชั่นไทยตอไปอยางยั่งยืน วัตถุประสงค : 1. เพื่อเปนแหลงรวบรวม อนุรักษ เผยแพร การตูนแอนิเมชั่นไทยยุคเกา รวมทั้งเชิดชู ประวัติความเปนมาของบุคคลที่มีผลตอวงการแอนิเมชั่นไทยในอดีตจนถึงปจจุบัน 2. เพื่อเปนแหลงใหความรู ความเขาใจ และใหความเพลิดเพลินดวยแอนิเมชั่นไทย 3. เพื่อเปนแหลงแลกเปลี่ยนความรู ทั้งจากการศึกษาดวยตนเอง ศึกษาแบบกลุม และการ แลกเปลี่ยนความรูดวยการรับชมงานตางประเทศ 4. เพื่อปลูกจิตสํานึกใหเกิดความภูมิใจในผลงานของคนไทย ขอบเขตของโครงการ : 1. จัดแสดงนิทรรศการถาวร รวบรวมประวัติความเปนมาของแอนิเมชั่นไทยตั้งแตอดีต ถึงปจจุบัน การแสดงวิธีการทําแอนิเมชั่นดวยกลไกอยางงาย โดยนําเสนอผานสื่อและเทคโนโลยี ตาง ๆ ที่ทันสมัย 2. จัดนิทรรศการหมุนเวียน 3. บริการดานการศึกษา มีพื้นที่สําหรับทํากิจกรรม workshop การจัดสัมมนา การเปดตัว ภาพยนตร แ อนิ เ มชั่ น ใหม ๆ การชมภาพยนตร แ อนิ เ มชั่ น หมุ น เวี ย นทุ ก สองสั ป ดาห และการ ใหบริการหองสมุดมัลติมิเดีย 4. บริการดานสาธารณะ เชน รานอาหาร เครื่องดื่ม และรานขายของที่ระลึก


46

ภาพ 25 การสรุปเนื้อหา เพือ่ ความเขาใจกอนการทํางาน

ภาพ 26 อาคารสํานักงานบริษัท Imagimax ถนน นราธิวาสราชนครินทร


47 ขอมูลเกี่ยวกับตัวอาคารเดิม: อาคารสํานักงานและสถานศึกษา เกี่ยวกับ Animation ซึ่งเปนอาคาร ค.ส.ล. สูง 3 ชั้น และ 5 ชั้น ทางเจาของโครงการตองการใหอาคารมีลักษณะเรียบงายสงบนิ่ง แตทันสมัยและแสดง Technology ตอบรับงาน Animation อาคารสํานักงาน Animation & Design Studio เปน โครงการที่ตั้งอยูบนถนน นราธิวาสราชนครินทร เนื่องจากพื้นที่ หนาโครงการมีหนากวาง ซึ่งเปน ขอไดเปรียบของพื้นที่ ประกอบกับในพื้นที่โครงการมีตนไมหนาใหญ เสนผาศูนยกลางไมต่ํากวา 30 เมตร จึงเปนโจทยสําคัญในการออกแบบอาคารใหสอดคลองกับสภาพแวดลอม และตอบรับ กับความตองการของเจาของโครงการ โดยสถาปนิกไดออกแบบอาคารใหมีลักษณะที่เรียบงาย แตทันสมัยโดยนําอาคาร Animation Auditorium มาอยูหนาโครงการ ซึ่งอาคารนี้มีแนวความคิด ในการใชกระจก Privacy Glass มาใชในสวนจอดโรงภาพยนตร สําหรับ animation ทําใหสามารถ ชมงานและการแสดงไดทั้งภายในและภายนอก ซึ่งดึงดูดความสนใจและสงเสริม Approach โครงการ สวนอาคารสํานักงานและอาคารเพื่อการศึกษาและ Studio ถูกจัดไวในสวนหลังโครงการ เพื่อความสงบและการเขาถึงไดจากทางดานหลังโครงการ แรงบันดาลใจในการออกแบบไดมาจากที่วางแบบสถาปตยกรรมญี่ปุน ที่มีความเงียบ สงบนิ่ง รูปทรงกรอบและเปลือกของอาคารรวมกับวัสดุในการใชสอยที่ดูเปนธรรมชาติ คอนกรีต เปลือยผิว พื้นไม และผนังหินแกรนิต เปนเสมือนกรอบหลักของอาคาร ที่แสดงสัจจะของธรรมชาติ ในขณะเดียวกันไดหอหุมอาคารสวนแสดง งาน Animation ที่มีพื้นที่เอนกประสงคในการจัด กิจกรรมที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลา และสามารถแสดงผลงานที่มีสีสัน โดยใชระบบ Technology ของกระจก Privacy glass มาเปนผนัง screen จอใหญที่ฉายและเปด Approach แกถนน นราธิวาสราชนครินทร ซึ่งดึงดูดความสนใจแกผูผานไปมา รายละเอียดที่ตั้งโครงการ อยูที่ถนนนราธิวาสราชนครินทร ตัดกับถนนพระราม 3 และ ถนนสาธร เขตยานนาวาและตอเนื่องเปนพื้นที่วางเปลาติดกับโครงการ อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับพื้นที่วางเปลาและอาคารพาณิชยเอกชน ทิศใต ติดกับโกดังเก็บสินคาเอกชน ทิศตะวันออก ติดกับถนนนราธิวาสราชนครินทร ทิศตะวันตก อาคารสิทธิผลแมนชั่นและบานพักอาศัย


