ประมาณการเศรษฐกิจไทย ณ เดือนกันยายน 2554

Page 1

ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และ 2555

THAILAND'S ECONOMIC OUTLOOK 2011-2012 : SEPTEMBER

เดือนกันยายน

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

http://www.fpo.go.th


THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2011-2012 FISCAL POLICY OFFICE เปาประสงค และ ยุทธศาสตร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1. ความยั่งยืนทางการคลัง (Fiscal Sustainability) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานการคลัง เพื่อใหภาคการคลังของประเทศมีความแข็งแกรงยั่งยืน เปนที่นาเชื่อถือ และเปนหลักของ ระบบเศรษฐกิจไทย 2. การพัฒนาความแข็งแกรงของระบบการเงินที่ยั่งยืน (Sustainable Financial System Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานการเงิน เพื่อใหภาคการเงินแข็งแกรง มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชนตอการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ 3. เศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน (Sustainable Economic and Social Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศเพื่อใหระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพอยางตอเนื่อง + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวของเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศ + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวของเพื่อกระจายความมั่งคั่ง สูภูมิภาคและเศรษฐกิจฐานราก + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวของเพื่อใหประชาชนมีรายได และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 4. ความมีประสิทธิภาพ ความทันสมัย และความโปรงใสในการทํางาน (Modernization of Management and Good Governance Promotion) + ดําเนินการเพื่อใหเปนองคกรเรียนรู เปนที่ยอมรับดานความสามารถของบุคลากร + ดําเนินการเพื่อใหการทํางานและการใหบริการโปรงใส มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได โดยใชระบบ IT ลดขั้นตอนการทํางาน

กลยุทธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค : “เสาหลักดานเศรษฐกิจมหภาคอยางมืออาชีพ” “วิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจไดอยางมีคุณภาพ แมนยํา และทันตอเหตุการณ เพื่อใหสามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไดอยาง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งสรางความเขาใจที่ถูกตองตอสาธารณชน”

คณะผูจัดทํา ผูอํานวยการสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ : boonchar@mof.go.th ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเศรษฐกิจมหภาค ดร.กุลยา ตันติเตมิท : kulaya.t@hotmail.mof.go.th ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ วิภารัตน ปนเปยมรัษฎ : wiparat@fpo.go.th ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค ณัฐยา อัชฌากรลักษณ : nuttaya@fpo.go.th ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร : soraphol@fpo.go.th ผูอํานวยการสวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สิริกัลยา เรืองอํานาจ : sirigunya@hotmail.com

ผูรับผิดชอบรายภาคเศรษฐกิจ

ภาคการคลัง พิสิทธิ์ พัวพันธ : pisitp@mof.go.th ดร.จงกล คําไล : jongkon@fpo.go.th จรสพร เฉลิมเตียรณ : charosporn@yahoo.com ยุทธภูมิ จารุเศรนี : iam5111@msn.com คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com สุธิรัตน จิรชูสกุล : j_suthi01@ yahoo.com ภาคการคาระหวางประเทศ ธนิต ภัทรแสงไทย : thanitcfa@gmail.com อรุณรัตน นานอก : aobcy2000@hotmail.com ตลาดนํา มัน ยุทธภูมิ จารุเศรนี : iam5111@msn.com ดร.กุลกัลยา พระยาราช : kulkunya@mof.go.th เศรษฐกิจตางประเทศ ดร.สิริกมล อุดมผล : sirikamon@mof.go.th

ภาคการเงิน อารจนา ปานกาญจโนภาส : annulet@hotmail.com อัตราแลกเปลี่ยน ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ : pim.hirankasi@gmail.com พีรพรรณ สุวรรณรัตน : peerapan.ps@gmail.com ภาคอุตสาหกรรม ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ : thammaritud@yahoo.com อรอุมา หนูชวย : onumaneung@hotmail.com ภาคเกษตรกรรม กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com ภาคการทองเที่ยว คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com ภาคการบริโภค การลงทุน และอสังหาริมทรัพย วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com ดานเสถียรภาพ อรรถพล จรจันทร : golf1137@hotmail.com พนันดร อรุณีนิรมาน : panundorn.a@gmail.com



THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2011-2012 : SEPTEMBER FISCAL POLICY OFFICE

สารบัญ หนา 1. ประมาณการเศรษฐกิจไทย บทสรุปผูบริหาร Executive Summary ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554) 1.1 สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 1.2 ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555

3 7 11 12 30

2. ภาคการคลัง : สรุปสถานการณดานการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554

43

3. บทวิเคราะหเศรษฐกิจ : Macroeconomic Analysis Briefings 3.1 ถอดรหัสความสัมพันธระหวาง CPI และ PPI 3.2 บทบาทการลงทุนภาครัฐเพื่อยกระดับศักยภาพการผลิตระยะยาวของประเทศไทย 3.3 ฝามหาอุทกภัยป 2554 3.4 ปจจัยที่มีผลตออัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยในครึ่งแรกของป 2554 3.5 บทบาทของภาครัฐเพื่อรุงอรุณใหมของเศรษฐกิจไทย 3.6 นักลงทุนตางชาติกับตลาดหลักทรัพยไทย : ความเชื่อและความจริง 3.7 อุตสาหกรรม...กุญแจสูการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน 3.8 ทองเที่ยวไทย : การเติบโตที่ยั่งยืน

51 59 66 75 81 89 99 109

4. ภาคการเงิน : รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 3 ป 2554

116

5. Thailand’s Key Economic Indicators

120

คณะผูจัดทํา : สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทรศัพท 02-273-9020 ตอ 3257 โทรสาร 02-298-5602 / 02-618-3397 http:// www.fpo.go.th


บทสรุปผูบริหาร ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554) รายงานประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555

“เศรษฐกิจไทยป 2554 มีแนวโนมขยายตัวชะลอลง เนื่องจากเศรษฐกิจโลกขยายตัวตํ่ากวาคาด แตคาดวาจะยังคงขยายตัวไดอยางตอเนื่องในป 2555” สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 จะยังขยายตัวอยูในอัตรารอยละ 4.0 โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.8-4.3 ชะลอลงจากปกอนหนาตามอุปสงคภายในประเทศ โดยเฉพาะการบริโภค ภาคเอกชนที่ ค าดว า จะชะลอลง เนื่ อ งจากได รั บ ผลกระทบจากป ญ หาอุ ท กภั ย ในภาคเหนื อ ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจากแรงกดดันดานเงินเฟอและตนทุนที่ยังอยูในระดับสูงตอเนื่อง ขณะที่ปริมาณ การสงออกสินคาและบริการคาดวาจะยังคงขยายตัวในระดับสูง เนื่องจากการขยายตัวของการสงออกสินคาและ บริการที่สูงเกินคาดในชวงครึ่งปแรก อยางไรก็ตาม ความไมแนนอนของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจากปญหา ภาคอสังหาริมทรัพยและการจางงานในสหรัฐอเมริกา และปญหาหนี้สาธารณะในกลุมประเทศยุโรป ยังคงเปนปจจัย เสี่ยงสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกที่อาจชะลอตัวลงมากกวาที่คาด และสงผลกระทบใหภาคการสงออกสินคาและ บริการในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวตอเนื่อง เพื่อรองรับอุปสงคที่เพิ่มขึ้นในชวงครึ่งปหลัง ภายหลังจากที่ชะลอลงเนื่องจากไดรับผลกระทบของภัยพิบัติในญี่ปุน ในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2554 สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศคาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2554 จะอยูท รี่ อ ยละ 3.8 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 3.6-4.1) เรงตัวขึน้ จากทัง้ ตนทุนในหมวดอาหารสดทีไ่ ดรบั แรงกดดัน จากตนทุนการผลิตทีส่ งู และอากาศแปรปรวน และตนทุนในหมวดพลังงานทีเ่ รงขึน้ ตามทิศทางราคานํา้ มันในตลาดโลก เปนสําคัญ สําหรับเศรษฐกิจไทยในป 2555 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังคาดวา เศรษฐกิจไทยมีแนวโนมขยายตัวตอเนื่อง ทีร่ อ ยละ 4.5 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.0-5.0) โดยมีแรงขับเคลือ่ นหลักจากทัง้ อุปสงคภายในประเทศและอุปสงค จากตางประเทศทีค่ าดวาจะยังคงขยายตัวได ตามการจางงานทีค่ าดวาจะยังคงอยูใ นระดับสูง และนโยบายของภาครัฐ ในการสนับสนุนการใชจา ย เชน มาตรการปรับเพิม่ รายไดแรงงานรายวันและเงินเดือนขาราชการ ขณะทีแ่ รงสนับสนุน จากเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโนมวาจะเริ่มฟนตัวขึ้นตามลําดับ โดยไดรับอานิสงสจากการฟนตัวของเศรษฐกิจญี่ปุน ภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ แมวาจะยังคงไดรับความเสี่ยงจากการเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยจากกลุมประเทศ พัฒนาแลว ในดานเสถียรภาพภายในประเทศคาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2555 จะอยูที่รอยละ 3.3 (โดยมีชวง คาดการณที่รอยละ 2.8-3.8) ตามอุปสงคนํ้ามันในตลาดโลกที่คาดวาจะชะลอลง

1. ประมาณการเศรษฐกิจไทยในป 2554 1.1 ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในป 2554 คาดวาจะขยายตัวในอัตรารอยละ 4.0 โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 3.8-4.3 ซึง่ เปนการขยายตัว ชะลอลงจากปกอนหนาตามอุปสงคภายในประเทศ โดยการบริโภคภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวรอยละ 3.9 (โดยมีชวง ประมาณการเศรษฐกิจไทย

3


คาดการณที่รอยละ 3.8-4.8) ชะลอลงจากปกอนหนา เนื่องจากไดรับผลกระทบจากปญหาอุทกภัยในภาคเหนือ ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจากแรงกดดันดานเงินเฟอและตนทุนที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง อยางไรก็ดี ภาวะการจางงาน และรายไดที่ยังอยูในเกณฑดี ทั้งในสวนของรายไดเกษตรกรที่คาดวาจะปรับสูงขึ้นตามราคาพืชผลสําคัญ รวมถึงรายไดจาก ภาคทองเที่ยวที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นตามแนวโนมจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่ขยายตัวในระดับสูง คาดวาจะยังคงมีสวนชวย สนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนใหขยายตัวได ขณะที่ปริมาณการสงออกสินคาและบริการในป 2554 คาดวาจะยังคงขยายตัว ในระดับสูงที่รอยละ 13.2 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 12.7-13.7) เนื่องจากการขยายตัวของการสงออกสินคาและบริการ ที่สูงเกินคาดในชวงครึ่งปแรก โดยขยายตัวสูงถึงรอยละ 13.9 อยางไรก็ตาม ความไมแนนอนของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก จากปญหาภาคอสังหาริมทรัพยและการจางงานในสหรัฐอเมริกา และปญหาหนี้สาธารณะในกลุมประเทศยุโรป ยังคงเปน ปจจัยเสี่ยงสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกที่อาจชะลอตัวลงมากกวาที่คาด และสงผลกระทบใหภาคการสงออกสินคาและ บริการในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน สวนปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวชะลอลงมา อยูที่รอยละ 15.0 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 14.5-15.5) ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนในป 2554 คาดวาจะขยายตัวรอยละ 11.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 10.8-11.8) โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจากการเรงตัวขึ้นอยางมากของการลงทุนภาคเอกชน ในครึง่ แรกของป 2554 ทีข่ ยายตัวสูงถึงรอยละ 10.5 ประกอบกับความเชือ่ มัน่ ของภาคธุรกิจทีย่ งั อยูใ นเกณฑดี คาดวาจะสงผลให ผูป ระกอบการลงทุนเพิม่ ขึน้ เพือ่ ขยายกําลังการผลิตใหสามารถรองรับความตองการสินคาทีเ่ พิม่ ขึน้ ได สําหรับการใชจา ยภาครัฐ ในป 2554 คาดวาการบริโภคภาครัฐจะขยายตัวรอยละ 2.7 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.2-3.2) ชะลอลงเล็กนอยจาก ปกอนหนา เนื่องจากความลาชาในการจัดทํางบประมาณประจําป 2555 จะสงผลใหการเบิกจายในชวงไตรมาสที่ 4 ของปนี้ เปนไปอยางลาชา ขณะที่การลงทุนภาครัฐคาดวาจะหดตัวรอยละ -1.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ -1.9 ถึง -0.9) เนื่องจาก การเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุนในไตรมาสที่ 2 ป 2554 มีการเบิกจายชะลอตัวลงมาก โดยเฉพาะจากรัฐบาลทองถิ่น ที่หดตัวกวารอยละ -35.2 ทําใหในชวงครึ่งปแรกการลงทุนภาครัฐหดตัวกวารอยละ -5.9 1.2 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ในดานอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2554 คาดวาจะเพิ่มขึ้นมาอยูที่รอยละ 3.8 ตอป (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 3.6-4.1 ตอป) จากตนทุนทีส่ งู ขึน้ โดยเฉพาะในหมวดอาหารสดทีไ่ ดรบั แรงกดดันจากตนทุนการผลิตทีส่ งู และอากาศแปรปรวน และตนทุนในหมวดพลังงานทีเ่ รงขึน้ ตามทิศทางราคานํา้ มันในตลาดโลกเปนสําคัญ สวนอัตราการวางงาน คาดวาจะยังคงอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.7 ของกําลังแรงงานรวม (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 0.6-0.8 ของกําลังแรงงานรวม) ในดานเสถียรภาพภายนอกประเทศคาดวาดุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลลดลงเล็กนอยมาอยูที่ 13.5 พันลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 3.7 ของ GDP (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.5-4.0 ของ GDP) เนื่องจากดุลการคาที่คาดวาจะเกินดุล ลดลงมาอยูที่ 9.5 พันลานเหรียญสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 8.5-10.5 พันลานเหรียญสหรัฐ) โดยคาดวามูลคานําเขาสินคา ในป 2554 จะขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 26.6 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 26.1-27.1) ตามราคาสินคานําเขาในตลาดโลก ขณะที่มูลคาสงออกสินคาในป 2554 คาดวาจะขยายตัวรอยละ 22.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 21.8-22.8)

2. คาดการณเศรษฐกิจไทยในป 2555 2.1 ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในป 2555 คาดวาจะขยายตัวอยางตอเนื่องในอัตรารอยละ 4.5 โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 4.0-5.0 ซึง่ ไดรบั แรงขับเคลือ่ นหลักจากทัง้ อุปสงคภายในประเทศและอุปสงคจากตางประเทศทีค่ าดวาจะยังคงขยายตัวได โดยการบริโภค ภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวรอยละ 4.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.9-4.9) ตามการจางงานที่คาดวาจะยังคงอยูในระดับ สูง ประกอบกับนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุนการใชจาย เชน มาตรการปรับเพิ่มรายไดแรงงานรายวันและเงินเดือน ขาราชการ ขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวรอยละ 10.9 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 9.9-11.9) โดยไดรบั ปจจัย สนับสนุนจากอุปสงคจากภายในประเทศและตางประเทศทีอ่ ยูใ นเกณฑดี ซึง่ คาดวาจะสงผลใหภาคธุรกิจมีความเชือ่ มัน่ มากขึน้

4

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


และสนับสนุนใหการลงทุนของเอกชนขยายตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่อง นอกจากนี้ แรงสนับสนุนจากเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโนมวาจะเริ่ม ฟนตัวขึ้นตามลําดับ โดยไดรับอานิสงสจากการฟนตัวของเศรษฐกิจญี่ปุนภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ คาดวาจะสงผลให การสงออกสินคาและบริการในป 2555 ยังคงขยายตัวไดตอเนื่อง อยางไรก็ตาม อุปสงคตา งประเทศยังคงไดรับความเสี่ยงจาก การเกิดภาวะเศรษฐกิจจากกลุมประเทศพัฒนาแลว ทําใหการสงออกสินคาและบริการในป 2555 คาดวาจะขยายตัวชะลอลง จากปกอ นมาอยูท รี่ อ ยละ 5.5 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.5-6.5) สวนปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัว รอยละ 10.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 9.3-11.3) สําหรับการใชจายภาครัฐในป 2555 คาดวาการบริโภคภาครัฐจะขยายตัว รอยละ 2.8 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.3-3.3) ตามการเบิกจายงบประมาณประจําปของรัฐบาลในป 2555 ที่คาดวา จะเปนไปอยางตอเนือ่ ง ขณะทีก่ ารลงทุนภาครัฐคาดวาจะขยายตัวเรงขึน้ มาอยูท รี่ อ ยละ 5.5 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.5-6.5) 2.2 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ในดานอัตราเงินเฟอทัว่ ไปในป 2555 คาดวาจะอยูท รี่ อ ยละ 3.3 ตอป (ชวงคาดการณ ที่รอยละ 2.8-3.8) ชะลอลงจากป 2554 อันเปนผลจากความเปราะบางของการฟนตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคูคาของไทย โดยเฉพาะเศรษฐกิจกลุมประเทศที่พัฒนาแลวที่คาดวาจะสงผลใหอุปสงคนํ้ามันในตลาดโลกชะลอลง ประกอบกับแนวโนม การชะลอตัวของราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลก ทั้งนี้ การประมาณการเศรษฐกิจไดคํานึงถึงความเปนไปไดที่ภาครัฐ จะพิจารณาตออายุมาตรการชวยเหลือคาครองชีพบางสวนออกไปอีกหลังครบกําหนด ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2554 สวน อัตราการวางงานคาดวาจะยังคงอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.7 ของกําลังแรงงานรวม (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 0.6-0.8 ของกําลังแรงงานรวม) ในดานเสถียรภาพภายนอกประเทศคาดวาดุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลลดลงเล็กนอยมาอยูท ี่ 9.0 พันลาน เหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 2.2 ของ GDP (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 1.7-2.7 ของ GDP) เนื่องจากดุลการคาที่คาดวา จะเกินดุลลดลงมาอยูที่ 6.0 พันลานเหรียญสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 5.0-7.0 พันลานเหรียญสหรัฐ) ตามมูลคาสินคา นําเขาที่คาดวาจะขยายตัวในอัตราเรงกวามูลคาสินคาสงออก โดยคาดวามูลคานําเขาสินคาในป 2554 จะขยายตัวรอยละ 15.8 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 14.8-16.7) ขณะที่มูลคาสงออกสินคาคาดวาจะขยายตัวรอยละ 13.7 (โดยมีชวงคาดการณ ที่รอยละ 12.7-14.7) รายละเอียดสรุปผลการประมาณการเศรษฐกิจ ดังนี้

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

5


ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554)

2553

2554 f (ณ กันยายน 2554) เฉลี่ย ชวง

2555 f (ณ กันยายน 2554) เฉลี่ย ชวง

สมมติฐานหลัก สมมติฐานภายนอก 1) อัตราการขยายตัวเฉลี่ย 14 ประเทศคูคาหลัก (รอยละตอป) 4.8 2) ราคานํ้ามันดิบดูไบ (ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) 78.2 3) ราคาสินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 9.1 4) ราคาสินคานําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 8.1 สมมติฐานดานนโยบาย 5) อัตราแลกเปลี่ยน (บาทตอดอลลารสหรัฐ) 31.7 6) อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย ณ สิ้นป (รอยละตอป) 2.00 7) รายจายภาคสาธารณะตามปงบประมาณ (ลานลานบาท) 2.52 ผลการประมาณการ 7.8 1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละตอป) 2) อัตราการขยายตัวของการบริโภครวม (รอยละตอป) 5.1 - การบริโภคภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) 4.8 - การบริโภคภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) 6.4 3) อัตราการขยายตัวของการลงทุนรวม (รอยละตอป) 9.4 - การลงทุนภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) 13.8 - การลงทุนภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) -2.2 4) อัตราการขยายตัวปริมาณสงออกสินคาและบริการ (รอยละตอป) 14.7 5) อัตราการขยายตัวปริมาณนําเขาสินคาและบริการ (รอยละตอป) 21.5 6) ดุลการคา (พันลานดอลลารสหรัฐ) 14.0 - สินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 28.5 - สินคานําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 36.8 7) ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันลานดอลลารสหรัฐ) 14.8 - รอยละของ GDP 4.6 8) อัตราเงินเฟอทั่วไป (รอยละตอป) 3.3 อัตราเงินเฟอพื้นฐาน (รอยละตอป) 0.9 9) อัตราการวางงาน (รอยละของกําลังแรงงานรวม) 1.0 f = ประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

6

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

3.2 3.0-3.5 3.5 3.0-4.0 101.0 96.0-106.0 115.0 110.0-120.0 7.0 6.5-7.5 7.5 6.5-8.5 10.0 9.5-10.5 4.5 3.5-5.5 30.5 3.50 2.81

30.3-30.8 3.25-3.75 2.80-2.82

30.0 3.75 2.95

29.0-31.0 3.25-4.00 2.93-2.96

4.0 3.8-4.3 3.7 3.2-4.2 3.9 3.4-4.4 2.7 2.2-3.2 7.4 6.9-7.9 11.3 10.8-11.8 -1.4 -1.9 ถึง -0.9 13.2 12.7-13.7 15.0 14.5-15.5 9.5 8.5-10.5 22.3 21.8-22.8 26.6 26.1-27.1 13.5 12.1-13.9 3.7 3.5-4.0 3.8 3.6-4.1 2.5 2.3-2.8 0.7 0.6-0.8

4.5 4.2 4.4 2.8 8.3 10.9 5.5 5.5 10.3 6.0 13.7 15.8 9.0 2.2 3.3 2.3 0.7

4.0-5.0 3.7-4.7 3.9-4.9 2.3-3.3 7.8-8.8 9.9-11.9 4.5-6.5 4.5-6.5 9.3-11.3 5.0-7.0 12.7-14.7 14.8-16.8 6.9-10.9 1.7-2.7 2.8-3.8 1.8-2.8 0.6-0.8


Executive Summary

Thailand’s Economic Projection for 2011 and 2012 (As of September 2011) Thailand’s Economic Outlook Projection 2011

The Thai economy in 2011 is expected to expand moderately due to global economic concerns, and is expected to grow steadily in 2012 The Fiscal Policy Office (FPO), Ministry of Finance, announced that Thai economy in 2011 will grow at an annualized rate of 4.0 percent (or within a range of 3.8-4.3 percent). The rate of growth is lower than previous year due to a slowdown in domestic demand, in particular in private consumption, as a result of flooding situation in the northern, central and northeastern provinces of Thailand as well as inflationary concern. Meanwhile, the export volume in 2011 is expected to expand at a high rate driven by higher than expected growth in the first half of 2011. However, the US economic slowdown and the European sovereign debt crisis continue to pose downside risks that may adversely affect the exports of goods and services. Private investment is expected to grow steadily and support higher domestic demand for the remainder of the year buoyed by the recovery from Japan’s tsunami disaster in Q2/2011. For internal stability, headline inflation in 2011 is likely to rise to 3.8 percent (or within a range of 3.6-4.1 percent) due to higher costs of production especially from raw food costs which have been pressured by poor weather conditions and the increase in energy prices. Looking forward, the Thai economy in 2012 is forecasted to continue its steady growth at an annualized rate of 4.5 percent (or within a range of 4.0-5.0 percent). Domestic and external demand will both continue to drive economic growth. High employment coupled with government policies to stimulate domestic spending such as a higher minimum wage policy and a higher salary’s threshold for newly recruited government officials will contribute to next year consumption. With regard to internal stability, inflation in 2012 is forecasted to rise at 3.3 percent (or within a range of 2.8-3.8 percent) which is lower than this year as crude oil price is forecasted to be more stable due to moderate global oil demand growth.

1. Thailand’s Economic Projections for 2011 1.1 Economic Growth The Thai economy in 2011 will grow at an annualized rate of 4.0 percent (or within a range of 3.8-4.3 percent), lower than previous year due to a slowdown in domestic demand. Private consumption is projected to continually expand at 3.9 percent (or within a range of 3.8-4.8 percent), lower than last year’s level. This is mainly due to the flooding situation in the northern, central and northeastern provinces of Thailand, as well as inflationary concern. Nevertheless, the unemployment rate and income level remain strong owing to an increase in farm income due to a

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

7


gradual rise in the prices of major commodity products and stronger tourism income which are projected to support private consumption growth. Meanwhile, the export volume in 2011 is estimated to expand at 13.2 percent (or within a range of 12.7-13.7 percent) driven by an increase in the exports of goods and services in the first half of 2011. Uncertainty of the continued US recovery along with European sovereign debt crisis to pose downside risks that may lower exports of goods and services in 2011. At the same time, imports of goods and services in real terms are set to grow at roughly 15.0 percent (or within a range of 14.5-15.5 percent) lower than previous year. Private investment is likely to grow robustly at 11.3 percent (or within a range of 10.8-11.8 percent) as it grew at the increasing rate of 10.5 percent in the first half of 2011. Business sentiment remains strong and entrepreneurs are expected to expand their investments in response to the higher domestic demand. Public consumption is forecasted to increase by 2.7 percent (or within a range of 2.2-3.2 percent ) slower than last year’s rate owing to the delay in the budget disbursement plan in fiscal year 2012 which will impact fiscal outlays in the fourth quarter. Meanwhile, public investment is projected to contract at -1.4 percent (or within a range of -1.9 to -0.9 percent) because of the slowdown in budgetary capital expenditure disbursement in the second quarter of 2011, in particular lower local government spending in the first half of the year negative at -5.9 percent year on year. 1.2 Economic Stability For internal stability, headline inflation in 2011 is likely to rise to 3.8 percent (or within a range of 3.6-4.1 percent) as a result of higher costs of production, especially from raw food costs associated with adverse climate conditions and increase in energy prices. Unemployment is expected to hold its current low level of 0.7 percent of the total labor force (or within a range of 0.6-0.8 percent). For external stability, the current account is projected to record a smaller surplus of USD 13.5 billion, accounting for 3.7 percent of GDP (or within a range of 3.5-4.0 percent of GDP) as the estimated trade balance surplus declines to USD 9.5 billion (or within a range of USD 8.5-10.5 billion). This is partially explained by accelerated import growth of 26.6 percent (or within a range of 26.1-27.1 percent) due to an increase in import prices in world markets. However, the total export value is likely to grow by 22.3 percent (or within a range of 21.8-22.8 percent).

2. Thailand’s Economic Projections for 2012 2.1 Economic Growth The Thai economy in 2012 is forecasted to continue its steady growth at an annualized rate of 4.5 percent (or within a range of 4.0-5.0 percent) driven by both domestic and external demand. Private consumption is projected to grow at 4.4 percent (or within a range of 3.9-4.9 percent). High employment coupled with government policies to stimulate domestic spending, such as a higher minimum wage policy and a higher salary’s threshold for newly recruited government officials will contribute for next year consumption. On the other hand, private investment is estimated to grow at 10.9 percent (or within a range of 9.9-11.9 percent per year) supported by domestic spending and external demand as a result of an increase in private confidence. As the global recovery continues following Japan’s tsunami disaster, export volume is expected to continually expand at 5.5 percent (or within the range of 4.56.5 percent) though the magnitude is expected to be lower than previous year, with downside risks from developed economies. At the same time, import volume is set to grow at 10.3 percent (or within the range of 9.3-11.3 percent). With respect to public spending, public consumption is likely to grow at 2.8 percent (or within a range of 2.3-3.3

8

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


percent) with the continuation of the budgetary disbursement plan in 2012, while acceleration of public investment is projected to grow at 5.5 percent (or within a range of 4.5-6.5 percent). 2.2 Economic Stability For internal stability, inflation in 2012 is forecasted to rise at 3.3 percent (or within a range of 2.8-3.8 percent) as crude oil price is forecasted to be more stable due to moderate global growth of oil demand. The economic projection has taken into consideration the possibility that the government may extend some living-cost subsidization policies due to end in December 2011. Unemployment is expected to hold its current low level of 0.7 percent of the total labor force (or within a range of 0.6-0.8 percent). For external stability, the current account in 2012 is projected to record a smaller surplus of USD 9.0 billion accounting for 2.2 percent of GDP (or within a range of 1.7-2.7 percent of GDP) as the estimated trade balance surplus drops to USD 6.0 billion (or within a range of USD 5.0-7.0 billion) partially explained by accelerated import growth which is expected to increase to 15.8 percent per year (or within a range of 14.8-16.7 percent). However, export value is likely to grow at 13.7 percent (or within a range of 12.7-14.7 percent ). Summary table is attached herewith.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

9


Major Assumptions and Economic Projections of 2011 and 2012 (As of September 2011) 2011 f 2012 f 2010 (As of Sep 2011) (As of Sep 2011) Average Range Average Range Major Assumptions Exogenous Variables 1) Average Economic Growth Rate of Major Trading Partners (% y-o-y) 2) Dubai Crude Oil Price (USD per Barrel) 3) Export price in USD Dollars (% y-o-y) 4) Import price in USD Dollars (% y-o-y) Policy Variables 5) Exchange Rate (Baht per USD Dollars) 6) Repurchase Rate (Policy Rate) at year-end (% y-o-y) 7) Fiscal-Year Pubic Expenditure (Trillion Baht) Projections 1) Economic Growth Rate (% y-o-y) 2) Real Consumption Growth (% y-o-y) - Real Private Consumption - Real Public Consumption 3) Real Investment Growth (% y-o-y) - Real Private Investment - Real Public Investment 4) Export Volume of Goods and Services (% y-o-y) 5) Import Volume of Goods and Services (% y-o-y) 6) Trade Balance (USD billion) - Export Value of Goods in USD Dollars (% y-o-y) - Import Value of Goods in USD Dollars (% y-o-y) 7) Current Account (USD billion) - Percentage of GDP 8) Headline Inflation (% y-o-y) Core Inflation (% y-o-y) 9) Unemployment rate (% of total labor force) f = forecast by Fiscal Policy Office, Ministry of Finance, Thailand

10

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

4.8

3.2

3.0-3.5

3.5

3.0-4.0

78.2 9.1 8.1

101.0 96.0-106.0 115.0 110.0-120.0 7.0 6.5-7.5 7.5 6.5-8.5 10.0 9.5-10.5 4.5 3.5-5.5

31.7 2.00 2.52

30.5 3.50 2.81

30.3-30.8 3.25-3.75 2.80-2.82

30.0 3.75 2.95

29.0-31.0 3.25-4.00 2.93-2.96

7.8 5.1 4.8 6.4 9.4 13.8 -2.2 14.7 21.5 14.0 28.5 36.8 14.8 4.6 3.3 0.9 1.0

4.0 3.8-4.3 3.7 3.2-4.2 3.9 3.4-4.4 2.7 2.2-3.2 7.4 6.9-7.9 11.3 10.8-11.8 -1.4 -1.9 ถึง -0.9 13.2 12.7-13.7 15.0 14.5-15.5 9.5 8.5-10.5 22.3 21.8-22.8 26.6 26.1-27.1 13.5 12.1-13.9 3.7 3.5-4.0 3.8 3.6-4.1 2.5 2.3-2.8 0.7 0.6-0.8

4.5 4.2 4.4 2.8 8.3 10.9 5.5 5.5 10.3 6.0 13.7 15.8 9.0 2.2 3.3 2.3 0.7

4.0-5.0 3.7-4.7 3.9-4.9 2.3-3.3 7.8-8.8 9.9-11.9 4.5-6.5 4.5-6.5 9.3-11.3 5.0-7.0 12.7-14.7 14.8-16.8 6.9-10.9 1.7-2.7 2.8-3.8 1.8-2.8 0.6-0.8


ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554) สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวทีร่ อ ยละ 4.0 โดยมีชว งคาดการณ ที่รอยละ 3.8-4.3 ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 7.8 ในขณะที่อัตราการขยายตัวในป 2555 จะอยูที่ รอยละ 4.5 (ชวงคาดการณที่รอยละ 4.0-5.0) โดยมีการปรับปรุงขอมูลและสมมติฐานที่สําคัญ ดังนี้ ปรับปรุงฐานขอมูลอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 ป 2554 ที่รอยละ 3.2 และรอยละ 2.6 ตามลําดับ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) แถลงเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2554 ❍

เครือ่ งชีภ้ าวะเศรษฐกิจมหภาคในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 บงชีว้ า ภาคบริการขยายตัวไดดตี อ เนือ่ งและ มีบทบาทสําคัญในการชวยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในชวงที่ผานมา สะทอนจากจํานวนนักทองเที่ยวที่ขยายตัว ระดับสูงถึงรอยละ 27.6 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น สําหรับดานการผลิต ภาคการเกษตรยังขยายตัวอยูใ นเกณฑดตี าม ราคาสินคาเกษตรในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก ประกอบกับสภาวะภูมิอากาศที่เอื้ออํานวยตอการเพาะปลูก อยางไรก็ตาม ภาคอุตสาหกรรมมีการชะลอตัวลงอยางเห็นไดชัด โดยเปนการลดลงของอุตสาหกรรมสําคัญ คือ อุตสาหกรรมยานยนตและ เครือ่ งอิเล็กทรอนิกส เนือ่ งจากผลกระทบจากเหตุการณภยั พิบตั สิ นึ ามิทญ ี่ ปี่ นุ ทีม่ ผี ลกระทบตอความตึงตัวหวงโซอปุ ทาน อีกทัง้ โรงกลัน่ ปโตรเลียมทีล่ ดลงเนือ่ งจากการปดซอมบํารุง ประกอบกับอุตสาหกรรมสิง่ ทอมีแนวโนมชะลอลง เนือ่ งจากตนทุนการผลิตทีป่ รับตัว สูงขึน้ ในดานการใชจา ยพบวา เครือ่ งชีก้ ารบริโภคและลงทุนสงสัญญาณขยายตัวอยางตอเนือ่ งจากปกอ นหนา สําหรับการสงออก สินคาและบริการยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง เปนผลมาจากการฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาสําคัญ โดยเฉพาะใน ภูมิภาคเอเชีย ไดแก จีน อินเดีย เปนสําคัญ ตามการนําเขาสินคาและบริการยังคงขยายตัวอยางตอเนื่องเชนเดียวกัน จาก การเพิ่มขึ้นของการนําเขาในหมวดเชื้อเพลิงและวัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรูป ทั้งนี้การขยายตัวของการสงออกที่สูงกวาเมื่อเทียบกับ การขยายตัวของการนําเขา สงผลใหดุลการคาในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 เกินดุลเล็กนอยที่ระดับ 5.0 พันลานดอลลารสหรัฐ ❍

การเปลีย่ นแปลงสมมติฐานทีส่ าํ คัญ ไดแก (1) อัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคูค า สําคัญ ซึง่ ถึงแมวา อัตรา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของหลายประเทศไดผานภาวะวิกฤตมาแลวและมีสัญญาณฟนตัว แตในอีกหลายประเทศยังคง มีสัญญาณการฟนตัวที่เปราะบางและไมแนนอน สศค.จึงไดปรับประมาณอัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคูคาในป 2554 และป 2555 ลดลงเล็กนอยมาอยูที่รอยละ 3.2 และรอยละ 3.5 ตามลําดับ (2) กําหนดสมมติฐานราคานํ้ามันดิบดูไบในป 2554 และป 2555 ใหอยูท ี่ 101.0 และ 115.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ตามลําดับ ตามสถานการณราคานํา้ มันดิบในตลาดโลกทีป่ รับตัว อยูในระดับสูง จากความกังวลของความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกฝงตะวันตกที่อาจเขาสูภาวะถดถอยอีกครั้ง ทําใหนักลงทุน มีการเคลื่อนยายเงินมาเก็งกําไรในตลาดโภคภัณฑเพิ่มขึ้น (3) ปรับสมมติฐานราคาสงออกในป 2554 และป 2555 ใหขยายตัวที่ รอยละ 7.0 และรอยละ 7.5 ตามลําดับ และการนําเขาในป 2554 และป 2555 ใหอยูที่รอยละ 10.0 และรอยละ 4.5 ตามลําดับ (4) ปรับสมมติฐานอัตราแลกเปลีย่ นบาทตอดอลลารสหรัฐในป 2554 และป 2555 ใหอยูท ี่ 30.5 และ 30.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ ตามลําดับ ตามดุลการคาที่เกินดุลเล็กนอย และตามความผันผวนของการเคลื่อนยายเงินทุนเขาออกตลาดตราสารหนี้และ ตราสารทุน (5) กําหนดสมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบายในป 2554 ใหอยูที่รอยละ 3.5 ตอป (ชวงคาดการณ 3.25–3.75) และ ในป 2555 คาดวาจะขยายตัวในชวงรอยละ 3.25–4.00 และ (6) รายจายภาคสาธารณะในปงบประมาณ 2554 (ตั้งแตตุลาคม 2553–กันยายน 2554) อยูที่ 2.81 ลานลานบาท และในปงบประมาณ 2555 อยูในชวง 2.92-2.95 ลานลานบาท ❍

โดยมีรายละเอียดสมมติฐานและผลการประมาณการ ดังนี้ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

11


สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทย ป 2554 และป 2555 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ 14 ประเทศคูคาหลักของไทย “สศค.คาดวาในป 2554 เศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวรอยละ 3.2 ชะลอลงจากป 2553 ที่ ขยายตัวทีร่ อ ยละ 4.8 เนือ่ งจากการฟน ตัวของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาทีย่ งั คงเปนไปอยางเปราะบาง ประกอบกับเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชียโดยเฉพาะจีนทีค่ าดวาจะขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลง และญีป่ นุ ทีค่ าดวาจะหดตัว ในป 2555 สศค.คาดวาเศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวรอยละ 3.5 ตามการฟนตัวของ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา และแนวโนมขยายตัวในระดับสูงตอเนื่องของเศรษฐกิจจีนและอินเดีย ประกอบกับฐาน การคํานวณที่ตํ่าในปกอนหนา”

ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยของเศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศ (รอยละ) ประเทศคูคาหลัก เรียงตามสัดสวน การสงออกป 2553 14 ประเทศ (78.7%) 1. จีน (11.0%) 2. ญี่ปุน (10.5%) 3. สหรัฐอเมริกา (10.3%) 4. สหภาพยุโรป (9.8%) 5. ฮองกง (6.7%) 6. สิงคโปร (5.4%) 7. ออสเตรเลีย (5.4%) 8. มาเลเซีย (4.6%) 9. อินโดนีเซีย (3.8%) 10. เวียดนาม (3.0%) 11. ฟลิปปนส (2.5%) 12. อินเดีย (2.2%) 13. เกาหลีใต (1.8%) 14. ไตหวัน (1.7%)

2552

2553

-0.2 9.2 -6.3 -2.4 -4.1 -2.7 -0.8 1.3 -1.7 4.5 5.3 1.1 7.0 0.2 -1.9

4.8 10.4 4.0 3.0 1.7 6.8 14.5 2.6 7.2 6.1 6.8 7.6 8.8 6.2 10.8

2553

2554

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

5.4 11.9 5.6 2.2 0.8 8.1 16.4 2.2 10.1 5.6 5.9 8.4 9.4 8.5 13.6

5.3 10.3 3.1 3.3 2.0 6.4 19.4 3.4 8.9 6.1 6.3 8.9 8.9 7.5 12.9

4.6 9.6 5.0 3.5 2.0 6.7 10.5 2.5 5.3 5.8 7.4 7.3 8.9 4.4 10.7

4.2 9.8 2.2 3.1 2.0 6.2 12.0 2.3 4.8 6.9 7.2 6.1 8.2 4.7 6.9

3.6 9.7 -1.0 2.2 2.5 7.5 9.3 1.0 4.7 6.5 5.4 4.6 7.8 4.2 6.2

2.7 9.5 -1.1 1.6 1.6 5.1 1.0 1.4 4.0 6.5 5.7 3.4 7.7 3.4 5.0

ทั้งป 2554 f

ทั้งป 2555 f

3.2 9.2 -0.6 1.7 1.7 5.5 5.0 2.8 5.0 6.3 5.0 4.8 8.5 3.9 6.1

3.5 8.8 2.5 2.0 1.5 4.7 4.7 3.5 5.5 6.4 6.6 5.2 8.1 4.0 4.3

ที่มา : รวบรวมและประมาณการโดย สศค.

1.1 เศรษฐกิจจีน (ตลาดสงออกใหญอันดับ 1 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 11.0 ของมูลคาการสงออก สินคารวมในป 2553) ➥ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 เศรษฐกิจจีนขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 9.5 จากชวงเดียวกันของปกอน ชะลอลงเล็กนอยจากไตรมาสแรกที่ขยายตัวที่รอยละ 9.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ประเทศคูค า โดยเฉพาะสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาซึง่ เปนคูค า อันดับ 1 และอันดับ 2 ของจีน สะทอนไดจากมูลคาการสงออก (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ซึง่ ขยายตัว ทีร่ อ ยละ 22.0 จากชวงเดียวกันของปกอ น ชะลอลงจากไตรมาสแรกของ ปที่ขยายตัวรอยละ 26.4 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา เงินเฟอทั่วไปไตรมาสที่ 2 ป 2554 เฉลี่ยที่รอยละ 5.7 จากชวงเดียวกัน ของปกอน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกของปเฉลี่ยที่รอยละ 5.1 จากราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นเปนสําคัญ

12

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 1 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน (รอยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥ ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554) เศรษฐกิจจีนมีสญ ั ญาณ

ชะลอลงเล็กนอยโดยเฉพาะอุปสงคภายในประเทศ โดยยอดคาปลีกสินคาบริโภคของจีนในเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ขยายตัวที่รอยละ 17.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ลดลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัวรอยละ 18.2 สําหรับผลผลิต ภาคอุตสาหกรรมในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2554 ขยายตัวเฉลี่ยที่รอยละ 13.8 ใกลเคียงกับไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัว เฉลี่ยรอยละ 13.9 ดานอุปสงคภายนอกประเทศพบวายังคงขยายตัวในระดับสูง โดยมูลคาการสงออก (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ขยายตัวใกลเคียงกับไตรมาสที่ 2 ของปที่รอยละ 22.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา ในเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 เงินเฟอทัว่ ไปอยูท รี่ ะดับเฉลีย่ รอยละ 6.4 เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสที่ 2 ของปทรี่ ะดับเฉลีย่ ทีร่ อ ยละ 5.7 ตอกยํ้าความกังวลตอความเสี่ยงดานเงินเฟอของเศรษฐกิจจีนที่มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จากราคาอาหารและ พลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นเปนสําคัญ ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวรอยละ 9.2 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 8.7–9.7 ชะลอ ลงจากปกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 10.4 จากสัญญาณชะลอตัวลงของอุปสงคภายในประเทศที่สะทอนจากยอดคาปลีก ที่ชะลอลง ประกอบกับภาคการสงออกที่คาดวาจะขยายตัวชะลอลงในชวงที่เหลือของปตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศ คูคาสําคัญ โดยเฉพาะสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา และดัชนีผูจัดการฝายซื้อภาคอุตสาหกรรม (NBS Manufacturing Purchasing Manager Index) ในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 ซึ่งอยูที่ระดับเฉลี่ยที่ 51.9 ลดลงจากคาเฉลี่ยในป 2553 ที่ 53.8 บงชี้สัญญาณชะลอตัวในภาคการผลิตของจีน ประกอบกับมาตรการเพื่อควบคุมปริมาณสินเชื่อและเงินเฟอในประเทศจีน ซึ่งทําใหคาดวาเศรษฐกิจในประเทศจีนจะชะลอลงในป 2554 ➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวที่รอยละ 8.8 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 8.3–9.3 ชะลอ ลงจากปกอนหนาที่คาดวาจะขยายตัวที่รอยละ 9.2 โดยคาดวาในป 2555 เศรษฐกิจจีนจะยังคงเผชิญกับปจจัยเสี่ยงจาก (1) ภาวะเงินเฟอในระดับสูง ซึง่ จะสงผลใหภาครัฐดําเนินมาตรการดานการเงินแบบตึงตัวตอเนือ่ งเพือ่ ควบคุมระดับเงินเฟอภายใน ประเทศ และ (2) การชะลอตัวของเศรษฐกิจของประเทศคูคาหลักของจีนโดยเฉพาะสหภาพยุโรป ซึ่งจะสงผลกระทบตอ ภาคการสงออกของจีนไปยังประเทศดังกลาว

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

13


1.2 เศรษฐกิจญีป่ นุ (ตลาดสงออกใหญอนั ดับ 2 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.5 ของมูลคาการสงออก สินคารวมในป 2553) ➥ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 เศรษฐกิจญีป ่ นุ หดตัวทีร่ อ ยละ -1.1 จากชวงเดียวกันของปกอ น จากการหดตัว ของการสงออกและการบริโภคภาคเอกชนเปนสําคัญ และเมื่อปรับผลทางฤดูกาลหดตัวรอยละ -0.5 จากไตรมาส กอนหนา (%qoq_sa) ซึ่งนับเปนการหดตัวตอเนื่องเปนไตรมาสที่ 3 โดยเปนผลตอเนื่องจากการชะงักงันของหวงโซอุปทาน ในภาคอุตสาหกรรมภายหลังจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ พบวา อัตราการวางงานในไตรมาสที่ 2 ของปอยูที่ระดับเฉลี่ยที่รอยละ 4.6 ของกําลังแรงงานรวม ใกลเคียงกับคาเฉลี่ย ในไตรมาสแรกของปที่รอยละ 4.7 ของกําลังแรงงานรวม ขณะที่อัตราเงินเฟอทั่วไปในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 อยูที่รอยละ 0.3 จากชวงเดียวกันของปกอน เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสแรกของปที่รอยละ 0.0 สงผลใหธนาคารกลางญี่ปุนยังคงอัตราดอกเบี้ย นโยบาย (Overnight Call) ในระดับตํ่าที่รอยละ 0-0.1 เพื่อสนับสนุนการลงทุนและการจางงานภายในประเทศ ภาพที่ 2 แหลงที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥ ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554) เศรษฐกิจญี่ปุนมี

สัญญาณการฟนตัวที่ชัดเจนจากเหตุการณสึนามิ โดยยอดคาปลีกในเดือนกรกฎาคม 2554 ขยายตัวรอยละ 0.6 จากชวง เดียวกันของปกอน ดีขึ้นจากไตรมาสที่ 2 ของปที่หดตัวที่รอยละ -1.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ดานอุปสงคภายนอกประเทศ พบวาดีขนึ้ เชนกัน โดยมูลคาการสงออกในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 หดตัวทีร่ อ ยละ -0.5 จากชวงเดียวกันของปกอ น ดีขึ้นจากไตรมาสที่ 2 ของปที่หดตัวที่รอยละ -8.0 จากชวงเดียวกันของปกอน บงชี้การคลี่คลายของปญหาการชะงักงันใน ภาคการผลิตและสงออกจากเหตุการณสึนามิ ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจญีป ่ นุ จะหดตัวทีร่ อ ยละ -0.6 หรือในชวงคาดการณรอ ยละ -1.1–0.1 ตอป ลดลงจากปกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 4.0 โดยในครึ่งหลังของปคาดวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะฟนตัวไดตอเนื่อง โดยมีปจจัย สนับสนุนจาก (1) การบริโภคภาคเอกชนที่มีสัญญาณที่ดีขึ้น ดังเห็นไดจากดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคในชวงเดือนกรกฎาคม– สิงหาคม 2554 ซึ่งเปนหนึ่งในเครื่องชี้การบริโภคภาคเอกชนที่มีสัดสวนรอยละ 60 ใน GDP ที่อยูในระดับเฉลี่ยที่ 37.6 เพิ่มขึ้น จากคาเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของปทรี่ ะดับ 34.8 (2) ภาคการผลิตทีก่ ลับมาขยายตัว โดยคําสัง่ ซือ้ ผูจ ดั การฝายซือ้ ภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing Purchasing Manager Index) ในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ซึ่งอยูในระดับเฉลี่ยที่ 51.1 เพิ่มขึ้นจาก คาเฉลี่ยในไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับ 49.2 และ (3) มาตรการดานการคลังและการเงินของรัฐบาลเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจภายใน ประเทศในครึ่งปหลังเปนตนไป ผานการอัดฉีดสภาพคลองของธนาคารกลางญี่ปุนในวงเงินรวมกวา 25 ลานลานเยน (รอยละ 4.6 ของ GDP) และการใชจา ยงบประมาณรายจายที่ประมาณ 16 ลานลานเยน (รอยละ 3 ของ GDP)

14

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะขยายตัวที่รอยละ 2.5 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 2.0–3.0

