WASD l Research and Statistic

Page 1

แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ให้ได้มาตรฐานตามหลักการออกแบบเพื่อ คนทั้งมวล (Universal Design) Design Guidelines for RailwayStationunder Standardof Universal Design Principles: Lessons Learned from Hua Takhe RailwayStation WASD ARCHITECT
ผู้รับผิดชอบโครงการ (คณะนักศึกษาผู้ร่วมกันทาวิจัยทั้งหมด) 1 วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 9 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล 10 ระยะเวลาในการทาวิจัยและแผนการดาเนินงานตลอดการดาเนินการวิจัย 11 กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย หรือ ทฤษฎี / สมมติฐาน 6 2 ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย 3 ขอบเขตของโครงการวิจัย 5 การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 เอกสารอ้างอิงของโครงการวิจัย 8 ผลสาเร็จ และความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ 12 คาสาคัญ (Keywords) ของโครงการวิจัย WASD ARCHITECT TABLE OF CONTENT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 1 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
1 WASD ARCHITECT ผู้รับผิดชอบโครงการ (คณะนักศึกษาผู้ร่วมกันทาวิจัยทั้งหมด)
KANTICHA S. 62020002 SIRAWICH F. 62020062 JANISTA S. 62020007 PUMI J. 62020046 SEDTAWUT S. 62020063 CHIWAVIJ L. 62020010 VARINTORN C. 62020053 APHICHAT S. 62020067 PAPHOB S. 62020034 WASUTORN P. 62020054 CHANIDAPHA K. 62020071 PUSANISA C. 62020077 PARUTTAKORN P. 62020035 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 62020002 นส กันติชา สีตา / 62020007 นส จณิสตา ศิริโคจรสมบัติ / 62020010 นาย ชีวาวิช์ หลิน / 62020034 นาย ปภพ ศรีสุตา / 62020035 นาย ปรัตถกร โพธิ์ด้วง / 62020046 นาย ภูมิ จารุวิริยะรุ่ง / 62020053 นส. วรินทร โชติกุโล 62020054 นาย วสุธร พัฒนเมฆินทร / 62020062 นาย สิรวิช์ ฟองชัย / 62020063 นาย เสฎฐวุฒิ สุทธิชยาพิพัฒน / 62020067 นาย อภิชาต แซ่หลิว / 62020071 นสชนิดาภา คมทัศนีย / 62020077 นสภูษณิศา ชื่นชมชาติ

คาสาคั์

(Keywords)

2
ของโครงการวิจัย WASD ARCHITECT
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 แนวทางการออกแบบปรับปรุงการเข้าถึงและสถานีรถไฟหัวตะเข้ ให้ได้มาตรฐานภายใต้หลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล DesignGuidelinesforRailwayStationandAccessibilityImprovementsunderStandard ofUniversalDesignPrinciples:LessonsLearnedfromHua TakheRailwayStation 2 การพัฒนาพื้นที่รอบสถานี รถไฟหรือระบบขนส่งมวลชน TRANSITORIENTED DEVELOPMENT สถานีรถไฟ RAILWAY STATION ระบบคมนาคมขนส่งที่เข้าถึง ได้อย่างเสมอภาคและเท่า เทียม INCLUSIVE TRANSPORT การออกแบบเพื่อคนทั้งมวล UNIVERSAL DESIGN WASD ARCHITECT คาสาคัญ (Keywords) ของโครงการวิจัย
3 ความสาคั์และที่มา ของปั์หางานวิจัย WASD ARCHITECT
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 01 02 03 04 อ้างอิงจาก : แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคมภายใต้ ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี พ.ศ.2560 ปัจจุบันการขนส่งทาง รถไฟ ยังมีข้อจากัดหลาย และ การเข้าถึงที่ไม่สะดวก อย่างที่ไม่อาจนาไปสู่การ พัฒนา รวมไปถึงสถานี รถไฟไม่รับรองผู้ใช้งานที่ หลากหลาย นอกจากนี้ประเทศไทยกาลัง ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประชากรดังกล่าวจะต้อง พึ่งพิงการ เดินทางด้วย ระบบขนส่งสาธารณะและ ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น สถานีรถไฟไทยยังขาด ระบบสิ่งอานวยความ สะดวก ตามหลักการ ออกแบบเพื่อคนทั้งมวล เพื่อรองรับผู้สูงอายุ และ ไม่ได้ตาม มาตรฐานการ ออกแบบสถานีรถไฟ นาเสนอแนวทางการ ออกแบบปรับปรุงสถานี รถไฟ เพื่อรองรับการใช้ งานของทุกคน และ เป็นไปตามหลักการ ออกแบบเพื่อคนทั้งมวล https://locationofhuatakhehualamphong.wordpress.com/201902/21/%E0%B8%AA%E0%B8 %96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84% E0%B8%9F%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B 9%80%E0%B8%82%E0%B9%89/ 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ( SWOT Analysis) ระบบคมนาคมขนส่งของประเทศ กระทรวงคมนาคมได้ทาการวิเคราะห สภาพแวดล้อมระบบคมนาคมขนส่งของ ไทย หรือ SWOT โดยวิเคราะห จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ ข้อจากัด การพัฒนาพื้นที่ตามแนว เส้นทางหรือบริเวณ สถานี รถไฟ ( Transit Oriented Development: TOD) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากรที่สัดส่วนประชากร ผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ( Aging Society) (Strength) S (Weakness) W (Opportunity) O (Threat) T อ้างอิงจาก : แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคมภายใต้ (ร่าง) ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี พ.ศ.2560 2579 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ตาม ยุทธศาสตรชาติที่ใช้เป็นกรอบแนว ทางการพัฒนาในระยะ 20 ปี เรื่อง ยุทธศาสตรด้านการสร้างโอกาสความ เสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม แนวคิดและภาพในอนาคตของการ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบคมนาคมขนส่งที่เข้าถึงได้ อย่างเสมอภาคและเท่าเทียม INCLUSIVE TRANSPORT สามารถรองรับผู้ใช้งานได้ทุกกลุ่ม ได้รับความสะดวกในการเดินทาง ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน อ้างอิงจาก : แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคมภายใต้ (ร่าง) ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี พ.ศ.2560 2579 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 30% 70 % อาคารสาธารณะที่ขาดแคลน สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการ และผู้สูงอายุ หรือมีแต่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปลอดภัย อาคารสาธารณะที่ได้มาตรฐาน ตามกฎกระทรวงกาหนดสิ่งอานวยความ สะดวกในอาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 ข้อมูลจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่าปัจจุบันพื้นที่สาธารณะ อาคารสาธารณะส่วนใหญ่ยัง ขาดแคลนสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการและ ผู้สูงอายุ หรือมีแต่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปลอดภัย คิดเป็นร้อยละ 70 อ้างอิงจาก : กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ 2555 2559 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 อ้างอิงจาก : รูปแบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการของ การรถไฟแห่งประเทศไทย เผยแพร่โดย คณะรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในปัจจุบัน การคมนาคมขนส่งสาธารณะ ใน ประเทศไทยมีหลายรูปแบบ อาทิ การขนส่ง ทางบก การขนส่ง ทางน้า และการขนส่ง ทางอากาศ ล้วน เป็นที่นิยมของผู้ใช้บริการ ที่แตกต่างกันออกไป ระบบรางของประเทศ โดยเฉพาะการขนส่ง ทาง รถไฟยัง มีข้อจากัดหลายอย่าง ที่ไม่อาจ จาไปสู่การพัฒนา อย่างรวดเร็วใน ระยะเวลาอันสั้นได้ อันเนื่องมาจากปั์หา และข้อจากัดหลายอย่างในการดาเนินงาน ผู้ใช้บริการมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนไปใช้การ ขนส่งในรูปแบบอื่น ๆ แทน ซึ่งประเด็น ปั์หาเหล่านี้เกิดขึ้น ส่วนหนึ่งมาจาก การขาดงบประมาณในการดาเนินการ ทาให้จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาถึง มาตรฐานการออกแบบสถานีรถไฟของ พื้นที่ให้บริการ เพื่อนาไปพัฒนาสิ่งอานวย ความสะดวกเดิม การขาดทุนดังกล่าวส่งผลให้การรถไฟฯ ไม่มีงบประมาณที่เพียงพอในการปรับปรุง คุณภาพการให้บริการ และ ความสะดวก ของพื้นที่ใช้งาน บางสถานียังไม่ได้รับการ พัฒนาตามแผนยุทธศาสตร 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ปัจจุบันประเทศไทยมี 4 สายที่ สาคั์ คือทางสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายตะวันออก และสายใต้ โดยกระทรวงคมนาคมออก นโยบายพัฒนารถไฟไทย แต่ บางสถานี ยังไม่ได้รับการพัฒนาและ ปรับปรุงตามมาตรฐาน อ้างอิงจาก : แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคมภายใต้ (ร่าง) ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี พ.ศ.2560 2579 สถานีรถไฟหัวตะเข้ เป็น 1 ใน สถานี รถไฟสายตะวันออก ที่ ยังไม่ได้รับ การพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐาน ตามแผนยุทธศาสตรเนื่องจากขาด งบประมาณ ถึงแม้ว่าจะอยู่ใกล้กับ สถาบันการศึกษาก็ตาม สถานีรถไฟหัวตะเข้ 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
สารวจสถานี รถไฟหัวตะเข้ ครั้งที่ 1 25/10/2565
พื้นที่ที่ทาการสารวจ 500 ม. พื้นที่ภายในสถานี รถไฟหัวตะเข้ และ พื้นที่ในรัศมีการเดิน เท้า 500 ม. 1 2 3 4 5 6 7 8 ถนนหลวงพรตพิทยพยัต ที่จอดรถยนต ฟุตบาท จุดขายตั๋วและพื้นที่พักคอย ห้องทางานนายสถานี ห้องระบบสื่อสาร ห้องรับรอง VIP ห้องน้า และห้องน้าคนพิการ ร้านค้าขายอาหาร ชานชลา ทางรถไฟ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 9 9 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
พื้นที่ที่ทาการสารวจ ทางเข้าสถานีถนนหลวงพรตพิทยพยัต ที่จอดรถยนต ทางขึ้นลงจุดซื้อตั๋ว จุดขายตั๋วและพื้นที่พักคอย ห้องน้า และห้องน้าคนพิการ ชานชลา ที่นั่งบริเวณชานชลา การขึ้น ลงรถไฟ ป้ายแสดงข้อมูลการเดินทาง ป้ายเตือนอันตรายจากรถไฟ ป้ายแสดงข้อมูลพื้นที่ภายในโครงการ สะพานลอยข้ามรางรถไฟ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย 9 10 11 0 2 1 2 3 4 5 8 7 10 11