48 แผนที่แสดงทีต่ ั้งของตัวโครงการ

ภาพ 27 ที่ตั้งของตัวโครงการ การเขาถึงโครงการ สําหรับผูที่ใชรถยนตสวนตัว สามารถเขาถึงไดสะดวกเนื่องจากโครงการอยูติด ทางรถยนต กับถนน นราธิวาสราชนครินทร นอกจากนี้ยังมีรถประจําทางและรถสองแถว สีแดงแลนผาน ทางเทา ดานหนาของโครงการมีทางเทาเลียบติดถนนนราธิวาสราชนครินทรโดยตลอด

ภาพ 28 อาคารและบริเวณขางโครงการ


49 โครงสรางของอาคาร อาคาร imagimax studio โครงสรางเปน ค.ส.ล. คอนกรีตเสริมเหล็กระบบเสาคาน ระดับ พื้นถึงฝาเพดานของอาคาร imagimax มีทงั้ หมด 5 ชัน้ ชั้นที่ 1 floor to floor 3.25 เมตร ชั้นที่ 2 floor to floor 4.50 เมตร ชั้นที่ 3 floor to floor 4.50 เมตร ชั้นที่ 4 floor to floor 6.00 เมตร ชั้นที่ 5 floor to floor 2.90 เมตร ชวงเสาประมาณ 8.40 เมตรและความกวางของอาคารกวาง 100 เมตร ขอดี

ขอเสีย

- อาคารมีทางเขาออก 2 สองทางสะดวกในการเขาและการขนสง - พื้นที่โดยรวมของโครงการสามารถทํากิจกรรมเพื่อสงเสริมภาพลักษณของโครงการ และสามารถพัฒนาตอไปไดในอนาคต - อาคารมีความโดดเดนที่สถานที่ตั้งเนื่องจากมีพื้นที่โลงรอบอาคารสามารถสังเกต ไดงายและทําใหอาคารมีทัศนียภาพที่สวยงาม - ตัวอาคารมี function ที่เหมาะสมกับตัวโครงการที่เลือกทําโดยตรง - ภายในอาคารมีชองโลงเปดจากชั้น 1-5 ทําใหมีแสงผานเขามาในโครงการเพิ่ม ความโปรงใหกับตัวอาคาร - ตัวอาคารมีที่จอดรถชั้นเดียวภายในชั้นที่ทําใหอาจตองทําที่จอดรถเพิ่มเติมตอ ความตองการในภายหนา - สวนดานหลังโครงการติดกับโครงการโกดังเก็บสินคาของเอกชนมีการขนสงดวย รถบรรทุ ก ขนาดใหญ ทํ า ให อ าจเกิ ด ความไม ส ะดวกบ า งกั บ ทางเข า ออกของ โครงการ