ฟนตัวจากปกอนหนาที่คาดวาจะหดตัวที่รอยละ -0.6 สวนหนึ่งจากฐานการคํานวณที่ตํ่าในปกอนหนา ประกอบกับคาดวา มาตรการฟน ฟูเศรษฐกิจของภาครัฐจะสงผลใหเกิดการลงทุนเพิม่ ขึน้ ทัง้ การลงทุนโดยภาครัฐบาลและภาคเอกชน อยางไรก็ตาม ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะยังคงเผชิญกับปจจัยเสี่ยงจาก (1) สถานการณคาเงินเยนที่จะมีแนวโนมแข็งคา จากการที่ นักลงทุนหันมาถือครองเงินเยนซึ่งเปนสกุลเงินที่มีความปลอดภัย (Safe Haven) เพิ่มขึ้น อันจะสงผลตอรายไดของผูสงออก และ (2) การชะลอตัวของเศรษฐกิจของประเทศคูคาหลักของญี่ปุนโดยเฉพาะสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา 1.3 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (ตลาดสงออกใหญอันดับ 3 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.3 ของมูลคา สงออกสินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวที่รอยละ 1.5 จากชวงเดียวกันของปกอน จากการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนเปนสําคัญ และเมื่อปรับผลทางฤดูกาลแลวขยายตัวรอยละ 0.3 จากไตรมาส กอนหนา (%qoq_sa) ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 อัตราการวางงานของสหรัฐอเมริกายังคงอยู ในระดับสูงที่รอยละ 9.1 ของกําลังแรงงานรวม ซึ่งสูงกวาระดับกอนวิกฤตเศรษฐกิจที่ประมาณรอยละ 5.0 ขณะที่เงินเฟอทั่วไป อยูที่รอยละ 3.4 จากชวงเดียวกันของปกอน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกของปที่รอยละ 2.1 จากชวงเดียวกันของปกอน ภาพที่ 3 แหลงทีม่ าและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥ ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554) อุปสงคในประเทศ

ของสหรัฐอเมริกาทรงตัวจากไตรมาสที่ 2 ของป โดยยอดคาปลีกของสหรัฐอเมริกาในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ขยายตัวทีร่ อ ยละ 7.7 จากชวงเดียวกันของปกอ น ใกลเคียงกับไตรมาสที่ 2 ของปทขี่ ยายตัวทีร่ อ ยละ 7.8 จากชวงเดียวกันของปกอ น สําหรับยอดจําหนายรถยนตในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 มีคาเฉลี่ยที่ 9.6 ลานคันตอป ดีขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสที่ 2 ที่ระดับ 9.4 ลานคันตอป นอกจากนี้ ภาคอสังหาริมทรัพยซึ่งไดรับผลกระทบจากวิกฤตการเงินและเศรษฐกิจโลกมากที่สุดยังคง ไมมีสัญญาณการฟนตัวที่ชัดเจน โดยยอดจําหนายบาน (Existing Home Sales) ในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 อยูที่ ระดับเฉลี่ยที่ 4.85 ลานหลังตอป ลดลงเล็กนอยจากคาเฉลี่ยในไตรมาสที่ 2 ของปที่ 4.88 ลานหลังตอป ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 1.3–2.0 ชะลอลงจากปกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 3.0 โดยคาดวาในชวงครึ่งหลังของป 2554 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะ ชะลอตัวลงเมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งแรกของป จากอุปสงคภายในประเทศที่คาดวาจะลดลงจากความกังวลของประชาชนตอ สถานการณทางเศรษฐกิจและการจางงาน ดังเห็นไดจากดัชนีความเชือ่ มัน่ ผูบ ริโภคในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ซึง่ เปน หนึง่ ในเครือ่ งชีก้ ารบริโภคภาคเอกชนทีม่ สี ดั สวนรอยละ 70 ใน GDP ทีอ่ ยูใ นระดับเฉลีย่ ที่ 51.9 ลดลงจากคาเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับ 61.8 ประกอบกับภาคการผลิตที่มีสัญญาณชะลอตัวในครึ่งหลังของปเชนเดียวกัน โดยดัชนีผูจัดการฝายซื้อ ภาคอุตสาหกรรม (ISM Manufacturing Purchasing Manager Index) ในไตรมาสที่ 3 ของปอยูท รี่ ะดับเฉลีย่ ที่ 51.0 ลดลงจากคา เฉลี่ยของไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับ 56.4 ประมาณการเศรษฐกิจไทย

15


➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวที่รอยละ 2.0 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ

1.5–2.5 เพิ่มขึ้นจากปกอนหนาที่คาดวาจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 โดยคาดวาในป 2555 เศรษฐกิจภายในของสหรัฐอเมริกา จะไดรับปจจัยสนับสนุนจากผลของมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาล ทั้ง (1) มาตรการดานการคลังที่ลาสุดประธานาธิบดี บารัก โอบามา ไดเสนอแผนกระตุน เศรษฐกิจผานการใชจา ยและลดภาษีวงเงิน 4.47 แสนลานดอลลารสหรัฐ โดย 0.62 แสนลาน ดอลลารสหรัฐจะใชเพือ่ ตออายุมาตรการจางงานและ 1.4 แสนลานดอลลารสหรัฐเปนโครงการลงทุน และ (2) มาตรการดานการเงิน ผานการคงอัตราดอกเบีย้ นโยบาย (Fed Fund Rate) ในระดับตํา่ ทีร่ อ ยละ 0.0–0.25 การกดดันอัตราดอกเบีย้ ระยะยาวใหลดลงดวย การที่ Federal Reserve เขาซื้อพันธบัตรอายุ 6 ถึง 30 ป วงเงิน 4 แสนลานดอลลารสหรัฐ และขายพันธบัตรอายุ 3 ปและตํ่า กวาในวงเงินที่เทากันภายในกลางป 2555 (Operation Twist) และการพยุงภาคอสังหาริมทรัพยผานการเขาถือหลักทรัพยที่มี อสังหาริมทรัพยคํ้าประกัน (Mortgage-back securities) เพิ่มเติม อยางไรก็ตาม ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะ ยังคงเผชิญกับความเสีย่ งจากวิกฤตหนีส้ าธารณะในยุโรป ซึง่ อาจสงผลกระทบตอเสถียรภาพของภาคการเงินในสหรัฐอเมริกาได 1.4 เศรษฐกิจสหภาพยุโรป 17 ประเทศ (ตลาดสงออกใหญอันดับ 4 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 9.8 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจยูโรโซนในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวที่รอยละ 1.6 จากชวงเดียวกันของปกอน จาก อุปสงคภายในประเทศและการสงออกเปนสําคัญ และเมื่อปรับผลทางฤดูกาลแลวขยายตัวรอยละ 0.2 จากไตรมาสกอนหนา (%qoq_sa) ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา อัตราการวางงานในไตรมาสที่ 2 ทรงตัวในระดับสูงทีร่ อ ยละ 10.0 ของกําลังแรงงาน รวม ดานเงินเฟอทั่วไปในไตรมาสที่ 2 ของปอยูที่รอ ยละ 2.7 จากชวงเดียวกันของปกอน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกที่รอยละ 2.5 จากการเพิ่มขึ้นของราคาเชื้อเพลิงเปนสําคัญ ภาพที่ 4 แหลงทีม่ าและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥ ในเดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม 2554) เศรษฐกิจยูโรโซนมีสัญญาณชะลอลง

โดยภาคการผลิตมีสัญญาณชะลอลงจากผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (ไมรวมภาคกอสราง) ในเดือนกรกฎาคม 2554 ขยายตัว รอยละ 3.5 จากชวงเดียวกันของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัวที่รอยละ 3.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ดาน การสงออกในเดือนกรกฎาคม 2554 ขยายตัวรอยละ 5.3 จากชวงเดียวกันของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัว รอยละ 12.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจของกลุมประเทศยูโรโซนจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 หรือในชวงคาดการณ ที่รอยละ 1.3–2.0 เทากับปกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 1.7 โดยคาดวาเศรษฐกิจยูโรโซนในครึ่งหลังของปจะขยายตัว ชะลอลงเมือ่ เปรียบเทียบกับครึง่ แรกของปทงั้ ในภาคการผลิตและการบริโภคภาคเอกชน โดยเห็นไดจาก (1) ดัชนีผจู ดั การฝายซือ้ ภาคการผลิตและดัชนีผจู ดั การฝายซือ้ ภาคบริการในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 อยูท รี่ ะดับเฉลีย่ ที่ 49.1 และระดับ 50.3 ตามลําดับ ลดลงจากคาเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของปทรี่ ะดับ 54.9 และระดับ 55.5 ตามลําดับ บงชีส้ ญ ั ญาณทีด่ ขี นึ้ ในภาคการผลิตและ ภาคบริการในชวงที่เหลือของป และ (2) ความเชื่อมั่นผูบริโภคในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ซึ่งอยูที่ระดับเฉลี่ยที่ -13.9 ลดลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับเฉลี่ยที่ -10.4

16

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจของกลุมประเทศยูโรโซนจะขยายตัวที่รอยละ 1.5 หรือในชวงคาดการณที่

รอยละ 1.0–2.0 ลดลงจากปกอนหนาที่คาดวาจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 โดยคาดวาในป 2555 เศรษฐกิจของกลุมประเทศ ยูโรโซนจะยังคงเผชิญกับความเสี่ยงจาก (1) การฟนตัวของเศรษฐกิจยูโรโซนโดยรวมจากวิกฤตหนี้สาธารณะในประเทศในกลุม PIIGS โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศโปรตุเกส กรีซ และอิตาลี ซึ่งทําใหรัฐบาลในประเทศที่ประสบปญหาจําตองตัดงบประมาณ รายจายลง เพือ่ ใหเปนไปตามเงือ่ นไขการรับความชวยเหลือจากสหภาพยุโรปและกองทุนการเงินระหวางประเทศ อันเปนขอจํากัดของ การใชนโยบายการคลังเพื่อกระตุนเศรษฐกิจในป 2555 (2) เสถียรภาพของเงินสกุลยูโรและของภาคการเงินโดยรวมจากวิกฤต หนี้สาธารณะ และ (3) การชะลอตัวของเศรษฐกิจของประเทศคูคาที่สําคัญโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา 1.5 เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สัดสวนการสงออกรอยละ 19.3 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟลป ิ ปนส) ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลง โดยการสงออกซึง่ เปนสัดสวนสําคัญของเศรษฐกิจกลุม ประเทศอาเซียนขยายตัวชะลอลง ขณะทีก่ ารบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวไดดตี อ เนือ่ ง ดานเสถียรภาพภายในประเทศพบวา ระดับเงินเฟอของประเทศ สมาชิกอาเซียน 5 ประเทศในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่องจากไตรมาสกอนหนา โดยเฉพาะประเทศเวียดนาม ซึง่ อัตราเงินเฟอเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 อยูใ นระดับสูงทีร่ อ ยละ 19.4 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สาเหตุจาก ราคาอาหารและพลั ง งานที่ ยั ง คงทรงตั ว อยู  ใ นระดั บ สู ง ขณะที่ อั ต ราว า งงานของกลุ  ม ประเทศอาเซี ย นปรั บ ตั ว ลดลง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะในสวนของการบริโภคและการลงทุน ตารางที่ 2 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหลงที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม (สัดสวนการสงออก ป 2553) (5.4%) (4.6%) (3.8%) (3.0%) อัตราการขยายตัวของ GDP Q2/2554 0.9 4.0 6.5 5.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (%yoy) การบริโภคภาคเอกชน 2.3 3.3 2.6 n/a การบริโภคภาครัฐ 0.4 0.5 0.3 n/a การลงทุนรวม 2.3 0.7 2.1 n/a การสงออกสุทธิ -1.5 1.3 2.1 n/a การเปลี่ยนแปลงของสินคาคงคลัง -2.6 -5.1 -0.6 n/a

ฟลิปปนส (2.5%) 3.4 3.6 0.5 -1.2 -2.2 2.7

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวของการสงออก (% yoy)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 6 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (% yoy)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥ เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 โดยรวมขยายตัวดีขึ้น

จากไตรมาสกอนหนา โดยภาคการสงออกซึ่งเปนสัดสวนสําคัญของเศรษฐกิจกลุมประเทศอาเซียนยังคงขยายตัวไดตอเนื่อง จากเศรษฐกิจประเทศคูคาหลักโดยเฉพาะจีนที่ยังคงขยายตัวไดดี ผนวกกับเศรษฐกิจญี่ปุนเริ่มฟนตัว (ภาพที่ 5) นอกจากนี้ ดานภาคการผลิตมีสญ ั ญาณเรงขึน้ โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของประเทศคูค า ในภูมภิ าคอาเซียนโดยรวมปรับตัวเพิม่ ขึน้ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

17


(ภาพที่ 6) จากการฟนตัวของการผลิตสินคาในหมวดยานยนตซึ่งหดตัวในไตรมาสกอนหนา จากการขาดแคลนชิ้นสวนการผลิต ยานยนตหลังภัยสึนามิในชวงเดือนมีนาคม 2554 ซึ่งปญหาดังกลาวไดคลี่คลายลงในชวงครึ่งหลังของป 2554 ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศจะขยายตัวชะลอลงจากป 2553 จากปจจัยฐานสูง และ ความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจคูคาหลัก โดยเฉพาะปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ผนวกกับ เศรษฐกิจจีนที่คาดวาอาจขยายตัวชะลอลงในชวงที่เหลือของป 2554 อยางไรก็ตาม อุปสงคในประเทศที่ยังคงขยายตัวไดดี ตอเนือ่ ง ประกอบกับแรงกดดันจากเงินเฟอทีม่ แี นวโนมปรับตัวลดลง นาจะเปนปจจัยสงเสริมใหเศรษฐกิจของกลุม ประเทศอาเซียน ดังกลาวขยายตัวไดในป 2554 ➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศจะขยายตัวไดดขี น ึ้ เมือ่ เทียบกับป 2554 จากภาคการสงออก ที่คาดวาจะปรับตัวดีขึ้น หลังการคลี่คลายลงของปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรป และการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ประกอบกับเศรษฐกิจญี่ปุนที่คาดวาจะฟนตัวอยางชัดเจนในป 2555 นอกจากนี้ คาดวาอุปสงคในประเทศทั้งจากภาคการลงทุน และการบริโภคของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 5 ประเทศ จะยังคงเปนเครื่องจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของอาเซียน ไดตอเนื่องในป 2555 1.6 เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลีย (สัดสวนการสงออกรอยละ 17.8 ของมูลคาสงออก สินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชีย (ฮองกง อินเดีย เกาหลีใต และไตหวัน) และออสเตรเลียใน ไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวชะลอลง จากปจจัยฐานสูงในปกอนหนา รวมถึงการชะลอลงของเศรษฐกิจโลกที่สงผลใหภาค การสงออกปรับตัวลดลง อยางไรก็ตาม อุปสงคในประเทศโดยเฉพาะในสวนของการบริโภคภาคเอกชนของประเทศดังกลาวยัง คงขยายตัวไดตอเนื่อง และเปนปจจัยสําคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ดานเสถียรภาพภายใน ประเทศพบวา ราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกทีส่ งู ขึน้ ตอเนือ่ งในชวงครึง่ แรกของป 2554 สงผลใหอตั ราเงินเฟอในกลุม ประเทศ ดังกลาวปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่อัตราการวางงานปรับตัวลดลงตามการขยายตัวของอุปสงคในประเทศ ตารางที่ 3 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหลงที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ ฮองกง ออสเตรเลีย อินเดีย (สัดสวนการสงออก ป 2553) (6.2%) (6.1%) (2.1%) อัตราการขยายตัวของ GDP Q2/2554 5.1 1.7 7.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (%yoy) การบริโภคภาคเอกชน 5.9 1.7 4.4 การบริโภคภาครัฐ 0.1 0.6 0.2 การลงทุนรวม 1.7 1.4 2.6 การสงออกสุทธิ -2.0 -0.8 -1.7 การเปลี่ยนแปลงของสินคาคงคลัง -0.7 -1.2 2.2

เกาหลีใต (1.8%)

ไตหวัน (1.5%)

3.4

5.0

1.5 0.3 -0.3 1.4 0.5

1.7 0.0 0.3 2.8 0.2

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 7 ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (% yoy)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

18

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

ภาพที่ 8 อัตราการขยายตัวของการสงออก (% yoy)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.


➥ เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554

ขยายตัวชะลอลง โดยเฉพาะในสวนของภาคการผลิตสะทอนไดจากผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาส ที่ 2 ที่ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงชัดเจน โดยมีสาเหตุหลักมาจากปจจัยฐานสูง ผนวกกับอุปสงคประเทศโดยเฉพาะในสวนของ การลงทุนภาคเอกชนทีเ่ ริม่ สงสัญญาณชะลอลงเล็กนอย (ภาพที่ 7) อยางไรก็ตาม ในภาพรวมอุปสงคจากนอกประเทศซึง่ สะทอน จากมูลคาการสงออกในเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ขยายตัวดีขนึ้ เมือ่ เทียบกับไตรมาสกอนหนา โดยเฉพาะการสงออกของ ประเทศอินเดียและเกาหลีใต ขณะทีก่ ารสงออกในประเทศไตหวันขยายตัวชะลอลงตามการชะลอลงของเศรษฐกิจจีน (ภาพที่ 8) ➥ ในป 2554 สศค.คาดวาการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียจะ ขยายตัวไดในอัตราที่ชะลอลง จากปจจัยฐานสูงในปกอนหนา ผนวกกับปจจัยเสี่ยงจากความเปราะบางของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะจากปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปและการฟนตัวอยางเปราะบางของสหรัฐอเมริกา อยางไรก็ตาม การขยายตัว ของอุปสงคในประเทศโดยเฉพาะในสวนของการบริโภคภาคเอกชน นาจะเปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของกลุม ประเทศดังกลาวในชวงที่เหลือของป 2554 ➥ ในป 2555 สศค.คาดวาการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูค  า อืน่ ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในภาพรวม จะขยายตัวตอเนื่องจากป 2554 สวนหนึ่งจากสถานการณเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปที่คาด วาจะคลี่คลายลง นอกจากนี้ คาดวาเศรษฐกิจจีนซึ่งเปนเครื่องยนตหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกจะสามารถขยายตัวไดดี ผนวกกับเศรษฐกิจญี่ปุนที่คาดวาจะฟนตัวอยางตอเนื่องในป 2555

2. ราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก “ในป 2554 คาดวาราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ 101.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณอยูที่ 96.0106.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เพิ่มขึ้นจากป 2553 ที่อยูที่ระดับ 78.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล โดยมีปจจัยหลัก มาจากอุปสงคที่กลับมาขยายตัวตอเนื่องจากป 2553 หลังจากหดตัวอยางตอเนื่องเปนเวลากวา 2 ป โดยเฉพาะ ความตองการของประเทศนอกกลุม OECD อาทิ จีน อินเดีย และประเทศในกลุม เอเชียเปนสําคัญ นอกจากนี้ ภัยพิบตั ทิ ี่ เกิดขึน้ ในญีป่ นุ ถือเปนอีกปจจัยหนึง่ ทีอ่ าจสงผลใหความตองการนํา้ มันมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ เพือ่ ทดแทนการผลิตกระแส ไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรภายในประเทศ อยางไรก็ตาม จากความกังวลดานปญหาหนี้สาธารณะของยุโรป รวมถึง ปญหาความเปราะบางของการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา คาดวาจะสงผลลบตอราคานํ้ามันดิบดูไบในตลาด โลกได ขณะที่อุปทานการผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นบางประเทศในกลุม OPEC โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย อิรัก และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส สําหรับการผลิตของกลุม ประเทศนอกกลุม OPEC มีแนวโนมปรับตัวสูงขึน้ ตามราคานํา้ มัน อยางไรก็ดี การเพิม่ ขึน้ ของการผลิตเปนไปไดอยางจํากัด เนือ่ งจากไดรบั ผลกระทบจากสถานการณความไมสงบทางการเมือง ของประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง เชน อียิปต ลิเบีย และตูนิเซีย ซึ่งเปนผูผลิตและสงออกนํ้ามันดิบรายใหญของ โลก สงผลใหมีการเก็งกําไรจากการซื้อขายสัญญานํ้ามันดิบลวงหนาเพิ่มขึ้น สวนในป 2555 คาดวาราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ 115.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณอยูที่ 110.0-120.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เนือ่ งจากอุปสงคทขี่ ยายตัวขึน้ ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุม ประเทศ Non-OECD เปนสําคัญ โดยเฉพาะประเทศจีน และอินเดีย โดยอาจจะมีปจ จัยเสีย่ งคือ ปญหาหนีส้ าธารณะในประเทศ กลุม ยุโรปและความเปราะบางในการฟน ตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ขณะทีอ่ ปุ ทานนํา้ มันดิบยังเพิม่ ขึน้ ไดในกรอบ ที่จํากัด”

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

19


ภาพที่ 9 สมมติฐานราคานํา้ มันดิบดูไบในป 2554 และป 2555

ที่มา : Reuters

➥ ราคานํา้ มันดิบดูไบเฉลีย่ ป 2554 คาดวาจะปรับตัวเพิม ่ ขึน้ สูร ะดับ 101.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวง

คาดการณอยูที่ 96.0-106.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) จากป 2553 ที่อยู ณ ระดับ 78.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 ราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ระดับ 105.8 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 39.0 เมื่อ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น โดยมีสาเหตุหลักมาจากอุปทานการผลิตนํา้ มันทีล่ ดลงจากความไมสงบในตะวันออกกลางและ ประเทศลิเบีย รวมถึงปจจัยดานอุปสงคทเี่ พิม่ ขึน้ จากความตองการของประเทศนอกกลุม OECD เปนสําคัญ ประกอบกับเหตุการณ ภัยพิบตั แิ ผนดินไหวและสึนามิทญ ี่ ปี่ นุ ในวันที่ 11 มีนาคม 2554 สงผลใหญปี่ นุ ตองนําเขานํา้ มันมากขึน้ เพือ่ ใชในการทําความรอน และผลิ ต กระแสไฟฟ า ภายในประเทศทดแทนจากการผลิ ต ของโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ที่ ไ ด ห ยุ ด ดํ า เนิ น การ อย า งไรก็ ต าม จากความกังวลดานปญหาหนี้สาธารณะของยุโรปและปญหาความเสี่ยงที่เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะเขาสูภาวะถดถอยอีกครั้ง สงผลใหราคานํา้ มันปรับตัวลดลงในชวงไตรมาสที่ 3 ทีผ่ า นมา ทัง้ นี้ ในชวงทีเ่ หลือของป 2554 คาดวาราคานํา้ มันจะปรับตัวลดลง โดยมีสาเหตุหลักมาจากความเปราะบางของการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป และแนวโนม การชะลอความรอนแรงของเศรษฐกิจจีน อันเนือ่ งมาจากการดําเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัวเพือ่ ควบคุมอัตราเงินเฟอ นอกจากนี้ อุปทานนํา้ มันมีแนวโนมปรับตัวเพิม่ ขึน้ ทัง้ จากการผลิตของประเทศในกลุม OPEC และ Non-OPEC ยังเปนอีกปจจัยหนึง่ ชวยลด แรงกดดันตอราคานํ้ามัน สวนในป 2555 คาดวาราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ 115.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณ อยูที่ 110.0-120.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เนื่องจากอุปสงคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศ Non-OECD เปนสําคัญ ในขณะที่ปญหาหนี้สาธารณะในประเทศกลุมยุโรป และความเปราะบางในการฟนตัวของเศรษฐกิจ สหรัฐฯ ยังคงเปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญ ➥ ปจจัยหลักที่มีผลตอราคานํ้ามันดิบดูไบในป 2554 ไดแก 1) อุปสงคที่กลับมาขยายตัวไดอีกครั้ง หลังจากที่หดตัวอยางตอเนื่องมานานกวา 2 ป โดยไดแรงขับเคลื่อนหลักมาจากอุปสงคจากประเทศนอกกลุม OECD อยางประเทศจีนและอินเดียเปนสําคัญ ประกอบกับเหตุการณภยั พิบตั แิ ผนดินไหวและสึนามิในประเทศญีป่ นุ ถือเปนอีก ปจจัยหนึง่ ทีท่ าํ ใหมคี วามตองการนํา้ มันทดแทนการผลิตกระแสไฟฟาภายในประเทศเพิม่ สูงขึน้ อยางไรก็ตาม ปญหา ดานเงินเฟอในจีนและอินเดีย ความกังวลดานวิกฤตหนีส้ าธารณะในยุโรป และความเสีย่ งทีเ่ ศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาอาจ เขาสูภาวะถดถอยอีกครั้ง จะลดแรงกดดันราคานํ้ามันในชวงที่เหลือของปไมใหปรับตัวขึ้นมากนัก ขณะที่ 2) อุปทาน นํ้ามันดิบคาดวาจะเพิ่มขึ้นไดในกรอบที่จํากัด โดยเปนผลมาจากสถานการณความไมสงบทางการเมืองของประเทศ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง เชน อียิปต ลิเบีย และตูนิเซีย ซึ่งเปนผูผลิตและสงออกนํ้ามันดิบรายใหญของโลก สวนในป 2555 คาดวา ราคานํา้ มันดิบดูไบจะไดรบั ผลจากอุปสงคทเี่ พิม่ ขึน้ ตามการขยายตัวของประเทศในกลุม เอเชีย ตะวันออกกลาง และลาตินอเมริกา อยางไรก็ดี คาดวาอุปสงคจากกลุม ประเทศอเมริกาเหนือและยุโรป จะมีการปรับตัว ลดลง จากปจจัยเสี่ยงดานเศรษฐกิจของกลุมประเทศยุโรปและอเมริกา ขณะที่อุปทานยังเพิ่มขึ้นไดในกรอบที่จํากัด

20

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


1) อุปสงคนํ้ามันดิบเพิ่มขึ้น International Energy Agency (IEA) คาดวา ในป 2554 ความตองการนํ้ามันดิบ ทั่วโลกจะอยูที่ 89.3 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่อยูที่ระดับ 88.2 ลานบารเรลตอวัน ซึ่งจะเปนการปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.1 ลานบารเรลตอวัน หรือขยายตัวรอยละ 1.3 ตอป โดยเปนการขยายตัวตอเนื่องหลังจากที่หดตัวติดตอกันมาเปนเวลากวา 2 ป ในป 2551 และป 2552 ทั้งนี้ การขยายตัวที่เกิดขึ้นเปนผลมาจากความตองการของประเทศนอกกลุม OECD เปนสําคัญ • โดยประเทศในกลุม OECD คาดวาในป 2554 มีความตองการใชนํ้ามันดิบรวมที่ 45.8 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ทีอ่ ยูท รี่ ะดับ 46.2 ลานบารเรลตอวัน เปนการปรับตัวลดลง 0.4 ลานบารเรลตอวัน หรือหดตัวรอยละ 0.9 ตอป เนื่องจากความตองการใชนาํ้ มันดิบในกลุม สหภาพยุโรปทีล่ ดลงจากความกังวลเรือ่ งวิกฤตหนีส้ าธารณะยุโรป และความเปราะบาง การฟน ตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา อยางไรก็ตาม จากการฟน ตัวของเศรษฐกิจญีป่ นุ สงผลใหความตองการนํา้ มันดิบโลกของญีป่ นุ มี แนวโนมสูงขึน้ ทัง้ นี้ ญีป่ นุ เปนประเทศทีน่ าํ เขานํา้ มันดิบเปนอันดับ 3 ของโลก • ในขณะทีป่ ระเทศนอกกลุม OECD คาดวาในป 2554 มีความตองการใชนาํ้ มันดิบรวมที่ 43.5 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ทีอ่ ยูท ี่ 42.1 ลานบารเรลตอวัน หรือเพิม่ ขึน้ 1.4 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 3.3 ตอป สาเหตุสาํ คัญ มาจากความตองการนํา้ มันของประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม โดยเฉพาะประเทศจีน อินเดีย และประเทศในกลุม อาเซียนบางประเทศ 2) อุปทานนํา้ มันดิบโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ คาดวาในป 2554 ปริมาณนํา้ มันทีผ่ ลิตทัว่ โลกจะอยูท ี่ 88.3 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับ ป 2553 ทีอ่ ยูท ี่ 87.4 ลานบารเรลตอวัน เพิม่ ขึน้ 0.9 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 1.03 จากปกอ นหนา ➥ ในกลุม OPEC คาดวากําลังการผลิตนํ้ามันดิบในป 2554 จะอยูที่ 35.5 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่อยูที่ระดับ 34.8 ลานบารเรลตอวัน หรือเพิ่มขึ้น 0.7 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 2.0 ตอป โดยในชวงที่ผาน มา ประเทศในกลุม OPEC โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย อิรัก และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ไดเพิ่มกําลังการผลิตเพื่อชดเชย อุปทานนํา้ มันทีส่ ญ ู หายไป เนือ่ งจากเหตุการณความไมสงบในตะวันออกกลางและลิเบีย ทัง้ นี้ สถานการณความไมสงบในลิเบีย ไดคลี่คลายลงแลว โดยคาดวาในชวง 2-3 เดือนนี้ ลิเบียจะสามารถผลิตนํ้ามันที่ระดับ 500,000-600,000 บารเรลตอวัน และจะ เพิ่มกําลังการผลิตเปน 1.6 ลานบารเรลตอวันภายในปนี้ ซึ่งจะสงผลใหอุปทานนํ้ามันดิบเพิ่มขึ้นได ➥ สวนในกลุม Non-OPEC คาดวากําลังการผลิตในป 2554 อยูท รี่ ะดับ 52.8 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่ อยูท ี่ 52.6 ลานบารเรลตอวัน เพิม่ ขึน้ 0.2 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนการขยายตัวรอยละ 0.4 ตอป เนือ่ งจากการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ จากกลุม ประเทศลาตินอเมริกา รัสเซีย จีน เม็กซิโก บราซิล และโคลัมเบีย ตามราคานํา้ มันโลกทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เพือ่ ใหเพียงพอตอการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ อยางไรก็ตาม ความเสีย่ งจากพายุเฮอรรเิ คนในประเทศเม็กซิโกประกอบกับอุทกภัยในประเทศออสเตรเลีย จะทําใหอปุ ทาน เพิม่ ขึน้ ไดในกรอบทีจ่ าํ กัด

3. ราคาสินคาสงออกและนําเขา (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ในป 2554 คาดวาราคาสินคาสงออกจะขยายตัวในอัตราชะลอลงทีร่ อ ยละ 7.0 (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 6.0-8.0) เมือ่ เทียบกับปกอ น โดยมีปจ จัยสนับสนุนมาจากราคาสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรทีป่ รับตัวสูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง ซึง่ เปนผลจากความตองการของประเทศคูค า ของไทยเพือ่ ใชเปนพลังงานทดแทน และนําไปใชเปนวัตถุดบิ ของภาคอุตสาหกรรม ภาพที่ 10 อัตราการขยายตัวของราคาสินคาสงออกและนําเขา (รูปดอลลารสหรัฐ) ในป 2554 อัตราการขยายตัวของราคาสินคาสงออก (รูปดอลลารสหรัฐ)

อัตราการขยายตัวของราคาสินคานําเขา (รูปดอลลารสหรัฐ)

ที่มา : กระทรวงพาณิชย และ สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

21


ขณะทีร่ าคาสินคานําเขาคาดวาจะขยายตัวสูงขึน้ ทีร่ อ ยละ 10.0 (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 9.0-11.0) สาเหตุหลักมาจากราคา เชือ้ เพลิงทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ มากตามการเพิม่ ขึน้ ของราคานํา้ มันดิบในตลาดโลก เนือ่ งจากอุปสงคทเี่ พิม่ ขึน้ จากจีนและอินเดีย ประกอบกับความกังวลในอุปทานนํา้ มันทีค่ าดวาจะลดลงจากผลกระทบการจลาจลในตะวันออกกลาง ขณะทีใ่ นป 2555 คาดวา ราคาสินคาสงออกจะขยายตัวในอัตราทีเ่ รงขึน้ มาอยูท รี่ อ ยละ 7.5 เนือ่ งจากคาดวาราคาสินคาเกษตรและราคาสินคาในหมวด ทีใ่ ชแรงงานจะปรับตัวสูงขึน้ จากมาตรการของรัฐบาล สวนราคาสินคานําเขาจะมีการขยายตัวทีช่ ะลอลงมาอยูท รี่ อ ยละ 4.5 เมือ่ เทียบกับป 2554 เนือ่ งจากคาดวาราคาสินคาประเภทเชือ้ เพลิงจะขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลงจากป 2554 3.1 ราคาสินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ ราคาสินคาสงออกในป 2554 คาดวาจะขยายตัวอยูที่รอยละ 7.0 (ชวงคาดการณที่รอยละ 6.0-8.0) เทียบกับป 2553 ทีข่ ยายตัวทีร่ อ ยละ 9.1 เนือ่ งจากคาดวาราคาสินคาอุตสาหกรรมซึง่ มีสดั สวนสูงทีร่ อ ยละ 75.3 ของดัชนีราคารวม จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ ตามอุปสงคในตลาดโลกทีฟ่ น ตัวจนใกลเคียงระดับกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ โดยราคาสินคาอุตสาหกรรมในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวรอยละ 4.3 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ประกอบกับราคาสินคาเกษตรและสินคาแรและ เชื้อเพลิง ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ซึ่งมีสัดสวนรองลงมาที่รอยละ 11.3 และรอยละ 6.8 ตามลําดับ ปรับตัวสูงขึ้นถึง รอยละ 16.4 และรอยละ 17.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น โดยเฉพาะยางพาราและมันสําปะหลังมีราคาปรับตัวเพิม่ สูงมาก เนือ่ งมาจากความตองการสินคาเกษตรของประเทศคูค า เพือ่ ใชเปนพลังงานทดแทน และนําไปเปนวัตถุดบิ ของภาคอุตสาหกรรม อยางไรก็ดี ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ราคายางพารามีอัตราการขยายตัวที่ชะลอลงซึ่งเปนผลมาจากเศรษฐกิจจีนที่ลด ความรอนแรงลง โดยชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ขยายตัวเหลือรอยละ 52.7 จากไตรมาสที่ 2 ที่ขยายตัวรอยละ 60.5 ทําให ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ราคายางพาราขยายตัวถึงรอยละ 66.9 ขณะที่ราคาผลิตภัณฑมันสําปะหลังขยายตัวถึงรอยละ 47.8 เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจากความตองการจากประเทศคูคาของไทยโดยเฉพาะจีนและญี่ปุนยังอยูในระดับ สูง สวนในป 2555 คาดวาราคาสินคาสงออกในป 2555 จะขยายตัวที่รอยละ 7.5 ตอป (ชวงคาดการณที่รอยละ 6.5-8.5 ตอป) เรงตัวขึน้ จากปทผี่ า นมา เนือ่ งจากราคาสินคาเกษตรปรับตัวเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะราคาขาว เนือ่ งจากผลของมาตรการรับจํานําราคา ขาว ประกอบกับราคาสินคาในหมวดที่ใชแรงงานปรับตัวเพิ่มขึ้นจากนโยบายขึ้นคาแรงขั้นตํ่า จึงทําใหตนทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น 3.2 ราคาสินคานําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ ราคาสินคานําเขาในป 2554 คาดวาจะขยายตัวเรงขึ้นที่รอยละ 10.0 (ชวงคาดการณที่รอยละ 9.011.0) เทียบกับป 2553 ที่ขยายตัวที่รอยละ 8.1 เนื่องจากราคาสินคาประเภทเชื้อเพลิงซึ่งมีสัดสวนรอยละ 20.9 ของดัชนีราคา รวมจะขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก โดยในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวสูงถึงรอยละ 33.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ตามการเพิ่มขึ้นของราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก เนื่องจากอุปสงคที่เพิ่มขึ้นจากประเทศจีนและอินเดีย ประกอบกับปญหา ความไมสงบในตะวันออกกลาง นอกจากนี้ ราคาสินคาประเภทวัตถุดบิ และกึง่ สําเร็จรูปทีม่ สี ดั สวนมากทีส่ ดุ ถึงรอยละ 43.5 ก็ขยายตัวไดดี โดยในชวง 8 เดือนแรกขยายตัวที่รอยละ 7.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ซึ่งเปนไปตามการฟนตัวของภาคอุตสาหกรรมที่มี การเรงการผลิตเพิ่มขึ้นจนเขาสูภาวะปกติ สวนในป 2555 คาดวาราคาสินคานําเขาจะขยายตัวทีร่ อ ยละ 4.5 ตอป (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 3.5-5.5 ตอป) โดยคาดวา ราคาสินคาประเภทเชือ้ เพลิงจะขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลงเมือ่ เทียบกับป 2554 สงผลใหราคาสินคานําเขามีการขยายตัวในอัตรา ที่ชะลอลงจากป 2554

4. อัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐ “สศค.คาดวาในป 2554 คาเงินบาทเฉลีย่ มีความผันผวนสูง แตมที ศิ ทางแข็งคาขึน้ จากคาเฉลีย่ ในป 2553 มาอยู ที่ 30.5 บาทตอดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ประมาณ 29.5–31.5 บาทตอดอลลารสหรัฐ) และคาดวาจะ แข็งคาขึ้นตอเนื่องไปในป 2555 โดยมีคาเฉลี่ยในชวงระหวาง 29.0–31.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ”

22

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 11 สมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐ เฉลี่ยในป 2554 และป 2555

ที่มา : Reuters

4.1 สถานการณคาเงินบาทในชวงที่ผานมา หากพิจารณาทิศทางความเคลื่อนไหวของคาเงินบาทตอดอลลารสหรัฐในปจจุบันเทียบกับตนป 2554 แลวจะพบวา คาเงินบาทออนคาลงรอยละ 3.46 (ภาพที่ 12) เนื่องจากมีเงินทุนไหลออกจากตลาดทุนไทยโดยเฉพาะตลาด ตราสารหนี้ในชวงตนป และตลาดหลักทรัพยในชวงเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน และเดือนสิงหาคม-กันยายน 2554 ซึ่งมีสาเหตุ สําคัญจากการที่การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงไมแนนอน โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหภาพยุโรปยังคงเปราะบางจากปญหา หนีส้ าธารณะและการถูกปรับลดอันดับความนาเชือ่ ถือของกรีซและอิตาลี อีกทัง้ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกายังคงสงสัญญาณชะลอตัว อยางตอเนือ่ ง ภายหลังทีถ่ กู ปรับลดอันดับครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร ทําใหเกิดความตืน่ ตระหนกในตลาดเงินและตลาดทุนทัว่ โลก สงผลใหนักลงทุนดึงเงินกลับไปถือสินทรัพยที่ถือวามีความปลอดภัยสูงอื่น ๆ (Safe Haven) ภาพที่ 12 อัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐรายวัน

ที่มา : Reuters / สศค.

อยางไรก็ตาม ดุลบัญชีการชําระเงิน (Balance of Payment) ในชวง 8 เดือนที่ผานมาที่เกิดดุลสะสมแลว กวา 7.3 พันลานดอลลารสหรัฐ เปนปจจัยที่ผลักดันมิใหคาเงินบาทออนคาลงมากจากเงินทุนไหลออก

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

23


ภาพที่ 13 ดุลการชําระเงินของประเทศไทยป 2553-2554

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

4.2 แนวโนมของคาเงินบาทในระยะถัดไป ในป 2554 คาดวาคาเงินบาทเฉลี่ยตอดอลลารสหรัฐจะมีแนวโนมแข็งคาขึ้นมาอยูที่ระดับ 30.5 บาทตอ ดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณอยูที่ระดับ 29.5–31.5 บาทตอดอลลารสหรัฐ) ในขณะที่ในป 2555 คาดวาคาเงิน บาทเฉลี่ยตอดอลลารสหรัฐจะมีแนวโนมแข็งคาขึ้นมาอยูที่ระดับ 30.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณอยูที่ระดับ 29.0–31.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ) จากปจจัยหลักคือ ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยในป 2554 และป 2555 ทีน่ า จะยังคงเกินดุลตอเนือ่ ง จากการสงออกและภาคการทองเที่ยวของไทยที่ยังคงขยายตัวไดดี เนื่องจากเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะเศรษฐกิจของประเทศ ในภูมิภาคที่ยังขยายตัวไดดี ทําใหความตองการสินคาสงออกของไทยนาจะมีอยูอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ภาคการสงออกและ ภาคการทองเทีย่ วของไทยทีค่ าดวาจะยังขยายตัวไดในเกณฑทดี่ นี า จะสงผลใหบญ ั ชีเดินสะพัดของไทยในป 2554 และป 2555 เปนบวกซึ่งจะเปนปจจัยสนับสนุนใหคาเงินบาทมีแนวโนมแข็งคาขึ้น อยางไรก็ตาม ดุลเงินทุนของไทยในระยะตอไปคาดวาจะยังคงมีความผันผวนสูง จากความไมแนนอนทาง การเมืองของสหรัฐอเมริกาในการปรับเพดานหนีส้ าธารณะ ตลอดจนความไมแนนอนของการชวยเหลือประเทศในกลุม สหภาพยุโรป ที่ประสบวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งจะสงผลใหคาเงินบาทตลอดจนคาเงินในภูมิภาคอื่น ๆ มีความผันผวนตามไปดวย

5. อัตราดอกเบี้ยนโยบาย “สศค.คาดการณ ว  า ในป 2554 อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายจะปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น มาอยู  ที่ ร  อ ยละ 3.50 ต อ ป (ชวงคาดการณรอยละ 3.25–3.75 ตอป) และในป 2555 อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะอยูที่ชวงคาดการณ 3.25–4.00)” ➥ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ธนาคารแหงประเทศไทยไดดําเนินนโยบายการเงินแบบ

เขมงวดมากขึ้น หลังจากที่คงอัตราดอกเบี้ยไวที่ระดับตํ่าที่รอยละ 1.25 ตอป เพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยในชวง วิกฤตเศรษฐกิจโลกเปนเวลากวา 16 เดือน โดยนับตัง้ แตครึง่ หลังของป 2553 กนง.ไดประกาศปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย 9 ครัง้ มาอยูที่รอยละ 3.50 จากการที่เศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่อง และแรงกดดันจากอัตราเงินเฟอที่ปรับตัว เพิ่มขึ้นตามราคานํ้ามันในตลาดโลกที่ทรงตัวในระดับสูงในชวงครึ่งแรกของป 2554

24

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 14 อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราเงินเฟอพื้นฐาน

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.

➥ ในปลายป 2554 สศค.คาดวาอัตราดอกเบีย้ นโยบายทรงตัวอยูท  รี่ ะดับรอยละ 3.50 ตอป (ชวงคาดการณ

ที่รอยละ 3.25-3.75 ตอป) จากแรงกดดันจากเงินเฟอที่เริ่มชะลอลง ขณะที่เศรษฐกิจโลกมีความเสี่ยงมากขึ้น ทั้งจาก ปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป รวมถึงการฟนตัวอยางเปราะบางของเศรษฐกิจญี่ปุน ผนวกกับ การชะลอลงของเศรษฐกิจจีน ➥ ในป 2555 สศค.คาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีแนวโนมที่จะปรับตัวสูงขึ้นอยูในชวงคาดการณ 3.254.00 จากแรงกดดันจากเงินเฟอที่คาดวาจะสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ขณะที่ความเปราะบางของเศรษฐกิจโลกนา จะเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่คาดวาจะสงผลกระทบตอการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ซึ่งอาจสงผลใหการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย นโยบายชะลอลงเมื่อเทียบกับป 2554 ภาพที่ 15 สมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ณ สิ้นป

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.

6. รายจายภาคสาธารณะประจําปงบประมาณ 2554 “ปงบประมาณ 2554 รายจายภาคสาธารณะ (ประกอบดวย (1) รายจายรัฐบาล (2) รายจายองคกรปกครอง สวนทองถิน่ (อปท.) และ (3) รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ) คาดวาจะสามารถเบิกจายไดจาํ นวน 2.823 ลานลานบาท เพิ่มจากปงบประมาณ 2553 ซึ่งมีรายจายภาคสาธารณะจํานวน 2.521 ลานลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 12.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน”

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

25


6.1 กรอบวงเงินงบประมาณรายจายของรัฐบาล ปงบประมาณ 2554 รัฐบาลตั้งกรอบวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,070,000 ลานบาท ซึ่งเปน การดําเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุลจํานวน 420,000 ลานบาท หรือประมาณรอยละ 3.9 ของ GDP ภายใตประมาณการจัด เก็บรายไดรฐั บาลเทากับ 1,650,000 ลานบาท โครงสรางงบประมาณรายจายของรัฐบาลแบงออกเปน (1) รายจายประจําจํานวน 1,662,604 ลานบาท (2) รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลังจํานวน 30,346 ลานบาท (3) รายจายลงทุนจํานวน 344,495 ลานบาท และ (4) รายจายชําระคืนตนเงินกูจํานวน 32,555 ลานบาท นอกจากนี้ รัฐบาลไดมกี ารจัดทํางบประมาณเพิม่ เติมจํานวน 99,968 ลานบาท โดยเปนรายจายเพือ่ ชดใชเงินคงคลัง จํานวน 84,143 ลานบาท และรายจายเพื่อการฟนฟูภัยพิบัติและเงินอุดหนุนให อปท. จํานวน 15,825 ลานบาท

ตารางที่ 4 กรอบโครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2553 และ 2554 ปงบประมาณ

2554

1,700,000.0 17.5 (12.9)

2,070,000.0 20.0 21.8

2,169,967.5 20.0 27.6

1.1 รายจายประจํา (สัดสวนตอ GDP) (สัดสวนตองบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

1,434,710.1 14.8 84.4 1.7

1,662,604.2 16.1 80.3 15.9

1,667,439.7 15.4 76.8 16.2

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (สัดสวนตองบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

214,369.0 2.2 12.6 (50.1)

344,495.1 3.3 16.6 60.7

355,484.5 3.3 16.4 65.8

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

50,920.9 3.0 (20.0)

32,554.6 1.6 (36.1)

32,555.6 1.5 (36.1)

2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (อัตราเพิ่ม)

1,350,000.0 13.9 (15.9)

1,650,000.0 15.9 22.2

1,770,000.0 16.3 31.1

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP)

(350,000.0) (3.6)

(420,000.0) (4.1)

(399,967.5) (3.7)

4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) เบื้องตน

9,726,200.0

10,358,400.0

10,840,500.0

1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (อัตราเพิ่ม)

ที่มา : สํานักงบประมาณ

26

2554 รวมงบเพิ่มเติม

2553

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


สําหรับงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2554 คาดวา รัฐบาลจะสามารถเบิกจายไดทั้งสิ้นจํานวน 2,231,869 ลานบาท ภายใตสมมติฐานการเบิกจายรายจายประจําปงบประมาณ 2554 คิดเปนรอยละ 93.0 ของกรอบ วงเงินงบประมาณ 2,070,000 ลานบาท แบงเปนการเบิกจายรายจายประจําจํานวน 1,757,928 ลานบาท และรายจายลงทุน จํานวน 259,758 ลานบาท โดยคิดเปนอัตราการเบิกจายรายจายลงทุนที่รอยละ 72.0 ของกรอบวงเงินรายจายลงทุน ปจจุบัน เบิกจายไดทั้งสิ้นจํานวน 1,984,484 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 86.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณ (รวมงบ เพิม่ เติม) สําหรับในปงบประมาณ 2555 คาดวา รัฐบาลจะสามารถเบิกจายไดทงั้ สิน้ จํานวน 2,320,819 ลานบาท ภายใตสมมติฐาน การเบิกจายรอยละ 93.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณจํานวน 2,330,000 ลานบาท แบงเปนการเบิกจายรายจายประจําจํานวน 1,868,391 ลานบาท และรายจายลงทุนจํานวน 299,520 ลานบาท นอกจากนี้ รั ฐ บาลได มี แ ผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข ม แข็ ง 2555 โดยมี ก รอบวงเงิ น ลงทุ น จํ า นวน 349,960 ล า นบาท โดยคาดวาในปงบประมาณ 2554 จะมีการเบิกจายเงินลงทุนจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 56,037 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 16.0 ของกรอบเงินลงทุนโครงการไทยเขมแข็ง 349,960 ลานบาท โดยมีการเบิกจาย สะสมตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนกันยายน 2552–สิงหาคม 2554) จํานวนทั้งสิ้น 289,162 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิก จายรอยละ 82.6 ของกรอบวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 349,960 ลานบาท และในปงบประมาณ 2555 คาดวาจะมีการเบิกจาย รวมจํานวน 52,244 ลานบาท คิดเปนรอยละ 14.9 ของกรอบเงินลงทุนโครงการไทยเขมแข็ง 349,960 ลานบาท (โดยมีชว งคาดการณ การเบิกจายจํานวน 45,342–59,145 ลานบาท) ตารางที่ 5 สมมติฐานการเบิกจายรายจายของรัฐบาลกลางปงบประมาณ 2554 และ 2555 (หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ ชวง 11 เดือนแรก 2553 ป งปม. 2554 1. รายจายรัฐบาล (1.1+1.2)

ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 คาดการณ คาดการณ ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554

2,004,313

2,039,245

2,287,906

2,366,161-2,379,964

1,784,413

1,984,484

2,231,869

2,320,819

(1) รายจายประจํา

1,444,760

1,547,945

1,757,928

1,868,391

(2) รายจายลงทุน

183,115

228,435

259,758

299,520

-

89,512

95,089

-

- ชดใชเงินคงคลัง

-

84,143

84,143

-

- เพือ่ ฟน ฟูภยั พิบตั แิ ละอุดหนุน อปท.