ทางเข้าสถานีถนนหลวงพรตพิทยพยัต ที่จอดรถยนต์ 0 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย ทางขึ้น-ลงจุดซื้อตั๋ว จุดซื้อตั๋ว และพื้นที่พักคอย 2 3
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย ห้องน้า และห้องน้าคนพิการ ชานชาลา 4 5
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย ที่นั่งบริเวณชานชลา การขึ้นลงรถไฟ 6 7
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย ป้ายแสดงข้อมูลการเดินทาง ป้ายเตือนอันตรายจากรถไฟ 8 9
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย ป้ายแสดงข้อมูลพื้นที่ภายในโครงการ สะพานลอยข้ามรางรถไฟ 11 10
สอบถามพูดคุยกับ ผู้ช่วยนายสถานี คุณสุรินทร์ เรืองเสมอ
ประเด็นปัญหาที่พบจากการสารวจและสอบถาม ลาดับ รูปภาพ ประเด็นปัญหา 1 ป้ายบอกทางต่างๆไม่ชัดเจน ติดตั้งอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม จานวนไม่เพียงพอ และโดนทาลาย 2 เก้าอี้นั่งรอรถไฟ ชารุดเสียหาย ไม่เพียงพอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
ประเด็นปัญหาที่พบจากการสารวจและสอบถาม ลาดับ รูปภาพ ประเด็นปัญหา 3 ขาดแนวเส้นบอกระยะปลอดภัย และป้ายเตือนอันตรายจากรถไฟ 4 ชานชลาต่ากว่าทางลงรถไฟ คนพิการผู้สูงอายุขึ้นลงไม่สะดวก และอันตราย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
ประเด็นปัญหาที่พบจากการสารวจและสอบถาม ลาดับ รูปภาพ ประเด็นปัญหา 5 ไม่มีที่จอดรถจักรยานยนต์ 6 ขาดป้ายอักษรวิ่งบอกระยะเวลาเทียบท่าของรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
ประเด็นปัญหาที่พบจากการสารวจและสอบถาม ลาดับ รูปภาพ ประเด็นปัญหา 7 ห้องน้าคนพิการไม่สะดวก และผิดกฎหมาย 8 ไม่มีช่องขายตั๋วสาหรับผู้พิการที่ใช้รถเข็น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
ประเด็นปัญหาที่พบจากการสารวจและสอบถาม ลาดับ รูปภาพ ประเด็นปัญหา 9 ทางลาดและบันไดบางจุดไม่เหมาะสมต่อการใช้งานของผู้พิการ และผู้สูงอายุ 10 ที่จอดรถคนพิการผิดกฎหมาย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
ประเด็นปัญหาที่พบจากการสารวจและสอบถาม ลาดับ รูปภาพ ประเด็นปัญหา 11 ทางข้ามไปฝั่งตรงข้ามไม่สมบูรณ์ และสะพานลอยชารุด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
ปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผลต่อ Universal Design ของสถานีรถไฟหัวตะเข้ 1 2 3 4 มีการออกแบบตามหลัก Universal Design แต่ไม่ถูกต้องตาม มาตรฐาน ไม่สามารถใช้ งานได้จริง ขาดงบประมาณในการ ปรับปรุงแก้พื้นที่ และ สิ่งอานวยความสะดวก ที่ชารุด พื้นที่จากัด ไม่ตอบรับ กับการเข้าถึงของคนใน ยุคปัจจุบัน บุคลากรของสถานี รถไฟขาดความรู้ด้าน Universal Design 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 3 WASD ARCHITECT ความสาคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย
4
WASD ARCHITECT
วัตถุประสงคของ โครงการวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1 เพื่อสารวจสภาพพื้นที่ ปัญหา บริเวณสถานีรถไฟหัวตะเข้ใน รัศมี 500 ม. และพื้นที่ภายใน สถานีที่จะนามาสู่การกาหนด แนวทางเสนอแนะ 2 3 เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ ปัญหา ข้อกาจัด ของสถานี รถไฟหัวตะเข้ในรัศมี 500 ม. และพื้นที่ภายในสถานี 4 เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เหมาะสมต่อ การนาเสนอการเพิ่มสิ่งอานวย ความสะดวกพื้นฐานสาหรับ ผู้ใช้บริการ ให้ครบถ้วนตาม หลักหลักการออกแบบเพื่อคน ทั้งมวล และได้ตามมาตรฐาน การออกแบบของรถไฟไทย เพื่อเสนอแนวทางการ ออกแบบปรับปรุง การเข้าถึง สถานีและพื้นที่ภายในสถานี รถไฟหัวตะเข้ ให้ได้มาตรฐาน ภายใต้หลักการออกแบบเพื่อ คนทั้งมวล และได้ตาม มาตรฐานการออกแบบของ รถไฟไทย 4 WASD ARCHITECT วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
5
WASD ARCHITECT
ขอบเขตของ โครงการวิจัย
5.1 ขอบเขตด้านการสารวจพื้นที่ ขอบเขตพื้นที่ศึกษากาหนดตามระยะทางที่ ผู้โดยสารเดินทางเข้าสู่สถานีด้วยวิธีการต่างๆ และพื้นที่ภายในสถานีรถไฟหัวตะเข้ ดังนั้นจึงกาหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาในรัศมี 500 ม. จากสถานีรถไฟหัว ตะเข้ ตามแนวคิดของ TOD ที่ให้ความสาคัญกับการเดินเท้าเป็นลาดับแรก การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางและ รถยนต ซึ่งมีระยะทางที่เหมาะสม คือ ไม่เกิน 5 กิโลเมตร (Burns, 1979) การใช้จักรยานเดินทางจากพื้นที่ในรัศมี 3 กม. (วิโรจนและคณะ, 2546) การเดินเท้าจากพื้นที่ในรัศมี 500 ม. (วิโรจนและคณะ, 2546) 500 ม. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 5 WASD ARCHITECT ขอบเขตของโครงการวิจัย
5.2 ขอบเขตของเวลา ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนินงาน และสรุปผล 4 เดือน กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT ขอบเขตของโครงการวิจัย 5
5.3 ขอบเขต ของกลุ่มตัวอย่างและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ผู้ให้บริการ (Supply Side) ผู้ใช้บริการ (Demand Side) 1 2 ผู้ที่เกี่ยวข้องกีบสถานี รถไฟหัวตะเข้ ได้แก่ นายสถานี ผู้ช่วยนนาย สถานี เสมียน และ พนักงานอื่นๆ ผู้ใช้บริการสถานีรถไฟ หัวตะเข้ และประชาชน ทั่วไปที่ใช้งานพื้นที่ ภายในรัศมี 500 ม. อ้างอิงจาก : การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง: บทเรียนจากสถานีรถไฟฟ้าแอรพอรต เรล ลิงก บ้านทับช้าง กรุงเทพฯ โดย สุภาพร แก้วกอ เลียวไพโรจน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT ขอบเขตของโครงการวิจัย 5
5.3 ขอบเขต ของกลุ่มตัวอย่างและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จานวนกลุ่มตัวอย่าง จานวนกลุ่มตัวอย่าง ขึ้นอยู่กับความสะดวกและความอนุเคราะหข้อมูลของผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ เนื่องจากไม่มีข้อมูลจานวนผู้ใช้งานสถานีรถไฟหัวตะเข้ที่ชัดเจน จึงคานวณจานวนกลุ่มตัวอย่างจาก สูตรการหากลุ่มตัวอย่างที่ไม่ทราบจานวนประชากร ของ บุ์ชม ศรีสะอาด (2538) อ้างอิงจาก : การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง: บทเรียนจากสถานีรถไฟฟ้าแอรพอรต เรล ลิงก บ้านทับช้าง กรุงเทพฯ โดย สุภาพร แก้วกอ เลียวไพโรจน P(1-P)Z 2 e 2 n = โดย n : จานวนกลุ่มตัวอย่าง P : สัดส่วนของประชากรที่ผู้วิจัยจะสุ่ม ( กาหนดสัดส่วนของ ประชากรที่จะสุ่ม 0.45) Z : ระดับความมั่นใจ (z มีค่าเท่ากับ 1.96 ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95) e : ค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้มีได้ ( กาหนดความคลาดเคลื่อนร้อยละ ร้อยละ 5) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT ขอบเขตของโครงการวิจัย 5
5.3 ขอบเขต ของกลุ่มตัวอย่างและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง อ้างอิงจาก : การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง: บทเรียนจากสถานีรถไฟฟ้าแอรพอรต เรล ลิงก บ้านทับช้าง กรุงเทพฯ โดย สุภาพร แก้วกอ เลียวไพโรจน 380 ในการศึกษาครั้งนี้ คานวณกลุ่มตัวอย่างได้ ตัวอย่าง 400 ตัวอย่าง จานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดที่สอดคล้อง กับวิธีการของ Yamane (1967 , อ้างใน สุทธิพลและจุฬาภรณ, ม .ป.ป.) ซึ่งกาหนดจานวน ตัวอย่างสาหรับความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 คือ วิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล จานวนกลุ่มตัวอย่าง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT ขอบเขตของโครงการวิจัย 5
5.3 ขอบเขต ของกลุ่มตัวอย่างและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง อ้างอิงจาก : การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง: บทเรียนจากสถานีรถไฟฟ้าแอรพอรต เรล ลิงก บ้านทับช้าง กรุงเทพฯ โดย สุภาพร แก้วกอ เลียวไพโรจน สถานีรถไฟหัวตะเข้เปิดทาการ 05.00 – 20.00 น. (15 ชั่วโมง) จานวนกลุ่มตัวอย่าง คณะผู้จัดทาลงพื้นที่เก็บข้อมูล ในช่วงเวลา 09.00 – 13.00 น. (4 ชั่วโมง) คิดเป็น 25% ของเวลาเปิดทาการ 100 ตัวอย่าง จากจานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 ตัวอย่าง นามาคิด 25 % ตามชั่วโมงการลลงพื้นที่สารวจ จะได้จานวนตัวอย่างทั้งสิ้น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT ขอบเขตของโครงการวิจัย 5
5.3 ขอบเขต ของกลุ่มตัวอย่างและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง อ้างอิงจาก : รูปแบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการของการรถไฟแห่งประเทศไทย โดย สกล บุ์สิน เกณฑ์ ผู้ใช้บริการ รถโดยสาร ผู้ใช้งานพื้นที่รอบ สถานีในรัศมี 500 ม. ผู้บริหารสถานีรถไฟ หัวตะเข้ พนักงาน สถานีรถไฟหัวตะเข้ นักวิชาการ 1. อายุไม่ต่ากว่า 15 ปี 2. ใช้บริการสถานีรถไฟหัวตะเข้ มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 3. ใช้งานพื้นที่ข้างเคียงหรือเดินทางผ่านสถานีใน รัศมี 500 ม. ไม่น้อยกว่า 1 ปี 3. ต้องเป็นผู้บริหารหรือพนักงานของสถานีรถไฟ หัวตะเข้ 4. ต้องดารงตาแหน่งในฝ่ายนั้นมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 1 ปี 5. ปฏิบัติงานที่สถานี/ขบวนรถมาแล้ว หรือมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการให้บริการที่สถานี และขบวนเป็นอย่างดี 7. มีงานวิจัยหรือเป็นที่ปรึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับหลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลหรือมาตรฐาน การออกแบบรถไฟอย่างน้อย 1 เรื่อง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT ขอบเขตของโครงการวิจัย 5