50 • USER กลุมผูใชงาน

ภาพ 29 กลุมผูเขาใชพิพธิ ภัณฑ •

Theme & Concept Design

ภาพ 30 Theme & Conceptual Design


51 •

Zoning

ภาพ 31 Zoning ชั้น 1

ภาพ 32 Zoning ชั้น 2


52

ภาพ 33 Zoning ชั้น 3

ภาพ 34 Zoning ชั้น 4


53

Lay-out Furniture Plan

ภาพ 35 Lay-out Furniture First Floor Plan

ภาพ 36 Lay-out Furniture Second Floor Plan


54

ภาพ 37 Lay-out Furniture Third Floor Plan

ภาพ 38 Lay-out Furniture Fourth Floor Plan


55 Perspective view

ภาพ 39 Lobby Hall Perspective View


56

ภาพ 40 Overall Exhibition Perspective View


57 พิพิธภัณฑประวัติศาสตรถนนเยาวราช (HISTORY OF YAOWARAJ ROAD MUSEUM) โดย นางาสาวธาริกา องคสิริมีมงคล รหัส 04520019

ภาพ 41 Overall YAOWARAJ Road พิพิธภัณฑประเภท นิยาม

บริหารจัดการโดย

: ประวัติศาสตรและโบราณคดี : เปนพิพิธภัณฑที่บอกเลาเรื่องราวในอดีต ประวัติความเปนมาและ ถายทอดเนื้อหาความสําคัญของถนนเยาวราชใหผูคนในปจจุบันไดรู รูจักและเขาใจ : เอกชน โดยสมาคมชุมชนยานเยาวราช


58 ที่มาและความสําคัญ : เนื่องจากผูคนในปจจุบันทั้งคนไทยและชาวตางชาติที่มาเที่ยวถนนเยาวราชนั้น ถาถามวา ไปเยาวราชทําไมกัน สวนใหญจะใหคําตอบวาไปเพื่อลองลิ้มชิมรสอาหารรสเด็ดยานเยาราชใน ชวงกลางคืนกัน แตผูคนทั้งหลายนั้นตางไมทราบถึงประวัติสาสตร ความสําคัญ ทีมีคุณคาของ ถนนเยาราชนี้เลย วาถนนเยาวราชนั้นเปนแหลงชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนเปนจํานวน มาก เปนถนนประวัติศาสตรที่มีประวิติความเปนมาเกาแกรวม 200 กวาปที่รวมประวัติศาสตร มาพรอมกับการสรางกรุงรัตนโกสินทรนี้ ทั้งจัดเปนยานธุรกิจการคา การเงิน การธนาคาร ราน ทอง ภัตตาคาร รานอาหาร รานคา ฯลฯ จนไดชื่อวาเปนถนนสายทองคํา และยังไดรับการกลาง ขานวาเปน “ถนนมังกร“ เปนแหลงเผยแพรศิลปวัฒนธรรมจีน ทั้งยังแสดงถึงความมีสัมพันธอันดี ของชาวจีนและชาวไทย ดังนั้น จึงจัดทําโครงการเสนอแนะในการออกแบบพิพิธภัณฑประวัติศาสตรถนนเยาวราช นี้เพื่อเปนสถานที่ที่ไดบอกเลาเรื่องเลาในอดีตใหผูคนในปจจุบันไดตระหนักถึงคุณคาของชุมชน ยานนี้อยางแทจริง รวมทั้งใหคนที่อาศัยในชุมชนยานเยาวราชนั้นไดภาคภูมิใจในสถานที่และ บรรพบุรุษผูบุกเบิกดวย วัตถุประสงค : 1. เพื่อเผยแพรความรูทางประวัติศาสตร ความสําคัญในอดีตจนถึงปจจุบัน ของยาน เยาวราช 2. เพื่อเปนแหลงใหความรู ความเขาใจ สําหรับการนําไปประยุกตใช 3. เพื่อใหลูกหลานชาวจีนในชุมชนยานเยาวราชไดภาคภูมิใจในสถานที่แหงนี้ และบรรพ บุ รุ ษ ผู บุ ก เบิ ก ความเจริ ญ ทั้ ง ยั ง ให ต ระหนั ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของแผ น ดิ น ไทยและ พระมหากษัตริยไทยทุกพระองค 4. เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวยานเยาวราชใหมีความสุข สนุกสนาน พรอมไดความรู ขอบเขตของโครงการ 1. จัดแสดงนิทรรศการถาวร รวบรวมประวัติความเปนมาของถนนเยาวราชในชวงแผนดิน กรุงรัตนโกสินทร ทั้งในรูปแบบเรื่องเลา บันทึก โมเดลจําลอง โมเดลเทาจริง และการจําลอง บรรยากาศความเจริญของถนนเยาราชในอดีต โดยนําเสนอผานสื่อและเทคโนโลยีตางๆดวย 2. จัดนิทรรศการหมุนเวียน กิจกรรมพิเศษตาง ๆ ในชวงเทศกาลพิเศษเชน วันตรุษจีน เทศกาลกินเจ 3. บริการดานสาธารณะ เชน รานคาเฟขายเครื่องดื่มและอาหารวาง รานขายของที่ระลึก


