GOLDPF : Annual Report 2018 TH

Page 1

รายงานประจำปี

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ (GOLDPF)

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ (GOLDPF)

สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561

รายงานประจำปี

ณ 31 ธันวาคม 2561


สารบัญ สาส์นจากบริษัทจัดการ ส่วนสรุปข้อมูลสำคัญของกองทุนรวม ส่วนการดำเนินกิจการของกองทุนรวม การจัดการและกำกับดูแลกิจการที่ดี ประวัติการจ่ายเงินปันผล โครงสร้างการจัดการ รายงานฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน รายงานความเห็นของผู้ดูแลผลประโยชน์ การรับรองความถูกต้องของข้อมูล รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบดุล งบกำไรขาดทุน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน แบบแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม รายละเอียดแสดงทรัพย์สินแยกตามประเภทกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ สรุปมูลค่าทรัพย์สิน ทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุน กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ รายชื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องที่มีการทำธุรกรรมกับกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ รายชื่อผู้จัดการกองทุน เอกสารแนบ 1 - รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต - งบดุล งบกำไรขาดทุน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน

1 4 8 28 30 31 50 53 54 56 60 84 86 86 89 89


สาส์ นจากบริษัทจัดการ เรี ยน ท่านผู้ถือหน่วยลงทุน บริ ษั ท หลัก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น กสิ ก รไทย จ ากั ด (“บริ ษั ท ”) ขอน าส่ ง รายงานประจ าปี 2561 ส าหรั บ การดาเนินงานของกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์โกลด์ ภายใต้ การจัดการของบริ ษัท ประจางวดระยะเวลาตังแต่ ้ วัน ที่ 1 มกราคม 2561 ถึ ง วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2561 มายัง ผู้ถื อ หน่ ว ยลงทุน ทุก ท่ า น โดยในรายงานประจ าปี ฉบับ นี ้ ประกอบด้ วย รายละเอียดการลงทุนของกองทุนรวม รายงานผลการดาเนินงาน และรายละเอียดทรัพย์สินของกองทุน รวม พร้ อมทังงบการเงิ ้ นที่ได้ รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี เพื่อให้ ทา่ นผู้ถือหน่วยลงทุนได้ ทราบข้ อมูลและผลการดาเนินงาน ของกองทุนรวมในรอบบัญชีประจาปี 2561 ที่ผา่ นมา ปี 2561 เป็ นปี ที่ มี ปั จ จัย ลบต่า งประเทศเข้ า มาต่ อ เนื่ อ ง ทัง้ นโยบายการเงิ น ของสหรั ฐ ที่ ตึง ตัว ขึน้ ต่อ เนื่ อ ง และข้ อพิพาททางการค้ าระหว่างสหรัฐกับจีนที่เพิ่มมากขึ ้นมาตังแต่ ้ กลางปี ส่งผลให้ เศรษฐกิจและการค้ าโลกชะลอตัวมา เป็ นลาดับ จากต้ น ปี ส่ง ผลกระทบต่อ การส่ง ออกของไทยในครึ่ ง ปี หลัง ขยายตัว ชะลอตัว ในทิ ศ ทางเดี ย วกับ ภูมิ ภาค ส่วนอุปสงค์ในประเทศทยอยดีขึ ้นจากทังภาคเอกชนและภาครั ้ ฐ แต่ยงั ไม่กระจายตัว ประกอบกับมีแรงกระตุ้นทางการคลัง เข้ ามาช่วยสนับสนุนการเติบโตบางส่วน ส่งผลให้ เศรษฐกิ จไทยขยายตัวชะลอตัวลงจากร้ อยละ 4.9 ในไตรมาสแรก ซึง่ เป็ นอัตราการขยายตัวที่สงู สุดในรอบ 5 ปี ก่อนจะชะลอตัวลงตามเศรษฐกิจโลกเหลือร้ อยละ 4.6 และ 3.3 ในไตรมาส 2 และ 3 ตามล าดับ เมื่ อ รวม 9 เดื อ นแรกเศรษฐกิ จ ไทยขยายตัว ร้ อยละ 4.3 จากปี ก่ อ น ยัง คงสูง กว่ า ร้ อยละ 3.9 ในช่วงเดียวกันปี ก่อน ไตรมาสแรก เศรษฐกิ จ ไทยขยายตัว ร้ อยละ 4.9 เร่ งตัว ขึน้ จากร้ อยละ 4.0 ไตรมาสก่อ น สูง เกิ น คาดการณ์ ของตลาด มีแรงหนุนจากการบริ โภคภาคเอกชนดีขึ ้นมาสนับสนุนการเติบโตเพิ่มเติมจากส่งออกและท่องเที่ยวที่ดีต่อเนื่อง ขณะที่การลงทุนภาครัฐทยอยปรับตัวดีขึ ้นหลังจากหน่วยงานภาครัฐมีความเข้ าใจ พ.ร.บ.จัดซื ้อจัดจ้ างใหม่ที่เ ริ่ มตังแต่ ้ เดื อ นส.ค.ปี ก่ อ น ส่ว นการบริ โ ภคภาคเอกชนขยายตัว ดี ขึ น้ เป็ นไตรมาสที่ ส อง ทัง้ นี ส้ ิ น ค้ าไม่ ค งทนและกึ่ ง คงทน เริ่ มมีสญ ั ญาณดีขึ ้นจากปี ก่อน มีรายได้ นอกภาคเกษตรขยายตัวต่อเนื่องสนับสนุนการขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศ แม้ ว่ า รายได้ ภาคเกษตรยั ง คงหดต่ อ เนื่ อ งเหตุ จ ากร าคายางลดลงจากฐานสู ง ปี ก่ อ น แต่ ภ าครั ฐ มี ม าตรการ ให้ ความช่ว ยเหลือผู้มีร ายได้ น้อ ยและเกษตรกรช่ว ยสนับ สนุนการใช้ จ่า ยในประเทศให้ ขยายตัว ต่อ เนื่ อง นอกจากนี ้ มูลค่าการส่งออกไตรมาสแรกขยายตัวเกือบร้ อยละ 10 ยังคงดีตอ่ เนื่องมา 3 ไตรมาส ประกอบกับดุลบริ การเกินดุลเพิ่มขึ ้น ในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว ส่งผลให้ ดลุ บัญชีเดินสะพัดเกินดุล 16.8 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ เพิ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันปี ก่อนที่ เกินดุล 15.2 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ ประกอบกับมีเงินทุนไหลเข้ าตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้นสุทธิกว่า 6 หมื่นล้ านบาท มาเป็ นปั จจัย สนับ สนุน เงิ นบาทแข็ งค่า ขึ น้ มาปิ ดที่ 31.2 บาทต่อ ดอลลาร์ ส หรั ฐ ณ สิน้ เดื อนมี . ค. แข็ ง ค่าร้ อยละ 4.4 จากปลายปี ก่อน จัดว่าแข็งค่าเป็ นอันดับสองในอาเซียน รองจากค่าเงิ นมาเลเซียที่แข็งค่าร้ อยละ 4.7 ขณะที่ค่าเงิ น อินโดนีเซียและฟิ ลปิ ปิ นส์ออ่ นค่าลงร้ อยละ 1.4 และ 4.3 ตามลาดับในช่วงเวลาเดียวกัน ไตรมาสสอง เศรษฐกิ จ ไทยขยายตัว ร้ อยละ 4.6 ชะลอลงจากร้ อยละ 4.9 แต่สูง กว่า คาดการณ์ ข องตลาด โดยมีการส่งออก การลงทุน และการบริ โภคภาคเอกชนเร่ งตัวขึน้ ขณะที่การใช้ จ่ายภาครั ฐชะลอเล็กน้ อย การบริ โภค ภาคเอกชนเร่ งตัวขึ ้น ขยายตัวในทุกกลุม่ สินค้ า นาโดยยอดขายรถยนต์เร่ งตัวหลังโครงการรถยนต์คนั แรกทยอยครบอายุ รวมทังมี ้ การเปิ ดตัวโมเดลใหม่ของรถยนต์หลายยี่ห้อและการส่งเสริ มการการขายที่จูงใจ ขณะที่การส่งออกขยายตัวเร่ งตัว ขึ ้นเป็ นผลมาจากการค้ าโลกที่ยงั คงขยายตัวดีและราคาน ้ามันตลาดโลกเพิ่มขึ ้น ส่วนภาคการท่องเที่ ยวขยายตัวชะลอลง เหลือต่ากว่าร้ อยละ 10 เนื่องจากเป็ นช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวและมีเทศกาลฟุตบอลโลกที่รัสเซีย แม้ ว่า อัตราเงินเฟ้ อ


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ทัว่ ไปเร่ งตัวขึ ้นกลับมาอยู่ในกรอบเป้าหมายของกนง.(ช่วงร้ อยละ 1-4) สาเหตุจากราคาพลังงานเร่ งตัวขึ ้น แต่อุปสงค์ ในประเทศยังฟื น้ ตัวอย่างเปราะบาง ส่งผลให้ กนง.ยังคงอัตราดอกเบี ้ยนโยบายที่ร้อยละ 1.5 ต่อไป เพื่อประคองการฟื น้ ตัว ของอุปสงค์ในประเทศให้ มีความมัน่ คงมากขึ ้น อย่างไรก็ตาม ความกังวลต่อการปรับเพิ่มดอกเบี ้ยสหรัฐมากกว่าคาดและ การอ่อนค่าของค่าเงินจีนเข้ ามากดดันค่าเงินในกลุม่ ตลาดเงินใหม่ให้ ออ่ นค่า โดยเงินบาทพลิกมาอ่อนค่าลงมาปิ ดที่ 33.12 บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ ณ สิ ้นเดือนมิ.ย. หรื ออ่อนค่าร้ อยละ 6.2 จากไตรมาสก่อน แต่เมื่อเทียบปลายปี ก่อนอ่อนค่าลงร้ อย ละ 1.64 ยังคงอ่อนค่าน้ อยกว่าค่าเงินอินโดนีเซียและฟิ ลิปปิ นส์ที่อ่อนค่าลงร้ อยละ 5.3 และ 6.4 ตามลาดับ เนื่องจากไทย มีเสถียรภาพทางด้ านต่างประเทศอยูใ่ นเกณฑ์ดี โดยมีทนุ สารองในระดับสูงกว่า 3 เท่าของหนี ้ระยะสันได้ ้ ช่วยบรรเทาแรง กดดันต่อค่าเงินลงบางส่วน ไตรมาสสาม เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้ อยละ 3.3 ชะลอลงจากร้ อยละ 4.6 ไตรมาสก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ ของตลาด เป็ นผลจากการส่งออกและการท่องเที่ยวชะลอตัว มีแรงหนุนจากการบริ โภคภาคเอกชนเร่ งตัวขึ ้นมาขยายตัว ร้ อยละ 5 จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ช่วยสนับสนุนการขยายตัวไตรมาสนี ้ นาโดยยอดขายรถยนต์ที่ยงั คงขยายตัวดีต่อเนื่อง แต่ยอดขายสินค้ าไม่คงทนยังคงเปราะบาง เนื่องจากผลผลิตเกษตรหดตัวจากสภาพอากาศไม่เ อื ้ออานวยกดดันการใช้ จ่าย ในกลุม่ ฐานราก อนึง่ การส่งออกขยายตัวชะลอลงสอดคล้ องกับภูมิภาค เป็ นผลจากฐานสูงปี ก่อนและข้ อพิพาททางการค้ า ระหว่างสหรัฐและจีนที่ทยอยเก็บภาษี ระหว่างกันเพิ่มขึ ้น ประกอบกับจานวนนักท่องเที่ยวขยายตัวชะลอตัวลง เป็ นผลจาก นักท่องเที่ยวจีนหดตัวจากเหตุการณ์เรื อล่มที่ภเู ก็ตแต่มีนกั ท่องเที่ยวมาเลเซียและฮ่องกงเพิ่มขึ ้นมาชดเชยกันไปบางส่วน ส่ง ผลให้ ดุลบัญ ชี เ ดิ น สะพัด ยัง คงเกิ น ดุล แต่ ล ดลง ซึ่ง ยัง คงช่ ว ยสนับ สนุน เงิ น บาทให้ แ ข็ ง ค่า ขึ น้ มาปิ ดที่ 32.3 บาท ต่อดอลลาร์ สหรัฐ ณ สิ ้นเดือนก.ย. แข็งค่าขึ ้นร้ อยละ 2.4 จากสิ ้นเดือนมิ.ย. ซึ่งเงินบาทแข็งค่าสุดในภูมิภาคท่ามกลาง ความผันผวนของค่าเงินในตลาดเกิดใหม่ สวนทางกับค่าเงินอาเซียนซึง่ อ่อนค่าลงในช่วงร้ อยละ 1.3-3.8 ทาให้ กนง.ยังคง อัตราดอกเบี ้ยนโยบายต่อเนื่องจากปี ก่อนที่ร้อยละ 1.5 ซึ่งสวนทางกับบางประเทศเช่น อินโดนีเซียและฟิ ลิปปิ นส์ ที่มีเร่ ง ปรับเพิ่มดอกเบี ้ยนโยบายมาตังแต่ ้ เดือนพ.ค เพื่อลดแรงกดดันต่อเงินทุนเคลือ่ นย้ ายและช่วยให้ ค่าเงินให้ มีเสถียรภาพมาก ขึ ้นในสภาวะที่มีความผันผวนกระแสเงินทุนเคลื่อนย้ ายในตลาดการเงินโลก อย่างไรก็ตาม ตังแต่ ้ เดือนก.ค. ธปท.เริ่ มส่ง สัญญาณปรับดอกเบีย้ เพื่อให้ มี ช่องว่างทางนโยบายสาหรับรองรับความเสี่ยงในอนาคตและดูแลเสถียรภาพในระบบ การเงินมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ตลาดมีการปรับตัวสะท้ อนการปรับเพิ่มดอกเบี ้ยในระยะข้ างหน้ าไปบางส่วน ไตรมาสสี่ เครื่ องชี ้เศรษฐกิจไทยเร่งตัวขึ ้นจากไตรมาสก่อนที่เศรษฐกิจอ่อนแรงลง ดีขึ ้นแบบกระจายตัว โดยการ ส่งออก ท่องเที่ยวและการลงทุนภาคเอกชนปรั บตัวดีขึน้ จากไตรมาสสาม ส่วนการบริ โภคภาคเอกชนชะลอตัวลง แต่ ขยายตัวในทุกกลุม่ สินค้ า ขณะที่จานวนนักท่องเที่ยวขยายตัวดีขึ ้นจากไตรมาสก่อน ส่วนหนึง่ ได้ อานิสงส์จากมาตรการฟรี วี ซาให้ กบั นักท่องเที่ยว 20 ชาติเป็ นเวลา 60 วันมีผลตังแต่ ้ กลางเดือนพ.ย. ส่งผลให้ นกั ท่องเที่ยวจีนพลิกกลับมาขยายตัว ครัง้ แรกในรอบ 5 เดือนหลังเหตุเรื อล่ม ประกอบนาเข้ าชะลอตัวลงมากกว่าส่งออก ส่งผลให้ ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล เพิ่มขึ ้นจากไตรมาสก่อน แต่ความกังวลต่อชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐส่งผลให้ เงินทุนไหลออกจากตลาดหุ้นและตลาด พันธบัตรในตลาดเกิดใหม่ในเดือน ธ.ค.รวมทังไทย ้ ซึ่งกดดันเงินบาทให้ อ่อนค่าลงมาปิ ดที่ 32.6 บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ ณ สิ ้นเดือนธ.ค. ซึง่ ใกล้ เคียงกับปลายปี ก่อน ซึง่ เงินบาทยังคงอ่อนค่าน้ อยกว่าค่าเงินอาเซียนซึ่งอ่อนค่าลงในช่วงร้ อยละ 2.15.7 อันเป็ นผลมากจากเสถียรภาพทางด้ านต่างประเทศของไทยอยู่ในเกณฑ์ดีเมื่อเทียบกับเพื่อนบ้ าน อนึ่งในเดือนธ.ค. กนง.มีการปรับเพิ่มดอกเบี ้ยนโยบายเป็ นครัง้ แรกในรอบ 7 ปี มาอยู่ที่ร้อยละ 1.75 เพื่อรักษาเสถียรภาพระบบการเงิ น หลังจากดอกเบี ้ยอยูใ่ นระดับต่ามากมานานและเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดาเนินนโยบายการเงินเพื่อรองรับความ เสีย่ งในอนาคต


ทังนี ้ ้ ผลการดาเนินงานของกองทุนรวมสิทธิ การเช่าอสังหาริ มทรัพย์โกลด์ ภายใต้ การจัดการของบริ ษัท ตังแต่ ้ วัน ที่ 1 มกราคม 2561 ถึ ง 31 ธัน วาคม 2561 กองทุนรวมมี มูลค่าทรั พย์ สินสุท ธิ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2561 เท่า กับ 1,999.00 ล้ านบาท คิดเป็ นมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ ต่อหน่วยเท่ากับ 9.7038 บาท โดยในรอบการดาเนินงานระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561 กองทุนรวมมีรายได้ จากการลงทุนรวมทังสิ ้ ้น 92.09 ล้ านบาท ในขณะเดียวกัน กองทุน รวมมี ค่าใช้ จ่ ายจ านวน 9.99 ล้ า นบาท ท าให้ ก องทุน รวมมี รายได้ จ ากการลงทุนสุท ธิ ทงั ้ สิน้ 82.10 ล้ านบาท ทังนี ้ ้กองทุนรวมไม่มีกาไร/ขาดทุนสุทธิที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจากการวัดมูลค่าเงินลงทุน ทาให้ กองทุนรวมมีการเพิ่มขึ ้นในสินทรัพย์ สุทธิจากการดาเนินงาน 82.10 ล้ านบาท สุดท้ ายนี ้ บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ขอขอบคุณท่านผู้ถือหน่วยลงทุนที่ให้ ความไว้ วางใจ บริ ษั ท ในการบริ หารเงิ น ลงทุน ของท่า น ทัง้ นี ้ บริ ษั ทยัง คงมุ่ง มั่น พัฒ นาการให้ บ ริ ก ารที่ ใ ห้ ค วามสะดวกสบายสูง สุด พร้ อมทังรั้ กษามาตรฐานในการบริ หารกองทุนที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสร้ างความพึงพอใจให้ กบั ผู้ถือหน่วยลงทุนตลอดไป

บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ส่ วนที่ 1 ส่ วนสรุ ปข้ อมูลสาคัญของกองทุนรวม สาระสาคัญของกองทุนรวม ชื่อกองทุน ชื่อย่ อ ประเภทกองทุน เงินทุนจดทะเบียน อายุกองทุน บริษัทจัดการกองทุน ผู้ดูแลผลประโยชน์

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์โกลด์ (Gold Property Fund) GOLDPF กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ ประเภทไม่รับซื ้อคืนหน่วยลงทุน 2,060 ล้ านบาท (สองพันหกสิบล้ านบาท) ไม่กาหนดอายุโครงการ บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)

สรุ ปข้ อมูลที่สาคัญของกองทุนรวม ทรัพย์ สินหลัก ลักษณะการลงทุน ราคาที่ลงทุน ณ วันจดทะเบียน ลักษณะการจัดหาผลประโยชน์ วันที่ประเมินมูลค่ า ครัง้ ล่ าสุด มูลค่ าทรัพย์ สนิ ครัง้ ล่ าสุด

อาคารโครงการเดอะเมย์แฟร์ แมริ ออท เอ็กเซคคิวทีฟ อพาร์ ตเมนท์ โรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเมนท์ (Hotel and Services Apartment) 2,060 ล้ านบาท (สองพันหกสิบล้ านบาท) ให้ เช่าช่วงอสังหาริ มทรัพย์ 16 ตุลาคม 2561 1,929 ล้ านบาท (หนึง่ พันเก้ าร้ อยยี่สบิ เก้ าล้ านบาท)

สรุ ปข้ อมูลการจัดหารายได้ การจัดหารายได้ ผู้เช่ าช่ วง ผู้บริหารโครงการ วัตถุประสงค์ ของการเช่ า

ระยะเวลาการเช่ า สิทธิต่ออายุสัญญา

ให้ เช่าช่วงอสังหาริ มทรัพย์ บริ ษัท แกรนด์ เมย์แฟร์ จากัด บริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จากัด ผู้เช่าตกลงที่จะจัดหาประโยชน์ จากทรั พย์สินที่เช่าในรู ปแบบของที่พักอาศัย การเช่า เพื่อวัตถุประสงค์ในการดาเนินกิจการโรงแรม และ/หรื อธุรกิจเซอร์ วิส อพาร์ ต เมนท์ แ ละธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งภายใต้ โครงการเมย์ แ ฟร์ แมริ อ อท ทัง้ นี ้ แกรนด์ เมย์ แฟร์ ตกลงที่จะประกอบกิ จ การโครงการเมย์ แฟร์ แมริ อ อท และ ธุรกิจที่เกี่ยวข้ องเท่านัน้ ประมาณ 16 ปี ผู้เ ช่ า ช่ว งตกลงให้ ค ามั่น แก่ ก องทุน รวมว่า จะเช่ า ทรั พ ย์ สิน ต่อ ไปอี ก 10 ปี ภายหลังจากสิ ้นสุดระยะเวลาการเช่า หากกองทุนรวมมีความประสงค์ที่ จะให้ ผู้เช่าช่วงทรัพย์สนิ ที่เช่าต่อไปภายหลังจากสิ ้นสุดระยะเวลาการเช่า โดยกองทุน รวมจะแจ้ งความประสงค์ที่จะให้ เช่าช่วงเช่าทรัพย์สนิ ที่เช่าต่อไปในกรณีที่ผ้ เู ช่า ช่วงและบริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จากัด ได้ มีการต่ออายุสญ ั ญาจ้ าง บริ หารงานอีก 10 ปี ทังนี ้ ้ภายใต้ ข้อกาหนดในสัญญาที่จะได้ ตกลงกันต่อไป อย่างไรก็ดี ในกรณีที่มีการต่อสัญญานี ้ออกไป คู่สญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายจะตกลงให้


ค่ าเช่ า

ข้ อก าหนดและเงื่ อนไขต่างๆ ภายใต้ อ ายุของสัญญาที่ ต่อออกไปเหมือ นกับ ข้ อกาหนดและเงื่อนไขต่างๆ ในสัญญาฉบับเดิมทุกประการ ค่าเช่าแบ่งเป็ นค่าเช่าคงที่และค่าเช่าแปรผัน - อัตราค่าเช่าคงที่ ผู้เช่าช่วงตกลงที่จะชาระค่าเช่าคงที่ในอัตรา 4 ล้ านบาทต่อเดือน - อัตราค่าเช่าแปรผัน ผู้เช่าช่วงตกลงที่จะชาระค่าเช่าแปรผันเป็ นรายเดือน โดยคานวน ดังนี ้ อัตราค่าเช่าแปรผัน = [ก * (ข – ค – ง)] – (จ + ฉ + ช) โดย ก = อัตราร้ อยละของค่าเช่าแปรผัน ในอัตราร้ อยละ 91 ข = รายได้ จากการดาเนินงานของโครงการในเดือ น นันๆ ้ (ไม่รวมส่วนของธุรกิจร้ านอาหาร ภาษี ซื ้อขาย ค่าตอบแทนพิเศษจ่ายให้ แก่หรื อเพื่อประโยชน์ของ พนักงาน เงินที่ได้ รับจากการขายทรัพย์สนิ ส่วนทุน และเงิ น จ านวนอื่ น ๆ ที่ ไ ด้ รั บ จากบริ ษั ท ประกั น เป็ นต้ น) ค = ค่าเช่าคงที่ ง = ค่าใช้ จ่ายจากการดาเนินงาน (ไม่รวมภาษี ซื ้อขาย และส่วนของธุรกิจร้ านอาหาร เป็ นต้ น) จ = ภาษี โรงเรื อนและที่ดิน ฉ = ดอกเบี ้ยสาหรับเงินกู้ที่เป็ นเงินทุนหมุนเวียน ช = ค่าเสียหายที่เกิดขึ ้นจากการดาเนินงาน ทังนี ้ ้ หากผลลัพธ์ รวมของสมการ (ข – ค – ง) เมื่อสิ ้นรอบปี บัญชี ใดๆ ตามที่ แกรนด์ เมย์แฟร์ ที่ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีแล้ วต่ากว่า 80 ล้ านบาท ให้ อตั รา ร้ อยละของค่าเช่าแปรผัน (ก) ปรับเปลีย่ นจากร้ อยละ 91 เป็ นอัตราดังต่อไปนี ้ ผลลัพธ์ของสมการ อัตราร้ อยละของค่าเช่า (ข – ค – ง) แปรผัน (ก) เมื่อสิ ้นรอบปี บัญชี หากเท่ากับหรื อมากกว่า 70 ล้ าน ร้ อยละ 90 บาท แต่น้อยกว่า 80 ล้ านบาท หากเท่ากับหรื อมากกว่า 60 ล้ าน ร้ อยละ 89 บาท แต่น้อยกว่า 70 ล้ านบาท หากเท่ากับหรื อมากกว่า 50 ล้ าน ร้ อยละ 87 บาท แต่น้อยกว่า 60 ล้ านบาท น้ อยกว่า 50 ล้ านบาท ร้ อยละ 85


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ การรับประกันค่ าเช่ า

หลักประกัน

สรุ ปเหตุการณ์ สาคัญ เหตุการณ์ที่สาคัญของกองทุนรวม

บริ ษัทโกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แฟร์ ) จากัด ตกลงจะรั บประกันค่าเช่าขัน้ ต่าของ โครงการเมย์แฟร์ แมริ ออทที่กองทุนรวมจะได้ รับ เป็ นจานวนเท่ากับ 107.25 ล้ านบาทในรอบระยะเวลาบัญชีปี 2550 และเป็ นจานวน 163.50 ล้ านบาทต่อปี ของแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีปี 2551 – 2554 โดยหากค่าเช่าที่เกิดขึ ้นจริ งของ ทรัพย์สินที่ลงทุนในรอบระยะเวลาใด รอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง ที่กองทุนรวม ได้ รั บ ต่ า กว่า จ านวนดัง กล่า ว โกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แ ฟร์ ) จ าช าระเงิ น ให้ แ ก่ กองทุนรวมในจานวนเท่ากับส่วนต่างระหว่าง (ก) ค่าเช่าที่ รับประกัน กับ (ข) ค่าเช่าที่เกิ ดขึน้ จริ งของทรั พย์ สินที่ลงทุน (ผลรวมของค่าเช่าคงที่และค่าเช่ า แปรผัน) ผู้เ ช่ า ช่ ว งตกลงจะจัด ให้ มี ห ลัก ประกัน แก่ ก องทุน รวมเพื่ อ เป็ นการประกั น การปฏิบตั ิตามสัญญาของผู้เช่าช่วงโดย - ด าเนิ น การให้ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แ ฟร์ ) จ านองโครงการเมย์ แ ฟร์ แมริ ออท ให้ แก่กองทุนรวม - ดาเนินการให้ บริ ษัท แผ่นดินทอง พร็ อพเพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด (มหาชน) ค ้าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาของผู้เช่าช่วงและผู้เกี่ยวข้ องในกรณี ต่อไปนี ้ 1. หน้ า ที่ ข องโกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แ ฟร์ ) ในการช าระค่ า เช่ า ที่ รั บ ประกัน ข้ างต้ น 2. หน้ าที่ ข องผู้ เช่ า ช่ ว งในการแต่ ง ตั ง้ ผู้ บริ หารทรั พ ย์ สิ น ที่ เ ช่ า ซึ่ ง จะ บริ หารงานตามข้ อกาหนดและเงื่อนไขที่กองทุนรวมยอมรับ และ 3. คามัน่ ของผู้เช่าช่วงในการต่อสัญญาเช่าอีก 10 ปี ภายใต้ ข้อกาหนด และเงื่อนไขที่จะระบุในสัญญา - ด าเนิ น การให้ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แ ฟร์ ) จ าน าหุ้ นผู้ เช่ า ช่ ว งให้ แก่ กองทุนรวมตลอดอายุสญ ั ญา ทังนี ้ ้ตามเงื่อนไขของสัญญาที่เกี่ยวข้ อง

- ไม่มี ในรอบปี บัญชี 2561 -

การจ่ ายประโยชน์ ตอบแทนของกองทุนรวมย้ อนหลัง ประจาปี 2561 2560 2559 2558 2557 หมายเหตุ: 1. มีการลดทุนจะทะเบียน