WASD ARCHITECT 6 กรอบแนวคิดของ โครงการวิจัย หรือ ทฤษฎี / สมมติฐาน ของโครงการวิจัย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย หรือ ทฤษฎี / สมมติฐาน ของโครงการวิจัย 6 แนวทางการออกแบบปรับปรุงการเข้าถึงและสถานีรถไฟหัวตะเข้ ให้ได้มาตรฐานภายใต้หลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล Design Guidelines for Railway Station and Accessibility Improvements under Standard of Universal Design Principles: Lessons Learned from Hua Takhe Railway Station สถานีรถไฟหัวตะเข้ มีการใช้งานที่ไม่ สะดวก ไม่รองรับ การใช้งานตามหลัก Universal Design การทบทวน วรรณกรรม หลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล ข้อแนะนาสิ่งอานวยความสะดวก สาหรับทุกคน มาตรฐานการออกแบบสถานีรถไฟ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการ เข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง การออกแบบ การวิจัย การทาแบบสอบถาม การสัมภาษณ การสังเกต การใช้ข้อมูลเอกสาร เก็บรวบรวมข้อมูล นาเสนอแนวทาง การออกแบบ STANDARD MEDIUM HIGH ตรวจสอบความถูกต้อง ประเมิณผลแนวทางการออกแบบโดย นักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญ ปรับปรุงแก้ไขและสรุปผล เผยแพร่ ใช้วิธี Delphi Technique โดยผู้เชี่ยวชา์ 5 ท่าน
WASD ARCHITECT 7 การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.1 ที่มาของปัญหาของสถานีรถไฟไทยในปัจจุบัน 1 7.4 การเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง และ TOD หรือ Transit Oriented Development 4 7.6 ความจาเป็นของการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) 6 2 7.3 แนวทางการส่งเสริมการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) ของประเทศไทย 3 7.5 คานิยาม และ หลักการของ Universal Design 5 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 7 7.8 โครงการ หรือ สถานีตัวอย่างที่มีการออกแบบด้าน Universal Design 8 7.2 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงสถานีรถไฟ วรรณกรรมที่ทบทวน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.1 ที่มาของปัญหาของสถานีรถไฟไทยในปัจจุบัน ประเทศไทยกาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ขาดแคลนนวัตกรรม หน่วยงานรัฐจึงได้มีการกาหนดยุทธศาสตรเพื่อมารองรับการเพิ่มตัวของประชากรผู้สูงอายุ แต่ประสิทธิภาพมาตรฐานที่กาหนดไว้ยังมีปัญหา หากเทียบกับประเทศอื่นที่ประสบปั์หาเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีอุปสรรคอื่นๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาเป็นอย่างมาก ขาดแคลนงบประมาณ ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.2 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงสถานีรถไฟ มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทยรวบรวม ข้อเสนอไปยัง หน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัด กระทรวงคมนาคม ( พวงแก้ว กิจธรรม, 2556) เพื่อดาเนินการแก้ไขอุปสรรค ปัญหาความไม่สะดวกในการเดินทาง ของผู้พิการที่ต้องเดินทางด้วยระบบ ขนส่งมวลชนในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งได้รับการแก้ไขเป็นระยะแต่ยังไม่ สมบูรณ ปรับปรุง / จัดท า สถานีรถไฟให้คนพิการทุกประเภทเข้าถึง และใช้ประโยชนได้โดยจัดทา ทางลาด , พื้นผิวต่างสัมผัส เพื่อการเตือนภัย , ห้องน้า , ป้ายอักษรวิ่ง และ ประกาศโดยใช้เสียงพูด เป็นต้น โดยมีแผนงาน ขั้นตอนและก าหนดเวลาดาเนินงานที่ชัดเจน การรถไฟแห่งประเทศไทย จัดตู้รถไฟที่คนใช้เก้าอี้เข็นสามารถใช้บริการได้ ขยายขนาดรางรถไฟที่จะสร้างใหม่ ให้สามารถรองรับตู้รถไฟที่มีขนาดกว้างขึ้น ซึ่งประกอบด้วยสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อให้คนใช้เก้าอี้เข็นสามารถใช้บริการได้ จัดบริการเครื่องยกเก้าอี้เข็นคนพิการ ขึ้นตู้รถไฟ แบบราคาถูกแต่ใช้งานได้ อ้างอิงจาก : การเข้าถึงบริการด้านคมนาคมของผู้พิการ อาริยา สุขโต วิทยากรชานา์การพิเศษ กลุ่มงานบริการวิชาการ 2 สานักวิชาการ 1 2 3 4
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.3 แนวทางการส่งเสริมการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) ของประเทศไทย ยุทธศาสตรการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกในภาคขนส่งสาหรับ คนพิการและผู้สูงอาย นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2560 -2565) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2560-2565) ยุทธศาสตรที่ ๒ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความ สะดวก โดยยุทธศาสตร ฯ ดังกล่าว ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านนโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับการจัดสิ่งอานวยความสะดวกและการให้บริการ คนพิการและผู้สูงอายุ 2) ด้านการปรับปรุงโครงสร้างทางภายภาพสิ่งอานวยความสะดวก แลยานพาหนะ สาหรับคนพิการและผู้สูงอายุ 3) ด้านการฝึกอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการจัดสิ่งอานวยความสะดวกและการให้บริการคน พิการและผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ กาหนดวิสัยทัศนว่า “คนพิการเข้าถึงสิทธิได้จริง ดารงชีวิตอิสระ ในสังคมอยู่เย็น เป็นสุขร่วมกันอย่างยั่งยืน ” พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อรองรับการท่องเที่ยวที่ปราศจากอุปสรรคสาหรับคนทั้ง มวล ( Tourism for All) ได้แก่ ห้องน้าคนพิการ ทางลาด ราวจับ เป็นต้น
4) ด้านการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้อานวยความสะดวกแก่คนพิการและ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.3 แนวทางการส่งเสริมการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) ของประเทศไทย พระราชบั์์ัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติ พระราชบั์์ัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ .ศ. 2550 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. 2556 มติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ มติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ กาหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับความคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ การอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการบริการสาธารณะอื่น กาหนดให้ คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชนได้จากสิ่งอานวยความสะดวกอันเป็น สาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐในด้านต่างๆ เห็นชอบให้ หน่วยงานราชการ สารวจ และ จัดทาสิ่งอานวยความสะดวกให้คนพิการ เข้าถึงได้ มติคณะรัฐมนตรี เห็นชอบสนับสนุนมาตรการผลักดันและจัดทาสิ่งอานวยความสะดวกให้คนพิการและทุกคนใน สังคมเข้าถึงและใช้ประโยชนได้ โดยให้ สานักงบประมาณ สนับสนุนงบประมาณแก่ หน่วยงานราชการที่ขอรับการ สนับสนุนแห่งละ 300,000 บาท
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.3 แนวทางการส่งเสริมการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) ของประเทศไทย กระทรวงมหาดไทยได้ออกกฎกระทรวง ตามพระราชบั์์ัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. 2543 กฎกระทรวง กระทรวงคมนาคม กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ ๒๕๔๘ โดยกาหนดให้ สถานีขนส่งมวลชน ที่มีพื้นที่ส่วนใดของอาคารที่เปิด ให้บริการ แก่บุคคลทั่วไปเกิน ๓๐๐ ตารางเมตร ต้องจัดให้มี สิ่งอานวยความสะดวก สาหรับคน พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตามพระราชบั์์ัติส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ ศ . 2550 กาหนดลักษณะ หรือ การจัดให้มีอุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกหรือบริการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ และ บริการขนส่ง เพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.4 การเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง และ TOD หรือ Transit Oriented Development + ปรับปรุง ประสิทธิภาพของระบบ ขนส่งมวลชน การเลือกใช้ของประชาชน จานวนผู้โดยสาร เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น สูง รายได้ของการรถไฟ สูงประสิทธิภาพของระบบ ขนส่งมวลชน การเลือกใช้ของประชาชน จานวนผู้โดยสาร ต่า ลดลงลดลง ปัจจุบัน รายได้ของการรถไฟ ต่า ความสะดวกสบาย ในการเข้าถึงขนส่งทางราง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 แนวคิดการขนส่ง ยั่งยืน ส่งเสริม 1 2 3 4 การเดินเท้า การใช้จักรยาน การใช้บริการ รถโดยสาร การใช้รถยนต อ้างอิงจาก : Givoni and Retveld, 2007, Brons et al., 2019 และ Selmer and Hale, 2010) วิธีการหลักในการเข้าถึงสถานีขนส่งมวลชน - ค่าใช้จ่ายสูง ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มปริมาณการจราจร - สร้างมลภาวะ - สะดวก รวดเร็วกว่า ขนส่งสาธารณะ พื้นที่รับ ส่ง พื้นที่จอดรถ NEED NEED NEED NEED ความสะดวก - ความปลอดภัย - ค่าโดยสาร - การรอรถ ความตรงต่อเวลา ลดปริมาณการจราจร - ลดมลภาวะบนถนน ขาดความสะดวกสบาย - เสี่ยงต่อการสู์หาย เส้นทางเข้าสู่สถานีไม่ ปลอดภัย - จัดระบบตั๋วร่วม จัดตารางเวลา - เพิ่มประสิทธิภาพ - เพิ่มความปลอดภัย ลดปริมาณการจราจร - ลดมลภาวะบนถนน มีประโยชนต่อสุขภาพ ลดการใช้พลังงานน้ามัน ลดปริมาณการจราจร - ลดมลภาวะบนถนน มีประโยชนต่อสุขภาพ ลดการใช้พลังงานน้ามัน - ลดเวลา ค่าใช้จ่าย - ความสะดวก ความปลอดภัย ขาดความสะดวกสบาย เสี่ยงต่อการสู์หาย - เส้นทางเข้าสู่สถานีไม่ ปลอดภัย การป้องกันการสู์หาย ส่งเสริมความเป็นธรรมในสังคม เนื่องจากผู้โดยสารจานวนมาก ไม่มีรถยนต์ (Cervero et al;., 2012) ความสาเร็จของการขนส่งมวลชนขึ้นอยู่กับการเข้าถึง สถานีด้วยการเดินเท้า (Otak, 2003) 7.4 การเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง และ TOD หรือ Transit Oriented Development