-

5,369

10,947

-

1,627,875

1,865,892

2,112,775

2,167,911

156,538

118,592

119,094

152,908

อัตราเบิกจายรายจายงบประมาณ

95.8%

86.0%

93.0%

93.0%

(จากวงเงินงบประมาณรายจาย)

1,700,000

2,169,968

2,169,968

2,330,000

1.2 รายจายนอกงบประมาณ แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555

219,901

54,761

56,037

45,342-59,145

1.1 รายจายงบประมาณ (1)+(2)+(3)

รายจายเพิ่มเติม (งบกลางป)

รายจายรัฐบาลประจําป (1)+(2) (3) รายจายเหลื่อมป

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

27


6.2 งบประมาณรายจายขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) คาดวาจะมีการเบิกจายงบประมาณตามระบบบัญชีประชาชาติ (SNA) รวมทั้งสิ้น 282,675 ลานบาท หดตัวรอยละ -1.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจากการเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุน ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 มี ก ารเบิ ก จ า ยชะลอลงมาก ประกอบกั บ ความล า ช า ในการจั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ย ประจําปงบประมาณ 2555 จะสงผลใหการเบิกจายในชวงไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2555 เปนไปอยางลาชา นอกจากนี้ อปท. มีรายไดเพื่อการใชจายงบประมาณในการพัฒนาทองถิ่นที่ปรับตัวสูงขึ้นตามการฟนตัวของภาวะเศรษฐกิจของประเทศ สะทอนไดจากการที่ อปท. ไดมีการเบิกจายจริงของงบประมาณทองถิ่นแลวในชวง 3 ไตรมาสแรกของปงบประมาณ 2554 แลว จํานวน 191,675 ลานบาท สําหรับรายจายของ อปท. ในป 2555 คาดวาจะสามารถเบิกจายไดจํานวนทั้งสิ้น 297,448 ลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 5.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ตารางที่ 6 สมมติฐานการเบิกรายจายองคกรปกครองสวนทองถิ่นในปงบประมาณ 2554 และ 2555 (หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ 2553 รายจายทองถิ่น

286,557

ไตรมาสที่ 3 ปงบประมาณ 2554 191,675

ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 คาดการณ คาดการณ ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554 282,675 297,448

ทีม่ า : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)

6.3 งบประมาณรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ งบประมาณลงทุนประจําป 2554 ของรัฐวิสาหกิจทีพ่ รอมดําเนินการมีจาํ นวน 315,370 ลานบาท สามารถแบงออกได ดังนี้ 1) รัฐวิสาหกิจที่ใชปงบประมาณ (เริ่มดําเนินการ 1 ตุลาคม 2553–30 กันยายน 2554) มีงบลงทุนที่พรอมดําเนินการจํานวน 114,755 ลานบาท และ 2) รัฐวิสาหกิจที่ใชปปฏิทิน (เริ่มดําเนินการ 1 มกราคม 2554–ธันวาคม 2554) มีงบลงทุนอนุมัติที่พรอม ดําเนินการจํานวน 200.6 พันลานบาท ทัง้ นี้ คาดวาทัง้ ปงบประมาณ 2554 รัฐวิสาหกิจจะสามารถเบิกจายงบลงทุนไดประมาณรอยละ 75 ของกรอบวงเงิน ลงทุนรัฐวิสาหกิจ หรือหากคิดเปนระบบบัญชีรายไดประชาชาติ (SNA) คาดวาจะเบิกจายรายลงทุนไดจาํ นวน 259,491 ลานบาท สะทอนไดจากในชวง 3 ไตรมาสแรกของปงบประมาณ 2554 แลวจํานวน 190,265 ลานบาท สําหรับรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ในป 2555 คาดวาจะสามารถเบิกจายไดจํานวนทั้งสิ้น 265,138 ลานบาท ตารางที่ 7 สมมติฐานการเบิกจายรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2553 รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจ

315,370

ไตรมาสที่ 3 ปงบประมาณ 2554 190,265

(หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 คาดการณ คาดการณ ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554 253,257 265,138

ทีม่ า : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)

6.4 สรุปรวมรายจายภาคสาธารณะ จากสมมติฐานการใชจา ยของรัฐบาล องคกรปกครองสวนทองถิน่ และการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปงบประมาณ 2554 ดังกลาว ทําใหคาดวาในปงบประมาณ 2554 รายจายภาคสาธารณะสามารถเบิกจายไดจํานวน 2,823,838 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 12.0 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ประกอบดวย 1) รายจายรัฐบาลจํานวน 2,231,869 ลานบาท และรายจาย จากแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 56,037 ลานบาท 2) รายจายองคกรปกครองสวนทองถิน่ จํานวน 282,675 ลานบาท และ 3) รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจจํานวน 253,257 ลานบาท สําหรับในปงบประมาณ 2555 คาดวารายจายภาคสาธารณะจะมีจาํ นวน 2,935,648 ลานบาท คิดเปนการขยายตัว รอยละ 4.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน (โดยมีชวงคาดการณจํานวน 2,922,747–2,948,549 ลานบาท) ซึ่งประกอบดวย

28

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


1) รายจายรัฐบาลจํานวน 2,320,819 ลานบาท และรายจายจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 52,244 ลานบาท (โดยมีชวงคาดการณจํานวน 45,342–59,145 ลานบาท) 2) รายจายองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 297,448 ลานบาท และ 3) รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจจํานวน 265,138 ลานบาท (โดยมีชวงคาดการณจํานวน 259,138-271,138 ลานบาท) ตารางที่ 8 สมมติฐานการเบิกรายจายภาคสาธารณะในปงบประมาณ 2554 และ 2555

1. รายจายรัฐบาล (1.1+1.2) 1.1 รายจายงบประมาณ (1)+(2)+(3)

(หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ ชวง 11 เดือน ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 2553 แรก ป งปม. คาดการณ คาดการณ 2554 ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554 2,366,161-2,379,964 2,004,313 2,039,245 2,287,906 1,784,413

1,984,484

2,231,869

2,320,819

(1) รายจายประจํา

1,444,760

1,547,945

1,757,928

1,868,391

(2) รายจายลงทุน

183,115

228,435

259,758

299,520

-

89,512

95,089

-

- ชดใชเงินคงคลัง

-

84,143

84,143

-

- เพื่อฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุน อปท.

-

5,369

10,947

-

1,627,875

1,865,892

2,112,775

2,167,911

156,538

118,592

119,094

152,908

อัตราเบิกจายรายจายงบประมาณ

95.8%

86.0%

93.0%

93.0%

(จากวงเงินงบประมาณรายจาย)

1,700,000

2,169,968

2,169,968

2,330,000

1.2 รายจายนอกงบประมาณ แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555

219,901

54,761

56,037

45,342-59,145

2. รายจายทองถิ่น

286,557

191,675

282,675

297,448

3. รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจ

230,377

190,265

253,257

259,138-271,138

4. รายจายภาคสาธารณะ (1+2+3)

2,521,248

2,421,185

2,823,838

2,922,747-2,948,549

รายจายเพิ่มเติม (งบกลางป)

รายจายรัฐบาลประจําป (1)+(2) (3) รายจายเหลื่อมป

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) คํานวณโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

29


ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 1. ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ “สศค.ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวที่รอยละ 4.0 ตอป โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.8–4.3 เทียบกับป 2553 ที่เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 7.8 โดยเปนการปรับประมาณการลดลงจากครั้งกอนในเดือนมิถุนายน 2554 ที่คาดการณไววาเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวที่รอยละ 4.5” ➥ สศค.ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 มีแนวโนมจะขยายตัวที่รอยละ 4.0 โดยมีชวงคาดการณ

ที่รอยละ 3.8-4.3 โดยการเติบโตของเศรษฐกิจในปนี้จะไดรับแรงขับเคลื่อนทั้งจากอุปสงคภายในประเทศและอุปสงคภายนอก ประเทศ โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวตอเนื่องตามรายไดและการจางงานที่อยูในเกณฑดี ประกอบกับปริมาณ และมูลคาการสงออกสินคาและบริการที่ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาในแถบเอเชีย แมจะไดรับผลกระทบจากปญหาอุทกภัยและภัยพิบัติในประเทศญี่ปุนบางก็ตาม อีกทั้งเสถียรภาพเศรษฐกิจทั้งภายในและ ภายนอกยังอยูในระดับแข็งแกรง อยางไรก็ตาม การปรับประมาณการลดลงจากครั้งกอนในเดือนมิถุนายน 2554 มีสาเหตุ มาจากการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาที่ลดลงจากความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของแนวโนมภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกครั้ง (Double-Dip Recession) ของโลกตะวันตก ประกอบกับผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัย ซึ่งในเบื้องตนครอบคลุมพื้นที่ 26 จังหวัด ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางสวน ➥ สําหรับเศรษฐกิจไทยในป 2555 สศค.คาดวาจะขยายตัวทีร่ อ  ยละ 4.5 ตอป โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.0-5.0 โดยมีปจ จัยสนับสนุนหลักมาจากอุปสงคภายในประเทศทีข่ ยายตัวไดดี จากมาตรการเพิม่ รายไดและลดคาครองชีพของ ประชาชน อาทิ โครงการรับจํานําขาว นโยบายคาแรงขัน้ ตํา่ 300 บาท และนโยบายขึน้ เงินเดือนขาราชการ ขณะทีภ่ าคการสงออก คาดวาจะเติบโตไดอยางตอเนื่องตามการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก ภาพที่ 16 ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

30

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


1.1 การบริโภคภาคเอกชนและการบริโภคภาครัฐที่แทจริง 1.1.1 การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริง ➥ การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 2.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 3.3 เนื่องจากปจจัยฐานที่เริ่มปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับ ไดรบั ผลกระทบจากสถานการณนาํ้ ทวมในหลายพืน้ ที่ สงผลตอความเชือ่ มัน่ ในการใชจา ยโดยรวม รวมถึงการบริโภคสินคาคงทน ในหมวดยานยนตลดลง เนื่องจากไดรับผลกระทบจากสึนามิในประเทศญี่ปุน ทําใหบริษัทผูผลิตรถยนตไมสามารถผลิตรถยนต ไดเต็มกําลังการผลิต และไมสามารถสงมอบใหแกลูกคาไดตามระยะเวลาที่กําหนด อยางไรก็ตาม ถือไดวายังขยายตัว ในเกณฑดี แมวา จะขยายตัวในอัตราชะลอลงจากไตรมาสกอน (ทัง้ นี้ เมือ่ ขจัดปจจัยทางฤดูกาลแลวพบวา การบริโภคภาคเอกชน ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 0.2 จากไตรมาสกอนหนา) โดยมีปจจัยสําคัญที่สนับสนุนการใชจายของภาคครัวเรือน ไดแก 1) อัตราการวางงานที่อยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.6 ของกําลังแรงงานรวมในไตรมาสที่ 2 ป 2554 และ 2) รายไดเกษตรกร ทีข่ ยายตัวในระดับสูงถึงรอยละ 17.7 จากราคาผลผลิตเกษตรสําคัญปรับตัวสูงขึน้ มากตามความตองการของตลาดโลก ในขณะที่ อุปทานคอนขางตึงตัว เนื่องจากไดรับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาการบริโภคภาคเอกชน จําแนกตามรายหมวดสําคัญพบวา ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 การบริโภคสินคาในหมวดสินคาคงทนชะลอลงอยูที่รอยละ 3.5 จากไตรมาสกอนทีข่ ยายตัว 23.6 ตามการลดลงของหมวดยานยนตเปนสําคัญ สวนการบริโภคสินคากึง่ คงทน เชน เสือ้ ผา รองเทา ภาชนะและสิง่ ทอทีใ่ ชในครัวเรือน ขยายตัวรอยละ 5.7 จากไตรมาสกอนทีข่ ยายตัวรอยละ 4.5 ในขณะทีก่ ารบริโภคสินคาไมคงทน เชน หมวดอาหาร เครือ่ งดืม่ เครือ่ งใชไฟฟาภายในบาน ขยายตัวรอยละ 3.4 จากไตรมาสกอนทีข่ ยายตัวรอยละ 2.0 ตามการขยายตัว ของหมวดอาหารที่ขยายตัวรอยละ 4.1 และหมวดที่ไมใชอาหารที่ขยายตัวรอยละ 3.0 เปนตน ภาพที่ 17 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนที่แทจริง

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 3.9 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ

3.4-4.4) ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 4.8 เนื่องจากไดรับผลกระทบจากปญหาอุทกภัยในภาคเหนือ ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจากแรงกดดันดานเงินเฟอและตนทุนที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง อยางไรก็ดี ภาวะการจางงานและ รายไดที่ยังอยูในเกณฑดี ทั้งในสวนของรายไดเกษตรกรที่คาดวาจะปรับสูงขึ้นตามราคาพืชผลสําคัญ รวมถึงรายไดจาก ภาคทองเที่ยวที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นตามแนวโนมจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่ขยายตัวในเกณฑดี ประกอบกับการขยายตัวอยาง ตอเนื่องของสินเชื่อเพื่อการบริโภค คาดวาจะยังคงมีสวนชวยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนในป 2554 ใหขยายตัวได ทั้งนี้ จากขอมูลเชิงประจักษพบวา การบริโภคภาคเอกชนในชวง 8 เดือนแรกป 2554 ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง สะทอนไดจาก ประมาณการเศรษฐกิจไทย

31


เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจดานการบริโภคภาคเอกชน โดยเฉพาะการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ ขยายตัวตอเนื่อง ที่รอยละ 13.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน สอดคลองกับปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งและรถจักรยานยนต (สะทอน ดานการบริโภคภาคเอกชนในหมวดสินคาคงทน) ที่ยังคงขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 24.8 และรอยละ 14.7 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน ตามลําดับ แมวาจะไดรับผลกระทบจากสึนามิในประเทศญี่ปุนทําใหยอดขายชะลอตัวและหดตัวในชวง เดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคมที่ผานมา ในขณะที่รายไดภาคครัวเรือนยังอยูในเกณฑดีตามรายไดเกษตรกรที่อยูในระดับสูง ที่รอยละ 21.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน และอัตราการวางงานอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.7 ของกําลังแรงงานรวม สอดคลองกับสินเชื่อเพื่อการบริโภคที่ยังคงขยายตัวตอเนื่อง โดยขยายตัวรอยละ 11.4 ในชวง 8 เดือนแรกป 2554 อยางไรก็ตาม ปจจัยเสี่ยงที่คาดวาจะสงผลกระทบตอการบริโภคภาคเอกชนในป 2554 ไดแก 1) แนวโนมระดับราคาสินคาทั่วไปที่เริ่มปรับตัว สูงขึ้นตามราคานํ้ามันและราคาโภคภัณฑ 2) ปญหาอุทกภัยในหลายพื้นที่ของประเทศ โดยเฉพาะในภาคเหนือและภาคกลางของ ประเทศทีค่ าดวาจะสงผลกระทบตอการเติบโตของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมสําคัญ ซึง่ ในทีส่ ดุ จะกระทบตอการบริโภคของประชาชนโดยรวม และ 3) การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบาง ตามสัญญาณการชะลอตัว ของเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ➥ ในป 2555 การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 4.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.9-4.9) เรงขึน้ จากป 2554 ทีค่ าดวาจะขยายตัวรอยละ 3.9 โดยไดรบั ปจจัยบวกจาก 1) ทิศทางรายไดทงั้ ในและนอกภาคเกษตร ที่คาดวาจะยังคงอยูในเกณฑดีจากการจางงานที่คาดวาจะยังคงอยูในระดับสูง ตามการเติบโตของเศรษฐกิจในป 2555 ที่คาดวา จะขยายตัวรอยละ 4.5 ประกอบกับราคาสินคาเกษตรที่คาดวาจะยังคงทรงตัวในระดับสูง ตามความตองการสินคาเกษตร ที่ยังคงขยายตัวตอเนื่อง ในขณะที่อุปทานคอนขางตึงตัวเนื่องจากประเทศที่ผลิตสินคาเกษตรหลัก เชน อินเดีย เวียดนาม รวมถึงประเทศไทย ประสบปญหาภัยพิบัติธรรมชาติ และ 2) มาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลในการสนับสนุนการใชจาย เชน มาตรการปรับเพิ่มคาจางงานแรงงานขั้นตํ่า 300 นโยบายรถยนตคันแรก และการปรับขึ้นเงินเดือนขาราชการที่จะมีผล ในเดือนมกราคม ป 2555 เปนตนไป 1.1.2 การบริโภคภาครัฐที่แทจริง ➥ การบริโภคภาครัฐที่แทจริงในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 1.8 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบวาหดตัว รอยละ -0.7 จากไตรมาสกอนหนา ทําใหในชวงครึ่งปแรกของป 2554 ขยายตัวรอยละ 1.4 โดยเปนผลมาจากคาตอบแทน แรงงานเพิ่มขึ้นรอยละ 0.1 และรายจายคาซื้อสินคาและบริการสุทธิเพิ่มขึ้นรอยละ 2.1 ในขณะที่รายจายเพื่อการอุปโภคทั้งหมด ของภาครัฐในราคาประจําปมูลคา 337.7 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 7.0 ซึ่งแบงออกเปนคาตอบแทนแรงงานจํานวน 234.0 ภาพที่ 18 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาครัฐที่แทจริง

ที่มา : สศค.

32

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 8.9 และรายจายคาซื้อสินคาและบริการสุทธิจํานวน 103.7 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 2.8 ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2554 มีวงเงินงบประมาณจํานวน 2.07 ลานลานบาท และงบประมาณรายจายเพิ่มเติมจํานวน 1.0 แสนลานบาท ทําใหมีวงเงินงบประมาณจํานวน 2.17 ลานลานบาท โดยในไตรมาสที่ 2 มีการเบิกจายรวม 521.6 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 38.0 รายจายเหลือ่ มปจาํ นวน 17.2 พันลานบาท หดตัวรอยละ -36.6 และการเบิกจายจากโครงการแผนปฏิบตั กิ าร ไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 12.5 พันลานบาท ทําใหการเบิกจายในไตรมาสที่ 2 มีจํานวนทั้งสิ้น 551.2 พันลานบาท ➥ ในป 2554 การบริโภคภาครัฐที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวในชวงรอยละ 2.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.2-3.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัว ร อ ยละ 6.4 โดยป จ จั ย หลั ก มาจากฐานสู ง ของช ว งเดี ย วกั น ของป ก  อ น รวมถึ ง ความล า ช า ในการจั ด ทํ า งบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2555 ที่จะสงผลกระทบตอการเบิกจายงบประมาณไตรมาสที่ 4 ของป 2554 ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดมีการอนุมัติวงเงินงบประมาณรายจายประจําจํานวน 1.667 ลานลานบาท (รวมงบเพิ่มเติมในสวนของงบประจํา ทีช่ ดใชเงินคงคลังจํานวน 84.1 พันลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากปงบประมาณ 2553 ทีม่ วี งเงินงบประมาณรายจายประจําจํานวน 1.434 ลานลานบาท หรือเพิ่มขึ้นจํานวน 232.7 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตราการขยายตัวรอยละ 16.2 ทั้งนี้ ในชวง 11 เดือนแรก ของปงบประมาณ 2554 รายจายประจําของรัฐบาลสามารถเบิกจายไดจํานวน 1,634.9 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจาย รอยละ 90.4 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจํา (รวมงบเพิ่มเติม) ขณะที่เม็ดเงินของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่คงเหลือใหเบิกจายลดลงจากปกอนหนา แตยังคงมีการเรงรัดการเบิกจายไปในโครงการตาง ๆ ที่ไดรับการอนุมัติอยางตอเนื่อง ➥ ในป 2555 การบริโภคของภาครัฐทีแ ่ ทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 2.8 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.3-3.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) โดยคาดวากรอบวงเงินงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ 2555 ทีค่ ณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบการอนุมตั วิ งเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2.330.0 ลานลานบาท โดยในจํานวนนีเ้ ปนงบประมาณรายจายประจําจํานวน 1.839.7 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 79.0 ของวงเงินงบประมาณรวม และเพิ่มขึ้นจากปกอนหนารอยละ 10.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน 1.2 การลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐที่แทจริง 1.2.1 การลงทุนภาคเอกชนที่แทจริง ➥ การลงทุนภาคเอกชนที่แทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 8.6 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัวรอยละ 12.6 แตเมื่อขจัดปจจัยทางฤดูกาลแลวพบวาการลงทุนภาคเอกชน ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 1.9 จากไตรมาสกอนหนา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบวาการลงทุนในหมวด เครื่องมือ เครื่องจักร (มีสัดสวนประมาณรอยละ 75.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ขยายตัวรอยละ 9.5 จากไตรมาสที่ 1 ภาพที่ 19 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนที่แทจริง

ที่มา : สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

33


ป 2554 ทีข่ ยายตัวรอยละ 14.7 ตามการขยายตัวของการนําเขาสินคาทุนทีข่ ยายตัวรอยละ 14.5 ชะลอลงจากเดือนกอนทีข่ ยายตัว รอยละ 29.3 สวนหนึ่งเปนผลมาจากมีการเรงนําเขาสูงในชวงตนป เพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิตและทดแทนเครื่องจักร เกา โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมปโตรเลียม เครื่องใชไฟฟา และยานยนต ตามการขยายตัวของภาคการสงออกและอุปสงค ในประเทศ โดยในไตรมาสที่ 2 ป 2554 หมวดยานพาหนะขยายตัวรอยละ 20.3 ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่รอยละ 27.8 ตามการหดตัวของรถโดยสารทีร่ อ ยละ -12.1 ในขณะทีร่ ถบรรทุกยังขยายตัวไดดที รี่ อ ยละ 21.6 ในขณะทีเ่ ครือ่ งจักรอุตสาหกรรมและ เครื่องใชสํานักงานขยายตัวรอยละ 0.6 และรอยละ 6.6 ตามลําดับ สวนการลงทุนในหมวดการกอสรางภาคเอกชน (มีสัดสวน ประมาณรอยละ 25.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 5.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัวรอยละ 5.8 สวนหนึ่งเปนผลมาจากอัตราดอกเบี้ยและระดับราคาสินคาวัสดุกอสราง เริ่มปรับตัวสูงขึ้น ในขณะที่มาตรการลดหยอนตาง ๆ ของภาครัฐ เชน คาธรรมเนียมการโอน การจดจํานอง และภาษีธุรกิจของ รัฐบาลหมดไปแลวในเดือนมิถุนายน 2553 โดยการกอสรางที่อยูอาศัยขยายตัวรอยละ 2.8 ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัว รอยละ 3.2 ในขณะที่อาคารเพื่อการพาณิชยและอาคารโรงงานขยายตัวรอยละ 4.8 และรอยละ 11.7 ตามลําดับ ➥ ในป 2554 การลงทุนภาคเอกชนทีแ ่ ทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 11.3 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 10.8-11.8) ตอเนื่องจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 13.8 โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจาก 1) การเรงตัวขึ้นอยางมากของ การลงทุนภาคเอกชนในครึง่ แรกของป 2554 ทีข่ ยายตัวสูงถึงรอยละ 10.5 2) ความเชือ่ มัน่ ของภาคธุรกิจทีย่ งั อยูใ นเกณฑดี คาดวา จะสงผลใหผปู ระกอบการลงทุนเพิม่ ขึน้ เพือ่ ขยายกําลังการผลิตใหสามารถรองรับความตองการสินคาทีเ่ พิม่ ขึน้ ได และ 3) นโยบาย ภาครัฐที่กระตุนการลงทุนอยางตอเนื่อง เชน โครงการบานหลังแรก รถยนตคันแรก จะมีสวนชวยสนับสนุนการบริโภคการลงทุน ภาคเอกชนในชวงที่เหลือของป 2554 ทั้งนี้ จากขอมูลเชิงประจักษพบวาในชวง 8 เดือนแรกป 2554 การลงทุนภาคเอกชนยังคง ขยายตัวไดในเกณฑดี สะทอนจากเครือ่ งชีเ้ ศรษฐกิจดานการลงทุน เชน ปริมาณการนําเขาสินคาทุนหักรายการพิเศษ (เครือ่ งบิน เรือ รถไฟ) ขยายตัวทีร่ อ ยละ 13.2 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สอดคลองกับปริมาณการจําหนายรถยนตเชิงพาณิชย ที่ยังขยายตัวตอเนื่องที่รอยละ 16.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา สะทอนถึงการลงทุนภาคเอกชนในหมวดเครื่องมือ เครื่องจักรมีการฟนตัวตอเนื่อง ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนในหมวดการกอสรางที่วัดจากเครื่องชี้เศรษฐกิจ เชน ปริมาณ การจําหนายเหล็กและปูนซีเมนต ขยายตัวตอเนื่องที่รอยละ 13.9 และรอยละ 2.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ตามลําดับ ตามการฟน ตัวอยางแข็งแกรงของอุปสงคในประเทศในชวงครึง่ แรกป 2554 อยางไรก็ตาม ในชวงครึง่ หลังของป 2554 การลงทุนภาคเอกชนตองเผชิญกับปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบตอการลงทุนภาคเอกชน ไดแก 1) อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโนม ปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งจะเปนการเพิ่มตนทุนของการลงทุนภาคเอกชน 2) ทิศทางคาเงินบาทที่มีแนวโนมแข็งคา จะเปนปจจัยกดดัน การสงออกสินคาของไทยและสงผลตอเนื่องตอการลงทุนได 3) ตนทุนการผลิต โดยเฉพาะราคานํ้ามันและราคาวัสดุกอสราง ที่ยังคงอยูในระดับสูง และ 4) ปญหาภัยพิบัติจากธรรมชาติที่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยอาจตองเผชิญมากขึ้นในป 2554 จะเปน ปจจัยกดดันตอการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะสงผลกระทบตอเนื่องตอการลงทุนใหมในประเทศ และการลงทุนโดยตรงจาก ตางประเทศ เนื่องจากตองจัดสรรเงินทุนเพื่อซอมแซมทรัพยสินและสิ่งปลูกสรางที่ไดรับความเสียหายจากภัยพิบัติตาง ๆ ➥ ในป 2555 การลงทุนภาคเอกชนทีแ ่ ทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 10.9 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 9.9-11.9) ตอเนื่องจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 13.8 โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจาก 1) อุปสงคภายในประเทศและ ตางประเทศทีอ่ ยูใ นเกณฑดี ซึง่ คาดวาจะสงผลใหภาคธุรกิจมีความเชือ่ มัน่ มากขึน้ และสนับสนุนใหการลงทุนของเอกชนขยายตัว เพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ ง ในขณะทีแ่ รงสนับสนุนจากเศรษฐกิจโลกทีม่ แี นวโนมวาจะเริม่ ฟน ตัวขึน้ ตามลําดับ โดยไดรบั อานิสงสจากการฟน ตัว ของเศรษฐกิจญี่ปุนภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ และการขยายตัวในระดับสูงของเศรษฐกิจคูคาหลักอยางจีนและอินเดีย คาดวาจะสงผลใหการสงออกสินคาและบริการในป 2555 ยังคงขยายตัวตอเนื่อง และ 3) นโยบายภาครัฐที่กระตุนการลงทุน อยางตอเนื่องจากป 2554 โดยเฉพาะโครงการบานหลังแรก รถยนตคันแรก และมาตรการลดภาษีนิติบุคคลจากรอยละ 30 เหลือรอยละ 26 ในป 2555 และรอยละ 20 ในป 2556 คาดวาจะเปนปจจัยหลักในการชวยสนับสนุนการลงทุนภาคเอกชน ในป 2555 ตอไป 1.2.2 การลงทุนภาครัฐที่แทจริง ➥ การลงทุนภาครัฐทีแ ่ ทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 หดตัวรอยละ -9.9 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น หดตัวลงจากไตรมาสกอนหนาที่หดตัวรอยละ -1.4 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบวาหดตัวรอยละ -8.1 จากไตรมาส กอนหนา ทําใหในชวงครึง่ ปแรกของป 2554 หดตัวรอยละ -5.9 โดยปจจัยหลักมาจากยอดการเบิกจายงบลงทุนหดตัวรอยละ -5.1

34

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


และการเบิกจายงบลงทุนของรัฐบาลทองถิน่ ทีห่ ดตัวกวารอยละ -35.2 ทัง้ นี้ การลงทุนของภาครัฐทีแ่ ทจริงสามารถแบงออกไดเปน 1) การลงทุนในหมวดกอสราง หดตัวรอยละ -19.9 หดตัวลดลงจากไตรมาสกอนหนาที่หดตัวรอยละ -8.8 ปจจัยหลักมาจาก การกอสรางของรัฐบาลกลางและองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่หดตัวรอยละ -28.3 ขณะที่การลงทุนในดานการกอสราง ของรัฐวิสาหกิจขยายตัวรอยละ 2.0 สวนหนึ่งเปนโครงการตอเนื่องของการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย การรถไฟ แหงประเทศไทย การเคหะแหงชาติ เปนตน และ 2) การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร ขยายตัวรอยละ 19.0 ขยายตัว ตอเนื่องจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 13.9 จากการเรงรัดการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ขยายตัวรอยละ 48.1 ตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 22.1 โดยในไตรมาสที่ 2 ป 2554 มีการนําเขาเครื่องบินเพื่อการพาณิชย ของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) จํานวน 3 ลํา มูลคา 12,018 ลานบาท ขณะที่รัฐบาลกลางและองคกรปกครอง สวนทองถิ่นหดตัวรอยละ -5.0 ภาพที่ 20 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐที่แทจริง

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 การลงทุนภาครัฐที่แทจริงคาดวาจะหดตัวรอยละ -1.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ -1.9

ถึง -0.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) หดตัวชะลอลงจากป 2554 ที่หดตัวรอยละ -2.2 เนื่องจากความลาชา ในการจัดทํางบประมาณประจําปงบประมาณ 2555 ที่จะสงผลใหการเบิกจายงบลงทุนในไตรมาสที่ 4 ของป 2554 ชะลอ ลง ประกอบกับงบประมาณรายจายลงทุนในปงบประมาณ 2554 ที่มีวงเงินงบประมาณลงทุนจํานวน 355.5 พันลานบาท (รวมงบเพิ่มเติมในสวนของงบลงทุนที่ใชในการฟนฟูภัยพิบัติ และเงินอุดหนุนให อปท. จํานวน 15.8 พันลานลานบาท) เพิ่มขึ้น จากปงบประมาณ 2553 ที่มีวงเงินงบประมาณลงทุนจํานวน 214.4 พันลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 65.8 ทําใหคาดวารัฐบาล จะสามารถเรงรัดการเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุนใหไดรอยละ 72.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน รวมถึง การเบิกจายงบลงทุนจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่คาดวาในปงบประมาณ 2554 สามารถเบิกจายไดจํานวน 56.0 พันลานบาท ทั้งนี้ ในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รายจายลงทุนของรัฐบาลสามารถเบิกจายไดจํานวน 231.0 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 64.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน (รวมงบเพิม่ เติม) และการเบิกจาย จากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สามารถเบิกจายไดจํานวน 54.8 พันลานบาท และมีการเบิกจายสะสมตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนกันยายน 2552–สิงหาคม 2554) จํานวนทั้งสิ้น 289.2 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 82.6 ของกรอบวงเงิน 350.0 พันลานบาท ➥ ในป 2555 การลงทุนของภาครัฐที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 5.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 4.5-6.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) เพิ่มขึ้นจากป 2554 โดยมีปจจัยหลัก มาจากฐานตํา่ ของชวงเดียวกันของปกอ น ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายการกอสรางโครงสรางพืน้ ฐาน ภายใตยทุ ธศาสตรการสราง ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน ประกอบกับการจัดสรรงบประมาณรายจายใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่นในปงบประมาณ 2555 โดยรัฐบาลไดจัดสรรอุดหนุนแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 223.2 พันลานบาท ประมาณการเศรษฐกิจไทย

35


หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 24.1 ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2555 รัฐบาลไดตั้งวงเงินงบประมาณรายจายลงทุนจํานวน 354.4 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 16.5 ของกรอบวงเงินงบประมาณ ขณะทีง่ บลงทุนภายใตแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขมแข็ง 2555 ในปงบประมาณ 2555 คาดวาจะสามารถเบิกจายไดภายในชวงคาดการณจํานวน 45.3–59.2 พันลานบาท 1.3 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการที่แทจริง ➥ ปริมาณการสงออกสินคาและบริการทีแ ่ ทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 11.8 เมือ่ เทียบกับ

ชวงเดียวกันของปกอนหนา ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัวรอยละ 16.0 ผลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ โลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาที่ถูกสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ S&P ลดอันดับความนาเชื่อถือจาก AAA เปน AA+ จาก ความกังวลเรื่องหนี้สาธารณะและความขัดแยงทางการเมืองเกี่ยวกับการปรับเพิ่มเพดานหนี้ ซึ่งเปนการลดอันดับครั้งแรก ในรอบ 70 ป และสหภาพยุโรปที่ประสบปญหาหนี้สาธารณะเชนเดียวกัน ประกอบกับเริ่มไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติ ในญี่ปุน โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแลวพบวา ปริมาณการสงออกสินคาและบริการหดตัวรอยละ -1.0 ลดลงจากไตรมาสกอน ดานมิติสินคาพบวา ปริมาณการสงออกสินคาขยายตัวชะลอลงที่รอยละ 9.2 สะทอนจากปริมาณการสงออกของผลิตภัณฑ ยานยนตทหี่ ดตัวรอยละ -12.1 จากการขาดแคลนชิน้ สวนในการผลิตเนือ่ งจากภัยพิบตั ใิ นญีป่ นุ แตยงั คงไดรบั อานิสงสจากปริมาณ การสงออกสินคาเกษตรกรรม อุตสาหกรรมเกษตร และสินคาแรและเชื้อเพลิง ที่ขยายตัวเรงขึ้นจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 รอยละ 33.8 รอยละ 21.2 และรอยละ 18.4 ตามลําดับ รวมถึงสินคาในหมวดอิเล็กทรอนิกสที่เริ่มกลับมาขยายตัวดีขึ้นจากไตรมาส กอนหนาที่สงสัญญาณชะลอลงมาก เมื่อพิจารณารายตลาดพบวา การสงออกไปยังตลาดหลัก ไดแก สหรัฐอเมริกา สหภาพ ยุโรป มีสัญญาณการชะลอตัวลงอยางเห็นไดชัด สวนจีนยังคงขยายตัวดีตอเนื่อง ในขณะที่ญี่ปุนขยายตัวเรงขึ้นจากไตรมาส กอนหนาจากสินคายางพารา อาหารทะเลกระปองและแปรรูป และเครื่องจักรกล เพื่อใชฟนฟูประเทศใหกลับเขาสูภาวะปกติ โดยเร็ว สําหรับตลาดอาเซียนขยายตัวเรงขึ้นจากนํ้ามันสําเร็จรูป ยางพารา และแผงวงจรไฟฟา สวนการสงออกบริการขยายตัว เรงขึ้นรอยละ 28.5 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 6.4 เริ่มฟนตัวอยางตอเนื่องจากกลุมเอเชียตะวันออก ที่ขยายตัวไดดี ภาพที่ 21 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการสงออกสินคาและบริการ

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 13.2 (โดยมีชวงคาดการณ

ที่รอยละ 12.7-13.7) ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา แตคาดวาจะยังคงขยายตัวอยูในระดับสูง เนื่องจากการขยายตัวของ การสงออกสินคาและบริการที่สูงเกินคาดในชวงครึ่งปแรก อยางไรก็ตาม ความไมแนนอนของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก จากปญหาภาคอสังหาริมทรัพยและการจางงานในสหรัฐอเมริกา และปญหาหนี้สาธารณะในกลุมประเทศยุโรป ยังคงเปน ปจจัยเสี่ยงสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกที่อาจชะลอตัวลงมากกวาที่คาด ซึ่งอาจสงผลใหปริมาณการสงออกสินคาและบริการ ในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน

36

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


➥ ในป 2555 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 5.5 (โดยมีชวงคาดการณ

ที่รอยละ 4.5-6.5) เนื่องมาจากปจจัยฐานสูงในปกอน ประกอบกับคาดวาอุปสงคตางประเทศจะยังคงไดรับความเสี่ยงจาก การเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยจากกลุมประเทศพัฒนาแลว ทําใหการสงออกสินคาและบริการในป 2555 คาดวาจะขยายตัว ชะลอลงจากปกอ น อยางไรก็ตาม ยังคงไดรบั ปจจัยบวกจากการฟน ตัวของเศรษฐกิจประเทศญีป่ นุ ทีค่ าดวาจะฟน ตัวไดในป 2555 1.4 ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการที่แทจริง ➥ ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการทีแ ่ ทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 14.9 เมือ่ เทียบกับ

ชวงเดียวกันของปกอนหนา ชะลอลงจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 16.8 ทั้งนี้ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแลว พบวา ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการขยายตัวชะลอลงเชนกันจากไตรมาสกอนหนาที่รอยละ 2.4 เนื่องจากการหดตัว ของปริมาณการนําเขาสินคาหมวดยานยนตที่หดตัวรอยละ -3.1 ลดลงจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 22.9 ซึ่งไดรับ ผลกระทบจากภัยพิบัติในประเทศญี่ปุนที่เริ่มสงผลกระทบในไตรมาสนี้ ประกอบกับมีการชะลอตัวลงของปริมาณการนําเขา สินคาหมวดหลักอื่น ๆ ไดแก ปริมาณการนําเขาสินคาเชื้อเพลิงที่ขยายตัวชะลอลงที่รอยละ 0.8 จากไตรมาสกอนที่ขยายตัว รอยละ 13.7 ปริมาณการนําเขาสินคาทุนขยายตัวชะลอลงรอยละ 14.5 และปริมาณการนําเขาสินคาอุปโภคบริโภคขยายตัว ชะลอลงที่รอยละ 11.9 อยางไรก็ตาม ปริมาณการนําเขาสินคาวัตถุดิบขยายตัวเรงขึ้นที่รอยละ 26.5 จากการนําเขาทองคําที่สูง เนื่องจากการเก็งกําไร ในขณะที่การนําเขาบริการที่แทจริงหดตัวที่รอยละ -3.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ลดลง จากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 6.1 ภาพที่ 22 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการนําเขาสินคาและบริการ

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 15.0 (โดยมีชวงคาดการณ

ที่รอยละ 14.5-15.5) ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา สาเหตุสวนใหญมาจากราคานํ้ามันดิบที่ยังคงอยูในระดับสูง อีกทั้งยังคง ไดรับผลกระทบจากเหตุการณภัยพิบัติในญี่ปุนที่สงผลกระทบอยางตอเนื่อง เนื่องจากญี่ปุนเปนแหลงนําเขาหลักของไทย ทําให การนําเขาสินคาจากญี่ปุนชะลอลงอยางมาก สงผลใหภาคการผลิตในประเทศชะลอลง ประกอบกับคาเงินบาทที่มีแนวโนม ออนคาลงตอเนื่อง คาดวาจะสงผลใหราคาสินคานําเขาในรูปเงินบาทสูงขึ้น ซึ่งจะเปนปจจัยทําใหมีการนําเขาสินคาลดลง

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

37


➥ ในป 2555 ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 10.3 (โดยมีชวงคาดการณ

ที่รอยละ 9.3-11.3) ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา อันเนื่องมาจากมีการเรงนําเขาในป 2554 ทําใหเกิดปจจัยฐานสูง ประกอบกับคาดวาในป 2555 ราคานํ้ามันดิบจะยังคงทรงตัวในระดับสูง อาจสงผลใหปริมาณการนําเขาสินคาและบริการ ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา

2. ดานการคาระหวางประเทศ 2.1 มูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ มูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ 155.4 พันลานดอลลาร

สหรัฐ คิดเปนการขยายตัวรอยละ 25.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัว รอยละ 19.2 และเมื่อหักผลของการสงออกทองคําออกพบวา มูลคาการสงออกในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวรอยละ 26.4 ทั้งนี้ การขยายตัวของมูลคาการสงออกสินคามีการเรงตัวขึ้นในหมวดสินคาเครื่องใชไฟฟา และหมวดยานพาหนะจาก การฟนตัวเขาสูสถานการณปกติหลังจากประสบภัยพิบัติสึนามิในไตรมาสที่ 2 ป 2554 รวมทั้งการสงออกทองคําของนักลงทุน เปนจํานวนมากเพือ่ เก็งกําไรในชวงเศรษฐกิจโลกผันผวน ในขณะทีส่ นิ คาหมวดเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการเกษตร สินคาเชือ้ เพลิง และอิเล็กทรอนิกสขยายตัวในระดับที่สูง แตมีแนวโนมชะลอลง และหากพิจารณาเปนรายตลาดพบวา มูลคาการสงออก สินคาขยายตัวไดดีในเกือบทุกตลาด ยกเวนทวีปออสเตรเลียและประเทศฟลิปปนสที่ยังคงหดตัว โดยการสงออกไปยังจีน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุน ขยายตัวรอยละ 34.7 รอยละ 15.4 รอยละ 24.5 และรอยละ 30.7 ตอป ตามลําดับ อีกทั้ง การสงออกไปยังตลาดภูมิภาค โดยเฉพาะตลาดอาเซียน-5 ขยายตัวเรงขึ้นที่รอยละ 25.0 ในขณะที่ทวีปออสเตรเลียและประเทศ ฟลิปปนสหดตัวที่รอยละ -7.2 และรอยละ -5.5 ตอป ตามลําดับ ภาพที่ 23 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 สศค.คาดวามูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะยังคงขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ

22.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 21.8-22.8) ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 28.5 ตอป เนื่องจากการขยายตัว ของการสงออกสินคาและบริการทีส่ งู เกินคาดในชวงครึง่ แรกของป โดยขยายตัวสูงถึงรอยละ 13.9 อยางไรก็ตาม ความเปราะบาง ของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจากภาวะการจางงานในสหรัฐอเมริกาทีย่ งั คงอยูใ นระดับสูง และปญหาหนีส้ าธารณะในกลุม ประเทศยุโรปยังคงเปนปจจัยเสีย่ งสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกทีอ่ าจชะลอตัวลงกวาทีค่ าด และสงผลกระทบใหภาคการสงออก สินคาและบริการในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน

38

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


➥ ในป 2555 สศค.คาดวามูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวที่รอยละ 13.7 (โดยมี

ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 12.7-14.7) ชะลอตัวลงจากป 2554 เนือ่ งจากปจจัยฐานทีส่ งู ในป 2553 อยางไรก็ตาม คาดวาการสงออก ในป 2555 จะยังคงเติบโตไดอยางตอเนื่อง โดยไดรับแรงสนับสนุนจากเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโนมวาจะเริ่มฟนตัวขึ้นตามลําดับ และไดรับอานิสงสจากการฟนตัวของเศรษฐกิจญี่ปุนภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ 2.2 มูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ มูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ 134.9 พันลานดอลลาร

สหรัฐ คิดเปนการขยายตัวรอยละ 28.1 ตอป โดยไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวรอยละ 28.0 ตอป ซึ่งเปนผลจากอุปสงค ภายในประเทศทีแ่ ข็งแกรง โดยการนําเขาสินคาในหมวดสินคาอุปโภคบริโภค สินคาวัตถุดบิ สินคาทุน และยานพาหนะขยายตัว รอยละ 23.5 รอยละ 24.4 รอยละ 26.9 และรอยละ 27.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ตามลําดับ ประกอบกับ การนําเขาสินคาเชื้อเพลิงยังคงขยายตัวในระดับสูงถึงรอยละ 47.8 ตามราคานํ้ามันดิบในตลาดโลกที่ยังทรงตัวในระดับสูง ทั้งนี้ หากหักนํ้ามันดิบซึ่งมีความผันผวนแลว มูลคานําเขาสินคาในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 จะขยายตัวรอยละ 25.3 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอนหนา

ภาพที่ 24 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 สศค.คาดวามูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวที่รอยละ 26.6 (โดยมี

ชวงคาดการณที่รอยละ 26.1-27.1) ชะลอตัวลงจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 36.8 โดยมีสาเหตุสําคัญมาจากตนทุน การผลิตที่สูงขึ้น ทําใหความตองการการนําเขาสินคาวัตถุดิบและสินคาทุนชะลอลง ➥ ในป 2555 สศค.คาดวามูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวที่รอยละ 15.8 (โดยมี ชวงคาดการณที่รอยละ 14.8-16.8) ชะลอลงจากปกอน อันมีสาเหตุสําคัญมาจากการเรงปริมาณการนําเขาในป 2554 ประกอบกับราคาสินคาโภคภัณฑและเชื้อเพลิงที่อาจจะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงเมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งสงผลใหมูลคา การนําเขาในป 2555 ไมเรงตัวมากนัก

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

39


2.3 ดุลการคา ➥ ดุลการคาในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 เกินดุล 20.5 พันลานดอลลารสหรัฐ เพิม ่ ขึน้ จากชวง 8 เดือนแรก

ของป 2553 ที่เกินดุล 18.5 พันลานดอลลารสหรัฐ อันเปนผลมาจากมูลคาการสงออกสินคาที่สูงกวามูลคาการนําเขาสินคา โดยมูลคาการสงออกสินคาอยูท ี่ 155.4 พันลานดอลลารสหรัฐ ในขณะทีม่ ลู คาการนําเขาสินคาอยูท ี่ 134.9 พันลานดอลลารสหรัฐ

ภาพที่ 25 ประมาณการดุลการคา

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 คาดวาดุลการคาจะเกินดุล 9.5 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 8.5-10.5

พันลานดอลลารสหรัฐ) ลดลงจากป 2553 โดยเปนผลจากแนวโนมอุปสงคจากตางประเทศชะลอลงตามการฟน ตัวของเศรษฐกิจ โลกที่ยังคงเปราะบาง และราคาสินคานําเขาในตลาดโลกที่ทรงตัวในระดับสูง อยางไรก็ตาม การเติบโตของเศรษฐกิจคูคาใหม โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย คาดวาจะทําใหการสงออกสินคาของไทยขยายตัวไดดีและยังคงมีมูลคาสูงกวาการนําเขาสินคา ➥ ในป 2555 คาดวาดุลการคาจะเกินดุล 6.0 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 5.0-7.0 พันลานดอลลารสหรัฐ) ซึง่ เปนการเกินดุลลดลงจากปกอ นหนา ตามมูลคาสินคานําเขาทีค่ าดวาจะขยายตัวในอัตราเรงกวา มูลคาสินคาสงออก เนือ่ งจากการนําเขาสินคาทุนและเครือ่ งจักรทีม่ แี นวโนมเพิม่ ขึน้ ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2555

3. ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด ➥ ดุลบัญชีเดินสะพัดในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 เกินดุล 10.0 พันลานดอลลารสหรัฐ เพิ่มขึ้น

จากชวง 8 เดือนแรกของป 2553 ที่เกินดุล 5.7 พันลานดอลลารสหรัฐ โดยดุลการคาตามระบบดุลการชําระเงินเกินดุล 20.5 พันลานดอลลารสหรัฐ จากการสงออกทีย่ งั ขยายตัวในระดับสูง และดุลบริการ รายไดปฐมภูมิ และรายไดทตุ ยิ ภูมขิ าดดุลสูง ที่ -10.5 พันลานดอลลารสหรัฐ จากเงินบริการจาย โดยเฉพาะคาระวางสินคาและคาขนสงทีป่ รับตัวสูงขึน้ ตามการนําเขาทีส่ งู ขึน้

40

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 26 ประมาณการดุลบัญชีเดินสะพัด

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาจะเกินดุล 13.5 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่

12.1-13.9 พันลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณรอยละ 3.5-4.0 ของ GDP) ลดลงเล็กนอยจากป 2553 โดยเปนผลจาก ดุลการคาทีค่ าดวาจะปรับตัวลดลงตามการนําเขาสินคาทีข่ ยายตัวสูงขึน้ สวนหนึง่ จากราคานํา้ มันดิบในตลาดโลกทีป่ รับตัวสูงขึน้ ขณะที่ดุลบริการ เงินโอน และเงินบริจาค คาดวาจะเกินดุลเล็กนอย ตามรายรับจากภาคบริการที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ➥ ในป 2555 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาจะเกินดุล 9.0 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 6.9-10.9 พันลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณรอยละ 1.8-2.8 ของ GDP) ลดลงเล็กนอยจากป 2554 ตามการนําเขาสินคา ที่ขยายตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะการนําเขาสินคาวัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรูป สินคาทุน และสินคาอุปโภคบริโภค ซึ่งคาดวาจะขยายตัว ดีขึ้นตามการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวดี 3.2 เงินเฟอ ➥ อัตราเงินเฟอทั่วไปในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 อยูที่รอยละ 3.8 ขยายตัวเรงขึ้นมากจากชวง

9 เดือนแรกของป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 3.4 อันเปนผลจาก 1) ราคาอาหารสําเร็จรูปปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากตนทุน วัตถุดิบและเครื่องประกอบอาหารที่เรงตัวสูงขึ้น 2) ราคาสินคาในหมวดยานพาหนะและเชื้อเพลิงปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากราคา นํา้ มันดิบในตลาดโลกยังคงอยูใ นระดับสูงเมือ่ เทียบกับปกอ นหนา และ 3) ราคาสินคาเกษตรทีป่ รับตัวสูงขึน้ จากปกอ น เนือ่ งจาก ความแปรปรวนของสภาพอากาศและเหตุการณนํ้าทวม ขณะที่อัตราเงินเฟอพื้นฐานในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ รอยละ 2.9

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

41


ภาพที่ 27 ประมาณการอัตราเงินเฟอทั่วไป

ที่มา : สศค.

