ประมาณการเศรษฐกิจไทย ณ เดือนกันยายน 2554

Page 89

จากการศึกษาขอมูลระหวางรายไดประชาชาติเฉลี่ยตอคนตอเดือนกับจํานวนประชากรในป 2552 พบวา ประชากร มากกวารอยละ 60 ของไทยมีรายไดประชาชาติเฉลีย่ ตอหัวตอเดือนนอยกวาคากลางรายไดเฉลีย่ ตอคนตอเดือนทัง้ ประเทศทีอ่ ยู 7,093 บาท บงชี้วา แมวา GDP ของประเทศไทยจะเติบโตในเชิงมหภาค แตการกระจายรายไดของประเทศนั้นไมมีความสมดุล อยางมาก โดยประชากรสวนใหญมรี ายไดตาํ่ ซึง่ จากการศึกษาพบวาเปนกลุม ทีท่ าํ งานในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม อาทิ เกษตรกรและกรรมกร ซึง่ เปนปจจัยการผลิตสําคัญในการผลิตสินคาเพือ่ การบริโภคภายในประเทศ และผลิตเพือ่ การสงออก โดยเฉพาะสินคาเกษตรและสินคาอุตสาหกรรมที่ตองใชแรงงานเปนจํานวนมาก อาทิ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อันจะสงผลใหเกิด การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การพัฒนายกระดับรายไดประชาชาติ จึงควรเริ่มตนกับประชากรกลุมนี้โดยภาครัฐ ควรใชนโยบายพัฒนาเพือ่ ประชาชนฐานราก (Pro-Poor growth) หรือพัฒนาฐานรากใหมนั่ คงเพือ่ นําไปสูก ารเติบโตทางเศรษฐกิจ มหภาคที่ยั่งยืนโดยเริ่มตนจากการพัฒนาในแตละกลุมดังนี้

กลุมเกษตรกร

กลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการ

4.1 กลุมเกษตรกร ❍ พัฒนาการเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่เพาะปลูก (Increase Farm Productivity) ของพืชผลสําคัญทางเศรษฐกิจ ตาง ๆ เชน ขาว ยางพารา ขาวโพด ออย ปาลมนํ้ามัน ฯลฯ โดยฟนฟูดินที่เสื่อมโทรมดวยปุยอินทรียและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการนํ้าและระบบชลประทาน เพื่อใหเกษตรกรสามารถใชนํ้าเปนปจจัยในการผลิตไดอยางพอเพียง มีการสรางเขื่อนและ ฝายกักเก็บนํ้าขนาดใหญในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ซึ่งนอกจากจะทําใหมีนํ้าพอเพียงในฤดูแหงแลงแลวยังชวยแกปญหาอุทกภัย ในชวงฤดูนํ้าหลากของปดวย ❍ สนับสนุนใหเกษตรกรเขาถึงแหลงทุน/สินเชือ ่ ของรัฐตนทุนตํา่ เพือ่ เกษตรกรจะไดนาํ ไปซือ้ ปจจัยการผลิตและ แกไขปญหาหนี้สินโดยเฉพาะหนี้นอกระบบ พรอมทั้งสงเสริมระบบสหกรณการเกษตร ธนาคารชุมชน หรือ Micro Finance และ ระบบประกันภัยความเสีย่ งประเภทตาง ๆ ใหแกเกษตรกรทีป่ ระสบปญหาจากราคาสินคาเกษตรในตลาด อาทิ โครงการประกันราคา หรือรับจํานําขาว และปญหาความเสียหายของการผลิตจากภัยธรรมชาติ อาทิ โครงการประกันภัยพืชผล ตลอดจนจัดหาที่ดิน ทํากินใหแกเกษตรกร ❍ สงเสริมการวิจัย การพัฒนา และการสรางนวัตกรรมทางการเกษตรอยางครบวงจร เพื่อเพิ่มมูลคาใหสินคา เกษตร อีกทั้งสนับสนุนใหปราชญชาวบานเขามามีบทบาทในการถายทอดองคความรูและภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนสราง เกษตรกรรุนใหมเพื่อฟนฟูอาชีพเกษตรกร ❍ นอกจากนี้ เกษตรกรควรทําการเกษตรตามแนวพระราชดําริ ขยายกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาเกษตร ทฤษฎีใหม โครงการอาหารกลางวัน และธนาคารโคกระบือ ตามแนวพระราชดําริ รวมทัง้ เพือ่ ความมัน่ คงทางดานอาหารอีกดวย 4.2 กลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ❍ สงเสริมใหมก ี ารพัฒนาเพือ่ ยกระดับความรู ความสามารถ และทักษะของผูใ ชแรงงานใหสงู ขึน้ และสอดคลอง กับสภาพการผลิตที่แปรเปลี่ยนไปจากเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาสูง เพื่อใหคุณภาพชีวิตของผูใชแรงงานดีขึ้นกวาเดิม ❍ ส ง เสริ ม การมี ส  ว นร ว มระหว า งภาครั ฐ กั บ สถาบั น ศึ ก ษาเพื่ อ ผลิ ต กํ า ลั ง คนในสาขาที่ ข าดแคลน และใหสอดคลองกับความตองการในทองถิ่น ❍ เพิ่มโอกาสในการเขาถึงแหลงเงินทุน สําหรับผูที่ตองการเปนผูประกอบการทําใหเกิดธุรกิจ SMEs ใหม ๆ เกิดขึ้นอีกมาก และสงเสริมระบบประกันภัยความเสี่ยงในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

87


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.