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ โดยรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) คือ การใช้ประโยชนที่ดิน แบบผสมผสานและการ ขนส่ง เน้นการพัฒนาพื้นที่ในรัศมี 500 เมตร โดยรอบสถานี ความหมาย การวางผัง (Reginal Transport District, 2003 Dyett (1990) สานักงาน แหล่งงาน ที่อยู่อาศัย พื้นที่เปิดโล่ง พื้นที่สีเขียว พื้นที่พาณิชยกรรม ตัวอย่างการวางผังตามแนวคิด TOD ข้อดีของแนวคิด TOD 1. ลดการใช้พลังงานน้ามันอย่างสิ้นเปลือง 2. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี 3. ส่งเสริมความเสมอภาคในสังคม 4. พื้นที่โดยรอบถูกพัฒนา (ปรับปรุงเพิ่มเติมจาก Calthorpe & Associate โดย Supaporn Kaewko Leopairojana) อ้างอิงจาก : การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง: บทเรียนจากสถานีรถไฟฟ้าแอรพอรต เรล ลิงก บ้านทับช้าง กรุงเทพฯ โดย สุภาพร แก้วกอ เลียวไพโรจน 7.4 การเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง และ TOD หรือ Transit Oriented Development
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ ที่ดิน ผังเมืองรวม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2549 (สานักผังเมือง กทม., 2549) ผังเมืองรวม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2556 (สานักผังเมือง กทม., 2556) อนุญาตให้ก่อสร้าง อาคารที่พักอาศัยที่ มีความหนาแน่นสูงหรืออาคารที่อยู่อาศัย รวม อาคารพาณิชยกรรม ตลาด อาคาร สานักงาน ศูนยประชุม อาคารแสดงสินค้า หรือนิทรรศการ ในพื้นที่ที่กาหนดให้เป็น การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย (ย.3-ย.10) อนุญาตให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ พาณิชยกรรมชุมชนและชุมชน ย่อย (พ.1-พ.2) ตั้งอยู่ภายในระยะ จากสถานีรถไฟขนส่งมวลชน 500 เมตร การประยุกต์ใช้ TOD ในประเทศไทย 7.4 การเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง และ TOD หรือ Transit Oriented Development
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.5 คานิยาม และ หลักการของ Universal Design ใช้งานได้กับทุกคน (Equitable Use) ความยืดหยุ่นในการใช้ งาน (Flexibility in Use) ไม่ซับซ้อน ใช้งานง่าย (Simple and Intuitive Use) ข้อมูลที่เข้าใจได้ง่าย (Perceptible Information) ลดความผิดพลาด (Tolerancefor Error) ไม่ต้องออกแรงมาก (Low PhysicalEffort) ขนาดและพื้นที่ในการเข้าไปใช้งาน (Size and Space for Approach and Use) คือ การออกแบบโดยคานึงถึง ทุกคน ทุกเพศ และ ทุกวัย โดยมี จุดประสงคเพื่อให้การดาเนินชีวิต มีความสะดวกสบายและ ปลอดภัยอย่างทั่วถึงและเท่า เทียมกัน UNIVERSAL DESIGN การออกแบบเพื่อคนทั้งมวลชน อ้างอิงจาก : การออกแบบเพื่อมวลชน Universal Design โดย ทิพวัลย ทองอาจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.6 ความจาเป็นของการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) 4.การเป็นที่ยอมรับใน เวทีโลก ถ้ายังไม่มีอารยสถาปัตยในการ ปรับปรุง และพัฒนาบ้านเมือง เราก็ อาจจะไม่เป็นที่ยอมรับในเวทีโลก เพราะนั่นเท่ากับว่าเราไม่ดูแลไม่ใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ รวมถึงผู้ป่วยพัก ฟื้น ยังมีการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐาน ของมนุษย ทาให้บ้านเราถูกมองได้ ว่าเป็นกลุ่มประเทศที่ยังล้าหลัง 3.กฎหมายบังคับ กฎหมายส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กฎกระทรวงมหาดไทย ปี 2548 และ กฎกระทรวงการพัฒนาสังคม มีผลบังคับใช้ ให้การออกแบบทาตึก อาคาร และสถานที่สาธารณะทุกแห่ง จะต้องมีอา รยสถาปัตย์ คือ ต้อง จัดทาสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ 1.ผู้สูงอายุกาลัง สูงขึ้นเรื่อยๆ ประเทศไทยกาลังเดินไปสู่ความเป็น สังคมผู้สูงอายุ มนุษยจะมีอายุยืน ยาวขึ้นและต้องการสิ่งอานวยความ สะดวกต่างๆ 0 500 1000 1500 แนวโน้มการเติบโตของผู้สูงวัย ใน 10 ปี ข้างหน้า 2.ผู้พิการในสังคม มากขึ้น เนื่องจากคนพิการ ในอนาคตจะมี จานวนเพิ่มมากขึ้น โดยที่ความ พิการ ส่วนให์่ไม่ได้มาจากพิการ โดยกาเนิดแต่เป็นความพิการที่มา จากความเจ็บไข้ได้ป่วย และอุบัติเหตุ รวมถึงความพิการที่มาจากสภาพ ความแก่ชรา
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 01 มาตรฐานการออกแบบพื้นผิวต่างสัมผัสเพื่อการเตือนภัย Tactile Surface ที่ถูกนามาใช้แบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ • ทางขึ้น และ ทางลง • พื้นด้านหน้าและด้านหลังของพื้นที่ต่างๆ อ้างอิงจาก : https://fenntarkoon.wordpress.com/tag/directional tactile/ Guidebook for the proper installation tactile surface indicators (Braille block) : https://www.iatss.or.jp/common/pdf/research/h966_e.pdf • พื้นที่กว้างๆ ใช้ปลายไม้เท้าแตะขอบ ผนังอาคารไม่ได้ • นาทางไปสู่ป้ายให้ข้อมูล • ติดตั้งบริเวณจุดทางแยก เปลี่ยนทิศทาง พื้นผิวสัมผัสชนิดเตือน (Hazard Warning Tactile/ Block) พื้นผิวสัมผัสชนิดนาทาง (Guiding Tactile/ Block) พื้นผิวสัมผัสชนิดเปลี่ยนทิศทาง (Positional Tactile/ Block)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 02 มาตรฐานการออกแบบห้องน้าในสถานีรถไฟ Tactile Surface ที่ถูกนามาใช้แบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ มาตรฐานห้องน้าที่เกี่ยวข้อง HAS ‘WC OK’ กระทรวงสาธารณะสุข มีนโยบายใน การพัฒนาส้วมไทยให้ได้มาตรฐาน โดยเน้นเป้าหมาย 3 เรื่อง • ถูกหลักสุขาภิบาล • ไม่มีกลิ่นเหม็น • มีวัสดุอุปกรณอานวยความสะดวก • การกักเก็บกากหรือบาบัดสิ่งปฏิกูลต้องถูกต้องและมีคุณภาพ ความสะอาด (Healthy) เพียงพอ (Accessibility) ปลอดภัย (Safety) ต้องมีส้วมให้เพียงพอแก่ความต้องการของผู้ใช้ รวมถึงผู้พิการ ผู้สูงวัย ห์ิงมีครรภ และส้วมต้องพร้อมใช้ งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ • ผู้ใช้ต้องได้รับความปลอดภัย • ไม่เปลี่ยว • มีแสงสว่างเพียงพอ
อ้างอิงจาก : https://www.mots.go.th/News view.php?nid=6697 https://www.stdtiles.com/ เกณฑมาตรฐาน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ความสะอาด ( Healthy : H ) 1 พื้น ผนัง เพดาน โถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ ที่กดโถปัสสาวะ สะอาด ไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ 2 น้าใช้สะอาด เพียงพอ และไม่มีลูกน้ายุง ภาชนะเก็บกักน้า ขันตักน้า สะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ 3 กระดาษชาระเพียงพอต่อการใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ (อาจจาหน่ายหรือบริการฟรี) หรือสายฉีดน้าชาระที่ สะอาด อยู่ในสภาพดีใช้งานได้ 4 อ่างล้างมือ ก๊อกน้า กระจก สะอาด ไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดีและใช้งานได้ 5 สบู่ล้างมือ พร้อมให้ใช้ ตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ 6 ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปิด อยู่ในสภาพดี ไม่รั่วซึม ตั้งอยู่ในบริเวณอ่างล้างมือ หรือบริเวณใกล้เคียง 7 มีการระบายอากาศดี และ ไม่มีกลิ่นเหม็น 8 สภาพท่อระบายสิ่งปฏิกูลและถังเก็บกักไม่รั่วแตกหรือชารุด 9 จัดให้มีการทาความสะอาด และระบบการควบคุมตรวจตรา เป็นประจา ความเพียงพอ (Accessibility : A) 10. จัดให้มีส้วมนั่งราบสาหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย ห์ิงตั้งครรภและประชาชนทั่วไปอย่างน้อยหนึ่งที่ 11.ส้วมสาธารณะพร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ ความปลอดภัย ( Safety : S) 12.บริเวณที่ตั้งส้วมต้องไม่อยู่ที่ลับตา/เปลี่ยว 13. กรณีที่มีห้องส้วมตั้งแต่ 2 ห้องขึ้นไป ให้แยกเป็นห้องส้วมสาหรับชาย ห์ิง โดยมีป้ายหรือสั์ลักษณที่ชัดเจน 14. ประตู ที่จับเปิด ปิด และที่ล็อคด้านใน สะอาด อยู่ในสภาพ ดี ใช้งานได้ 15. พื้นห้องส้วมแห้ง 16. แสงสว่างเพียงพอ สามารถมองเห็นได้ทั่วบริเวณ 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
อ้างอิงจาก : https://www.mots.go.th/News view.php?nid=6697 https://intrend.trueid.net/ 02 มาตรฐานการออกแบบห้องน้าในสถานีรถไฟ ตามความในมาตรา 37 วรรคหนึ่ง และมาตรา 45 แห่ง พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 เกี่ยวกับสิ่งอานวยความสะดวกบนสถานีรถไฟ พื้นที่กว้าง มีพื้นที่เก็บรถเข็น มีทางลาดมีราวจับ ที่แข็งแรง วัสดุพื้นไม่ลื่น อุปกรณ์ในห้องน้า เหมาะสม ประตูบาน เลื่อนเปิดออก ด้านนอก มีสัญญาณ เตือนภัย 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
อ้างอิงจาก : หลักเกณฑและแบบมาตรฐานโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกการขนส่งสาธารณะเอื้อต่อคนพิการ เด็ก และผู้สูงอายุ ของกระทรวงคมนาคม http://web1.dep.go.th/sites/default/files/files/services/NEP8 11.pdf และ TheTripPacker • แสดงเส้นทางไปยังสถานี • อ่านออกง่าย • ไม่กีดขวางทางเดินเท้า • ให้ข้อมูลชัดเจน • ชื่อสถานีเห็นเด่นชัด • อย่างน้อย 1 ป้าย ต่อทางเข้า 1 เส้นทาง • ความสูงของตัวอักษรไม่ควรน้อยกว่า 75 มิลลิเมตร ป้ายสัญลักษณ์ 1 2 3 4 5 6 7 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 03 ป้ายแสดงเส้นทางและป้ายสัญลักษณ์