➥ ในป 2554 คาดวาอัตราเงินเฟอทัว่ ไปจะปรับตัวเพิม ่ ขึน้ จากปกอ นมาอยูท รี่ อ ยละ 3.8 (โดยมีชว งคาดการณ

ที่รอยละ 3.6-4.1) เนื่องจากผลของ 1) ราคาอาหารสําเร็จรูปที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากตนทุนวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ปรับตัวสูงขึ้น 2) ราคานํ้ามันดิบในตลาดโลกยังคงอยูในระดับสูง 3) ราคาสินคาเกษตรจําพวกเนื้อสัตว ผัก และผลไม ที่คาด วาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสภาพอากาศที่ไมเอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโต ประกอบกับผลผลิตเสียหายจากเหตุการณนํ้าทวม ซึ่งจะสงผลตอเนื่องทําใหราคาสินคาในหมวดอาหารอาจปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่อัตราเงินเฟอพื้นฐานที่ไมรวมราคาสินคาในหมวด พลังงานและอาหารสดคาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากป 2553 มาอยูที่รอยละ 2.5 (ชวงคาดการณที่รอยละ 2.3–2.8 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน) ➥ ในป 2555 คาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปจะปรับตัวชะลอลงจากปกอนมาอยูที่รอยละ 3.3 (โดยมี ชวงคาดการณที่รอยละ 2.8-3.8) โดยคาดวาราคานํ้ามันในตลาดโลกจะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากป 2554 อยางไรก็ดี ราคาสินคาเกษตรโดยเฉพาะราคาขาวจะปรับตัวสูงขึน้ จากมาตรการรับจํานําขาวของรัฐบาล นอกจากนี้ ราคาสินคาทีใ่ ชแรงงาน ในการผลิตอาจปรับตัวสูงขึ้นจากมาตรการคาแรงขั้นตํ่า 300 บาท ขณะที่อัตราเงินเฟอพื้นฐานที่ไมรวมราคาสินคาในหมวด พลังงานและอาหารสดคาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยูที่รอยละ 2.3 (ชวงคาดการณที่รอยละ 1.8-2.8) ขยายตัวชะลอลงจาก ปกอนหนา

42

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาคการคลัง รายงานสรุปสถานการณดานการคลัง ในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 บทสรุปผูบริหาร ในป ง บประมาณ 2554 รั ฐ บาลได จั ด ทํ า งบประมาณแบบขาดดุ ล (Expansionary Fiscal Policy) เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยมีกรอบวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,070.0 พันลานบาท และประมาณการรายไดจํานวน 1,650.0 พันลานบาท สงผลใหมีการขาดดุลงบประมาณจํานวน -420.0 พันลานบาท รวมถึง การจัดทําโครงการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่ตอเนื่องจากปงบประมาณ 2553 วงเงินจํานวน 350.0 พันลานบาท นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดมีการจัดทํางบประมาณเพิ่มเติมอีกจํานวน 99.9 พันลานบาท โดยเปนการชดใชเงินคงคลังจํานวน 84.1 พันลานบาท และเพื่อการฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) จํานวน 15.8 พันลานบาท ทําให กรอบประมาณการตามเอกสารงบประมาณรวมงบเพิ่มเติมในสวนงบประมาณรายจายเพิ่มขึ้นเปน 2,170.0 พันลานบาท นอกจากนี้ ไดมีการปรับประมาณการการจัดเก็บรายไดเพิ่มขึ้นอีกจํานวน 120.0 พันลานบาท เปน 1,770.0 พันลานบาท ทําให มีการขาดดุลงบประมาณจํานวน -400.0 พันลานบาท ❍ สถานการณดานการคลังลาสุดพบวา ในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายไดสุทธิ (หลังหักจัดสรรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.)) จํานวนทั้งสิ้น 1,788.7 พันลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสาร งบประมาณ 288.5 พันลานบาทหรือรอยละ 14.6 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 178.1 พันลานบาทหรือรอยละ 11.1 ซึ่งการจัดเก็บรายไดที่สูงกวาประมาณการฯ นี้ เปนผลมาจากการจัดเก็บภาษีที่สูงกวาประมาณการของ (1) กรมสรรพากร โดยเฉพาะจากภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล ภาษีมลู คาเพิม่ และภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา (2) กรมสรรพสามิต โดยเฉพาะจากภาษีรถยนต ภาษีสุรา และภาษียาสูบ (3) กรมศุลกากร จากอากรขาเขา และ (4) การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ เปนสําคัญ ❍ สําหรับผลการเบิกจายงบประมาณของรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลเบิกจาย เงินงบประมาณมีจํานวนทั้งสิ้น 1,984.5 พันลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนหนาจํานวน 392.8 พันลานบาทหรือ รอยละ 24.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ทัง้ นี้ การเบิกจายงบประมาณประจําปประกอบดวย (1) รายจายของปงบประมาณ ปจจุบนั จํานวน 1,865.9 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 29.1 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 86.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณประจําป 2554 (2,170.0 พันลานบาท) และ (2) รายจายเหลื่อมปเบิกจายไดจํานวน 118.6 พันลานบาท หดตัวรอยละ -18.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน นอกจากนี้ รัฐบาลไดมีการเบิกจายงบประมาณจาก แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 แลวจํานวน 289.2 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 82.6 ของกรอบวงเงินลงทุนจํานวน 350.0 พันลานบาท (สะสม ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554) ❍ ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาล ขาดดุลเงินงบประมาณจํานวน -365.7 พันลานบาท และเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุลจํานวน 59.0 พันลานบาท สงผลใหดุลเงินสด (กอนกู) ขาดดุลจํานวน -306.8 พันลานบาท และทําใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวน ทั้งสิ้น 289.2 พันลานบาท ❍ สําหรับหนีส ้ าธารณะคงคาง ณ สิน้ เดือนสิงหาคม 2554 มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 4,269.0 พันลานบาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 40.22 ของ GDP ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2554 จํานวน -11.0 พันลานบาท ซึ่งเปนการลดลงจากหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง ซึง่ ลดลงสุทธิ -6.2 พันลานบาท โดยรายการทีส่ าํ คัญเกิดจากการไถถอนเงินกูร ะยะสัน้ จํานวน 20.0 พันลานบาท ทัง้ นี้ หนีส้ าธารณะ คงคางจําแนกไดเปน (1) หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง (2) หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (3) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบัน การเงิน และ (4) หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

43


ปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดดําเนินนโยบายการคลังแบบผอนคลาย (Expansionary Fiscal Policy) เพื่อเปน การกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศใหสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่อง รวมถึงการดําเนินการแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 ตอเนื่องจากปงบประมาณ 2552 และ 2553 ภายใตกรอบวงเงินลงทุน 350.0 พันลานบาท ที่ถือเปน การใชจา ยเงินนอกงบประมาณ (Extra Budgetary Expenditure) ภายในปปฏิทนิ 2554 เพือ่ เปนการเรงรัดการลงทุนภายใน ประเทศโดยเฉพาะการลงทุนในโครงสรางสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน และเปนการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศ

1. สรุปผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553-สิงหาคม 2554) ผลการจั ด เก็ บ รายได สุ ท ธิ ข องรั ฐ บาลในช ว ง 11 เดื อ นแรกของป ง บประมาณ 2554 รั ฐ บาลจั ด เก็ บ รายได สุ ท ธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) จํานวน 1,788.7 พันลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 228.5 พันลานบาท หรือรอยละ 14.6 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 178.1 พันลานบาทหรือรอยละ 11.1 ตอป ทั้งนี้ รายไดของรัฐบาลจาก 3 กรมจัดเก็บ (กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร) มีจํานวนทั้งสิ้น 1,885.1 พันลานบาท สูงกวาประมาณการ ตามเอกสารงบประมาณ 225.0 พันลานบาทหรือรอยละ 13.6 และสูงกวาปงบประมาณกอนหนา 238.4 พันลานบาทหรือ รอยละ 14.5 ตอป โดยมีรายละเอียดการจัดเก็บรายไดรัฐบาลที่สําคัญ ดังนี้ ❍ กรมสรรพากรจัดเก็บรายไดจา ํ นวน 1,423.1 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 199.8 พันลานบาท หรือรอยละ 16.3 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น 239.1 พันลานบาทหรือรอยละ 20.2 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอ น โดยมีรายละเอียดของภาษีทสี่ าํ คัญ ดังนี้ (1) ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลจัดเก็บได 554.6 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 139.0 พันลานบาทหรือรอยละ 33.5 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 117.6 พันลานบาทหรือรอยละ 26.9 ตอป สะทอนภาวะ เศรษฐกิจที่ขยายตัวไดดีในชวงที่ผานมา (2) ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บได 528.0 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 37.7 พันลานบาทหรือรอยละ 7.7 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 68.2 พันลานบาทหรือรอยละ 14.8 ตอป สะทอนการบริโภค ภายในประเทศและการนําเขาทีข่ ยายตัวไดดตี ามภาวะเศรษฐกิจ และ (3) ภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดาจัดเก็บได 217.6 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 17.5 พันลานบาทหรือรอยละ 8.7 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 24.9 พันลานบาทหรือรอยละ 12.9 ตอป เนื่องจากการจัดเก็บภาษีจากฐานเงินเดือนและคาจางเก็บไดสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน ❍ กรมสรรพสามิตจัดเก็บไดจํานวน 368.3 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 12.2 พันลานบาท หรือรอยละ 3.4 แตตาํ่ กวาชวงเดียวกันของปกอ น -5.3 พันลานบาทหรือหดตัวรอยละ -1.4 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอ น โดยรายไดทจี่ ดั เก็บไดตาํ่ กวาปกอ น มีผลเนือ่ งมาจากการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตนํา้ มันดีเซลเหลือ 0.005 บาทตอลิตร ตัง้ แตวนั ที่ 21 เมษายน 2554 โดยมีรายละเอียดของภาษีทสี่ าํ คัญ ดังนี้ (1) ภาษีสรรพสามิตนํา้ มันจัดเก็บได 113.2 พันลานบาท ตํา่ กวาประมาณการรายได 26.2 พันลานบาทหรือรอยละ 18.8 และตํา่ กวาชวงเดียวกันของปกอ น 27.6 พันลานบาท หรือรอยละ 19.6 และ (2) ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บได 83.2 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 22.4 พันลานบาท หรือรอยละ 36.9 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 12.9 พันลานบาทหรือรอยละ 18.3 เปนผลจากการขยายตัวของการบริโภค ภายในประเทศ ประกอบกับอุตสาหกรรมยานยนตไดเริม่ ฟน ตัวภายหลังจากไดรบั ผลกระทบจากเหตุการณสนึ ามิทปี่ ระเทศญีป่ นุ ❍ กรมศุลกากรจัดเก็บไดจํานวน 93.6 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 13.0 พันลานบาทหรือ รอยละ 16.1 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 4.5 พันลานบาทหรือรอยละ 5.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีสาเหตุสาํ คัญจากอากรขาเขาทีจ่ ดั เก็บได 90.8 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 12.4 พันลานบาทหรือรอยละ 15.8 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น 5.1 พันลานบาทหรือรอยละ 6.0 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น สะทอนการขยายตัวของ มูลคาการนําเขาที่เพิ่มขึ้น แมจะไดรับผลกระทบจากเหตุการณภัยพิบัติในประเทศญี่ปุน

44

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 ประมาณการรายได

1. กรมสรรพากร - ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา - ภาษีเงินไดนิติบุคคล - ภาษีเงินไดปโตรเลียม - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีธุรกิจเฉพาะ - อื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต - ภาษีนํ้ามัน - ภาษียาสูบ - ภาษีสุราฯ - ภาษีเบียร - ภาษีรถยนต - อื่น ๆ 3. กรมศุลกากร - อากรขาเขา - อากรขาออก - อื่น ๆ รวมรายได 3 กรมภาษี 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น รวมรายไดจัดเก็บ รายไดสุทธิรัฐบาล (หลังการจัดสรรให อปท.)

(หนวย : ลานบาท)

ปมก. ตามเอกสาร เปรียบเทียบกับ ปนี้ ปที่แลว งปม. 1,650,000 ปกอน ประมาณการ (ต.ค. 53-ส.ค. 54) (ต.ค. 52-ส.ค. 53) ประมาณการ ลานบาท (รอยละ) (รอยละ)

1,423,097 217,600 554,569 81,425 528,015 32,093 9,394 368,342 113,163 51,569 44,569 55,956 83,200 19,885 93,613 90,828 212 2,573 1,885,052 88,304 100,847 2,074,407

1,183,977 192,724 436,986 66,135 459,801 20,148 8,183 373,602 140,818 49,149 38,852 54,736 70,306 19,734 89,110 85,679 149 3,282 1,646,690 82,209 138,810 1,867,709

1,223,266 200,128 415,527 88,353 490,337 21,002 7,919 356,173 139,411 47,411 38,049 53,075 60,767 17,460 80,610 78,410 90 2,110 1,660,049 76,787 88,030 1,824,866

20.2 12.9 26.9 23.1 14.8 59.3 14.8 -1.4 -19.6 4.9 14.7 2.2 18.3 0.8 5.1 6.0 42.4 -21.6 14.5 7.4 -27.3 11.1

199,830 17,472 139,043 -6,928 37,678 11,091 1,475 12,169 -26,248 4,157 6,520 2,881 22,433 2,425 13,003 12,418 122 463 225,003 11,518 12,817 249,541

16.3 8.7 33.0 -7.8 7.7 52.8 18.6 3.4 -18.8 8.8 17.1 5.4 36.9 13.9 16.1 15.8 135.8 22.0 13.6 15.0 14.6 13.7

1,788,674

1,610,601

1,560,204

11.1

228,470

14.6

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

รัฐวิสาหกิจนําสงรายไดจํานวน 88.3 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 11.5 พันลานบาท หรือรอยละ 15.0 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 6.1 พันลานบาทหรือรอยละ 7.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน สวนหนึ่งเปนผลจากการนําสงรายไดจากกําไรสุทธิป 2553 ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค และรายไดจากเงินปนผลของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ ❍ หนวยงานอืน ่ ๆ นําสงรายไดจาํ นวน 100.8 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 12.8 พันลานบาท หรือรอยละ 14.6 แตตํ่ากวาชวงเดียวกันของปกอน -37.9 พันลานบาทหรือรอยละ -27.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน เนื่องจากการจัดเก็บรายไดจากสัมปทานปโตรเลียมที่สูงกวาประมาณการ นอกจากนี้ มีเงินรับคืนจากโครงการมิยาซาวา และโครงการเงินกูเพื่อปรับโครงสรางภาคเกษตรจํานวน 1.95 พันลานบาท รวมทั้งมีเงินรายไดจากเงินกันเพื่อชดเชยการสงออก ของกรมศุลกากรสงคืนคลังจํานวน 2.11 พันลานบาท ❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

45


2. สรุปผลการเบิกจายงบประมาณในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553-สิงหาคม 2554) ผลการเบิกจายงบประมาณของรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลสามารถเบิกจายงบประมาณ ทั้งสิ้นจํานวน 1,984.5 พันลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนจํานวน 392.8 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 24.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ทัง้ นี้ ผลการเบิกจายงบประมาณประกอบดวย (1) รายจายของปงบประมาณปจจุบนั จํานวน 1,865.9 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 29.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 86.0 ของ กรอบวงเงินงบประมาณประจําป 2554 (2,170.0 พันลานบาท) ซึง่ รายจายปปจ จุบนั สามารถแบงออกไดเปน 1.1) รายจายประจํา เบิกจายไดจาํ นวน 1,634.9 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 27.4 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น หรือคิดเปนอัตราการเบิกจาย ที่รอยละ 90.1 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจํา (ประมาณ 1,813.7 พันลานบาท) และ 1.2) รายจายลงทุน เบิกจาย ไดจํานวน 231.0 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 42.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน หรือคิดเปนอัตราการเบิกจาย รอยละ 64.8 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน (356.3 พันลานบาท) และ (2) รายจายเหลือ่ มปเบิกจายไดจาํ นวน 118.6 พันลานบาท หรือหดตัวรอยละ -18.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ทั้งนี้ การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2553 สามารถเบิกจายไดถึง รอยละ 86.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณ ซึ่งเปนการเบิกจายที่สูงกวาเปาหมายในชวง 11 เดือนแรกที่ตั้งไวที่รอยละ 83.4 ของกรอบวงเงินงบประมาณ ดังนั้น ทําใหคาดวาการเบิกจายงบประมาณทั้งปงบประมาณ 2554 จะสูงกวาเปาหมายที่ตั้งไวที่ รอยละ 93.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2554 ซึ่งถือเปนสวนสําคัญของการใชนโยบายการคลัง ในการสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ตารางที่ 2 สรุปผลการเบิกจาย รายจายรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554

ประเภทรายจาย

1. รายจายกรอบ งปม. - รายจายประจํา - รายจายลงทุน 2. รายจายเหลื่อมป รายจายรวม (1+2)

(หนวย : ลานบาท)

กรอบวงเงิน ผลการเบิกจาย ผลการเบิกจาย อัตราเบิกจาย งบประมาณ ชวง 11 เดือนแรก ชวง 11 เดือนแรก อัตราการขยายตัว เทียบกับกรอบ ประจําป ของปงบประมาณ ของปงบประมาณ (รอยละ) วงเงินงบประมาณ งบประมาณ 2554 2554 2553 (1) (2) (3) (2) / (3) (2) / (1) 2,169,968 1,813,687 356,280 183,221 2,353,189

1,865,892 1,634,913 230,979 118,592 1,984,484

1,445,468 1,283,655 161,813 146,241 1,591,709

29.1 27.4 42.7 -18.9 24.7

86.0 90.4 64.0 64.7 84.3

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

นอกจากรายจายลงทุนที่จัดสรรภายใตงบประมาณสําหรับปงบประมาณ 2554 แลว รัฐบาลยังไดดําเนินการลงทุน ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 โดยสถานะการเบิกจายจากโครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สะสมถึงสิ้นเดือนสิงหาคม 2554 สามารถเบิกจายไดรวมทั้งสิ้นจํานวน 289,162 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายที่ รอยละ 82.6 ของวงเงินที่ไดรับการอนุมัติจํานวน 349,960 ลานบาท สําหรับสาขาที่มีการเบิกจายสะสมสูงสุด 3 ลําดับ คือ (1) สาขาการประกันรายไดและการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เบิกจายจํานวน 40,000 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจาย 100.0 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ (40,000 ลานบาท) (2) สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เบิกจายจํานวน 179 ลานบาท คิดเปน อัตราการเบิกจาย 96.9 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ (185 ลานบาท) และ (3) สาขาสิ่งแวดลอม เบิกจายจํานวน 664 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจาย 96.3 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ (689 ลานบาท) โดยมีรายละเอียดผลการเบิกจาย ดังนี้

46

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ตารางที่ 3 ผลการเบิกจายตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สะสม ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 วัตถุประสงค/สาขา 1 สรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงานฯ 1.1 สาขาทรัพยากรนํ้าและการเกษตร 2 ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ 2.1 สาขาขนสง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสรางพื้นฐานดานการทองเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาดานสาธารณสุข พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน 2.7 สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2.8 สาขาสิ่งแวดลอม 3 สรางศักยภาพในการหารายไดจากการทองเที่ยว 3.1 สาขาพัฒนาการทองเที่ยว 4 สรางฐานรายไดใหมของประเทศฯ 4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค 5 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูฯ 5.1 สาขาการศึกษา 6 ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาดานสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7 สรางอาชีพและรายไดเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ 7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน 8 อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด 8.1 สาขาการประกันรายได และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวม สํารองจายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหาร รวมทั้งสิ้น

วงเงินที่ไดรับอนุมัติ 59,503.3 59,503.3 74,781.1 46,586.5 174.3 0 3,281.7 14,691.5 9,172.9 185.0 689.2 5,394.3 5,394.3 1,331.6 1,331.6 51,981.4 51,981.4 1,927.7 1,927.7 106,542.1 106,542.1 40,000.0 40,000.0 341,460.4 8,500.0 349,960.4

(หนวย : ลานบาท)

ผลการเบิกจาย จํานวน รอยละ 50,323.3 84.6 50,323.3 84.6 59,217.1 79.2 43,673.0 93.7 0 0 0 0 1,368.5 41.7 6,275.4 42.7 7,057.3 76.9 179.3 96.9 663.6 96.3 2,512.4 46.6 2,512.4 46.6 1,274.1 95.8 1,274.1 95.8 37,651.3 72.4 37,651.3 72.4 860.1 44.6 860.1 44.6 93,559.1 87.8 93,559.1 87.8 40,000 100.0 40,000 100.0 285,397.2 83.6 3,764.9 44.3 289,162.1 82.6

ที่มา : รวบรวมโดย สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

3. ฐานะการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553-สิงหาคม 2554) ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลขาดดุล เงินงบประมาณจํานวน -365.7 พันลานบาท และเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุลจํานวน 59.0 พันลานบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากรายรับจากการชดใชเงินคงคลังจํานวน 114.5 พันลานบาท เงินฝากคลังของเงินกูภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 ที่คงเหลือจํานวน 52.5 พันลานบาท และมีการไถถอนตั๋วเงินคลังสุทธิจํานวน 107.0 พันลานบาท ทําให ดุลเงินสด (กอนกู) ขาดดุลจํานวน -306.8 พันลานบาท ทั้งนี้ รัฐบาลไดบริหารเงินสดใหสอดคลองกับความตองการใชเงิน รวมทั้ง สรางความมัน่ คงของฐานะการคลัง โดยการกูเ งินเพือ่ ชดเชยการขาดดุลในชวง 11 เดือนแรก จํานวน 147.5 พันลานบาท สงผลให ดุลเงินสดหลังการกูเงินขาดดุลจํานวน -159.3 พันลานบาท ทําใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 270.1 พันลานบาท ทั้งนี้ การขาดดุลการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 เปนไปตามบทบาทการใชนโยบายการคลัง เพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

47


ตารางที่ 4 ฐานะการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 11 เดือน ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2553 1. รายได 1,618,739 1,467,436 2. รายจาย 1,984,484 1,591,709 3. ดุลเงินงบประมาณ -365,745 -124,273 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ 58,956 -8,292 5. ดุลเงินสดกอนกู (3+4) -306,789 -132,565 6. เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล 147,517 232,575 7. ดุลเงินสดหลังกู (5+6) -159,272 100,010 เงินคงคลัง 270,050 393,845

(หนวย : ลานบาท)

เปรียบเทียบ

จํานวน 151,303 392,775 -241,472 67,248 -174,224 -85,058 -259,282

รอยละ 10.3 24.7 194.3 -810.9 131.4 -36.6 -259.3

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

4. หนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงคาง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 4,269.0 พันลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 40.22 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -11.0 พันลานบาท ซึ่งเปนการลดลงที่สําคัญจากหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง โดยลดลงสุทธิ -6.2 พันลานบาท รายการที่สําคัญเกิดจากการไถถอนเงินกูระยะสั้นจํานวน 20.0 พันลานบาท ทั้งนี้ หนี้สาธารณะคงคางจําแนก ไดเปน (1) หนีท้ รี่ ฐั บาลกูโ ดยตรงจํานวน 3,010.3 พันลานบาทหรือรอยละ 28.4 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -6.2 พันลานบาท (2) หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีไ่ มเปนสถาบันการเงิน 1,072.1 พันลานบาทหรือรอยละ 10.1 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -2.8 ลานบาท (3) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) 155.6 พันลานบาทหรือรอยละ 1.5 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอน หนา -2.5 พันลานบาท และ (4) หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 31.0 พันลานบาทหรือรอยละ 0.3 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนา 430.6 ลานบาท ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาสถานะของหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 พบวา อยูในระดับที่มีเสถียรภาพ กลาวคือ (1) หนี้สาธารณะสวนใหญเปนหนี้สกุลเงินบาทโดยมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 92.0 ของหนี้สาธารณะคงคาง (2) หนี้สาธารณะ สวนใหญเปนหนีร้ ะยะยาวมีสดั สวนสูงถึงรอยละ 98.6 ของหนีส้ าธารณะคงคาง และ (3) สัดสวนยอดหนีส้ าธารณะคงคางตอ GDP อยูที่รอยละ 40.22 ซึ่งยังคงอยูในกรอบความยั่งยืนทางการคลังที่กําหนดสัดสวนไวไมเกินรอยละ 60.0 ตอ GDP ภาพที่ 1 สถานะหนี้สาธารณะและสัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP รายเดือน

ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง

48

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ตารางที่ 5 หนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554 ณ สิ้น มิ.ย. 54 ต.ค. 54 1. หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 2,891,655 3,000,474 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน 1,072,376 1,074,288 (2.1+2.2) 2.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 532,436 517,128 2.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 539,940 557,161 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน 175,200 158,306 (รัฐบาลคํ้าประกัน) 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ (4.1+4.2) 62,092 30,526 4.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 30,445 30,445 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 31,647 80 5. หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ (5.1+5.2) 5.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน หนี้สาธารณะรวม (1+2+3+4+5) 4,201,324 4,263,593 สัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP (รอยละ) 41.59 40.66 หนี้สาธารณะคงคาง

(หนวย : ลานบาท)

ส.ค. 54 % ของหนี้ฯ ณ ส.ค. 54 3,016,485 3,010,318 71.7% 1,074,909 1,072,101 25.5%

ก.ค./ส.ค. เพิ่ม/ลด (6,167) (2,808)

523,648 551,261 158,107

ก.ค. 54

523,770 548,331 155,624

12.5% 13.1% 3.7%

122 (2,929) (2,482)

30,553 30,984 30,445 30,445 108 538 4,280,053 4,269,027 40.57 40.22

0.7% 0.7% 0.0% 0.0% 0.0% 0.0% 100.0 -

430.6 0 430.6 0 0 0 (11,027) -

หมายเหตุ : GDP เดือนสิงหาคม 2554 เทากับ 10,613.43 พันลานบาท (คํานวณจาก (GDP ป 53/12*4)+(GDP ป 54/12*8)) และ GDP เดือนกรกฎาคม 2554 เทากับ 10,549.85 พันลานบาท (คํานวณจาก (GDP ป 53/12*5)+(GDP ป 54/12*7)) ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง

5. ผลการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจของปงบประมาณ 2554 กรอบอนุมัติงบประมาณลงทุนประจําป 2554 ของรัฐวิสาหกิจรวม 48 แหง ที่พรอมดําเนินการมีจํานวนทั้งสิ้น 304.9 พันลานบาท โดยมีผลการเบิกจายสะสมถึงสิน้ เดือนสิงหาคม 2554 จํานวน 134.1 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 44.0 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 5.1 การเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจของรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ 17 แหง ซึ่งคิดเปนรอยละ 97.3 ของ กรอบอนุมัติงบประมาณลงทุนรัฐวิสาหกิจทั้งหมด 48 แหง มีงบลงทุนที่พรอมดําเนินการจํานวน 296.7 พันลานบาท มีการเบิกจายงบลงทุนสะสม 11 เดือน (1 ตุลาคม 2553-31 สิงหาคม 2554) จํานวน 130.4 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 44.0 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน ซึ่งสามารถแบงออกได ดังนี้ (1) รัฐวิสาหกิจที่ใชปงบประมาณ (10 แหง) เริ่มดําเนินการ 1 ตุลาคม 2553 มีงบลงทุนที่พรอมดําเนินการจํานวน 96.7 พันลานบาท มีการเบิกจายงบลงทุนสะสม 11 เดือน (1 ตุลาคม 2553-31 สิงหาคม 2554) จํานวน 43.1 พันลานบาท หรือ คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 44.5 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน (2) รัฐวิสาหกิจที่ใชปปฏิทิน (7 แหง) เริ่มดําเนินการ 1 มกราคม 2554 มีงบลงทุนอนุมัติที่พรอมดําเนินการทั้งสิ้น จํานวน 199.9 พันลานบาท ซึง่ มีการเบิกจายงบลงทุนสะสม 8 เดือน (1 มกราคม 2553-31 สิงหาคม 2554) จํานวน 87.4 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 43.7 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

49


ตารางที่ 6 การเบิกจายงบลงทุนปงบประมาณ 2554 ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 รัฐวิสาหกิจ รวม 48 แหง รวม 17 แหง ปงบประมาณ 2554 (10 แหง) องคการเภสัชกรรม โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง การทางพิเศษแหงประเทศไทย การทาเรือแหงประเทศไทย บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) การรถไฟแหงประเทศไทย การรถไฟขนสงมวลชนแหงประเทศไทย การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค การเคหะแหงชาติ ปปฏิทิน 2554 (7 แหง) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

(1) งบลงทุนอนุมัติ ป 2554 304,928.08 296,657.23 96,700.87 2,338.00 3,408.49 3,596.65 2,617.00 4,966.37 35,811.81 24,131.00 4,056.00 8,815.00 6,960.55 199,956.37 21,222.00 10,100.00 22,913.78 38,281.00 8,186.82 17,977.00 81,275.77

(2) เบิกจายจริงสะสม ส.ค. 2554 134,107.13 130,409.13 43,051.81 419.28 1,148.50 1,892.96 1,538.88 2,909.39 6,209.48 14,717.00 3,249.98 5,066.97 5,899.37 87,357.32 7,519.70 4,126.28 8,569.62 9,863.20 3,295.00 7,771.39 46,212.13

(หนวย : ลานบาท)

(3) = (2)/(1) % อัตราการเบิกจาย ของงบลงทุนอนุมัติ 43.98% 43.96% 44.52% 17.93% 33.70% 52.63% 58.80% 58.58% 17.34% 60.99% 80.13% 57.48% 84.75% 43.69% 35.43% 40.85% 37.40% 25.77% 40.25% 43.23% 56.86%

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง หมายเหตุ : ขอมูลงบลงทุนรัฐวิสาหกิจรายแหงจาก GFMIS-SOE ณ วันที่ 15 กันยายน 2554

5.2 รายละเอียดผลการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจปงบประมาณ 2554 (ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554) รัฐวิสาหกิจที่มีกรอบลงทุนอนุมัติป 2554 สูง ไดแก การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย มีกรอบลงทุนอนุมัติ 24.1 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 14.7 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 60.9 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมี โครงการที่สําคัญ คือ โครงการกอสรางรถไฟฟาสายสีมวง ชวงบางใหญ-บางซื่อ และโครงการกอสรางรถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน ชวงหัวลําโพง-บางแค การเคหะแหงชาติ มีกรอบลงทุนอนุมัติ 7.0 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 5.8 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 84.6 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีโครงการที่สําคัญ คือ โครงการบานเอื้ออาทร ระยะที่ 4-5 การรถไฟแหงประเทศไทย มีกรอบการลงทุนอนุมัติ 35.8 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 6.2 พันลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 17.3 ของกรอบลงทุนอนุมตั ิ โดยมีการลงทุนทีส่ าํ คัญ คือ โครงการกอสรางระบบขนสงมวลชนทางรางในพืน้ ที่ กรุงเทพมหานครสายสีแดง ชวงบางซือ่ -ตลิง่ ชัน บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) กรอบลงทุนอนุมตั ิ 81.3 พันลานบาท มีการเบิกจาย สะสม 46.2 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 56.9 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีโครงการที่สําคัญ คือ โครงการ แผนงานดานแกสธรรมชาติ แผนงานพัฒนาสถานีและตลาดนํ้ามัน และโครงการแผนงานดานปโตรเคมีและการกลั่น

50

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


Macroeconomic Analysis Briefing บทวิเคราะห เรื่อง ถอดรหัสความสัมพันธระหวาง CPI และ PPI

1

บทสรุปผูบริหาร

บทความนี้มีจุดประสงคในการใหความรูเกี่ยวกับความหมาย โครงสราง วิธีการจัดทํา รวมถึง ความสัมพันธของดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ❍ ผลการศึกษาบงชี้วา ดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ในชวงเวลาที่ศึกษา มีความสัมพันธกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยทั้งสองดัชนีตางมีผลซึ่งกันและกัน สะทอนใหเห็นถึงกลไก การปรับตัวดานราคาสินคาในชวงเวลาที่ศึกษา โดยสรุปไดวา การปรับตัวของราคาสินคาผูบริโภคเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูผลิต ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูบริโภคไดสงผล กลับไปยังราคาสินคาผูผลิตใหมีการเปลี่ยนแปลงตาม ❍ อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาในชวงเวลายอยแสดงใหเห็นวา กอนเดือนสิงหาคม 2549 ราคา สินคาผูบริโภคเปนปจจัยตนเหตุที่ทําใหราคาสินคาผูผลิตเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่หลังเดือนสิงหาคม 2549 จนถึงปจจุบัน ราคาสินคาผูผลิตเปนปจจัยตนเหตุใหราคาสินคาผูบริโภคเปลี่ยนแปลงไป ❍

1. บทนํา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ นับเปนอีกปจจัยสําคัญสําหรับการบริหารจัดการเศรษฐกิจใหเติบโตอยางยัง่ ยืน ทัง้ นี้ เสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจประกอบดวย เสถียรภาพภายในและเสถียรภาพภายนอก สําหรับบทความนีม้ งุ ใหความสําคัญกับเสถียรภาพภายใน ประเทศเปนสําคัญ โดยหนึง่ ในตัวชีว้ ดั เสถียรภาพภายในของเศรษฐกิจทีส่ าํ คัญคือ อัตราเงินเฟอ โดยในปจจุบนั อัตราเงินเฟอกําลัง เปนประเด็นที่อยูในความสนใจของประชาชนอยางกวางขวาง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟอไดสงผลกระทบตออํานาจ การจับจายใชสอยของประชาชนและสงผลกระทบตอปากทองของประชาชน และเนือ่ งจากปจจุบนั มีแรงกดดันจากปจจัยเสีย่ งดาน เงินเฟอเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ดังนัน้ บทความนีจ้ งึ มีวตั ถุประสงคในการนําเสนอความหมาย วิธกี ารจัดทํา และโครงสรางของดัชนี ราคาที่สําคัญ ๆ คือ ดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ซึ่งเปนตัวสะทอนระดับราคาสินคาของผูบริโภคและ ผูผลิตตามลําดับ นอกจากนี้ งานศึกษานี้ยังศึกษาถึงความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผล (Causal Relationship) ระหวางดัชนีราคา ผูผ ลิตและดัชนีราคาผูบ ริโภคในประเทศไทย โดยมีชว งระยะเวลาศึกษาตัง้ แตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ทัง้ นี้ ประโยชนจากการศึกษาความสัมพันธของทั้งสองดัชนีราคา จะชวยใหสามารถวิเคราะหกระบวนการสงผานของราคาไดวาเปน ไปในลักษณะใด รวมถึงสามารถประยุกตความสัมพันธของทั้งสองมาใชในการประมาณการเพื่อหาแนวโนมระดับราคาสินคา และอัตราเงินเฟอในอนาคตได

2. ดัชนีราคาผูบริโภค (Consumer Price Index: CPI) คืออะไร ? ดัชนีราคาผูบ ริโภค เปนเครือ่ งสะทอนการเปลีย่ นแปลงคาครองชีพของผูบ ริโภคกลุม เปาหมาย โดยวัดจากการเปลีย่ นแปลง ของระดับราคาสินคาและบริการที่ผูบริโภคกลุมนั้นใชบริโภคเปนประจําในชวงเวลาหนึ่งเปรียบเทียบกับปฐาน ซึ่งการจัดทํา ดัชนีราคาผูบริโภคในประเทศไทย เริ่มตนเมื่อป 2505 โดยเขามาแทนที่ดัชนีราคาขายปลีก (Retail price index) และดัชนี 1

ผูเขียน : นายพนันดร อรุณีนิรมาน เศรษฐกรปฏิบัติการ สวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางสาวกุ ล กั ล ยา พระยาราช เศรษฐกรชํ า นาญการ นางวิ ภ ารั ต น ป  น เป  ย มรั ษ ฎ ผู  อํ า นวยการส ว นแบบจํ า ลองและประมาณการเศรษฐกิ จ การคลั ง และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

51


คาครองชีพ (Cost of living index) ที่มีมาแตเดิม สําหรับการคํานวณดัชนีราคาผูบริโภคมีลักษณะการคํานวณแบบดัชนี รวม (Composite index) โดยคานํ้าหนักรายสินคาสามารถคํานวณไดจากสัดสวนของมูลคาสินคาที่ผูบริโภคใชจายตอมูลคา การบริโภคสินคาโดยรวม ณ ราคาปฐาน ซึ่งนํ้าหนักของสินคาประเภทตาง ๆ ไดมาจากขอมูลการสํารวจคาใชจายของครัวเรือน2 สําหรับ ตะกราสินคา ซึ่งใชในการคํานวณดัชนีราคาสินคา ไดขอมูลมาจากการสํารวจคาใชจายการบริโภคของผูบริโภค กลุมเปาหมาย โดยจะมีการปรับปรุงทุก 4 ป ซึ่งปจจุบันตะกราสินคาประกอบไปดวยสินคาและบริการทั้งหมด 417 รายการ สามารถแยกไดเปน 8 หมวดหมู ตามภาพที่ 1 ภาพที่ 1 สัดสวนหมวดหมูสินคาในดัชนีราคาผูบริโภค

ที่มา : กระทรวงพาณิชย

ดัชนีราคาผูบ ริโภคแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ดัชนีราคาผูบ ริโภคทัว่ ไป (CPI) ซึง่ รวมรายการสินคาและบริการเขาไวดว ย กันทัง้ หมด และดัชนีราคาผูบ ริโภคพืน้ ฐาน (Core CPI) ซึง่ เปนดัชนีทไี่ มรวมกลุม ของอาหารสดและพลังงานมาคํานวณ เนือ่ งจาก ราคาของสินคาทั้งสองกลุมคอนขางผันผวน นอกจากนี้ ดัชนีราคาผูบริโภคยังสามารถแบงไดอีก 3 ประเภทตามกรอบลักษณะครัวเรือน โดยการจัดทําดัชนีราคา ผูบริโภคในแตละประเภทจะแตกตางกันทั้งนํ้าหนักและชนิดของสินคาในตะกราสินคา ตามลักษณะครัวเรือนที่ทําการตอบ แบบสอบถาม ดังนี้ ❍ ดัชนีราคาผูบ  ริโภคทัว่ ไป ลักษณะครัวเรือน คือ ครัวเรือนทีต่ งั้ อยูใ นเขตเทศบาลเมืองทัง้ 4 ภาค รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีสมาชิกในครัวเรือนตั้งแต 1-5 คน และมีรายไดตั้งแต 3,000-60,000 บาทตอเดือนตอครัวเรือน ❍ ดั ช นี ร าคาผู  บ ริ โ ภครายได น  อ ย ลั ก ษณะครั ว เรื อ น คื อ ครั ว เรื อ นที่ ตั้ ง อยู  ใ นเขตเทศบาลเมื อ งทั้ ง 4 ภาค รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีสมาชิกในครัวเรือนตั้งแต 1-5 คน และมีรายไดตั้งแต 3,000-15,000 บาทตอเดือนตอครัวเรือน ❍ ดัชนีราคาผูบ  ริโภคเขตชนบท ลักษณะครัวเรือน คือ ครัวเรือนทีต่ งั้ อยูน อกเขตเทศบาลภูมภิ าค 4 ภาค มีสมาชิก ในครัวเรือนตั้งแต 2-6 คน และมีรายไดตั้งแต 2,000-25,000 บาทตอเดือนตอครัวเรือน

3. ดัชนีราคาผูผลิต (Producer Price Index: PPI) คืออะไร ? ดัชนีราคาผูผ ลิต เปนเครือ่ งสะทอนการเปลีย่ นแปลงของราคาสินคาโดยเฉลีย่ ทีผ่ ผู ลิตสินคาในประเทศไดรบั จากการขาย สินคาที่แหลงผลิต ไมรวมคาขนสงและภาษีมูลคาเพิ่ม ณ เวลาใดเวลาหนึ่งเปรียบเทียบกับเวลา ณ ปฐาน ดัชนีราคาผูผลิตสามารถแบงออกเปน 2 โครงสราง คือ (1) แบงตามกิจกรรมการผลิต (Classification of Products by Activity: CPA) ประกอบไปดวย ดัชนีรวม ผลผลิตเกษตรกรรม ผลิตภัณฑจากเหมืองและผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม และ (2) แบงตาม ขั้นตอนการผลิต (Stage of Processing: SOP) ประกอบไปดวย สินคาสําเร็จรูป สินคากึ่งสําเร็จรูป (แปรรูป) และสินคาวัตถุดิบ การจัดทําดัชนีราคาผูผลิตมีหลักการจัดทําแบบดัชนีรวม (Composite index) เชนเดียวกันกับดัชนีราคาผูบริโภค อยางไรก็ตาม ทั้งตะกราสินคาและคานํ้าหนักของดัชนีทั้งสองประเภทมีความแตกตางกัน โดยตะกราสินคาของดัชนีราคา 2

52

ขอมูลการสํารวจคาใชจา ยครัวเรือนรายงานในการสํารวจภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน (Household Socio-Economic Survey) จัดทําโดย สํานักงานสถิตแิ หงชาติ

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ผูผ ลิตจะประกอบไปดวยสินคาทีผ่ ผู ลิตขายได ณ ราคาหนาฟารมหรือหนาโรงงาน ขณะทีต่ ะกราสินคาของดัชนีราคาผูบ ริโภคนัน้ จะประกอบไปดวยสินคาที่ผูบริโภคซื้อหาเปนประจํา สําหรับการคัดเลือกสินคาในตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผ ลิตนัน้ จะทําการคัดเลือกจากมูลคาการผลิตเปนสําคัญ และตอง มีมลู คาการผลิตมากอยางตอเนือ่ ง ขณะทีน่ าํ้ หนักของสินคาในแตละรายการนัน้ นํามาจากมูลคาการผลิตในตารางปจจัยการผลิต และผลผลิต (I-O table) ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยจะมีการปรับปรุงนํ้าหนักของ สินคาทุก 5 ป ตามการปรับปรุงตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต โดยในปจจุบันดัชนีราคาผูผลิตเปนการปรับปรุงนํ้าหนักและป ฐานในป 2548 โดยที่ตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผลิตประกอบไปดวยรายการสินคาทั้งหมด 609 รายการ แบงเปนสัดสวนดังนี้ ภาพที่ 2 สัดสวนประเภทสินคาในดัชนีราคาผูผลิต

ที่มา : กระทรวงพาณิชย

ภาพที่ 2 แสดงตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผลิตประกอบดวยผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ซึ่งมีสัดสวนในตะกราสินคาสูงถึง รอยละ 82.3 ขณะที่ผลผลิตเกษตรกรรมและผลิตภัณฑจากเหมืองมีสัดสวนรองลงมาที่รอยละ 15.6 และรอยละ 2.1 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณารายประเภทสินคาพบวา ผลิตภัณฑอาหารเครื่องดื่มและยาสูบ มีสัดสวนในตะกราสินคาสูงสุด โดยมีสัดสวน อยูที่รอยละ 15.8 รองลงมาคือ ผลผลิตการเกษตรมีสัดสวนรอยละ 12.6 และเครื่องไฟฟา อุปกรณและเครื่องอิเล็กทรอนิกส เปนอันดับ 3 อยูที่รอยละ 12.1

4. ความสัมพันธระหวางดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ในเชิงทฤษฎีเศรษฐศาสตร ดัชนีราคาผูบริโภคและดัชนีราคาผูผลิตจะเคลื่อนไหวสอดคลองกันแตอาจมีความลาชาใน การปรับตัวแตกตางกัน เนื่องจากดัชนีราคาทั้งสองประเภทตางก็สะทอนถึงระดับราคาสินคาที่เปลี่ยนแปลงไป อยางไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตรหลายฝายยังคงถกเถียงถึงความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผลของทั้งสองดัชนีราคา โดยสวนใหญมักเชื่อวา การเปลีย่ นแปลงดัชนีราคาผูผ ลิตมักจะสงผลใหดชั นีราคาผูบ ริโภคเปลีย่ นแปลงตามไปดวย ทัง้ นีเ้ พราะวาการเพิม่ ขึน้ ของดัชนีราคา ผูผลิตจะสะทอนการเพิ่มขึ้นของตนทุนวัตถุดิบในการผลิตสินคา จึงทําใหราคาสินคาผูบริโภคปรับตัวสูงขึ้นตาม โดยการปรับตัว ของดัชนีราคาทัง้ สองอาจเกิดความลาชาได (Time lag) เนือ่ งมาจากเหตุผลทางดานการบริหารสินคาคงเหลือเปนสําคัญ กลาวคือ ผูขายอาจจะยังมีสินคาคงเหลือที่ไมไดรับผลกระทบจากตนทุนที่สูงขึ้นคางอยูในสตอกสินคาและตองการขายสินคานี้ออก กอนสินคารุนใหมที่ไดรับผลกระทบจากตนทุนที่เปลี่ยนแปลงไป สงผลใหราคาสินคาผูบริโภคยังไมปรับตัวเพิ่มขึ้นในทันทีตาม การเปลี่ยนแปลงของราคาผูผลิตที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นแลว ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงของระดับราคาสินคาผูบริโภคอาจสงผลตอการเปลี่ยนแปลงระดับราคาสินคาผูผลิตได เนื่องจากอุปสงคในการซื้อสินคาผูผลิตของผูขายสินคาเปนอุปสงคแบบอุปสงคสืบเนื่อง (Derived demand) ซึ่งการเพิ่มขึ้นของ ราคาสินคาผูบ ริโภคจะทําใหผขู ายเล็งเห็นผลกําไรและตองการผลิตสินคามากขึน้ สงผลใหความตองการสินคาผูผ ลิตปรับตัวเพิม่ ขึ้น ราคาสินคาผูผลิตจึงปรับตัวสูงขึ้นตาม โดยอาจเกิดความลาชาในการปรับตัวเชนเดียวกัน ประมาณการเศรษฐกิจไทย

53


อยางไรก็ตาม มีงานศึกษามากมายที่ไมพบความสัมพันธของดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภค ดังที่ไดอธิบาย ขางตน โดยสวนใหญแลวจะใหเหตุผลในการอธิบายผลการศึกษาไววา เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงราคาสินคาผูบ ริโภคนัน้ จะทําให เกิดตนทุนตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนราคาจําหนาย (Menu cost) และเสียโอกาสทางการแขงขันดานราคากับบริษัทคูแขง นอกจากนี้ การควบคุมราคาสินคาผูบ ริโภคบางประเภทยังเปนอีกปจจัยหนึง่ ทีส่ ง ผลใหราคาสินคาผูบ ริโภคไมสามารถปรับตัวได ตามการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูผลิต ดวยเหตุนี้จึงทําใหการเปลี่ยนแปลงดานราคาของสินคาผูผลิตไมสามารถสงผานไป ยังราคาของสินคาผูบริโภคได ดัชนีราคาผูผลิตและผูบริโภคจึงไมมีความสัมพันธกัน ภาพที่ 3 อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภค เทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน

ที่มา : จากการคํานวณขอมูลของ CEIC Data

ภาพที่ 3 แสดงการเคลื่อนไหวของอัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูบริโภคและผูผลิตในชวงป 2539–2554 พบวา ดัชนีทั้งสองมีการเคลื่อนไหวในแนวทางที่สอดคลองกัน โดย PPI มีความผันผวนมากกวา CPI สะทอนถึงการปรับตัวของราคา สินคาผูบริโภคที่สามารถปรับตัวไดนอยกวาสินคาผูผลิต ทั้งนี้ในป 2540-2542 อัตราเงินเฟอทั้ง CPI และ PPI อยูในระดับสูง เนื่องมาจากการประกาศลอยตัวคาเงินบาทในเดือนกรกฎาคม 2540 เปนผลใหราคาสินคานําเขามีการปรับตัวสูงขึ้นเปนเทาตัว สําหรับชวงเวลาตอมาในชวงป 2543-2548 อัตราเงินเฟอ CPI คอนขางมีเสถียรภาพ จนเมื่อตนป 2549 ราคานํ้ามันโลกปรับตัว ขึน้ สูงอยางรวดเร็ว3 และหลังจากนัน้ ราคานํา้ มันมีความผันผวนอยางมาก เปนผลใหอตั ราเงินเฟอมีความผันผวนตาม โดยลาสุด เดือนสิงหาคม 2554 อัตราเงินเฟออยูที่รอยละ 4.3 จากราคาอาหารสําเร็จรูปและสินคาเชื้อเพลิงปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางมาก

5. วิธีการศึกษา งานศึกษานี้ใชวิธีการ Granger Causality Test เพื่อศึกษาความสัมพันธในเชิงเหตุและผลระหวางดัชนีราคาผูผลิตและ ดัชนีราคาผูบ ริโภคในประเทศไทย โดยใชแบบจําลอง Error Correction Model (ECM) และ Vector Auto Regression (VAR) ใน การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปร ทัง้ นีข้ อ มูลทีน่ าํ มาศึกษาเปนขอมูลรายเดือนแบบอนุกรมเวลา ตัง้ แตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ซึ่งมีป 2548 เปนปฐาน

3

54

เมื่อปลายป 2548 เกิดเหตุการณพายุเฮอรริเคนแคทรินาทําลายแหลงผลิตนํ้ามันในอาวเม็กซิโก สถานการณความไมสงบในตะวันออกกลางและเกาหลีเหนือ และปญหาความขัดแยงระหวางอิหรานกับชาติตะวันตกเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียรของอิหราน ทําใหราคานํ้ามันปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วในชวงตนป 2549

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


6. ผลการศึกษา แบบจําลอง All-Period Analysis ในแบบจําลอง All-Period Analysis ไดทาํ การศึกษาในชวงเวลาตัง้ แตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ผลจากการศึกษาพบวา ตัวแปรทั้งสอง log(CPI) และ log(PPI) มีลักษณะเปน non-stationary แตมีความสัมพันธกันใน ระยะยาว (cointegrate) สําหรับการศึกษาถึงความสัมพันธของดัชนีทงั้ สองในระยะสัน้ ดวยวิธกี าร Granger Causality ผลการศึกษาปรากฏ ตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการทดสอบ Granger Causality จาก All-Period Analysis ชวงเวลา : เดือนมกราคม 2543-เดือนกรกฎาคม 25544 Null Hypothesis

Optimal Lag Length

Chi-square

p-value

∆(log(PPI)) does not Granger Cause ∆(log(CPI)) ∆(log(CPI)) does not Granger Cause ∆(log(PPI))

2

5.215973 7.315095

0.0737* 0.0258**

*,**,*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ ที่มา : จากการคํานวณ

จากผลการทดสอบขางตนสรุปไดวา ในระยะสั้น ดัชนีทั้งสองตางสงผลซึ่งกันและกัน โดยที่ดัชนีราคาผูผลิตเปนสาเหตุ (Granger cause) ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดัชนีราคาผูบริโภค ที่ระดับนัยสําคัญรอยละ 10 และดัชนีราคาผูบริโภคเปนสาเหตุ (Granger cause) ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดัชนีราคาผูผลิต ที่ระดับนัยสําคัญรอยละ 5 แบบจําลอง Subsample analysis สําหรับแบบจําลอง Subsample Analysis ไดแบงชวงระยะเวลาศึกษาออกเปน 2 ชวง คือ ชวงเวลาแรกศึกษาตัง้ แต เดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนสิงหาคม 2549 และอีกชวงเวลาทําการศึกษาตั้งแตเดือนสิงหาคม 2549 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 โดยการแบงชวงเวลาดังกลาวมีสาเหตุจากราคานํ้ามันดิบโลกที่มีการปรับตัวขึ้นสูงอยางรวดเร็ว เมื่อตนป 2549 และหลังจาก นั้นราคานํ้ามันมีความผันผวนอยางมาก จึงทําใหความสัมพันธระหวางดัชนีราคาทั้งสองเปลี่ยนแปลงไปหลังจากเดือนสิงหาคม 2549 ซึ่งผลที่ไดสอดคลองกับผลการทดสอบการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของความสัมพันธระหวางดัชนีทั้งสอง (Structural Break test) โดยใชวิธี Quandt-Andrews unknown breakpoint test คือเดือนสิงหาคม 2549 เปนจุดเปลี่ยนทางโครงสรางของ ความสัมพันธระหวางดัชนีทั้งสองสําหรับผลการทดสอบ Granger Causality แสดงได ดังนี้

4

แบบจําลองที่ใชศึกษา คือ ∆(log(CPI)) = -0.06ECM + 0.006∆(log(CPI(-1))) + 0.007∆(log(CPI(-2))) + 0.12∆(log(PPI(-1))) – 0.023∆(log(PPI(-2))) + 0.0018 [-0.79] [0.06] [0.06] [2.21]** [-0.45] [2.86]*** Adjusted R-squared = 0.04 S.E. of equation = 0.007 ∆(log(PPI)) = 0.37ECM + 0.353∆(log(CPI(-1))) + 0.555∆(log(CPI(-2))) + 0.248∆(log(PPI(-1))) – 0.113∆(log(PPI(-2))) + 0.0015 [2.64]*** [1.54] [2.5]** [2.32]** [-1.07] [1.22] Adjusted R-squared = 0.213 S.E. of equation = 0.01 ECM = log(CPI(-1)) – 2.148 – 0.535log(PPI(-1)) [-49.09]*** t-stat in [ ] และ *,**,*** แสดงนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

55


ตารางที่ 3 ผลการทดสอบ Granger Causality จาก Subsample analysis5 ชวงเวลา : เดือนมกราคม 2543-เดือนสิงหาคม 25496 Null Hypothesis

Optimal Lag Length

Chi-square

p-value

∆(log(PPI)) does not Granger Cause ∆(log(CPI)) ∆(log(CPI)) does not Granger Cause ∆(log(PPI))

4

4.713169 21.33587

0.3180 0.0003***

Null Hypothesis

Optimal Lag Length

Chi-square

p-value

∆(log(PPI)) does not Granger Cause ∆(log(CPI)) ∆(log(CPI)) does not Granger Cause ∆(log(PPI))

1

4.102596 1.253763

0.0428** 0.2628

ชวงเวลา : เดือนสิงหาคม 2549-เดือนกรกฎาคม 25547

*,**,*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ ที่มา : จากการคํานวณ

56

5

เนื่องจากชวงเวลาแรกที่ศึกษา CPI และ PPI มีความสัมพันธในระยะยาว (Cointegrate) จึงใชแบบจําลอง ECM ในทางกลับกัน ไมพบความสัมพันธระยะยาว (Cointegrate) ในชวงเวลาที่สอง จึงใชแบบจําลอง VAR โดยใชตัวแปรเปน first difference เนื่องจาก CPI และ PPI มีลักษณะเปน I(1)

6

แบบจําลองที่ใชศึกษา คือ ∆(log(CPI)) = -0.273ECM + 0.096∆(log(CPI(-1))) – 0.014∆(log(CPI(-2)))+0.061∆(log(CPI(-3)) – 0.047∆(log(CPI(-4)) [-3.27]** [0.71] [-0.09] [0.41] [-0.34] - 0.046∆(log(PPI(-1))) – 0.205∆(log(PPI(-2))) – 0.054∆(log(PPI(-3)) – 0.046∆(log(PPI(-4)) + 0.0035 [-0.48] [-2.11]** [-0.6] [-0.54] [3.72]*** Adjusted R-squared = 0.095 S.E. of equation = 0.005 ∆(log(PPI)) = -0.12ECM + 0.664∆(log(CPI(-1))) + 0.458∆(log(CPI(-2))) – 0.05∆(log(CPI(-3)) – 0.54 ∆(log(CPI(-4)) [-0.92] [3.11]** [2.01]** [-0.22] [-2.43]** –0.203∆(log(PPI(-1))) – 0.306∆(log(PPI(-2)))+ 0.17 ∆(log(PPI(-3)) – 0.07∆(log(PPI(-4)) + 0.0048 [-1.35] [-1.99]** [1.2] [-0.52] [3.22]** Adjusted R-squared = 0.225 S.E. of equation =0.008 ECM = log(CPI(-1)) – 2.093 – 0.548 log(PPI(-1)) [-20.03]***

7

แบบจําลองที่ใชศึกษา คือ ∆(log(CPI)) = -0.005∆(log(CPI(-1))) + 0.14∆(log(PPI(-1))) + 0.0018 [-0.03] [2.03]** [1.76]* Adjusted R-squared = 0.091 S.E. of equation = 0.007 ∆(log(PPI)) = 0.473∆(log(CPI(-1))) + 0.299∆(log(PPI(-1))) + 0.0014 [1.12] [1.79]* [0.57] Adjusted R-squared = 0.172 S.E. of equation = 0.02 t-stat in [ ] และ *,**,*** แสดงนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ผลการทดสอบในชวงเวลายอย บงชี้ถึงความแตกตางของความสัมพันธ (Causal relationship) ระหวางดัชนีทั้งสองใน สองชวงเวลา กลาวคือ ในชวงตั้งแตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนสิงหาคม 2549 ดัชนีราคาผูบริโภคเปนตัวแปรตนเหตุ ตอการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูผลิต ที่ระดับนัยสําคัญรอยละ 1 กลาวคือ หากราคาสินคาผูบริโภคปรับตัวสูงขึ้น จะสงแรงจูงใจใหผูประกอบการเรงการผลิต เนื่องจากเล็งเห็นถึงผลกําไรที่มากขึ้นตามราคาสินคา สงผลใหอุปสงค ตอปจจัยการผลิตของผูผลิตเพิ่มขึ้นตาม และราคาสินคาผูผลิตปรับตัวสูงขึ้น ในทางกลับกัน ชวงเดือนสิงหาคม 2549 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ดัชนีราคาผูผลิตเปนตัวแปรตนเหตุตอการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูบริโภค ที่ระดับนัย สําคัญรอยละ 5 ซึ่งเปนไปตามทฤษฎีที่วา เมื่อราคาสินคาผูผลิตสูงขึ้นทําใหตนทุนผูประกอบการสูงขึ้น และสงผลตอ การปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาสินคาผูบริโภค นอกจากนี้ จากแบบจําลอง VAR ที่ใชในการศึกษาสําหรับชวงเดือนสิงหาคม 2549 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ความลาชา ที่เหมาะสม (Optimal lag length) คือ 1 lag สะทอนใหเห็นวา ดัชนีราคาทั้งสองเกิดการเปลี่ยนแปลงคอนขางจะพรอมกัน โดยมี สาเหตุหลักมาจากความผันผวนในราคาสินคาเกษตรและราคานํา้ มันดิบในตลาดโลก ในชวงปลายป 2549 จนถึงปจจุบนั (สังเกต ไดจากภาพที่ 4) ซึง่ สินคาทัง้ สองประเภทมีสดั สวนอยูใ นตะกราสินคาของทัง้ สองดัชนี ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงดานราคาของสินคา ทั้งสองประเภทจึงสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภคอยางพรอมกัน

ภาพที่ 4 อัตราการขยายตัวของดัชนีราคาสินคาเกษตร ราคานํ้ามันดิบดูไบ ดัชนีราคาผูผลิต และดัชนีราคาผูบริโภค

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํานักดัชนีเศรษฐกิจการคา และ CEIC Data

7. บทสรุป ดัชนีราคาผูผลิต (PPI) และดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) มีลักษณะคลายกันในดานวิธีการจัดทํา อยางไรก็ตาม โครงสราง ตะกราสินคาของดัชนีทั้งสองมีความแตกตางกัน ดวยเหตุนี้จึงทําใหดัชนีทั้งสองมีความหมายที่แตกตางกัน กลาวคือ ดัชนีราคา ผูบ ริโภค หมายถึง ตัวชีว้ ดั ทีส่ ะทอนราคาของสินคาทีป่ ระชาชนทัว่ ไปใชในการดํารงชีวติ โดยทีต่ ะกราสินคาของดัชนีราคาผูบ ริโภค คือ สินคาและบริการที่ผูบริโภคใชบริโภคเปนประจําในชวงเวลาหนึ่ง ขณะที่ตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผลิต คือ สินคาที่ผูผลิต สินคาในประเทศไดรับจากการขายสินคา ณ แหลงผลิต ไมรวมคาขนสงและภาษีมูลคาเพิ่ม ดังนั้น ดัชนีราคาผูผลิตจึงสะทอน ระดับราคาของสินคาที่ผูผลิตไดรับในชวงเวลาหนึ่ง ผลการศึกษาความสัมพันธของดัชนีทั้งสองประเภท ในชวงป 2543 ถึงปจจุบันพบวา ทั้งดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคา ผูบ ริโภคมีความสัมพันธทเี่ ปนเหตุเปนผลทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว ซึง่ ผลการศึกษาดังกลาวแสดงใหเห็นถึงกลไกการสงผานดาน ประมาณการเศรษฐกิจไทย

57


ราคาของไทยในชวงเวลาที่ศึกษา กลาวคือ การปรับตัวของราคาสินคาผูบริโภคเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา ผูผ ลิตซึง่ สะทอนตนทุนของผูป ระกอบการ ในทางกลับกัน การเปลีย่ นแปลงราคาของสินคาผูบ ริโภคจะสงผลกลับไปยังราคาสินคา ผูผ ลิตผานพฤติกรรมการผลิตสินคาของผูป ระกอบการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเนือ่ งจากราคาสินคาทีข่ ายได (สินคาผูบ ริโภค) มีการปรับ ตัว ซึง่ พฤติกรรมการผลิตสินคาทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจะสงผลตอไปยังความตองการสินคาผูผ ลิตเพือ่ เรงหรือลดการผลิต และจะมีผล ตอราคาสินคาผูผลิตในที่สุด อยางไรก็ตาม จากการศึกษาในชวงเวลายอย แสดงใหเห็นวาในชวงเวลาตั้งแตป 2543 จนถึงปลายป 2549 ราคาสินคา ผูบริโภคจะมีผลตอการปรับตัวของราคาสินคาผูผลิต ในทางกลับกัน ตั้งแตปลายป 2549 จนถึงปจจุบัน การปรับตัวของราคา สินคาผูบริโภคเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูผลิต โดยทั้งสองดัชนีมีแนวโนมที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงไป พรอม ๆ กัน เนื่องมาจากราคาของสินคาหลักบางประเภทที่อยูในตะกราสินคาของทั้งสองดัชนี ซึ่งก็คือสินคาเกษตรและนํ้ามัน ปโตรเลียมมีความผันผวนอยางมากในชวงหลัง ดวยเหตุนี้การเปลี่ยนแปลงดานราคาของสินคาทั้งสองประเภทจึงสงผลตอทั้ง สองดัชนีในระยะเวลาที่ใกลเคียงกัน

8. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย การศึกษาเรื่องความสัมพันธของดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภค เปนประโยชนตอการวางแผนนโยบายมหภาค ที่ตองคํานึงถึงเสถียรภาพดานราคาภายในประเทศ โดยผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ปจจุบันราคาสินคาปรับตัวสูงขึ้นจากราคา วัตถุดบิ เปนสําคัญ โดยเฉพาะการเพิม่ ขึน้ ของราคาสินคาเกษตรและนํา้ มันปโตรเลียม นอกจากนี้ ผลการศึกษายังแสดงใหเห็นวา ดัชนีราคาผูผลิตเปนประโยชนตอการพยากรณดัชนีราคาผูบริโภค เพื่อนําไปวางแผนดานนโยบายตอไป

58

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


บทวิเคราะห

เรื่อง บทบาทการลงทุนภาครัฐเพื่อยกระดับศักยภาพการผลิต ระยะยาวของประเทศไทย 1

บทสรุปผูบริหาร

การลงทุนภาครัฐมีสว นชวยในการเพิม่ ศักยภาพการผลิตของประเทศมาโดยตลอด โดยในชวง กอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 (ป 2536-2540) สัดสวนการลงทุนภาครัฐ ณ ราคาคงที่ อยูที่รอยละ 9.5 ตอ GDP กอนที่จะลดลงอยางตอเนื่อง และในชวงที่เศรษฐกิจไทยเขาสูภาวะปกติ สัดสวนการลงทุนภาครัฐตอ GDP ลดลงมาอยูเฉลี่ยที่รอยละ 5.7 ทั้งนี้ ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ระหวางป 2551-2553 การลงทุน ภาครัฐตอ GDP มีสัดสวนเพียงรอยละ 5.4 ❍ ปจจัยที่สนับสนุนเศรษฐกิจไทยในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 จากปริมาณปจจัยทุน และแรงงานเนื่องจากมีอัตราการขยายตัวในระดับสูง ซึ่งผลมาจากการขยายตัวในระดับสูงของการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชน แตผลิตภาพการผลิตหรือ Total Factor Productivity (TFP) กลับหดตัวลงตอเนื่อง อยางไรก็ตาม หลังชวงวิกฤตป 2540 ผลิตภาพโดยรวมมีสวนในการสนับสนุนเศรษฐกิจไทยมากยิ่งขึ้น ขณะที่ปจจัยทุนและ แรงงานขยายตัวในระดับตํ่าสอดคลองกับปริมาณการลงทุนของภาครัฐและภาคเอกชนที่ขยายตัวเพียงเล็กนอย ❍ ผลการศึกษาจากแบบจําลองเศรษฐมิติพบวา ถาปจจัยทุนภาครัฐเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะ สงผลทําให GDP เพิม่ สูงขึน้ รอยละ 0.166 สะทอนใหเห็นวาการลงทุนภาครัฐโดยรวมมีผลบวกตอการขยายตัวของ เศรษฐกิจในระยะยาว อยางไรก็ตาม ผลกระทบของปจจัยทุนของภาคเอกชนตอ GDP ระยะยาวสูงกวาปจจัยทุน ภาครัฐ โดยหากปจจัยทุนภาคเอกชนเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําให Potential GDP เพิ่มสูงขึ้นรอยละ 0.648 ❍ จากการคาดการณศักยภาพการผลิตพบวา Potential GDP ขยายตัวอยูในชวงรอยละ 4.5-5.1 โดยหากตองการเพิ่มการลงทุนภาครัฐใหเขาสูระดับกอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 ที่เคยอยูที่ระดับรอยละ 11.6 ตอ GDP จะมีสวนสนับสนุนให Potential GDP ขยายตัวจากกรณีฐานถึงรอยละ 2.0 ❍ ความทาทายของนโยบายของภาครัฐในอนาคต คือ การเพิม ่ การลงทุนของภาครัฐ โดยเฉพาะ การลงทุนในโครงสรางและสาธารณูปโภคพื้นฐาน เพื่อรักษาใหศักยภาพการผลิตของประเทศขยายตัวอยาง ยั่งยืน นอกจากนี้ ควรจะใหความสําคัญกับการพัฒนาทุนมนุษย (Human Capital) ควบคูกันไปดวย เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพแรงงานในอนาคต เพื่อรองรับการลดลงของจํานวนแรงงานและการกาวไปสูสังคม ผูส งู อายุ โดยตองเพิม่ ประสิทธิภาพการใชจา ยและจัดสรรสวัสดิการใหตรงกลุม เปาหมาย เพือ่ สรางโอกาสและลด ความเหลื่อมลํ้า รวมไปถึงการพัฒนาระบบการศึกษาใหเขาถึงอยางทั่วถึง ❍

1. บทนํา หลังจากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจป 2540 เศรษฐกิจไทยเจริญเติบโตไดอยางตอเนื่อง โดยในชวงป 2542–2549 การเจริญ เติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) เฉลี่ยอยูที่รอยละ 4.7 ตอป แมวาอัตราการขยาย ตัวดังกลาวตํา่ กวาอัตราการขยายตัวเฉลีย่ ในชวงกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ (ระหวางป 2534–2539) ทีข่ ยายตัวเฉลีย่ รอยละ 8.4 ตอป โดยปจจัยสําคัญทีส่ ง ผลใหอตั ราการขยายตัวของเศรษฐกิจชะลอตัวลงเกิดจากการเปลีย่ นแปลงของศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจ (Potential output หรือ Potential GDP)2 ดังนัน้ เศรษฐกิจจะเติบโตไดยงั่ ยืนและมีเสถียรภาพมากนอยเพียงใด จําเปนตองพิจารณา ระดับศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจควบคูไปดวย ผูเขียน : ดร.จงกล คําไล เศรษฐกรปฏิบัติการ สวนการวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางณัฐยา อัชฌากรลักษณ ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา 2 ซึ่งศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจนี้จะเปนระดับของผลผลิตที่มีการใชปจจัยการผลิตไดอยางเต็มประสิทธิภาพ การใชแรงงานอยูในระดับการจางงานเต็มที่ (Full employment) หรืออาจกลาวไดวาเปนระดับการผลิตที่มีการใชปจจัยการผลิตสูงสุดที่ไมกอใหเกิดแรงกดดันดานเงินเฟอ (Inflationary pressure) ตอเศรษฐกิจ 1

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

59


นโยบายการคลังเปนหนึ่งในเครื่องมือนโยบายเศรษฐกิจที่สําคัญของไทยในการบริหารจัดการภาวะเศรษฐกิจ สังคมใหมี ความแข็งแกรงและยัง่ ยืน โดยการดําเนินการผานการจัดการเกีย่ วกับงบประมาณรายรับและรายจายของรัฐบาลเพือ่ สรางเสถียรภาพ ของการใชจา ยรวมของระบบเศรษฐกิจใหอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสม อาทิ ความเหมาะสมกับกําลังการผลิตทีม่ อี ยู เพราะคาใชจา ยรวม จะเปนตัวผลักดันใหเกิดการผลิตและการจางงานในระบบเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกัน สามารถลดปญหาความผันผวนทางเศรษฐกิจ เชน ความผันผวนดานการจางงาน ความผันผวนของราคาสินคา ฯลฯ ดังนัน้ จะเห็นไดวา นอกจากนโยบายการคลังจะมีความสําคัญ ตอเศรษฐกิจและสังคมในระยะสัน้ และระยะปานกลางจากการกระตุน เศรษฐกิจและพัฒนาการทางสังคมแลว นโยบายการคลังยัง สามารถใชขบั เคลือ่ นความสามารถทางการแขงขันและศักยภาพทางการผลิตของประเทศไทยเพือ่ สรางความยัง่ ยืนทางเศรษฐกิจใน ระยะยาวอีกดวย บทความนีจ้ งึ เปนการศึกษาผลกระทบของการดําเนินนโยบายดานการคลังตอศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจไทย รวมไปถึงการวิเคราะหปจจัยการผลิตตาง ๆ ที่มีผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอนาคต

2. การลงทุนภาครัฐและการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย การลงทุนภาครัฐมีสวนชวยในการเพิ่มศักยภาพการผลิตของประเทศมาโดยตลอด โดยในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 (ป 2536-2540) สัดสวนการลงทุนภาครัฐ ณ ราคาคงที3่ อยูท รี่ อ ยละ 9.5 ตอ GDP กอนทีจ่ ะลดลงอยางตอเนือ่ งมาอยูท เี่ ฉลีย่ รอยละ 7.6 ตอ GDP ในชวงป 2541-2545 และในชวงทีเ่ ศรษฐกิจไทยเขาสูภ าวะปกติ สัดสวนการลงทุนภาครัฐตอ GDP ลดลงมาอยูเ ฉลีย่ ที่ รอยละ 5.7 ทัง้ นี้ ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ระหวางป 2551-2553 การลงทุนภาครัฐตอ GDP มีสดั สวนเพียงรอยละ 5.4 รายจายภาครัฐแยกออกเปนรายจายประจํา (Current Expenditure) และรายจายลงทุน (Capital Expenditure)4 โดย รายจายทีส่ ามารถเพิม่ ประสิทธิภาพของศักยภาพการผลิตของประเทศคือรายจายลงทุน ทัง้ นี้ รายจายลงทุนเปนรายจายทีไ่ มมภี าระ ผูกพันตอเนื่องเปนระยะเวลานาน (Discretionary Spending) ยกเวนโครงการลงทุนขนาดใหญ โดยรายจายลงทุนจะเบิกจายได ตํา่ กวารายจายประจํา เนือ่ งจากมีขนั้ ตอนการเบิกจาย ความซับซอน และระยะเวลาในการดําเนินงานโครงการทีน่ าน ทําใหการเบิก จายทําไดลาชา เพราะมีขั้นตอนและระยะเวลาในการดําเนินการนานกวารายจายประจํา และรายจายสามารถเบิกจายไดในอัตรา ที่ตํ่ากวารายจายประจําเสมอ โดยอัตราการเบิกจายรายจายลงทุนของประเทศไทยในปงบประมาณที่ผานมาอยูที่ระดับประมาณ รอยละ 70–80 ของกรอบวงเงินรายจายลงทุน ซึ่งเมื่อเทียบกับการเบิกจายรายจายประจําจะพบวารายจายประจําสามารถเบิกจาย ไดใกลเคียงกับกรอบงบประจําที่กําหนดมาในแตละป ภาพที่ 1 สัดสวนของรายจายประจําและรายจายลงทุนตองบประมาณในชวง 14 ปที่ผานมา

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง รายจายภาครัฐตามระบบบัญชีประชาชาติ (System of National Accounts--SNA) คือ รายจายในการอุปโภคบริโภคของรัฐบาล (government consumption expenditures) คําวา รัฐบาลในที่นี้ใหรวมหนวยการบริหารทุกระดับไมวาจะเปนระดับชาติ สวนภูมิภาค หรือทองถิ่น รายจายในการอุปโภคบริโภคของรัฐบาลไม ไดรวมรายจายที่เปนเงินโอน (Transfer payments) อาทิ รายจายเพื่อสวัสดิการสังคม รายจายเพื่อสุขภาพอนามัยของประชาชน หรือดอกเบี้ยเงินกูของรัฐบาล เปนตน ซึ่งแตกตางจากรายจายในงบประมาณแผนดิน 4 คือ รายจายสําหรับการจัดซื้อสินทรัพยถาวรที่มีอายุการใชงานเกิน 1 ปขึ้นไป หรือการกอสรางสินทรัพยถาวร หรือการซอมบํารุงที่สามารถยืดอายุการใชงานของ สินทรัพยออกไปไดมากกวา 1 ป 3

60

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 1 ชี้ใหเห็นวางบประมาณรายจายประจําในชวง 10 ปที่ผานมามีสัดสวนประมาณรอยละ 60–80 ตองบประมาณ ทั้งหมด ในขณะที่สัดสวนของงบลงทุนตองบประมาณทั้งหมดอยูที่ประมาณรอยละ 20 ดังนั้น ความทาทายของเศรษฐกิจไทยและ การจัดทํางบประมาณในระยะตอไปจึงเปนการพิจารณาปรับเพิม่ สัดสวนรายจายลงทุนในงบประมาณ เพือ่ เปนการเสริมสรางบทบาท ของภาครัฐในการเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจ การศึกษาผลกระทบของการลงทุนภาครัฐตอ GDP สามารถใชความสัมพันธของปจจัยทุนภาครัฐ (Capital stock of public sector) มาใชในการวิเคราะหได โดยอาศัยการวิเคราะหแหลงทีม่ าของการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพือ่ แยกผลจากการเปลีย่ นแปลง ดานปริมาณและคุณภาพออกจากกัน ซึ่งในสวนของปจจัยทุน คือ ปริมาณทุน (Quantity of capital) หรือความเขมขนของทุน (Kt) ทีใ่ ชในการผลิต กลาวคือ ยิง่ มีปริมาณทุนมากขึน้ หรือเรงใหเครือ่ งมือเครือ่ งจักรมาใชในการผลิตมากขึน้ ก็จะชวยใหผลผลิตเพิม่ ขึน้ ตามไปดวย ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ปริมาณปจจัยทุนที่มีสวนรวมในการผลิต คือ คาเสื่อมราคาของปจจัยทุน (Capital depreciation)5 ซึ่งคาเสื่อมราคานี้ จะสะทอนการมีสวนรวมของปจจัยทุนในการผลิต กลาวคือ ยิ่งมีการใชปจจัยทุนในการผลิตมากก็จะมีคาเสื่อมราคาของทุนเพิ่ม มากขึ้นตามไปดวย จากตารางที่ 1 พบวา มูลคาสตอกทุน (Gross Capital Stock) ของประเทศไทยในชวงป 2548–2552 มีจํานวนเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง และมีเสถียรภาพทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยสวนใหญเปนสตอกทุนของภาคเอกชน ซึ่งมีสัดสวนประมาณรอยละ 70 และสัดสวนสตอกทุนที่เปนของภาครัฐมีประมาณรอยละ 29 ในขณะที่อัตราการขยายตัวของสตอกทุนโดยรวมมีอัตราการขยาย ตัวอยางตอเนื่องจากป 2548 มีอัตราการขยายตัวรอยละ 3.2 แตในป 2552 พบวา อัตราการขยายตัวชะลอลงเหลือเพียงรอยละ 2.8 ซึ่งเปนผลมาจากภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศที่หดตัวลงตามภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกในชวงปลายป 2551 และตอเนื่องใน ป 2552 นอกจากนี้ สตอกทุนสามารถจําแนกตามกิจกรรมการผลิต (Classified by Economic Activities) พบวา สตอกทุนสุทธิ ในสาขาที่อยูอาศัยมีสัดสวนสูงสุดรอยละ 22.7 รองลงมาคือ สาขาโทรคมนาคมและการสื่อสารรอยละ 19.2 สาขาอุตสาหกรรม รอยละ 16.2 สาขาบริการรอยละ 10.7 และสาขาเกษตรกรรมรอยละ 7.3 ตามลําดับ และถาพิจารณาอัตราการขยายตัวของสตอก ทุนสุทธิ ณ ราคาคงที่ พบวา ในป 2552 สาขาที่อยูอาศัยมีอัตราการขยายตัวสูงสุดรอยละ 23.0 รองลงมาคือ สาขาโทรคมนาคม และการสื่อสารขยายตัวรอยละ 18.8 สาขาอุตสาหกรรมขยายตัวรอยละ 16.5 สาขาบริการขยายตัวรอยละ 10.3 และสาขาคาสง และคาปลีกขยายตัวรอยละ 7.9 ตามลําดับ ตารางที่ 1 มูลคาโครงสรางและอัตราการขยายตัวของสตอกทุน ณ ราคาคงที่ป 2531

มูลคาสตอกทุน ภาครัฐ ภาคเอกชน โครงสราง (รอยละ) ภาครัฐ ภาคเอกชน อัตราการขยายตัว (รอยละ) ภาครัฐ ภาคเอกชน

2548

2549

2550

2551

2552

13,975 4,112 9,863 100 29.4 70.6 3.2 3.8 3.0

14,431 4,275 10,156 100 29.6 70.4 3.3 3.9 3.0

14,895 4,461 10,435 100 29.9 70.1 3.2 4.4 2.7

15,380 4,642 10,738 100 30.2 69.8 3.3 4.1 2.9

15,813 4,796 11,017 100 30.3 69.7 2.8 3.3 2.6

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)

5

ขอมูลทั้งยอดคงคางของทุนและคาเสื่อมราคาของทุนมีการรายงานโดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเปนประจําทุกป ซึ่งการเสื่อมราคาของทุนจะเปนไปตาม Physical Law of Motion ที่แสดงใหเห็นวายอดคงคางของทุนสุทธิ (Net capital stock) ที่เพิ่มขึ้นเทากับยอดคงคางของ ทุนสุทธิในอดีตบวกดวยการลงทุนทั้งหมด (Gross investment) หักดวยคาเสื่อมราคา (Depreciation)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

61


จากขอมูลของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) พบวา ในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจ หรือในชวงป 2539 สตอกทุนรวมขยายตัวรอยละ 11.2 โดยสาขากอสรางเปนสาขาทีม่ อี ตั ราการขยายตัวสูงทีส่ ดุ รองลงมาคือ สาขา คมนาคมและขนสง สาขาเหมืองแรและยอยหิน สาขาบริหารราชการแผนดิน และสาขาอุตสาหกรรม ตามลําดับ ในขณะทีป่ ระเทศไทย เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 พบวา สตอกทุนสาขากอสรางลดลงอยางเห็นไดชัดจากรอยละ 18.0 ในป 2539 เหลือรอยละ 3.6 ในป 2540 และลดลงตอเนื่องในป 2541 ซึ่งสงผลกระทบตอภาคธุรกิจการกอสรางที่ตองปดกิจการลงเปนจํานวนมากในชวงดังกลาว และในชวงป 2542–2545 หรือในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ พบวา สตอกทุนมีแนวโนมขยายตัวอยูในระดับตํ่า เนื่องจากนักลงทุนยังไม มัน่ ใจในการลงทุนมากนักจากภาวะเศรษฐกิจทีย่ งั คงมีความผันผวนในขณะนัน้ แตในภาพรวมสตอกทุนของประเทศก็ยงั คงเพิม่ ขึน้ ภาพที่ 2 แหลงที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ) (Contribution to GDP growth)

ที่มา : คํานวณโดย สศค.

เมือ่ พิจารณาสัดสวนทีม่ าของการขยายตัวของปจจัยการผลิตทีม่ ผี ลตอการขยายตัวในศักยภาพการผลิตของไทย จากภาพ ที่ 2 พบวา ปจจัยที่สนับสนุนเศรษฐกิจไทยในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 มาจากปริมาณปจจัยทุนและแรงงาน เนื่องจาก มีอัตราการขยายตัวในระดับสูง ซึ่งผลมาจากการขยายตัวในระดับสูงของการลงทุนภาครัฐและภาคเอกชน แตผลิตภาพการผลิต หรือ Total Factor Productivity (TFP) กลับหดตัวลงตอเนื่อง อยางไรก็ตาม หลังชวงวิกฤตป 2540 จะพบวา ผลิตภาพโดยรวมมี สวนในการสนับสนุนเศรษฐกิจไทยมากยิง่ ขึน้ ขณะทีป่ จ จัยทุนและแรงงานขยายตัวในระดับตํา่ สอดคลองกับปริมาณการลงทุนของ ภาครัฐและภาคเอกชนที่ขยายตัวเพียงเล็กนอย ผลิตภาพการผลิตโดยรวมหรือ Total Factor Productivity (TFP) มีสัดสวนในการกําหนดศักยภาพในการผลิตของประเทศ ถึงรอยละ 45 ในขณะที่ปจจัยแรงงานและปจจัยทุนมีสัดสวนในการกําหนดศักยภาพในการผลิตของประเทศประมาณรอยละ 27 และรอยละ 28 ตามลําดับ ดังนั้น สาเหตุหลักที่สงผลใหศักยภาพการผลิตของประเทศไทยขยายตัวลดลงจากรอยละ 6.3 ในป 2547 มาอยูที่รอยละ 4.6 ในป 2548 มาจากผลิตภาพโดยรวมของไทยที่ลดลงจากรอยละ 4.3 ในป 2547 มาอยูที่ 1.7 ในป 2548 เนื่องจากในชวงดังกลาวมีการลดลงของผลิตภาพการผลิตในสาขาเกษตรกรรมที่หดตัวลง อันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติทั้งภัยแลง และนํ้าทวมที่สงผลใหผลิตภาพภาคการเกษตรลดลง นอกจากนี้ ปจจัยทุนภาครัฐมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยจากรอยละ 0.3 ในป 2547 มาอยูที่รอยละ 0.5 ในป 2548 และปจจัยทุนภาคเอกชนปรับเพิ่มขึ้นจากรอยละ 1.8 ในป 2547 มาอยูที่รอยละ 2.5 ในป 2548 ทั้งนี้ ในป 2552 เศรษฐกิจไทยหดตัวรอยละ -2.3 มาจากผลิตภาพโดยรวมที่หดตัวอยางมากที่รอยละ -4.8 โดยเฉพาะ ในภาคการผลิตและภาคบริการ ผลจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ ปจจัยทุนภาครัฐและภาคเอกชนขยายตัวรอยละ 0.3 และ รอยละ 2.2 ตามลําดับ และจากแรงงานรอยละ -0.1

62

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


3. ผลกระทบของการลงทุนภาครัฐตอศักยภาพการผลิตระยะยาว การศึกษาผลกระทบของการลงทุนภาครัฐตอการเพิ่มศักยภาพการผลิตของประเทศจะใชทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ของสํานักนีโอคลาสสิก (Neoclassical model)6 โดยอางจากแบบจําลองของ Aschauer (1989)7 ที่ไดจากสมการการผลิต (Production function) เพื่อวิเคราะหผลของการลงทุนภาครัฐที่มีตอประสิทธิภาพการผลิต (Productivity) ซึ่งจะไดวาปจจัยทุนมา จากการลงทุนภาครัฐ (Kg) และการลงทุนภาคเอกชน (Kp) และปจจัยแรงงานมาจากจํานวนชั่วโมงการทํางาน (L) ดังนั้นสามารถ เขียนในรูป Cobb-Douglas ไดดังนี้ (1) โดยที่ yt = Yt / Ltkpt = Kpt / Ltkgt = Kgt/ L (แสดงอยูในรูปตอหนวยแรงงาน) ซึ่งจากแนวคิดขางตนจะพบวา การเติบโต ทางเศรษฐกิจ (สะทอนในรูปของผลิตภัณฑมวลรวม) ขึน้ อยูก บั ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ปจจัยทุนภาครัฐ ปจจัยทุนภาคเอกชน และปจจัยดานแรงงาน ในการใชแบบจําลองทางเศรษฐมิติ ขอมูลมีลักษณะอนุกรมเวลา (Panel data) รายป และแยกตามราย สาขาการผลิต เริ่มตั้งแตป 2533-2552 การศึกษาจะใชแบบจําลองปจจัยคงที่ (fixed effect model) ซึ่งอาจมีขอมูลของตัวแปร อิสระบางตัวที่ไมสามารถสํารวจได (Unobservable Explanatory Variables) ที่อาจมีคุณสมบัติไมเปลี่ยนแปลงไปตามขอมูลภาค ตัดขวาง (Cross-sectional Invariant) หรือที่รูจักกันในชื่อของ Fixed Effects Term ดังนั้น การศึกษานี้จึงไดทําการทดสอบวาแบบ จําลองมีปญหา Fixed Effects ดวยหรือไม ผลการศึกษาผลกระทบของปจจัยทุนภาครัฐตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจมีดังตอไปนี้ Ordinary Least Square (OLS) Ln(Q/L) = 0.154 - 0.438*Ln(Kg/L) + 1.165* Ln(Kp/L) - 0.217*DUMMY (2.109)* (-1.699) (3.816)*** (-3.359)*** R-squared = 0.934 Fixed Effect Model (FE) Ln(Q/L) = -0.0793 + 0.166*Ln(Kg/L) + 0.648* Ln(Kp/L) (-2.736)*** (1.722)* (3.742)*** R-squared = 0.812 Hausman test = 7.44 (0.0064)

(2)

(3)

จากการทดสอบทางเศรษฐมิติโดยใชแบบจําลองของสมการ (2) และสมการ (3) พบวา แบบจําลองปจจัยคงที่ (Fixed effect) มีความเหมาะสมกับขอมูลมากกวาแบบจําลองกําลังสองนอยทีส่ ดุ (OLS) โดยใชแบบทดสอบ Hausman test8 โดยสมมติฐาน หลัก H0 (Null Hypothesis) คือ คาสัมประสิทธิ์จากแบบจําลอง Fixed effect และ OLS ไมมีความคลาดเคลื่อน (Consistent) และ มีประสิทธิภาพ (Efficient)9 และสมมติฐานอื่น H1 (Alternative Hypothesis) คือ คาสัมประสิทธิ์จากแบบจําลอง Fixed effect มี ความคลาดเคลื่อน (Non-Consistent) ทําใหแบบจําลอง OLS เหมาะสมกับขอมูลมากที่สุด โดยจากการทดสอบพบวา คาสถิติ Hausman Statistic อยูที่ระดับ 7.44 โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.00 ทําใหไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได ซึ่งบงชี้วาแบบ จําลอง Fixed effect เหมาะสมกับขอมูลที่มีอยูมากกวาการใชแบบจําลอง OLS

จากการศึกษาของ Aschauer (1989) และ Barro (1990) พบวา ผลจากการใชจายของภาครัฐสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจผานการเพิ่มผลผลิตของ ภาคเอกชน ซึ่งการศึกษาอางอิงจากหลักทฤษฎี Endogenous growth บงชี้วาการใชจายภาครัฐทางดานยกระดับโครงสรางพื้นฐานของประเทศหรือบริการจาก การสรางโครงสรางพืน้ ฐาน อาทิ ระบบคมนาคมขนสงและระบบการสือ่ สารนัน้ เปนผลลัพธทกี่ อ ใหเกิดประโยชนในเชิงบวก อยางไรก็ตาม จากการศึกษาของ Bailey (1990) Karras (1994) Tanzi and Schuknecht (1995) พบวา ความสัมพันธของการขยายตัวทางเศรษฐกิจและรายจายภาครัฐมิไดเปนไปในเชิงบวกเสมอไป จําเปนตองศึกษาถึงความสัมพันธของแหลงที่มาของรายไดรัฐบาลและการออมของภาคเอกชน 7 แบบจําลองไดถูกพัฒนาและนํามาใชอยางแพรหลาย เชน การศึกษาของ IMF (2006) (“New Estimates of Government Net Capital Stocks for 22 OECD Countries”, IMF Staff Papers Vol. 53 N0. 1 by CHRISTOPHE KAMPS) 8 คา Hausman statistic มีดังนี้ โดย และ คือ สัมประสิทธิ์จากแบบจําลอง 2SLS และ OLS ตามลําดับ 9 มีคาความแปรผันนอย (smaller asymptotic variance) 6

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

63


จากสมการ (2) บงชีว้ า คาสัมประสิทธิข์ อง Ln(Kg/L) ทีเ่ ทากับ 0.166 มีคา เปนบวก แสดงวาผลิตภาพการผลิตของปจจัยทุน ภาครัฐ (Capital Productivity of public sector) มีคาเทากับ 0.166 หรือกลาวไดวา ถาปจจัยทุนภาครัฐเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะสง ผลทําให GDP เพิ่มสูงขึ้นรอยละ 0.166 สะทอนใหเห็นวาการลงทุนภาครัฐโดยรวมมีผลบวกตอการขยายตัวของเศรษฐกิจในระยะ ยาว อยางไรก็ตาม จากสมการ (3) ผลกระทบของปจจัยทุนภาคเอกชนตอ GDP ระยะยาวสูงกวาปจจัยทุนภาครัฐ โดยหากปจจัย ทุนภาคเอกชนเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําให Potential GDP เพิ่มสูงขึ้นรอยละ 0.648 นอกจากนี้ ผลการศึกษานี้ยังสอดคลอง กับผลการศึกษาของ Suwanrada (1999)10 โดยใชสมการ Production function ในชวงป 2513-2539 พบวา การลงทุนภาครัฐ มีผลเปนบวกตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยหากมีการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะทําให GDP เพิ่มขึ้น รอยละ 0.2-0.3 และการศึกษาของ IMF (2006)11 ในประเทศ OECD พบวา ปจจัยทุนภาครัฐซึ่งใชแทนการลงทุนภาครัฐพบวา การลงทุนภาครัฐโดยรวมมีผลบวกตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยการลงทุนเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําให GDP ในประเทศ OECD เพิ่มขึ้นรอยละ 0.22 ตารางที่ 2 การประมาณการ Potential output growth ใชวิธี Production function จํานวนชั่วโมงการทํางาน มูลคาสตอกทุน (Capital Stock) ผลิตภาพโดยรวม (TFP) Potential GDP (Model) Potential GDP (HP filter)

2554-2559E 0.1 1.5 3.8 5.1

2560-2563E -0.4 2.0 3.8 4.9 4.5

2564-2568E -0.9 3.0 3.8 4.9

ที่มา : คํานวณโดยผูวิจัย

จากสมการ (2) ทําใหสามารถคํานวณศักยภาพการผลิตของประเทศ (Potential GDP) เพื่อจะใชเปนกรณีฐาน (Baseline Scenario) ในการประมาณการผลกระทบของการลงทุนภาครัฐในลําดับตอไป โดยการศึกษานี้จะใชผลการศึกษาจากแบบจําลอง Fixed effect และการหาคาแนวโนมของ GDP โดยวิธี Hodrick-Prescott Filte12 ทั้งนี้ เพื่อใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลง ของโครงสรางทางเศรษฐกิจ การคาดการณไดแยกออกเปน 3 ชวง คือ ชวงที่ 1 ป 2554-2559 ชวงที่ 2 ป 2560-2563 และชวงที่ 3 ป 2564-2568 การศึกษามีสมมติฐานหลักดังตารางที่ 2 โดยจํานวนชั่วโมงการทํางานรวมทั้งประเทศมีแนวโนมลดลงตอเนื่อง ตามจํานวนประชากรแรงงานที่ลดลงในอนาคต อันเนื่องมาจากจํานวนประชากรวัยสูงอายุจะเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่มูลคาการสตอก ทุน (Capital Stock) มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตอเนื่อง เพื่อรองรับการลดลงของจํานวนแรงงานในภาคการผลิต นอกจากนี้ ผลิตภาพ โดยรวม (TFP) มีแนวโนมการขยายตัวที่คงที่เพื่อใหสอดคลองกับโครงสรางคุณภาพการศึกษา แรงงาน และคุณภาพทุนที่ขยายตัว คงที่ ผลการศึกษาพบวา อัตราการขยายตัวของศักยภาพการผลิตของประเทศไทย (Potential GDP) อยูในชวงรอยละ 4.5-5.1 โดย จากแบบจําลอง HP filter ใหคาอัตราการขยายตัวของ Potential GDP เทากับรอยละ 4.5 และจากแบบจําลอง Fixed effect ให คาอัตราการขยายตัวของ Potential GDP เทากับรอยละ 5.1 และรอยละ 4.9 ของป 2554-2559 และป 2560-2568 อยางไรก็ตาม นโยบายการลงทุนของภาครัฐสามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตของประเทศได

Suwanrada, W. (1999). The Role of Public Capital in Thai Economy. Chulalongkorn Jourbal of Economics 11, 3: 273-320. IMF Staff Papers (2006). New Estimates of Government Net Capital Stocks for 22 OECD Countries, 1960–2001. 12 วิธี HP filter เปนเครื่องมือทางสถิติเพื่อใชในการหาแนวโนมของอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจที่มีคาความแปรปรวนตํ่าที่สุด โดยปกติขอมูลทางสถิติประเภท อนุกรมเวลา (Time series) ซึง่ เปนลักษณะของขอมูลผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ จะมีองคประกอบในชุดขอมูล 2 ประเภท ไดแก ขอมูลวัฏจักร (Cycle) และ ขอมูลแนวโนม (Trend) ซึง่ วิธี HP filter จะแยกแนวโนมของผลผลิต (Y*) จากผลผลิตทีแ่ ทจริง (Y) โดยผานขัน้ ตอนของการหาขนาดของการเคลือ่ นไหวของผลผลิต ทีแ่ ทจริงรอบ ๆ แนวโนมของตัวมันเองใหมคี า ตํา่ ทีส่ ดุ ภายใตสมการ Minimization ขององคประกอบขอมูลวัฏจักร และองคประกอบขอมูลแนวโนม ดู Hodrick,R., and E. Prescott, 1997, “Postwar US. Business Cycles: An Empirical Investigation,” Journal of Money, Credit, and Banking, Vol. 29, pp. 1-16. 10 11

64

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ตารางที่ 3 ผลกระทบของการปรับเพิ่มการลงทุนภาครัฐตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว POTENTIAL GDP (กรณีฐาน) 2554E 2554-2559E 2560-2563E 2564-2568E 2568E

4.5 5.1 4.9 4.9 4.9

กรณีเพิ่มการลงทุนภาครัฐ ลงทุนภาครัฐตอ GDP Potential GDP เพิ่มจากกรณีฐาน 5.7 0.7 6.6 2.0 8.2 1.9 10.5 1.9 11.6 1.9

ที่มา : คํานวณโดยผูวิจัย

โดยทัว่ ไปนโยบายการเพิม่ การลงทุนในโครงการขนาดใหญของภาครัฐ (mega projects) จะกอใหเกิดการสะสมทุนในระบบ เศรษฐกิจเพือ่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอนาคต ภายใตสมมติฐานทีก่ ารลงทุนภาครัฐ ณ ราคาคงทีจ่ ะกลับไปสูร ะดับกอน วิกฤตเศรษฐกิจป 2540 ที่อยูที่รอยละ 11.6 ตอ GDP ในป 2568 เพิ่มขึ้นจากรอยละ 5.1 ตอ GDP ในป 2553 ทั้งนี้ จากตารางที่ 3 ไดสรางสถานการณจาํ ลอง (Simulation) พบวา นโยบายเพิม่ ปริมาณการลงทุนภาครัฐใหถงึ ระดับรอยละ 11.6 ตอ GDP ในป 2568 โดยเปนการปรับเพิม่ แบบขัน้ บันไดจะสงผลทําใหอตั ราการขยายตัวของศักยภาพการผลิตของประเทศ (Potential GDP) เพิม่ สูงขึน้ โดยเฉลี่ยจากกรณีฐานรอยละ 1.9 ดังนั้น การลงทุนภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้นจะสงผลตอการใชจายภายในประเทศในระยะสั้น และยังสง ผลตอศักยภาพการผลิตของประเทศในระยะยาวดวย