59 User Analysis

ภาพ 42 กลุมผูใชโครงการ User หลัก 1. คนไทยที่มาเที่ยวยานเยาวราช 40 % : คนไทยที่มาเที่ยวยานเยาราชและพื้นที่ ใกลเคียง เชน สําเพ็ง คลองถม สะพานเหล็ก เวิ้งนครเกษม ฯลฯ ทั้งกลางวันกลางคืน ทั้งชวง วันเวลาปกติและชวงเทศกาล 2. คนตางชาติที่มาเที่ยวยานเยาวราช 30 % User รอง 3. กลุมนักเรียน นักศึกษา เด็ก 15 % : ที่เดินทางมาทํารายงานหรือมายานการคา ใกลเคียง รวมทั้งที่มาเที่ยวกับครอบครัว หรือกลุมเพื่อนกันเอง 4. คนในชุมชนยานเยาวราช 15 % : ผูอยูอาศัย คนมาคาขายในยานเยาวราชและพื้นที่ ใกลเคียง .


60 Site Analysis แหลงพืน้ ที่ใกลเคียงยานเยาวราชที่เปนแหลงเศรษฐกิจสําคัญ

ภาพ 43 อาคารและบริเวณโดยรอบโครงการ


61 Site Location Analysis

ภาพ 44 การวิเคราะหที่ตงั้ โครงการ


62 ขอดีของ site – location 1. ตั้งอยูบริเวณหัวถนนเยาวราชเปนเสนทางสัญจรหลักที่เขาสูถนนเยาวราช สามารถเห็น โครงการไดอยางโดดเดนและชัดเจน 2. การเขาถึงโครงการไดอยางสะดวก หลากหลายทาง ดังนี้ - จากรถไฟฟาใตดิน สถานีหัวลําโพง สามารถเดิน หรือ นั่งรถประจําทางสาย 1 , 4 , 25 , 40, 53, 73, 507, 529, 542 ปายรถประจําทาง หรือ รถตุก ๆ รถแทกซี่ - จากปายรถประจําทางถึงตัวโครงการ ระยะทางประมาน 20 เมตร - โดยรถยนตสวนตัว สามารถจอดภายในโครงการได หรือในที่จอดรถตลอดถนนเยาราช - โดยข า มฝาก ที่ ท า น้ํ า ราชวงศ - ท า ดิ น แดง ที่ ป ลายสุ ด ถนนเยาวราชซึ่ ง สามารถ เดินชมบรรยากาศถนนเยาวราชเรื่อยมาจนถึงตัวโครงการ - โดยเรือโดยสาร ที่ทาน้ํากลมเจาทา บริเวณตลาดนอย 3. โครงการตั้งอยูบนถนนเยาวราช สามารถเรียนรูไดในสถานที่จริง สะทอนถึงวิถีชิวิต ของคนในปจจุบัน 4. สภาพแวดลอมนั้น มี สิ่ง อํานวยความสะดวกอย า งครบครัน ทั้งความบั น เทิง ด า น อุปโภค บริโภค เชน ตลาดสด, ตลาดคาขายแหง, โรงพยาบาล, สถานีอนามัย, สถานีตํารวจ, ศาลเจา, วัดวาอาราม, รานคามากมายและหางขายทองเปนตน

ภาพ 45 แผนที่โครงการ


63

ภาพ 46 การบริหารองคกร Organization


64

ภาพ 47 แผนผังองคกร Organization Charts


65 Programming

ภาพ 48 การกําหนด Theme และ Conceptual Design จากนิยามของโครงการ

เปนพิพิธภัณฑที่บอกเลาเรือ่ งราวในอดีต ประวัติความเปนมาและ ถายทอดเนื้อหาความสําคัญของถนนเยาวราชใหผูคนในปจจุบันได รูจักและเขาใจ