ผลตอบแทน (บาทต่ อหุ้น) 0.3900 0.36501 0.34881 0.3300 0.25701


สรุ ปค่ าธรรมเนียม รายการ ค่าธรรมเนียมการจัดการ ค่าธรรมเนียมการดูแลผลประโยชน์ ค่าธรรมเนียมนายทะเบียน ค่าใช้ จา่ ยอื่นๆ รวม

จานวน (บาท) 5,317,101 638,052 1,063,420 2,969,971 9,988,545

ร้ อยละของ NAV* 0.3% 0.0% 0.1% 0.1% 0.5%

หมายเหตุ *มูลค่า NAV ณ สิ้ นปี 2561

ความเสี่ยงที่สาคัญของการลงทุนในกองทุนรวม  ความเสี่ยงโดยทั่วไป ภาวะทางเศรษฐกิจและธุรกิจโดยทัว่ ไป ซึ่งรวมถึง อัตราเงินเฟ้ อ อัตราดอกเบี ้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ราคา เครื่ องอุปโภคและบริ โภค ราคาอสังหาริ มทรัพย์ และนโยบายทางการเงินและการคลังของรัฐบาล ธนาคารแห่ง ประเทศไทย และหน่วยงานราชการอื่นรวมถึงปั จจัยทางการเมืองของประเทศ มีอิทธิพลต่อผลการดาเนินงาน สถานะทาง การเงินและการ ลงทุนของกองทุนรวม และภาวะตกต่าทางเศรษฐกิจโดยทัว่ ไปตลอดจนการลดลงของความต้ องการของ ผู้บริ โภคอาจส่งผล กระทบในทางลบอย่างมีนยั สาคัญต่อผลการดาเนินงานและสถานะทางการเงินของผู้เช่าช่วงและ ผู้ค ้าประกัน ซึง่ จะมีผลต่อรายได้ ของกองทุนรวม  ความเสี่ยงเกี่ยวกับหน่ วยลงทุน อาทิ (ก) ราคาของหน่วยลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ภายหลังการเสนอขาย (ข) การขาดสภาพคล่องในการ ซื ้อขายหน่วยลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ส่ วนที่ 2 ส่ วนการดาเนินกิจการของกองทุนรวม 1. ข้ อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อกองทุน 1.2 ชื่อย่ อ 1.3 ประเภทกองทุน 1.4 เงินทุนจดทะเบียน 1.5 อายุกองทุน 1.6 บริษัทจัดการกองทุน 1.7 ผู้ดูแลผลประโยชน์ 1.8 รายละเอียด อสังหาริมทรัพย์ ท่ ลี งทุน

1.9 ผู้เช่ าช่ วง 1.10 ผู้บริหารโครงการ

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์โกลด์ (Gold Property Fund ) GOLDPF กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ ประเภทไม่รับซื ้อคืนหน่วยลงทุน 2,060 ล้ านบาท (สองพันหกสิบล้ านบาท) ไม่กาหนดอายุโครงการ บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) - สิ ท ธิ ก ารเช่ า ระยะยาว 30 ปี และสิ ท ธิ ใ นการต่ อ สัญ ญาเช่ า อี ก 30 ปี ในที่ ดิ น พร้ อม สิ่ ง ปลูก สร้ างประเภทโรงแรมและเซอร์ วิ ส อพาร์ ตเมนท์ ในโครงการเดอะเมย์ แ ฟร์ แมริ ออท เอ็กเซคคิวทีฟ อพาร์ ตเมนท์ ซึง่ ประกอบด้ วยอาคารสูง 26 ชัน้ และชันใต้ ้ ดิน 5 ชัน้ พื ้นที่ใช้ สอยทังหมด ้ 26,424 ตารางเมตร โดยเป็ นพื ้นที่ให้ เช่ารวมประมาณ 16,000 ตาราง เมตร บนที่ดิน 1 ไร่ 2 งาน 58 ตารางวา - กรรมสิท ธิ์ ใ นเฟอร์ นิ เ จอร์ และอุป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ การด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของโครงการ เมย์แฟร์ แมริ ออท บริ ษัท แกรนด์ เมย์แฟร์ จากัด บริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จากัด

2. นโยบาย ภาพรวมการประกอบธุรกิจ และการจัดหาผลประโยชน์ 2.1 วัตถุประสงค์ นโยบายการลงทุน และการจัดหาผลประโยชน์ เพื่อระดมเงินทุนจากนักลงทุนทัว่ ไป ทังที ้ ่เป็ นบุคคลธรรมดาและนิติบคุ คลทังในและต่ ้ างประเทศ ซึง่ กองทุนจะนา เงิ นที่ได้ จากการระดมทุนไปซือ้ เช่า และ/หรื อเช่าช่วงอสังหาริ มทรั พย์ โดยกองทุนรวมจะรั บโอนกรรมสิทธิ์ และ/หรื อ สิทธิการเช่า และ/หรื อสิทธิการเช่าช่วง อสังหาริ มทรัพย์ และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริ มทรัพย์ดงั กล่าว โดยการให้ เช่า ให้ เ ช่ า ช่ ว ง โอน และ/หรื อ จ าหน่ า ยอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ต่ า งๆ ที่ ก องทุน ได้ ล งทุน ไว้ ห รื อ มี ไ ว้ รวมถึ ง แต่ ไ ม่ จ ากัด เพี ย ง การนาอสังหาริ มทรัพย์ออกให้ เช่าหรื อเช่าช่วงในลักษณะเซอร์ วิสอพาร์ ตเมนท์ หรื อการนาอสังหาริ มทรัพย์ออกให้ เช่าช่วง เพื่อให้ ผ้ ปู ระกอบการนาอสังหาริ มทรัพย์ออกหาประโยชน์ในลักษณะเซอร์ วิสอพาร์ ตเมนท์หรื อโรงแรม ตลอดจนทาการ ปรั บ ปรุ ง เปลี่ย นแปลง รวมถึ ง ดาเนิ น การก่ อ สร้ าง และ/หรื อ พัฒนาอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ โ ดยรั บ โอนใบอนุญ าตก่ อ สร้ าง และ/หรื อดาเนินการขอหรื อรับโอนใบอนุญาตอื่น ๆ เช่น ใบอนุญาตโรงแรม (ในกรณีที่กฎหมายอนุญาตให้ ดาเนินการ ดังกล่าวได้ ) และ/หรื อดาเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้ องและจาเป็ นเพื่อประโยชน์ของอสังหาริ มทรั พย์ และเพื่อมุ่งก่อให้ เกิ ด รายได้ และผลตอบแทนแก่กองทุนและผู้ถือหน่วยของกองทุนรวมรวมถึงการลงทุนในทรัพย์สนิ อื่นๆ และ/หรื อหลักทรัพย์อื่น และ/หรื อการหาดอกผลอื่น โดยวิธีอื่นใดตามกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้ องกาหนด


2.2 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สาคัญ กองทุนรวมไม่มีการเปลีย่ นแปลงเกี่ยวกับบุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องในการบริ หารจัดการกองทุนรวม 2.3 โครงสร้ างของการบริหารจัดการกองทุนรวม

2.4 ข้ อมูลทรัพย์ สนิ ของกองทุนรวม 2.4.1 สรุ ปมูลค่ าทรั พย์ สิน ทรั พย์ สินสุทธิ และมูลค่ าหน่ วยลงทุน กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์โกลด์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลค่ าทรัพย์ สินสุทธิ (บาท) 1,999,001,947 มูลค่ าทรัพย์ สินตามราคาตลาด (บาท) 1,932,000,000 2.4.2 รายละเอียดเกี่ยวกับทรั พย์ สินของกองทุนรวม ในการลงทุนครัง้ แรกกองทุนรวมจะทาการลงทุนในทรัพย์สินที่ลงทุน ซึ่งบริ ษัท โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จากัด เป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์และได้ ใช้ ในการดาเนินการโครงการเมย์แฟร์ แมริ ออท อยูใ่ นปั จจุบนั ข้ อมูลโดยสรุ ปเกี่ยวกับโครงการเมย์ แฟร์ แมริออท อาคารโครงการเมย์ แฟร์ แมริออท ประเภทการใช้ งาน โรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเมนท์ (Hotel and Services Apartment) ที่ตงั ้ โฉนดที่ดินเลขที่ ที่ดนิ ทัง้ หมด (ไร่ ) เจ้ าของกรรมสิทธิ์ในที่ดนิ เจ้ าของกรรมสิทธิ์ในสิ่งปลูกสร้ าง

เลขที่ 60 ซอยหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร  2494 เนื ้อที่ 0-3-88  3770 เนื ้อที่ 0-2-70 1-2-58 ไร่ บริ ษัท โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จากัด บริ ษัท โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จากัด


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ เจ้ าของกรรมสิทธิ์ในงานสาธารณูปโภค ลักษณะการถือกรรมสิทธิ์ของกองทุน รวมฯ ราคาประเมินล่ าสุด วิธีการประเมินราคา ผู้ประเมินราคา รายได้ สาหรับระยะเวลา 1 ม.ค. 61 – 31 ธ.ค. 61 ทรัพย์ สินที่เช่ า วันเริ่มเปิ ดดาเนินการ ผู้บริหารโครงการ จานวนและลักษณะของห้ อง

สิ่งอานวยความสะดวกในห้ องพัก

ส่ วนบริการกลาง ระบบสาธารณูปโภค วัตถุประสงค์ ของการเช่ า

ระยะเวลาการเช่ า

10

กองทุนรวมมีฐานะเป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ สิทธิการเช่าที่ดินพร้ อมอาคาร โครงการเดอะ เมย์แฟร์ แมริ ออท เอ็กเซคคิวทีฟ อพาร์ ตเมนท์ (ระยะเวลาคงเหลือตามสัญญาเช่าประมาณ 48.56 ปี ) 1,932 ล้ านบาท (ประเมิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) วิธีพิจารณาจากรายได้ (Income Approach) โดยวิธีการคิดลดกระแส เงินสด (Discounted Cash Flow) บริ ษัท ซี.ไอ.ที. แอพเพรซัล จากัด 270.18 ล้ านบาท - ให้ เช่าช่วงที่ดินที่เช่า และอาคารที่เช่า - ให้ เช่าเฟอร์ นิเจอร์ และอุปกรณ์ 15 มีนาคม 2546 บริ หารโครงการโดยบริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จากัด ซึง่ เป็ น บริ ษัทในเครื อของบริษัทแมริ ออท อินเตอร์ เนชัน่ แนล บีวี จากัด เป็ นอาคารสูง 26 ชัน้ ประกอบไปด้ วยพื ้นที่ทงหมด ั้ 26,424 ตารางเมตร พื น้ ที่ ใ ช้ สอยประมาณ 16,000 ตารางเมตร แบ่ง เป็ นประเภทสตูดิ โ อ 1 ห้ องนอน 2 ห้ องนอน และ 3 ห้ องนอน สิ่ ง อ านวยความสะดวกในห้ อ งพัก ได้ แ ก่ ตู้นิ ร ภัย โทรศัพ ท์ ส ายตรง อุปกรณ์ ต่ออินเตอร์ เน็ต รวมถึงอุปกรณ์ อื่นๆที่ให้ ความบันเทิงที่ทนั สมัย เช่น ทีวี เครื่ องเล่น DVD ห้ องครัว เป็ นต้ น บริ การที่จอดรถ Business Centre ห้ องประชุม ภัตตาคาร สระว่ายน ้า ห้ องซาวน่าจากุซซี่ ห้ องออกกาลังกาย สปา และ Kid’s Club ลิฟท์จานวน 6 ชุด พร้ อมระบบป้องกันอัคคีภยั ระบบสปริ งเกอร์ ในอาคาร ระบบบาบัดน ้าเสีย ระบบระบายอากาศด้ วยการใช้ น ้า (Water Chiller) ผู้เช่าตกลงที่จะจัดหาประโยชน์ จากทรัพย์สินที่เช่าในรู ปแบบของที่พัก อาศัยการเช่า เพื่อวัตถุประสงค์ในการดาเนินกิจการโรงแรม และ/หรื อ ธุรกิจเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์และธุรกิจที่เกี่ยวข้ องภายใต้ โครงการเมย์แฟร์ แมริ อ อท ทัง้ นี ้ แกรนด์ เมย์ แ ฟร์ ต กลงที่ จ ะประกอบกิ จ การโครงการ เมย์แฟร์ แมริ ออท และธุรกิจที่เกี่ยวข้ องเท่านัน้ ประมาณ 16 ปี


สิทธิต่ออายุสัญญา

ค่ าเช่ า

ผู้เช่าช่วงตกลงให้ คามัน่ แก่กองทุนรวมว่าจะเช่าทรัพย์สินต่อไปอีก 10 ปี ภายหลังจากสิ ้นสุดระยะเวลาการเช่า หากกองทุนรวมมีความประสงค์ ที่ จ ะให้ ผ้ ูเ ช่ า ช่ ว งทรั พ ย์ สิน ที่ เ ช่ า ต่อ ไปภายหลัง จากสิ น้ สุด ระยะเวลา การเช่า โดยกองทุนรวมจะแจ้ งความประสงค์ที่จะให้ เช่าช่วงเช่าทรัพย์สนิ ที่เช่าต่อไปในกรณีที่ผ้ เู ช่าช่วงและบริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จ ากัด ได้ มี ก ารต่อ อายุสัญ ญาจ้ างบริ ห ารงานอี ก 10 ปี ทัง้ นี ภ้ ายใต้ ข้ อกาหนดในสัญญาที่จะได้ ตกลงกันต่อไป อย่า งไรก็ ดี ในกรณี ที่ มี ก ารต่อ สัญญานี อ้ อกไป คู่สัญ ญาทัง้ สองฝ่ าย จะตกลงให้ ข้ อก าหนดและเงื่ อ นไขต่ า งๆ ภายใต้ อ ายุข องสัญ ญาที่ ต่อออกไปเหมือนกับข้ อกาหนดและเงื่ อนไขต่างๆ ในสัญญาฉบับเดิม ทุกประการ ค่าเช่าแบ่งเป็ นค่าเช่าคงที่และค่าเช่าแปรผัน - อัตราค่าเช่าคงที่ ผู้เช่าช่วงตกลงทีจ่ ะชาระค่าเช่าคงทีใ่ นอัตรา 4 ล้ านบาทต่อเดือน - อัตราค่าเช่าแปรผัน ผู้เช่าช่วงตกลงทีจ่ ะชาระค่าเช่าแปรผันเป็ นรายเดือน โดยคานวน ดังนี ้ อัตราค่าเช่าแปรผัน = [ก * (ข – ค – ง)] – (จ + ฉ + ช) โดย ก ข

= =

ค ง

= =

จ ฉ ช

= = =

อัตราร้ อยละของค่าเช่าแปรผัน ในอัตราร้ อยละ 91 รายได้ จากการดาเนินงานของโครงการในเดือน นันๆ ้ (ไม่รวมส่วนของธุรกิจร้ านอาหาร ภาษีซื ้อขาย ค่าตอบแทนพิเศษจ่ายให้ แก่หรื อเพื่อประโยชน์ของ พนักงาน เงินที่ได้ รับจากการขายทรัพย์สนิ ส่วนทุน และเงินจานวนอื่นๆ ที่ได้ รับจากบริ ษัทประกัน เป็ น ต้ น) ค่าเช่าคงที่ ค่าใช้ จา่ ยจากการดาเนินงาน (ไม่รวมภาษี ซื ้อขาย และส่วนของธุรกิจร้ านอาหาร เป็ นต้ น) ภาษี โรงเรื อนและที่ดิน ดอกเบี ้ยสาหรับเงินกู้ที่เป็ นเงินทุนหมุนเวียน ค่าเสียหายทีเ่ กิดขึ ้นจากการดาเนินงาน

11


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ทังนี ้ ้ หากผลลัพธ์รวมของสมการ (ข – ค – ง) เมื่อสิ ้นรอบปี บัญชีใดๆ ตามที่แกรนด์ เมย์แฟร์ ที่ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีแล้ วตา่ กว่า 80 ล้ าน บาท ให้ อตั ราร้ อยละของค่าเช่าแปรผัน (ก) ปรับเปลีย่ นจากร้ อยละ 91 เป็ นอัตราดังต่อไปนี ้ ผลลัพธ์ของสมการ (ข – ค – ง) เมื่อสิ ้นรอบปี บัญชี หากเท่ากับหรื อมากกว่า 70 ล้ าน บาท แต่น้อยกว่า 80 ล้ านบาท หากเท่ากับหรื อมากกว่า 60 ล้ าน บาท แต่น้อยกว่า 70 ล้ านบาท หากเท่ากับหรื อมากกว่า 50 ล้ าน บาท แต่น้อยกว่า 60 ล้ านบาท น้ อยกว่า 50 ล้ านบาท การรับประกันค่ าเช่ า

หลักประกัน

12

อัตราร้ อยละของค่าเช่า แปรผัน (ก) ร้ อยละ 90 ร้ อยละ 89 ร้ อยละ 87 ร้ อยละ 85

บริ ษัทโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จากัด ตกลงจะรับประกันค่าเช่าขันต ้ ่า ของโครงการเมย์แฟร์ แมริ ออทที่กองทุนรวมจะได้ รับ เป็ นจานวนเท่ากับ 107.25 ล้ านบาทในรอบระยะเวลาบัญชี ปี 2550 และเป็ นจานวน 163.50 ล้ านบาทต่อปี ของแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีปี 2551 – 2554 โดยหากค่าเช่าที่เกิ ดขึน้ จริ งของทรั พย์ สินที่ลงทุนในรอบระยะเวลาใด รอบระยะเวลาบัญ ชี ห นึ่ง ที่ ก องทุนรวมได้ รั บ ต่ า กว่า จ านวนดัง กล่า ว โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จาชาระเงินให้ แก่กองทุนรวมในจานวนเท่ากับ ส่วนต่างระหว่าง (ก) ค่าเช่าที่ รั บ ประกัน กับ (ข) ค่าเช่าที่เกิ ดขึน้ จริ ง ของทรัพย์สนิ ที่ลงทุน (ผลรวมของค่าเช่าคงที่และค่าเช่าแปรผัน) ผู้เช่าช่วงตกลงจะจัดให้ มีหลักประกันแก่กองทุนรวมเพื่อเป็ นการประกัน การปฏิบตั ิตามสัญญาของผู้เช่าช่วงโดย - ด าเนิ น การให้ โ กลเด้ น แลนด์ (เมย์ แ ฟร์ ) จ านองโครงการเมย์ แ ฟร์ แมริ ออท ให้ แก่กองทุนรวม - ดาเนินการให้ บริ ษัท แผ่นดินทอง พร็ อพเพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด (มหาชน) ค ้าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาของผู้เช่าช่วงและผู้เกี่ยวข้ อง ในกรณีตอ่ ไปนี ้ 1. หน้ าที่ของโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) ในการชาระค่าเช่าที่รับประกัน ข้ างต้ น 2. หน้ าที่ข องผู้เช่า ช่วงในการแต่งตัง้ ผู้บ ริ หารทรั พย์ สินที่เ ช่า ซึ่งจะ บริ หารงานตามข้ อกาหนดและเงื่อนไขที่กองทุนรวมยอมรับ และ


3. ค ามั่น ของผู้ เช่ า ช่ ว งในการต่ อ สัญ ญาเช่ า อี ก 10 ปี ภายใต้ ข้ อกาหนดและเงื่อนไขที่จะระบุในสัญญา - ด าเนิ น การให้ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แ ฟร์ ) จ าน าหุ้น ผู้เ ช่ า ช่ ว งให้ แ ก่ กองทุนรวมตลอดอายุสญ ั ญา ทังนี ้ ้ตามเงื่อนไขของสัญญาที่เกี่ยวข้ อง รายละเอียดทรัพย์ สนิ ที่ลงทุน กองทุนลงทุนในสิทธิ การเช่าระยะยาวในที่ดินที่เช่าและอาคารที่เช่า : กองทุนรวมจะเช่าที่ดินตามที่ปรากฏใน โฉนดที่ดินที่เกี่ยวข้ องมีรายละเอียดดังนี ้ หน้ า เจ้ าของ โฉนดที่ดิน เลขที่ดนิ ตาบล อาเภอ จังหวัด เนือ้ ที่ สารวจ กรรมสิทธิ์ 2494

9

498

ปทุมวัน

3770

31

1031

ปทุมวัน

ปทุมวัน (สาเพ็ง) ปทุมวัน (สาเพ็ง)

กรุ งเทพฯ

0-3-88

กรุ งเทพฯ

0-2-70

โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ )

รวมเนือ้ ที่ 1-2-58

2.4.3 รายละเอียดเกี่ยวกับการลงทุนในทรั พย์ สินเพิ่มเติมของกองทุนรวมในรอบปี บัญชี ในรอบปี บัญชีที่ผา่ นมา ไม่มีการลงทุนในทรัพย์สนิ เพิ่มเติมของกองทุนรวม 2.4.4 รายละเอียดเกี่ยวกับการจาหน่ ายอสังหาริมทรั พย์ หรือสิทธิการเช่ า ในรอบปี บัญชีที่ผา่ นมา ไม่มีการจาหน่ายหรื อโอนทรัพย์สนิ ของกองทุนรวม 2.5 การจัดหาผลประโยชน์ จากอสังหาริมทรัพย์ 2.5.1 การจัดหาผลประโยชน์ โครงสร้ างรายได้ กองทุนรวมจะจัดหาผลประโยชน์ จากทรัพย์สินที่ลงทุนโดยการให้ เช่าช่วงทรัพย์สินที่เช่าและให้ เช่าเฟอร์ นิเจอร์ และอุปกรณ์แก่ บริ ษัทแกรนด์ เมย์แฟร์ จากัด (“แกรนด์ เมย์แฟร์ ”) เพื่อให้ แกรนด์ เมย์แฟร์ นาทรัพย์สินที่ลงทุนไปใช้ ในการ ด าเนิ น กิ จ การโครงการเมย์ แ ฟร์ แมริ อ อทอย่ า งต่ อ เนื่ อ งต่ อ ไป ทั ง้ นี แ้ กรนด์ เมย์ แ ฟร์ จะด าเนิ น การให้ บริ ษั ท แมริ อ อท โฮเต็ล ส์ (ไทยแลนด์ ) จ ากัด เป็ นผู้บริ ห ารโครงการเมย์ แ ฟร์ แมริ อ อทต่อไปเช่ นเดิ ม โดยรู ป แบบการจัด หา ผลประโยชน์จากทรัพย์สนิ ที่ลงทุนของกองทุนรวมสามารถสรุปได้ ดงั นี ้

13


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ รายได้ จากการลงทุน (หน่ วย : บาท) รายได้ คา่ เช่าและค่าบริ การ รายได้ ดอกเบี ้ย รายได้ อื่น รวมรายได้ จากการลงทุน

1 ม.ค. 2561 – 31 ธ.ค. 2561 จานวน (บาท) 91,889,049 204,416 7 92,093,472

1 ม.ค. 2560 – 31 ธ.ค. 2560 จานวน (บาท) 87,521,835 186,208 4 87,708,047

ข้ อมูลอื่นๆ รายการ อัตราการเช่าเฉลีย่ (%) อัตราค่าเช่าพื ้นที่เฉลีย่ (บาท/ห้ อง/คืน) อัตราค่าเช่าพื ้นที่สงู สุด (บาท/ห้ อง/คืน) อัตราค่าเช่าพื ้นที่ตา่ สุด (บาท/ห้ อง/คืน) อัตราการเปลีย่ นแปลงค่าเช่า (%) 2.5.2 ข้ อมูลผู้เช่ าช่ วง ผู้เช่าช่วง ที่อยู่ เบอร์ โทร

รายละเอียด 87.4% 4,418 4,955 3,982 6.6%

บริ ษัท แกรนด์ เมย์แฟร์ จากัด 153/3 อาคารโกลเด้ น พาวิลเลียน ชัน8 ้ ซอยมหาดเล็กหลวง ถนนราชดาริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330 027646200

2.5.3 การวิเคราะห์ เกี่ยวกับผลกระทบของการเปลี่ยนตัวผู้เช่ า ค่าเช่าช่วงที่กองทุนจะได้ รับจากผู้เช่าช่วงตามสัญญาเช่าช่วงจะเป็ นที่มาของ รายได้ เพียงแหล่งเดียวของกองทุน ในกรณีที่เกิดเหตุผิดสัญญาภายใต้ สญ ั ญา เช่าช่วง กองทุนอาจบอกเลิกสัญญาเช่าช่วงและหาบุคคลอื่นเพื่อเข้ ามาเป็ น คูส่ ญ ั ญารายใหม่ของสัญญาเช่าช่วงเพื่อบริ หารทรัพย์สินที่เช่า

ความเสี่ยงจากยกเลิกสัญญาเช่ าช่ วง

14

อนึง่ จนกว่ากองทุนดาเนินการหาคูส่ ญ ั ญารายใหม่แทนผู้เช่าช่วงและสามารถ เจรจาตกลงกับผู้เช่าช่วงรายใหม่ได้ สาเร็ จ กองทุนจะมีสิทธิ ในการเรี ยกร้ อง ค่าเสียหายตามกฎหมายเนื่องจากการผิดสัญญาและมีสิ ทธิ ในการบังคับ หลักประกัน ซึ่งหากกองทุนไม่สามารถบังคับหลักประกันได้ ตามขันตอนและ ้ ในเวลาอันสมควร หรื อไม่สามารถหาคู่สญ ั ญารายใหม่ซึ่งได้ รับใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการโรงแรมภายในเวลาอันสมควร หรื อไม่สามารถเจรจาตกลงกับ คูส่ ญ ั ญารายใหม่ในสัญญาเช่าช่วงฉบับใหม่โดยมีข้อกาหนดที่เป็ นประโยชน์ ต่ อ กองทุ น ได้ กระแสรายได้ ของกองทุ น อาจหยุ ด ชะงั ก หรื อลดลงเป็ น ระยะเวลาหนึ่ ง ซึ่ ง อาจมี ผ ลกระทบในทางลบอย่ า งมี นั ย ส าคั ญ ต่ อ ผล ประกอบการของกองทุน


การไม่ ต่อสัญญาเช่ าช่ วง

ภายใต้ โครงสร้ างของโครงการ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จะให้ กองทุนเช่า ที่ดินและอาคารตามสัญญาเช่าที่ดินและอาคารเป็ นระยะเวลา 30 ปี และ กองทุนจะซื ้อและ/หรื อรั บโอนเฟอร์ นิเจอร์ และอุปกรณ์ อานวยความสะดวก ต่า งๆที่ เกี่ ยวเนื่อ งกับ การด าเนิ นธุ ร กิ จ ของโครงการเมย์ แฟร์ แมริ อ อทจาก โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) และกองทุนจะให้ ผ้ เู ช่าช่วงเช่าทรัพย์สินที่ลงทุนไป ดาเนินกิจการโรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเมนท์ภายใต้ สญ ั ญาเช่าช่วงโดยมี ระยะเวลาการเช่าในเบื ้องต้ นประมาณ 16 ปี เพื่อเป็ นการประกันการปฎิบตั ิตามสัญญาเช่าช่วงของผู้เช่าช่วงตลอดอายุของ สัญญาเช่าผู้เช่าช่วงประสงค์ ที่จะจัดให้ มีหลักประกันแก่กองทุนตามหัวข้ อ (“การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สนิ ของกองทุน”) นอกจากนี ้ภายใต้ สญ ั ญา เช่า ช่วง ผู้เ ช่า ช่วงจะให้ ค ามั่น ว่าจะเช่าทรั พย์ สิน ที่ลงทุนจากกองทุน หาก กองทุนมีความประสงค์ที่จะให้ ผ้ เู ช่าเช่าช่วงทรัพย์สินที่ลงทุน ต่อไปภายหลัง จากสิ ้นสุดสัญญาเช่าช่วงต่อไปอีกเป็ นระยะเวลา 10 ปี ภายใต้ เงื่อนไขบาง ประการตามสัญญาเช่าช่วง