4. ขอสรุปและแนวโนมศักยภาพการผลิตในอนาคต ผลการศึกษาจากการคาดการณศักยภาพการผลิตพบวา Potential GDP ขยายตัวอยูในชวงรอยละ 4.5-5.1 โดยหาก ตองการเพิม่ การลงทุนภาครัฐใหเขาสูร ะดับกอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 ทีเ่ คยอยูท รี่ ะดับรอยละ 11.6 ตอ GDP จะมีสว นสนับสนุนให Potential GDP ขยายตัวจากกรณีฐานถึงรอยละ 2.0 ดังนั้น ความทาทายของนโยบายของภาครัฐในอนาคต คือการเพิ่มการลงทุน ของภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุนในโครงสรางและสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน เพือ่ รักษาใหศกั ยภาพการผลิตของประเทศขยายตัวอยาง ยัง่ ยืน นอกจากนี้ ควรจะใหความสําคัญกับการพัฒนาทุนมนุษย (Human Capital) ควบคูก นั ไปดวย เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต และคุณภาพแรงงานในอนาคต เพือ่ รองรับการลดลงของจํานวนแรงงานและการกาวไปสูส งั คมผูส งู อายุ โดยตองเพิม่ ประสิทธิภาพ การใชจา ยและจัดสรรสวัสดิการใหตรงกลุม เปาหมาย เพือ่ สรางโอกาสและลดความเหลือ่ มลํา้ รวมไปถึงการพัฒนาระบบการศึกษา ใหเขาถึงอยางทั่วถึง

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

65


บทวิเคราะห

1

เรื่อง ฝามหาอุทกภัยป 2554 บทสรุปผูบริหาร

สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนจากปรากฏการณลานีญา สงผลใหในป 2554 ประเทศตองเผชิญ กับพายุโซนรอนถึง 5 ลูก ฝนตกชุกในหลายพื้นที่ ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 23 ป ปริมาณนํ้าที่ไหลเขา เขื่อนขนาดใหญสูงจนยากตอการบริหารจัดการ เกิดนํ้าทวมขังในหลายพื้นที่จนเกิดเปนมหาอุทกภัยขึ้น ❍ ความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยครั้งนี้สงผลตอเศรษฐกิจไทยเปนวงกวางทั้งดานอุปทาน และเชื่อมโยงไปถึงดานอุปสงค โดยในดานอุปทานภาคที่ไดรับความเสียหายมากที่สุดคือภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากมีนิคมอุตสาหกรรม 7 แหลงตองปดทําการเพราะนํ้าไดเขาทวมทั้งนิคม โดยประเมินความเสียหาย ประมาณ 1.1 แสนลานบาท สวนภาคบริการเปนภาคที่ไดรับผลกระทบรองลงมา เนื่องจากการคาปลีกคาสงตอง หยุดชะงัก การกอสรางอาคาร บานเรือนไมสามารถดําเนินการได ภาคการทองเที่ยวทั้งโรงแรม ภัตตาคาร และ การคมนาคมไดรบั ผลกระทบรุนแรงเนือ่ งจากนักทองเทีย่ วสวนใหญไดยกเลิกการเดินทางหลังจากเกิดความเสีย่ ง โดยประเมินความเสียหายในภาคบริการประมาณ 4.3 หมื่นลานบาท ขณะที่ภาคเกษตรที่ไดรับผลกระทบจาก ผลผลิตทีเ่ สียหายอยางมากเชนกัน โดยเฉพาะนาขาวซึง่ มีแหลงเพาะปลูกสําคัญอยูใ นภาคกลางไดถกู นํา้ ทวมเปน บริเวณกวาง โดยประเมินความเสียหายประมาณ 3.9 หมื่นลานบาท ❍ เมื่อรวมความเสียหายทั้งหมดจะพบวาเหตุการณมหาอุทกภัยครั้งนี้สรางความเสียหายแก ระบบเศรษฐกิจไทยในเบื้องตนรวม 1.9 แสนลานบาท หรือสงผลใหเศรษฐกิจไทยในป 2554 หดตัวจากที่ สศค. ประมาณการไวเดิมรอยละ -1.81 หรือคาดวาจะเหลือเพียงรอยละ 2.71 จากเดิมทีค่ าดวาจะขยายตัวไดรอ ยละ 4.5 ❍ นอกจากนั้น ภาคสงออกยังไดรับผลกระทบมากเนื่องจากนิคมอุตสาหกรรมที่ถูกนํ้าทวมเปน แหลงผลิตสินคาสงออกที่สําคัญ โดยจากการประเมินความเสียหายใน 4 หมวดสินคาหลัก ไดแก ยานยนต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา และสินคาเกษตร พบวามูลคาการสงออกจะลดลง 77,171.6 ลานบาท หรือ 2,489.4 ลานดอลลารสหรัฐ หรือขยายตัวเหลือรอยละ 21.0 เมื่อเทียบกับปกอนหนา ในขณะที่ดานแรงงาน มีสถานประกอบการไดรับผลกระทบจากนํ้าทวมทั่วประเทศ 10,827 แหง และลูกจางเดือดรอน 446,777 คน ซึ่งคาดวาจะมีผูที่เสี่ยงตอการถูกเลิกจางจํานวน 1 แสนคน ซึ่งจะทําใหอัตราการวางงานในป 2554 เพิ่มขึ้นจาก รอยละ 0.7 เปนรอยละ 0.9 นอกจากนั้น การขาดแคลนสินคาจําเปนในหลายรายการยังสงผลใหอัตราเงินเฟอ ทั่วไปในป 2554 สูงขึ้นมาอยูที่รอยละ 3.9 ❍ เพื่อใหการซอมแซม กอสราง และฟนฟูจากความเสียหายเปนไปไดอยางรวดเร็ว ภาครัฐได ออกมาตรการชวยเหลือผูประสบภัยทั้งภาคประชาชนและภาคเอกชน ซึ่งจะทําใหเศรษฐกิจไทยไมตองหยุด ชะงักเปนเวลานาน โดยแบงเปนมาตรการระยะสั้น ไดแก สินเชื่อเพื่อใชในการฟนฟูและเยียวยาผูประสบภัย เงินชวยเหลือผูป ระสบภัยทัง้ ในเขตกรุงเทพฯ และภูมภิ าค สวนระยะยาว รัฐบาลวางแผนพัฒนาระบบการบริหาร จัดการทรัพยากรนํ้าในอนาคต โดยจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบ แกไขปญหาภัยแลง ซํ้าซาก และวางกรอบการลงทุนดานบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของประเทศ ❍

1

66

ผูเขียน : นายยุทธภูมิ จารุเศรนี และนางสาวกาญจนา จันทรชิต เศรษฐกรปฏิบัติการ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ ผูอํานวยการสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สําหรับคําแนะนํา

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


1. บทนํา สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนจากปรากฏการณลานีญา สงผลใหในป 2554 ประเทศตองเผชิญกับพายุโซนรอน ถึง 5 ลูก เกิดฝนตกชุก ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 23 ป ปริมาณนํ้าที่ไหลเขาเขื่อนขนาดใหญสูงจนยากตอ การบริหารจัดการ เกิดนํ้าทวมขังในหลายพื้นที่จนเกิดเปนมหาอุทกภัยขึ้น ในป 2554 เปนปที่ประเทศไทยเผชิญกับสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนอยางยิ่ง เนื่องจากประเทศในมหาสมุทรแปซิฟก เกิดปรากฏการณลานีญา (La Niña) ขึ้น ภาพที่ 1 ดัชนี Oceanic Nino (ONI)

ภาพที่ 2 อุณหภูมินํ้าทะเลในมหาสมุทรตาง ๆ

ที่มา : National Oceanic and Atmospheric administration (NOAA)

จากขอมูลของ National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) หนวยงานติดตามสภาพภูมิอากาศของ สหรัฐอเมริกาพบวา ในป 2554 ดัชนี Oceanic Nino ซึ่งเปนคาที่บอกถึงความรุนแรงของสภาพภูมิอากาศอยูในระดับที่ตํ่ากวา 0 (ดังแสดงในภาพที่ 1) บงชี้วาจะเปนปที่เกิดปรากฏการณลานีญาในระดับรุนแรง ทําใหกระแสนํ้าอุนในมหาสมุทรแปซิฟก พัดผานมาอยูที่ฝงตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดังแสดงในภาพที่ 2 การที่กระแสนํ้าอุนไหลมา สะสมดังกลาวทําใหอุณหภูมิของนํ้าทะเลบริเวณนั้นปรับตัวสูงขึ้น ผลคือการเกิดการระเหยของนํ้าทะเลเพิ่มขึ้น กอตัวเปนเมฆ ฝนและรวมตัวกันจนพัฒนาเปนพายุในที่สุด จากสถานการณดังกลาวทําใหในป 2554 ประเทศไทยตองเผชิญกับพายุโซนรอน ถึง 5 ลูกดวยกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) พายุไหหมา (Haima) ที่เกิดจากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต รองความกดอากาศตํ่า เคลื่อนเขาฝงที่ประเทศ เวียดนามตอนบน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2554 แลวออนกําลังลงเปนพายุดีเปรสชันเคลื่อนผานประเทศลาว จนออนกําลังลงเปน หยอมความกดอากาศตํา่ กําลังแรง เมือ่ วันที่ 26 มิถนุ ายน 2554 จากนัน้ ไดเคลือ่ นเขาปกคลุมทีจ่ งั หวัดนาน ซึง่ มีผลทําใหภาคเหนือ ตอนบนของไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากอยางตอเนื่อง ทําใหมีนํ้าทวมฉับพลัน นํ้าปาไหลหลาก ดินถลมที่จังหวัดแพร เชียงราย พะเยา นาน ตาก และจังหวัดสุโขทัย พื้นที่เกษตรเสียหาย 159,598 ไร 2) พายุนกเตน (Nok-Ten) หรือพายุนกกระเต็น เปนพายุที่เกิดจากหยอมความกดอากาศตํ่ากําลังแรงในมหาสมุทร แปซิฟกเหนือดานตะวันตก จนทําใหเกิดฝนตกหนักในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทย ตั้งแตชวงปลาย เดือนกรกฎาคมถึงตนเดือนสิงหาคม เกิดเหตุนาํ้ ทวมรวม 20 จังหวัด ตัง้ แตภาคเหนือ ภาคกลางตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน และภาคใตตอนบน มีผูเสียชีวิต 20 ราย ประชาชนเดือดรอน 314,732 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 619,723 ไร 3) พายุโซนรอนไหถาง (Haitang) เปนพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนขึ้นฝงที่ประเทศเวียดนาม ในวันที่ 27 กันยายน 2554 และออนกําลังลงเปนพายุดเี ปรสชัน กอนเคลือ่ นตัวมาทีป่ ระเทศลาว จากนัน้ ออนกําลังลงเปนหยอมความกดอากาศตํา่ กําลังแรง เคลื่อนเขาปกคลุมที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทยในวันที่ 28 กันยายน 2554

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

67


4) พายุโซนรอนเนสาด (Nesat) ซึง่ เดิมทีเปนพายุไตฝนุ ทีเ่ คลือ่ นตัวผานอาวตังเกีย๋ ขึน้ ฝง ทีป่ ระเทศเวียดนาม ออนกําลัง เปนพายุโซนรอนในวันที่ 30 กันยายน 2554 เคลือ่ นเขาสูไ ทย และจากสถานการณดงั กลาวทําใหประเทศไทยตอนบนมีฝนตกหนัก ตอเนื่อง จนเกิดนํ้าทวมขยายวงกวางในหลายพื้นที่ 5) พายุโซนรอนนาลแก (Nalgae) เปนพายุลูกสุดทายที่พัดเขามาสูในประเทศไทยในป 2554 สงผลใหประเทศไทยมี ฝนตกชุกหนาแนนจนหลายพื้นที่เกิดอุทกภัยอยางหนัก ทั้งภาคเหนือตอนลางและภาคกลาง ทําใหเกิดนํ้าทวมในพื้นที่เศรษฐกิจ สําคัญ โดยเฉพาะในเขตนิคมอุตสาหกรรมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานี จากพายุที่พัดผานเขามาสูประเทศไทยทั้ง 5 ลูกดังกลาว เปนผลใหในป 2554 ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยของทั้งประเทศ ตั้งแต ตนปถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2554 อยูที่ 1,856 มิลลิเมตร นับเปนระดับที่สูงที่สุดในรอบ 23 ป ดังแสดงในภาพที่ 3 นอกจากนั้น ยังพบวาความสัมพันธระหวางปทเี่ กิดปรากฏการณลานีญากับปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ ของไทย กลาวคือ ในป 2539 ป 2542 ป 2543 ป 2551 และป 2554 เปนปทเี่ กิดปรากฏการณลานีญาและมีปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ สูงกวาปกติ ทําใหสามารถสรุปไดวา ปรากฏการณ ลานีญาในมหาสมุทรแปซิฟกมีผลใหเกิดปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยสูงกวาปกติอยางมีนัยสําคัญ ดวยปริมาณนํ้าฝนที่มากระดับนี้ทําใหระดับนํ้าในเขื่อนภูมิพลเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ตั้งแตตนเดือนพฤษภาคม 2554 เปนตนมา หลังพายุไหหมาพัดผานเขาสูประเทศไทย (ดังแสดงในภาพที่ 4) และเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องหลังพายุนกเตนพัดเขา มาเปนลูกที่ 2 จนทําใหการบริหารจัดการนํ้าในเขื่อนเปนดวยความยากลําบาก ทายที่สุดเมื่อระดับนํ้าในเขื่อนกักเก็บถึงระดับ รอยละ 100 ของความจุทั้งหมด จึงจําเปนที่จะตองปลอยนํ้าใหไหลผานประตูระบายนํ้าเสน (Spillway) ในวันที่ 3-13 ตุลาคม 2554 และวันที่ 18-20 ตุลาคม 2554 และเมื่อประกอบกับพายุอีก 3 ลูก ที่พัดเขามาจึงทําใหเกิดนํ้าทวมขังในหลายจังหวัด และ ลุกลามเปนมหาอุทกภัยของประเทศไทยในที่สุด

ภาพที่ 3 ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยทั้งประเทศในปตาง ๆ

ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา * หมายเหตุ ขอมูลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม–วันที่ 4 พฤศจิกายน

68

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 4 ปริมาณนํ้าในเขื่อนภูมิพล

ที่มา : สํานักอุทกวิทยาและบริหารนํ้า กรมชลประทาน

2. ผลกระทบที่เกิดตอเศรษฐกิจไทย ความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยครั้งนี้สงผลตอเศรษฐกิจไทยเปนวงกวางทั้งดานอุปทาน ไดแก เกษตร อุตสาหกรรม และบริการและเชื่อมโยงไปถึงดานอุปสงค โดยคาดวาจะทําใหเกิดความเสียหาย 1.9 แสนลานบาท หรือสงผลใหเศรษฐกิจ ไทยในป 2554 หดตัวรอยละ -1.81 เหลือขยายตัวเพียงรอยละ 2.71 นอกจากนั้น การขาดแคลนสินคาจําเปนในหลายรายการ ยังสงผลใหอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2554 สูงขึ้นมาอยูที่รอยละ 3.9 โดยกลไกการเชื่อมโยงมีรายละเอียด ดังนี้ ภาพที่ 5 แผนภาพแสดงการเชื่อมโยงผลกระทบอุทกภัยตอเศรษฐกิจไทย

ที่มา : คํานวณโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

69


ภาวะนํ้าทวมสรางความเสียหายแกผลผลิตในภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ทําใหรายไดของเกษตรกรและกําลัง แรงงานในภาคอุตสาหกรรมลดลง ซึ่งจะสงผลใหการจับจายใชสอยของแรงงานกลุมนี้ลดลงในอัตราสูง เนื่องจากประชาชน กลุมนี้มีคาความโนมเอียงหนวยสุดทายในการบริโภค (Marginal Propensity to consump: MPC) อยูในระดับสูง ดังนั้น จึง ทําใหการบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption) ปรับตัวลดลงมาก ประกอบกับภาวะนํ้าทวมยังทําใหการลงทุนใหมหรือ การลงทุนเพือ่ ขยายกิจการไมสามารถดําเนินการจัดซือ้ และกอสรางได ภาคเอกชนจึงชะลอการลงทุนออกไปกอน ทําใหการลงทุน ภาคเอกชน (Private Investment) ปรับตัวลดลง การหยุดการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมที่ประสบภัยนํ้าทวมยังสงผลตอการสงออกสินคาของไทย เนื่องจากพื้นที่ นิคมอุตสาหกรรมสวนใหญมีการผลิตสินคาเพื่อการสงออกเปนหลัก โดยเฉพาะสินคาในหมวดยานยนต ฮารดดิสก ชิ้นสวน อิเล็กทรอนิกส และเครื่องใชไฟฟา ดังนั้น จึงทําใหการสงออกปรับตัวลดลงมาก นอกจากนั้น การสงออกบริการก็ยังไดรับ ผลกระทบจากวิกฤตนํ้าทวมครั้งนี้ เนื่องจากแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของภาคกลางทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ และมรดกโลก ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดถูกนํ้าทวมทั้งหมด เสนทางการเดินทางที่ใชเดินทางไปยังภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือถูก ตัดขาดจึงทําใหการสงออกบริการลดลง จากการลดลงขององคประกอบใน GDP ดังที่กลาวมาทําให GDP ของประเทศไทยหลัง เผชิญวิกฤตนํ้าทวมลดลงในที่สุด ขณะเดียวกัน การที่มีนํ้าทวมขังในหลายพื้นที่เพาะปลูกสินคาเกษตรทําใหผลผลิตผักและผลไมไดรับความเสียหาย ประกอบกับเหตุการณนาํ้ ทวมสงผลกระทบตอจิตวิทยาของประชาชน ทําใหมกี ารกักตุนสินคาโดยเฉพาะสินคาจําเปน เชน อาหาร เครือ่ งดืม่ เครือ่ งอุปโภคบริโภค สงผลใหเกิดการขาดแคลนสินคา ซึง่ สถานการณดงั กลาวจะเปนปจจัยใหระดับราคาสินคาปรับตัว สูงขึ้นและสงผลตออัตราเงินเฟอในที่สุด

• การวิเคราะหผลกระทบตอเศรษฐกิจในดานอุปทาน ภาคการเกษตร โดยคาดวาพืน้ ทีก่ ารเกษตรจะเสียหาย 10,986,252 ไร พืน้ ทีเ่ พาะเลีย้ งสัตวนาํ้ คาดวาจะเสียหาย 194,012 บอ/กระชัง ดานปศุสัตว สัตวเลี้ยงที่ไดรับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 13,282,622 ตัว (ขอมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ) โดย เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ประเมินผลกระทบดังกลาวตอการผลิตขาวเสียหายรวมทั้งสิ้นประมาณ 6 ลาน ตัน ทําใหโดยรวมแลวผลผลิตขาวนาป 2554/2555 จะมีเพียง 19 ลานตัน ลดลงจากเปาที่คาดวาจะไดประมาณ 25 ลานตัน และ ลดลงเมือ่ เทียบกับปทผี่ า นมาทีม่ ผี ลผลิต 21-22 ลานตัน ซึง่ หากภายหลังจากนํา้ ลดลงแลวเกษตรกรจะเริม่ ปลูกขาวนาปรังทีค่ าด วาจะใหผลผลิตประมาณ 8-9 ลานตัน ดังนั้น ผลผลิตขาวในป 2554/2555 จะไดรวม 27 ลานตัน ลดลงจาก 31 ลานตันในปกอน ภาคอุตสาหกรรม พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบมาก ไดแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ประกอบดวยนิคมอุตสาหกรรม 5 แหง คือ นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมบานหวาไฮเทค นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร เขตประกอบการอุตสาหกรรม แฟคตอรีแ่ ลนดวงั นอย และเขตประกอบการสวนอุตสาหกรรมโรจนะ) และจังหวัดปทุมธานี (ประกอบดวยนิคมอุตสาหกรรม 2 แหง คือ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร และนิคมอุตสาหกรรมบางกะดี) ซึง่ สวนใหญเปนฐานการผลิตชิน้ สวนยานยนต อิเล็กทรอนิกส และ เครื่องใชไฟฟา การที่นิคมฯ ดังกลาวไดรับผลกระทบจากนํ้าทวมทําใหเกิดผลเสียตอหวงโซอุปทาน (Supply Chain) โดยเฉพาะ ในการผลิตยานยนต คายโตโยตา ฟอรด ฮอนดา และอีซูซุ ตองระงับการผลิตเนื่องจากขาดแคลนชิ้นสวนประกอบสําคัญที่ผลิต ขึน้ จากนิคมอุตสาหกรรมดังกลาว บริษทั อิเล็กทรอนิกสอยาง ซีเกท และเวสเทิรน ดิจติ อลระงับการผลิตฮารดดิสก และบริษทั ผลิต เครื่องใชไฟฟาอยาง แคนนอนและนิคอน ตองระงับการผลิตเครื่องใชไฟฟาและตองยายการผลิตไปที่ประเทศเวียดนามชั่วคราว โดยในแตละปภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะสรางมูลคาใหแก GDP ของประเทศราว 3.6 แสนลานบาท หรือ 982.9 ลานบาท/วัน ทัง้ นีค้ ดิ เปนสัดสวนรอยละ 10.0 ของ GDP ภาคอุตสาหกรรมของทัง้ ประเทศ (หมายเหตุ : นํา้ เริม่ ทวมเขานิคม อุตสาหกรรมโรจนะ ในวันที่ 1 ตุลาคม 2554) ภาคบริการ โดยการผลิตภาคบริการในพื้นที่นํ้าทวมขัง สวนใหญจะเปนการผลิตบริการสาขาคาปลีกคาสง สาขาการ คมนาคมขนสงและสื่อสาร สาขาโรงแรมและภัตตาคาร สาขาการกอสราง และสาขาการเงิน ซึ่งสงผลใหภาคการผลิตดังกลาว ไดรับผลกระทบ โดยคาดการณระยะที่สงผลกระทบของแตละสาขาการผลิตในพื้นที่ภาคกลางอยูที่ 30 วัน และกรุงเทพฯ 15 วัน ในขณะที่ดานจํานวนนักทองเที่ยวจากตางชาติพบวา ไมไดรับผลกระทบมากนักเนื่องจากในชวงไตรมาสที่ 4 ของปนักทองเที่ยว สวนใหญจะเดินทางเพื่อมาทองเที่ยวในภาคใตบริเวณริมชายฝง ประกอบกับนักทองเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวในภาคกลางซึ่งเกิด ปญหาภัยพิบตั กิ ไ็ ดมกี ารเปลีย่ นจุดหมายปลายทางเพือ่ หลีกเลีย่ งไปทองเทีย่ วในภาคอืน่ ๆ แทน ทัง้ นีค้ าดวาจํานวนนักทองเทีย่ ว ตางชาติของป 2554 จะลดลง 100,000 คน เหลือ 19.45 ลานคน ขยายตัวรอยละ 22.1 ขณะที่ ปลัดกระทรวงคมนาคม ประเมิน วาตองใชงบประมาณฟน ฟูใหถนนกลับสูส ภาพเดิมประมาณ 25,000-27,000 ลานบาท แบงเปนถนนทางหลวงเสียหายประมาณ 580 สายทาง จํานวน 2,525 แหง ใน 20 จังหวัด มูลคาความเสียหายประมาณ 19,000 ลานบาท สวนถนนทางหลวงชนบท เสียหายรวมกวา 900 สายทาง มูลคาความเสียหายประมาณ 8,000 ลานบาท (โดยรายละเอียดตามตารางที่ 1 สรุป ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณนํ้าทวม)

70

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ตารางที่ 1 สรุปความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณนํ้าทวม

ความเสียหายที่เกิดขึ้น (ลานบาท)

รายการ ภาคเกษตร พื้นที่ที่ไดรับความเสียหาย - ขาว - พืชไร - มันสําปะหลัง ประมง ปศุสัตว - ไก - โค กระบือ - สุกร รวม ภาคอุตสาหกรรม การผลิต อุตสาหกรรม - อยุธยา - ปทุมธานี - กทม. ภาคบริการ การกอสราง - ภาคกลาง - กทม. คาปลีกคาสง - ภาคกลาง - กทม. โรงแรมภัตตาคาร - ภาคกลาง - กทม. ขนสงและสื่อสาร - ภาคกลาง - กทม. การเงิน - ภาคกลาง - กทม. โรงพยาบาล - ภาคกลาง - กทม. รวม รวมทั้งหมด

หนวย 10,986,252 ไร 8,789,002 ไร 2,197,250 ไร 194,012 บอ 13,282,622 ตัว 10,626,098 ตัว 664,131 ตัว 1,992,393 ตัว

120 วัน 120 วัน 15 วัน

60 วัน 15 วัน 60 วัน 15 วัน 30 วัน 15 วัน 30 วัน 30 วัน 15 วัน 30 วัน 15 วัน 393 แหง 30 วัน 15 วัน

เสียหาย/หนวย (บ.) กรณีสูง (100%) กรณีฐาน (75%) กรณีตํา (50%)

3,375

29,663

22,247

14,831

5,700 20,000

12,524 3,880

9,393 2,910

6,262 1,940

10 3,000 2,000

106.26 1,992 3,985 52,151

80 1,494 2,989 39,113

53 996 1,992 26,075

1,781.0 ลานบาท 982.9 ลานบาท 140.6 ลานบาท 657.5 ลานบาท

144,682 117,953 16,866 9,863

108,512 88,465 12,650 7,397

72,341 58,976 8,433 4,931

198.7 ลานบาท 99.3 ลานบาท 99.4 ลานบาท 1,030.0 ลานบาท 275.2 ลานบาท 754.8 ลานบาท 400.7 ลานบาท 15.8 ลานบาท 384.8 ลานบาท

7,450 5,960 1,490 27,836 16,514 11,322 6,247 475 5,773 7,891 1,711 6,180 4,880 571 4,309 3,186 2,525 661 57,491 254,324

5,588 4,470 1,118 20,877 12,386 8,491 4,686 356 4,330 5,919 1,284 4,635 3,660 428 3,232 2,390 1,894 496 43,118 190,743

3,725 2,980 745 13,918 8,257 5,661 3,124 237 2,886 3,946 856 3,090 2,440 285 2,155 1,593 1,263 331 28,746 127,162

57.0 ลานบาท 412.0 ลานบาท 19.0 ลานบาท 287.3 ลานบาท 84.2 ลานบาท 44.1 ลานบาท

ที่มา : คํานวณโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

71


ในการประเมินความเสียหายจากภาวะนํ้าทวมในครั้งนี้จะเทียบจากฐานการประมาณการที่ระดับรอยละ 4.5 เมื่อเดือน มิถุนายน 2554 เนื่องจากเปนชวงกอนภาวะนํ้าทวม ทั้งนี้ความเสียหายรวมทั้งหมดจะอยูที่ 190,743 ลานบาท ชวงคาดการณ 127,162-254,324 ลานบาท และจะทําใหเศรษฐกิจไทยหดตัวลงรอยละ -1.81 ตอป ชวงคาดการณ -1.21 ถึง -2.42 ตอป ➥ กรณีสูง คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะหดตัวที่รอยละ -2.42 ตอป ลดลงจากรอยละ 4.53 ตอปมาอยูที่ รอยละ 2.11 ตอป ➥ กรณีฐาน คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะหดตัวที่รอยละ -1.81 ตอป ลดลงจากรอยละ 4.53 ตอปมาอยูที่ รอยละ 2.71 ตอป ➥ กรณีตํ่า คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะหดตัวที่รอยละ -1.21 ตอป ลดลงจากรอยละ 4.53 ตอปมาอยูที่ รอยละ 3.32 ตอป

ภาพที่ 6 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2554 กอนและหลังวิกฤตนํ้าทวม

ที่มา : คํานวณโดย สศค.

หมายเหตุ : กรณีสูง ภาคเกษตร เสียหายโดยสิ้นเชิง ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เสียหายมาก กรณีฐาน ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เสียหายรอยละ 75 จากกรณีสูง กรณีตํ่า ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เสียหายรอยละ 50 จากกรณีสูง

➥ ทั้งนี้ สศค.ประเมินวาผลกระทบจากเหตุการณนํ้าทวมคาดวาจะสงผลให GDP ลดลงรอยละ -1.81 ทําให สศค.

ประเมินวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวเหลือรอยละ 2.71 (จากประมาณการเดิมที่รอยละ 4.5 ณ เดือนมิถุนายน 2554)

• การวิเคราะหผลกระทบตอเศรษฐกิจในดานอุปสงค ภาคการสงออก ผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัยจะสงผลใหภาคการสงออกไมสามารถผลิตสินคาเพื่อสงออกได เนื่องจากนิคมอุตสาหกรรมทั้ง 7 แหง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานีตองหยุดทําการลง โดยมีสินคาหลักที่ ผลิตในพื้นที่ดังกลาว ไดแก ยานยนต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา นอกจากนั้น ยังสงผลตอการสงออกในหมวดสินคา เกษตร เชน ขาว และไกแปรรูป เนื่องจากแหลงผลิตถูกนํ้าทวมเปนบริเวณกวาง

72

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ตารางที่ 2 ผลกระทบที่เกิดกับภาคการสงออก การสงออก H1/54 หมวดยานยนต ฮอนดา 42,062.0 โตโยตา 81,844.0 นิสสัน มิตซูบิชิ รวม หมวดชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส 496,723.5 - อยุธยา หมวดสินคาเกษตร ขาว 105,283.3 - ภาคกลาง และไดรับความเสียหาย ไกแปรรูป 26,609.2 - ภาคกลาง และไดรับความเสียหาย รวมทั้งหมด

กรณีกระทบตอการสงออก 1 เดือน กรณีกระทบตอการสงออก 2 เดือน ความเสียหาย ความเสียหาย ความเสียหาย ความเสียหาย (ลานบาท) (ลานดอลลารสหรัฐ) (ลานบาท) (ลานดอลลารสหรัฐ) 7,677.0 13,640.7 116.7

247.6 440.0 3.8

15,354.0 27,281.3 233.3

495.3 880.0 7.5

21,434.3 82,787.2 24,836.2

691.4 2,670.6 801.2

42,868.7 165,574.5 49,672.3

1,382.9 5,341.1 1,602.3

18,321.0 3,664.2 4,761.6 952.3 77,171.6

591.0 118.2 153.6 30.7 2,489.4

36,642.0 7,328.4 9,523.2 1,904.6 154,343.2

1,182.0 236.4 307.2 61.4 4,978.8

ที่มา : คํานวณโดย สศค.

➥ จากการประเมินความเสียหายใน 4 หมวดสินคาหลัก พบวา มูลคาการสงออกจะลดลง 77,171.6 ลานบาท

หรือ 2,489.4 ลานดอลลารสหรัฐ ซึง่ เมือ่ เทียบกับการประมาณการมูลคาการสงออกสินคา ณ เดือนกันยายน 2554 จะพบวามูลคา การสงออกสินคาจะลดลงเหลือ 234,411 ลานดอลลารสหรัฐ หรือขยายตัวเหลือรอยละ 21.0 เมื่อเทียบกับปกอนหนา

ภาคการบริโภคภาคเอกชน นอกจากนั้นผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัยครั้งนี้ยังจะสงผลใหเกิดการชะลอตัวในการ บริโภคภาคเอกชน ซึ่งมีสัดสวนใน GDP สูงถึงรอยละ 51.4 เนื่องจากการจับจายใชสอยของประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ จะหยุดชะงักลง โดยเฉพาะในหมวดอาหาร เครื่องดื่ม และโรงแรม ภัตตาคาร ซึ่งมีสัดสวนในการบริโภคภาคเอกชนสูงที่รอยละ 32.0 และรอยละ 9.3 ตามลําดับ ประกอบกับรายไดของกําลังแรงงานที่ลดลงจากการหยุดการจางงานของสถานประกอบการที่ ถูกนํ้าทวม และจากผลผลิตทางการเกษตรที่ไดรับความเสียหาย จะสงผลใหการบริโภคภาคเอกชนในอนาคตชะลอตัวลง ภาคการลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนจะชะลอตัวในชวงแรกที่เกิดนํ้าทวม แตจะเรงตัวขึ้นหลังจาก ปญหาเริ่มคลี่คลาย เนื่องจากตองมีการซอมแซมถนน อาคาร สถานที่ที่พักอาศัย รวมทั้งโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมตาง ๆ จะ ตองมีการสั่งซื้อเครื่องจักร อุปกรณ ชิ้นสวนอะไหล เพื่อมาทดแทนสวนที่ไดรับความเสียหายจากภัยพิบัติ สินคาคงคลัง มีประเด็นที่ตองจับตาคือสตอกขาวที่เตรียมไวสําหรับการสงออก โดยผูประกอบการในจังหวัดนครสวรรค และจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญไดขนยายสตอกขาวมาเก็บไวในจังหวัดปทุมธานี ซึ่งถาพื้นที่ในจังหวัดปทุมธานีไดรับ ผลกระทบอีกก็จะเกิดความเสียหายกับสตอกสินคาเปนปจจัยลบอีกอยางหนึ่งที่มีตอ GDP ของประเทศ อัตราเงินเฟอ พบวา สินคาบริโภคที่ไดรับความเสียหายประกอบดวยสินคาในหมวดผักและผลไม ขาว ไขไก เนื้อสัตว อาหารสําเร็จรูป ทําใหราคาสินคาเหลานีป้ รับตัวสูงขึน้ จากการประมาณการโดยแบบจําลองเงินเฟอพบวา อัตราเงินเฟอทัว่ ไปใน ชวงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554 จะเรงตัวขึ้นมาอยูที่รอยละ 4.2 เทียบกับชวงกอนนํ้าทวมที่คาดวาจะอยูเพียงรอยละ 4.1 ทําให ทั้งป 2554 อัตราเงินเฟอทั่วไปจะขยายตัวรอยละ 3.9 สูงขึ้นจากการประมาณการ ณ เดือนกันยายน 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 3.8 ดานแรงงาน อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน (กสร.) เผยวา ใน 17 จังหวัดทีถ่ กู นํา้ ทวมมีสถานประกอบการไดรบั ผลกระทบจากนํา้ ทวมทัว่ ประเทศ 10,827 แหง และลูกจางเดือดรอน 446,777 คน ซึง่ ในจํานวนนีเ้ ฉพาะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลูกจางเดือดรอน 373,590 คน ทั้งนี้คาดวาจะมีผูที่เสี่ยงตอการถูกเลิกจางจํานวน 1 แสนคน ซึ่งจะทําใหอัตราการวางงานเพิ่มขึ้น จากรอยละ 0.7 เปนรอยละ 0.9 และสงผลกระทบตอการบริโภคโดยรวมใหชะลอลง

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

73


3. มาตรการใหความชวยเหลือผูประสบภัย

ภาครัฐไดออกมาตรการชวยเหลือผูประสบภัยทั้งภาคประชาชนและภาคเอกชน เพื่อใหสามารถซอมแซม กอสราง และ ฟนฟูจากความเสียหายไดอยางรวดเร็ว และไมทําใหเศรษฐกิจไทยตองหยุดชะงักเปนเวลานาน โดยแบงเปนมาตรการระยะสั้น และระยะยาว ดังนี้ มาตรการระยะสั้น ➥ สินเชื่อเพื่อใชในการชวยเหลือ ฟนฟู และเยียวยาผูประสบภัย คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติสินเชื่อเพื่อใชในการฟนฟูใหประชาชนและภาคเอกชนตาง ๆ วงเงิน 325,000 ลานบาท โดยแบง เปน 3 กลุม คือ ผูประกอบการรายใหญ รวมถึงนักลงทุนชาวตางชาติ วงเงิน 65,000 ลานบาท รวมทั้งขยายสิทธิประโยชน การออก วีซาหรือใบอนุญาตแกผูประกอบการ การใหสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่าจํานวน 5 หมื่นลานบาท ที่ไดรับความรวมมือจากธนาคารเพื่อ ความรวมมือระหวางประเทศญีป่ นุ หรือ เจบิก สวนวงเงินทีเ่ หลือจะเปนการใหความชวยเหลือในดานการผลิตในนิคมอุตสาหกรรม การปองกันอุทกภัยใหไดมาตรฐาน เพื่อรองรับฤดูฝนในปหนา ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม วงเงิน 170,000 ลานบาท ปลอยสินเชื่อผานธนาคารพาณิชย จํานวน 120,000 ลานบาท โดยใหบรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) เปนผูค าํ้ ประกันการปลอยสินเชือ่ ดอกเบีย้ ตํา่ รอยละ 0.01 โดยใหธนาคารออมสินปลอยผานธนาคารพาณิชยจาํ นวน 2 หมืน่ ลานบาท แลวใหธนาคารพาณิชยนนั้ ๆ ปลอยกูส มทบอีก 2 หมืน่ ลานบาท ดอกเบี้ยคงที่รอยละ 3.0 ใน 3 ป และสํานักงานประกันสังคมปลอยกูใหแรงงานที่ขึ้นทะเบียนประกันตนผานธนาคาร อีก 1 หมื่นลานบาท ผูประกอบการขนาดเล็ก พอคา แมคา และประชาชนทั่วไป วงเงิน 9 หมื่นลานบาท โดยจะปลอยสินเชื่อผานธนาคาร ออมสิน วงเงิน 2 หมื่นลานบาท ใหธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ปลอยสินเชื่อเพื่อฟนฟูบาน และใหธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรปลอยสินเชื่อใหแกเกษตรกร วงเงิน 3 หมื่นลานบาท ➥ เงินเพื่อชวยเหลือผูประสบภัย ประชาชน คณะรัฐมนตรีอนุมัติการชวยเหลือผูประสบภัยในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยจายเงินชวยเหลือครัวเรือน ละ 5,000 บาท จํานวน 30 เขต จํานวน 621,355 ครัวเรือน จํานวนเงิน 3,106,775,000 บาท ในขณะที่พื้นที่ภูมิภาคจะดูแลและ ซอมแซมบาน โดยในกรณีเสียหายบางสวนไมเกิน 20,000 บาท และเสียหายทั้งหลังไมเกิน 30,000 บาท ผูป ระกอบการ คณะรัฐมนตรีอนุมตั กิ ารชวยเหลือฟน ฟู เยียวยา ภาคอุตสาหกรรมจํานวน 4 โครงการ วงเงิน 147 ลานบาท ประกอบไปดวย 1. โครงการความชวยเหลือการระบายนํ้าจากนิคมอุตสาหกรรม วงเงิน 15.84 ลานบาท 2. โครงการตรวจสอบ คุณภาพนํ้า ดิน สารปนเปอน ของสารพิษอุตสาหกรรมที่ใชในสถานประกอบการทั้งในนิคมฯ และนอกนิคมฯ วงเงิน 25 ลานบาท 3. โครงการบริหารจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม และกากอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการที่ประสบอุทกภัย วงเงิน 22 ลานบาท และ 4. โครงการตั้งศูนยพักพิงอุตสาหกรรม วงเงิน 50 ลานบาท มาตรการระยะยาว ➥ มาตรการเพื่อปองกันปญหาอุทกภัยในอนาคต รัฐบาลวางแผนพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าโดยจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบ แกไขปญหาภัยแลงซํ้าซาก และวางกรอบการลงทุนดานบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของประเทศ ดังมีแนวคิด ดังนี้ 1. การกอสรางแหลงกักเก็บนํ้า เขื่อน ฝาย และแกมลิง เพื่อใชเก็บกักนํ้าไวใชในชวงฤดูกาลเพาะปลูก โดยขยายเขตพื้นที่ ชลประทาน 301,950 ไร ประกอบไปดวยโครงการขนาดใหญ 12 โครงการ โครงการขนาดกลาง 63 โครงการ บริหารจัดการระบบ ชลประทาน 24 ลานไร 2. การพัฒนาฐานขอมูลเรื่องนํ้าใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อใหสามารถวิเคราะหสถานการณนํ้าและคาดการณ ปริมาณนํ้าไดอยางแมนยํา รวมทั้งมีการแจงเตือนประชาชนใหไดทราบปญหานํ้าไหลหลากลวงหนา 3. การจัดการผังเมืองใหมปี ระสิทธิภาพ เชน การไมอนุญาตใหมกี ารสรางสิง่ กอสรางทีก่ อ ใหเกิดการกีดขวางทางระบายนํา้ 4. การกอสรางระบบปองกันนํ้าทวมบริเวณรอบเมือง เชน การทําคูรอบบริเวณเมือง 5. การดูแลระบบระบายนํ้าตาง ๆ ไดแก การขุดลอกแมนํ้า การผันนํ้าเลี่ยงเมือง การบริหารจัดการโดยการผันนํ้าและ กระจายนํ้าในพื้นที่วิกฤต รวมทั้งพัฒนาแหลงนํ้าชุมชนและแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน ตลอดจนปองกันและบรรเทา ภัยจากนํ้าในพื้นที่เขตชลประทาน 6. มาตรการการรักษาดูแลพื้นที่ปาไมไมใหมีการบุกรุก รวมทั้งปลูกปาใหมเพื่อเปนแหลงตนนํ้าที่ยั่งยืน

74

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


บทวิเคราะห

เรื่อง ปจจัยที่มีผลตออัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย ในครึ่งแรกของป 2554 1

บทสรุปผูบริหาร

ตลาดตราสารหนี้เปนหนึ่งในเสาหลักของตลาดทุนไทย โดยนอกจากจะเปนชองทางใน การเพิ่มสภาพคลองของสถาบันทางการเงินแลว ยังเปนทางเลือกแกนักลงทุนในการกระจายความเสี่ยงที่ นาสนใจอีกดวย ความสําคัญของตลาดตราสารหนี้สงผลใหหลายฝายใหความสนใจตอความเคลื่อนไหวของ อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ ❍ ในชวงครึ่งแรกของป อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไดเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปอยาง มาก โดยเสนอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล (Yield curve) ไดปรับตัวเขาสูลักษณะแบนราบ กลาวคือ อัตราผลตอบแทนตราสารหนี้ระยะสั้นปรับตัวสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่อัตราผลตอบแทนระยะยาว ปรับตัวลงเล็กนอย ❍ บทความนี้ ผู  เ ขี ย นได วิ เ คราะห ป  จ จั ย ต า ง ๆ ที่ อ าจมี ผ ลต อ ความเคลื่ อ นไหวของอั ต รา ผลตอบแทนของตราสารหนี้ ดวยขอมูลของตลาดเงินในชวงครึ่งปแรกของป 2554 พบวา 1) การคาดการณอัตราดอกเบี้ยในอนาคตไมสามารถอธิบายความเคลื่อนไหวของอัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรได โดยจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งปแรกของป 2554 พบวาอัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้น จริงในอนาคต (Realized interest rate) จะตํ่ากวาอัตราดอกเบี้ย Forward interest rate ในปจจุบนั กวารอยละ 0.16 เสมอ 2) ดอกเบีย้ เงินฝากสามารถอธิบายความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรได ทัง้ นี้ เนื่องจากการฝากเงินและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่สามารถทดแทนกันได (Substitute investment) 3) เชนเดียวกัน ผลตอบแทนของตลาดหุนสามารถอธิบายความเคลื่อนไหวของอัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรได ทั้งนี้ เนื่องจากการลงทุนในหุนและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่ สามารถทดแทนกันได 4) ภาวะเศรษฐกิจของตางประเทศมีผลตอความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร โดยในชวงครึง่ แรกของป 2554 สภาพเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คงมีความเปราะบาง นักลงทุนตางชาติจงึ ไดหนั มาลงทุน ในภูมภิ าคเอเชียซึง่ มีสภาพเศรษฐกิจทีด่ กี วา ทําใหเงินลงทุนไหลเขาไทยอยางตอเนือ่ ง สงผลใหอตั ราผลตอบแทน พันธบัตรรัฐบาลไทย โดยเฉพาะพันธบัตรระยะยาวไดปรับตัวลดลงตามลําดับ ❍ ความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันระหวางพันธบัตร เงินฝาก และหลักทรัพยผานทางปจจัยดาน การลงทุนทดแทน ทําใหอัตราผลตอบแทนในตลาดการเงินตางประเภทกันทั้งในประเทศและตางประเทศมี แนวโนมเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน แมจะมีความเร็วของการปรับตัวที่ไมเทากันก็ตาม จําเปนที่จะตองมี การกํากับติดตามในภาพรวมเพื่อใหการลงทุนในตลาดเงินและตลาดทุนไทยมีเสถียรภาพ ❍

1

ผู  เ ขี ย น : นางสาวพี ร พรรณ สุ ว รรณรั ต น เศรษฐกรปฏิ บั ติ ก าร ส ว นการวิ เ คราะห เ สถี ย รภาพเศรษฐกิ จ สํ า นั ก นโยบายเศรษฐกิ จ มหภาค ขอขอบคุ ณ นายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร ดร.สิริกมล อุดมผล และ ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ สําหรับคําแนะนํา

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

75


1. บทนํา ตลาดตราสารหนีเ้ ปนหนึง่ ในเสาหลักของตลาดทุนไทย โดยนอกจากจะเปนชองทางในการเพิม่ สภาพคลองของบริษทั และ สถาบันทางการเงินแลว ยังเปนทางเลือกแกนกั ลงทุนในการกระจายความเสีย่ งทีน่ า สนใจอีกดวย เพราะการลงทุนในตราสารหนี้ ในบางชวงเวลาใหผลตอบแทนสูงกวาการฝากเงินกับธนาคารพาณิชย ขณะเดียวกันก็มีความเสี่ยงตํ่ากวาและมั่นคงมากกวา การลงทุนในตราสารทุน ปจจุบันตลาดตราหนี้ของไทยมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยครึ่งแรกของป 2554 ตลาดตราสารหนี้ มีปริมาณการซื้อ-ขายรวมสูงถึง 265,458 ลานบาท ขยายตัวถึงรอยละ 45.4 จากชวงเดียวกันของปที่ผานมา ความสําคัญของตลาดตราสารหนี้สงผลใหหลายฝายใหความสนใจตอความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนของ ตราสารหนี้ โดยในชวงครึ่งแรกของป อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไดเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก โดยเสนอัตรา ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล (Yield curve) ไดปรับตัวเขาสูล กั ษณะแบนราบ (Flat yield curve) กลาวคือ อัตราผลตอบแทน ตราสารหนีร้ ะยะสัน้ นัน้ สูงขึน้ อยางมีนยั สําคัญ เพิม่ ขึน้ จากเดือนมกราคมกวารอยละ 2 ตอป ในขณะทีอ่ ตั ราผลตอบแทนระยะยาว ปรับตัวลงในชวงแคบไมเกินรอยละ 1 ตอป (ภาพที่ 1) ทําใหผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลชวงอายุตาง ๆ ในเดือนกรกฎาคม ใกลเคียงกันมากขึ้น

ภาพที่ 1 อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล

ที่มา : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

บทความนี้มุงเนนวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ ดวยขอมูลของ ตลาดเงินในชวงครึ่งปแรกของป 2554

2. ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย บทความในสวนนี้มุงหาสาเหตุของอัตราผลตอบแทนที่เริ่มใกลเคียงกันในแตละชวงอายุตราสารหนี้ โดยแบงปจจัยออก เปน 4 ดาน ไดแก (1) การคาดการณอัตราดอกเบี้ยในอนาคต (2) อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก (3) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนใน ตลาดหุน และ (4) สถานการณเศรษฐกิจโลก โดยมีรายละเอียด ดังนี้

76

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


2.1 การคาดการณอตั ราดอกเบีย้ ในอนาคตไมสามารถอธิบายความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร ได แมวาทฤษฎีคาดการณอัตราผลตอบแทน (Expectations Hypothesis) จะชี้ใหเห็นวาอัตราผลตอบแทนระยะยาวเปนคา เฉลี่ยระหวางอัตราผลตอบแทนระยะสั้นในปจจุบันและการคาดการณอัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคต (Implied forward interest rate)2 แตจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งปแรกของป 2554 พบวา อัตราผลตอบแทนในอนาคตที่คาดการณไวอยูใน ระดับที่สูงกวาอัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง (Realized interest rate) เมื่อระยะเวลานั้นมาถึง ภาพที่ 2 ชี้วาอัตราผลตอบแทน ในอนาคตคาดการณลวงหนา 3 เดือนของพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 ป ซึ่งคํานวณจากอัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงปจจุบันอายุ 1 ปและ 2 ป สูงกวาอัตราผลตอบแทนทีเ่ กิดขึน้ จริงเมือ่ ระยะเวลานัน้ มาถึง บงชีว้ า ยังคงมีปจ จัยอืน่ ทีม่ อี ทิ ธิพลตออัตราผลตอบแทน สงผลใหอตั ราผลตอบแทนทีเ่ กิดขึน้ จริงตํา่ กวาทีค่ าดการณเฉลีย่ รอยละ 0.16 (0.00–0.40) จึงสรุปจากขอมูลในชวงเวลาดังกลาว ไดวา ทฤษฎีการคาดการณอัตราผลตอบแทนไมสามารถทํานายอัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงไดดีนัก แมจะบงชี้ถึงทิศทางได อยางถูกตองก็ตาม ภาพที่ 2 อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงและอัตราผลตอบแทนในอนาคตคาดการณลวงหนา 3 เดือน