66

ภาพ 49 แผนผังการจัดพื้นที่ใชสอย Functional Diagram


67 แนวความคิดในการออกแบบ

ภาพ 50 Mood of Theme and Conceptual Design การจัดวางผังบริเวณ Layout Zoning 1 st floor : office 2 nd floor : information , lobby , souvenir shop , café Temporary exhibition 3 rd floor : permanence exhibition


68 การจัดวางผังบริเวณ Zoning

ภาพ 51 Layout Zoning 1 st Floor Plan

ภาพ 52 Layout Zoning 2 nd Floor Plan


69

ภาพ 53 Layout Zoning 3 rd Floor Plan

ภาพ 54 Layout Zoning 4 th Floor Plan


70 การจัดวางเครื่องเรือน Layout Furniture plan

ภาพ 55 Layout Master Plan

ภาพ 56 Layout Furniture 1 st Floor Plan


71

ภาพ 57 Layout Furniture 2 nd floor plan

ภาพ 58 Layout Furniture 3 rd floor plan


72

ภาพ 59 Plan - space - circulations: Dragon movement วัสดุ (Material)

ภาพ 60 วัสดุที่ใชในโครงการ


73 ทัศนียภาพ Perspective view

ภาพ 61 ทัศนียภาพของ lobby, information, Exhibition


74

ภาพ 62 Interior perspective Views of Permanent Exhibition


75 พิพิธภัณฑวาวไทย (THAI TRADITIONAL KITES MUSEUM) โดย นายธนชัย จัน่ จํารัส รหัส 04520015 พิพิธภัณฑประเภท : ประวัติศาสตรและโบราณคดี นิยาม : เปนพิพธิ ภัณฑที่บอกเลาเรื่องราว ประวัตคิ วามเปนมาและถายทอด เนื้อหาความ สําคัญของวาวไทย บริหารจัดการโดย : รัฐบาล โดยกระทรวงวัฒนธรรม ที่มาและความสําคัญ : ภาพ 63 วาวจุฬา ว า วนั้ น เป น สิ่ ง ที่ ค นไทยคุ น เคยกั น มานาน ตั้ ง แต ส มั ย สุ โ ขทั ย ซึ่ ง มี ป ระวั ติ ศ าสตร อั น ยาวนานกวา 700 ป เปนสิ่ง ที่คนไทยควรภาคภูมิใจ นอกจากนี้ยังเรียกไดว าประเทศไทยเปน ประเทศเดียวที่มีการแขงขันวาวจุฬา-ปกเปา มีกฎ-กติกาที่แนชัด ซึ่งในปจจุบัน เด็กรุนหลังๆ เริ่มไม รูจักกีฬาชนิดนี้กันแลว และเริ่มหาดูไดยาก ดังนั้น จึงจัดทําโครงการเสนอแนะในการออกแบบ พิพิธภัณฑวาวไทยขึ้นเพื่อเปนการอนุรักษศิลปะ การละเลนพื้นบาน และเอกลักษณของชาติใหคง อยูตลอดไป วัตถุประสงค : 1. เพื่อเปนแหลงรวบรวม อนุรักษ เผยแพร วาวไทย รวมทั้งประวัติความเปนมา เรื่องเลา, บันทึกและจดหมายเหตุตาง ๆ 2. เพื่อเปนแหลงใหความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับศิลปะ ภูมิปญญาและคุณคาของวาวไทย 3. เพื่อเปนแหลงอนุรักษเอกลักษณกีฬาวาวจุฬา-ปกเปา ที่มีแหงเดียวในโลก 4. เพื่อปลูกจิตสํานึกใหเกิดความภูมิใจในชาติพันธุ 5. เพื่ อ เสริ ม สร า งความสามั ค คี ปรองดอง ความมี น้ํ า ใจนั ก กี ฬ า เสริ ม สร า งสถาบั น ครอบครัวใหเขมแข็ง ขอบเขตของโครงการ 1. จั ดแสดงนิท รรศการถาวร รวบรวมประวัติค วามเป น มาของว า วไทย ทั้ง ในรูป แบบ เรื่องเลา บันทึก จดหมายเหตุ วาวไทยในภาคตางๆ สมัยโบราณ - ปจจุบัน รวมถึงภาพวาวโดน นําเสนอผานสื่อและเทคโนโลยีตาง ๆ 2. จัดนิทรรศการหมุนเวียน กิจกรรมพิเศษตาง ๆ ในชวงเทศกาลพิเศษ เชน วันเด็ก วันพอ วันแม เปนตน 3. บริการดานการศึกษา มีพื้นที่สําหรับทํากิจกรรมสําหรับเด็กนักเรียน - บุคคลทั่วไป ครอบครัว ผูทุกพลภาพ และผูสูงอายุ กิจกรรมเชน ประดิษฐหรือเพนทวาวเลนเองหรือนําไปตอ ยอดเปนอาชีพ