ผ อ้างอิงจาก : พระราชบั์์ัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ ศ. 2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556และ รวมกฎหมาย ประกาศ ระเบียบที่ออกตามความในพระราชบั์์ัติผู้สูงอายุพ.ศ 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พศ 2553 01 สั์ลักษณคน พิการสากล 02 สั์ลักษณคนพิการ ทางการเห็น 03 สั์ลักษณคนพิการทางการ ได้ยินหรือสื่อความหมาย 04 สั์ลักษณคนพิการทาง จิตใจหรือพฤติกรรม สติปั์์า ออทิสติก 05 สั์ลักษณ ผู้สูงอายุสากล 01 จุดช่วยเหลือ คนพิการ 02 จุดช่วยเหลือคนพิการ ทางการมองเห็น 03 จุดช่วยเหลือคนพิการ ทางการได้ยิน 04 เครื่อง TTRS 05 จุดช่วยเหลือคน พิการทางจิตใจ ป้ายสัญลักษณ์เกี่ยวกับคน พิการและผู้สูงอายุ ป้ายสัญลักษณ์ภาษาเพื่อแสดง จุดให้ความช่วยเหลือ คนพิการ 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 03 ป้ายแสดงเส้นทางและป้ายสัญลักษณ์
ผ อ้างอิงจาก : https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/Education_Report/2558/Project1 Older/MunualSimbol.pdf 01 ลิฟตสาหรับคน พิการ 02 โทรศัพทที่คนพิการ เข้าถึงได้ 03 ที่นั่งสารองสาหรับคน พิการ 04 ที่นั่งสารองสาหรับคนพิการ และผู้สูงอายุ 03 ป้ายแสดงเส้นทางและป้ายสัญลักษณ์ 01 ห้องน้าคน พิการ (ชาย) 02 ห้องน้าคนพิการ (ห์ิง) 03 ห้องน้าสาหรับผู้สูงอายุที่ สามารถใช้กับคนพิการได้ 2.1 อุปกรณ์และสิ่งอานวย ความสะดวกในการเดินทาง 2.2 ห้องน้า 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
ผ อ้างอิงจาก : https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/Education_Report/2558/Project1 Older/MunualSimbol.pdf 01 ที่จอดรถสาหรับ คนพิการเท่านั้น 02 ที่จอดรับ ส่งสาหรับ คนพิการเท่านั้น 03 ที่จอดรถสาหรับผู้สูงอายุ เท่านั้น 03 ป้ายแสดงเส้นทางและป้ายสัญลักษณ์ 01 ทางเข้าสาหรับคน พิการหรือผู้ใช้รถเข็น 02 ทางออกสาหรับคน พิการหรือผู้ใช้รถเข็น 03 เส้นทางหรือพื้นที่ที่ คนพิการหรือใช้ รถเข็นเข้าถึงได้ 2.3 ที่จอดรถ 2.4 ข้อมูลเส้นทางสาหรับ คนพิการ 04 เส้นทางไปสู่ทางลาด 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
อ้างอิงจาก : https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/Education_Report/2558/Project1 Older/MunualSimbol.pdf https://www.blind.or.th/centre/intoProduct/3/?id=72 04 ป้ายที่มีอักษรเบรลล์ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้อ้างมาตรฐานการออกแบบ อาคาร สถานที่ และสิ่งอานวยความสะดวก สาหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพและคนชรา กรมโยธาธิการและผังเมือง (มยผ. 6301) เกี่ยวกับป้ายที่มีอักษรเบรลลไว้ดังนี้ ความหนาตัวอักษร ความหนา : ความสูง 1 : 5 1 : 10 ความสูงตัวอักษร ความกว้าง : ความสูง 3 : 5 1 : 1 รายละเอียดตัวอักษร ความสูงกรอบ >15 cm. รายละเอียดรูปภาพ ตัวอักษรต้องอยู่ข้าง หรือใต้ภาพ พื้นหลังไม่สะท้อนแสง สีเข้มแตกต่างกันชัดเจน 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
อ้างอิงจาก : https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/Education_Report/2558/Project1 Older/MunualSimbol.pdf 04 ป้ายที่มีอักษรเบรลล์ ตาแหน่งการติดตั้ง ติดตั้งป้ายที่ผนังทางด้านกลอนประตู ประตูบานคู่ให้ติดตั้งผนังทางด้านขวา กรณีไม่มีพื้นที่ให้ติดตั้งกับ ประตู โดยต้องมีพื้นที่ ต้องอยู่นอกเหนือเขตแนว การเปิด-ปิดประตู ป้ายต้องสูงจากพื้น โดยวัดจากฐานของตัวอักษร กว้าง >0.45 ม. ยาว >0.45 ม. 45 องศา 1.20 ม.> ความสูง > 1.50 ม. 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
ผ อ้างอิงจาก : https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/Education_Report/2558/Project1 Older/FinalReport.pdf 05 สัญญาณเสียง สัญญาณขอความช่วยเหลือ ต้องแสดงผลบริเวณ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย การประกาศควรมีเสียงดังและสามารถได้ยินชัดเจน ประกาศข้อมูลที่เป็นประโยชน์สาหรับคนพิการด้าน การมองเห็น กฎกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ในกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2555 กาหนดอุปกรณ สิ่งอานวยความ สะดวก และบริการสาหรับ คนพิการทั้งสิ้น 23 รายการ โดยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยมีดังนี้ 1 2 3 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
ผ 06 บริการเครื่องยกเก้าอี้ ตาม มาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๗ รถไฟตามข้อ ๔ (๓) ให้มีอุปกรณ สิ่งอานวยความสะดวก หรือบริการเพื่อให้คนพิการ สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชนได้ นั่นคือ อุปกรณ์นาพาคนพิการหรืออุปกรณ์ยกรถเข็นคนพิการขึ้นและลงจากรถ มีลักษณะดังนี้ มีแป้นยกที่สามารถรับน้าหนักคนพิการ และรถเข็นคนพิการได้ 2 1 3 มีระบบป้องกันมิให้รถเคลื่อนที่ขณะที่ อุปกรณ์กาลังทางาน มีสัญญาณเสียงหรือสัญญาณไฟ กระพริบแสดงขณะที่ระบบกาลังทางาน อ้างอิงจาก : https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/Education_Report/2558/Project1 Older/FinalReport.pdf http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2012/06/X12264492/X12264492.html 7.7 มาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสถานีรถไฟ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
ในประเทศ อ้างอิงจาก : http://www.braille-cet.in.th/Braille-new/?q=news-12643 https://www.baanlaesuan.com/243284/dontmiss/universal design 2 1. สถานีกลางบางซื่อ BANG SUE GRAND STATION นายเอกรัช ศรีอาระยันพงษ ผู้อานวยการศูนยประชาสัมพันธ การ รถไฟแห่งประเทศไทย ได้มีการชี้แจงว่า สถานีกลางบางซื่อได้มีการ นาหลักอารยสถาปัตย์ หรือ Universal Design เข้ามา ใช้ออกแบบพื้นที่ภายในและภายนอกสถานี ความเสมอภาค ความเรียบง่ายต่อการใช้งาน ข้อมูลชัดเจนสาหรับการใช้งาน ความยืดหยุ่น 7.8 โครงการ หรือ สถานีตัวอย่างที่มีการออกแบบด้าน Universal Design 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7
ในประเทศ อ้างอิงจาก : https://www.baanlaesuan.com/243284/dontmiss/universal design 2 การทุ่นแรง ความกว้างของพื้นที่ เหมาะสมกับการใช้งาน ความปลอดภัย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.8 โครงการ หรือ สถานีตัวอย่างที่มีการออกแบบด้าน Universal Design
ต่างประเทศ 2. Dagachi Naranhi : Busan Station อ้างอิงจาก : https://www.voanews.com/a/6116985.html สถานีรถไสาหรับอานวยความสะดวกแก่ผู้พิการทางสายตา โดยจะติดตั้งที่บริเวณชานชาลา ลิฟต และทางออกฟปูซาน เกาหลีใต้ ได้มีการนาเทคโนโลยี “Station” 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.8 โครงการ หรือ สถานีตัวอย่างที่มีการออกแบบด้าน Universal Design
ต่างประเทศ อ้างอิงจาก : https://kiji.life/universal design japan/ 3. Universal Design ในประเทศญี่ปุ่น Multiple-purpose Toilet - Non-step Bus - Priority Parking Priority Seat 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.8 โครงการ หรือ สถานีตัวอย่างที่มีการออกแบบด้าน Universal Design
ต่างประเทศ อ้างอิงจาก : https://kiji.life/universal design japan/ 3. Universal Design ในประเทศญี่ปุ่น Hazard Warning Tactile Block Priority Card Slot Barrier Free Train station 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.8 โครงการ หรือ สถานีตัวอย่างที่มีการออกแบบด้าน Universal Design
ต่างประเทศ อ้างอิงจาก : https://kiji.life/universal design japan/ 3. Universal Design ในประเทศญี่ปุ่น Smooth footpath Ramp Priority park slot 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง 7 7.8 โครงการ หรือ สถานีตัวอย่างที่มีการออกแบบด้าน Universal Design
WASD ARCHITECT 8 เอกสารอ้างอิงของ โครงการวิจัย
วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2558 1 รูปแบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการของการรถไฟแห่งประเทศไทย เผยแพร่โดย คณะรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ 4 การเข้าถึงบริการด้านคมนาคมของผู้พิการ โดย อาริยา สุขโต วิทยากรชานา์การพิเศษ 9 มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย/ข้อเสนอแนะต่อการดาเนินงานด้านคนพิการของกระทรวงคมนาคม เรื่อง การปรับสภาพแวดล้อมและพัฒนาบริการให้ทุกคนรวมถึงคน พิการเข้าถึงและใช้ประโยชนได้อย่างเท่าเทียม. จาก http://tddf.or.th/library/detail.php?contentid=0030&postid=0003967&currentpage=2 10 การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการเข้าถึงสถานีระบบขนส่งมวลชนทางราง : บทเรียนจากสถานีรถไฟฟ้าแอรพอรต เรล ลิงก บ้านทับช้าง กรุงเทพฯ โดย สุภาพร 6 2 กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 3 แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคมภายใต้ (ร่าง) ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี พ.ศ.2560-2579 5 กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2555–2559 7 อารยสถาปัตยในสังคมไทย : ศึกษากรณีผู้สูงอายุ โดย นางสาวสรา์ภัทร อนุมัติราชกิจ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย 8 ข้อแนะนาการออกแบบสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับทุกคน : https://download.asa.or.th/03media/04law/ud/BAEDRFA.pdf 8 เอกสารอ้างอิงของโครงการวิจัย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT
WASD ARCHITECT 9
ประโยชนที่คาดว่าจะ ได้รับ