2.5.4 ข้ อมูลผู้บริหารโครงการ ผู้บริ หารโครงการ บริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จากัด ที่อยู่ เลขที่ 60 ซอยหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เบอร์ โทร 026721234 บริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จากัด (MARRIOTT) เป็ นผู้บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ให้ แก่ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์โกลด์ โดย MARRIOTT เป็ นบริ ษัทในเครื อของแมริ ออท อินเตอร์ เนชั่นแนล บีวี ซึ่งเป็ นผู้บริ หารเซอร์ วิสอพาร์ ตเมนท์และโรงแรมระดับสากล ช่องทาง ข้ อมูลทัว่ ไป การขายของเครื อแมริ ออทสามารถขยายฐานลูกค้ าได้ มากขึ ้น โดยมีโปรแกรมและสิทธิ พิเศษ ร่ ว มกับ เครื อ แมริ อ อทส าหรั บ ลูก ค้ า ที่ เ ข้ า พัก ซึ่ง ท าให้ ได้ เ ปรี ย บเหนื อ เซอร์ วิ สอพาร์ ตเมนท์ หลายแห่งที่ตงอยู ั ้ บ่ ริ เวณถนนหลังสวน 2.5.5 การรั บประกันรายได้ กองทุนรวมไม่มีการรับประกันรายได้

15


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 2.6 การกู้ยมื เงิน ในการจัดการกองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ กองทุนรวมอาจกู้ยืมเงินได้ ทังนี ้ ้ ไม่ว่าจะมีการให้ หลักประกันไว้ ด้วย หรื อไม่ก็ตาม และต้ องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี ้ (1) ปรับปรุ งอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุนรวมหรื ออสังหาริ มทรัพย์ที่กองทุนรวมมีสิทธิ การเช่าให้ อยู่ในสภาพดีและ มีความพร้ อมที่จะใช้ หาผลประโยชน์ (2) ต่อเติมหรื อก่อสร้ างอาคารเพิ่มเติมบนที่ดินที่มีอยู่แล้ วซึ่งเป็ นของกองทุนรวมหรื อที่กองทุนรวมมีสิทธิ การเช่า เพื่อประโยชน์ในการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนรวม (3) ลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์หรื อสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์เพิ่มเติม (4) เป็ นการกู้ยืมเงิ นโดยคานึงถึงประโยชน์ ของผู้ถือหน่วยลงทุนเป็ นสาคัญ ทัง้ นี ้ ในกรณี ที่เป็ นการกู้ยืมเงิ นเพื่อ ปรั บปรุ งอสังหาริ มทรัพย์ ที่กองทุนรวมมีสิทธิ การเช่าตามข้ อ (1) หรื อเพื่อต่อเติมหรื อก่อสร้ างอาคารเพิ่มเติม บนที่ดินที่มีอยูแ่ ล้ วที่กองทุนรวมมีสทิ ธิการเช่าตามข้ อ (2) บริ ษัทจัดการกองทุนรวมต้ องคานึงถึงกาหนดเวลาเช่า ที่เหลืออยูต่ ามสัญญาเช่าด้ วย และ (5) จานวนเงินที่ก้ ูยืมต้ องไม่เกินร้ อยละ 10 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ ของกองทุนรวม และในกรณีที่ต่อมาภายหลัง จานวนเงินที่ก้ ยู ืมเกินอัตราส่วนดังกล่าว แต่การเกินอัตราส่วนนันมิ ้ ได้ เกิดจากการกู้ยืมเงินเพิ่มเติม บริ ษัทจัดการ กองทุนรวมจะคงอัตราส่วนการกู้ยืมเงินไว้ ตอ่ ไปก็ได้ แต่จะกู้ยืมเงินเพิ่มเติมอีกไม่ได้ จนกว่าอัตราส่วนการกู้ยืมเงิน จะลดลงจนน้ อยกว่าร้ อยละ 10 ของมูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิของกองทุนรวม (6) บริ ษัทจัดการจะดาเนินการกู้ยืมเงินได้ ต่อเมื่อได้ รับมติโดยเสียงข้ างมากของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งคิดตามจานวน หน่วยลงทุนเกินกว่ากึ่งหนึง่ ของจานวนหน่วยลงทุนที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมด ้ โดยการประชุมที่มีการเรี ยกประชุม โดยชอบ หรื อการลงมติโดยการเวียนลงนามในมติที่ทาขึน้ เป็ นลายลักษณ์ อักษรโดยหากเป็ นการขอมติเพื่อ กู้ยื ม เงิ น เพื่ อ ดาเนิน การตามข้ อ (3) ห้ ามมิ ให้ บ ริ ษั ท จัด การนับจ านวนหน่ว ยลงทุนของผู้ถื อหน่วยลงทุน ที่ มี ส่วนได้ เสียในการลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์หรื อสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์เพิ่มเติมรวมในมติดงั กล่าว 3. ภาพรวมของภาวะอุตสาหกรรมของธุรกิจการจัดหาผลประโยชน์ จากอสังหาริมทรัพย์ ท่ ลี งทุน ตลาดเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์มีกาหนดการพัฒนาก่อสร้ างแล้ วเสร็ จในอนาคตในช่วง 1-3 ปี ข้ างหน้ าที่ค่อนข้ าง จากัด โดยส่วนใหญ่จะเป็ นโครงการที่ตงอยู ั ้ ร่ ่วมกับโครงการมิกซ์ยสู ในเขตรอบใจกลางเมืองกรุ งเทพมหานคร สาเหตุหลัก อันเนื่องมาจากการแข่งขัยที่สงู ถึงแม้ วา่ จานวนของชาวต่างชาติที่ทยอยเข้ ามาทางานในกรุ งเทพมหานครจะเพิ่มขึ ้นและมี แนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง สาหรับในทุกๆไตรมาส แต่เนื่องจากอุปทานมีอยูอ่ ย่างมากสาหรับตลาดที่พกั อาศัย ดังนันค่ ้ า เช่าและอัตราค่าเช่าสาหรับปี 2562 ถือว่าไม่แตกต่างจากปี 2561 มากนัก ถนนสุขมุ วิทเป็ นพื ้นที่หนึ่งที่ผ้ เู ช่าให้ ความสนใจเป็ นอย่างมาก อุปทานส่วนใหญ่ที่กาหนดการก่อสร้ างแล้ วเสร็ จ ในช่วงระหว่างปี 2562 -2564 เลือกที่จะพัฒนาเกาะแนวถนนเส้ นนี ้ รวมไปถึงเขตพื ้นที่รอบใจกลางเมือง ทั ง้ นี ้โครงการ พัฒนาเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ในช่วง 1-3 ปี ข้ างหน้ าเพิ่มขึ ้นเพียงเล็กน้ อย และส่วนใหญ่จะเป็ นโครงการที่ตงอยู ั ้ ่ร่วมกับ โครงการมิกซ์ยสู ในเขตรอบใจกลางเมืองกรุงเทพมหานคร ด้ านอัตราค่าเช่าสาหรับทุกทาเลถือว่ายังคงใกล้ เคียงกับปี ก่อน หน้ า โดยเฉลีย่ รายเดือนอยูท่ ี่ประมาณมากกว่า 840 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือนสาหรับทุกทาเล ยกเว้ นแต่พื ้นที่รอบเมือง กรุงเทพมหานครในทิศใต้

16


3.1 อุปทาน สาหรับเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2561 มีกาหนดการก่อสร้ างแล้ วเสร็ จประมาณ 56 ยูนิต ซึ่งส่งผล ให้ ตลาดเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์โดยรวมสาหรับปี 2561 ในเขตกรุงเทพมหานาครมีปริ มาณรวม 916 ยูนิต และอุปทานสะสม สาหรับเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ทงหมด ั้ ณ สิ ้นปี 2561 มีจานวน 20,372 ยูนิต และอีกประมาณมากกว่า 4,689 ยูนิตอยู่ใน ระหว่างการก่อสร้ าง ซึ่งมีกาหนดการเปิ ดให้ บริ การภ่ายในช่วงปี 2562-2564 ซึ่งเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ระดับดี (เกรด A) มี ทาเลตังอยู ้ โ่ ดยรอบเขตสวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนาอสังหาริ มทรั พย์ ที่อยู่อาศัยประเภทหลักที่มีส่วนแบ่งการครองตลาดมากที่สุด ได้ แก่คอนโดมิเนียนและอพาร์ ทเม้ นกลุม่ ราคาแพง ซึ่งถือเป็ นตัวการสาคัญที่ ทาให้ จานวนของเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ในเขต กรุงเทพมหานคร เปิ ดใหม่ลดลงอย่างมาก สาหรับพื ้นที่เมืองชันใน ้ ประกอบกับโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์บางโครงการ ได้ ถือครองใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรม ซึง่ ส่งผลให้ ผ้ ปู ระกอบการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์กลุม่ นี ้ใหความสนใจกับกลุม่ ผู้ เช่ า รายวัน มากกว่ า รายเดื อ น หรื อ รายปี เนื่ อ งจากมี ก ารหมุน เวี ย นที่ สูง กว่ า ทัง้ นี ม้ ี ผ้ ูป ระกอบกิ จ การโรงแรมและ คอนโดมิเนียมบางส่วน ปรับเปลี่ยนพื ้นที่ส่วนหนึ่งของโครงการจากเดิมเปลี่ยนเป็ นเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ ซึ่งเห็นได้ จาก โรงแรมระดับ 4-5 ดาว และคอนโดมิเนียมบางโครงการในกรุงเทพมหานคร มีอตั ราค่าเช่ารายเดือนที่ใกล้ เคียงกับเซอร์ วิสอ พาร์ ทเม้ นท์ทวั่ ๆไป พื ้นที่แนวถนนเส้ นสุขมุ วิทตอนต้ นมีจานวนเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ประมาณ 9,417 ยูนิต ซึ่งครองสัดส่วนมากที่สดุ ในตลาด ในขณะที่พืน้ ที่ รอบเมืองกรุ งเทพมหานครทางทิศ ใต้ มีจานวนเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ ตัง้ โครงการอยู่น้อยที่สุด ประมาณ 956 ยูนิต โดยพื ้นที่โซนสุขุมวิทตอนต้ น จัดเป็ นพื ้นที่แนวเศรษฐกิจหลักของกรุ งเทพมหานคร ทังทั ้ งโครงการ ้ อาคารสานักงาน โครงการค้ าปลีกจานวนมาก รวมไปถึงการเข้ าถึงได้ อย่างง่ายจากการพัฒนาโครงการระบบขนส่งมวลขน สาธารณะ รถไฟฟ้ า BTS ซึ่ง เป็ นปั จ จัย หลัก ส าคัญ ในการพัฒ นาโครงการเซอร์ วิ ส อพาร์ ท เม้ น ท์ ใ นใจกลางเมื อ ง กรุงเทพมหานคร

30,000

2,000

25,000 20,000

1,500

15,000

1,000

10,000

500

อุปทานสะสม

อุปทานที่เพิ่มขึน้ ระหว่ างปี

อุปทานเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ สะสมในกรุ งเทพมหานคร ณ ไตรมาที่ 4 พ.ศ.2561 2,500

5,000

อุปทานที่เพิ่มขึ ้นระหว่างปี

ปี

2564F

2562F

2560

2558

2556

2554

2552

2550

2548

2546

0 2544

0

อุปทานสะสม

ทีม่ า: ฝ่ ายวิ จยั คอลลิ เออร์ ส อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย หมายเหตุ: F= ยูนิตทืม่ ีกาหนดสร้างเสร็ จในระหว่างปี พ.ศ.2562-2564

17


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 3.2 อุปสงค์ จากข้ อมูล ณ สิ ้นเดือนธันวาคมปี 2561 พบว่าจานวนชางต่างชาติที่มีใบอนุญาตทางานในกรุ งเทพมหานครอยู่ ประมาณ 95,033 คน และมีจานวนเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา แต่เนื่องจากมีประเภทที่พักอาศัย ทางเลือกอื่นที่อยู่ในพื ้นที่ตามแนวรถไฟฟ้ า เช่น คอนโดมิเนียม และอพาร์ ทเม้ นระดับ Luxury หรื อ High-end ซึ่งมีระดับ อัตราค่าเช่าที่ใกล้ เคียงและอาจจะต่ากว่าในบางโครงการ ที่อ ยู่ทาเลเดียวกันกับโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์อย่างน้ อย ประมาณ 10% จานวนนักลงทุนชาวต่างชาติยงั คงมองหาโอกาสในการลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะนักลงทุนและนักธุรกิจ ชาวญี่ปนุ่ เพียงเฉพาะชาติญี่ปนที ุ่ ่เข้ ามาทางานในประเทศไทยมีสดั ส่วนถึง 25% ตามมาด้ วยประเทศต่างๆในแถบทวีป เอเชีย เช่น จีน เกาหลีใต้ ไต้ หวัน และยุโรปบางส่วน

4Q 2561

3Q 2561

2Q 2561

1Q 2561

4Q 2560

3Q 2560

2Q 2560

1Q 2560

4Q 2559

3Q 2559

2Q 2559

1Q 2559

4Q 2558

3Q 2558

2Q 2558

1Q 2558

4Q 2557

3Q 2557

2Q 2557

100,000 90,000 80,000 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0 1Q 2557

จานวน

ชาวต่ างชาติท่ ขี อใบอนุญาตทางานในกรุ งเทพมหานคร ในช่ วงไตรมาสที่ 1 พ.ศ.2557 - ไตรมาสที่ 4 พ.ศ.2561

ไตรมาส

ทีม่ า: กระทรวงแรงงาน

3.3 อัตราการเช่ า สาหรับอัตราการเช่าในเขตพื ้นที่สขุ มุ วิทตอนปลายครองอันดับอัตราการเช่าที่สงู ที่สดุ โดยอยู่ที่ประมาณ 87% และอัตราการเช่าเฉลีย่ ในเขตพื ้นที่ศนู ย์กลางธุรกิจ ถึงพื ้นที่สขุ มุ วิทตอนต้ น ยังคงมีอตั ราการเช่าใกล้ เคียงกันไตรมาสก่อน หน้ า ส่วนพื ้นที่สขุ มุ วิทตอนปลายที่มีครอบอันดับอัตราการเช่าสูงสุดเนื่องมาจากได้ รับความนิยมจากชาวต่างชาติที่เข้ ามา ปั กหลักทางานอยู่ในกรุ งเทพมหานคร โดยเฉพาะตามแนวถนนสุขุมวิท 55 และโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายเป็ นอีก ปั จจัยสาคัญในการเพิ่มความต้ องการที่อยูอ่ าศัยในพื ้นที่อื่นๆ อัตราการเช่าโดยเฉลีย่ ของโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ในทุกทาเลของกรุ งเทพมหานครประมาณ 74% และสูง ถึง 90% ในบางพื ้นที่ โดยพื ้นที่ในเขตศูนย์กลางธุรกิจและพื ้นที่ตามแนวถนนเส้ นสุขมุ วิม ยังคงครองอันดับแรก ยอดนิยม สาหรั บชาวต่างชาติที่ เข้ ามาทางานในกรุ งเทพมหานคร ซึ่งมี อัตราการเช่าเฉลี่ย อยู่ที่ประมาณ 80% เนื่อ งจากความ สะดวกสบายในการเดินทาง ประกอบกับสิง่ อานวยความสะดวกอื่นๆ ทังโครงการค้ ้ าปลีกมากมาย แหล่งร้ านอาหาร แหล่ง สถานบันเทิง และการเข้ าถึงที่สะดวกด้ วยรถไฟฟ้ า BTS มากไปกว่านัน้ อัตราค่าเช่าไม่ได้ สงู เทียบเท่ากับโครงการเซอร์ วิสอ พาร์ ทเม้ นท์ที่ตงอยู ั ้ ่โดยรอบของสวนลุมพินี ซึ่งเป็ นทาเลที่มีอตั ราเค่าเช่าสาหรับโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์สงู ที่สดุ ใน กรุงเทพมหานคร

18


กลุม่ ลูกค้ าหลักของโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ ยังคงเป็ นกลุม่ ชาวต่างชาติที่ย้ายถิ่มฐานทังถาวรและชั ้ ว่ คราว เข้ ามาปั กหลักทางานในกรุงเทพมหานคร และต้ องการที่พกั อาศัยระยะยาว ซึ่งชาวต่างชาติที่เข้ าพักในโครงการเซอร์ วิสอ พาร์ ทเม้ นท์สว่ นใหญ่จะได้ รับจัดสรรที่พกั มากจาบริ ษัทนายจ้ างที่พวกเขาทางานให้ แม้ ว่าชาวต่างชาติบางส่วนจะเลือกที่ พักอาศัยในประเภทอื่นๆทดแทน เช่นโครงการคอนโดมิเนียมและอพาร์ ทเม้ นท์ในทาเลใกล้ เคียงกัน ดังนันอั ้ ตราการเช่า โครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ในกรุงเทพมหานครจึงค่อนข้ างคงที่ในช่วงหลายปี ที่ผา่ นมา แม้ วา่ จานวนของชาวต่างชาติจะ เพิ่มขึ ้นและมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง เป็ นสาเหตุให้ ผ้ ปู ระกิ บกิ จการโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ บางส่วนต้ อ ง ปรับเปลีย่ นพื ้นที่พกั อาศัยระยะยาวเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ เป็ นระยะสันแบบรายวั ้ น เพื่อเพิ่มอัตราการหมุนเวียนที่ดีกว่า

อัตราการเช่ า (%)

อัตราการเช่ าเฉลี่ยในทุกพืน้ ที่ของกรุ งเทพมหานคร ณ ไตรมาสที่ 4 พ.ศ.2561 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

ทาเล

ทีม่ า: ฝ่ ายวิ จยั คอลลิ เออร์ ส อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย

3.4 อัตราค่ าเช่ า อัตราค่าเช่าเฉลี่ยของทุกทาเลในไตรมาสที่ 4 ปี 2561 ยังคงใกล้ เคียง ปรับตัวเล็กน้ อยเปรี ยบเทียบกับช่วง เดียวกันของปี ก่อนหน้ า ส่วนอัตราค่าเช่ารายเดือนเฉลี่ยของโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ในกรุ งเทพมหานครโดยรวมทุก ทาเลอยูใ่ นระดับมากกว่า 840 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน ยกเว้ นเพียงพื ้นที่รอบนอกทางทิศใต้ ที่มีอตั ราค่าเช่าเฉลี่ย 640 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือนเท่านัน้ และเขตพื ้นที่ครองอันดับอัตราค่าเช่าโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์สงู ที่สดุ ยังคงเป็ น พื ้นที่รอบเขตสวนลุมพินีที่ประมาณ 1,200 บาทต่อต่ารางเมตรต่อเดือน เนื่องจากโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์สว่ นใหญ่ จัดเป็ นระกับ Luxury และ แบรนด์ตา่ งประเทศหลายโครงการนิยมทาเลในส่วนนี ้ แม้ วา่ การพัฒนาโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ในกรุ งเทพมหานครมีการขยายตัวเพียงเล็กน้ อยในช่วงหลายปี ที่ ผ่านมา แต่ปัจจัยบวกหลายอย่างช่วยผลักดันให้ ตลาดเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ในปี 2561 ยังคงมีทิศทางที่ดี ในอนาคต การ ลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) เพิ่มมากขึ ้น ความมีเสถียรภาพทางการเมืองในช่วง 3-4 ปี ที่ผ่านมา และโรงงานใหม่ ในนิคมอุตสาหกรรมในเขตพื ้นที่รอบนอกกรุ งเทพมหานคร ยังเป็ นแม่เหล็กดึงดูดชาวต่างชาติ โดยเฉพาะพื ้นที่พฒ ั นา เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึง่ เป็ นปั จจัยหลักที่ช่วยส่งเสริ มความต้ องการโครงการเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์มากขึ ้น

19


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ค่ าเช่ าเฉลี่ยของห้ องแบบ 1 ห้ องนอนรายทาเลในกรุ งเทพมหานคร ณ ไตรมาสที่ 4 พ.ศ.2561 บาทต่ อตารางเมตรต่ อเดือน

1,400 1,200

1,000 800 600

พืน้ ที่ศูนย์ กลางธุรกิจ

ไตรมาส พืน้ ที่รอบสวนลุมพินี

พืน้ ที่สุขุมวิทตอนต้ น

พืน้ ที่สุขุมวิทตอนปลาย

พืน้ ที่รอบเมืองทิศใต้

พืน้ ที่อ่ นื ๆ

4Q 2561

3Q 2561

2Q 2561

1Q 2561

4Q 2560

3Q 2560

4Q 2559

3Q 2559

2Q 2559

1Q 2559

4Q 2558

3Q 2558

2Q 2558

1Q 2558

400

ทีม่ า: ฝ่ ายวิ จยั คอลลิ เออร์ ส อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย

4. ปั จจัยความเสี่ยง 4.1 ความเสี่ยงโดยตรงต่ อกองทุนหรือผู้ถอื หน่ วยลงทุน 4.1.1 ความเสี่ยงโดยทั่วไป ภาวะทางเศรษฐกิจและธุรกิจโดยทัว่ ไป ซึ่งรวมถึง อัตราเงินเฟ้ อ อัตราดอกเบี ้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาเครื่ อง อุปโภคและบริ โภค ราคาอสังหาริ มทรัพย์ และนโยบายทางการเงินและการคลังของรัฐบาล ธนาคารแห่งประเทศไทย และ หน่วยงานราชการอื่น ซึง่ มีอิทธิพลต่อผลการดาเนินงาน สถานะทางการเงินและการลงทุนของกองทุนรวมและภาวะตกต่า ทางเศรษฐกิจโดยทัว่ ไปตลอดจนการลดลงของความต้ องการของผู้บริ โภคอาจส่งผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั สาคัญ ต่อ ผลการดาเนินงานและสถานะทางการเงินของผู้เช่าช่วงซึ่งจะมีผลต่อรายได้ ของกองทุนรวม ราคาซื ้อขายหน่วยลงทุนใน ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยซึ่งอาจมีราคาสูงหรื อต่ากว่าราคาที่ได้ เสนอขาย โดยราคาของหน่วยลงทุนที่ซื ้อขาย ในตลาดหลัก ทรั พ ย์ แ ห่ง ประเทศไทยอาจได้ รั บ ผลกระทบปั จ จั ย ภายนอกหลายประการซึ่ ง เป็ นปั จ จัย ที่ ก องทุน รวม ไม่สามารถควบคุมได้ อันได้ แก่ ความเคลื่อนไหวหรื อความเปลี่ยนแปลงของตลาดหุ้นระหว่างประเทศ อัตราดอกเบีย้ ภายในประเทศและต่างประเทศ อัตราแลกเปลีย่ น นโยบายหรื อมาตรการทังทางตรงหรื ้ อทางอ้ อมที่มีผลต่อการนาเข้ าหรื อ ส่งออกเงินต่างต่างประเทศ ภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศและระหว่างประเทศ ปั จจัยความเสี่ยงในการดาเนินงานและ ทางธุรกิจโดยทัว่ ไป ความผันผวนของตลาดเครื่ องอุปโภคและบริ โภค ระเบียบข้ อบังคับภาษี อากร และนโยบายอื่นใด ของรัฐบาล ไม่มีหลักประกันได้ ว่าความเปลี่ยนแปลงของปั จจัยภายนอก ดัง กล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อ ราคาของหน่วยลงทุน

20


4.1.2 ความเสี่ยงทางการเมือง นับตังแต่ ้ การรัฐประหารอีกครั ง้ ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรื อ คสช. ที่มีพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา เป็ นหัวหน้ าคณะ ตัง้ แต่วนั ที่ 22 พฤษภาคม 2557 และเข้ าดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ของประเทศไทย การเมือง การปกครองก็ไม่มีเหตุการณ์ นองเลือด หรื อเหตุการณ์ ใดๆ ที่มีนั ยสาคัญต่อการปกครองภายใต้ การบริ ห ารของรัฐบาล ชุดปั จจุบันและคณะรั กษาความสงบแห่ง ขาติ ไม่สามารถรั บรองได้ ว่า จะไม่เ กิ ดการปะทะกัน อย่างรุ นแรงในอนาคต หากเกิ ดเหตุก ารณ์ ปะทะกันดัง กล่าวสภาวะเศรษฐกิ จและการท่องเที่ย วในประเทศไทยอาจได้ รั บ ผลกระทบรุ นแรง ซึ่งจะก่อให้ เกิดผลกระทบรุ นแรงต่อสถานะทางการเงินของกองทุน รวม ทังนี ้ ้ จึงไม่สามารถรับรองได้ ว่าความสัน่ คลอน ทางการเมืองของประเทศไทยในปั จจุบนั หรื อในอนาคต หรื อการเปลี่ยนแปลงของนโยบายทางการเมืองของรัฐบาลจะ ไม่มีผลกระทบร้ ายแรงต่อการดาเนินกิจการ สภาวะทางการเงิน ผลการดาเนินกิจการ และการเติบโตของกองทุน รวม 4.1.3 ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ และการก่ อวินาศกรรม การเกิดภัยธรรมชาติ อุบตั ิภยั และการก่อวินาศกรรม แม้ จะมีโอกาสเกิดขึ ้นไม่บ่อยนัก แต่หากเกิดขึ ้นในบริ เวณ ที่ตงอสั ั ้ งหาริ มทรัพย์ของกองทุนรวม นอกจากจะสร้ างความเสียหายต่อทรัพย์สินของกองทุน รวมแล้ ว จะยังความสูญเสีย แก่ชีวิตและทรัพย์สินของผู้เช่าและผู้มาใช้ บริ การในโครงการของกองทุน รวมอย่างประเมินค่าไม่ได้ ทางโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) และหรื อผู้เช่าช่วงจะได้ เตรี ยมมาตรการเพื่อลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ อุบตั ิภยั และการก่อวินาศกรรม ไว้ อย่างรัดกุม ตลอดจนมีการฝึ กอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้ องให้ มีความรู้ ความเข้ าใจ และทักษะในการอพยพผู้คน นอกจากนี ้ กองทุน รวมจะได้ ท าประกัน ภัย ที่ ค รอบคลุม ความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากอุบัติ ภัย ไว้ สาหรั บ อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ของกองทุนรวม 4.1.4 ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานของกองทุนรวม ก่อนการลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์ ผู้จดั การกองทุนได้ ทาการศึกษาข้ อมูลรายละเอียดของอสังหาริ มทรัพย์นนๆ ั้ โดยทาการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้ อง (Due Diligence) ศึกษารายละเอียดจากรายงานของผู้ประเมินราคา และรายงาน ทางวิศวกรรมของอสัง หาริ มทรั พ ย์ ชิน้ นัน้ ๆ อย่างละเอียด อย่างไรก็ ตามการกระท าดังกล่าวมิได้ เป็ นการประกันว่า อสังหาริ มทรัพย์ดงั กล่าวปราศจากความเสียหาย หรื อความบกพร่อง ที่อาจจะต้ องมีคา่ ใช้ จ่ายในการปรับปรุงหรื อซ่อมแซม รายงานของผู้ประเมินราคา และรายงานทางวิศวกรรมของอสังหาริ มทรัพย์ชิ ้นนันๆ ้ ที่ผ้ จู ดั การกองทุนใช้ เป็ นพื ้นฐานในการ ประเมิ น และตรวจสอบอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ อ าจมี ข้ อ บกพร่ อ ง มี ค วามไม่ ถู ก ต้ อ ง เนื่ อ งจากความบกพร่ อ งบางอย่ าง ของอสังหาริ มทรัพย์ อาจจะตรวจพบได้ ยาก หรื อไม่สามารถตรวจพบได้ เนื่องจากข้ อจากัดในการตรวจสอบ รวมไปถึง เทคนิ ค ที่ ใ ช้ ในการตรวจสอบ หรื อ ปั จ จัย อื่ น ๆ ที่ เ ป็ นข้ อ จ ากัด ในการตรวจสอบของทัง้ ผู้ป ระเมิ น ราคา และวิ ศ วกร นอกจากนี ้แล้ ว อสังหาริ มทรัพย์ชิน้ นันๆ ้ อาจจะมีการละเมิ ดกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่ ง การศึ ก ษาข้ อ มูล รายละเอี ย ดและการตรวจสอบเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อง ( Due Diligence) ของผู้จัด การกองทุ น อสังหาริ มทรัพย์ไม่สามารถครอบคลุมถึงได้ ซึ่งอาจจะส่งผลให้ กองทุนเกิดค่าใช้ จ่ายหรื อข้ อผูกพันที่เกี่ยวกั บการละเมิด กฎข้ อบังคับดังกล่าว 4.1.5 ความเสี่ยงจากการไม่ ต่อระยะเวลาการเช่ าเมื่อครบปี ที่ 30 เนื่องจากสัญญาเช่าที่ดินและอาคารที่กองทุนรวมจะทากับโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) นัน้ จะมีกาหนดเวลา 30 ปี โดยเมื่อสิ ้นสุดกาหนดเวลาการเช่าดังกล่าวโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) ได้ ตกลงให้ คามัน่ แก่กองทุนว่าจะให้ กองทุนมีสิทธิ ที่จะต่อสัญญาเช่าได้ อีกหนึง่ คราวเป็ นระยะเวลา 30 ปี ทังนี ้ ้ แม้ ว่ากองทุนรวมจะมีสิทธิในการต่ออายุสญ ั ญาเช่าดังกล่าว