76 4. บริการดานสาธารณะ เชน รานอาหาร เครื่องดื่ม รานขายของที่ระลึก รวมถึงรานขาย และเชาวาวดวย PROGRAMMING PROJECT : พิพิธภัณฑวา วไทย SITE : สวนลุมพินี อาคารลุมพินีสถาน USER : ประชาชนคนไทยทั่วไป (USER หลัก) ชาวตางชาติ (USER รอง) ความสัมพันธระหวาง PROJECT กับ SITE 1. เนื่องจากการเลนวาวมีขอจํากัดคือตองเลน ในสนาม พื้น ที่ โ ลง ที่ตอ งอาศัย ลมในการเล น จึ ง เลือกอาคารลุมพินีสถานที่อยูใจกลางสวนลุมพินี เพื่อสงเสริมใหการออกแบบสําริดผลมากยิ่งขึ้น 2. จากเดิมที่การเลนวาว คนทั่วไปจะเขาใจผิด ว า สามารถเล น ได เ ฉพาะในหน า ร อ นเท า นั้ น ซึ่ ง แท จ ริ ง แล ว สามารถเล น ในหน า หนาวก็ ไ ด แต เนื่องจากที่สนามหลวง ลมมรสุมตะวันออกเฉียง เหนือจะพัดวาวใหไปติดในเขตพระบรมมหาราชวัง ร.4 จึงสั่งหามไมใหเลน การเลือก SITE นี้ จึง สามารถชวยแกปญหานี้ได และเปนการสงเสริมให คนหันมาเลนวาวกันมากขึ้นดวย 3. อาคารอยู ใ จกลางสวนลุ ม ที่ เ ป น สวน สาธารณะ ทําใหไดบรรยากาศของธรรมชาติ และ เห็นบรรยากาศของคนเลนวาวจริง 4. จากดานโครงสรางภายในของอาคารมีความ เหมาะสมกั บ PROJECT คื อ มี ลั ก ษณะโค ง และ เปน VOID เปดโลงกลางอาคาร อีกทั้งอาคารนี้ยัง เปนอาคารรกราง ใชงานไมเหมาะสมกับศักยภาพ ของอาคาร ภาพ 64 ผังบริเวณและภาพอาคารลุมพินีสถาน


77 ความสัมพันธระหวาง PROJECT กับ USER ดังที่กลาวในขางตนวาวาวเปนสิ่งที่อยูคูคนไทยมาชานาน มีเอกลักษณแหงเดียวใน โลก ดั ง นั้ น ประชาชนคนไทยทุ ก คนควรช ว ยกั น อนุ รั ก ษ ศิ ล ปะ การละเล น พื้ น บ า น และ เอกลักษณของชาติใหคงอยูตลอดไป ในสวนของ USER รอง ที่เปนชาวตางชาติ เพื่อเปนการบอกถึงภูมิปญญาของคนไทย ที่ไมมีชาติใดเสมอเหมือน ใหชาวโลกไดรับรู อีกทั้งเปนการสงเสริมดานการทองเที่ยวของ ประเทศดวย

