MFU MAG #21

Page 11

Green MFU

มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ ้ า หลวงตระหนั ก ถึ ง ความส� า คั ญ ของการ อนุรักษ์ป่าไม้ รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ อธิการบดี จึงได้ให้ ความสนใจปัญหาการสูญเสียป่าไม้ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดน่าน เนือ่ งจากจังหวัดน่าน ซึ่งมีพื้นที่ทั้งหมด 7,601,880.49 ไร่ จากสภาพภูมิประเทศเป็นต้นน�้า ท�าให้ มีการประกาศให้พนื้ ทีจ่ า� นวน 6,496,231.62 ไร่ หรือร้อยละ 85.46 เป็นพืน้ ที่ ป่าอนุรกั ษ์และพืน้ ทีป่ า่ สงวน แต่ทว่าจากข้อมูลของส�านักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดน่าน พบว่ามีพื้นที่ป่าถูกบุกรุกและท�าลายไปแล้ว 1,743,716.42 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 26.84 ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด พืน้ ทีป่ า่ ทีห่ ายไปราว 1.7 ล้านไร่นนั้ มีความส�าคัญกับความมัน่ คง ของระบบนิเวศของลุ่มน�้า อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ภายใต้การ สนับสนุนของมูลนิธิ 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ ได้ จัดท�าโครงการวิจัย เรื่อง ‘การสูญเสียและการฟนฟูป่าไม้ในจังหวัดน่าน’ เพื่อท�าความเข้าใจ ถึงปัจจัยทีท่ า� ให้เกิดสภาพปัญหาและแนวทางในการแก้ไขอย่างรอบด้าน หรือ แบบสหวิทยาการ โดยทีมนักวิจยั ซึง่ ประกอบไปด้วยผูบ้ ริหารและคณาจารย์ จากส�านักวิชาต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ไม่วา่ จะเป็น ส�านักวิชาวิทยาศาสตร์ ส�านักวิชา วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ ส�านักวิชานิตศิ าสตร์ หรือส�านักวิชานวัตกรรมสังคม รวมถึง ภาคีเครือข่ายในพืน้ ทีท่ งั้ ระดับจังหวัด ท้องถิน่ และชุมชน ตลอดจนหน่วยงาน สนับสนุนจากภาคนอก โดยมีระยะเวลา 6 เดือนในการศึกษาวิจัย ตั้งแต่ ก.ค. – ธ.ค. 2559

คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พบสาเหตุหลักของ การสูญเสียป่าน่าน มี 2 ประการ คือ การขาดทางเลือกในการประกอบอาชีพ เป็นปัจจัยผลักดัน ที่ท�าให้เกิดการบุกรุกพื้นที่ป่า ส่วนการส่งเสริมการปลูก ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์เป็นปัจจัยดึงดูด ภายใต้บริบทของพืน้ ที่ การท�าไร่ขา้ วโพด การบุกรุกป่าไม้ เกิดขึ้นซ�้าๆ และขยายตัวไปอย่างรวดเร็วในจังหวัดน่าน โดยพืน้ ทีป่ า่ ไม้ทสี่ ญ ู เสียไปกว่าครึง่ หนึง่ ถูกใช้ปลูกข้าวโพด แม้วา่ ในช่วง 2 – 3 ปี ทีผ่ า่ นมา ราคารับซือ้ ข้าวโพดจะลดต�า่ ลงก็ตาม แต่เกษตรกรในพืน้ ทีจ่ งั หวัดน่าน เกือบ 4 หมื่นครัวเรือนที่ยังอยู่ในวงจรปลูกข้าวโพด เนื่องจากสามารถเชื่อ ปัจจัยการผลิตและมีการอ�านวยความสะดวกเข้าไปรับซื้อผลผลิตในพื้นที่ ท�าให้ข้าวโพดยังเป็นหลักประกันถึงรายได้ส�าหรับที่จะมาหมุนใช้และ รองรับค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆของครอบครัว ไม่วา่ จะเป็นค่าใช้จา่ ยทางการศึกษาหรือ ค่ารักษาพยาบาล การศึกษาวิจยั โดยคณาจารย์ มฟล. ยังได้เสนอแนวทางการฟน ฟู ป่าไม้ ซึง่ ต้องอาศัยการประสานพลังการท�างานเชิงบูรณาการในทุกภาคส่วน ในลักษณะของการท�างาน 4 ประสาน ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และสถาบัน การศึกษาหรือมหาวิทยาลัย ด้วยมีเป้าหมายร่วมกันทีก่ ารหยุดยัง้ การบุกรุกป่า และสร้างป่าให้เป็นแหล่งอาชีพ ด้วยการสร้างทางเลือกที่ดีกว่าการปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ทัง้ นี้ มฟล. ยังได้เสนอชุดแผนงาน 4 ด้าน เพือ่ ฟน ฟูปา่ น่าน ในนาม ของ ‘โครงการคืนป่า คืนชีวติ ให้เมืองน่าน’ ได้แก่ การสร้างแรงบันดาลใจ การสร้างอาชีพ การพัฒนาการศึกษาและฝึกอบรม และการส่งเสริมสุขภาวะ โดยให้ความส�าคัญกับการสร้างแรงบันดาลใจเพือ่ เป็นจุดเริม่ ต้นของการปลูกป่า ในใจคน เพื่อให้ผู้คนเกิดความหวังมีทางเลือก และเพื่อให้การด�าเนินงาน ฟน ฟูปา่ น่าน ตามแผนงาน 4 ด้าน เป็นไปอย่างเป็นรูปธรรม และด้วยความราบรืน่ และเห็นผลโดยเร็ว สภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้มีมติเห็นชอบให้จัดตั้ง ส�านักงานประสานงานโครงการคืนป่า คืนชีวติ ให้เมืองน่าน เพือ่ ท�าหน้าทีเ่ ป็น ศูนย์กลางส�าหรับบูรณาการการมีสว่ นร่วมของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนใน การน�าร่องพัฒนาตามโมเดลนี้ โดยจะได้คัดเลือกพื้นที่เป้าหมายที่จะเป็น โครงการน�าร่องต้นแบบ ในการทดลองและแลกเปลีย่ น เรียนรู้ และขยายผล การพัฒนาตามแนวพระราชด�าริของในหลวงรัชกาลที่ 9 และสนองแนวพระราชด�าริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาบรมราชกุมารีในการอนุรักษ์ป่าไม้ต่อไป


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.