21


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ตามคามัน่ ที่โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) ได้ ให้ ไว้ ตามสัญญาเช่าที่ดินและอาคารก็ตาม แต่กองทุนรวมอาจไม่สามารถใช้ สิทธิ ในการต่ออายุสญ ั ญาดังกล่าวได้ ไม่วา่ จากสาเหตุใดก็ดี เช่น การผิดสัญญาโดยเจตนาของโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) หรื อ การมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายหรื อข้ อปฏิบตั ิทางกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาเช่าที่ ดินและอาคาร หรื อผู้รับโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สนิ ที่เช่าซึง่ เป็ นบุคคลภายนอกไม่ยินยอมให้ กองทุนรวมเช่าต่อไป หรื อการเข้ าสูก่ ระบวนการล้ มละลายหรื อฟื น้ ฟู กิจการของโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) เป็ นต้ น เพื่อเป็ นการลดความเสี่ยงในเรื่ องดังกล่าว กองทุน รวมจึงกาหนดเงื่อนไขในสัญญาเช่าที่ดินและอาคารโดยให้ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แ ฟร์ ) ให้ ค ารั บ รองว่า จะไม่ข าย จ าหน่ า ยหรื อ โอนกรรมสิท ธิ์ ใ นทรั พ ย์ สิน ที่ เ ช่ า เว้ น แต่ จ ะได้ รั บ ความยินยอมจากกองทุนรวม นอกจากนี ้ กองทุนรวมได้ จดั ให้ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) นาทรัพย์สินที่ให้ เช่ามาจานองกับ กองทุนรวมเพื่อ เป็ นประกัน การปฏิ บัติ ตามสัญ ญาเช่ า และเยีย วยาความเสีย หายที่เ กิ ด ขึน้ กับกองทุน รวมจากการที่ ไม่ส ามารถใช้ ท รั พ ย์ สิน ที่ เ ช่ า ได้ ต ามสัญญาเช่ า อี ก ด้ ว ย อย่า งไรก็ ดี ก ารด าเนิน การดัง กล่า วอาจไม่สามารถเยี ย วยา ความเสียหายทังหมดที ้ ่เกิดขึ ้นแก่กองทุนรวมได้ 4.1.6 ความเสี่ยงจากการไม่ โอนที่ดินและอาคารให้ แก่ กองทุนเมื่อครบปี ที่ 30 หรื อปี ที่ 60 เมื่อกองทุน ใช้ สิทธิที่จะซื้อที่ดินและอาคารจากโกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แฟร์ ) ตามสัญญาให้ สิทธิ ในการซื ้อที่ดินและอาคาร เมื่อสิ ้นสุดกาหนดเวลาการเช่า 30 ปี และ 60 ปี โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) ได้ ตกลงให้ คามัน่ แก่กองทุนรวมว่าจะให้ กองทุนรวมมีสทิ ธิที่จะซื ้อที่ดินและอาคารจากโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) ได้ ทังนี ้ ้ แม้ ว่ากองทุนรวมจะมีสิทธิในการซื ้อที่ดินและอาคารตามคามัน่ ที่โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) ได้ ให้ ไว้ ตามสัญญา ให้ สิทธิในการซื ้อที่ดินและอาคารก็ตาม แต่กองทุนรวมอาจไม่ได้ รับโอนที่ดินและอาคารตามสัญญาดังกล่าวได้ ไม่ว่าจาก สาเหตุใดก็ ดี เช่น การผิดสัญญาโดยเจตนาของโกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แฟร์ ) หรื อการมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายหรื อ ข้ อ ปฏิ บัติ ท างกฎหมายเกี่ ย วกับ การลงทุน ของกองทุน รวม หรื อ การเข้ า สู่ก ระบวนการล้ ม ละลายหรื อ ฟื ้น ฟู กิ จ การ ของโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) เป็ นต้ น เนื่องจากการโอนที่ดินและอาคารให้ แก่กองทุน รวมจะมีผลสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อมีการ จดทะเบียนการโอนต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องแล้ วเท่านัน้ กองทุนรวมจึงได้ จดั ให้ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) นาทรัพย์สินที่ให้ เช่ามาจานองกับกองทุน รวมเพื่อเป็ นประกัน การปฏิบตั ิตามสัญญาให้ สทิ ธิในการซื ้อที่ดินและอาคาร เพื่อช่วยเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ ้นกับกองทุน รวมจากการที่ ไม่สามารถใช้ สิทธิ ในการซือ้ ที่ดินและอาคาร อย่างไรก็ดีการดาเนินการดังกล่าวอาจไม่สามารถเยียวยาความเสียหาย ทังหมดที ้ ่เกิดขึ ้นแก่กองทุนรวมได้ 4.1.7 การเปลี่ยนแปลงในมาตรฐานบัญชีหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ผลการดาเนินงานของกองทุนรวมอาจได้ รับผลกระทบจากการมีผลบังคับใช้ ของมาตรฐานบัญชีฉบับใหม่ หรื อ การปรับปรุงมาตรฐานทางบัญชี ซึง่ เป็ นปั จจัยที่กองทุนรวมไม่สามารถควบคุมหรื อคาดการณ์ได้ สาหรับการแก้ ไขกฎหมาย ประกาศ ข้ อกาหนด ระเบียบ ข้ อบังคับ บทบัญญัติ แนวนโยบาย และ/หรื อคาสัง่ ของหน่วยงานราชการ หรื อหน่วยงาน ที่มีอานาจตามกฎหมาย ถื อเป็ นเหตุการณ์ ที่ ไม่อาจคาดการณ์ ได้ เ ช่นเดีย วกัน ดังนัน้ กองทุนรวมจึงไม่สามารถที่จ ะ ประเมินผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ และไม่สามารถรับประกันได้ ว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะไม่สง่ ผล กระทบต่อผลการดาเนินงานของกองทุนรวม

22


4.1.8 ราคาของหน่ วยลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ภายหลังการเสนอขาย ภายหลังจากการจดทะเบียนหน่วยลงทุนของกองทุนรวมในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มีหลักประกันว่า สภาวะการซื ้อขายหน่วยลงทุนในตลาดหลักทรัพย์จะมีเสถียรภาพ ราคาตลาดของหน่วยลงทุนอาจมีการลดลงภายหลัง การจดทะเบียนหน่วยลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และอาจไม่สอดคล้ องกับมูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิต่อหน่วย ของกองทุนรวม ซึ่งราคาซื ้อขายของหน่วยลงทุนนัน้ ขึ ้นอยู่กบั หลายปั จจัยๆ อาทิเช่น ผลการดาเนินงานของกองทุนรวม ความผัน ผวนของตลาดหลัก ทรั พ ย์ แ ห่ง ประเทศไทย และปริ ม าณการซื อ้ ขายของหน่ ว ยลงทุน ฯลฯ ดัง นัน้ ผู้ล งทุน อาจไม่สามารถที่จะขายหน่วยลงทุนได้ ในราคาที่เสนอขายหน่วยลงทุน หรื อในราคาตามมูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิ ต่อหน่วย ของกองทุนรวม 4.1.9 มูลค่ าสินทรั พย์ สุทธิของกองทุนรวมอาจมิได้ เป็ นมูลค่ าที่แท้ จริ งซึ่งกองทุนจะได้ รับหากมีการ จาหน่ ายทรั พย์ สินออกไปทั้งหมด หรือมีการเลิกกองทุน มูลค่า สินทรั พย์ สุทธิ ของกองทุน รวมซึ่งได้ กล่า วไว้ ณ ที่นี ้ ได้ ค านวณโดยใช้ ข้อมูลจากรายงานการประเมิ น ค่าทรัพย์สินที่ลงทุนเป็ นข้ อมูลพื ้นฐาน และมูลค่าดังกล่าวอาจมิได้ เป็ นมูลค่าที่แท้ จริ งซึ่งกองทุน รวมจะได้ รับหากมีการ จาหน่ายทรัพย์สนิ ออกไปทังหมด ้ หรื อมีการเลิกกองทุนรวม 4.1.10 ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่ อง เนื่องจากกองทุนรวมจะเป็ นกองทุนรวมประเภทกองทุนปิ ดซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สภาพคล่องในการซื ้อขายหน่วยลงทุนจะประเมินจากความถี่และปริ มาณการซื ้อขายหน่วยลงทุนนันในตลาดหลั ้ กทรัพย์ แห่งประเทศไทย ซึ่งอยู่บนพื ้นฐานของปริ มาณความต้ องการของผู้ซื ้อ-ผู้ขาย (bid-offer) ซึ่งปริ มาณความต้ องการของ ผู้ซื ้อ-ผู้ขาย (bid-offer) ขึ ้นอยู่กบั ปั จจัยหลายประการที่กองทุนรวมไม่สามารถควบคุมได้ อาทิเช่น ปริ มาณความต้ องการ ของตลาด ดังนัน้ จึงมีความเสีย่ งที่หน่วยลงทุนนี ้จะขาดสภาพคล่องในการซื ้อขายในตลาดรอง 4.1.11 ความเสี่ยงด้ านภาษี ในการขาย โอนหรื อรับโอนสิทธิการเช่า หรื อการขาย โอนหรื อรับโอนอสังหาริ มทรัพย์ (ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุน ในอสังหาริ มทรั พย์ ) ในอนาคตนัน้ อาจมีภาระภาษี และค่าธรรมเนียมที่เกิดจากการซือ้ หรื อขายหรื อโอนกรรมสิทธิ์ ใน สิทธิ ก ารเช่าหรื ออสังหาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่งกองทุน รวมอาจต้ องรั บภาระทัง้ หมดหรื อบางส่ว น และอัตราค่าธรรมเนีย มและ อัตราภาษี ที่กองทุนรวมจะต้ องชาระดังกล่าว อาจแตกต่างจากอัตราที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั 4.1.12 มูลค่ าทรั พย์ สินสุทธิของกองทุนรวมจะลดลงไปตามระยะเวลาของสิทธิการเช่ าที่คงเหลือ กองทุน รวมนี ล้ งทุน ในสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ ง มูล ค่า ของสิท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ อ าจลดลง ตามระยะเวลาการเช่าที่เหลือน้ อยลงไปทุกขณะ ซึ่งจะมีผลให้ มูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุน รวมลดลงตามส่วนด้ วย โดยผู้ถือหน่วยลงทุนจะได้ รับส่วนของเงิ นลงทุนเริ่ มต้ นคืน ในรู ปของเงิ นคืนจากการลดทุน และส่วนของผลตอบแทน จากการลงทุนในรู ปของเงินปั นผล และเมื่อสิ ้นสุดระยะเวลาตามสิทธิ การเช่าอสังหาริ มทรัพย์ที่กองทุน รวมได้ ลงทุนไว้ มูลค่าหน่วยลงทุนอาจลดลงจนถึงศูนย์บาทได้

23


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 4.2 ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้ องกับความสามารถในการจัดหาผลประโยชน์ ใ นทรั พย์ สินที่เช่ าของผู้เช่ าช่ วงซึ่งจะ ส่ งผลกระทบต่ อการจัดหาผลประโยชน์ ของกองทุน 4.2.1 ความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของรายได้ กองทุนรวมจะได้ รับค่าเช่าจากผู้เช่าช่วง 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็ นอัตราคงที่และอัตราแปรผัน ทาให้ ความสามารถ ในการจัด หาผลประโยชน์ ใ นทรั พ ย์ สิน ที่ เ ช่ า ของผู้เ ช่ า ช่ ว ง ส่ง ผลกระทบต่อ การจัด หาผลประโยชน์ ข องกองทุน รวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนที่เป็ นอัตราแปรผันซึง่ เป็ นรายได้ หลักของกองทุนรวม ทังนี ้ ้ สัดส่วนของอัตราค่าเช่าคงที่เท่ากับ 4 ล้ านบาทต่อเดือนหรื อ 48 ล้ านบาทต่อปี ซึ่งคิดเป็ นประมาณร้ อยละ 2.33 ของเงินทุนของโครงการเท่านัน้ รายได้ ค่าเช่าที่เหลือที่กองทุน รวมจะได้ รับเป็ นอัตราแปรผันซึ่งอาจมีความผันผวน ตามฤดูกาล (seasonal) 4.2.2 ความเสี่ยงจากการแข่ งขันที่สูงขึ้น ผลประกอบการของกองทุนอาจได้ รับผลกระทบจากสภาวะตลาดของโรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเม้ นท์ การเพิ่มขึ ้นของ จานวนผู้ประกอบการโรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเม้ นท์ การเพิ่มขึ ้นหรื อลดลงของความต้ องการห้ องเช่า การที่มีจานวน โรงแรมและเซอร์ วิ ส อพาร์ ตเม้ นท์ เ พิ่ ม ขึ น้ จะส่ ง ผลท าให้ อุ ป ทานของโรงแรมและเซอร์ วิ ส อพาร์ ตเม้ นท์ เ พิ่ ม ขึ น้ ทาให้ การแข่งขันในการจัดหาผู้เช่าห้ องเพิ่มขึ ้น 4.2.3 ค่ าเช่ าในช่ วงระยะเวลาการโอนใบอนุญาตเปิ ดโรงแรม เนื่องจากผู้เช่าช่วงจะต้ องดาเนินการรับโอนใบอนุญาตเปิ ดโรงแรมจากโกลเด้ น แลนด์ (เมย์ แฟร์ ) ซึ่งผู้เช่าช่วง จะสามารถดาเนินการดังกล่าวได้ ต่อเมื่อผู้เช่าช่วงได้ เข้ าทาสัญญาเช่าช่วงกับกองทุน รวมแล้ ว ซึ่งการโอนใบอนุญาต เปิ ดโรงแรมย่อ มจะต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาพอสมควร ทัง้ นี โ้ ดยปกติ แล้ ว การด าเนิน การโอนใบอนุญ าตเปิ ดโรงแรมน่า จะ ใช้ ระยะเวลาโดยประมาณตังแต่ ้ 1 สัปดาห์ ถึง 2 เดือน แล้ วแต่กรณี ซึ่งในช่วงระหว่างการดาเนินการโอนใบอนุญาต เปิ ดโรงแรมนัน้ อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่อ โครงการเมย์ แ ฟร์ แ มริ อ อท เพราะในช่ ว งระยะเวลาการโอนใบอนุญ าต เปิ ดโรงแรมดังกล่าว โครงการเมย์แฟร์ แมริ ออทจะสามารถจัดหาผลประโยชน์ได้ ในรู ปแบบเซอร์ วิสอพาร์ ตเม้ นท์เท่านัน้ และอาจส่งผลกระทบต่ออัตราค่าเช่าที่กองทุนรวมจะได้ รับ อย่างไรก็ดี โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จะให้ การสนับสนุนในการดาเนินการของกองทุน รวมโดยเข้ ารับประกัน ค่าเช่าขันต ้ ่าของโครงการเมย์แฟร์ แมริ ออท เป็ นจานวนเท่ากับ 107.25 ล้ านบาทในปี บัญชี 2550 และเป็ นจานวน 163.50 ล้ านบาทต่อปี ของแต่ละรอบปี บัญชี 2551 ถึง 2554 4.2.4 ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเมื่อต้ องมีการปรั บปรุ งซ่ อมแซมอาคาร โดยปกติ โรงแรมและเซอร์ วิ ส อพาร์ ตเม้ นท์ แ ต่ ล ะแห่ ง จะต้ องซ่ อ มแซมและปรั บ ปรุ ง ให้ ดู ใ หม่ ทัน สมั ย และสอดคล้ องกับรู ปแบบความต้ องการของลูกค้ าอยู่เสมอ เพื่อดึงดูดลูกค้ าให้ เข้ ามาใช้ บริ การอย่างต่อเนื่อง โดยปกติ การปรับปรุง หรื อการซ่อมแซมบารุงรักษาประจาปี จะไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของกองทุน รวม ยกเว้ น ในกรณี ที่เป็ นการปรั บปรุ งซ่อมแซมใหญ่ การปรั บปรุ งเพื่อเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ ภายนอกและภายในของโรงแรม และเซอร์ วิสอพาร์ ตเม้ นท์ ซึง่ ปกติจะดาเนินการทุก ๆ 5-7 ปี หรื อเป็ นการเปลี่ยนงานระบบสาคัญของโรงแรมและเซอร์ วิส อพาร์ ต เม้ น ท์ ซึ่ ง ปกติ จ ะด าเนิ น การทุ ก ๆ 20 ปี โดยประมาณ โดยทั่ว ไปโรงแรมและเซอร์ วิ ส อพาร์ ตเม้ นท์ จ ะ ไม่มีการหยุดดาเนินการในระหว่างช่วงการปรั บปรุ งนัน้ ๆ การปรั บปรุ งจะดาเนินการเป็ นส่ วนๆ เฉพาะพืน้ ที่ที่ต้องการ

24


ปรับปรุงเท่านัน้ ดังนันผลกระทบต่ ้ อรายได้ ของกองทุนรวมจะเกิดขึ ้นเฉพาะบริ เวณพื ้นที่ที่มีการปรับปรุง หรื อพื ้นที่ใกล้ เคียง ที่ได้ รับการรบกวนจากการปรับปรุง อย่างไรก็ตาม การปรับปรุงซ่อมแซมใหญ่ในแต่ละครัง้ ผู้บริ หารโรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเม้ นท์จะมีการวางแผน เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ ลูก ค้ าน้ อยที่ สุด และจะต้ องศึ ก ษาผลกระทบต่ อ รายได้ และผลตอบแทนที่ ไ ด้ รั บ ทุ ก ครั ง้ ก่อนดาเนินการ การปรับปรุ งซ่อมแซมใหญ่ ถือเป็ นสิ่งที่จาเป็ นในการประกอบธุรกิจโรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเม้ นท์ เพื่ อ รั ก ษาภาพลัก ษณ์ และสอดคล้ อ งกับ การเปลี่ย นแปลงของภาวะตลาดอยู่ต ลอดเวลา เพื่ อ สร้ างความน่า สนใจ ของโรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ตเม้ นท์ และตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า อันจะเป็ นการเพิ่มจานวนลูกค้ า ซึง่ ก็หมายถึง การรักษาและเพิ่มรายได้ และกระแสเงินสดให้ กับกองทุน รวมได้ ในระยะยาว นอกจากนี ้ ในระหว่างระยะเวลาที่มีการ ปรั บปรุ ง ซ่อมแซมใหญ่ ในแต่ละครั ง้ ผู้เช่า ช่วงยังคงต้ องชาระค่าเช่ าอัตราคงที่ให้ แ ก่กองทุน รวม เว้ นแต่การปรั บปรุ ง ซ่อมแซมใหญ่ดงั กล่าวเกิดขึ ้นจากเหตุการณ์ที่เป็ นเหตุสดุ วิสยั 4.3 ความเสี่ยงเกี่ยวกับผู้เช่ าช่ วง 4.3.1 ความเสี่ยงจากยกเลิกสัญญาเช่ าช่ วง ค่าเช่าช่วงที่กองทุนจะได้ รับจากผู้เช่าช่วงตามสัญญาเช่าช่วงจะเป็ นที่มาของรายได้ เพียงแหล่งเดียวของกองทุน ในกรณีที่เกิดเหตุผิดสัญญาภายใต้ สญ ั ญาเช่าช่วง กองทุนอาจบอกเลิกสัญญาเช่าช่วงและหาบุคคลอื่นเพื่อเข้ ามาเป็ น คูส่ ญ ั ญารายใหม่ของสัญญาเช่าช่วงเพื่อบริ หารทรัพย์สินที่เช่า อนึง่ จนกว่ากองทุนดาเนินการหาคู่สญ ั ญารายใหม่แทนผู้เช่าช่วงและสามารถเจรจาตกลงกับผู้เช่าช่วงรายใหม่ ได้ ส าเร็ จ กองทุ น จะมี สิ ท ธิ ใ นการเรี ย กร้ องค่ า เสี ย หายตามกฎหมายเนื่ อ งจากการผิ ด สัญ ญาและมี สิ ท ธิ ใ นการ บังคับหลักประกัน ซึ่งหากกองทุนไม่สามารถบังคับหลักประกั นได้ ตามขันตอนและในเวลาอั ้ นสมควร หรื อไม่สามารถหา คู่สญ ั ญารายใหม่ซึ่งได้ รับใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการโรงแรมภายในเวลาอันสมควร หรื อไม่สามารถเจรจาตกลงกับ คู่สญ ั ญารายใหม่ในสัญญาเช่าช่วงฉบับใหม่โดยมีข้อกาหนดที่เป็ นประโยชน์ ต่อกองทุนได้ กระแสรายได้ ของกองทุน อาจหยุกชะงักหรื อลดลงเป็ นระยะเวลาหนึง่ ซึง่ อาจมีผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั สาคัญต่อผลประกอบการของกองทุน 4.3.2 การไม่ ต่อสัญญาเช่ าช่ วง ภายใต้ โครงสร้ างของโครงการ โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) จะให้ กองทุนเช่าที่ดินและอาคารตามสัญญาเช่าที่ดิน และอาคารเป็ นระยะเวลา 30 ปี และกองทุนจะซือ้ และ/หรื อรับโอนเฟอร์ นิเจอร์ และอุปกรณ์ อานวยความสะดวกต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการดาเนินธุรกิจของโครงการเมย์แฟร์ แมริ ออทจากโกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) และกองทุนจะให้ ผ้ เู ช่าช่วง เช่าทรัพย์สินที่ลงทุนไปดาเนินกิ จการโรงแรมและเซอร์ วิสอพาร์ ทเม้ นท์ ภายใต้ สัญญาเช่าช่วงโดยมีระยะเวลาการเช่า ในเบื ้องต้ นประมาณ 16 ปี เพื่อเป็ นการประกันการปฎิบตั ิตามสัญญาเช่าช่วงของผู้เช่าช่วงตลอดอายุของสัญญาเช่าผู้เช่าช่วงประสงค์ที่จะ จัดให้ มีหลักประกันแก่กองทุนตามหัวข้ อ (“การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของกองทุน ”) ข้ างต้ น นอกจากนี ้ภายใต้ สัญญาเช่าช่วง ผู้เช่าช่วงจะให้ คามัน่ ว่าจะเช่าทรัพย์สนิ ที่ลงทุนจากกองทุน หากกองทุนมีความประสงค์ที่จะให้ ผ้ เู ช่าเช่าช่วง ทรั พย์ สินที่ลงทุน ต่อไปภายหลังจากสิ ้นสุดสัญญาเช่าช่วงต่อไปอีกเป็ นระยะเวลา 10 ปี ภายใต้ เงื่ อนไขบางประการ ตามสัญญาเช่าช่วง

25


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 4.3.3 กระบวนการและระยเวลาในการบังคับหลักประกัน โกลเด้ น แลนด์ (เมย์แฟร์ ) และผู้เช่าช่วงได้ ตกลงที่จะให้ หลักประกันตามที่ได้ ระบุในรายละเอียดโครงการฉบับนี ้ อนึ่ง ในการบังคับหลักประกันอาจจะต้ องใช้ ระยะเวลาตามสมควรขึน้ อยู่กับประเภทของหลักประกันและจานวนคดี ที่ค้างพิจารณาอยูใ่ นศาล ตามรายละเอียดดังระบุไว้ ข้างล่างนี ้ ในการบังคับตามสัญญาค ้าประกันนัน้ กองทุนจะต้ องดาเนินการฟ้ องร้ องต่อศาล เพื่อเรี ยกร้ องค่าเสียหายจาก ผู้ค ้าประกัน และขอให้ ศาลบังคับคดีจากทรัพย์ของผู้ค ้าประกัน โดยการนาทรัพย์สินของผู้ค ้าประกันออกขายทอดตลาด เพื่อนาเงิ น ที่ได้ มาชดเชยความเสียหายของกองทุน ซึ่งในกรณี ปกติจะมีการฟ้ องร้ องผู้คา้ ประกันไปพร้ อมกับลูกหนีท้ ี่ ผิดสัญญา ขันตอนทางกฎหมายในการฟ ้ ้ องร้ องบังคับคดีอาจต้ องใช้ ระยะเวลานานพอสมควร เนื่องจากในการพิจารณาคดี ศาลจะพิ จารณาคดีตามลาดับที่ มีการยื่น ต่อศาลไว้ และเมื่อศาลตัด สิน คดีแ ล้ ว จะต้ องน าทรั พย์ สินของผู้ค า้ ประกัน ออกขายทอดตลาดซึ่งจะมีขนตอนและระยะเวลาที ั้ ่ต้องดาเนินการอีกส่วนหนึ่ง ในกรณีดงั กล่าว กองทุนอาจไม่ได้ รับเงิน จากการขายทอดตลาดในทันที ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อผลประกอบการของกองทุน นอกจากนี ้ หากขณะที่มีการบังคับคดี และขายทอดตลาดทรัพย์ สินที่ลงทุนมีมูลค่าลดลง เงินที่ได้ รับจากการขายทอดตลาดอาจไม่เพียงพอกับค่าเสียหายที่ กองทุนควรได้ รับ ในการบังคับคดีจานาหุ้นหรื อหลักทรัพย์อื่นๆ กองทุนจะต้ องแจ้ งต่อผู้เช่าช่วงล่วงหน้ าถึงเจตนาในการบังคับจานา ซึ่ง หลัง จากนัน้ กองทุน จะสามารถน าหุ้น หรื อ หลัก ทรั พ ย์ ที่ ไ ด้ จ าน าไว้ อ อกขายทอดตลาดเพื่ อ น าเงิ น ที่ ได้ ม าชดเชย ความเสียหายของกองทุน โดยไม่จาเป็ นต้ องดาเนินการฟ้องร้ องต่อศาล ซึง่ ในกรณีทวั่ ไป ขันตอนตั ้ งแต่ ้ การบอกกล่าวบังคับ จานาจนถึงการขายทอดตลาดจะใช้ ระยะเวลาประมาณ 3 - 5 เดือน ในส่วนของการบังคับจานองนัน้ กองทุนจะต้ องดาเนินการฟ้องร้ องต่อศาลเพื่อเรี ยกร้ องค่าเสียหายและขอให้ ศาล บังคับจานอง โดยการน าทรั พย์ สินที่ จานองออกขายทอดตลาด เพื่อ นาเงิ น ที่ได้ มาชดเชยความเสีย หายของกองทุน ซึง่ ในกรณีปกติ ขันตอนทางกฎหมายในการฟ้ ้ องร้ องบังคับคดีและการบังคับจานองอาจต้ องใช้ ระยะเวลานานพอสมควร เนื่องจากในการพิจารณาคดี ศาลจะพิจารณาคดีตามลาดับที่มีการยื่นต่อศาลไว้ และเมื่อศาลตัดสินคดีแล้ ว จะต้ องนา ทรัพย์สนิ ที่จานองออกขายทอดตลาดซึ่งจะมีขนตอนและระยะเวลาที ั้ ่ต้องดาเนินการอีกส่วนหนึ่ง ในกรณีดงั กล่าวกองทุน อาจไม่ได้ รับเงินจากการขายทอดตลาดในทันที ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อผลประกอบการของกองทุน นอกจากนี ้ หากขณะที่มี การบังคับจานองและขายทอดตลาดทรัพย์สินที่เช่ามีมูลค่าลดลง เงินที่ได้ รับจากการขายทอดตลาดอาจไม่เพียงพอกับ ค่าเสียหายที่กองทุนควรได้ รับ 4.3.4 ความเสี่ยงเกี่ยวกับใบอนุญาต ผู้เช่าช่วงจะรับโอนหรื อดาเนินการเพื่อให้ ได้ รับใบอนุญาตเปิ ดโรงแรมจากกระทรวงมหาดไทยเพื่อใช้ ในการ ประกอบกิจการโรงแรม หากใบอนุญาตเปิ ดโรงแรมของผู้เช่าช่วงถูกยกเลิกหรื อไม่มีการต่ออายุ จะมีผลกระทบในทางลบ ต่อผู้เช่าช่วง กล่าวคือจะทาให้ ผ้ เู ช่าช่วงไม่สามารถดาเนินการโรงแรมต่อ ไปได้ และอาจเป็ นผลให้ ไม่สามารถปฎิบตั ิตาม ข้ อกาหนดและหน้ าที่ภายใต้ สญ ั ญาเช่าช่วงได้ การที่ผ้ เู ช่าช่วงไม่สามารถปฎิบตั ิตามข้ อกาหนดและหน้ าที่ภายใต้ สญ ั ญาเช่าช่วงได้ จะเป็ นเหตุเลิกสัญญาและ กองทุนจะมีสทิ ธิที่จะเลิกสัญญาเช่าช่วงได้ อนึง่ จนกว่ากองทุนดาเนินการหาคูส่ ญ ั ญารายใหม่แทนผู้เช่าช่วง และสามารถ เจรจาตกลงกับคู่สัญญารายใหม่ไ ด้ สาเร็ จ กองทุนจะมีสิท ธิ ในการเรี ยกร้ องค่าเสีย หายตามกฎหมายเนื่ องจากการ ผิด สัญ ญาและมีสิทธิ บังคับหลักประกัน ซึ่ง หากกองทุนไม่สามารถใช้ บังคับหลักประกันได้ ต ามขัน้ ตอนและในเวลา อัน สมควรตามรายละเอี ย ดที่ ร ะบุไ ว้ ข้ า งต้ น หรื อ ไม่ส ามารถหาผู้เ ช่ า ช่ ว งรายใหม่เ พื่ อ มาบริ ห ารทรั พ ย์ สิน ที่ ล งทุน ที่ ได้ รับอนุญาตได้ ภายในเวลาอันควร หรื อไม่สามารถเจรจาตกลงกับคู่สญ ั ญารายใหม่ในสัญญาเช่าช่วงฉบับใหม่โดยมี