แผนภูมแิ สดงการ วิเคราะหปริมาณผูค นที่ เขามาใชงานพิพธิ ภัณฑ ประชาชนทัว่ ไป

ผูส นใจเปนพิเศษ ครอบครัว

นักเรียน

นักทองเทีย่ ว

5% 10%

40% 15%

30%

ความสัมพันธระหวาง SITE กับ USER เนื่องจาก USER คือประชาชนคนไทยทัว่ ไป จึงมีความสอดคลองกับสวนลุมพินีดังนี้ 1. มี ลั ก ษณะเป น "สวนอเนกประสงค " โดยรวมไวดวยประโยชนใชสอยเพื่อกิจกรรม นั น ทนาการต า ง ๆ ที่ จั ด เตรี ย มไว บ ริ ก าร ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป เ ป น ที่ ตั้ ง ข อ ง ศู น ย นัน ทนาการ สมาคม ชมรมต า ง ๆ ภายใต ภาพรวมของพื้นที่สีเขียว 2. เปนสวนสาธารณะที่เกาแก และเปน สวนสาธารณะแหงแรกของไทย มีชื่อเสียง ทํา ใหป ระชาชนคนไทยทั่ วไปรูจัก ถึ ง แหลง ที่ตั้ง 3. อยูใกลแหลงชุมชน แหลงที่อยูอาศัย สถาบันการศึกษา แหลงเศรษฐกิจ เปนตน 4. การคมนาคมสะดวกสบาย ดวยการ เดิ น ทางหลายช อ งทาง มี ท างเข า ถึ ง ตั ว อาคารหลายทาง อยู ใ กล ถ นนสายหลั ก สถานีรถไฟฟา รถไฟใตดิน คิวรถตู และปาย จอดรถประจําทาง

ภาพ 65 แผนภูมิแสดงผูเขาใชโครงการ


78

ภาพ 66 ภาพถายผานดาวเทียม และบรรยากาศภายในสวนลุมพินี


79

ภาพ 67 การวิเคราะหที่ตงั้ โครงการ


80

ภาพ 68 การเขาถึงโครงการ


81 วิเคราะหเรื่องพื้นที่ทับซอนของกิจกรรมระหวางโปรเจคกับสวนลุมพินี เนื่องจากบริเวณที่เปนลานสนามหญา ที่ใชเลนวาวคือบริเวณที่ 2 และ 5 มีขอมูลการใชพื้นที่ดังนี้

ภาพ 69 การใชพื้นทีท่ ับซอน

ภาพ 70 การวิเคราะหการใชพื้นที่ ดั งนั้น จะเห็ น จากข อมู ลข า งตน วา ส ว นพัก ผ อน และสว นลานสนามหญ า ไม เ กิ ด พื้ น ที่ ทับซอนกับการใชงานเดิมของผูที่เขามาใชสวนลุมพินี