1 2 3 ได้ทราบปัญหาและข้อจากัดในการ พัฒนา ของสถานีรถไฟและการ เข้าถึง ที่ยังขาดการใช้ หลักการ ออกแบบเพื่อนคนทั้งมวล ( Universal design) ไม่ตรงตาม มาตรฐาน และไม่ส่งเสริ มความเท่า เทียมของผู้คน ช่วยส่งเสริมความเท่าเทียมผ่าน การปรับปรุงการใช้งานการ เข้าถึงและพื้นที่ภายในสถานีรถไฟ โดยไม่มีการแบ่งแยก เพศ อายุ หรือความแตกต่างทางกายภาพ ได้มาซึ่งแนวทางปรับปรุงการ เข้าถึงและสถานีรถไฟหัวตะเข้ โดยใช้หลักการออกแบบเพื่อคน ทั้งมวล ( Universal design) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการ ทดลอง เก็บข้อมูล
1 2 3 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ดาเนินการ ชื่อโครงการ แนวทางการ ออกแบบปรับปรุง การเข้าถึงและ สถานีรถไฟหัวตะเข้ ให้ได้มาตรฐาน ภายใต้หลักการ ออกแบบเพื่อคนทั้ง มวล กาหนด วัตถุประ สงค์ และ ขอบเขต การวิจัย กาหนด กรอบ แนวคิด สมมุติฐาน ออกแบบ การวิจัย ทบทวน วรรณกรรม เก็บข้อมูล สรุป ข้อมูล วิเคราะ ห์ข้อมูล นาเสนอ แนวทางการ ออกแบบ นักวิชาการและ ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข สรุปผล รายงาน การวิจัย Infographic เผยแพร่ วิธีการดาเนินการวิจัย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล ลงพื้นที่สารวจและ สอบถามเจ้าหน้าที่ เพื่อระบุปั์หา
กาหนดวัตถุประสงค์ สรุปปัญหา ตั้งสมมติฐาน ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง วิธีวิจัย/วิเคราะห์ข้อมูล สรุปข้อมูล ลงสารวจพื้นที่และสอบถามเจ้าหน้าที่สถานี เพื่อระบุปั์หาที่ต้องการการแก้ไข เมื่อปรับปรุงสถานีรถไฟและการเข้าถึงตามแนวทางการออกแบบตามหลักการ UD TOD และมาตรฐาน การรถไฟแล้ว ผู้ใช้งานทุกคนจะได้รับความสะดวกสบายและได้รับความพึงพอใจมากขึ้น ตัวแปรต้น แนวทางการปรับปรุงสถานีตามหลัก UD TOD และมาตรฐานการรถไฟ ตัวแปรตาม ความสะดวกและความพึงพอใจในการใช้งาน พื้นที่สถานีรถไฟและสะดวกในการเข้าถึง ขั้นตอนการวิเคราะหแนวคิด ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ ด้านทฤษฎีแนวคิด วรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง 1 2 วิธีการดาเนินการวิจัย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล พบว่าสถานีรถไฟไม่ได้รับการปรับปรุงตามแผนยุทธศาสตร ทาให้ไม่รองรับผู้มาใช้งาน เข้าถึงได้ไม่สะดวก และไม่รองรับ การใช้งานตามหลัก Universal Design และมาตรฐานการ รถไฟ รวมถึงขาดขาดการพัฒนาให้ทันสมัย
สรุปข้อมูล นาเสนอแนวทางการออกแบบ นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ (Delphi Technique) ปรับปรุงแก้ไข สรุปผล รายงานการวิจัย เผยแพร่ โครงงานวิจัย 1. วิธีการออกแบบสถานีรถไฟตามมาตรฐานรถไฟไทย 2. วิธีการออกแบบพื้นที่สาธารณะตามหลัก Universal Design 3. แนวทางการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีขนส่งระบบรางของ TOD 4. วิธีการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟให้คนพิการทุกประเภทและผู้สูงอายุเข้าถึงและใช้ประโยชนได้ 5. ลาดับขั้นตอนการพัฒนา STANDARD ออกแบบตามมาตรฐาน และงบประมาณที่รัฐ สนับสนุน MEDIUM เพิ่มคุณภาพของวัสดุ และ สิ่งอานวยความสะดวก HIGH นาเทคโนโลยีที่เอื้ออานวย ความสะดวกต่อผู้ใช้งาน มาใช้ให้ทันสมัยมากขึ้น 3 วิเคราะห์ข้อมูล Infographic 2 วันวิสข เนียมปาน ( แฟนพันธุแท้รถไฟไทย) ผศ.ปริ์์า ชูแก้ว ( นักอนุรักษรถไฟไทย) ผศ. ดร.ชุมเขต แสวงเจริ์ ( หัวหน้าศูนย ออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน) รศ.ไตรรัตน จารุทัศน ( หัวหน้าศูนย เชี่ยวชา์เฉพาะทางการออกแบบเพื่อทุกคน) น.ส. เพ็์ศรี เหลืองอร่ามศรี ( นักวิเคราะหนโยบายและแผนชานา์การ ) วิธีการดาเนินการวิจัย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
STANDARD ออกแบบตามมาตรฐาน และงบประมาณที่รัฐ สนับสนุน MEDIUM เพิ่มคุณภาพของวัสดุ และ สิ่งอานวยความสะดวก HIGH นาเทคโนโลยีที่เอื้ออานวย ความสะดวกต่อผู้ใช้งาน มาใช้ให้ทันสมัยมากขึ้น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
สถานที่ทาการเก็บข้อมูล ทางเข้าสถานีถนนหลวงพรตพิทยพยัต ที่จอดรถยนต ทางขึ้นลงจุดซื้อตั๋ว จุดขายตั๋วและพื้นที่พักคอย ห้องน้า และห้องน้าคนพิการ ชานชลา ที่นั่งบริเวณชานชลา การขึ้น ลงรถไฟ ป้ายแสดงข้อมูลการเดินทาง ป้ายเตือนอันตรายจากรถไฟ ป้ายแสดงข้อมูลพื้นที่ภายในโครงการ สะพานลอยข้ามรางรถไฟ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 0 2 1 2 3 4 5 8 7 10 11 500 ม. พื้นที่ภายในสถานี และพื้นที่ ในรัศมี 500 เมตร จาก สถานีรถไฟหัวตะเข้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
วิธีการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ณ พื้นที่ภายในสถานีรถไฟหัวตะเข้ และ พื้นที่ในรัศมีไม่เกิน 500 ม. จากสถานีรถไฟหัวตะเข้ 60% 25% 15% 100 ตัวอย่าง วิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล 1. การสังเกต 2. การสัมภาษณ์ 3. แบบสอบถาม 4. การใช้ข้อมูลจากเอกสาร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
วิธีการรวบรวมข้อมูล 1. การสังเกต ใช้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Nonparticipant observation) ซึ่งใช้ใน การสังเกตปั์หา และข้อจากัดในการใช้ งานพื้นที่ของสถานีรถไฟและการเข้าถึง สถานีรถไฟหัวตะเข้ โดยผู้สังเกตอยู่วงนอก กระทาตนเป็นบุคคลภายนอก 3. การทาแบบสอบถาม ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล โดยการนาแบบสอบถามให้ผู้ตอบ ตอบด้วยตนเอง ณ สถานีรถไฟ และพื้นที่ในรัศมี 500 ม. จากสถานี รถไฟหัวตะเข้ 4. การใช้ข้อมูลจากเอกสาร ศึกษาจากเอกสารต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ บทความทาง วิชาการ โครงงานวิจัย ข่าว หนังสือพิมพ สื่อสิ่งพิมพของการ รถไฟแห่งประเทศไทย และกฎหมาย 2.1 การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) 2. การสัมภาษณ์ 2.2 การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Non structured Interview) กาหนดคาถามไว้ล่วงหน้า เลือกใช้วิธีการนี้กับ - ผู้บริหารสถานี และพนักงานสถานีรถหัวตะเข้ - นักวิชาการจานวน 5 ท่าน ? ด้านที่ควรปรับปรุงคุณภาพพื้นที่ภายในสถานีและการเข้าถึง สถานีตามหลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลและมาตรฐานการรถไฟ ? ปั์หาและข้อจากัดในการพัฒนาพื้นที่ เป็นวิธีการที่เลือกใช้กับผู้ใช้บริการสถานีรถไฟ และผู้ที่ใช้งาน บริเวณข้างเคียง พื้นที่โดยรอบในรัศมี 5 00 ม . 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
วิธีการนาข้อมูลไปใช้งาน วัตถุประสงค์ การสังเกต การสัมภาษณ์ แบบสอบถาม การใช้ข้อมูล จากเอกสาร การสัมภาษณแบบมี โครงสร้าง การสัมภาษณแบบ ไม่มีโครงสร้าง 1 . เพื่อ สารวจสภาพพื้นที่ ปัญหา ข้อจากัด บริเวณสถานี รถไฟหัวตะเข้ในรัศมี 500 ม . และพื้นที่ภายในสถานีที่จะ นามาสู่การกาหนดแนวทางเสนอแนะ 2. เพื่อ วิเคราะห์และสังเคราะห์ปัญหา ข้อกาจัด ของ สถานีรถไฟหัวตะเข้ในรัศมี 500 ม . และพื้นที่ภายในสถานี 3 . เพื่อ เสนอแนวทางการออกแบบปรับปรุง การเข้าถึง สถานีและพื้นที่ภายในสถานีรถไฟหัวตะเข้ ให้ได้มาตรฐาน ภายใต้หลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล และได้ตาม มาตรฐานการออกแบบของรถไฟไทย 4 . เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เหมาะสมต่อการนาเสนอการเพิ่มสิ่ง อานวยความสะดวกพื้นฐานสาหรับผู้ใช้บริการ ให้ ครบถ้วนตามหลักหลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล และ ได้ตามมาตรฐานการออกแบบของรถไฟไทย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
ตัวอย่างแบบฟอร์มประกอบการสังเกต 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
ตัวอย่างแบบฟอร์มประกอบการสัมภาษณ์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
ตัวอย่างแบบฟอร์มประกอบแบบสอบถาม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 10 วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง เก็บข้อมูล
WASD ARCHITECT 11 ระยะเวลาในการทาวิจัยและ แผนการดาเนินงานตลอด การดาเนินการวิจัย
ขั้นตอนการทางาน เดือน กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1. กาหนดปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจัย 2. กาหนดกรอบแนวคิด ทฤษฎี สมมุติฐาน และออกแบบวิธีการเก็บข้อมูล 3. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 4. เก็บรวบรวมข้อมูล 5. สรุปข้อมูล 6. วิเคราะห์ข้อมูล 7. จัดทาแนวทางการออกแบบปรับปรุง 7. ตรวจสอบแนวทางโดยนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ 8. ปรับปรุงแก้ไข 9. สรุปผล 10. รายงานการวิจัย และInfographic 11. เผยแพร่โครงการวิจัย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 11 ระยะเวลาในการทาวิจัยและแผนการดาเนินงานตลอดการดาเนินการวิจัย WASD ARCHITECT
WASD ARCHITECT 12 ผลสาเร็จ และความ คุ้มค่าของการวิจัยที่ คาดว่าจะได้รับ
1 2 3 4 จากการสารวจพื้นที่สถานี รถไฟหัวตะเข้ และพื้นที่ โดยรอบในรัศมี 500 ม. พบว่ามีปัญหา 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านมาตรฐานการออกแบบ 2. ด้านงบประมาณ 3. ด้านพื้นที่ 4. ด้านบุคคลากร ได้แนวทางการออกแบบที่ รองรับการใช้งานตามหลัก Universal Design และ คุ้มค่าตามงบประมาณการ พัฒนา ได้ข้อมูลที่เหมาะสมเพื่อ นาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา ด้วย Infographic และ รายการงานวิจัย ต่อการใช้ งานและมีสิ่งอานวยความ สะดวกที่ครบถ้วนตาม หลักการออกแบบ ทราบปัญหาและข้อจากัด เพื่อ หาแนวทางแก้ไข ปัญหา ที่พบ ภายในสถานีรถไฟหัวตะเข้และ พื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟหัว ตะเข้ในรัศมี 500 ม. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 WASD ARCHITECT 12 ผลสาเร็จ และความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ
แนวทางการออกแบบปรับปรุง สถานีรถไฟหัวตะเข้ WASD ARCHITECT 13
ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน ป้ายบอกทางปัจจุบันมีความไม่ชัดเจน และมีขนาดเล็ก ทาให้มองจากระยะไกลได้ยาก และมีจานวนจุด การติดตั้งที่ค่อนข้างน้อย รวมถึง ขาดการบารุงรักษา ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่เดิมที่ต้องแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 1 ป้ายบอกทางต่างๆไม่ชัดเจน ติดตั้งอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม จานวนไม่เพียงพอ และโดนทาลาย
ภาพแสดงมาตรฐานของสั์ลักษณ เครื่องหมาย มาตรฐานสั์ลักษณ เครื่องหมาย และแนวคิดในการออกแบบตาแหน่งป้าย ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง สั์ลักษณและพื้นหลัง - ต้องไม่สะท้อนแสง สีสั์ลักษณและสีพื้นหลังตัดกันอย่าง ชัดเจน - ความสูงป้ายต้องสูงไม่ต่ากว่า 2 เมตร - ป้ายแจ้งข้อมูลและแผนที่บริเวณทางเข้าอาคารควรอยู่ระดับ ระหว่าง 0.9 ถึง 1.80 วัดจากพื้นถึงขอบล่าง ภาพแสดงรูปแบบการแก้ไขปั์หา WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 1 ป้ายบอกทางต่างๆไม่ชัดเจน ติดตั้งอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม จานวนไม่เพียงพอ และโดนทาลาย
ป้ายบอกทางต่างๆไม่ชัดเจน ติดตั้งอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม จานวนไม่เพียงพอ และโดนทาลาย Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง - เพิ่มจานวนป้ายให้ครอบคลุม ตาแหน่งมากขึ้น และมีความสูงที่ เหมาะสม - ทาสีป้ายสั์ลักษณ ให้มีความ ชัดเจนระหว่างตัวอักษรกับสีป้าย - เพิ่มจานวนป้ายข้อมูลแนะนา สาหรับผู้ใช้งานให้เข้ามาอ่านได้ - เพิ่มดวงไฟแสงสว่างเข้าไป เพื่อให้สามารถมองป้ายได้ชัดเจน ในเวลากลางคืน - เปลี่ยนประเภทป้ายจากป้าย อะคริลิกธรรมดาที่ไม่มีความ ทันสมัย เปลี่ยนเป็นป้าย LED ที่มี ความสว่าง และคมชัด ทาใหม่ สามารถใช้งานได้ในระยะยาว และมองได้ชัดเจนมากขึ้น 1 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
เก้าอี้นั่งรอรถไฟ ชารุดเสียหาย ไม่เพียงพอ ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน คาบรรยาย: เก้าอี้นั่งรอรถไฟที่สถานีรถไฟหัวตะเข้นั้นมีความชารุดเสียหาย เก่า ขาดการซ่อมบารุง ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน อีกทั้งไม่มีสั์ลักษณที่นั่งสาหรับผู้ทุพพลภาพ ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง 2 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้
Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง - ซ่อมบารุงเก้าอี้เดิมที่ชารุดเสียหายและ เพิ่มจานวนแถวเก้าอี้ - ทาสีเก้าอี้ใหม่ให้ไม่ทรุดโทรม เพิ่ม1 ช่องจอดรถเข็นคนพิการ - ปรับระดับพื้นให้มีระดับที่เท่ากัน - จัดซื้อเก้าอี้ใหม่ข้อมูลจาเพาะคล้าย ของเดิม - เพิ่ม 1 ช่องจอดรถเข็นคนพิการ ปรับระดับพื้นให้มีระดับที่เท่ากัน - จัดซื้อเก้าอี้ใหม่ข้อมูลจาเพาะดีกว่า ของเดิม - เพิ่มสั์ลักษณที่นั่งสาหรับผู้ทุพพล ภาพ พระภิกษุ และสตรีมีครรภ - เพิ่ม 2 ช่องจอดรถเข็นคนพิการ - ปรับระดับพื้นให้มีระดับที่เท่ากัน หมายเหตุ เก้าอี้ถูกสรีรศาสตร เก้าอี้รูปแบบทันสมัยมากขึ้น เก้าอี้รูปแบบเดิม เก้าอี้นั่งรอรถไฟ ชารุดเสียหาย ไม่เพียงพอ 2 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน เส้นแนวเตือนระยะปลอดภัยในปัจจุบันมีปั์หาเรื่องสีที่หลุดลอกทาให้คนไม่เห็น ตัวอักษรและสั์ลักษณเตือนภัย ขาดแนวเส้นบอกระยะปลอดภัย และป้ายเตือนอันตรายจากรถไฟ 3 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้
WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 3 01 มาตรฐานการออกแบบพื้นผิวต่างสัมผัสเพื่อการเตือนภัย Tactile Surface ที่ถูกนามาใช้แบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ • ทางขึ้น และ ทางลง • พื้นด้านหน้าและด้านหลังของพื้นที่ต่างๆ อ้างอิงจาก : https://fenntarkoon.wordpress.com/tag/directional tactile/ Guidebook for the proper installation tactile surface indicators (Braille block) : https://www.iatss.or.jp/common/pdf/research/h966_e.pdf • พื้นที่กว้างๆ ใช้ปลายไม้เท้าแตะขอบ ผนังอาคารไม่ได้ • นาทางไปสู่ป้ายให้ข้อมูล • ติดตั้งบริเวณจุดทางแยก เปลี่ยนทิศทาง พื้นผิวสัมผัสชนิดเตือน (Hazard Warning Tactile/ Block) พื้นผิวสัมผัสชนิดนาทาง (Guiding Tactile/ Block) พื้นผิวสัมผัสชนิดเปลี่ยนทิศทาง (Positional Tactile/ Block)
Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง - เพิ่มแนวเส้นเตือนอันตราย - ทาสีป้ายเตือนสั์ลักษณใหม่ เพื่อให้เห็นคาเตือนชัดเจนมากขึ้น - เพิ่มแนวเส้นเตือนอันตราย - ทาสีป้ายเตือนสั์ลักษณใหม่ เพื่อให้เห็นคาเตือนชัดเจนมากขึ้น - เพิ่มแผ่นสั์ลักษณเตือนภัย สาหรับผู้พิการทางสายตา - ปรับปรุงพื้นที่จุดรอขึ้นรถไฟ เพื่อให้ชัดเจนและมีความ ปลอดภัยมากขึ้น - ทาสีป้ายเตือนสั์ลักษณใหม่ WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ขาดแนวเส้นบอกระยะปลอดภัย และป้ายเตือนอันตรายจากรถไฟ 3 ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ชานชาลาต่ากว่าทางลงรถไฟ คนพิการผู้สูงอายุขึ้นลงไม่สะดวก และอันตราย ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาบริเวณชานชลาใน ปัจจุบัน ชานชาลาปัจจุบันนั้นมีระดับต่ากว่าบันไดทางขึ้นรถไฟเนื่องจากพื้นที่มีการทรุดตัว ทาให้เป็นอุปสรรคในการขึ้นลงของผุ้ โดยสารที่เป็นผู้สูงอายุและผู้พิการ ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง และเจ้าหน้าที่พนักงานต้องคอยช่วยเหลืออยู่เป็นประจา 4 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้
Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง จัดหาลิฟตยกรถวิลแชรเพื่ออานวย ความสะดวกแก่คนพิการและผู้สูงอายุ ปรับระดับพื้นชานชลาให้สูงขึ้น 45 cm. เสมอกับระดับขั้นบันไดทางขึ้นรถไฟ - จัดหาทางลาดคนพิการแบบ เคลื่อนย้ายได้ จัดหาสกู๊ตเตอรผู้สูงอายุสี่ล้อไฟฟ้า - ปรับปรุงพื้นที่ชานชลา หมายเหตุ Train wheelchair lift U-Lift (Ramps and Lifts for Wheelchair Access) https://homecareinnovation.com/en/product/train wheelchair lift/ https://www.railway technology.com/contractors/passenger/u_lift/ WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ชานชลาต่ากว่าทางลงรถไฟ คนพิการผู้สูงอายุขึ้นลงไม่สะดวก และอันตราย 4 ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน ไม่มีที่จอดรถจักรยานยนตที่ชัดเจนทาให้เกิดการจอดบนฟุตบาท ขัดขวางทางเดินเท้าและทางลาดคนพิการ ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 5 ไม่มีที่จอดรถจักรยานยนต์
Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง การติดตั้งเต็นทที่จอดรถชั่วคราวและ ป้ายกากับ การติดตั้งที่จอดรถถาวรเป็นโครงสร้างที่ แข็งแรงและมีคุณภาพสามารถใช้งานได้ ติดตั้งทีจอดรถถาวรเป็นโครงสร้างที่ แข็งแรง ติดตั้งไฟสั์์าณบอกจานวน และตาแหน่งที่จอดรถ หมายเหตุ ที่จอดรถจักรยานยนต ความกว้าง 1 x 2 m https://trafficthai.com/content_blog 207.html WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ไม่มีที่จอดรถจักรยานยนต์ 5 ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน ป้ายที่บอกระยะเวลาเทียบรถไฟมีบางส่วนแต่ยังไม่เพียงพอและบางส่วนที่นามาติดตั้งใหม่ยังไม่ได้มี การทดลองการใช้งาน ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 6 ขาดป้ายอักษรวิ่งบอกระยะเวลาเทียบท่าของรถไฟ
ประเด็นที่ 6 :ขาดป้ายอักษรวิ่งบอกระยะเวลาเทียบท่าของรถไฟ Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง -ติดตั้งนาฬิกาบอกเวลาเพื่อให้ ทราบถึงเวลา -การติดตั้งที่จอดรถถาวรเป็น โครงสร้างที่แข็งแรงและมี คุณภาพสามารถใช้งานได้ -ติดตั้งทีจอดรถถาวรเป็น โครงสร้างที่แข็งแรง ติดตั้ง ไฟสั์์าณบอกจานวนและ ตาแหน่งที่จอดรถ WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 6 ขาดป้ายอักษรวิ่งบอกระยะเวลาเทียบท่าของรถไฟ ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน พื้นผิวทางลาดใช้วัสดุที่ลื่น ภายในห้องน้าไม่มีพื้นที่ให้กลับรถ Wheelchair ทิศทางการใช้ส้วมไม่ใช่ การเข้าจากทางด้านข้าง ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 7 ห้องน้าคนพิการไม่สะดวก และผิดกฎหมาย ภาพแสดงผังห้องน้าคน พิการปัจจุบัน
จานวนห้องน้าคนพิการ ลักษณะห้องน้าคนพิการ พื้นที่ห้องน้า ประตูห้องน้า ราวจับ ระบบสัญญาณแสงและ สัญญาณเสียง มีพื้นที่เพื่อให้เก้าอี้ล้อสามารถ หมุนตัวกลับได้ เส้นผ่าน ศูนย์กลาง 1.5 ม. ประตูบานเปิดเปิดออกสู่ ภายนอก โดยเปิดค้างได้ไม่ น้อยกว่า 90องศา หรือเป็น ประตูบานเลื่อน ราวจับแนวนอน : -สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 650 มม. แต่ไม่เกิน 700 มม. -ยื่นล้าออกมาจากโถส้วมไม่ น้อยกว่า 250 มม. แต่ไม่เกิน 300 มม. ราวจับแนวดิ่ง : -ราวจับในแนวดิงต่อจากปลาย ของราวจับในแนวนอน ด้านหน้า โถส้วมมีความยาววัดจากปลาย ของราวจับในแนวนอน ขึ้นไป อย่างน้อย 600 มิลลิเมตร ห้องส้วมสาหรับบุคคล ทั่วไปต้องจัดให้มีห้องส้วม สาหรับผู้พิการ อย่างน้อย 1 ห้อง มีปุ่มกดหรือปุ่มสัมผัสให้ สั์์าณทางานซึ่งติดตั้งอยู่ ในตาแหน่งที่ใช้งานได้สะดวก พื้นห้องส้วม -ถ้าเป็นพื้นต่างระดับต้องมี ลักษณะเป็นทางลาดและวัสดุ ปูพื้นห้องส้วมต้องไม่ลื่น -ต้องมีความลาดเอียง เพียงพอไปยังช่องระบายน้า ทิ้งเพื่อที่จะไม่ให้มีน้าขังบนพื้น สุขภัณฑ์ - ความสูงของอ่าง ไม่น้อยกว่า 750 มม. แต่ไม่เกิน 800มม. - ที่ว่างวัดจากกึ่งกลางของอ่างทั้ง 2ด้าน กับผนังหรือสิ่งกีดขวาง ห่าง ไม่น้อยกว่า 450 มม. - กรณีเป็นอ่างลอย ขอบอ่างต้อง ห่างผนังไม่น้อยกว่า 200 มม. - ก๊อกน้า เป็นชนิดก้านโยกหรือก้าน กดหรือก้านหมุนหรือระบบอัตโนมัติ - ความสูงของโถส้วมชนิดนั่งราบสูง จากพื้น 400 450 มม. กึ่งกลางของ โถส้วมต้องอยู่ห่างจากผนังด้านข้างไม่ น้อยกว่า 450 มม. WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 7 ห้องน้าคนพิการไม่สะดวก และผิดกฎหมาย แนวคิดในการออกแบบและหลักการที่เกี่ยวข้อง