26


ข้ อกาหนดที่เป็ นประโยชน์ต่อกองทุนได้ กระแสรายได้ ของกองทุนอาจหยุดชะงักหรื อลดลง ซึ่งอาจมีผลกระทบในทางลบ อย่างมีนยั สาคัญต่อผลประกอบการของกองทุน 4.3.5 การลดลงของระดับความต้ องการประกอบธุรกิจและการท่ องเที่ยวในประเทศไทย ปริ มาณลูกค้ าส่วนใหญ่ที่มาใช้ ห้องพักในทรัพย์สินที่เช่าเป็ นนักธุรกิจ พนักงานบริ ษัท นักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ ดังนัน้ การดาเนินกิจการของผู้เช่าช่วงจึงขึน้ อยู่กบั ปั จจัยการลงทุน การประกอบกิจการในประเทศไทย และอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวของประเทศไทย ทังนี ้ ้ในกรณีที่มีการลงทุน หรื อการประกอบกิจการในปะเทศไทยลดลงไม่ว่าด้ วยสาเหตุใดๆ ก็ตามอาจทาให้ จานวนนักท่องเที่ยวและนักธุรกิจที่เดินทางเข้ ามาหรื อเดินทางภายในภูมิภาคมีจานวนลดลง การดาเนิน กิจการของผู้เช่าช่งอาจได้ รับผลกระทบในทางลบจากเหตุการณ์ใดๆ ที่ลดความน่าสนใจของประเทศไทยในฐานะสถานที่ ประกอบธุรกิจ เช่นการเปลีย่ นแปลงในทางลบของชาวต่างประเทศเกี่ยวกับประเทศไทย ผลกระทบจากการก่อวินาศกรรม สงคราม การจลาจล การประท้ วง หรื อการปิ ดล้ อมหรื อ การแพร่ ระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุ นแรง (SARS) โรคไข้ หวัดนกหรื อโรคอื่นใดในภูมิภาค รวมถึงผลกระทบจากความเสี่ยงเกี่ยวกับอธิปไตย และสถานการณ์ทางการเมือง ของประเทศไทยด้ วย ณ วันที่จดั ทาหนังสือชี ้ชวน แม้ วา่ การปฎิรูปดังกล่าวข้ างต้ นจะไม่มีการนองเลือดกัน และสถานการณ์ ทางการเมืองของประเทศไทยยังคงมีความมัน่ คงพอสมควร แต่ก็ไม่สามารถรับรองได้ วา่ จะไม่เกิดการปะทะกันอย่างรุนแรง หรื อความสัน่ คลอนทางการเมืองในอนาคต หากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวสภาวะเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในประเทศไทย อาจได้ รับผลกระทบรุ นแรงซึ่งจะก่อให้ เกิดผลกระทบรุ นแรงต่อสถานะทางการเงินของผู้เช่าช่วงซึ่งย่อมจะส่งผลกระทบ ต่อกองทุนด้ วย 5. ข้ อพิพาททางกฏหมาย กองทุนรวมไม่มีคดีความ ข้ อพิพาทในชันอนุ ้ ญาโตตุลาการ หรื อข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลสาคัญอื่น ผู้ ถื อ หน่ ว ยลงทุ น สามารถศึ ก ษาข้ อมู ล เพิ่ ม เติ ม ของก องทุ น รวมได้ ที่ Website ของบริ ษั ท จั ด การที่ http://www.kasikornasset.com หรื อที่ Website ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ http://www.settrade.com

27


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ส่ วนที่ 3 การจัดการและกากับดูแลกิจการที่ดี 7. ข้ อมูลหน่ วยลงทุน 7.1 ข้ อมูลทั่วไปของหน่ วยลงทุน 7.1.1 ข้ อมูลทั่วไป จานวนเงินทุนโครงการณ วันที่เริ่มลงทุน มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วยลงทุน ณ วันที่เริ่ มลงทุน จานวนเงินทุนโครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วยลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 จานวนหน่วยลงทุน

2,060 ล้ านบาท 10.00 บาท 1,982.79 ล้ านบาท 9.6252 บาท 206 ล้ านหน่วย

7.1.2 ข้ อมูลราคาหลักทรั พย์ และข้ อมูลหน่ วยลงทุน ราคาหลักทรัพย์ (ราคาปิ ด) ณ วันที่ 31 มกราคม 2561 7.23 ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 7.38 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 7.50 ณ วันที่ 30 เมษายน 2561 7.50 ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2561 7.35 ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2561 7.15 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 7.30 ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2561 7.20 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 7.20 ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2561 7.20 ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 7.20 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 7.20 7.2 ตราสารที่กองทุนเป็ นผู้ออก - ไม่มี -

28

มูลค่ าทรัพย์ สนิ สุทธิต่อหน่ วย 9.7067 9.5802 9.6167 9.6512 9.6661 9.6975 9.7395 9.5837 9.6006 9.6137 9.6477 9.7038


7.3 ข้ อมูลผู้ถอื หน่ วย ลาดับ

ผู้ถอื หน่ วย

จานวน (หน่ วย)

ร้ อยละ

1

บริ ษัท แผ่นดินทอง พร็ อพเพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด (มหาชน)

68,000,000

33.01%

2

DBS Bank LTD

26,358,000

12.79%

3

สานักงานประกันสังคม

6,173,300

2.99%

4

UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account

5,012,200

2.43%

5

UBS AG SINGAPORE BRANCH

3,000,000

1.45%

6

นายธนภาคย์ ยงพิพฒ ั น์วงศ์

2,600,000

1.26%

7

RHB SECURITIES HONG KONG LIMITED กองทุน ส ารองเลี ย้ งชี พ พนัก งาน บมจ.ธนาคารกสิ ก รไทย ซึ่ ง จดทะเบียนแล้ ว

2,207,100

1.07%

2,057,700

0.99%

9

น.ส.มารศรี นิรมิตศิริพงศ์

2,000,000

0.97%

10

นายวิโรจน์ ชลสายพันธ์

1,500,000

0.72%

8

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที ่ 28 กันยายน 2561

7.4 การจ่ ายผลตอบแทนของกองทุนรวม 7.4.1 หลักเกณฑ์ การจ่ ายผลตอบแทนของกองทุนรวม กองทุนรวมมีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนดังนี ้ (1) การจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนไม่เกินปี ละ 2 ครัง้ (2) ในกรณี ที่ ก องทุน มี ก าไรสุท ธิ ใ นแต่ ล ะปี บริ ษั ท จัด การจะจ่ า ยปั น ผล บริ ษั ท จัด การจะจ่ า ยเงิ น ปั น ผล แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าร้ อยละเก้ าสิบของกาไรสุทธิประจาปี (3) ในกรณีที่กองทุนมีกาไรสะสม บริ ษัทจัดการอาจจ่ายเงินปั นผลจากกาไรสะสม ทัง้ นี ้กาไรสุทธิ และกาไร สะสมดังกล่า วจะต้ อ งเกิ ดขึน้ จริ ง จากการหาผลประโยชน์ ในทรั พ ย์ สิน ของกองทุน โดยไม่รวมรายการ ดังต่อไปนี ้ (ก.) กาไรหรื อขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจริ งจากการประเมินราคาอสังหาริ มทรัพย์ หลักทรั พย์ และ/หรื อ ทรัพย์สนิ ของกองทุน (ข.) รายจ่ า ยในการจัด ตัง้ กองทุน และรายจ่ า ยในการเสนอขายหน่ว ยลงทุน(ถ้ า มี ) ที่ ได้ บัน ทึก เป็ น ค่าใช้ จ่ายรอการตัดบัญชีและทยอยตัดเป็ นค่าใช้ จ่ายตลอดระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ จากรายจ่ายนัน้ (ค.) การตัง้ สารองค่า ใช้ จ่ า ยหรื อการลงทุนในจานวนตามที่ บ ริ ษั ท จัดการเห็ นสมควรเพื่อ ทรั พ ย์ สิน ของกองทุนรวม

29


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 7.4.2 ประวัติการลดทุนจดทะเบียนและจ่ ายเงินปั นผล ครัง้ ที่

ระยะเวลาการดาเนินงาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

พ.ค. - ธ.ค. 2550 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2551 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2551 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2552 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2552 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2553 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2553 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2554 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2554 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2555 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2555 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2556 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2556 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2557 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2557 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2558 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2558 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2559 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2559 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2560 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2560 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 2561 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2561 รวมทัง้ สิน้

เงินทุนจดทะเบียนก่ อนลดมูลค่ าหน่ วย ลงทุน เงินทุนจดทะเบียน มูลค่ าต่ อหน่ วย (บาท) (บาท) 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,026,628,000 9.8380 2,026,628,000 9.8380 2,026,628,000 9.8380 2,026,628,000 9.8380 2,016,781,200 9.7902 2,016,781,200 9.7902 1,982,791,200 9.6252 1,982,791,200 9.6252 23 ครัง้

มูลค่ าหน่ วยลงทุนที่ลดลง เงินทุนจด ทะเบียน (บาท) 33,372,0002 9,846,8002 33,990,0002 77,208,800

มูลค่ าต่ อหน่ วย (บาท) 0.1620 0.0478 0.1650 0.3748

หมายเหตุ : 1 = มีการรับประกันรายได้ / 2 = มีการลดทุนจดทะเบียน / ข้อมูล ณ ธันวาคม 2561

30

เงินทุนจดทะเบียนหลังลดมูลค่ าหน่ วย ลงทุน เงินทุนจดทะเบียน มูลค่ าต่ อหน่ วย (บาท) (บาท) 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,060,000,000 10.0000 2,026,628,000 9.8380 2,026,628,000 9.8380 2,026,628,000 9.8380 2,026,628,000 9.8380 2,016,781,200 9.7902 2,016,781,200 9.7902 1,982,791,200 9.6252 1,982,791,200 9.6252 1,982,791,200 9.6252

เงินปั นผลจ่ าย จานวนเงินปั น ผล (บาท) 101,063,600 75,808,0001 76,632,0001 76,220,0001 76,838,0001 63,036,0001 89,939,6001 70,040,0001 83,491,8001 31,145,000 33,475,000 28,016,000 37,080,000 19,570,000 33,372,000 34,608,000 39,140,000 22,866,000 41,200,000 40,170,000 40,170,000 1,114,151,000

อัตราปั นผลต่ อหน่ วย (บาท) 0.4906 0.3680 0.3720 0.3700 0.3730 0.3060 0.4366 0.3400 0.4053 0.1525 0.1625 0.1360 0.1800 0.0950 0.1620 0.1680 0.1900 0.1110 0.2000 0.1950 0.1950 5.4085

วันปิ ดสมุด ทะเบียน

วันที่ดาเนินการเฉลี่ย เงินคืน

3 มี.ค. 2551 25 ส.ค. 2551 16 มี.ค. 2552 27 ส.ค. 2552 11 มี.ค. 2553 27 ส.ค. 2553 11 มี.ค. 2554 29 ส.ค. 2554 28 ก.พ. 2555 30 ส.ค. 2555 28 ก.พ. 2556 2 ก.ย. 2556 28 ก.พ. 2557 9 ก.ย. 2557 10 มี.ค. 2558 9 ก.ย. 2558 9 มี.ค. 2559 9 ก.ย. 2559 22 มี.ค. 2560 6 ก.ย. 2560 9 มี.ค. 2561 6 ก.ย. 2561 8 มี.ค. 2562

10 มี.ค. 2551 5 ก.ย. 2551 25 มี.ค. 2552 4 ก.ย. 2552 19 มี.ค. 2553 3 ก.ย. 2553 18 มี.ค. 2554 5 ก.ย. 2554 9 มี.ค. 2555 7 ก.ย. 2555 8 มี.ค. 2556 11 ก.ย. 2556 11 มี.ค. 2557 18 ก.ย. 2557 19 มี.ค. 2558 18 ก.ย. 2558 18 มี.ค. 2559 19 ก.ย. 2559 31 มี.ค. 2560 19 ก.ย. 2560 22 มี.ค. 2561 19 ก.ย. 2561 22 มี.ค. 2562


8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 บริษัทจัดการ 8.1.1 ชื่อ ที่อยู่ เลขทะเบียนบริษัท หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร เว็บไซด์ ของบริษัทจัดการกองทุน ชื่อ : บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ที่อยู่ : 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชัน้ 6 และชัน้ 12 ถนนพหลโยธิน แขวงสามแสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 026733988 โทรสาร : 026733988 อีเมล : ka.customer@kasikornasset.com เว็บไซต์ : www.kasikornasset.com 8.1.2 โครงสร้ างการถือหุ้น ธนาคารกสิกรไทย จากัด (มหาชน) ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 100 8.1.3 โครงสร้ างการจัดการ

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที ่ 1 กรกฎาคม 2561

31


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 8.1.4 หน้ าที่และความรั บผิดชอบ ของบริษัทจัดการและผู้จัดการกองทุน ในการจัดการกองทุน บริ ษัทจัดการมี หน้ าที่ และความรับผิดชอบในการดาเนินการและบริ หารกองทุนให้ เป็ นไป ตามที่กฎหมายหลักทรัพย์ รวมถึงหน้ าที่และความรับผิดชอบดังต่อไปนี ้ 1. หน้ าที่และความรับผิดชอบ 1.1 ดาเนินการขออนุมตั ิจดั ตังและจั ้ ดการโครงการจัดการกองทุนต่อสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 1.2 จัดส่ง แจกจ่ายและจัดให้ มีหนังสือชี ้ชวนและรายละเอียดโครงการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี ้ (ก.) จัดส่งหนังสือชี ้ชวนให้ สานักคณะกรรมการ ก.ล.ต.ไม่น้อยกว่า 1 วันทาการก่อนวันที่เริ่ มจัดส่งหรื อ แจกจ่ายหนังสือชี ้ชวนให้ แก่ประชาชน (ข.) จัดส่งและด าเนินการให้ ผ้ ูจัดจาหน่ายและตัว แทนสนับ สนุนจัดส่งหนัง สือชี ช้ วนส่ว นสรุ ปข้ อมูล สาคัญ ที่ผ้ ูล งทุนควรทราบพร้ อมกับใบจองซือ้ หน่วยลงทุน และจัดให้ มีหนังสือ ชี ช้ วนส่วนข้ อมูล โครงการไว้ ณ ที่ทาการทุกแห่งของบริ ษัทจัดการและสถานที่ติดต่อของผู้จดั จาหน่าย และตัวแทน สนับสนุนเพื่อประโยชน์ในการแจกจ่ายให้ แก่ผ้ ลู งทุนตลอดเวลาที่เสนอขายหน่วยลงทุน (ค.) จัดให้ มีหนังสือชี ้ชวนส่วนข้ อมูลโครงการไว้ ณ ที่ทาการทุกแห่งของบริ ษัทจัดการเพื่อให้ ประชาชน สามารถตรวจดูได้ และจัดสาเนาให้ เมื่อผู้ถือหน่วยลงทุนร้ องขอ ในกรณีที่หน่วยลงทุนของกองทุน เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หากมีการแก้ ไขเพิ่มเติมโครงการ บริ ษัทจัดการต้ อง ดาเนินการแจ้ งการแก้ ไขเพิ่มเติมดังกล่าวให้ ตลาดหลักทรัพย์ทราบภายในสิบวันทาการนับตังแต่ ้ วนั ถัดจากวันที่ได้ รับความเห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.ให้ แก้ ไขเพิ่มเติมโครงการหรื อ วันที่มีมติให้ แก้ ไขเพิ่มเติมโครงการแล้ วแต่กรณี 1.3 จาหน่ายหน่วยลงทุนและรับชาระค่าจองซื ้อหน่วยลงทุนและจัดสรรหน่วยลงทุนตามราคาและวิธีการที่ระบุ ไว้ ในโครงการ 1.4 ยื่นจดทะเบียนกองทรัพย์สนิ ของกองทุนต่อสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ภายใน 15 วันทาการนับตังแต่ ้ วันถัดจากปิ ดการเสนอขายหน่วยลงทุนของโครงการ 1.5 ยื่นคาขอต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพื่อขอให้ พิจารณารับหน่วยลงทุนของกองทุนเป็ นหลักทรัพย์ จดทะเบียนภายใน 60 วันนับแต่วนั จดทะเบียนกองทุน 1.6 ดาเนินการเพิ่มหรื อลดเงินทุนของกองทุนตามที่กาหนดไว้ ในโครงการ และดาเนินการจดทะเบียนเพิ่มหรื อ ลดจานวนเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนกับสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 1.7 เปลี่ยนแปลงแก้ ไขเพิ่มเติมโครงการหรื อวิธีการจัดการ ตามหัวข้ อ “การแก้ ไขเพิ่มเติม โครงการจัดการ กองทุน หรื อแก้ ไขวิธีการจัดการ” 1.8 แจ้ งการแก้ ไขเพิ่มเติมข้ อมูลที่ได้ จดทะเบียนไว้ แล้ วภายในระยะเวลาที่กฎหมาย ก.ล.ต. กาหนด 1.9 จัดทาหนังสือชีช้ วนเสนอขายหน่วยลงทุนใหม่ทุกครัง้ ที่มีการเพิ่มเงินทุนของกองทุ นและส่งให้ สานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาที่กฎหมาย ก.ล.ต. กาหนด 1.10 ประกาศข้ อมูล รายละเอียด การดาเนิ นการต่างๆที่เกี่ยวกับกองทุน ตามที่กฎหมาย ก.ล.ต. หรื อสมาคม บริ ษัทจัดการลงทุนประกาศกาหนด 1.11 ดาเนินการยกเลิกกองทุนตามหัวข้ อ “การเลิกโครงการจัดการกองทุน” 1.12 จัดให้ มีการชาระบัญชีตามหัวข้ อ “การดาเนินการของบริ ษัทจัดการเมื่อเลิกโครงการจัดการกองทุน”

32


2. การบริหารกองทุน 2.1. จัดการกองทุนให้ เป็ นไปตามที่ระบุไว้ ในโครงการที่ได้ รับอนุมตั ิ ตลอดจนข้ อผูกพันระหว่างบริ ษัทจัดการและ ผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างเคร่งครัด 2.2 จัด ให้ ได้ มาซึ่ง รายได้ แ ละผลประโยชน์ ข องกองทุน และนาเงิ นได้ แ ละผลประโยชน์ ดังกล่า วฝากไว้ กับ ผู้ดแู ลผลประโยชน์ 2.3 ดาเนินการแยกทรัพย์สนิ ของกองทุนไว้ ตา่ งหากจากทรัพย์สนิ ของบริ ษัทจัดการ และนาทรัพย์สนิ ของกองทุน ไปฝากไว้ กบั ผู้ดแู ลผลประโยชน์ 2.4 ดาเนินการให้ ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ดาเนินการตามหน้ าที่ที่ระบุในสัญญาแต่งตังผู ้ ้ ดแู ลผลประโยชน์ เช่น ส่ง มอบ รับมอบ แปลงสภาพ จาหน่ายจ่ายโอนหลักทรัพย์ ตลอดจนชาระราคาค่าหลักทรัพย์เป็ นต้ น 2.5 จัดให้ มีการรับและจ่ายค่าธรรมเนียม ค่าใช้ จ่าย หรื อเงินตอบแทนอื่นใดจากและให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนและ กองทุน ให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดการกองทุนตามที่กาหนดไว้ ในหัวข้ อ “ค่าธรรมเนียมที่เรี ยก เก็บจากผู้สงั่ ซื ้อหรื อผู้ถือหน่วยลงทุน” 2.6 เบิก จ่ายของกองทุนสาหรั บค่า ใช้ จ่ายในการดาเนิน งานของกองทุนภายใต้ หัว ข้ อ “ค่า ธรรมเนียมและ ค่าใช้ จ่ายที่เรี ยกเก็บจากกองทุน” 2.7 กาหนดราคาที่เป็ นธรรมของหลักทรัพย์ หรื อทรัพย์สนิ ของกองทุนตามข้ อ 23 2.8 ดาเนินการฟ้ องร้ องหรื อแก้ ต่างคดีแ พ่งหรื อคดีอาญาแทนกองทุน รวมถึงแต่งตัง้ ตัวแทนเพื่อกระทาการ ดังกล่าว 2.9 เข้ าร่วมประชุมและออกเสียงในการประชุมที่เกี่ยวเนื่องกับอสังหาริ มทรัพย์ หรื อทรัพย์สินอื่นที่กองทุนลงทุน ในหรื อมีไว้ เพื่อผลประโยชน์ของกองทุน 3. การจัดทาบัญชีและการรายงาน 3.1 จัดทาบัญชีแสดงการลงทุนของกองทุนไว้ โดยถูกต้ องครบถ้ วน 3.2 คานวณและประกาศมูลค่าทรัพย์สนิ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุน ณ วันทาการ สุด ท้ า ยของทุก เดื อ นมิ ถุน ายนและธัน วาคม ตามหลัก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารตามหัว ข้ อ “วิ ธี ก ารค านวณ กาหนดเวลาในการคานวณและการประกาศมูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิมลู ค่าหน่วยลงทุน” 3.3 ประกาศและเปิ ดเผยในกรณีที่มเี หตุการณ์หรื อการเปลีย่ นแปลงใดๆ เกิดขึ ้นภายหลังจากวันที่คานวณมูลค่า ทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุน อันมีผลกระทบต่ออสังหาริ มทรัพย์หรื อ ทรัพย์สนิ ของกองทุนอย่างมีนยั สาคัญ ภายหลังจากผู้ดแู ลผลประโยชน์รับรองการคานวณดังกล่าว 3.4 จัดทางบการเงินของกองทุนให้ เป็ นไปตามมาตรฐานบัญชี สาหรับกิจการที่มีธุรกิจเฉพาะด้ านการลงทุน รวมทังจั ้ ดทารายงานของกองทุนทุกสิ ้นรอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนและส่งให้ ผ้ ูถือหน่วยลงทุนทุกรายที่ มีรายชื่ออยู่ในทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุน และสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ภายใน 4 เดือน นับแต่วนั สิ ้นรอบระยะเวลาบัญชีโดยรายงานดังกล่าวต้ องมีรายการอย่างน้ อยตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด 3.5 จัดส่งหนังสือสรุปข้ อมูลที่เป็ นสาระสาคัญ (หรื อเอกสารอื่นที่จาเป็ น) เกี่ยวกับการซื ้อ เช่า จาหน่าย โอนหรื อ รั บ โอนซึ่ง อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ หรื อ สิท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องกองทุน ให้ แ ก่ ผ้ ูถื อ หน่ ว ยลงทุน และ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ภายใน 15 วันนับตังแต่ ้ วนั ถัดจากวันที่ซื ้อ เช่า จาหน่าย โอนหรื อรับโอนซึ่ง

33


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ อสังหาริ มทรัพย์หรื อสิทธิ การเช่ าอสังหาริ มทรัพย์ รวมทังจั ้ ดให้ มีข้อมูลที่เป็ นสาระสาคัญดังกล่าวไว้ ในที่ เปิ ดเผย ณ ที่ทาการทุกแห่งของบริ ษัทจัดการและสานักงานใหญ่ของผู้ดแู ลผลประโยชน์ภายใน 15 วันนับ แต่วนั ที่ซื ้อ เช่า จาหน่าย โอนสิทธิการเช่านัน้ เพื่อให้ ผ้ ลู งทุนสามารถตรวจดูได้ โดยหนังสือสรุ ปข้ อมูลต้ องมี สาระสาคัญอย่างน้ อยตามที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด 4. การจัดทาทะเบียนหน่ วยลงทุน 4.1 ออกเอกสารแสดงสิทธิในหน่วยลงทุนให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนตามที่ระบุไว้ ในโครงการ 4.2 จัดให้ มีและเก็บรักษาไว้ ซงึ่ ทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน ตามหลักเกณฑ์และวิธีก ารที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด 5. การแต่ งตัง้ บุคคลอื่น (ถ้ ามี) 5.1 จัด ให้ มี ผ้ ูดูแ ลผลประโยชน์ ข องกองทุน ซึ่ง มี คุณ สมบัติ ต ามประกาศสานัก งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เรื่ อง คุณสมบัติของผู้ดแู ลผลประโยชน์ของกองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ 5.2 แต่งตังที ้ ่ปรึกษาของกองทุน (ถ้ ามี) เพื่อให้ คาปรึกษาเกี่ยวกับการซื ้อหรื อเช่าอสังหาริ มทรัพย์ หรื อการจัดหา ผลประโยชน์จากอสังหาริ มทรัพย์ดงั กล่าว เพื่อประโยชน์ในการจัดการกองทุน 5.3 แต่งตังผู ้ ้ จัดการกองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์ หรื อสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ หรื อการลงทุนในหรื อจาหน่ายไปซึง่ วิธีเรี ยกร้ อง ทังนี ้ ้ ผู้จดั การกองทุนรวม อสังหาริ มทรัพย์ที่ได้ รับการแต่งตังต้ ้ องได้ รับความเห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 5.4 แต่งตังผู ้ ้ จดั การกองทุน ซึ่งมีคุณสมบัติตามประกาศกรรมการ ก.ล.ต. เพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการ ลงทุนในหรื อจาหน่ายไปซึง่ หลักทรัพย์หรื อทรัพย์สนิ อื่นหรื อการหาดอกผลโดยวิธีอื่น ทังนี ้ ้ ผู้จดั การกองทุนที่ ได้ รับการแต่งตังต้ ้ องได้ รับความเห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 5.5 แต่งตังผู ้ ้ บริ หารอสังหาริ มทรัพย์เพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริ หารอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุน และแจ้ งการ แต่งตัง้ ผู้บ ริ ห ารอสัง หาริ มทรั พ ย์ พร้ อมคารั บรองว่าบุคคลดัง กล่า วมี คุณ สมบัติถูกต้ อ งครบถ้ วนตามที่ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด ให้ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.และผู้ดแู ลผลประโยชน์ทราบ ภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่แต่งตังผู ้ ้ บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ ทังนี ้ ้ การแต่งตังผู ้ ้ บริ หารอสังหาริ มทรัพย์จะมีขึ ้น ในเฉพาะกรณี ที่บริ ษัทจัดการลงทุนในหรื อมีไว้ ซึ่งอสังหาริ มทรั พย์ และดาเนินการหาผลประโยชน์ จาก อสังหาริ มทรัพย์นนั ้ ซึง่ กองทุนจะต้ องไม่ดาเนินธุรกิจโรงแรมเอง 5.6 แต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีของกองทุนซึ่งมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามข้ อกาหนดแห่งประกาศสานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. เรื่ อ งหลัก เกณฑ์ ก ารให้ ความเห็ น ชอบผู้ สอบบัญ ชี และแจ้ งให้ ส านัก งาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. ทราบ 5.7 แต่งตังตั ้ วแทนสนับสนุนการจาหน่ายหน่วยลงทุน (ถ้ ามี) 5.8 แต่งตังบริ ้ ษัทประเมินค่าทรัพย์สินเพื่อทาการประเมินค่าและสอบทานการประเมินค่าอสังหาริ มทรัพย์หรื อ สิทธิ การเช่าอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุน พร้ อมทังแจ้ ้ งการจัดส่งสาเนารายงานการประเมินค่าพร้ อมด้ วย สาเนาเอกสารหลักฐานที่เกี่ ยวข้ องให้ กับผู้ดูแลผลประโยชน์ โดยพลัน และให้ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้ รับรายงานการประเมินค่า เว้ นแต่กรณี รายงานการสอบทานการ ประเมินค่าให้ สง่ รายงานดังกล่าวเฉพาะผู้ดแู ลผลประโยชน์