82 ขอมูลการใชพนื้ ที่อื่นๆ

ภาพ 71 การแกปญหาขอเสียของ site

ภาพ 72 การวิเคราะหขอดี - ขอเสียของพืน้ ที่


83

ภาพ 73 เสนทางปนจักรยานเขาสูพ ิพิธภัณฑ

ภาพ 68

ภาพ 74 การกําหนดแนวความคิด


84

MASTER PLAN

ภาพ 75 Layout Furniture Master Plan


85 Zoning for Permanent Exhibition

ภาพ 76 Layout Furniture First Floor Plan

ภาพ 77 Layout Furniture Second Floor Plan


86

ภาพ 78 ทัศนียภาพของโถงตอนรับ


87

ภาพ 79 ทัศนียภาพของหองจัดนิทรรศการถาวร


88 รายงานประเมินผลการเรียนการสอน

ภาพ 80 รายงานประเมินผลการเรียนการสอน


89

บรรณานุกรม หนังสือภาษาไทย กชพร หัสดิน, 2543 “นิทรรศการในพิพิธภัณฑสถาน. สถานแหงชาติ 24-27 กรกฎาคม 2543 (อัดสําเนา). กรมศิลปกร. วิวัฒนาการพุทธสถานไทย. เกรซ มอเลย (Grace Morley, 1979 อางถึงใน เปรื่อง กุมุท, 2526เทคนิคการจัดนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน) จันทรา มาศสุพงศ, 2540 หลักนิทรรศการ กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, จิรา จงกล, 2537 นําชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: โอเดียนสแควร เฉลิมชัย หอนาค, 2540 มติชน 18 พ.ค.40 น.20. ผอ.พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ น.ณ.ปากน้ํา, 2508 หลักการใชสี. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช นิคม มุสกิ ะคามะ, 2530 ความหมายของพิพิธภัณฑสถาน Retrieved July 1, 2007, from http://www. kku.ac.th, 2007 ทวีเดช จิ๋วบาง, 2536 เรียนรูทฤษฎีสี, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, 2536 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525 ฟารีดา อาซาดุลลินา, อางใน ทวีเดช จิ๋วบาง, เรียนรูทฤษฎีสี กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2536 วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2526 การจัดนิทรรศการ.กรุงเทพฯ, สํานักพิมพกลิน่ แกว. วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2528 ศิลปะการจัดนิทรรศการ,กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2542 ศิลปะการจัดนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย วัฒนาพร เขื่อนสุวรรณ,เอกสารคําสอนหลักการทัศนศิลป. บทเรียนที่ 4.2. ทฤษฎีสีที่เกี่ยวของกับ ทัศนศิลป.เรื่องที่. 4.2.1. ทฤษฎีสีแสง ประเสริฐ ศีลรัตนา, 2546 การออกแบบนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สิปประภา เปรื่อง กุมทุ , 2526 เทคนิคการจัดนิทรรศการ, กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน เปรื่อง กุมทุ , 2529; หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ :. ศิลปาบรรณาคาร. ธีรศักดิ์ อัครบวร, 2537 นิทรรศการและการจัดการแสดง, กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช ธีรศักดิ์ อัครบวร, 2542 นิทรรศการและการจัดการแสดง กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ก.พลพิมพ สมเกียรติ ตั้งนโม, 2536 ทฤษฎีสี, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, 2536.


90

บรรณานุกรม (ตอ) ธีระชัย สุขสด.Universal Design. สื่อทางโปรแกรมสําเร็จรูป วิชา Industrial Design 5 (12 – 411 - 305) หลักสูตรออกแบบอุตสาหกรรม คณะศิปกรรมและสถาปตยกรรม ศาสตร มทร. ลานนา 2552 อัครพงษ เวชยานนท. สํานักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย แบบของผลิตภัณฑที่เหมาะสมกับ ผูบริโภค ปกรณ จริงสูงเนิน. 2540. การจัดการทรัพยากรปาไมโดยชุมชนเพื่ออนุรักษปา ตนน้าํ ลําธาร. (คําบรรยายนําเสนอรางรายงานการศึกษา ตอ คณะกรรมาธิการ การเกษตรและสหกรณวฒ ุ สิ ภา. 2 มีนาคม 2540 ณ โรงแรมเวสทิน จังหวัดเชียงใหม) ปกรณ จริงสูงเนิน,เสมอ ลิ้มชูวงศ และ ชัยรัตน จงกองเกียรติ. 2539. การจัดทําแผนงานพัฒนาปา ชุมชนแนวใหม ภาคเหนือ. (ไมปรากฏสถานที่พมิ พ). 27 น. เนาวรัตน พลายนอย. 2545. ทักษะการทํางานและปจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาทักษะการทํางาน ของแรงงานภาคอุตสาหกรรมทองเที่ยวในทองถิน่ : การศึกษาในกลุม ประชาคม (civic groups) ภาคเหนือตอนบน. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2548. โครงการวิจัยยุทธศาสตรการพัฒนาบริเวณเหนือเขื่อนภูมิพล เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ. สมชัย เบญจชย. 2539. ทัศนคติของชาวบานตอความสําเร็จของปาชุมชนในจังหวัดเชียงใหม. สํานักงานปาไมจังหวัดเชียงใหม, กรมปาไม 158. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สํานักงานภาคเหนือ. 2548. การศึกษาและพัฒนา รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมบนดอยหลวงเชียงดาว โดยการมี สวนรวมของชุมชนบริเวณรอบดอยหลวงเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม. อุทิศ กุฎอินทร. 2537. การจัดการทรัพยากรสัตวปา. ภาควิชาชีววิทยาปาไม, คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 47 น. กองอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม และ DANIDA. แผนที่ชุมชนกรุงรัตนโกสินทร (Cultural Heritage Atlas of Rattanakosin). สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2547. ศิริวัฒน สาระเขตต . การศึกษาภูมิทัศนชุมชนเมืองบริเวณน้ําพุถนนหนาพระลาน. คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540.


91

บรรณานุกรม (ตอ) ชูวิทย สุจฉายา. การอนุรักษเมือง (Urban Conservation). คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย กระทรวงมหาดไทย. มาตรฐาน ทางถนนทางเดินและทางเทา. (เขาถึงเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2553)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.