1 3 Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง - ปรับความชันทางลาดให้เป็น 1:12 ตามมาตรฐาน - ปรับขนาดห้องน้าให้มีพื้นที่ สาหรับการหมุนของ Wheelchair *โดยการปรับ ปรับภายในกรอบ อาคารเดิม เนื่องด้วยพื้นที่ที่ จากัด -เปลี่ยนไปใช้ส้วมสาหรับคน พิการโดยเฉพาะ -มีแม่บ้านจัดการทาความสะอาด อย่างสม่าเสมอ -ปรับปรุงวัสดุให้สะอาด น่าใช้ -เพิ่มจานวนห้องน้าคนพิการ -ใช้วัสดุตามระดับ Medium -มีแม่บ้านจัดการทาความสะอาด อย่างสม่าเสมอ 7 ห้องน้าคนพิการไม่สะดวก และผิดกฎหมาย WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน ไม่มีเคาทเตอรที่ระดับความสูงเหมาะสมสาหรับผู้พิการเพื่อซื้อตั๋ว และไม่มีที่ให้กลับรถ Wheelchair เส้นผ่านศูนยกลาง เมื่อซื้อตั๋วเสร็จ ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ เคาท์เตอร์จาหน่ายตั๋ว 8
แนวคิดในการออกแบบและหลักการที่เกี่ยวข้อง ในระดับที่รถเข็นคนพิการสามารถใช้บริการได้โดยมีความสูง สุทธิไม่เกิน 80 เซนติเมตร และมีพื้นที่ว่างใต้โต๊ะ หรือ เคานเตอร เพียงพอสาหรับรถเข็นคนพิการเข้าไปได้โดยมี ความสูงจากพื้น ไม่น้อยกว่า 70 เซนติเมตร และไม่เกิน 75 เซนติเมตร และมี ความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 40 เซนติเมตร ระยะแขนที่เอื้อมถึง เพื่อหยิบสิ่งของที่ อยู่บนชั้น ใช้งานอ่างล้างมือ - ผู้ที่ใช้งานรถเข็นวีลแชรจะมีความสูงจาก ศีรษะจนถึงล้ออยู่ที่ 1.3 เมตร - ควรเว้นพื้นที่ให้อยู่ในระยะแขนที่เอื้อมถึง ใน ท่านั่งตรงมีระยะอยู่ที่ 70-92 ซม. - ท่าเอื้อมสามารถโน้มเข้าหาได้ระยะ 50-68 ซม. ระยะหมุนรอบรถเข็น เพื่อหมุนกลับรถ รถเข็นวีลแชร์ - เว้นพื้นที่สาหรับรถเข็นวีลแชร 360 องศา ระยะ 1.5 เมตร ระยะทางเดินรถเข็น - พื้นที่สาหรับรถเข็นคันเดียว มีความกว้าง 90-100 ซม. - พื้นสาหรับรถเข็นวีลแชรสวนกัน มีความ กว้าง 1.5-2 เมตร WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ เคาท์เตอร์จาหน่ายตั๋ว 8
Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง -นาราวจับออกเพื่อให้มีพื้นที่ สาหรับรถเข็นผู้พิการ 1.50 ม. -เพิ่มเจ้าหน้าที่ดูแลผู้พิการ สาหรับการซื้อตั๋ว -เพ่ิมเจ้าหน้าที่ดูแลผู้พิการ สาหรับการซื้อตั๋ว -เพิ่มช่องจาหน่ายตั๋วสาหรับผู้ พิการสูง 0.75 ม. -เพิ่มช่องจาหน่ายตั๋วสาหรับผู้ พิการสูง 0.75 ม. -ปรับเปลี่ยนเฟอรนิเจอรสาหรับ ผู้พิการ เคาท์เตอร์จาหน่ายตั๋ว WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 8 ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ทางลาดและบันไดบางจุดไม่เหมาะสมต่อการใช้งานของผู้พิการและผู้สูงอายุ ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน ทางลาดและบันไดบางจุดไม่มีความเหมาะสมต่อการใช้งาน โดยมีขนาดและการติดตั้งอุปกรณเสริม ความปลอดภัยที่ไม่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายได้กาหนดเอาไว้ ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 9
WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ ทางลาดและบันไดบางจุดไม่เหมาะสมต่อการใช้งานของผู้พิการและผู้สูงอายุ 9 แนวคิดในการออกแบบและหลักการที่เกี่ยวข้อง
ทางลาดและบันไดบางจุดไม่เหมาะสมต่อการใช้งานของผู้พิการและผู้สูงอายุ Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง จัดหาอุปกรณราวกันตกที่เป็นไป ตาม หลักการออกแบบที่กาหนด เพิ่มพื้นผิวต่างสัมผัส โดยมีการ ติดตั้ง บนลูกตั้งของบันไดขั้นแรก และขั้นสุดท้าย เพิ่มอุปกรณขนส่งรถเข็นสาหรับ คนพิการ เพื่อเตรียมพร้อมใน กรณีที่ ผู้ใช้งานไม่สามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้ หมายเหตุ การออกแบบได้อ้างอิงจาก กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 9 ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
ที่จอดรถคนพิการผิดกฎหมาย ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาในปัจจุบัน ขนาดของช่องจอดรถคนพิการผิดกฎหมาย และ สั์ลักษณที่แสดงถึงที่จอดรถไม่มีความชัดเจน ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านป้ายบอกทาง WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 10
ที่จอดรถคนพิการผิดกฎหมาย มาตรฐานในการออกแบที่จอดรถสาหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ตามกฎกระทรวง กาหนดสิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการ หรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 10 แนวคิดในการออกแบบและหลักการที่เกี่ยวข้อง
ที่จอดรถคนพิการผิดกฎหมาย Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง เพิ่มขนาดของช่องจอดรถคนพิการให้ ถูกต้องตามกฎหมาย ทาสีเพิ่มความชัดเจนให้ช่องจอด ทาสีลงที่พื้นช่องจอดเพิ่มเติม เพื่อเน้น ช่องจอดให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และติดตั้ง ป้ายสั์ลักษณ ติดตั้งที่ห้ามล้อคอนกรีต เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยให้ผู้ใช้งานและมี เจ้าหน้าที่ดูแล หมายเหตุ การออกแบบได้อ้างอิงจาก กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 10 ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : -
จุดข้ามทางรถไฟมีความต่างระดับสูง ทาให้เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง ภาพแสดงสภาพพื้นที่ปั์หาทางลาดและ สะพานลอยในปัจจุบัน เนื่องจากชานชลาของทางรถไฟมีความต่างระดับระดับระหว่างรางละทางเดินข้ามมาก ทาให้เคยเกิดเหตุการณสะดุดหรือล้ม และ สะพานลอยมีความทรุดโทรม ไม่สามารถกันแดดกันฝนได้ ภาพแสดงตาแหน่งของสถานที่ทาการเสนอแนะ แนวทางด้านทางข้ามฝั่งตรงข้าม WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 11
จุดข้ามทางรถไฟมีความต่างระดับสูง ทาให้เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง Standard Medium High ภาพแสดงแนวทางการ ปรับปรุง รายละเอียดการปรับปรุง - ติดตั้งทางลาดชั่วคราวสาหรับผู้ พิการและรถเข็น (แบบพับเก็บได้) - ติดตั้งทางลาดระบบ Hydraulic แสตนเลส 2 ฝั่ง - ปรับปรุงหลังคาสะพานลอย - ติดตั้งทางลาดแบบ Hydrolicพร้อม ราวจับแบบฝั่งเดียว - ปรับปรุงหลังคาสะพานข้าม - เพิ่มลิฟทโดยสาร หมายเหตุ ทางลาดไม้ชั่วคราว https://www.blockdit.com/posts/5f461afba73b25282274e1bf ทางลาด Rail Car Ramp https://www.poweramp.com/products/specialty-docklevelers/rcr serieshydraulic leveler ทางลาด Powerspan https://www.poweramp.com/products/specialty-docklevelers/powerspan bridge ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ : อาจมีความยากในการบริหารจัดการ WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้ 11

Infographic

WASD ARCHITECT 13 แนวทางการออกแบบปรับปรุงสถานีรถไฟหัวตะเข้
บทสรุป WASD ARCHITECT 14
WASD ARCHITECT 14 บทสรุปและข้อเสนอแนะ บทสรุป 1 2 3 1. จากการสารวจ สังเกต สอบถาม และสัมภาษณพบว่า ปัจจุบันสถานี รถไฟหัวตะเข้มีการเตรียมสิ่ง อานวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ และผู้พิการตามหลักการออกแบบ เพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) ได้แก่ ทางลาดคนพิการ ที่จอดรถคนพิการและห้องน้าคน พิการ แต่มีจานวนไม่เพียงพอและ ไม่ถูกต้องตามกฎหมายและ หลักการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล 2. สถานีรถไฟหัวตะเข้มีปั์หา อื่นๆที่ต้องการการแก้ไข ทั้งสิ้น 11 ประเด็นปัญหา ซึ่งผู้จัดทาได้เสนอ แนวทางออกแบบ ทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ STANDARD MEDIUM และ HIGH ให้แก่สถานีรถไฟหัวตะเข้ใน แต่ละประเด็นปั์หา เพื่อเป็นแนว ทางการออกแบบปรับปรุงพื้นที่ ภายในสถานีตามหลักการ ออกแบบเพื่อคนทั้งมวล 3. ปัจจัยหลักที่นาไปสู่ปั์หาด้านสิ่งอานวยความ สะดวกแก่ผู้สูงอายุและผู้พิการของสถานีรถไฟหัวตะเข้ คือ การทรุดตัวของพื้นโดยรอบอาคารภายในสถานี ทาให้บันได ทางลาด และชานชาลามีระดับต่าลงทุกปี ความต่างระดับที่เกิดขึ้นส่งผลให้การใช้งานของ ประชาชนเป็นไปอย่างไม่สะดวกสบายเท่าที่ควร โดยเฉพาะผู้สูงอายุ และผู้พิการนาไปสู่การเกิด อุบัติเหตุหลายครั้ง และเจ้าหน้าที่ต้องคอยสอดส่อง ดูแลตลอดเวลาเป็นการเพิ่มภาระหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ สถานีรถไฟ
ข้อเสนอแนะ WASD ARCHITECT 1
5
WASD ARCHITECT 14 บทสรุปและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะงานวิจัย 1. การรถไฟแห่งประเทศไทยควรให้ความสาคัญกับ การออกแบบสถานีรถไฟเพื่อปกป้องกันทรุดตัวของสถานีและ พื้นที่โดยรอบมากขึ้น เนื่องจากการทรุดตัวเป็นปัจจัยสาคั์ที่ทา ให้ Universal Design ที่การรถไฟได้เตรียมการไว้ไม่สามารถใช้ งานได้อย่างสะดวก ดังนั้นเพื่อชะลอการเกิดปั์หา ลด งบประมาณในการแก้ไขซ่อมแซม และประชาชนได้รับความสะดวก และความปลอดภัยมากที่สุด จึงควรปรับปรุงแก้ไขการออกแบบ ทางสถาปัตยกรรม 2. สถานีรถไฟหัวตะเข้ควร ปรับปรุงผังแม่บทของสถานีเพื่อให้ ตอบสนองการเดินทางของผู้ใช้บริการ ในปัจจุบันที่มีการใช้รถจักรยานยนต และรถยนตมากขึ้น

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.