34


5.9 แต่งตังผู ้ ้ ชาระบัญชีกรณีเลิกกองทุน เพื่อทาหน้ าที่รวบรวมและแจกจ่ายทรัพย์สนิ ให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนของ กองทุน รวมทังท ้ าการอย่างอื่นตามแต่จาเป็ นเพื่อชาระบัญชีให้ เสร็ จสิ ้น และแจ้ งให้ ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ทราบ 6. การดาเนินการอื่นๆ ตามสิทธิและหน้ าที่อ่ ืนใดตามที่กฎหมายกาหนด 6.1 เข้ าทาสัญญาต่างๆในนามกองทุน ภายใต้ ขอบเขตของกฎหมาย 6.2 ปฎิบตั ิการอื่นๆ เพื่อให้ ถึงซึ่งวัตถุประสงค์ของโครงการ และรักษาไว้ ซึ่งผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน และทาการอื่นใดที่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนมีมติให้ ดาเนินการเป็ นคราวๆ ตามที่กาหนดไว้ ในโครงการ โดยไม่ขดั ต่อ กฎหมายไทยและประกาศของคณะกรรมการ ก.ล.ต. และประกาศของสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้ อง 8.2 ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ 8.2.1 ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร ชื่อ : บริ ษัท แมริ ออท โฮเต็ลส์ (ไทยแลนด์) จากัด ที่อยู่ : เลขที่ 60 ซอยหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : 026721234 8.2.2 โครงสร้ างผู้ถอื หุ้น ลาดับ

ผู้ถอื หน่ วย

จานวน (หน่ วย) 299,994

ร้ อยละ

1

แมริ ออท อินเตอร์ เนชัน่ แนล โฮเต็ลส์, อิงค์

99.998%

2

แมริ ออท เวิลด์ไวด์ คอร์ ปอเรชัน่

3

0.001%

3

แมริ ออท โฮเต็ล เซอร์ วิส, อิงค์

3

0.001%

8.2.3 สิทธิ หน้ าที่ และความรั บผิดชอบของผู้บริหารอสังหาริมทรั พย์ สิทธิหน้ าที่และความรับผิดชอบของผู้บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ จะเป็ นไปตามที่ระบุไว้ ในสัญญาแต่งตังผู ้ ้ บริ หาร อสังหาริ มทรัพย์ 8.3 ผู้ดูแลผลประโยชน์ 8.3.1 ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร ชื่อ : ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) ที่อยู่ : สานักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 025441000

35


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 8.3.2 โครงสร้ างผู้ถอื หุ้น

1

สมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

จานวน (หน่ วย) 793,832,359

2

กองทุนรวม วายุภกั ษ์ หนึง่ โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จากัด (มหาชน)

392,649,100

11.56%

3

กองทุนรวม วายุภกั ษ์ หนึง่ โดย บลจ.กรุงไทย จากัด (มหาชน)

392,649,100

11.56%

4

บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด

309,242,483

9.11%

5

STATE STREET EUROPE LIMITED

140,165,220

4.13%

6

SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED

130,649,706

3.85%

7

สานักงานประกันสังคม

83,817,200

2.47%

8

NORTRUST NOMINEES LTD-CL AC

50,331,605

1.48%

9

THE BANK OF NEW YORK MELLON

47,704,195

1.40%

10

SE ASIA (TYPE B) NOMINEES LLC

43,005,585

1.27%

ลาดับ

ผู้ถอื หน่ วย

ร้ อยละ 23.38%

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที ่ 5 กันยายน 2561

8.3.3 สิทธิ หน้ าที่ และความรั บผิดชอบของผู้ดูแลผลประโยชน์ 8.3.3.1 สิ ทธิ ของผูด้ ูแลผลประโยชน์ (ก.) รับค่าธรรมเนียมในการทาหน้ าที่เป็ นผู้ดแู ลผลประโยชน์ตามสัญญาแต่งตังผู ้ ้ ดแู ลผลประโยชน์ของกองทุน (ข.) บอกเลิกสัญญาแต่งตังผู ้ ้ ดแู ลผลประโยชน์ของกองทุนตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ ในสัญญาดังกล่าวโดยได้ รับ ความเห็นชอบการสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 8.3.3.2 หน้าทีข่ องผูด้ ูแลผลประโยชน์ (1) หน้ าที่โดยทัว่ ไป (ก.) จัด ให้ มี บุค ลากรตามที่ ป ระกาศส านัก งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ว่า ด้ ว ยเรื่ องคุณ สมบัติ ข องผู้ดูแ ล ผลประโยชน์ของกองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ กาหนด (ข.) รับเงินค่าจองซื ้อหน่วยลงทุน เพื่อเข้ าบัญชีกองทุนตามคาสัง่ ของบริ ษัทจัดการ (ค.) ดูแ ลให้ บริ ษั ท จั ด การปฎิ บัติ ต ามมาตรา 125 แห่ ง พระราชบัญ ญั ติ ห ลัก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 ข้ อกาหนดของโครงการจัดการกองทุนที่ได้ รับอนุมตั ิ และจ้ อผูกพันที่ทาไว้ กบั ผู้ถือหน่วยลงทุน โดยเคร่งครัด (ง.) ปฎิบตั ิตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกา คณะกรรมการ ก.ล.ต. และประกาศสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนดไว้ ตลอดจนกฎหมาย อื่นใดที่เกี่ยวข้ องและข้ อกาหนดและเงื่อนไขที่ระบุไว้ ในข้ อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริ ษัทจัดการ โดยเคร่งครัด (จ.) ตรวจสอบการซื ้อ เช่า จาหน่าย หรื อโอนสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุน ให้ เป็ นไปตามโครงการ จัดการกองทุนและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด (ฉ.) ตรวจตราอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุนให้ แล้ วเสร็ จตามกาหนดเวลาดังต่อไปนี ้

36


1. ภายใน 30 วันนับตังแต่ ้ วนั ที่ได้ รับหนังสือแจ้ งการเข้ าครอบครองอสังหาริ มทรัพย์จากบริ ษัทจัดการ 2. ทุกหนึง่ ปี นับตังแต่ ้ วนั ที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ตรวจตราครัง้ ก่อนแล้ วเสร็ จ (ช.) บันทึกสภาพอสังหาริ มทรัพย์ที่ผ้ ดู ูแลผลประโยชน์ได้ ตรวจตราให้ ถกู ต้ องและครบถ้ วนตามความเป็ นจริ ง ให้ แล้ วเสร็ จภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่เริ่ มดาเนินการตรวจตราสภาพอสังหาริ มทรัพย์นนั ้ (ซ.) แจ้ งให้ บริ ษัทจัดการทราบภายในห้ าวันทาการนับตังแต่ ้ วนั ที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์พบว่าอสังหาริ มทรัพย์ของ กองทุนชารุดบกพร่องอย่างมีนยั สาคัญ (ฌ.) แจ้ งให้ บริ ษัทจัดการจัดให้ มีการประเมินค่าอสังหาริ มทรัพย์หรื อสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ใหม่โดยพลัน เมื่ อ ผู้ดูแ ลผลประโยชน์ เ ห็ น ว่า มี เ หตุก ารณ์ ห รื อ การเปลี่ย นแปลงใดๆเกิ ด ขึน้ อัน มี ผลกระทบต่อ มูลค่ า อสังหาริ มทรัพย์ของกองทุนอย่างมีนยั สาคัญ (ญ.) ให้ ความเห็นชอบในการที่บริ ษัทจัดการจัดให้ มีการประกันวินาศภัยเพื่อคุ้มครองความเสียหายที่อาจจะ เกิดขึ ้นกับอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุนได้ อย่างพอเพียงและเหมาะสม โดยมีกองทุนเป็ นผู้รับผลประโยชน์ (ฎ.) รับรองความถูกต้ องของการคานวณมูลค่าทรัพย์สนิ มูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุน ที่บริ ษัทจัดการได้ คานวณไว้ แล้ วในกรณีที่เห็นว่าการคานวณดังกล่าวถูกต้ องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด (ฏ.) แจ้ งให้ บ ริ ษั ท จัด การและผู้ถื อ หน่ว ยลงทุน ทราบ หากบริ ษั ท จัด การมิ ไ ด้ ป ฏิ บัติ ต ามพระราชบัญ ญั ติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง กฎ หรื อ ข้ อบังคับอื่นใดที่ออกตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 จนอาจก่อให้ เกิด ความเสียหายแก่กองทุน (ฐ.) ดาเนินการสอดส่องดูแล และตรวจสอบบัญชีเงินฝากและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวกับการซื ้อขายทรัพย์สิน ของกองทุน (ฑ.) ดาเนินการฟ้องร้ องบังคับคดีให้ บริ ษัทจัดการปฏิบตั ิตามหน้ าที่ของตน หรื อฟ้ องร้ องเรี ยกค่าสินไหมทดแทน ความเสียหายจากบริ ษัทจัดการ ทังนี ้ ้ เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนหรื อเมื่อได้ รับคาสัง่ จากสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ค่าใช้ จ่าย ในการฟ้องร้ องบังคับคดีเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน ให้ พกั หรื อเรี ยกร้ องจากทรัพย์สนิ ของกองทุนได้ (ฒ.) ให้ ความเห็นชอบราคาที่เป็ นธรรม ในกรณีที่บริ ษัทจัดการแสดงให้ เห็นได้ ว่าการกาหนดราคาของทรัพย์สิน ทาให้ มลู ค่าทรัพย์สนิ ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ในขณะคานวณมูลค่า (ด.) รับและจ่ายเงินจากบัญชีของกองทุนในเวลาที่กาหนดตามคาสัง่ ของบริ ษัทจัดการโดยผู้ดแู ลผลประโยชน์ จะต้ องรับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆที่เกิดขึ ้น ในกรณีที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ไม่สามารถดาเนินการรับหรื อ จ่ายเงินได้ ทนั เวลา โดยไม่มีเหตุอนั สมควร (ต.) จ่ายเงินจากบัญชีเงินฝากเพื่อเป็ นค่าใช้ จ่ายต่างๆของกองทุนตามคาสัง่ ของบริ ษัทจัดการ (ถ.) เก็ บรั ก ษาข้ อ มูลจากการด าเนิน งานเป็ นความลับ และไม่น าไปเปิ ดเผยให้ บุค คลใดๆทราบ และ/หรื อ ใช้ ประโยชน์อย่างอื่นที่มิใช่ประโยชน์ของกองทุน (ท.) ในกรณีที่ผ้ ูสอบบัญชี ของกองทุน หรื อผู้สอบบัญชีของผู้ดูแลผลประโยชน์ หรื อผู้สอบบัญชีอิสระ หรื อผู้ ชาระ-บัญชีของกองทุน หรื อหน่วยงานผู้มีอานาจควบคุมดูแลผลประโยชน์ขอคาชีแ้ จง ไม่ว่าจะเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรหรื อไม่ก็ตามเกี่ยวกับการกระทาการใดๆ เฉพาะที่มีผลกระทบต่อบัญชีทรัพย์สนิ หรื อบัญชีของ

37


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

(ธ.)

(น.)

(ก.)

(ข.) (ค.) (ง.)

38

กองทุน หรื อการดาเนินการเกี่ยวกับกองทุน ผู้ดแู ลผลประโยชน์ต้องแจ้ งให้ บริ ษัทจัดการทราบโดยทันที และ จะต้ องทารายงานเกี่ยวกับคาขอดังกล่าว พร้ อมทังรายงานขั ้ นตอนการปฏิ ้ บตั ิที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ได้ กระทา ไปแล้ ว หรื อที่จะกระทาต่อไปให้ บริ ษัทจัดการทราบโดยไม่ชกั ช้ า ในกรณีที่มีการเลิกโครงการจัดการกองทุน เมื่อเลิกโครงการจัดการกองทุนแล้ ว หน้ าที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ จะสิน้ สุด เมื่ อ ผู้ช าระบัญ ชี ได้ จ ดทะเบี ย นเลิก กองทุน กับ สานัก งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. โ ดยในช่ ว ง ระยะเวลาที่การชาระบัญชียงั ไม่สิ ้นสุด ผู้ดแู ลผลประโยชน์จะปฏิบตั ิหน้ าที่ตา่ งๆดังนี ้ 1. รับฝากทรัพย์สนิ ของกองทุนจนกว่าจะจดทะเบียนเลิกกองทุน 2. ดูแ ลและตรวจสอบให้ ผู้ช าระบัญ ชี ป ฏิ บัติ ต ามมาตรา 130 แห่ ง พระราชบัญ ญั ติ ห ลัก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลัก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 ในกรณี ที่ ผ้ ูช าระบัญ ชี ง ดเว้ น กระท าการตามมาตราดัง กล่า ว ผู้ดูแ ล ผลประโยชน์จะรายงานให้ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ทราบโดยไม่ชกั ช้ า 3. จ่ายเงินเฉลีย่ คืนให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนตามคาสัง่ ของผู้ชาระบัญชี ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นๆตามประกาศสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรื อคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนดให้ เป็ น หน้ าที่ของผู้ดแู ลผลประโยชน์ (2) หน้ าที่ในการรับฝากและเก็บรักษาทรัพย์สนิ รับฝาก ดูแล และเก็บรักษาทรัพย์สินของกองทุน เช่น โฉนดที่ดินหนังสือรับรองการทาประโยชน์ เอกสาร แสดงกรรมสิทธิ์ หรื อสิทธิ ในทรั พย์ สิน สัญญาซือ้ ขายอสังหาริ มทรั พย์ สัญญาเช่าอสังหาริ มทรัพย์(กรณี กองทุนเป็ นผู้เช่า) สัญญาการโอนสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ สาเนารายการประเมินค่า และเอกสารต่างๆ ตามที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด โดยแยกทรัพย์สินของกองทุนออกจากทรัพย์สินของผู้ดแู ล ผลประโยชน์ และทรัพย์สนิ ของลูกค่าอื่นๆของผู้ดแู ลผลประโยชน์ พร้ อมทังดู ้ แลให้ การเบิกจ่ายทรัพย์สนิ ของ กองทุน เป็ นไปตามที่ระบุไว้ ในโครงการจัดการกองทุนจนกว่าจะจดทะเบียนเลิกโครงการจัดการกองทุน โดยต้ องเก็บรักษาหรื อฝากไว้ อย่างปลอดภัยที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ และ/หรื อบริ ษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด เว้ นแต่บริ ษัทจัดการอนุญาตหรื อตกลงเป็ นอย่างอื่น และหากมีการเปลี่ยนแปลง สถานที่เก็บรักษาทรัพย์สินต้ องแจ้ งให้ บริ ษัทจัดการทราบทันที ทังนี ้ ้ เว้ นแต่บริ ษัทจัดการจะมีข้อตกลงกับ ผู้ดแู ลผลประโยชน์เป็ นอย่างอื่น จดทะเบียนหลักทรัพย์หรื อทรัพย์สนิ ที่ได้ รับมอบมาและจาเป็ นต้ องทาการจดทะเบียนต่อนายทะเบียน หรื อ บริ ษัทผู้ออกหลักทรัพย์นนั ้ จัดให้ มีการตรวจสอบทรัพย์สนิ ของกองทุนและสถานที่เก็บรักษา โดยจะต้ องแจ้ งให้ บริ ษัทจัดการทราบ ดูแล ทวงถาม ติดตามทรัพย์สนิ หรื อรักษาสิทธิในทรัพย์สนิ ของกองทุน เพื่อประโยชน์ในการเข้ าประชุมผู้ถือ หุ้น การรับเงินปั นผล การรับดอกเบี ้ย การรับสิทธิ ในการจองซื ้อหุ้นเพิ่มทุน แล/หรื อหน่วยลงทุนและสิทธิ ประโยชน์อื่นใดที่กองทุนพึงจะได้ รับ หากผู้ดแู ลผลประโยชน์ได้ ทราบถึงการนัน้ ผู้ดแู ลผลประโยชน์จะแจ้ ง และรายงานผลให้ บริ ษัทจัดการทราบโดยทันทีที่ได้ รับข่าวเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากตลาดหลักทรัพย์หรื อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง รวมทังด ้ าเนินการรับหรื อจ่ายเงินตามสิทธืนนๆ ั ้ ทังนี ้ ้ สิทธิในการประชุมต่างๆเป็ นของ บริ ษัทจัดการ


(จ.) ทานิติกรรมใดๆ เกี่ยวกับการดาเนินการรับมอบ หรื อส่ง มอบ หรื อจาหน่ายโอนทรัพย์สินของกองทุน หรื อ แปลงสภาพหลั ก ทรั พ ย์ ต่ า งๆซึ่ ง เป็ นทรั พ ย์ สิ น ของกองทุ น ตลอดจนรั บ ช าระหรื อช าระราคาค่ า อสังหาริ มทรัพย์ และหลักทรัพย์ดงั กล่าว ตามคาสัง่ ของบริ ษัทจัดการ เมื่อเห็นว่ามีหลักฐานถูกต้ องแล้ ว (ฉ.) จัดทาบัญชีอสังหาริ มทรัพย์ และทรัพย์สินอื่น และรับรองความถูกต้ องของบัญชีทรัพย์สินของกองทุนที่รับ ฝากไว้ รวมทังจั ้ ดทาบัญชีแสดงการรับจ่ายเอกสารสิทธิของอสังหาริ มทรัพย์ และทรัพย์สนิ ของกองทุนอย่าง อื่น (3) การรายงาน (ก.) จัดทารายงานดังต่อไปนี ้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรส่งให้ บริ ษัทจัดการ 1. รายละเอียดการรั บจ่ายเงิ นจากบัญชี เงินสดและเงินฝากธนาคารพร้ อมยอดคงเหลือ ณ สิ ้นวัน และ คานวณดอกเบี ้ยค้ างรับ (ถ้ ามี) 2. รายงานเป็ นรายเดือนเกี่ยวกับงบกระทบยอดเงินบัญชีเงินฝากธนาคาร 3. รายงานอื่นๆเกี่ยวกับบัญชีทรัพย์สนิ และบัญชีเงินสดตามที่บริ ษัทจัดการร้ องขอ (ข.) แจ้ งและรายงานให้ บริ ษัทจัดการทราบเป็ นหนังสือถึงสภาพของหลักทรัพย์ที่จะต้ องปิ ดโอน หรื อกาลังอยู่ใน ระหว่างทาการปิ ดโอนในชื่อของกองทุน เพื่อประโยชน์ในการเข้ าประชุมผ็ถือหน่วยลงทุนการรับเงินปั นผล ดอกเบี ้ย และอื่นๆ (ค.) จัดทารายงานเสนอต่อสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ในกรณีที่บริ ษัทจัดการกระทาหรื องดเว้ นกระทาการ จนก่อให้ เกิดความเสียหายแก่กองทุน หรื อไม่ปฎิบตั ิตามหน้ าที่ มาตรา 125 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลัก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 ทัง้ นี ้ ภายใน 5 วัน นับ ตัง้ แต่วัน ถัด จากวัน ที่ ผ้ ู ดูแ ลผลประโยชน์ ร้ ู ถึ ง เหตุการณ์ดงั กล่าว (ง.) ให้ ความเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานของกองทุนในรายงานประจาปี ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด 8.3.3.3 ความรับผิ ดชอบผูด้ ูแลผลประโยชน์ ผู้ดูแลผลประโยชน์ต้องรั บผิดชอบต่อความเสียหายแก่บริ ษัทจัดการ และ/หรื อกองทุนต่อความสูญเสีย เสียหาย และค่าใช้ จ่ายต่างๆที่เกิดขึ ้นกับบริ ษัทจัดการ และ/หรื อกองทุน จากการที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์กระทา หรื อ ละเว้ นการกระทาภายใต้ สญ ั ญานี ้ หรื อตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และซึ่ง เกิดขึ ้นจากความประมาทเลิน เล่อหรื อการไม่กระทาตามหน้ าที่ โดยเจตนาทุจริ ตของผู้ดูแลผลประโยชน์ หรื อ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ ลูก จ้ าง บริ วาร หรื อบุคคลอื่นใดที่ทางานให้ แก่ผ้ ดู ูแลผลประโยชน์ ความเสียหายดังกล่าว รวมถึง ความเสีย หายที่เ กิ ดขึน้ จากความล่า ช้ าโดยไม่มีเ หตุอัน สมควร ในขัน้ ตอนการขออนุมัติ ภายในของ ผู้ดูแลผลประโยชน์ ในเรื่ องต่างๆที่ ผ้ ูดูแ ลผลประโยชน์ จะต้ องด าเนิน การภายใต้ สญ ั ญานี ้ หรื อตามโครงการ จัดการกองทุน

39


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 8.4 คณะกรรมการลงทุน 8.4.1.รายชื่อคณะกรรมการลงทุน - นายสุรเดช เกียรติธนากร - นายอนุวรรตน์ ศรี อดุ ม - นายเขมชาติ สุวรรณกุล - นางสาวชนาทิพย์ รุ่งคุณานนท์ - นางสาวจุไรพร สุขวรรณวิทย์

- นายอติพฒ ั น์ - นายวิทวัส - นางสาวเอื ้อพันธ์ - นางสาวสุนิดา -นายดิเรก

อัศวจินดา อัจฉริ ยวนิช เพ็ชราภรณ์ มีชกู ลุ เลิศปั ญญาวิเศษกุล

8.4.2 หน้ าที่และความรั บผิดชอบคณะกรรมการลงทุน 1. พิจารณาข้ อเสนอการลงทุนเพิ่มเติมใดๆ และดาเนินการใดๆ ตามมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ทัง้ นี จ้ ะต้ อง ไม่ขดั กับกฎหมาย ก.ล.ต. และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้ องที่มีอยูแ่ ล้ วหรื อที่จะมีขึ ้นต่อไป 2. คณะกรรมการลงทุนทุกท่านจะต้ องเก็บรักษาข้ อมูลจากการประชุมเป็ นความลั บ และไม่นาไปเปิ ดเผยให้ บุคคลใดๆทราบ และ/หรื อ ใช้ เพื่อประโยชน์อย่างอื่นที่มิใช่ประโยชน์ของกองทุนได้ เว้ นแต่จะมีกฎหมาย กาหนดโดยชัดแจ้ งให้ เปิ ดเผย 3. คณะกรรมการลงทุนจะต้ องพิจารณา ในเรื่ องใดๆ ด้ วยความโปร่ งใส ซื่อสัตย์สจุ ริ ต รับผิดชอบไม่มีความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์ และตังอยู ้ ่บนพื ้นฐานของการปฎิบตั ิตามกฎหมายต่ างๆที่เกี่ยวข้ องทังที ้ ่มีอยู่แล้ ว และจะมีขึ ้นในภายหน้ า โดยคานึงถึงประโยชน์ของกองทุนเป็ นสาคัญ 8.5 ผู้สอบบัญชี นายทะเบียนหน่ วยลงทุน บริษัทประเมินค่ าทรัพย์ สิน 8.5.1 ผู้สอบบัญชี ชื่อ : บริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด ที่อยู่ : ชัน้ 50-51 เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพ 10120 โทรศัพท์ : 026772000 8.5.2 นายทะเบียนหน่ วยลงทุน ชื่อ : ธนาคารกสิกรไทย จากัด (มหาชน) ที่อยู่ : ฝ่ ายหลักทรัพย์บริ การ เลขที1่ ซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์ บรู ณะ เขตราษฎร์ บรู ณะ กรุงเทพ 10140 โทรศัพท์ : 024701976-83 8.5.3 บริษัทประเมินค่ าทรั พย์ สิน ชื่อ : บริ ษัท ซี.ไอ.ที แอพเพรซัล จากัด ที่อยู่ : 2 อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ ชัน17 ้ ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพ 10110 โทรศัพท์ : 026567000

40


9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ("คณะกรรมการบริ ษัท") ตระหนักดีวา่ การดาเนิน ธุ ร กิ จ จัด การลงทุน จะประสบความสาเร็ จ ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ บริ ษั ท ได้ รั บ ความไว้ วางใจและความเชื่ อ มั่น จากประชาชน คณะกรรมการบริ ษัทมัน่ ใจเป็ นอย่างยิ่งว่ากระบวนการกากับดูแลกิจการที่ดีจะยกระดับผลการดาเนินงานของบริ ษัท อย่างยั่งยืน และเป็ นหัวใจสาคัญที่นาไปสู่ความสาเร็ จและบรรลุเป้าหมายที่สาคัญของบริ ษัท อันได้ แก่ การเพิ่มความ พึงพอใจสูงสุดของลูกค้ าและการเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นโดยยึดมัน่ นโยบายในการดาเนินการจัดการลงทุนอย่างเป็ น อิสระ และเพื่อผลประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็ นสาคัญก่อนผลประโยชน์ของบริ ษัท พนักงาน และผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ด้ วยมีการ กาหนดมาตรการป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ และเน้ นความโปร่ งใส โดยยึดแนวปฏิบตั ิในการกากับดูแลกิจการ ของบริ ษัท ได้ จดั ให้ มีโครงสร้ างที่เอื ้อต่อการทาให้ เป้าหมายข้ างต้ นบรรลุผล ขณะเดียวกันจะช่วยทาให้ มนั่ ใจได้ วา่ ธุรกิจและ กิจกรรมใด ๆ ของบริ ษัทสามารถแข่งขันได้ ดี ภายใต้ การดาเนินการอย่างมีจรรยาบรรณ และเป็ นไปตามกฎหมาย ในฐานะที่บริ ษัทเป็ นบริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุนชัน้ นาของประเทศไทย คณะกรรมการบริ ษัทยึดมัน่ ในการ ปฏิบตั ิตามคุณลักษณะหลักของกระบวนการกากับดูแลกิจการที่ดี อันประกอบด้ วย - ความรับผิดชอบต่อผลประโยชน์ของลูกค้ าเหนือผลประโยชน์อื่นใด - ความซื่อสัตย์ - ความโปร่งใส - ความเป็ นอิสระ - ความรับผิดรับชอบ - ความรับผิดชอบต่อภาระหน้ าที่ - ความเป็ นธรรม - ความรับผิดชอบต่อสังคม หลักการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทนี ้ สะท้ อนถึงคุณค่า แนวปฏิบตั ิ และทิศทางที่ใช้ ปฏิบตั ิภายในของบริ ษัท ตามที่ ไ ด้ ก าหนดและได้ รั บ อนุมัติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ทัง้ นี บ้ ริ ษัท ยัง ได้ ป ลูก ฝั งผู้บ ริ ห ารและพนัก งานทุก ระดับ ให้ มีจิตสานึกในจรรยาบรรณ และยึดมัน่ ความสาคัญของการกากับดูแลตนเอง นอกจากนี ้บริ ษัทยึดถื อหลักในการมีบทบาทสาคัญอันเป็ นกลไกสนับสนุน ส่งเสริ มให้ บริ ษัทจดทะเบียนและ บริ ษัทผู้ออกหลักทรัพย์มีการบริ หารจัดการที่ดีตามหลักกากับดูแลกิจการที่ดี โดยการที่บริ ษัทในฐานะผู้แทนกองทุน ใช้ สทิ ธิ ออกเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น ในนามของกองทุน (Proxy voting) เพื่อรักษาผลประโยชน์สงู สุดของกองทุน 9.2 คณะกรรมการชุดย่ อย คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ วยผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ บริ ษั ท คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตังคณะกรรมการชุ ้ ดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง องค์กร เพื่อช่วยปฏิบตั ิงานในการศึกษาและกลัน่ กรองเรื่ องสาคัญที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ ชิดและเสนอความเห็น ต่อคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ มีอานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (1) ทบทวนและสอบทานรายงานการตรวจสอบภายในที่เสนอโดยตรงจากหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริ ษัท (2) กากับดูแลหน่วยงานกากับการปฏิบตั ิงานและหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริ ษัท

41


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ (3)

(4) (5)

(1)

(2)

(3)

(4) (5)

รับแจ้ งข้ อเท็จจริ งจากผู้สอบบัญชีบริ ษัทเกี่ยวกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่า กรรมการหรื อบุคคลซึ่งรับผิดชอบใน การดาเนินงานของบริ ษัทได้ กระทาความผิดตามมาตรา 281/2 วรรคสอง มาตรา305 มาตรา306 มาตรา 308 มาตรา 309 มาตรา 310 มาตรา 311 มาตรา 312 มาตรา 313 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 เพื่อดาเนินการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบในเบื ้องต้ นให้ แก่สานักงานกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชี บริ ษัททราบภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี บริ ษัท (มาตรา 89/25) ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นใดตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ดงั กล่าวข้ างต้ นให้ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งองค์กร มีอานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ พิจารณาให้ ความเห็นชอบเพื่อกาหนดนโยบายการบริ หารความเสี่ยง และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อ พิ จ ารณาในเรื่ อ งการบริ ห ารความเสี่ ย งโดยรวม โดยครอบคลุม ความเสี่ ย งด้ า นต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ ความเสีย่ งด้ านเครดิต ความเสีย่ งด้ านกลยุทธ์ ความเสีย่ งด้ านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้ านการปฏิบตั ิการ ความ เสีย่ งด้ านชื่อเสียง และ/หรื อความเสีย่ งอื่นๆที่มีนยั สาคัญ กาหนดกลยุทธ์ โครงสร้ างองค์กร และทรัพยากรที่ใช้ ในการบริ หารความเสี่ยง ให้ สอดคล้ องกับนโยบายบริ หาร ความเสี่ยงของบมจ. ธนาคารกสิกรไทย โดยสามารถวิเคราะห์ ประเมิน วัดผลและติดตามกระบวนการ การ บริ หารความเสีย่ งได้ อย่างมีประสิทธิผล ก ากับ ดูแ ล ทบทวน และให้ ข้ อ เสนอแนะต่อ คณะกรรมการบริ ษั ท เกี่ ย วกับ นโยบายการบริ ห ารความเสี่ย ง วิธีปฎิบตั ิที่เป็ นมาตรฐาน กลยุทธ์ และการวัดความเสีย่ งโดยรวม เพื่อให้ มนั่ ใจได้ วา่ กลยุทธ์การบริ หารความเสีย่ ง ได้ นาไปปฏิบตั ิอย่างเหมาะสม สาหรับการบริ หารความเสีย่ งด้ านการลงทุนเพื่อกองทุนภายใต้ การบริ หารจัดการ คณะกรรมการฯ มีหน้ าที่อนุมตั ิ กรอบความเสีย่ ง (Risk Framework) และขอบเขตความเสีย่ งที่กาหนด (Risk Limit) ให้ มิติตา่ งๆที่มีความสาคัญ พิจารณาเรื่ องอื่นใดที่จาเป็ นและเกี่ยวข้ องกับการบริ หารความเสี่ยงตามที่ได้ รับมอบหมาย จากคณะกรรมการ บริ ษัท นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ ในข้ อ (1) ถึง (4)

9.3 การประชุมของผู้จัดการกองทุน 9.3.1 การเรียกประชุม ในการเรี ยกประชุมคณะกรรมการลงทุนให้ กรรมการหรื อผู้รับมอบฉันทะคนใดคนหนึง่ เรี ยกประชุมคณะกรรมการ ลงทุนเพื่อพิจารณาและลงมติตามวิธีการที่กาหนดไว้ ในโครงการ โดยบริ ษัทจัดการจะส่งหนังสือเชิญประชุมซึ่งระบุถึง วัน เวลา สถานที่ ข องการประชุม วาระการประชุม และรายละเอี ย ดต่า งๆที่เ กี่ ย วข้ อ ง โดยทางบุค คลน าไปส่ง หรื อ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน หรื อโทรสารหรื อ ทางอิเล็กทรอยิกส์ (E-mail) ตามควรแก่กรณีให้ แก่กรรมการทราบล่วงหน้ า ไม่น้อยกว่า 5 วันทาการก่อนวันประชุมเว้ นแต่กรณีฉกุ เฉินไม่จาเป็ นต้ องส่งหนังสือเชิญประชุม ในกรณีที่ไม่มีการส่งหนังสือ เชิญประชุม หากกรรมการหรื อผู้รับมอบฉันทะได้ เข้ าร่ วมในการประชุมแล้ วให้ ถือว่ากรรมการหรื อผู้รับมอบฉันทะดังกล่าว สละสิทธิ ในการได้ รับหนังสือเชิ ญประชุม ซึ่งในกรณี ส่งทางโทรสารหรื ออิเล็กทรอนิกส์เมล์นี ้จะส่งเป็ นจดหมายยืนยัน การบอกกล่าวโดยทันทีไปยังกรรมการลงทุนอีกครัง้ หนึง่ โดยไปรษณีย์ลงทะเบียน

42


9.3.2 กาหนดการประชุมของคณะกรรมการลงทุน การประชุมของคณะกรรมการลงทุนนัน้ จะจัดให้ มีการประชุมปี ละ 1 ครัง้ เป็ นอย่างน้ อย หรื อ ตามที่กาหนดโดย คณะกรรมการลงทุน 9.3.3 องค์ ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการลงทุนจะต้ องมีกรรมการเข้ าร่ วมประชุมไม่น้ อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการ ลงทุนโดยเป็ นตัวแทนจากบริ ษัทจัดการและกรรมการที่ได้ รับแต่งตังโดยบริ ้ ษัทจัดการอย่างน้ อยฝ่ ายละ 1 คน จึงจะครบ องค์ประชุม ทังนี ้ ้ในการประชุมนันอาจะเป็ ้ นในลักษณะการนัง่ ประชุมรวมกัน หรื อการประชุมทางโทรศัพท์ ( Telephone Conferance) ก็ได้ ในการประชุมคณะกรรมการลงทุนทุกครัง้ ให้ กรรมการที่เป็ นตัวแทนของบริ ษัทจัดการ หรื อผู้จดั การกองทุนเป็ น ประธานในที่ประชุม โดยให้ ประธานในที่ประชุมมีอานาจและหน้ าที่ในการดาเนินการประชุมให้ เป็ นไปโดยเรี ยบร้ อย และถูกต้ อง 9.3.4 มติที่ประชุม ในการพิจารณาลงมติใดๆ จะต้ องได้ รับมติเสียงข้ างมากจากกรรมการทังหมดที ้ ่เข้ าร่ วมประชุมด้ วยตนเองหรื อ โดยการมอบฉันทะ ถ้ าคะแนนเสียงเท่าทันให้ ประธานในที่ประชุมมีสทิ ธิออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกหนึง่ เสียงเป็ นเสียงชี ้ขาด คณะกรรมการลงทุนอาจลงมติโดยการเวียนลงนามในมติที่ทาขึ ้นเป็ นลายลักษณอักษร มติ ดงั กล่าวจะต้ องมี กรรมการลงนามรับทราบ และ/หรื อให้ ความเห็นชอบ โดยมติเสียงข้ างมากจากจานวนกรรมการทังหมด ้ ทัง้ นี ้ บริ ษั ท จัด การจะจัดส่ง มติ ใ ห้ แ ก่ กรรมการลงทุน แต่ล ะรายทางไปรษณี ย์ ลงทะเบี ยน หรื อ โทรสาร หรื อ ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ตามสมควรแก่กรณี โดยกรรมการลงทุนสามารถจัดส่งมติที่ได้ ลงนามแล้ วมายังบริ ษัทจัดการ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรื อโทรสาร ซึ่งบริ ษัทจัดการจะถือเอาประโยชน์จากมติหรื อสาเนา มติที่ลงลายมือชื่อโดยกรรมการลงทุนซึ่งส่งถึงบริ ษัทจัดการเป็ นการลงมติที่มีผลสมบูรณ์ ในทันที โดยกรรมการลงทุนที่ นาส่งมติทางโทรสารหรื อทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์จะต้ องนาส่งต้ นฉบับของมติให้ บริ ษัทจัดการต่อไป มติของคณะกรรมการลงทุนจะต้ องไม่ขดั หรื อแย้ งกับวัตถุประสงค์ในการลงทุนของกองทุน รายละเอีย ดโครงการ กฎหมายไทย กฎหมาย ก.ล.ต. หรื อกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้ อง ในกรณีที่มติของคณะกรรมการลงทุนอาจขัดหรื อแย้ งกับ วัตถุประสงค์ในการลงทุนของกองทุน รายละเอียดโครงการ กฎหมายไทย กฎหมาย ก.ล.ต. หรื อกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้ อง หรื อเป็ นเหตุให้ บริ ษัทจัดการอาจเสือ่ มเสียชื่อเสียงหรื อเกิดความเสียหาย หรื อขัดหรื อแย้ งกับผลประโยชน์ของกองทุนหรื อ ผู้ถือหน่วยลงทุน บริ ษัทจัดการอาจโต้ แย้ งมตินนได้ ั ้ โดยแจ้ งให้ คณะกรรมการลงทุนทราบเป็ นลายลักษณอักษร และให้ ถือ ว่ามติดงั กล่าวไม่มีผลผูกพันกับบริ ษัทจัดการ 9.3.5 ประธานที่ประชุม ให้ บริ ษัทจัดการแต่งตังกรรมการรายใดรายหนึ ้ ่งซึ่งเป็ นตัวแทนของบริ ษัทจัดการทาหน้ าที่เป็ นประธานกรรมการ และเป็ นประธานในที่ประชุม ประธานในที่ประชุมมีอานาจและหน้ าที่ในการดาเนินการประชุมให้ เป็ นไปโดยเรี ยบร้ อย และ ถูกต้ องตามที่กาหนดไว้ ในข้ อนี ้

43


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 9.3.6 รายงานการประชุม ให้ ประธานและกรรมการที่เข้ าร่ วมประชุมลงชื่อในรายงานการประชุม และให้ ถือว่ารายงานนันมี ้ ผลสมบูรณ์ รายงานการประชุมต้ องมีสาเนาเพื่อให้ กรรมการตรวจสอบได้ ในวันและเวลาทาการของบริ ษัทจัดการ และจัดเก็บไว้ ที่ สานักงานใหญ่ของบริ ษัทจัดการ 9.4 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษัทจัดการ ได้ กาหนดแนวทางในการป้องปรามการใช้ ข้อมูลภายในของกองทุน โดยการจัดให้ มีระบบ Chinese wall เพื่อป้องกันการรั่วไหลของข้ อมูลลูกค้ า โดยมีการกาหนดรายชื่อบุคคลที่สามารถเข้ าถึงข้ อมูลภายในของ กองทุน มีการควบคุมและตรวจสอบการติดต่อสือ่ สารของกลุม่ บุคคลดังกล่าว รวมถึงจัดให้ มีพื ้นที่ปฏิบตั ิงานแยกต่างหาก ซึง่ มีระบบควบคุมมิให้ บคุ คลที่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องผ่านเข้ าออกได้ บริ ษัทจัดการมีการกาหนดระเบียบปฏิบตั ิเกี่ยวกับการซื ้อขายหลักทรัพย์ของพนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้ องซึ่งมี ผลใช้ บงั คับกับกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกระดับชัน้ หากบริ ษัทจัดการพบว่ากรรมการ ผู้บริ หาร หรื อพนักงานมีการ นาข้ อมูลภายในไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตน บริ ษัทจัดการจะลงโทษทางวินยั ขันรุ ้ นแรง 9.5 การพิจารณาตัดสินใจลงทุน และการบริหารจัดการกองทุนรวม กองทุน รวมมี น โยบายลงทุน ในอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ หรื อ สิท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ ก่อ ให้ เ กิ ด รายได้ แ ละ ผลตอบแทนแก่กองทุนรวมและผู้ถือหน่วยตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และ/หรื อกฎหมายอื่นใด ที่เกี่ยวข้ องกาหนดซึ่งต้ อง ผ่านการตรวจสอบหรื อสอบทาน (การทา Due diligence) โดยร่ วมกับที่ปรึ กษาทางการเงินใน การจัดให้ มีการวิเคราะห์ ข้ อ มูล เช่ น ข้ อมูลด้ า นการเงิ น กฎหมาย และเทคนิ ค เฉพาะทาง เป็ นต้ น และมี ค วามเห็ น ว่ากิ จ การที่ จ ะลงทุน นัน้ มี ความเหมาะสมสาหรับการลงทุนของผู้ลงทุนทัว่ ไป โดยมีศกั ยภาพในการสร้ าง ผลตอบแทนเพื่อเป็ นรายได้ ให้ แก่กองทุน รวมได้ อย่างต่อเนื่อง และมีเอกสารสิทธิหรื อเอกสารสัญญาที่ครบถ้ วน ชัดเจน บังคับได้ ตามกฎหมาย และเพียงพอต่อการ ที่กองทุนรวมจะใช้ ดาเนินการหรื อจัดหาผลประโยชน์ได้ ในกรณีที่อสังหาริ มทรัพย์หรื อสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ ที่จะลงทุนเป็ นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ ใน อนาคตหรื อสิทธิ ตาม สัญญาแบ่งรายได้ ต้ องมีกลไกให้ กองทุนรวมสามารถเข้ าตรวจสอบหรื อสอบยันความถูกต้ อง ครบถ้ วนของส่วนแบ่งรายได้ ที่กองทุนรวมจะได้ รับตามข้ อตกลง ตลอดจนจัดส่งรายงานหรื อข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องเพื่อใช้ ใน การติดตามและตรวจสอบความ ถูกต้ องครบถ้ วนของส่วนแบ่งรายได้ 9.6 การคัดเลือกผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ บริ ษัทจัดการแต่งตังนิ ้ ติบคุ คลรายเดียวหรื อหลายรายเพื่อทาหน้ าที่ในการบริ หารอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุนรวม แทนบริ ษัทจัดการ ทังนี ้ ้ ผู้บริ หารอสังหาริ มทรัพย์จะต้ องเป็ นผู้ที่มีความสามารถในการบริ หารอสังหาริ มทรัพย์ในส่วนที่ ได้ รับมอบหมาย และมีบคุ คลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ในการบริ หารอสังหาริ มทรัพย์มาแล้ วไม่น้อยกว่า 3 ปี ซึง่ ไม่มี ลักษณะต้ องห้ าม และมีคณ ุ สมบัติตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนดและที่อาจมีการกาหนดเพิ่มเติมในอนาคต ทังนี ้ ้ เมื่อมีการแต่งตังผู ้ ้ บริ หารอสังหาริ มทรัพย์รายใหม่ บริ ษัทจัดการจะแจ้ งการแต่งตังผู ้ ้ บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ ให้ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ทราบภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่แต่งตังผู ้ ้ บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ และส่งสาเนาสัญญา แต่งตังผู ้ ้ บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ให้ ผ้ ดู ูแลผลประโยชน์ด้วยเมื่อปรากฏว่าผู้บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ขาดคุณสมบัติหรื อไม่ สามารถปฏิ บัติ ต ามหน้ า ที่ ข องผู้บ ริ ห ารอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ต ามที่ ก าหนดในสัญ ญาแต่ ง ตัง้ ผู้บ ริ ห ารอสัง หาริ ม ทรั พ ย์

44


บริ ษั ท จั ด การจะด าเนิ น การถอดถอนผู้ บริ ห ารอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ดัง กล่ า วและมี ห นัง สื อ แจ้ งการถอดถอนผู้ บริ ห าร อสังหาริ มทรัพย์นนต่ ั ้ อสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ถอดถอน และ/หรื อวันที่มีการเลิกสัญญา ดังกล่าว 9.7 การติดตามดูแลการปฏิบัติงานของผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ 9.7.1 กองทุนรวมได้ มีการกาหนดเกณฑ์การตรวจสอบหรื อสอบทานความถูกต้ องตามหน้ าที่ของผู้บริ หาร อสังหาริ มทรัพย์ให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนดตามสัญญาแต่งตังผู ้ ้ บริ หาร และหนังสือชี ้ชวนของกองทุนรวม นอกจากนี ้ กองทุนรวมมีการติดตามความถูกต้ องของรายได้ คา่ เช่าและบริ การตามสัญญา และติดตาม สภาวะของผู้เช่าในแต่ละโครงการเป็ นประจา 9.7.2 ความเห็นผู้จดั การกองทุนสาหรับการบริ หารจัดการอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุนรวม โดยในรอบปี บัญชี ที่ผา่ นมา ผู้บริ หารอสังหาริ มทรัพย์ปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามแผนงบประมาณประจารอบปี บัญชีที่ได้ วางไว้ อย่างไรก็ ตามมีปัจจัยภายนอกบางปั จจัยที่ไม่สามารถคาดการณ์ ได้ และส่งผลกระทบต่อแผนการ บริ หารจัดการอสังหาริ มทรัพย์ของกองทุนรวม เช่น สภาวะเศรษฐกิจที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ เป็ นต้ น 9.8 การติดตามดูแลผลประโยชน์ ของกองทุนรวม บริ ษัทจัดการดาเนินการตรวจสอบยอดรายได้ ที่สามารถเรี ยกเก็บจริ งกับยอดรายได้ ตามสัญญา โดยกาหนดให้ ผู้บริ หารอสังหาริ มทรัพย์นาฝากเข้ าบัญชีกองทุน ซึง่ มีผ้ ดู แู ลผลประโยชน์เป็ นผู้ดแู ลบัญชีเงินฝากดังกล่าว 9.9 ค่ าตอบแทนของบริษัทจัดการ บริ ษัทจัดการมีสทิ ธิ์ได้ รับค่าธรรมเนียมการจัดการกองทุนรวม ในอัตราไม่เกินร้ อยละ 1 ต่อปี ของมูลค่าทรัพย์สิน สุทธิ ของกองทุนรวม (ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิ่ม ภาษี ธุรกิจเฉพาะ หรื อภาษี อื่นใดในทานองเดียวกัน) โดยบริ ษัทจัดการจะ คานวณและเรี ยกเก็บจากกองทุนรวมทุกเดือน โดยใช้ มลู ค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวมในวันสุดท้ ายของแต่ละเดือน เป็ นฐานในการคานวณ โดยค่าตอบแทนของบริ ษัทจัดการที่เรี ยกเก็บจริ ง ประจารอบปี 2561 คิดเป็ นเงิน 5,317,102 บาท 9.10 การเปิ ดเผยข้ อมูล /สารสนเทศต่ อผู้ถอื หน่ วย กองทุนรวมให้ ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารทังข้ ้ อมูลทางการเงินและข้ อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ การเปิ ดเผยข้ อมูลต่อผู้ถือหน่วยลงทุน รวมถึงสาธารณชนทัว่ ไป เป็ นไปอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ทัว่ ถึง ทันการณ์ รวมทังสอดคล้ ้ องกับกฎหมายข้ อกาหนดของทางการและระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้ อง โดยบริ ษัทจัดการมีการ เปิ ดเผยข้ อมูล ทังกรณี ้ ตามที่โครงการจัดการกองทุนรวม หรื อกฎหมายกาหนด เช่น งบการเงิน รายงานประจาปี และกรณี ที่มีเหตุการณ์ สาคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อราคาของหลักทรั พย์ โดยมีการเผยแพร่ ผ่านระบบเผยแพร่ ข้อมูลของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริ ษัทจัดการ ทังนี ้ ้ การเปิ ดเผยเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของ สานั กงาน ก.ล.ต. และ/หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

45


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 9.11 การจัดประชุมผู้ถอื หน่ วย 9.11.1 บริ ษัทจัดการอาจขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนโดยการส่งหนังสือขอมติไปยังผู้ถือหน่วยลงทุนหรื อโดย การเรี ย กประชุ ม ผู้ถื อ หน่ ว ยลงทุน ในการขอมติ จ ากผู้ถื อ หน่ว ย บริ ษั ท จัด การจะแสดงข้ อ มูล เพื่ อ ประกอบการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างเพียงพอในหนังสือนัดประชุมหรื อหนังสือแจ้ งผู้ถือ หน่วยลงทุนเพื่อขอมติ ซึง่ รวมถึงความเห็นของบริ ษัทจัดการและผู้ดแู ลผลประโยชน์ของกองทุนรวมใน เรื่ องที่ขอมติและผลกระทบที่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนอาจได้ รับจากการลงมติดงั กล่าว 9.11.2 บริ ษัทจัดการจะต้ องจัดให้ มีการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหากปรากฏกรณีผ้ ถู ือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วย ลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของจานวนหน่วยลงทุนที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมดร้ ้ องขอให้ มีการ จัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน โดยจะต้ องดาเนินการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรื อมี หนังสือแจ้ งผู้ถือ หน่ว ยลงทุนเพื่ อ ขอมติใ นการด าเนิ น การต่างๆ ทัง้ นี ต้ ามที่ ไ ด้ ร ะบุไ ว้ ใ นโครงการหรื อ ตามวิ ธี ก ารที่ สานักงาน ก.ล.ต. กาหนด 9.12 ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี กองทุน กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ รอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม 2561 – 31 ธันวาคม 2561 ผู้สอบบัญชี บริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด ค่าตรวจสอบบัญชีสิ ้นสุด (บาท) 720,000 บาท 10. ความรับผิดชอบต่ อสังคม 10.1 นโยบายความรับผิดชอบต่ อสังคม บริ ษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จากัด เป็ นบริ ษัทในเครื อของธนาคารกสิกรไทย ซึ่งเป็ นธนาคารที่มี นโยบายในการพัฒนาด้ านสังคมและสิง่ แวดล้ อม ดังนี ้ 10.1.1 การพัฒนาด้ านสังคม การดาเนินงานด้ านการพัฒนาศักยภาพเยาวชน สังคม และสาธารณะประโยชน์ต่างๆ ธนาคารมุ่งมัน่ สร้ างความ เข้ มแข็งให้ แก่สงั คมและชุมชน โดยเฉพาะการพัฒนาเยาวชนไทยให้ เติบโตมาเป็ นประชากรที่มีคณ ุ ภาพ ซึ่งจะเป็ นกาลัง สาคัญในการพัฒนาประเทศชาติสืบไป โดยการพัฒนาศักยภาพเยาวชน สังคม และสาธารณประโยชน์ต่างๆ จะมีการ ร่วมมือกันระหว่างภาคีเครื อข่ายทังชุ ้ มชน, หน่วยงานราชการ, และภาคประชาชน เพื่อร่ วมกันพัฒนาให้ ความเป็ นอยู่และ สภาพแวดล้ อมของชุมชนในสังคมดีขึ ้น 10.1.2 การพัฒนาด้ านสิ่งแวดล้ อม (ก.) การดาเนินธุรกิจที่เป็ นมิตรและคานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม ธนาคารยึดมัน่ ในการดาเนินงานด้ าน สิง่ แวดล้ อม ด้ วยการสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม และมุ่งเน้ นการลดการปล่อย ก๊ าซเรื อนกระจกจากการดาเนินงานของธนาคารลง รวมถึงให้ ความสาคัญกับการดาเนินงานทุกขันตอน ้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่าทุกกระบวนการของธุรกิจตังอยู ้ บ่ นรากฐานของการใส่ใจดูแลรักษาสิง่ แวดล้ อม (ข.) การดาเนินนโยบายอนุรักษ์ และลดการใช้ ทรัพยากรและการลดของเสี ย ธนาคารส่งเสริ มและดาเนินการ อย่างต่อ เนื่ องเพื่ อให้ เ กิ ด การใช้ ท รั พยากรอย่า งคุ้มค่าในทุกขัน้ ตอนการดาเนิ นงาน ทัง้ ในเรื่ อ งการใช้ ทรัพยากรน ้า ไฟฟ้า และการลดของเสีย

46


10.2 การต่ อต้ านการทุจริตคอร์ รัปชั่น บริ ษั ทหลักทรั พย์ จัดการกองทุน กสิกรไทย จากัด ได้ ลงนามในค าประกาศเจตนารมณ์ แนวร่ วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านการทุจริ ตซึ่งดาเนินการโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย หอการค้ าไทย หอการค้ านานาชาติแห่งประเทศไทย สมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย และสภา อุต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย โดยมี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ผลัก ดัน ให้ เ กิ ด การต่ อ ต้ า นการทุจ ริ ต ในวงกว้ า ง และได้ รั บ ประกาศนียบัตรรับรองฐานะการเป็ นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ิฯ จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้ านการทุจริ ต ในปี 2556 บริ ษัทกาหนดเรื่ องการต่อต้ านการทุจริ ตทุกรูปแบบ การห้ ามรับหรือให้ สนิ บนและสิง่ จูงใจไว้ ในจรรยาบรรณของ พนักงาน ซึง่ กรรมการและพนักงานจะต้ องยึดถือปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัด นอกจากนี ้ ในปี 2556 คณะกรรมการบริษัทได้ อนุมตั ินโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้ าที่โดยมิชอบ ซึง่ ครอบคลุมเรื่ องสินบนและสิง่ จูงใจ ของขวัญและ ผลประโยชน์ การบริ จาคเพื่อการกุศลและการให้ เงินสนับสนุนกิจกรรมและการมีสว่ นร่วมทางการเมือง 11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 11.1 ความเห็นของหัวหน้ างานกากับดูแลการปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทจัดการ (1) ความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในฯ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ ประเมินระบบการควบคุมภายในของการบริ หารจัดการกองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริ มทรัพย์ โกลด์ โดยการซักถามและสอบทานเอกสารหลักฐานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องแล้ ว สรุ ปได้ ว่าจากการ ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทจัดการในด้ านต่างๆที่เกี่ยวข้ องกับการบริ หารจัดการกองทุนรวม ระบบการ ควบคุมภายในของบริ ษัทจัดการมีความเพียงพอและเหมาะสม (2) ข้ อบกพร่องเกี่ยวกับระบบควบคุมภายใน จากการสุ่ม ตรวจสอบการบริ ห ารจัด การกองทุน รวมสิท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ โกลด์ ช่ ว งข้ อ มูลในช่ ว ง มกราคม - มิ ถุน ายน 2561 หน่ว ยงานตรวจสอบภายในไม่พบว่ามี ข้อ บกพร่ องเกี่ ยวกับ ระบบการควบคุม ภายในที่ มี นัยสาคัญใดๆ 11.2 หัวหน้ างานตรวจสอบภายในของบริษัทจัดการ ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555 ครัง้ ที่ 7/2555 ได้ แต่งตัง้ น.ส.จุไ รพร สุข วรรณวิท ย์ เป็ นผู้รับ ผิด ชอบสูงสุดของหน่วยงานที่ ทาหน้ าที่ ในการก ากับดูแลการ ปฏิบตั ิงานและตรวจสอบภายในของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของหน่วยงานทางการที่กากับดูแลการประกอบธุรกิจ ของบริ ษัท เนื่องจากมีประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานด้ านการกากับดูแลและตรวจสอบภายในในธุรกิจจัดการลงทุน มา เป็ นระยะเกือบ 20 ปี และมีความเข้ าใจในกิจกรรมและการดาเนินงานของบริ ษัท จึงเห็นว่ามีความเหมาะสมที่จะปฏิบตั ิ หน้ าที่ดงั กล่าวได้ อย่างเหมาะสมเพียงพอ ทังนี ้ ้ การพิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้ ายผู้รับผิดชอบสูงสุดของหน่วยงานที่ทาหน้ าที่ในการกากับ ดูแลการปฏิบตั ิงานดังกล่าวข้ างต้ น จะต้ องผ่านการอนุมตั ิหรื อได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษัท หรื อผู้ได้ รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทและแจ้ งให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบ

47


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 12. การป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ บริ ษัท หลัก ทรั พย์ จัดการกองทุน กสิกรไทย จ ากัด มุ่ง มั่นในการดาเนิ นธุร กิ จด้ วยความโปร่ ง ใส เป็ นไปตาม กฎหมาย และหลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของลูกค้ าเป็ นสาคัญ บริ ษัทจึงกาหนดนโยบาย การป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ เพื่อใช้ ในการปฎิบตั ิงาน 12.1 หลักการในการป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ 12.1.1 การทาธุรกรรมของบริ ษัทและกองทุนภายใต้ การจัดการของบริ ษัทจะต้ องขจัด ปั ญหาความขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์ อย่างรอบคอบ มี เหตุผล และเป็ นอิสระภายในกรอบจริ ยธรรมที่ดี เพื่อ ประโยชน์ โดยรวมของบริ ษัท ลูกค้ าและผู้ถือหุ้นเป็ นสาคัญ จึงกาหดนให้ กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อพนักงานที่มี ผลประโยชน์เกี่ยวข้ องกับธุรกรรมที่ทากับบริ ษัทและกองทุนภายใต้ การจัดการของบริ ษัท จะต้ องไม่มี ส่วนร่วมในการพิจารณาหรื อนุมตั ิธุรกรรมดังกล่าว 12.1.2 การทาธุรกรรมระหว่าง บมจ. ธนาคารกสิกรไทยและบริ ษัทหรื อธุรกรรมระหว่างกันของบริ ษัทย่อยของ บมจ.กสิกรไทย จะต้ องมีเงื่อนไขหรื อข้ อกาหนดที่เป็ นปกติเหมือนกับการทาธุรกรรมกับบุคคลทัว่ ไปที่มี ความเสี่ยงในระดับเดี ยวกัน หรื อเป็ นกรณีที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการ และเป็ นไปตามนโยบาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่บริ ษัทกาหนดและข้ อกาหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 12.1.3 การทารายการที่เกี่ยวโยงกันและการทาธุรกรรมกับกิ จการที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้ อง ให้ เป็ นไปตาม ระเบียบและหลักเกณฑ์ที่บริ ษัทกาหนดและข้ อกาหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 12.1.4 การทารายการที่เกี่ยวโยงกัน จะต้ องกาหนดราคาให้ เป็ นไปอย่างเหมาะสมยุติธรรมและเป็ นไปตาม เงื่อนไขการค้ าโดยทัว่ ไป รวมถึงต้ องปฎิบตั ิตามระเบียบของบริ ษัทและเป็ นไปตามข้ อกาหนดกฎหมายที่ เกี่ยวข้ อง 12.1.5 กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ต้ องเปิ ดเผยข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับการทาธุรกรรมกับบริ ษัทอย่างถูกต้ อง และเพียงพอ เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจหรื อการพิจารณาอนุมตั ิการทาธุรกรรมของบริ ษัท 12.1.6 ห้ ามใช้ ข้อมูลภายในที่ตนล่วงรู้จากการปฎิบตั ิหน้ าที่ไปแสวงหาประโยชน์แก่ตนเองหรื อผู้อื่น 12.1.7 การซือ้ ขายหลักทรั พย์ ต้ องเป็ นไปตามระเบียบว่าด้ วยการซือ้ ขายหลักทรั พย์ ของพนักงานที่บริ ษัท กาหนด 12.1.8 บริ ษัทกาหนดให้ มีการเปิ ดเผยข้ อมูลการทารายการที่เกี่ยวโยงกันตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและข้ อกาหนด กฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 12.1.9 การทาธุรกรรมหรื อนิ ติก รรมของคู่ค้าหรื อคู่สญ ั ญาของกองทุนรวมหรื อระหว่างกองทุนภายใต้ การ จัดการของบริ ษัท ต้ องพิจารณาไม่ให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ต่อกองทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน หรื อลูกค้ า 12.1.10 การทาธุรกรรมเพื่อลูกค้ ากับคู่สญ ั ญารายใดรายหนึ่งไม่ควรบ่อยครั ง้ เกิ นความจาเป็ น ( Churning) โดยไม่มีเหตุอนั สมควร 12.2 แนวปฎิบัติเพื่อป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ 12.2.1 บริษัทกาหนดระบบงานและมาตราการเพื่อป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ดังนี้ (1) ปฎิบตั ิตอ่ ลูกค้ าอย่างเป็ นธรรม

48


(2) ป้องกันอย่างรัดกุมเพือ่ ไม่ให้ มกี ารใช้ ข้อมูลหรื อโอกาสจากการให้ บริ การไปใช้ ในทางมิชอบ (3) จัดให้ มีการแบ่งแยกหน่วยงานและบุคลากรที่ปฎิบัติหน้ าที่ซึ่งอาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ หรื อ แบ่งแยก พื ้นที่การปฎิบตั ิงานออกจากกัน (4) กาหนดระเบี ยบปฎิ บัติ หรื อป้องกันการมี พ ฤติ กรรมที่อาจก่ อให้ เ กิ ด ความขัด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ซึ่ง ครอบคลุมประเด็นดังนี ้ (ก.) การกระทาที่อาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ที่ครอบคลุมการกระทาของบริ ษัทหรื อ บุคคลที่เกี่ยวข้ องกับการประกอบธุรกิจในลักษระดังนี ้ - แสวงหาประโยชน์โดยให้ ลกู ค้ าเป็ นผู้รับภาระค่าใช้ จ่าย - ทาธุรกรรมโดยอาศัยข้ อมูลที่บริ ษัท หรื อกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อ บุคลากรล่วงรู้ มาจากการ ประกอบธุรกิจ และข้ อมูลดังกล่าวไม่เปิ ดเผยเป็ นการทัว่ ไป - ได้ รับหรื อจะได้ รับค่าตอบแทนหรื อประโยชน์อื่นใดไม่วา่ ในรูปเงิน สิ่งของ หรื อบริ การ จากบุคคล ใดๆ ยิ่งกว่าประโยชน์ปกติที่พงึ ได้ รับจากการประกอบธุรกิจ - ได้ รับหรื อจะได้ รับค่าตอบแทน โดยเอื ้อยประโยชน์แก่ลกู ค้ ารายใดๆยิ่งกว่าประโยชน์ของลูกค้ า อีกรายหนึง่ ซึง่ ทาให้ มีการเลือกปฎิบตั ิอบ่างไม่เป็ นธรรมต่อลูกค้ าอีกรายหนึ่งที่อยู่ในกลุม่ ลู กค้ า ประเภทเดียวกันซึง่ ควรจะได้ รับบริ การที่เท่าเทียมกัน - ไม่สามารถให้ บริ การแก่ลกู ค้ าอย่างเหมาะสม เนื่องจากบริ ษัทได้ รับประโยชน์จากผลของการ ให้ บริ การ ซึ่งไม่สอดคล้ องกับประโยชน์ที่ลกู ค้ าพึงได้ รับ หรื อเนื่องจากมีประโยชน์ที่ขดั กันเอง ระหว่างลูกค้ า - ทาธุรกรรมเพื่อลูกค้ าแล้ วบริ ษัทหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ องเสียประโยชน์ - กองทุนรวมว่าจ้ างที่ปรึกษาซึง่ เป็ นบุคคลเดียวกันกับคูค่ ้ าหรื อคูส่ ญ ั ญาของกองทุนนันๆ ้ หรื อเป็ น ที่ปรึกษา ผู้มีสว่ นได้ เสียของกองทุนรวมนันๆ ้ โดยอยูใ่ นวิสยั ที่บริ ษัทจะทราบได้ (ข.) การรับของขวัญหรื อประโยชน์อื่นใดจากลูกค้ า ผู้ให้ บริ การ หรื อบุคคลอื่น (ค.) การเปิ ดบัญชีและการลงทุนในผลิตภัณฑ์ ในตลาดทุนของกรรมการ ผู้บริ หาร และบุคลากรของ บริ ษัท 12.2.2 บริ ษัทกาหนดให้ มีมาตราการในการติดตาม ควบคุม และตรวจสอบการปฎิบัติตามมาตราการและ ระบบงานที่บริ ษัทกาหนด 12.2.3 บริ ษัทกาหนดให้ มีการทบทวนความเหมาะสมของมาตราการและระบบงานเป็ นประจา โดยอย่างน้ อย ให้ ทบทวนทันทีเมื่อมีเหตุการณ์ใดๆที่อาจส่งผลกระทบ และรายงานการทบทวนตามที่บริ ษัทกาหนด

49


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ส่ วนที่ 4 ฐานะการเงินและผลการดาเนินการของกองทุน 13.ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 13.1 สรุ ปรายงานการสอบบัญชี รายละเอียดปรากฎในเอกสารแนบท้ าย 1 13.2 ตารางสรุ ปงบการเงิน ตารางสรุ ปงบแสดงสินทรัพย์ และหนีส้ นิ

รวมสินทรัพย์ รวมหนี ้สิน สินทรัพย์สทุ ธิ มูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิตอ่ หน่วย จานวนหน่วยลงทุนคงค้ าง (หน่วย)

สาหรับปี สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 2,002,476,544 3,474,597 1,999,001,947 9.7038 206,000,000

สาหรับปี สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 1,993,904,342 2,847,322 1,991,057,020 9.6653 206,000,000

ตารางสรุ ปงบกาไรขาดทุน

รายได้ จากการลงทุน ค่าใช้ จา่ ย รายได้ จากการลงทุนสุทธิ กาไร(ขาดทุน)สุทธิทยี่ งั ไม่เกิดขึ ้น จากการลงทุน การเพิ่มขึ ้นในสินทรัพย์สทุ ธิ จากการดาเนินงาน

(หน่วย : บาท) สาหรับปี สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 2,038,721,707 3,954,313 2,034,767,394 9.8775 206,000,000

สาหรับปี สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 92,093,472 9,988,545 82,104,927

สาหรับปี สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 87,708,047 9,505,621 78,202,426

(หน่วย : บาท) สาหรับปี สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 89,577,367 11,571,302 78,006,065

-

(48,000,000)

(16,000,000)

82,104,927

30,202,426

62,006,065

14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของผู้จัดการกองทุนรวม 14.1 ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา สาหรับผลการดาเนินงานของกองทุนรวมสาหรับระยะเวลาตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กองทุนรวมมีรายได้ จากการลงทุนทังสิ ้ ้น 92.09 ล้ านบาท โดยเป็ นรายได้ ค่าเช่า และบริ การ จานวน 91.89 ล้ านบาท และ รายได้ จากดอกเบี ้ย จานวน 0.20 ล้ านบาท ในช่วงเดียวกัน กองทุนรวมมีคา่ ใช้ จ่ายทังสิ ้ ้น 9.99 ล้ านบาท โดยแบ่งเป็ น ค่าธรรมเนียมในจัดการและบริ หารกองทุนรวม 7.02 ล้ านบาท และค่าใช้ จ่ายในการดาเนินการและบริ หารจานวน 2.97

50


ล้ านบาท ส่งผลให้ ในรอบการดาเนินงานวันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กองทุนรวมมีรายได้ จากการ ลงทุนสุทธิคิดเป็ นจานวน 82.10 ล้ านบาท และ ณ สิ ้นปี 2561 กองทุนไม่มีรายการขาดทุนสุทธิที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจากเงินลงทุน กองทุนรวมจึงมีสินทรัพย์สทุ ธิจากการดาเนิน งานทังสิ ้ ้น 82.10 ล้ านบาท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กองทุนมีมลู ค่า ทรัพย์สนิ สุทธิทงสิ ั ้ ้น 1,999.00 ล้ านบาท หรื อ 9.7038 บาทต่อหน่วย ผลตอบแทนของกองทุนรวม กองทุนรวมมีการจ่ายประโยชน์ตอบแทน ณ ปี 2561 เท่ากับ 0.3900 บาทต่อหน่วย (สาหรับระยะเวลาตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561) ทังนี ้ ้ กองทุนรวมมีอตั ราการจ่ายประโยชน์ตอบแทน ณ ปี 2561 เท่ากับร้ อย ละ 4.05 เมื่อเทียบกับราคาพาร์ (ราคา 9.6252 บาทต่อหน่วย) และเท่ากับร้ อยละ 5.32 เมื่อเทียบกับราคาตลาด ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2561 (ราคา 7.3265 บาทต่อหน่วย) ประวัติการจ่ ายประโยชน์ ตอบแทนจากผลการดาเนินงานประจาปี 2561 (สาหรับระยะเวลาตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561) รอบผลประกอบการ

เงินประโยชน์ ตอบแทน (ต่ อหน่ วย)

วันจ่ ายเงินประโยชน์ ตอบแทน

ประเภท

1 เมษายน 2561- 30 มิถนุ ายน 2561

0.1950

19 กันยายน 2561

เงินสด

1 กรกฎาคม 2561-31 ธันวาคม 2561

0.1950

22 มีนาคม 2562

เงินสด

ณ 31 ธันวาคม 2561

ณ 31 ธันวาคม 2560

(1) ประโยชน์ตอบแทนต่อหน่วย (บาท)

0.3900

0.2000

(2) การแบ่งปั นส่วนทุนต่อหน่วย (บาท)

-

-

0.3900

0.2000

อัตราการจ่ายประโยชน์ตอบแทน เมื่อเทียบกับราคาเสนอขายหน่วย ลงทุนครัง้ แรก (10.000 บาทต่อหน่วย) ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2550 (ร้ อยละ)

3.9

2.00

อัตราการจ่ายประโยชน์ตอบแทน เมื่อเทียบกับราคาพาร์ (9.6252 บาทต่อหน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) และ (9.7902 บาทต่อหน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) (ร้ อยละ)

4.05

2.04

อัตราการจ่ายประโยชน์ตอบแทน เมื่อเทียบกับราคาตลาด (7.2000 บาทต่อหน่วย ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2561 และ 7.4500 บาทต่อหน่วยวันที่ 29 ธันวาคม 2561) (ร้ อยละ)

5.42

2.68

ตารางการเปิ ดเผยข้ อมูลการจ่ ายประโยชน์ ตอบแทนประจาปี 2561 รายการ

รวมเงินจ่ายประโยชน์ตอบแทนต่อหน่วย (1) + (2) (บาท)

51


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ 14.2 ปั จจัยหรือเหตุการณ์ ท่ อี าจมีผลกระทบต่ อฐานะทางการเงินหรือการดาเนินงานในอนาคตอย่ างมีนัยสาคัญ รายได้ ของกองทุ น รวมมาจากผลการด าเนิ น งานที่ เ กิ ด ขึ น้ ในรอบระยะเวลาบัญ ชี ปี นั น้ ๆ ซึ่ ง ขึ น้ อยู่ กั บ ผลประกอบการของโครงการ อีกทังสภาวะเศรษฐกิ ้ จ และปั จจัยอื่นๆ สาหรับปี 2562 ได้ รับปั จจัยบวกจากการเพิ่มขึ ้นของ กลุ่ม ลูก ค้ า ชาวต่า งชาติ ที่เ ข้ า มาท างานในประเทศไทย ทัง้ การพ านักระยะสันและระยะยาว ้ การเพิ่มขึน้ ของจานวน นักท่องเที่ยวโดยเฉพาะกลุม่ ตะวันออกกลางที่เข้ ามาเพื่ อท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ รวมถึงการเพิ่มขึ ้นของเที่ยวบินที่เข้ ามาใน ประเทศ ส่งผลบวกต่อผลการดาเนินการที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต อย่างไรก็ตาม เนื่องจากอาคารโครงการของกองทุนรวมเปิ ดใช้ บริ การมาเป็ นระยะเวลานาน อาคารและส่วนควบ บางส่วนเสื่อมสภาพไปตามอายุการใช้ งาน ในปี 2562 กองทุนรวมได้ สารองเงินงบประมาณบางส่วนเพิ่มปรับปรุ งและ พัฒนาอุปกรณ์เครื่ องจักรส่วนควบอาคาร ให้ มีสภาพสมบูรณ์พร้ อมใช้ งาน และเพื่อรักษาศักยภาพในการให้ บริ การลูกค้ า ประกอบกับ รองรั บ อัต ราการเติ บ โตสาหรั บ ปั จ จัย บวกที่ ก ล่า วมาแล้ ว ข้ า งต้ น เพื่ อ รั ก ษาผลการด าเนิ น งานและเพื่ อ ผลประโยชน์สงู สุดของผู้ถือหน่วยลงทุน

52


15. ความเห็นของผู้ดูแลประโยชน์ เกี่ยวกับการดาเนินงานของกองทุนรวมในรอบระยะเวลาหนึ่งปี ที่ผ่านมา

53


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

54


55


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

56


57


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

58


59


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

60


61


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

62


63


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

64


65


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

66


67


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

68


69


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

70


71


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

72


73


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

74


75


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

76


77


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

78


79


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

80


81


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

82


83


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

แบบแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม ของรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุน* (Fund's Direct Expense)

ค่าธรรมเนียมการจัดการ (Management Fee) ค่าธรรมเนียมผู้ดูแลผลประโยชน์ (Trustee Fee) ค่านายทะเบียน (Registrar Fee) ค่าที่ปรึกษาการลงทุน (Advisory Fee) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของโครงการอสังหาริมทรัพย์ (Operation Fee) ค่าตรวจสอบบัญชี (Audit Fee) ค่าใช้จ่ายในการประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ (Market Valuation Fee) ค่าเบี้ยประกัน (Insurance Expense) ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ในช่วงเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ภายหลังเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (Other Expenses)** รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด (Total Fund’s Direct Expenses)***

จำนวนเงิน ร้อยละของมูลค่า (พันบาท) ทรัพย์สินสุทธิ 2,678.96 321.47 535.79 ไม่มี

0.13 0.02 0.03 ไม่มี

1,189.22 552.91

0.06 0.03

213.89 231.50

0.01 0.01

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี 236.11 5,959.85

ไม่มี 0.01 0.30

* ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่หักจากกองทุนรวมได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ** ค่าใช้จ่ายอื่นที่ < ร้อยละ 0.01 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ *** ไม่รวมค่านายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และค่าธรรมเนียมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการซื้อขายหลักทรัพย์

84


แบบแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม ของรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุน* (Fund's Direct Expense)

จำนวนเงิน ร้อยละของมูลค่า (พันบาท) ทรัพย์สินสุทธิ

ค่าธรรมเนียมการจัดการ (Management Fee) 5,316.42 ค่าธรรมเนียมผู้ดูแลผลประโยชน์ (Trustee Fee) 637.97 ค่านายทะเบียน (Registrar Fee) 1,063.28 ค่าที่ปรึกษาการลงทุน (Advisory Fee) ไม่มี ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของโครงการอสังหาริมทรัพย์ (Operation Fee) 1,189.22 ค่าตรวจสอบบัญชี (Audit Fee) 726.50 ค่าใช้จ่ายในการประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ (Market Valuation Fee) 213.89 ค่าธรรมเนียมรายปีของตลาดหลักทรัพย์ (SET Annual Listing Fee) 106.94 ค่าเบี้ยประกัน (Insurance Expense) 449.89 ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ในช่วงเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ไม่มี ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ภายหลังเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ไม่มี 283.54 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (Other Expenses)** รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด (Total Fund’s Direct Expenses)*** 9,987.65

0.27 0.03 0.05 ไม่มี 0.06 0.04 0.01 0.01 0.02 ไม่มี ไม่มี 0.01 0.50

* ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่หักจากกองทุนรวมได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ** ค่าใช้จ่ายอื่นที่ < ร้อยละ 0.01 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ *** ไม่รวมค่านายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และค่าธรรมเนียมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการซื้อขายหลักทรัพย์

85


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

รายละเอียดแสดงทรัพย์สินแยกตามประเภท กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

ประเภท

เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินฝากประจำ รายได้ค่าเช่าค้างรับ ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ทรัพย์สินอื่น รวมทรัพย์สิน หนี้สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลค่าเงินลงทุน ร้อยละของ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 1,932,000,000.00 96.65 60,320,492.75 3.02 - - 9,735,649.04 0.48 - - 420,087.63 0.02 2,002,476,229.42 100.17 (3,474,282.64) (0.17) 1,999,001,946.78 100.00

สรุปมูลค่าทรัพย์สิน ทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุน กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลค่าทรัพย์สิน 2,002,476,229.42 บาท มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 1,999,001,946.78 บาท จำนวนหน่วย 206,000,000.0000 บาท มูลค่าต่อหน่วยลงทุน 9.7039 บาท อัตราส่วนหมุนเวียนการลงทุนของกองทุนรวม (PTR) : N/A

86

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าเงินลงทุน ร้อยละของ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 1,932,000,000.00 97.31 50,600,032.05 2.43 - - 8,714,744.82 0.29 - 0.00 2,589,564.53 0.16 1,993,904,341.40 100.19 (2,847,321.79) (0.19) 2,034,767,394.14 100.00


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์

ประเภทโครงการ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ประเภทไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุน อายุโครงการ ไม่กำหนดอายุโครงการ วันที่จดทะเบียนกองทุน 4 พฤษภาคม 2550 ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 1,982.80 ล้านบาท ณ เดือนมีนาคม 2561 จำนวนหน่วยลงทุนจดทะเบียน ไม่เกิน 206 ล้านหน่วย รอบระยะเวลาบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี วัตถุประสงค์โครงการ เพื่ อ ระดมเงิ น ทุ น จากนั ก ลงทุ น ทั่ ว ไป ทั้ ง ที่ เ ป็ น บุ ค คลธรรมดาและนิ ติ บุ ค คลทั้ ง ในและ

ต่ า งประเทศ ซึ่ ง กองทุ น จะนำเงิ น ที่ ได้ จ ากการระดมทุ น ไปซื้ อ เช่ า และ/หรื อ เช่ า ช่ ว ง อสังหาริมทรัพย์ โดยกองทุนจะรับโอนกรรมสิทธิ์ และ/หรือ สิทธิการเช่า และ/หรือ สิทธิการ

เช่าช่วง อสังหาริมทรัพย์ และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว โดยการให้เช่า

ให้เช่าช่วง โอน และ/หรือ จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ ที่กองทุนได้ลงทุนไว้หรือมี ไว้ รวมถึง

แต่ ไม่จำกัดเพียงการนำอสังหาริมทรัพย์ออกให้เช่าหรือเช่าช่วงในลักษณะเซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ หรือการนำอสังหาริมทรัพย์ออกให้เช่าหรือเช่าช่วงเพื่อให้ผู้ประกอบการนำอสังหาริมทรัพย์ออกหา ประโยชน์ในลักษณะเซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์หรือโรงแรม ตลอดจนทำการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง รวม ถึงดำเนินการก่อสร้าง และ/หรือ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยรับโอนใบอนุญาตก่อสร้าง และ/หรือ ดำเนินการขอหรือรับโอนใบอนุญาตอื่นๆ เช่น ใบอนุญาตโรงแรม (ในกรณีที่กฎหมายอนุญาตให้ ดำเนินการดังกล่าวได้) และ/หรือ ดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้องและจำเป็นเพื่อประโยชน์ของ อสังหาริมทรัพย์ และเพื่อมุ่งก่อให้เกิดรายได้และผลตอบแทนแก่กองทุนและผู้ถือหน่วยลงทุน ของกองทุน รวมถึงการลงทุนในทรัพย์สินอื่น และ/หรือ หลักทรัพย์อื่น และ/หรือ การหาดอกผลอื่น โดยวิธีอื่นใดตามกฎหมายหลักทรัพย์ และ/หรือ กฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้องกำหนด นโยบายการลงทุน ในการลงทุ น ครั้ ง แรกกองทุ น จะทำการลงทุ น ในทรั พ ย์ สิ น ที่ ล งทุ น ซึ่ ง โกลเด้ น แลนด์

(เมย์แฟร์) เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และได้ ใช้ ในการดำเนินกิจการโครงการเมย์แฟร์แมริออท อยู่ ใน ปัจจุบัน • สิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร ระยะเวลา 30 ปี โดยมีสิทธิที่จะต่ออายุสัญญาเช่าได้อีก 30 ปี

ลงทุนในเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับการดำเนินธุรกิจของโครงการ • กองทุนมีสิทธิซื้อทรัพย์สินที่เช่า ณ สิ้นปีที่ 30 ในราคา 405 ล้านบาท และปีที่ 60 ในราคา

984 ล้านบาท 87


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ นโยบายการจ่ายเงินปันผล โครงการมีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหน่วยลงทุนไม่เกินปีละ 2 ครั้ง (1) ในกรณีที่กองทุนมีกำไรสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชี ใด บริษัทจัดการจะจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือ หน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกำไรสุทธิที่ ไม่รวมกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการประเมินค่า หรื อ การสอบทานการประเมิ น ค่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ห รื อ สิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ป ระจำ

รอบระยะเวลาบัญชี (2) ในกรณีที่กองทุนรวมมีกำไรสะสมในรอบระยะเวลาบัญชี ใด บริษัทจัดการอาจจ่ายเงินปันผลให้

ผู้ถือหน่วยลงทุนจากกำไรสะสมดังกล่าวด้วยก็ ได้ (3) บริษัทจัดการสงวนสิทธิที่จะพิจารณาไม่จ่ายเงินปันผล หากเงินปันผลที่จะประกาศจ่ายต่อหน่วย ลงทุนในงวดที่พิจารณาจ่ายมีมูลค่าต่ำกว่าหรือเท่ากับ 0.10 บาท การจ่ายเงินปันผลตาม (1) ต้องไม่ทำให้กองทุนรวมเกิดยอดขาดทุนสะสมเพิ่มขึ้นในรอบ ระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผล ผู้ดูแลผลประโยชน์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) นายทะเบียน บมจ. ธนาคารกสิกรไทย

88


รายชือ่ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องทีม่ กี ารทำธุรกรรมกับ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ สำหรับระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561

ไม่มีการทำธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบรายละเอียดการทำธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวม ได้ที่บริษัทจัดการโดยตรง หรือที่ website ของบริษัทจัดการที่ http://www.kasikornasset.com หรือที่ Website ของสำนักงาน ก.ล.ต. ที่ http://www.sec.or.th รายชื่อผู้จัดการกองทุน (หลักและสำรอง) ของกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ ภูมิ ศรีเมฆารัตน์ เขมชาติ สุวรรณกุล ชัชชัย สฤษดิ์อภิรักษ์ ชัยพร ดิเรกโภคา ปณตพล ตัณฑวิเชียร มนต์ชัย อนันตกูล

การรับผลประโยชน์ตอบแทนเนื่องจากที่กองทุนใช้บริการบุคคลอื่น (Soft Commission)

ไม่มี

89


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์ บลจ. กสิกรไทย จำกัด ประวัต ิ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด เป็นบริษัทในเครือธนาคารกสิกรไทย ที่ ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ

หลักทรัพย์ ประเภทการจัดการลงทุนจากกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2535 ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการจัดการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพในเดือนมิถุนายน 2543 และได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการจัดการกองทุนส่วนบุคคลในเดือนมีนาคม 2544 ในปัจจุบัน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด เป็นบริษัทจัดการลงทุนที่มีความพร้อมทั้งในด้านการให้บริการ

การวิจัย และการจัดการลงทุน โดยดำเนินธุรกิจจัดการกองทุนด้วยบุคลากรที่มีคุณภาพพร้อมกับ ข้อมูล ข่าวสาร ระบบงานและเทคโนโลยี ในการจั ดการลงทุนที่ทันสมัย และยึดมั่นในจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด เพื่อรักษาความเป็นบริษัทจัดการลงทุนที่มีคุณภาพตลอดไป สถานที่ตั้งสำนักงาน บลจ. กสิกรไทย จำกัด ตั้งอยู่เลขที่ 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชั้น 6 และชั้น 12 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน

เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2673 3888 โทรสาร 0 2673 3988 ทุนจดทะเบียน จำนวน แบ่งออกเป็น เรียกชำระแล้ว

135,771,370.00 27,154,274.00 135,771,370.00

บาท บาท มูลค่าหุ้นละ 5 บาท บาท

ผู้ถือหุ้น บมจ.ธนาคารกสิกรไทย ถือหุ้นร้อยละ 99.99 กรรมการบริษัท 1. นางสาวขัตติยา อินทรวิชัย 2. นายวศิน วณิชย์วรนันต์ 3. นายสุรเดช เกียรติธนากร 4. นายประสพสุข ดำรงชิตานนท์ 5. นางรัตนาพรรณ ศรีมณีกุลโรจน์ 6. นางนิศานาถ อู่วุฒิพงษ์

ผู้บริหารระดับสูง 1. นายวศิน วณิชย์วรนันต์ 2. นายสุรเดช เกียรติธนากร 3. นายเกษตร ชัยวันเพ็ญ 4. นางสาวยุพาวดี ตู้จินดา 5. นายนาวิน อินทรสมบัติ 6. นายชัชชัย สฤษดิ์อภิรักษ์ 7. นางสาวธิดาศิริ ศรีสมิต 8. นายวิทวัส อัจฉริยวนิช 9. นายเขมชาติ สุวรรณกุล 10. นางสาวเอื้อพันธ์ เพ็ชราภรณ์ 11. นางสาวเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ 12. นางหทัยพัชร์ ชูโต 13. นางสาวชนาทิพย์ รุ่งคุณานนท์ 14. นางอรอร วงศ์พินิจวโรดม

90

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการและประธานบริหารการลงทุนต่างประเทศ รองกรรมการผู้จัดการและประธานบริหารการลงทุนตราสารหนี้ รองกรรมการผู้จัดการและประธานบริหารการลงทุนตราสารทุน รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2561


เอกสารแนบ 1 รายงานผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต งบดุล งบกำไรขาดทุน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน


กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์



กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โกลด์




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.