อัตราผลตอบแทนในอนาคตคาดการณ

อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง

ที่มา : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

2.2 อัตราดอกเบีย้ เงินฝากสามารถอธิบายความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลได เนือ่ งจาก การฝากเงินและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่สามารถทดแทนกันได (Substitute investment) ดังนั้น อัตรา ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลและอัตราดอกเบีย้ เงินฝากซึง่ อางอิงมาจากอัตราดอกเบีย้ นโยบายนัน้ ควรเคลือ่ นไหวไปในทิศทาง เดียวกัน ทั้งนี้ จากขอมูลเชิงประจักษเมื่อเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และอัตราผลตอบแทนจาก พันธบัตรรัฐบาล อายุ 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปในชวงเวลาเดียวกัน (ภาพที่ 3) พบวาอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรทุกชวง อายุปรับเพิ่มตามอัตราดอกเบี้ยนโยบายในทันที โดยสวนคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปและอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยูที่รอยละ 100 ขณะที่อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรและอัตราดอกเบี้ย เงินฝากก็เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน แมมีสวนตางของอัตราผลตอบแทน โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางอัตราผล ตอบแทนพันธบัตรและอัตราดอกเบี้ยเงินฝากอายุ 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปอยูที่รอยละ 83 รอยละ 93 และรอยละ 93 ตามลําดับ กลาวคือ การขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบายซึง่ มีผลตอการขึน้ อัตราดอกเบีย้ เงินกูแ ละเงินฝากของสถาบันทางการเงินนัน้ จะเปนผลให นักลงทุนหันมาฝากเงินเพื่อเก็งกําไรจากสวนตางอัตราดอกเบี้ย (Arbitrage) และรอรับอัตราผลตอบแทนที่สูงขึ้นทดแทน ทําให ราคาตราสารหนี้ลดลงและอัตราผลตอบแทนเพิ่มสูงขึ้นจากการลดลงของอุปสงคการลงทุนในตราสารหนี้ ดังนั้น ผลกระทบจาก การทดแทนจึงเปนปจจัยหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงอัตราผลตอบแทนไปในทิศทางเดียวกัน 2

ผลตอบแทนระยะสั้น ณ เวลา t+1

โดย

คือ อัตราผลตอบแทนระยะยาว ณ เวลา t1

คือ อัตราผลตอบแทนระยะสั้น ณ เวลา t1 และ

คือ อัตรา

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

77


ภาพที่ 3 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และอัตราผลตอบแทนในครึ่งปแรก

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย และตลาดตราสารหนี้ไทย

อยางไรก็ดี เปนทีน่ า สังเกตวาอัตราดอกเบีย้ เงินฝากไมสามารถสนองตอบตอการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ นโยบาย ไดเร็วเทากับอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้โดยเฉพาะตราสารหนี้อายุ 3 เดือน โดยมีสาเหตุสําคัญ 3 ประการ คือ (1) สถาบัน ทางการเงินตองการเพิ่มกําไรดวยการคงตนทุนอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น และขยายเวลาคืนเงินฝากดวยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ย ระยะยาว เนื่องจากคาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายในอนาคตจะปรับเพิ่มขึ้นอีกในเวลาอันใกลเพื่อควบคุมสถานการณเงินเฟอที่ อยูในระดับสูงเฉลี่ยรอยละ 3.56 ในครึ่งแรกของป 2554 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากระยะยาวจึงตอบสนองตออัตราดอกเบี้ยนโยบาย รวดเร็วกวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากระยะสั้น (2) การลงทุนในรูปเงินฝากมีความเสี่ยงตํ่ากวาการลงทุนในตราสารหนี้ เนื่องจาก การฝากเงินกับสถาบันทางการเงินมีสถาบันคุมครองเงินฝากชวยลดความเสี่ยงการผิดนัดชําระหนี้ (Default risk) เมื่อสถาบัน ทางการเงินปดกิจการ ผูฝากเงินจะไดรับเงินฝากคืนตามที่กําหนดไว และไมมีความเสี่ยงจากเหตุการณไมคาดคิด (Event risk) เชน การจลาจล ซึ่งอาจกระทบตอราคาตราสารหนี้แตไมมีผลตออัตราดอกเบี้ย รวมถึงไมมีความเสี่ยงตอการขาดสภาพ คลอง (Liquidity risk) ผูฝากเงินจึงสามารถฝากหรือถอนเงินไดทุกเวลาตามจํานวนที่ตองการโดยเฉพาะเงินฝากระยะสั้น และ (3) สภาพคลองสวนเกินของระบบสถาบันทางการเงินทีย่ งั คงอยูใ นระดับสูง ทําใหธนาคารพาณิชยไมมคี วามจําเปนตองปรับเพิม่ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากตามอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่เพิ่มสูงขึ้นทันที จากสาเหตุสําคัญทั้ง 3 ประการดังกลาว สถาบันทางการเงิน จึงตอบสนองตอการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไดชา อยางไรก็ตาม คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทน พันธบัตรและอัตราดอกเบีย้ เงินฝากในระดับสูงทีก่ ลาวมาขางตนชีช้ ดั วา อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลและอัตราดอกเบีย้ เงินฝากเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน 2.3 อัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพยสามารถอธิบายความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร รัฐบาลได ทั้งนี้ เนื่องจากการลงทุนในหลักทรัพยและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่สามารถทดแทนกันได หากนําดัชนีตลาดหลักทรัพยของไทยมาเปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือนและ 2 ป ปรากฏวาตัวแปร ทั้งสองเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือนและ 2 ปและดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย (SET Index) อยูที่รอยละ 17.80 และรอยละ 34.01 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวานักลงทุนมอง วาการลงทุนในตราสารหนีแ้ ละตราสารทุนสามารถทดแทนกันและเปนการเก็งกําไรจากสวนตางอัตราผลตอบแทนในระยะสัน้ ได หากตลาดตราสารทุนมีความผันผวนตลาดตราสารหนีก้ จ็ ะเปนทางเลือกหนึง่ ทีน่ กั ลงทุนนํามาพิจารณาในชวงการลงทุนระยะสัน้ จากภาพที่ 4 ในชวงครึง่ แรกของป 2554 นักลงทุนตองการลงทุนในตราสารทุนไทย ทําใหดชั นีตลาดหลักทรัพยเพิม่ สูงขึน้ เปนผล ใหความตองการซื้อตราสารหนี้โดยเฉพาะพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นลดลงเปนเหตุใหผลตอบแทนเพิ่มสูงขึ้น

78

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 4 ผลตอบแทนของพันธบัตรอายุ 3 เดือนและ 2 ปกับดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย (SET Index)

ที่มา : ตลาดตราสารหนี้ไทย และ Reuters

2.4 สถานการณของเศรษฐกิจโลก ในชวงครึ่งแรกของป 2554 เศรษฐกิจโลกก็ยังคงมีความเปราะบางจากวิกฤตการณ การเงิน การคาดการณถงึ ภาวะเศรษฐกิจถดถอยระลอกสอง (Double-dip recession) ของสหรัฐอเมริกา และปญหาหนีส้ าธารณะ ในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ทําใหการลงทุนในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีความเสีย่ งเพิม่ มากขึน้ นักลงทุนจึงหันมา ลงทุนในภูมิภาคเอเชียซึ่งมีสภาพเศรษฐกิจที่ดีกวามากขึ้น มีผลทําใหเงินทุนไหลเขาไทยอยางตอเนื่อง โดยเงินทุนไหลเขาเพื่อ ซื้อพันธบัตรโดยเฉพาะพันธบัตรระยะยาว สงผลใหอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยระยะยาวปรับตัวลดลงตามปริมาณ เงินทุนที่ไหลเขา (ภาพที่ 5)

ภาพที่ 5 มูลคาซื้อพันธบัตรสุทธิ (ยกเวนพันธบัตร ธปท.) และผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ป

ที่มา : ตลาดตราสารหนี้ไทย

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

79


3. สรุป บทความนีไ้ ดวเิ คราะหจากขอมูลเชิงประจักษพบวา ปจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลตอความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร รัฐบาลไทย ไดแก ปจจัยดานการลงทุนทดแทนอืน่ ๆ (Substitute investment) อาทิ อัตราดอกเบีย้ เงินฝาก และอัตราผลตอบแทน ในตลาดหุน รวมทัง้ สถานการณของเศรษฐกิจโลก ทีส่ ง ผลใหมเี งินทุนเคลือ่ นยายระหวางประเทศจํานวนมากเขามาลงทุนในตลาด ตราสารหนี้ของไทยในชวงครึ่งปแรกของป 2554 จากความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันระหวางพันธบัตร เงินฝาก และหลักทรัพยผานทางปจจัยดานการลงทุนทดแทน ทําให อัตราผลตอบแทนของการลงทุนในตลาดการเงินตางประเภทกัน มีแนวโนมเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน ทั้งตลาดในประเทศ และตางประเทศแมจะมีความเร็วของการปรับตัวที่ไมเทากันก็ตาม จึงจําเปนที่จะตองมีการกํากับติดตามในภาพรวม เพื่อให การลงทุนในตลาดเงินและตลาดทุนไทยมีเสถียรภาพและสามารถทําหนาที่เปนแหลงระดมทุนของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ไดอยางมีประสิทธิภาพ

80

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


บทวิเคราะห

1

เรื่อง บทบาทของภาครัฐเพื่อรุงอรุณใหมของเศรษฐกิจไทย บทสรุปผูบริหาร

บริบทใหมของเศรษฐกิจโลกในปจจุบันหลังวิกฤตการเงินโลกในป 2552 ไดสรางมหัศจรรย แหงเอเชีย (Miracle of Asia) อีกครัง้ หลังจากทีเ่ คยเกิดขึน้ ในอดีต ซึง่ นับวาเปนชวงเวลาสําคัญสําหรับประเทศไทย ที่จะนําโอกาสนี้ในการกาวขึ้นสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) จากปจจุบันที่ไทย ถูกจัดวาเปนประเทศที่มีรายไดระดับกลางบน ❍ จากการศึกษาขอมูลพบวา ระดับของรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยมีการพัฒนา ในทิศทางที่ดีขึ้น ทวาความสามารถในการเพิ่มรายไดตอหัวของไทยยังดอยกวาประเทศเพื่อนบาน เนื่องจาก ปญหาการกระจายรายไดที่ไมสมดุลในกลุมคนที่มีรายไดสูงและกลุมคนที่มีรายไดตํ่าซึ่งเปนกลุมที่มีบทบาท สําคัญทางเศรษฐกิจ ❍ นอกจากนี้ เพื่อใหทราบถึงแนวโนมของรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยในอนาคต บทความนี้จึงประมาณการรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในอนาคตขางหนาดวยสมมติฐานตาง ๆ ซึ่งพบวา ประเทศไทยจะสามารถกาวเขาสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) ในอนาคตไดดวย ระยะเวลาภายใน 18-47 ปขางหนานับจากป 2554 ❍ ทั้ ง นี้ ภาครั ฐ จึ ง มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการสนั บ สนุ น ทางการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ไทยควบคู  ไปกับการกระจายรายไดที่สมดุลเปนปจจัยสําคัญ โดยเนนนโยบายการใชจายของรัฐเพื่อประชาชนฐานราก และขยายฐานภาษีทางตรงพรอมนําเสนอภาษีที่จัดเก็บบนฐานความมั่งคั่งมาใช ❍

1. บทนํา หากยอนกลับไปดูประเทศไทยเมื่อ 20 ปกอน เศรษฐกิจของประเทศไทยในอดีตกับในปจจุบันมีความแตกตางไปมาก โดยดานเศรษฐกิจนั้นประเทศไทยไดเปลี่ยนประเทศจากการเปนประเทศที่ผลิตเพื่อทดแทนการนําเขา (Import Substitution) เปนผลิตเพื่อการสงออก (Export-oriented Country) นับตั้งแตป 2528-2539 จากการสนับสนุนของนโยบายรัฐบาลตั้งแต นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท จนถึงนายกรัฐมนตรี บรรหาร ศิลปอาชา ซึ่งนําเศรษฐกิจของประเทศไปสูการคาระหวาง ประเทศจนไทยสามารถมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงสุดในป 2538 อยูที่รอยละ 14.5 ตอป ประกอบกับมหัศจรรย แหงเอเชีย (Miracle of Asia) ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นไดทําใหประเทศไทยในอดีตเคยไดรับสมญานามวาเปน “เสือเศรษฐกิจ ตัวที่ 5 ของเอเชีย” ทามกลางคูแขงอยางประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ตามหลังกลุมประเทศอุตสาหกรรมใหม (Newly Industrializing Countries: NICs) 4 ประเทศ กลาวคือ เกาหลีใต ฮองกง ไตหวัน และสิงคโปร ซึ่งจัดเปนประเทศที่มีรายได ระดับสูง (High Income Country) อยางไรก็ตาม มหัศจรรยแหงเอเชียไดพังทลายลงหลังจากวิกฤตการณทางการเงินในเอเชีย ในป 2540 หรือที่เรียกวา วิกฤตการณตมยํากุง ที่เริ่มตนจากประเทศไทย ทําใหประเทศไทยตองกลับมาปรับปรุงและ ฟนฟูสถานการณทางเศรษฐกิจอยูหลายป จนกระทั่งป 2544 ประเทศไทยจึงกลับมามีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอีกครั้ง หลังจากที่สามารถควบคุมคาเงินบาทได ทวาหลังจากสงบไมนาน วิกฤตเศรษฐกิจโลกในป 2550-2553 และมรสุมทางการเมือง ไดสงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จนนับถึงปจจุบันประเทศไทยไดกลับเขามาสูสถานการณปกติอีกครั้ง

1

ผูเขียน : นายธนิต ภัทรแสงไทย เศรษฐกรปฏิบัติการ สวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นายยุทธภูมิ จารุเศรนี เศรษฐกรปฏิบัติการ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

81


ทั้งนี้ วิกฤตเศรษฐกิจโลกระหวางป 2550-2553 ไดสรางโอกาสอีกครั้งใหแกประเทศไทยในการกาวไปสูการเปน เสือเศรษฐกิจแหงเอเชีย หรือกลาวไดวากาวไปสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกไดทําให เกิดการยายฐานทางเศรษฐกิจจากฝงประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป มาเปนฝงเอเชียนําโดยประเทศจีน อินเดีย และ ญีป่ นุ หรือไดสราง Miracle of Asia อีกครัง้ ซึง่ จะทําใหไทยไดรบั อานิสงสตามไปดวย ดังนัน้ บทความนีจ้ งึ มีวตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษา ถึงสถานะปจจุบันที่ประเทศไทยเปนอยู โอกาสของประเทศไทยในการกาวสูประเทศที่มีรายไดระดับสูง และเสนอแนะมาตรการ ในการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

2. การแบงกลุมประเทศตามรายไดประชาชาติตอหัวกับสถานะปจจุบันของไทย ในปจจุบัน นิยามการแบงกลุมประเทศตามรายไดประชาชาติตอหัว (Gross National Income Per Capita: GNI Per Capita) ไดถกู จัดทําขึน้ โดยองคกรระดับนานาชาติหลายหนวยงาน อาทิ กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund: IMF) หนวยสืบราชการลับกลางแหงสหรัฐอเมริกา (Central Intelligence Agency: CIA) ธนาคารโลก (World Bank: WB) สหประชาชาติ (United Nations: UN) เพือ่ จุดประสงคทตี่ า งกันตามเปาหมายของแตละองคกร โดยการแบงกลุม ตามธนาคารโลก นั้นถือวาไดรับการยอมรับเปนการทั่วไป มีการนําไปใชเพื่อการวิเคราะห วิจัย และใหความชวยเหลือสนับสนุนทางการเงินตอ การพัฒนาของประเทศสมาชิกที่ตองการความชวยเหลือ ทั้งนี้ ธนาคารโลกไดริเริ่มการใหคํานิยามในการแบงกลุมประเทศ ตามรายไดประชาชาติตอหัวขึ้นตั้งแตป 2530 โดยใชวิธี “World Bank Atlas Method” ในการปรับเปลี่ยนรายไดประชาชาติ ตอหัวของแตละประเทศใหอยูในรูปดอลลารสหรัฐ ดวยอัตราแลกเปลี่ยนกลางที่ขจัดผลจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และอัตราเงินเฟอในแตละประเทศ เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบแบงกลุมและจัดอันดับรายไดประชาชาติตอหัวระหวาง ประเทศได ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนกลาง (Atlas Conversion Factor: etAtlas) มีสูตรการคํานวณดังนี้

โดย

et

แทนอัตราแลกเปลี่ยนของแตละประเทศ แทนอัตราเงินเฟอภายในประเทศ (Domestic Inflation) จากป t-1 ถึงป t แทนอัตราเงินเฟอกลางจากป t-1 ถึงป t (International Inflation)

ในป 2553 ธนาคารโลกไดแบงกลุม ประเทศสมาชิกใหครอบคลุมมากขึน้ ถึง 186 ประเทศตามระดับรายไดประชาชาติตอ หัว โดยแยกออกเปน 4 กลุมดวยกันตามเกณฑป 2553 ดังตารางที่ 1 และภาพที่ 1 ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแบงกลุมประเทศตามรายไดประชาชาติตอหัว กลุมประเทศ 1) รายไดระดับตํ่า (Low Income Country)

≤1,005

2) รายไดระดับกลางลาง (Lower Middle Income Country)

1,006 - 3,975

3) รายไดระดับกลางบน (Upper Middle Income Country)

3,976 - 12,275

4) รายไดระดับสูง (High Income Country) ที่มา : World Bank

82

รายได (ดอลลารสหรัฐ)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

≥12,276


ภาพที่ 1 แผนภูมิโลกแสดงระดับรายไดประชาชาติตอหัวของแตละประเทศในป 2553

ที่มา : World Bank

แมวา อันดับของประเทศไทยจะลดลงเนือ่ งจากธนาคารโลกไดครอบคลุมประเทศสมาชิกมากขึน้ สําหรับระดับของรายได ประชาชาติตอ หัวของประเทศไทยในฐานะสมาชิกเริม่ กอตัง้ ธนาคารโลกนัน้ หากมาดูววิ ฒ ั นาการแลวพบวา มีการพัฒนาในทิศทาง ที่ดีขึ้น โดยในป 2533 ประเทศไทยอยูในอันดับที่ 81 จากทั้งหมด 155 ประเทศ มีรายไดประชาชาติตอหัว 1,490 ดอลลารสหรัฐ ซึ่งถูกจัดอยูในกลุมประเทศที่มีรายไดระดับกลางตํ่า (Lower Middle Income Country) ตามเกณฑป 2533 ที่อยูในชวง 996-3,945 ดอลลารสหรัฐ และในป 2553 ประเทศไทยปรับตัวขึน้ มาอยูใ นกลุม ประเทศทีม่ รี ายไดระดับกลางบน (Upper Middle Income Country) ตามเกณฑป 2553 หรืออยูที่อันดับ 98 จากทั้งหมด 186 ประเทศ โดยมีรายไดประชาชาติตอหัวอยูที่ 4,210 ดอลลารสหรัฐ คิดเปนอัตราการขยายตัวเฉลี่ยที่รอยละ 6.2 ตอป ซึ่งใชระยะเวลาทั้งสิ้นในการปรับตัวขึ้นสูหมวดรายไดระดับ กลางบน 20 ป นับจากป 2533 ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 3 และภาพที่ 4 ตามลําดับ ภาพที่ 2 รายไดประชาชาติตอหัวและอัตราการขยายตัวของรายไดประชาชาติตอหัวของไทย ตั้งแตป 2533-2553

ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

83


ภาพที่ 3 แผนภูมิอันดับรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในป 2533

ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.

ภาพที่ 4 แผนภูมิอันดับรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในป 2553

ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.

อยางไรก็ดี หากเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในภูมิภาคอาเซียน (ประเทศมาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย) ในดานระดับรายไดประชาชาติตอ หัวป 2553 ประเทศมาเลเซียถือเปนประเทศทีม่ รี ายไดประชาชาติสงู ทีส่ ดุ (7,900 ดอลลารสหรัฐ) ตามมาดวยไทย (4,210 ดอลลารสหรัฐ) อินโดนีเซีย (2,580 ดอลลารสหรัฐ) และเวียดนาม (1,100 ดอลลารสหรัฐ) ตามลําดับ ดังภาพที่ 5 เมื่อพิจารณาอัตราการขยายตัวเฉลี่ยของรายไดประชาชาติตอหัวในชวง 10 ปลาสุด (ป 2543-2553) พบวา ประเทศ อินโดนีเซียเปนประเทศทีม่ กี ารขยายตัวสูงทีส่ ดุ ทีร่ อ ยละ 14.7 เนือ่ งจากรัฐบาลอินโดนีเซียมีนโยบายในการรักษาระดับการเติบโต เศรษฐกิจมหภาคโดยปฏิรูประบบภาษี รวมทั้งลดภาษีเงินไดนิติบุคคลเพื่อจูงใจใหเกิดการลงทุนมากขึ้น มีการบริหารการใช งบประมาณและหนี้สาธารณะ ตลอดจนมีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจในภาคสถาบันการเงิน การขนสง สื่อสารคมนาคม และโรงงาน ผลิตวัสดุกอสราง รองลงมา ไดแก ประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และไทยที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยที่รอยละ 14.7 รอยละ 8.2 และรอยละ 7.4 ตามลําดับ ดังภาพที่ 6 แสดงใหเห็นวา เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในกลุมกําลังพัฒนาดวยกันในชวง 10 ปที่ผานมา ความสามารถในการเพิ่มรายไดตอหัวของไทยยังดอยกวาประเทศเพื่อนบาน

84

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ดั ง นั้ น ภาครั ฐ ภาคเอกชน และทุ ก หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งจึ ง ควรตระหนั ก ถึ ง สถานะในป จ จุ บั น ของประเทศไทย และควรหันมาใหความสําคัญกับการสนับสนุนตอการยกระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อกาวเขาสูการเปนประเทศที่มี รายไดระดับสูง (High Income Country) ในอนาคต ภาพที่ 5 ระดับรายไดประชาชาติตอหัวของไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในอาเซียน ในชวงป 2543-2553

ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.

ภาพที่ 6 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยในชวงป 2543-2553 ของรายไดประชาชาติตอหัวของไทย เปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในอาเซียน

ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.

3. โอกาสในการกาวสูประเทศที่มีรายไดระดับสูง ทั้งนี้ เพื่อใหทราบถึงแนวโนมของรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยในอนาคต บทความนี้จึงประมาณการรายได ประชาชาติตอหัวของไทยในอนาคตขางหนาดวยสมมติฐานตาง ๆ ดังนี้ กรณีที่ 1) อัตราการเติบโตของรายไดประชาชาติ ตอหัวอยูที่รอยละ 5.0 กรณีที่ 2) (กรณีฐาน) อัตราการเติบโตของรายไดประชาชาติตอหัวอยูที่รอยละ 7.4 เทากับคาเฉลี่ยของ รายไดประชาชาติตอ หัวในอดีต 10 ป (ป 2543-2553) และกรณีที่ 3) อัตราการเติบโตของรายไดประชาชาติตอ หัวอยูท รี่ อ ยละ 9.0 พรอมกับคาดการณระยะเวลาที่ประเทศไทยจะสามารถกาวเขาสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) ดวย Deterministic Trend Model ภายใตสมมติฐานดังกลาว ประมาณการเศรษฐกิจไทย

85


ภาพที่ 7 กราฟประมาณการรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยในอนาคตนับจากป 2554

ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.

จากภาพที่ 7 พบวา ภายใตสมมติฐานวาธนาคารโลกจะปรับเกณฑรายไดประชาชาติตอ หัวของประเทศทีม่ รี ายไดระดับสูง เพิ่มขึ้นดวยอัตราคงที่ที่รอยละ 2.6 ซึ่งเปนคาเฉลี่ยของรายไดประชาชาติตอหัวในชวงป 2543-2553 ทั้งนี้ ในสมมติฐานแรก หากรายไดประชาชาติตอหัวของไทยขยายตัวรอยละ 5.0 ประเทศไทยจะตองใชระยะเวลาอีก 47 ปในการเปนประเทศที่มี รายไดระดับสูง (High Income Country) สวนในสมมติฐานที่ 2 (กรณีฐาน) หากรายไดประชาชาติตอ หัวของไทยขยายตัวรอยละ 7.4 เทากับคาเฉลี่ยของรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในชวง 10 ปที่ผานมา ประเทศไทยจะตองใชระยะเวลาอีก 24 ป และในสมมติฐานที่ 3 หากรายไดประชาชาติตอหัวของไทยขยายตัวรอยละ 9.0 ประเทศไทยจะใชระยะเวลานอยที่สุดเพียง อีก 18 ปเมื่อนับจากป 2554 หรือจะเขาสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) ในป 2571

4. นโยบายเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ภาพที่ 8 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง รายไดประชาชาติเฉลี่ยตอคนตอเดือน กับจํานวนประชากรในป 2552

ภาพที่ 9 กราฟแสดงรายไดประชาชาติเฉลี่ยตอคนตอเดือน จําแนกตามกลุมประชากรตามระดับรายไดทั่วประเทศ ในป 2552

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวบรวมและประมวลผลโดย สศค.

86

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


จากการศึกษาขอมูลระหวางรายไดประชาชาติเฉลี่ยตอคนตอเดือนกับจํานวนประชากรในป 2552 พบวา ประชากร มากกวารอยละ 60 ของไทยมีรายไดประชาชาติเฉลีย่ ตอหัวตอเดือนนอยกวาคากลางรายไดเฉลีย่ ตอคนตอเดือนทัง้ ประเทศทีอ่ ยู 7,093 บาท บงชี้วา แมวา GDP ของประเทศไทยจะเติบโตในเชิงมหภาค แตการกระจายรายไดของประเทศนั้นไมมีความสมดุล อยางมาก โดยประชากรสวนใหญมรี ายไดตาํ่ ซึง่ จากการศึกษาพบวาเปนกลุม ทีท่ าํ งานในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม อาทิ เกษตรกรและกรรมกร ซึง่ เปนปจจัยการผลิตสําคัญในการผลิตสินคาเพือ่ การบริโภคภายในประเทศ และผลิตเพือ่ การสงออก โดยเฉพาะสินคาเกษตรและสินคาอุตสาหกรรมที่ตองใชแรงงานเปนจํานวนมาก อาทิ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อันจะสงผลใหเกิด การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การพัฒนายกระดับรายไดประชาชาติ จึงควรเริ่มตนกับประชากรกลุมนี้โดยภาครัฐ ควรใชนโยบายพัฒนาเพือ่ ประชาชนฐานราก (Pro-Poor growth) หรือพัฒนาฐานรากใหมนั่ คงเพือ่ นําไปสูก ารเติบโตทางเศรษฐกิจ มหภาคที่ยั่งยืนโดยเริ่มตนจากการพัฒนาในแตละกลุมดังนี้

กลุมเกษตรกร

กลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการ

4.1 กลุมเกษตรกร ❍ พัฒนาการเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่เพาะปลูก (Increase Farm Productivity) ของพืชผลสําคัญทางเศรษฐกิจ ตาง ๆ เชน ขาว ยางพารา ขาวโพด ออย ปาลมนํ้ามัน ฯลฯ โดยฟนฟูดินที่เสื่อมโทรมดวยปุยอินทรียและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการนํ้าและระบบชลประทาน เพื่อใหเกษตรกรสามารถใชนํ้าเปนปจจัยในการผลิตไดอยางพอเพียง มีการสรางเขื่อนและ ฝายกักเก็บนํ้าขนาดใหญในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ซึ่งนอกจากจะทําใหมีนํ้าพอเพียงในฤดูแหงแลงแลวยังชวยแกปญหาอุทกภัย ในชวงฤดูนํ้าหลากของปดวย ❍ สนับสนุนใหเกษตรกรเขาถึงแหลงทุน/สินเชือ ่ ของรัฐตนทุนตํา่ เพือ่ เกษตรกรจะไดนาํ ไปซือ้ ปจจัยการผลิตและ แกไขปญหาหนี้สินโดยเฉพาะหนี้นอกระบบ พรอมทั้งสงเสริมระบบสหกรณการเกษตร ธนาคารชุมชน หรือ Micro Finance และ ระบบประกันภัยความเสีย่ งประเภทตาง ๆ ใหแกเกษตรกรทีป่ ระสบปญหาจากราคาสินคาเกษตรในตลาด อาทิ โครงการประกันราคา หรือรับจํานําขาว และปญหาความเสียหายของการผลิตจากภัยธรรมชาติ อาทิ โครงการประกันภัยพืชผล ตลอดจนจัดหาที่ดิน ทํากินใหแกเกษตรกร ❍ สงเสริมการวิจัย การพัฒนา และการสรางนวัตกรรมทางการเกษตรอยางครบวงจร เพื่อเพิ่มมูลคาใหสินคา เกษตร อีกทั้งสนับสนุนใหปราชญชาวบานเขามามีบทบาทในการถายทอดองคความรูและภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนสราง เกษตรกรรุนใหมเพื่อฟนฟูอาชีพเกษตรกร ❍ นอกจากนี้ เกษตรกรควรทําการเกษตรตามแนวพระราชดําริ ขยายกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาเกษตร ทฤษฎีใหม โครงการอาหารกลางวัน และธนาคารโคกระบือ ตามแนวพระราชดําริ รวมทัง้ เพือ่ ความมัน่ คงทางดานอาหารอีกดวย 4.2 กลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ❍ สงเสริมใหมก ี ารพัฒนาเพือ่ ยกระดับความรู ความสามารถ และทักษะของผูใ ชแรงงานใหสงู ขึน้ และสอดคลอง กับสภาพการผลิตที่แปรเปลี่ยนไปจากเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาสูง เพื่อใหคุณภาพชีวิตของผูใชแรงงานดีขึ้นกวาเดิม ❍ ส ง เสริ ม การมี ส  ว นร ว มระหว า งภาครั ฐ กั บ สถาบั น ศึ ก ษาเพื่ อ ผลิ ต กํ า ลั ง คนในสาขาที่ ข าดแคลน และใหสอดคลองกับความตองการในทองถิ่น ❍ เพิ่มโอกาสในการเขาถึงแหลงเงินทุน สําหรับผูที่ตองการเปนผูประกอบการทําใหเกิดธุรกิจ SMEs ใหม ๆ เกิดขึ้นอีกมาก และสงเสริมระบบประกันภัยความเสี่ยงในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

87


4.3 ในภาครวม ❍ ยกระดับการศึกษาของประชาชนใหมีความรูและความสามารถเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มจํานวนผูที่จบการศึกษา ระดับปริญญาตรีที่มีความรูและความชํานาญเฉพาะทางใหมากขึ้น อีกทั้งออกมาตรการสาธารณสุข (Social Safety Net) ใหแกผูดอยโอกาส ❍ พัฒนาดานการวิจัยและการพัฒนา (Research and Development: R&D) ใหมีสัดสวนตอ GDP เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ R&D ในเชิงพาณิชยทจี่ ะนํามาซึง่ ผลิตภัณฑและนวัตกรรมใหม ๆ ซึง่ สามารถสรางมูลคาเพิม่ ในตลาดโลกไดอยางมาก ❍ พั ฒ นาระบบโลจิ ส ติ ก ส ข องไทยให มี โ ครงสร า งพื้ น ฐานที่ ดี มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ลดต น ทุ น ในการขนส ง และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระยะยาวโดยเรงพัฒนาระบบ Public Private Partnerships (PPP) เพื่อดึงการรวมทุน ของเอกชนทั้งในประเทศและนอกประเทศ ❍ สนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) ในภาคธุรกิจ โดยรัฐควรจัดสรรงบประมาณ และสินเชื่อชุมชนเพื่อสรางฐานเศรษฐกิจใหแกชุมชน ❍ ปรับปรุงโครงสรางภาษีใหมีลักษณะกาวหนามากขึ้น โดยตองขยายฐานภาษีทางตรง เชน ปรับโครงสราง ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาใหมีการขยายขั้นอัตราภาษีเพิ่มมากขึ้น และควรกําหนดอัตราภาษีสําหรับกลุมผูมีรายไดสูงในอัตรา ที่มากขึ้น เพื่อใหผูมีรายไดสูงรับภาระภาษีเพิ่มขึ้นใหมากขึ้น ในขณะที่ตองลดสัดสวนของภาษีทางออม (หรือภาษีจากฐาน การบริโภค) ลง ซึ่งเปนภาษีที่รัฐบาลไทยจัดเก็บไดเปนสวนใหญและเปนสาเหตุที่ทําใหภาระภาษีเมื่อเทียบกับรายไดตกอยูกับ ผูมีรายไดตํ่ามากกวาผูมีรายไดสูง โดยรัฐควรพิจารณาถึงความเปนไปไดในการเรงนําเสนอภาษีที่จัดเก็บบนฐานความมั่งคั่ง มาใช เชน ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสราง ภาษีทรัพยสิน และภาษีมรดก ฯลฯ เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าทางรายไดและการถือครอง ทรัพยสินในระยะยาว

5. บทสรุป บริบทใหมของเศรษฐกิจโลกในปจจุบันหลังวิกฤตการเงินโลกในป 2552 ไดสรางมหัศจรรยแหงเอเชีย (Miracle of Asia) อีกครั้งหลังจากที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ซึ่งนับวาเปนชวงเวลาสําคัญสําหรับประเทศไทยที่จะนําโอกาสนี้ในการกาวขึ้นสูการเปน ประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) จากปจจุบันที่ประเทศไทยถูกจัดวาเปนประเทศที่มีรายไดระดับกลางบน อยางไรก็ดี จากการศึกษาขอมูลพบวา ความสามารถในการเพิ่มรายไดตอหัวของไทยยังดอยกวาประเทศเพื่อนบาน เนื่องจาก ปญหาการกระจายรายไดที่ไมสมดุลในกลุมคนที่มีรายไดสูงและกลุมคนที่มีรายไดตํ่าซึ่งเปนกลุมที่มีบทบาทสําคัญทาง การเศรษฐกิจ ทําใหประเทศไทยจําเปนตองมีนโยบายภาครัฐเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจควบคูไปกับการกระจาย รายไดที่สมดุลเปนปจจัยสําคัญ โดยเนนนโยบายการใชจายของรัฐเพื่อประชาชนฐานราก และขยายฐานภาษีทางตรงพรอม นําเสนอภาษีทจี่ ดั เก็บบนฐานความมัง่ คัง่ มาใช ซึง่ ถาทุกฝายมีความพรอมและมีการบริหารจัดการทีด่ แี ลว ประเทศไทยจะสามารถ กาวเขาสูก ารเปนประเทศทีม่ รี ายไดระดับสูง (High Income Country) ในอนาคตดวยระยะเวลา 18-47 ปขา งหนานับจากป 2554

88

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


บทวิเคราะห

1

เรื่อง นักลงทุนตางชาติกับตลาดหลักทรัพยไทย : ความเชื่อและความจริง บทสรุปผูบริหาร

ในชวงที่ผานมา นักลงทุนตางชาติไดมีบทบาทสําคัญตอตลาดทุนไทยเปนอยางมาก โดย แมวา นักลงทุนตางชาติจะมีสดั สวนการลงทุนทีน่ อ ยเพียงรอยละ 25.0 ของมูลคารวมในตลาดหลักทรัพยทงั้ หมด แตการซื้อ-ขายของนักลงทุนตางชาติสามารถอธิบายการเคลื่อนไหวของตลาดหุนไทยไดกวาครึ่ง ❍ จากการศึกษาและวิเคราะหพฤติกรรมของนักลงทุนตางชาติในตลาดหุนไทยในชวงครึ่งแรก ของป 2554 พบวา 1) นักลงทุนตางชาติจะเขาซื้อสุทธิในมูลคาเฉลี่ยที่นอยกวาและจํานวนวันติดตอกันที่สั้นกวา การขายสุทธิ 2) นักลงทุนรายยอยซื้อ-ขายในทิศทางที่ตรงขามกับนักลงทุนตางชาติอยางมีนัยสําคัญ ทั้งใน ชวงตลาดหุนขาขึ้นและในชวงตลาดหุนขาลง 3) เมื่อนักลงทุนตางชาติลงทุนในตลาดหลักทรัพยไทยก็จะลงทุนในตลาดตราสารหนี้ไทยใน ทิศทางเดียวกัน ซึ่งเปนการสะทอนวานักลงทุนตางชาติแบงกลุมสินทรัพยทั้ง 2 ตลาด ในประเภทสินทรัพยที่มี ความเสี่ยงไวในระดับเดียวกัน ❍ นอกจากนัน ้ หากวิเคราะหพฤติกรรมนักลงทุนในการลงทุนในตลาดโลกจะพบวา หากนักลงทุนมี ความกังวลเกีย่ วกับสถานการณเศรษฐกิจและการเงินโลก นักลงทุนตางชาติจะถอนการลงทุนทัง้ ในตลาดหลักทรัพย ภูมภิ าคเอเชียและประเทศเศรษฐกิจพัฒนาแลว และจะนําเงินลงทุนบางสวนไปลงทุนในสินทรัพยทปี่ ลอดภัยกวา อยางพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริการะยะสัน้ เพือ่ รอดูสถานการณ อันจะสงผลใหตลาดหุน ทัว่ โลกมีการเคลือ่ นไหว ในทิศทางเดียวกัน ❍ ทัง ้ นี้ ในการคาดการณทศิ ทางของตลาดหลักทรัพยไทยควรจับตามองตลาดในภูมภิ าคอาเซียน และดัชนี Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา เนือ่ งจากเปนตลาดทีเ่ คลือ่ นไหวไปในทิศทางเดียวกันกับตลาดหลักทรัพย ของไทยในระดับสูง ❍

บทนํา นับตัง้ แตตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดเปดดําเนินการในป 2518 ตามแผนการจัดตัง้ ตลาดทุนซึง่ เปนสวนหนึง่ ของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดมีบทบาทสําคัญในฐานะแหลงระดมทุน ของภาคเอกชน และเปนชองทางใหนักลงทุนสามารถลงทุนในสินทรัพยที่มีความเสี่ยงได ทั้งนี้ ในชวงที่ผานมา นักลงทุนตางชาติไดมีบทบาทสําคัญตอตลาดทุนไทยเปนอยางมาก2 โดยแมวานักลงทุนตางชาติ จะมีสัดสวนการลงทุนที่นอยเพียงรอยละ 25.0 ของมูลคารวมในตลาดหลักทรัพยทั้งหมด (ภาพที่ 1) แตการซื้อ-ขายของ นักลงทุนตางชาติสามารถอธิบายการเคลือ่ นไหวของตลาดหุน ไทยไดกวาครึง่ 3 บทความนีม้ จี ดุ ประสงคเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมของ นักลงทุนตางชาติในตลาดหุน ไทย โดยศึกษาขอมูลเฉพาะชวงครึง่ แรก (เดือนมกราคม–มิถนุ ายน) ของป 2554 เพือ่ อธิบายและทํา ความเขาใจความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักลงทุนตางชาติ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ผู  เ ขี ย น : ดร.พิ ม พ น ารา หิ รั ญ กสิ เศรษฐกรชํ า นาญการ และนายเฑี ย ร เที ย มศั ก ดิ์ เศรษฐกรตรี ส ว นการวิ เ คราะห เ สถี ย รภาพเศรษฐกิ จ ขอขอบคุ ณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา 2 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยแบงนักลงทุนออกเปน 4 ประเภท คือ นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพยในประเทศ นักลงทุนรายยอย ภายในประเทศ และนักลงทุนตางชาติ 3 คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ (Correlation coefficient) ระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ กับการเปลีย่ นแปลงของดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ในชวงครึ่งแรกของป 2554 สูงถึง 0.549 1

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

89


ภาพที่ 1 สัดสวนการลงทุนในตลาดหลักทรัพยของนักลงทุนประเภทตาง ๆ

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ความเชื่อที่ 1 : นักลงทุนตางชาติทยอยเขาซื้อหลักทรัพย แตจะขายในปริมาณที่มากอยาง ฉับพลัน หากพิจารณาจากมูลคาซื้อ-ขายสุทธิเฉลี่ยของนักลงทุนตางชาติ ในชวงครึ่งแรกของป 2554 แลวจะพบวา สําหรับวันที่ นักลงทุนตางชาติซื้อสุทธิ มูลคาซื้อสุทธิเฉลี่ยจะอยูที่ 1,785.8 ลานบาท ในขณะที่วันที่นักลงทุนตางชาติขายสุทธิ มูลคาขายสุทธิ เฉลี่ยจะอยูที่ 1,904.0 ลานบาท (ภาพที่ 2) มูลคาขายสุทธิที่มากกวามูลคาซื้อสุทธินี้สอดคลองกับความเชื่อที่ 1 ที่วานักลงทุน ตางชาติทยอยเขาซื้อหลักทรัพย แตจะขายในปริมาณที่มากอยางฉับพลัน อยางไรก็ตาม หากเราทดสอบดวยวิธีทางสถิติจะพบวา มูลคาซื้อ-ขายสุทธิเฉลี่ยนี้ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ เชิงสถิติ จึงไมสามารถพิสูจนไดวานักลงทุนตางชาติจะขายสุทธิดวยมูลคาที่สูงกวามูลคาซื้อสุทธิ ภาพที่ 2 มูลคาซื้อ-ขายสุทธิเฉลี่ยของนักลงทุนประเภทตาง ๆ

ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.

นอกจากนี้ หากพิจารณาในแงของจํานวนวันเฉลี่ยที่นักลงทุนตางชาติซื้อ-ขายสุทธิติดตอกันในชวงครึ่งแรกของป 2554 แลวจะพบวา นักลงทุนตางชาติโดยเฉลี่ยจะซื้อสุทธิติดตอกัน 2.71 วัน ในขณะที่จะขายสุทธิเฉลี่ยติดตอกัน 3.1 วัน (ภาพที่ 3) ซึ่งจํานวนวันที่นักลงทุนเขาซื้อ-ขายสุทธินี้ไมสอดคลองกับความเชื่อที่วานักลงทุนตางชาติจะทยอยเขาซื้อ แตจะขายหลักทรัพย ออกอยางรวดเร็ว เนื่องจากโดยเฉลี่ยแลวนักลงทุนตางชาติจะขายสุทธิติดตอกันเปนระยะเวลาที่นานกวา

90

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


อยางไรก็ตาม หากเราทดสอบดวยวิธีทางสถิติ4 จะพบวา จํานวนวันเฉลี่ยที่นักลงทุนตางชาติซื้อ-ขายสุทธินี้ไมมี ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญเชิงสถิติ จึงไมสามารถพิสูจนไดวานักลงทุนตางชาติขายสุทธิติดตอกันเปนระยะเวลาที่นานกวา ภาพที่ 3 สถิติเชิงบรรยายของจํานวนวันซื้อ-ขายสุทธิติดตอกันเฉลี่ยของนักลงทุนตางชาติ

ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.

ดังนั้น จึงอาจสรุปไดวา ความเชื่อที่วานักลงทุนตางชาติทยอยเขาซื้อหลักทรัพย แตจะขายในปริมาณที่มาก อยางฉับพลันนั้น เปนความเชื่อที่ไมสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ โดยนักลงทุนตางชาติจะเขาซื้อสุทธิในมูลคา เฉลี่ยที่นอยกวาและจํานวนวันติดตอกันที่สั้นกวาการขายสุทธิ ซึ่งสอดคลองกับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิสะสมของนักลงทุน ตางชาติในชวงครึ่งแรกของป 2554 ที่นักลงทุนตางชาติขายสุทธิถึง 14,677 ลานบาท

ความเชื่อที่ 2 : นักลงทุนรายยอยในประเทศซื้อ-ขายหลักทรัพยตามทิศทางของนักลงทุน ตางชาติ เนื่องจากนักลงทุนตางชาติสามารถทําใหตลาดเคลื่อนไหว โดยถึงแมการซื้อ-ขายหลักทรัพยของนักลงทุนตางชาติจะมี สัดสวนเพียงรอยละ 25.0 ของมูลคาการซื้อ-ขายรวม แตสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของดัชนีตลาดหลักทรัพยในชวงครึ่ง แรกของป 2554 ไดถงึ รอยละ 54.9 จนอาจกลาวไดวา นักลงทุนตางชาติเปนผูก าํ หนดทิศทางของตลาด (Market mover) จึงทําให มีความเชื่อโดยทั่วไปวานักลงทุนรายยอยในประเทศมักทําการซื้อขายหลักทรัพยตามนักลงทุนตางชาติ ทั้งการซื้อ-ขายภายใน วันเดียวกัน หรือบางครั้งใชสัญญาณจากการซื้อ-ขายของนักลงทุนตางชาติในวันกอนหนาเปนสวนชวยในการตัดสินใจ และจะ ตัดสินใจซื้อ-ขายหลักทรัพยตามสัญญาณดังกลาว อยางไรก็ตาม หากพิจารณาจากขอมูลเชิงประจักษแลวจะพบวา ในชวงครึ่งแรกของป 2554 นักลงทุนรายยอยใน ประเทศมักจะมีทิศทางการซื้อ-ขายหลักทรัพยที่ตรงกันขามกับนักลงทุนตางชาติ โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวาง มูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนรายยอยในประเทศกับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ -0.884 ซึ่งแสดงใหเห็นวากวารอยละ 88.4 ของการซื้อ-ขายของนักลงทุนรายยอยเปนไปในทิศทางตรงขามกับการซื้อ-ขาย ของนักลงทุนตางชาติ และเมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติวันกอนหนา กับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนรายยอยในประเทศจะพบวา ยังคงมีคาเปนลบที่ -0.4499

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

91


ภาพที่ 4 Scattergram มูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติและนักลงทุนในประเทศ

ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.

นอกจากนี้ หากแยกพิจารณาพฤติกรรมของนักลงทุนรายยอยออกเปนชวงหุน ขาขึน้ และหุน ขาลงจะพบวา ไมวา เมือ่ ดัชนี ตลาดหลักทรัพยอยูใน “ขาขึ้น” กลาวคือ ดัชนีของวันนี้สูงกวาดัชนีของวันกอนหนา หรือ “ขาลง” กลาวคือ ดัชนีของวันนี้มีคาตํ่า กวาวันกอนหนา นักลงทุนรายยอยยังคงซื้อ-ขายในทิศทางที่ตรงกันขามกับนักลงทุนตางชาติ5 (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 สรุปคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติและนักลงทุนอื่น ๆ

รวม ขาขึ้น ขาลง ตางชาติซื้อสุทธิ ตางชาติขายสุทธิ

ภายในวันเดียวกัน นักลงทุนตางชาติชี้นํา 1 วัน ภายในวันเดียวกัน ภายในวันเดียวกัน ภายในวันเดียวกัน ภายในวันเดียวกัน

สถาบัน 0.2328*** -0.0456 0.0264 -0.1691 0.0846 0.3208***

บัญชีบริษัทหลักทรัพย นักลงทุนรายยอย 0.0808 -0.8844*** 0.0584 -0.4499*** -0.0952 -0.8788*** -0.1983 -0.8760*** 0.1227 -0.7653*** -0.0502 -0.8550***

*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 99 ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.

ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา ความเชื่อที่วานักลงทุนรายยอยในประเทศซื้อ-ขายหลักทรัพยตามทิศทางของ นักลงทุนตางชาตินนั้ เปนความเชือ่ ทีไ่ มสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ โดยพฤติกรรมของนักลงทุนรายยอยมักจะเปน ไปในทิศทางตรงขามกับนักลงทุนตางชาติ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งไดวา เมื่อนักลงทุนตางชาติเขาซื้อสุทธิ ดัชนีตลาดหลักทรัพย มักปรับตัวสูงขึน้ ทําใหนกั ลงทุนรายยอยขายสุทธิเพือ่ ทํากําไร และในทางกลับกันเมือ่ นักลงทุนตางชาติขายสุทธิและทําใหดชั นีฯ ปรับตัวลดลง นักลงทุนรายยอยจะเขาซื้อเพื่อทํากําไรในอนาคต จึงอาจกลาวไดวานักลงทุนรายยอยเนนการซื้อ-ขายหลักทรัพย เพื่อทํากําไรระยะสั้นมากกวาจะซื้อ-ขายเพื่อรับเงินปนผล อยางไรก็ดี ผลการวิเคราะหขางตนอาจไดรับอิทธิพลจากธรรมชาติของตลาดหลักทรัพยไทย เนื่องจากการซื้อ-ขายหลักทรัพย รวมสุทธิจะมีลักษณะเปนแบบ Zero-sum กลาวคือ เมื่อมีผูขายจะตองมีผูซื้อเสมอจึงจะเปนการซื้อ-ขายที่สมบูรณ ดังนั้น เมื่อ นักลงทุนตางชาติซงึ่ เปนนักลงทุนกลุม ใหญลาํ ดับที่ 2 ขายหลักทรัพย นักลงทุนรายยอยในประเทศซึง่ เปนนักลงทุนกลุม ใหญทสี่ ดุ จึงมักเปนผูเขาซื้อ หรือในทางกลับกันเมื่อนักลงทุนรายยอยขายหลักทรัพย นักลงทุนตางชาติก็มักเปนผูเขาซื้อสุทธิดวยเชนกัน 5

92

ทัง้ นี้ คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติกบั นักลงทุนสถาบันมีคา เปนบวก แตจะมีนยั สําคัญทางสถิตเิ ฉพาะมูลคารวมภายใน วันเดียวกัน และวันที่ตางชาติขายสุทธิเทานั้น กลาวคือ โดยรวมแลวมูลคาการซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนสถาบันประมาณรอยละ 23.28 จะเปนไปตามมูลคาการ ซือ้ -ขายของนักลงทุนตางชาติ และหากนักลงทุนตางชาติขายสุทธิแลว นักลงทุนสถาบันมีโอกาสจะขายสุทธิตามดวยมูลคาประมาณรอยละ 32.08 ของมูลคาขาย สุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในขณะที่คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติกับบัญชีบริษัทหลักทรัพยไมมีนัยสําคัญทางสถิติเลย

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ความเชื่อที่ 3 : เมื่อนักลงทุนตางชาติปรับพอรทการลงทุน จะถอนเงินออกจากตลาดหลักทรัพย ไทยแลวยายไปพักเงินลงทุนยังตลาดตราสารหนี้ไทย เนื่องจากพันธบัตรรัฐบาลเปนสินทรัพยที่มีความเสี่ยงตํ่ากวาเมื่อเทียบกับหุนสามัญ จึงมีความเชื่อวาในชวงที่นักลงทุน ตางชาติมคี วามกังวลตอปจจัยเสีย่ งดานตาง ๆ โดยเฉพาะจากปจจัยในประเทศ เชน ดานเศรษฐกิจและการเมือง นักลงทุนตางชาติ จะถอนเงินออกจากตลาดหลักทรัพยและนําเงินลงทุนไปพักในสินทรัพยที่ปลอดภัยกวาเพื่อรอดูสถานการณ ซึ่งหนึ่งในสินทรัพย ดังกลาวที่เปนที่นิยมคือพันธบัตรรัฐบาล อยางไรก็ตาม หากพิจารณาจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งแรกของป 2554 จะพบวา นักลงทุนตางชาติมีพฤติกรรม การลงทุนในทางตรงกันขามกับความเชื่อ โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดตราสารหนี้ (ไมรวมหุนกูเอกชน) ในประเทศในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ 0.1943 ซึ่งแสดงใหเห็นวาการลงทุนโดยนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและ ในตลาดตราสารหนี้โดยรวมแลวมีทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 5 มูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทย

ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ ThaiBMA คํานวณโดย สศค.

อยางไรก็ดี หากเราพิจารณาความสัมพันธระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและตลาด พันธบัตรไทย โดยแยกพิจารณาออกเปน 2 กรณี คือ 1) ชวงตลาดขาขึ้น และ 2) ชวงตลาดขาลง จะพบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทยในชวงที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย ปรับตัวสูงขึ้นจากวันกอนหนา หรือเปนตลาด “ขาขึ้น” มีคา 0.2944 และมีนัยสําคัญทางสถิติ บงชี้วาเมื่อตลาดปรับตัวสูงขึ้น การเขาซื้อหลักทรัพยและพันธบัตรของนักลงทุนตางชาติจะเปนไปในทิศทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม เมื่อดัชนีตลาดหลักทรัพย ปรับตัวลดลงจากวันกอนหนา หรือเปนตลาด “ขาลง” คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทยจะมีคา -0.0956 และไมมนี ยั สําคัญทางสถิติ กลาวคือ เมือ่ ตลาดปรับตัวลง การลงทุน ในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรของนักลงทุนตางชาติจะไมมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และหากเราพิจารณาความสัมพันธในลักษณะคลายคลึงกัน โดยพิจารณามูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทยในชวงครึ่งแรกของป 2554 เฉพาะวันที่นักลงทุนเขาซื้อหลักทรัพยสุทธิจะพบวา คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธมคี า 0.2880 และมีนยั สําคัญทางสถิติ จึงสรุปไดวา การเขาซือ้ หลักทรัพยและพันธบัตรเปนไปในทิศทาง เดียวกัน ในขณะที่คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของความสัมพันธดังกลาวในวันที่นักลงทุนตางชาติขายสุทธิในตลาดหลักทรัพย มีคา -0.1321 และไมมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงไมอาจสรุปไดวานักลงทุนตางชาติถอนเงินลงทุนจากตลาดหลักทรัพยแลวนํามา ลงทุนในตลาดพันธบัตร ตามตารางที่ 2 ประมาณการเศรษฐกิจไทย

93


ตารางที่ 2 สรุปคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิในตลาดหลักทรัพยและตลาดตราสารหนี้ไทย ในชวงครึ่งแรกของป 2554 รวม คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

0.1943***

นักลงทุนตางชาติ ตลาดขาขึ้น ตลาดขาลง นักลงทุนตางชาติ ซื้อหลักทรัพยสุทธิ ขายหลักทรัพยสุทธิ 0.2944***

-0.0956

0.2880***

-0.1321

*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 99 ที่มา : คํานวณโดย สศค.

ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา ความเชื่อที่วาเมื่อนักลงทุนตางชาติปรับพอรทการลงทุนจะถอนเงินออกจาก ตลาดหลักทรัพยไทยแลวยายไปพักเงินลงทุนยังตลาดตราสารหนีไ้ ทยนัน้ เปนความเชือ่ ทีไ่ มสอดคลองกับหลักฐานเชิง ประจักษในชวงครึง่ แรกของป 2554 แตสอดคลองกับกรณีทนี่ กั ลงทุนตางชาติแบงกลุม หลักทรัพยไทยและพันธบัตรรัฐบาลใน ประเภทสินทรัพยทมี่ คี วามเสีย่ ง (Asset Class) ไวในระดับเดียวกัน โดยเมือ่ นักลงทุนมีความเชือ่ มัน่ ตอสภาพเศรษฐกิจ ก็จะลงทุน ในหลักทรัพยและพันธบัตรในทิศทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม ดวยหลักฐานเชิงประจักษทาํ ใหเราไมสามารถสรุปไดวา เมือ่ มีปจ จัย เสี่ยงตาง ๆ ซึ่งสรางความหวาดกลัวแกนักลงทุนตางชาติแลว นักลงทุนตางชาติจะขายหลักทรัพยเพื่อเขาซื้อพันธบัตรรัฐบาล

ความเชื่อที่ 4 : เมื่อนักลงทุนตางชาติปรับพอรทการลงทุนจะถอนเงินออกจากตลาดหลักทรัพย ของประเทศพัฒนาแลวมายังตลาดภูมิภาคเอเชีย ในอดีตที่ผานมามีความเชื่อวา เมื่อนักลงทุนตางชาติมีความกังวลตอปจจัยเสี่ยงดานภาพรวมเศรษฐกิจและการเงินโลก จะยายเงินลงทุนจากตลาดหลักทรัพยภูมิภาคเอเชียไปลงทุนในตลาดหลักทรัพยของประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งนักลงทุนเชื่อวามี ความปลอดภัยสูงกวา ในขณะที่เมื่อภาพรวมสถานการณเศรษฐกิจและการเงินโลกเริ่มมีทิศทางดีขึ้นอีกครั้งก็จะทําใหนักลงทุน ตางชาติยายการลงทุนจากตลาดหลักทรัพยของประเทศพัฒนาแลวกลับเขามาลงทุนในตลาดภูมิภาคเอเชียอีกครั้ง เนื่องจากมี ผลตอบแทนสูงกวาควบคูกับความเสี่ยงที่มากกวา ทั้งนี้ ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคอาเซียนมีการเคลื่อนไหวไปในทิศทาง เดียวกันในระดับสูง โดยคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีหลักทรัพยมาเลเซีย ฟลปิ ปนสและ อินโดนีเซีย ในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ 0.2961 0.8188 และ 0.7958 ตามลําดับ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงดัชนีตลาดหลักทรัพย ไทยและตลาดในภูมิภาคที่มีการเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน บงชี้วา นักลงทุนตางชาติจัดระดับของหลักทรัพยไทยไวในระดับ เดียวกับหลักทรัพยในตลาดภูมิภาค

94

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 6 การเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพยไทยและในตลาดภูมิภาคอาเซียน

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ในขณะที่หากเราพิจารณาการเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีตลาดหลักทรัพยอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ในชวงครึ่งแรกของป 2554 จะพบวา ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและดัชนีตลาดหลักทรัพยอื่น ๆ ในเอเชียสวนใหญมี การเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน แตในระดับความสัมพันธที่ตํ่ากวาตลาดในอาเซียน โดยคาสัมประสิทธิ์สห สัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย กับดัชนีหลักทรัพย Hang Seng ฮองกง ดัชนีหลักทรัพย Kospi เกาหลีใต และดัชนี หลักทรัพย Strait Times สิงคโปร ในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ 0.2858 0.7371 และ 0.2877 ตามลําดับ ซึ่งแสดงใหเห็นถึง ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดในภูมิภาคที่มีการเคลื่อนไหวบางสวนไปในทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 7 การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดอื่น ๆ ในภูมิภาค

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

95


นอกจากนัน้ เมือ่ พิจารณาการเคลือ่ นไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและดัชนีตลาดหลักทรัพยของเศรษฐกิจ ที่พัฒนาแลว (Advanced Economies) จะพบวา สวนใหญมีการเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน ยกเวนดัชนีหลัก ทรัพย Nikkei ของญี่ปุนที่เคลื่อนไหวในทิศทางตรงกันขามอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งเปนผลจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิ6 โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีหลักทรัพย Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา และ FTSE ของอังกฤษ อยูที่ 0.5971 และ 0.1486 ตามลําดับ ในขณะที่คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนี หลักทรัพย Nikkei ของญี่ปุนอยูที่ -0.5438 กลาวโดยสรุป หากพิจารณาจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งแรกของป 2554 จะพบวา ดัชนีตลาดหลักทรัพย ทั่วโลกทั้งในภูมิภาคเอเชียและประเทศพัฒนาแลวตางเคลื่อนไหวไปในทิศทางที่สอดคลองกันอยางมีนัยสําคัญ โดย คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียและประเทศที่พัฒนาแลวในชวงครึ่งแรกของป 2554 เฉลี่ยแลวมีคาเปนบวก โดยอยูที่ 0.2975 ซึ่งแสดงใหเห็นถึงดัชนีตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียและประเทศที่พัฒนาแลว มีการเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 8 การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดของเศรษฐกิจที่พัฒนาแลว

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

6

96

ทั้งนี้ ในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจโลก (ระหวางป 2547-2550) ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและดัชนี Nikkei มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยูที่ 0.5819 และ ดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones และดัชนี Nikkei มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยูที่ 0.8091 ซึ่งบงชี้ถึงการเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกันอยางมีนัยสําคัญ อยางไรก็ตาม ทิศทางการเคลือ่ นไหวทีต่ รงกันขามกันของทัง้ สองตลาดในชวงครึง่ แรกของป 2554 อาจเปนผลมาจากภัยพิบตั สิ นึ ามิทญ ี่ ปี่ นุ ซึง่ สงผลใหดชั นี Nikkei ปรับตัวลดลงอยางมากในชวงดังกลาว ซึ่งสวนทางกับดัชนี Dow Jones และดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยที่มีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้น

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ตารางที่ 3 สรุปคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยภูมิภาคเอเชียและประเทศที่พัฒนาแลว SET SET FTSE Bursa Malaysia PSEi JSEi Hang Seng Korea Composit Strait Times FTSE 100 Dow Jones Nikkei 225

FTSE Bursa PSEi Malaysia

JSXi

Hang Korea Strait Seng Composit Times

0.2961*** 0.8188*** 0.7958*** 0.2858*** 0.7317*** 0.2877*** 0.2961*** 0.6221*** 0.4791*** 0.1912** 0.4830*** 0.5023*** 0.8188*** 0.6221*** 0.9214*** 0.2982*** 0.7748*** 0.3798*** 0.7958*** 0.4791*** 0.9214*** 0.0772 0.6157*** 0.119 0.2858*** 0.1912** 0.2982*** 0.0772 0.6392*** 0.4959*** 0.7317*** 0.4830*** 0.7748*** 0.6157*** 0.6392*** 0.6526*** 0.2877*** 0.5023*** 0.3798*** 0.1119 0.4959*** 0.6526*** 0.1486** -0.0249*** -0.0375 -0.1616** 0.7022*** 0.3512*** 0.6052*** 0.5971*** -0.1386* 0.4093*** 0.4896*** 0.2127*** 0.4941*** 0.0022 -0.5438*** -0.1048 -0.5215*** -0.6319*** 0.2296*** -0.2482*** 0.3426***

FTSE 100

Dow Jones

Nikkei 225

0.1486** 0.5971*** -0.5438*** -0.0249 -0.1386* -0.1048 -0.0375 0.4093*** -0.5215*** -0.1616** 0.4896*** -0.6319*** 0.7022*** 0.2127*** 0.2296*** 0.3512*** 0.4941*** -0.2482*** 0.6052*** 0.0022 0.3426*** 0.3876*** 0.5927*** 0.3876*** -0.2234*** 0.5927*** -0.2234*** -

*, **, *** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 90, 95, และ 99 ตามลําดับ ที่มา : CEIC คํานวณโดย สศค.

ดังนั้น จึ ง อาจสรุ ป ได ว  า ความเชื่ อ ที่ ว  า เมื่ อ นั ก ลงทุ น ต า งชาติ ป รั บ พอร ท การลงทุ น จะถอนเงิ น ออกจาก ตลาดหลั ก ทรั พ ย ข องประเทศพั ฒ นาแล ว มายั ง ตลาดภู มิ ภ าคเอเชี ย นั้ น ไม ส อดคล อ งกั บ ข อ เท็ จ จริ ง กล า วคื อ อันที่จริงแลวเมื่อนักลงทุนตางชาติถอนเงินลงทุนในตลาดหลักทรัพยของประเทศพัฒนาแลวก็จะถอนเงินลงทุนใน ตลาดหลักทรัพยภูมิภาคเอเชียดวยเชนกัน ซึ่งพฤติกรรมดังกลาวเปนการสะทอนวานักลงทุนตางชาติไดแบงกลุมหลักทรัพย ของภูมิภาคเอเชียและประเทศพัฒนาแลวในประเภทสินทรัพยที่มีความเสี่ยง (Asset Class) ไวในระดับเดียวกัน เมื่อนักลงทุนตางชาติมีความไมมั่นใจตอปจจัยเสี่ยงดานภาพรวมเศรษฐกิจและการเงินโลก จะขายหลักทรัพย ของทัง้ 2 ตลาดในชวงเวลาใกลเคียงกันและนําเงินไปลงทุนในสินทรัพยทมี่ คี วามปลอดภัยสูงกวาอยางพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐอเมริการะยะสัน้ โดยคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones และผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐอเมริการะยะเวลา 2 ป ในชวงครึง่ แรกของป 2554 อยูท ี่ 0.1323 ซึง่ แสดงใหเห็นวาเมือ่ นักลงทุนถอนเงินจากตลาดหลักทรัพย สหรัฐอเมริกาจะเขามาลงทุนซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริการะยะเวลา 2 ป สงผลใหราคาพันธบัตรดังกลาวปรับตัวสูงขึ้น หรือ อีกนัยหนึ่งคือผลตอบแทนพันธบัตรดังกลาวลดลง สอดคลองกับคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธที่เปนบวก ภาพที่ 9 การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones กับผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ระยะเวลา 2 ป

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

97


ตารางที่ 4 สรุปคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones และผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐอเมริกา ระยะเวลา 2 ป Dow Jones Dow Jones 2 Year US Bond Yield

0.1323*

2 Year US Bond Yield 0.1323* -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 90 ที่มา : CEIC คํานวณโดย สศค.

การเคลือ่ นไหวในทิศทางเดียวกันของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดอืน่ ๆ ในระดับทีส่ งู ทัง้ ตลาดในภูมภิ าคอาเซียน ตลาดเอเชีย ตลอดจนตลาดเศรษฐกิจพัฒนาแลว อาจเปนการบงชี้วานักลงทุนตางชาติจัดกลุมหลักทรัพยในตลาดทุนโลกไวใน ประเภทสินทรัพยที่มีความเสี่ยงในระดับเดียวกัน ตามทิศทางและสถานการณเศรษฐกิจโลก อนึ่ง เปนที่นาสังเกตวาทิศทางของ ดัชนี Dow Jones ในวันกอนหนาเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกับดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธสูงถึง 0.5971 จึงอาจกลาวไดวา นักลงทุนโดยเฉพาะนักลงทุนตางชาติจะใชสัญญาณจากดัชนี Dow Jones แลวจึงตัดสินใจซื้อ-ขาย หลักทรัพยในภูมิภาค รวมถึงตลาดหลักทรัพยไทยดวย

สรุปและแนวนโยบาย บทความนีไ้ ดวเิ คราะหความเชือ่ หลายประการในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยความเชือ่ สวนใหญเปนความเชือ่ ที่ไมสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ จากการวิเคราะหขอมูลในชวงครึ่งแรกของป 2554 พบวา ไมมีสัญญาณเงินทุนเคลื่อนยายจากนักลงทุน ตางชาติที่นากังวล ไมวาจะเปนการเขาซื้อหรือเทขายหลักทรัพยในปริมาณมากอยางรวดเร็ว อีกทั้งนักลงทุนรายยอยในประเทศมิไดลงทุน ตามนักลงทุนตางชาติ แตพฤติกรรมของนักลงทุนรายยอยมักจะเปนไปในทิศทางตรงขามกับนักลงทุนตางชาติ และมักจะเปน ทิศทางที่ตรงขามกับตลาด กลาวคือ นักลงทุนรายยอยมักจะเขาซื้อในจังหวะที่ตลาดปรับตัวลง แลวจึงขายในจังหวะที่ตลาด ปรับตัวสูงขึ้น จึงอาจกลาวไดวานักลงทุนรายยอยลงทุนในตลาดหลักทรัพยระยะสั้นเพื่อทํากําไรจากสวนตางของราคา ในขณะ ที่นักลงทุนตางชาติจะเขาซื้อตามความเชื่อมั่นในสภาพเศรษฐกิจและเสถียรภาพการเมืองของไทย ดังนั้น หนวยงานที่มีหนาที่กํากับควบคุมตลาดทุนไทยและคาดการณทิศทางของตลาดหลักทรัพยไทย จึงควรจับตามอง ตลาดในภูมิภาคอาเซียนและดัชนี Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเปนตลาดที่เคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกันกับ ตลาดหลักทรัพยของไทยในระดับสูง เพื่อใหตลาดทุนไทยมีความเคลื่อนไหวอยางมีเสถียรภาพ พรอมทําหนาที่เปนแหลงระดม เงินทุนของภาคเอกชนไทยตอไป

98

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


บทวิเคราะห

เรื่อง อุตสาหกรรม…กุญแจสูการยกระดับขีดความสามารถ ในการแขงขัน 1

บทสรุปผูบริหาร

จากขอมูลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศของ IMD ป 2554 ไดจัดอันดับประเทศไทยอยูที่อันดับ 27 ซึ่งลดลงจากป 2553 โดยสวนที่ไทยมีขีดความสามารถในระดับตํ่าที่สุด คือ สวนของสภาพโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure) โดยเฉพาะในดานวิทยาศาสตร (Scientific) และเทคโนโลยี (Technology) ❍ แนวทางสํ า คั ญ ที่ จ ะยกระดั บ ขี ด ความสามารถด า น Scientific และ Technology ดั ง กล า ว คือการสงเสริมนวัตกรรมใหเปนรูปธรรม เพื่อขับเคลื่อนใหไทยกาวสูเศรษฐกิจสังคมฐานความรู (KnowledgeBased Society) โดยกุญแจสําคัญทีจ่ ะนําพาไปสูแ นวทางดังกลาวได คือ การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมใหถกู ทิศทาง มากขึน้ เนือ่ งจากภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทสําคัญตอภาคการผลิตและภาคการสงออก โดยมีสดั สวนกวารอยละ 41 และรอยละ 74 ของทั้งสองภาค ตามลําดับ ❍ อย า งไรก็ ดี เมื่ อ พิ จ ารณามู ล ค า เพิ่ ม (Value Added) ที่ เ กิ ด ขึ้ น กลั บ พบว า มี สั ด ส ว นที่ น  อ ย เนื่องจากวัตถุดิบที่ใชในการผลิตสินคานั้นสวนใหญมาจากการนําเขาแลวผลิตเพื่อสงออก (Re-export) ซึ่งทําให มูลคาที่เกิดจากการสงออกสวนมากไปอยูที่ตนทุนการซื้อวัตถุดิบจากตางประเทศ โดยคงเหลือเพียงสวนนอย ที่เขาสูคาจางแรงงานกําไรจากการดําเนินงาน ❍ ดังนัน ้ อุตสาหกรรมทีค่ วรสงเสริมควรเปนอุตสาหกรรมทีม่ สี ดั สวนการใชปจ จัยการผลิตภายใน ประเทศ (Local Content) ในสัดสวนทีส่ งู ไดแก อุตสาหกรรมอาหาร เนือ่ งจาก ณ ปจจุบนั อยูใ นหมวดอุตสาหกรรม ที่มีสัดสวนการสงออกนอยกวารอยละ 30 ดังนั้น ยังมีโอกาสอีกมากในการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกลาวเพื่อให มีการสงออกเพิ่มขึ้น และเปนตัวเชื่อมสําคัญระหวางภาคอุตสาหกรรม-ภาคเกษตรกรรม-ภาคบริการ โดยอาศัย 4 แนวทางหลัก ไดแก 1) การเพิ่มผลิตภาพดานทักษะแรงงาน 2) การบริหารจัดการ 3) การเพิ่มปจจัยสนับสนุน และ 4) การสงเสริมดานการวิจัย พัฒนา และการสรางนวัตกรรม ❍

1. ขีดความสามารถการแขงขันของไทยในปจจุบัน หลังจากวิกฤตการเงินโลกในชวงป 2551-2552 รัฐบาลและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของในประเทศไทยมีความพยายามยกระดับ ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศอยางตอเนือ่ ง อยางไรก็ดี จากขอมูลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศของสถาบันพัฒนาการบริหารจัดการระหวางประเทศ (International Institute for Management Development: IMD) ประจําป 2554 โดยประเมินจาก 4 ดานหลัก ไดแก ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดานประสิทธิภาพภาครัฐ ดานประสิทธิภาพ ภาคเอกชน และดานโครงสรางพื้นฐาน ไดจัดอันดับประเทศไทยอยูที่อันดับ 27 จากทั้งหมด 59 ประเทศ ลดลงจากอันดับ 26 เมื่อปที่แลว โดยมีคะแนนรวม 74.886 คะแนน

1

ผูเขียน : นายธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ เศรษฐกรชํานาญการ และนายนนทวัฒน รัตนรักษาสัตย นักศึกษาฝกงาน สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

99


ภาพที่ 1 ตัวชี้วัดเชิงโครงสรางเพื่อจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันโดย IMD ใน 4 ดาน โดยในวงกลมสะทอนวาความสามารถในการแขงขันของไทยอยูในระดับตํ่า

ที่มา : IMD

ซึ่งเปนที่นาสังเกตวาขีดความสามารถในการแขงขันของไทยปรับตัวดีขึ้นเพียงดานเดียว คือ ประสิทธิภาพดานธุรกิจ ซึ่งขยับขึ้นไปอยูอันดับที่ 19 (จากอันดับ 20 เมื่อปกอนหนา) ขณะที่ดานที่ไทยมีขีดความสามารถอยูในระดับที่ต่ําสุด คือ ดานโครงสรางพืน้ ฐาน (Infrastructure) ทีล่ ดลงไปอยูท อี่ นั ดับ 47 จากอันดับ 46 เมือ่ ปทแี่ ลว โดยเมือ่ พิจารณาจากในกลุม ประเทศ อาเซียน (ASEAN)2 ดวยกัน ไทยมีอันดับดาน Infrastructure เหนือกวาเพียงอินโดนีเซียและฟลิปปนส (ที่อยูในอันดับ 55 และอันดับ 57 ตามลําดับ) (จากภาพที่ 1 และภาพที่ 2)

2

100

อาเซียน (ASEAN) หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations) เปนองคการทางภูมิศาสตรการเมือง และองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ไดแก ไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สิงคโปร บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนา วัฒนธรรมในกลุมประเทศสมาชิก อยางไรก็ดี กลุมประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม) ไมไดอยูในกลุม 59 ประเทศแรกจากการจัดอันดับของ IMD

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 2 แสดงลําดับขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศตาง ๆ 59 ประเทศ

ที่มา : IMD

2. จุดออนของขีดความสามารถทางการแขงขันของไทย คือ ขีดความสามารถดาน Technology เมื่อพิจารณาทฤษฎีในการคํานวณจากฟงกชันการผลิตแบบ Cobb-Douglas ที่มีรูปแบบมีความสัมพันธของตัวแปร ดานปจจัยการผลิตทุน (K) และแรงงาน (L) คือ Y = มูลคาเพิ่ม = A K L (โดย เปนสัมประสิทธิ์หรือคาความยืดหยุนของ ปจจัยทุนในการสรางมูลคาเพิ่ม และ เปนสัมประสิทธิ์หรือคาความยืดหยุนของปจจัยแรงงานในการสรางมูลคาเพิ่ม และ A แทน Technical progress หรือ TFP) นั้นจะพบวา ที่ผานมาประเทศไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง โดยเริ่มตน จากระดับการพัฒนาที่เนนการใชปจจัยการผลิตดานทุน (K) และแรงงาน (L) เปนตัวขับเคลื่อน (Factor Driven Economies) กระทั่งมาสูยุคปจจุบันที่เขาสูระดับการพัฒนาที่เนนการใชประสิทธิภาพและระบบการผลิต (Efficiency Driven Economies) ที่อยูใน Stage 2 สอดคลองกับรายงานการจัดระดับการพัฒนาของประเทศตาง ๆ โดย World Economic Forum3: The Global Competitiveness Report 2009-2010 ที่ประเมินระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยอยูในระดับ Efficiency เชนกัน ขณะที่ อีกหลาย ๆ ประเทศในเอเชีย อาทิ ฮองกง ญีป่ นุ สิงคโปร ไดกา วเขาสูร ะดับการพัฒนาทีใ่ ชนวัตกรรมเปนตัวขับเคลือ่ น (Innovation Driven) และใชเปนยุทธศาสตรเชิงรุก เชื่อมโยงองคความรูและภูมิปญญาของประเทศ โดยเฉพาะจากผลงานวิจัยและพัฒนา ที่สามารถนํามาตอยอดและขยายผลใหเกิดการลงทุนทางธุรกิจในระดับอุตสาหกรรมหรือในเชิงพาณิชย ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ ที่ทําใหเกิดการเพิ่มขึ้นของ A ในสมการ Cobb-Douglas หรือ Technology Progress อยางกาวกระโดด นํามาซึ่งการสราง มูลคาเพิ่ม (Y) ใหแกเศรษฐกิจของประเทศอยางรวดเร็วเชนกัน (ตารางที่ 1)

3

หรือ WEF เปนอีกหนึ่งสถาบันจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขัน โดยใหความสําคัญกับขอมูลการสํารวจความคิดเห็นมากกวาขอมูลเชิงประจักษ ซึ่งอาจ มีอคติ (Bias) ตามความสนใจและความเขาใจของผูใ หขอ มูล สงผลตอความผันแปรของขอมูลของประเทศตาง ๆ ทําใหไมสามารถเปรียบเทียบไดอยางมีนยั สําคัญ ทั้งนี้ โดยทั่วไปจะใชขอมูลการจัดอันดับของ WEF เพื่อวิเคราะหปจจัยระดับจุลภาค (หนวยการผลิต/ระดับบริษัท) รวมกับการใชขอมูล Doing Business ของ World Bank ขณะที่ขอมูลฯ ของ IMD จะใชเปนวิเคราะหปจจัยมหภาคที่สงผลตอระดับขีดความสามารถในการแขงขันเชิงโครงสรางทางเศรษฐกิจในระยะยาว

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

101


ตารางที่ 1 แสดงลําดับขั้น (Stage) ของการพัฒนาของแตละประเทศ

ที่มา : IMD

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาลงไปใน Infrastructure ซึ่งแยกไดเปนดานโครงสรางพื้นฐาน (Basic) ดานวิทยาศาสตร (Scientific) และดานเทคโนโลยี (Technology) พบวา มีคะแนนความสามารถในการแขงขันอยูท ลี่ าํ ดับ 20 ลําดับ 40 และลําดับ 52 ตามลําดับ ดังนั้น หากประเทศไทยสามารถดึงอันดับความสามารถในการแขงขันทางดาน Technology Infrastructure ใหสงู ขึน้ จะมีสว นสําคัญทีจ่ ะดึงใหประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแขงขันเพิม่ ขึน้ ในเวทีนานาชาติ ซึง่ ปจจัยทีจ่ ะสนับสนุน ขีดความสามารถดานเทคโนโลยีดังกลาว คือการสงเสริมนวัตกรรมใหเปนรูปธรรม โดยมุงเนนการใชความรู ทักษะการบริหาร จัดการ รวมทั้งประสบการณทางดานวิทยาศาสตรและดานเทคโนโลยี เพื่อการคิดคน การประดิษฐ การพัฒนา การผลิตสินคา การบริการ กระบวนการผลิต และการจัดการองคกรในรูปแบบใหม เพื่อขับเคลื่อนใหไทยกาวไปสูเศรษฐกิจสังคมฐานความรู (knowledge-based society) และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระดับโลกไดอยางยั่งยืน

ภาพที่ 3 แสดงโครงสรางภาคการผลิตและการสงออก

ที่มา : NESDB

102

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ทั้งนี้ ภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยคอนขางมาก สะทอนจากสัดสวนมูลคา ผลผลิตอุตสาหกรรมตอ GDP และมูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมตอมูลคาการสงออกรวมที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว โดยปจจุบันอยูที่ประมาณรอยละ 41 และรอยละ 74 ของ GDP และมูลคาสงออก ตามลําดับ (ดังแสดงในภาพที่ 3) โดยเมือ่ พิจารณาประเภทสินคาอุตสาหกรรมพบวา สินคาสงออกอันดับตน ๆ ของประเทศไทยจะอยูใ นกลุม สินคาอุตสาหกรรมที่ ใชเทคโนโลยีระดับสูง อาทิ อุปกรณอิเล็กทรอนิกส เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบยานยนต และชิ้นสวนยานยนต แผงวงจรไฟฟา เครือ่ งจักรกลและสวนประกอบ (โดยอันดับรอง ๆ ลงมาเปนกลุม สินคาอุตสาหกรรมการเกษตร อาทิ สินคาเกษตร แปรรูป กลุมสินคาเกษตร อาทิ ยางพารา และกลุมสินคาแฟชั่น อาทิ อัญมณีและเครื่องประดับ)

ตารางที่ 2 แสดงอัตราการขยายตัว (% y-o-y) ของการผลิต (GDP) ภาคอุตสาหกรรม และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาการขยายตัวของ GDP ภาคอุตสาหกรรม4 ในชวงป 2540-2550 มีการขยายตัวโดยเฉลี่ยรอยละ 4.8 ตอป โดยมาหดตัวลงในป 2552 ที่ระดับรอยละ -6.1 ตอป (สอดคลองกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)5 ที่หดตัวลงรอยละ -7.2 ตอปเชนกัน) เนื่องจากไดรับผลกระทบของวิกฤตทางเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา (Hamburger Crisis) โดยตอมาในป 2553 พบวากลับมาขยายตัวรอยละ 5.2 ตอป (ทิศทางเดียวกับ MPI ที่กลับมาขยายตัวรอยละ 5.2 ในปเดียวกัน) ดังแสดงในตารางที่ 2

4 5

ขอมูลจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ Manufacturing Production Index (MPI) เปนดัชนีที่รวบรวมขอมูลโดยสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนดัชนีที่บอกระดับการผลิตของภาคอุตสาหกรรม เปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงเดือนตอเดือน และมีการเปรียบเทียบกับขอมูลดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของปฐาน (พ.ศ. 2543) ซึ่งอุตสาหกรรมที่นํามาใชจัดทํา ดัชนี ประกอบดวย 53 กลุมอุตสาหกรรมหลัก โดยการคิดถวงนํ้าหนักรวมเทากับรอยละ 75.07 ของผลผลิตอุตสาหกรรมทั้งหมด และถวงนํ้าหนักของอุตสาหกรรม แตละประเภทดวยสัดสวนมูลคาเพิม่ ของการผลิตของอุตสาหกรรมนัน้ ๆ ตอมูลคารวมตามบัญชีรายไดประชาชาติในปฐาน โดยพิจารณาวาดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นหรือลดลงเมื่อเทียบกับปที่แลว ซึ่งเปนการเปรียบเทียบเดือนเดียวกัน (m-o-m) หรือชวงเวลาเดียวกันของปนี้กับปที่แลว (y-o-y)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

103


ภาพที่ 4 แสดงตลาดสงออกสินคาอุตสาหกรรมที่สําคัญ

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมในชวง 8 เดือนแรก ป 2554 พบวาชะลอตัวเหลือเพียง รอยละ 0.7 (MPI ชะลอลงเหลือรอยละ 0.7 ในชวงเวลาเดียวกัน) และเปนชวงเวลาเดียวกับที่สถานการณเศรษฐกิจโลกเผชิญ ความเปราะบางจากปญหาดานการคลังในยูโรโซนและปญหาการจางงานในสหรัฐอเมริกา สงผลใหการสงออกสินคาอุตสาหกรรม ไปยังตลาดสหรัฐอเมริกาหดตัวตอเนือ่ งเปนเดือนทีส่ าม (จากเดือนมิถนุ ายน-สิงหาคม 2554 หดตัวรอยละ -0.4 รอยละ -1.6 และ รอยละ -3.3 (y-o-y) ตามลําดับ) อยางไรก็ดี เมือ่ พิจารณามูลคาเพิม่ ทีเ่ กิดขึน้ พบวามีสดั สวนในระดับทีต่ าํ่ โดยเมือ่ พิจารณา หมวดสินคาสงออก6 จะพบวามีความสอดคลองใกลเคียงกันกับหมวดสินคานําเขา สะทอนใหเห็นถึงโครงสรางการผลิต เพื่อสงออกของสินคาไทยวา ยังเปนการผลิตสินคาสงออกที่ตองพึ่งพาการนําเขาวัตถุดิบขั้นตนและขั้นกลางจาก ตางประเทศเปนสวนใหญ ซึง่ ทําใหมลู คาทีเ่ กิดจากการสงออกสินคาเหลานัน้ ไมไดหมุนเวียนอยูใ นประเทศอยางแทจริง แตกลับไหลเวียนออกไปในรูปของตนทุนการซื้อวัตถุดิบจากตางประเทศ ซึ่งมูลคาเพิ่ม (Value added) ที่เกิดกับ อุตสาหกรรมโดยสวนใหญจงึ เปนเพียงคาจางแรงงานทีใ่ ชในการผลิตและกําไรจากการดําเนินงานเพียงบางสวนเทานัน้ ขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมทีส่ ามารถสงเสริมใหเปนอุตสาหกรรมหลักทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ ไดแก อุตสาหกรรมอาหาร กลับยังไมไดรับการพัฒนาเทาที่ควร ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาสัดสวนมูลคาการผลิต (ในตารางที่ 2) อุตสาหกรรม อาหารมีสัดสวนถึงรอยละ 15.5 ของมูลคาการผลิตรวมของทุก ๆ อุตสาหกรรม สะทอนวาเปนอุตสาหกรรมที่ไทยมีศักยภาพ (core competency) และสามารถเพิม่ มูลคาไดมากเพราะมีปจ จัยการผลิตในประเทศ (local content) สูง อยางไรก็ดี เมือ่ พิจารณา สัดสวนการสงออกพบวามีสัดสวนที่นอยกวารอยละ 30 แสดงใหเห็นวาโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ยังมีอีกมาก เพราะ สามารถทีจ่ ะพัฒนาเพือ่ เชือ่ มโยงระหวางภาคอุตสาหกรรมกับภาคเกษตร และสามารถยกระดับการเชือ่ มไปถึงตลาดตางประเทศ โดยการสงออกผลิตภัณฑอาหารไปยังประเทศตาง ๆ (local link, global reach) ขณะเดียวกันก็เชื่อมโยงถึงสายสัมพันธทั้งหมด ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศ ไมวา จะเปนภาคบริการและธุรกิจโลจิสติกส และยังจะกอใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยี ภาคอุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศ เชน อาหารปลอดภัย อาหารที่มีเทคโนโลยีทางการผลิต เปนตน รวมถึงกอใหเกิด การวิจัยและพัฒนาสินคาการเกษตรหรืออาหาร ซึ่งจะเปนตัวผลักดันใหเกิดการพัฒนาในภาคเกษตรตอไปในอนาคต

6

104

สินคานําเขาสวนใหญเปนสินคาประเภทวัตถุดิบหรือวัตถุขั้นกลางในการผลิตสินคาเพื่อการสงออก อาทิ สวนประกอบยานพาหนะ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี สินแรโลหะ เครือ่ งคอมพิวเตอรและสวนประกอบ เหล็กและผลิตภัณฑเหล็ก เครือ่ งใชไฟฟาและสวนประกอบ แผงวงจรไฟฟา เคมีภณ ั ฑ เครือ่ งจักรกล และนํา้ มันดิบ ตามลําดับ

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


3. แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ แมวา ในปจจุบนั สถานะการพัฒนาของประเทศไทยอยูใ นระดับทีเ่ นนการใชประสิทธิภาพและระบบการผลิต (Efficiency Driven Economies: Stage 2) อยางไรก็ดี ประเทศไทยยังคงอาศัยปจจัยการผลิตทั้งทุน (K) และแรงงาน (L) เปนตัวขับเคลื่อน การพัฒนา ทั้งนี้ ความไดเปรียบทางดานปจจัยการผลิตของไทยดังกลาวมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องจากปจจัยตาง ๆ อาทิ ความไดเปรียบดานตนทุนแรงงานของไทย (Labor Cost Advantage) กําลังเปลี่ยนไปจากแนวโนมการขาดแคลนแรงงาน จากภาวะการตึงตัวของกําลังแรงงานในปจจุบันที่มีอัตราการวางงานเพียงรอยละ 0.5 ประกอบกับนโยบายการเพิ่มคาแรง ขัน้ ตํา่ เปนตน นอกจากนี้ ในสวนของปจจัยทุน (Capital) ทีป่ ระเทศไทยพึง่ พาเงินลงทุนสวนใหญจากตางประเทศ (FDIs) ก็ประสบกับ ภาวะการแขงขันเชิงนโยบายของประเทศเพื่อนบานเพื่อดึงดูด FDIs ไปลงทุนในประเทศนั้น ๆ อาทิ เวียดนามที่ปจจุบัน มีเขตสงเสริมการลงทุน 2 ประเภท คือ Export Processing Zone (EPZ) และ Industrial Zone (IZ) ในนครโฮจิมินห ไฮฟอง ฮานอย เพือ่ ดึงดูดนักลงทุนจากตางชาติ โดยกําหนดอัตราภาษีทตี่ าํ่ เปนพิเศษสําหรับอุตสาหกรรมทีเ่ ขาไปลงทุนในเขตอุตสาหกรรม ทั้ง 2 ประเภทดังกลาว เปนตน ดังนั้น ภาวะดังกลาวลวนกอใหเกิดขอจํากัดของประเทศไทยตอการพึ่งพาปจจัยการผลิตเปนตัวขับเคลื่อน จึงเปน สิง่ จําเปนทีป่ ระเทศไทยจะตองสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจใหแกภาคอุตสาหกรรมในแนวทางทีน่ อกเหนือจากการพึง่ พาปจจัย การผลิตดังกลาว โดยมุงเนนไปที่การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ผานการใหความสําคัญกับการพัฒนาผลิตภาพ การผลิต (Productivity) ของภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งตองอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนาประเทศที่ชัดเจนและเปนรูปธรรม อันเปนความจําเปนที่ทุกภาคสวนตองเขามามีบทบาทในการทํางานรวมกัน ดังนี้ 3.1 แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน 1) การปรั บ โครงสร า งภาษี เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและสอดคลองกับการบริหารจัดการทรัพยากร ทางเศรษฐกิจ (หรือปจจัยการผลิตในนัยเชิงอุตสาหกรรม) ของประเทศ โดยเปนไปในแนวทางเพื่อรองรับสถานการณ การเปลีย่ นแปลง อาทิ ภาษีศลุ กากรทีม่ แี นวโนมลดบทบาทลง เนือ่ งจากขอตกลงในการลดพิกดั อัตราภาษีการคาระหวางประเทศ ตามการเปดเสรีการคาและการลงทุนกับประเทศตาง ๆ และแผนการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 2558 ตลอดจน ภายใตภาวะที่รัฐบาลมีคาใชจายผูกพันหรืองบประจําที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป ๆ เพื่อเสริมสรางสวัสดิการทางสังคม รวมทั้งยังมี แผนการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ อาทิ การบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพกวาปจจุบัน เปนตน ซึ่งลวนตองใชเงินลงทุนมูลคาสูงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศอีกดวย ทัง้ นี้ แนวทางของการปรับโครงสรางและอัตราภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา (PIT) นิตบิ คุ คล (CIT) ตองเปนไปในทิศทาง เพือ่ ยกระดับรายได สรางโอกาสและการเขาถึงโอกาส และเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน ทัง้ นี้ หากเปรียบเทียบกับประเทศ เพื่อนบานสวนใหญแลวพบวา ณ ปจจุบันประเทศไทยจัดเก็บ PIT และ CIT ในอัตราที่สูงกวาโดยเฉลี่ย (ดังแสดงในตารางที่ 3) ตารางที่ 3 เปรียบเทียบอัตราภาษี PIT CIT และ VAT ของไทยกับประเทศเพื่อนบาน ประเทศ ไทย สิงคโปร เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟลิปปนส จีน

PIT 0-37% 3.5-20% 5-35% 5-30% 5-32% 5-45%

CIT 30% 17% 25% 28% 30% 25%

ที่มา : http://www.worldwide-tax.com

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

105


ในสวนของ PIT นั้นในระยะแรก ๆ ของการปฏิรูป แนวทางควรออกมาในลักษณะของการเนนขยายฐานภาษี รวมถึง การปรับเปลี่ยนเกณฑเกี่ยวกับคาลดหยอนในบางรายการ โดยเฉพาะรายการที่สรางความเหลื่อมลํ้าทางสังคม และเนนเพิ่ม การใหคาลดหยอนในรายการที่เกี่ยวพันกับคาครองชีพพื้นฐาน หรือเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรการแกปญหาโครงการประชากร ในอนาคต ขณะที่ในสวนของการปรับลดอัตราภาษี CIT จะเปนไปในลักษณะที่ทยอยลดอัตรา โดยมติ ครม. อนุมัติใหลดอัตรา CIT จาก 30% เหลือ 23% โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2555 และลดลงเหลือ 20% ในป 2556 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของภาคธุรกิจเอกชนควบคูก บั การขยายฐานภาษี โดยเนนการปรับเปลีย่ นระบบการบันทึกบัญชีของผูป ระกอบการ ใหมีความเปนมาตรฐานและตรวจสอบไดมากขึ้น ทั้งนี้ การปรับโครงสรางภาษีดังกลาวเพื่อชวยลดภาระภาษีใหแกประชาชนและผูประกอบการ โดยจะมีสวนกระตุน การลงทุนภาคเอกชนใหมากขึ้น แมวาจะกระทบรายไดจัดเก็บภาครัฐในชวงปแรก แตจากการที่เศรษฐกิจขยายตัว ประชาชน มีรายไดเพิ่มขึ้น มีความเชื่อมั่นในการใชจายดานอุปโภคบริโภคและการลงทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทําใหรัฐจัดเก็บภาษีประเภทตาง ๆ ไดเพิ่มขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ สําหรับการใหสิทธิประโยชนทางภาษี BOI นั้น แนวทางนาจะเกิดขึ้นในลักษณะของการปรับเกณฑเงื่อนไข ใหตรงกับกลุม เปาหมาย หรือสอดคลองกับยุทธศาสตรของประเทศเปนหลัก โดยไมถงึ กับยกเลิกการใหสทิ ธิประโยชนไปทัง้ หมด เพราะตองยอมรับวาการใหสทิ ธิประโยชนกม็ คี วามสําคัญในแงของการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในประเด็นการดึงดูด เม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศ (นอกเหนือไปจากโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจและโอกาสในการสรางผลตอบแทน) ใหเขามา ลงทุนในอุตสาหกรรมที่ควรสงเสริม 2) สงเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการแขงขัน ผานการเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มบทบาทของระบบการเงิน ดังนี้ 2.1 สงเสริมใหสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ (SFIs) ใหบริการทางการเงินและไมใชทางการเงินที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการสงออกสินคาหรือบริการจากประเทศไทยและกิจการที่ไดมาหรือสนับสนุนการไดมาซึ่งเงินตรา ตางประเทศ บริการรองรับการนําเขาและการทําธุรกิจในประเทศเพือ่ ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของภาคสงออกไทย ตลอดจนธุรกิจไทยในตางประเทศ ซึ่งสงผลตอการขยายฐานการคาและการลงทุนระหวางประเทศของไทย 2.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพการกํากับดูแลสถาบันการเงินและระบบการเงิน โดยการปรับปรุงกฎหมายการเงิน ใหเหมาะสมกับสถานการณทเี่ ปลีย่ นแปลงไป และพิจารณาออกกฎหมายสําหรับธุรกิจการเงินใหม ๆ รองรับการเปลีย่ นแปลงของ ระบบการเงิน ทัง้ นี้ ตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินระยะที่ 27 (ป 2553-2557) ไดมกี ารออกมาตรการเพือ่ เตรียมความพรอม ตอกระแสการเปดเสรีการคาและบริการดานการเงินเพือ่ มุง สู AEC 2015 โดยแบงเปนชวงที่ 1 (ป 2553-2554) เนนการเสริมสราง ความแข็งแกรงและสนับสนุนการแขงขันแกสถาบันการเงินไทย โดยกระทรวงการคลังรวมกับธนาคารแหงประเทศไทยได ดําเนินการโดยใชมาตรการทางภาษีเพื่อสนับสนุนการควบรวม โดยสถาบันการเงินจะไดรับยกเวนภาษีสําหรับรายไดที่เกิดจาก การควบรวมกิจการ และยกเวนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมการโอนที่ดินและอาคารชุดที่เกิดจากการควบรวม (ปจจุบนั มีผลบังคับใชถงึ วันที่ 31 ธันวาคม 2554) ตอมาชวงที่ 2 (ป 2555-2556) จะเปนการเพิม่ ระดับการแขงขันโดยการเพิม่ ของ สถาบันการเงินตางชาติและผูใ หบริการรายใหมในระบบสถาบันการเงินไทย และชวงที่ 3 (ป 2557) จะเนนการเพิม่ ประสิทธิภาพ ของระบบใหสอดคลองกับทิศทางการขยายตัวทางการคาและการลงทุนในภูมิภาค 2.3 สงเสริมและสนับสนุนใหเอกชนกูยืมเงินไปลงทุน ในการจัดตั้งสถาบันฝกอบรมวิชาชีพเอกชนในสาขาที่ ขาดแคลนในอัตราดอกเบี้ยตํ่าโดยเฉพาะในเขตพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรม 2.4 สงเสริมและสนับสนุนใหแรงงานกูย มื กองทุนพัฒนาฝมอื แรงงาน เพือ่ ใหแรงงานเขาสูร ะบบการจางงาน และ แรงงานทีถ่ กู เลิกจางกูย มื ใหอตั ราดอกเบีย้ ตํา่ โดยปจจุบนั กรมพัฒนาฝมอื แรงงานไดเปดกองทุนฯ โดยใหกยู มื เพือ่ ฝกอบรมฝมอื แรงงานหลักสูตรระยะสั้นในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1 ตอป และผอนชําระคืนพรอมดอกเบี้ยเมื่อจบการฝกอบรมฝมือแรงงานแลว

7

106

แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินระยะที่ 2 เปนแผนที่ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ระยะที่ 1 ที่วางกรอบการพัฒนาระบบสถาบันการเงินในชวงป 2547-2551 เพื่อปรับปรุงโครงสรางระบบสถาบันการเงินใหสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ แข็งแกรง และสามารถใหบริการไดทั่วถึง

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


2.5 อาศัยเครื่องมือนโยบายการเงินเพื่อจัดสรรทรัพยากรการเงินไปสูภาคการผลิตที่มีผลิตภาพสูงและ เปนประโยชนตอเศรษฐกิจ เสริมสรางศักยภาพการผลิต โดยการเพิ่มผลิตภาพของแรงงานและประสิทธิภาพการใชทรัพยากร 3) การเพิม่ ผลิตภาพดานทักษะแรงงาน (Labor Productivity) โดยมุง เนนการผลิตและพัฒนาแรงงานใหตรงกับ ความตองการในแตละสาขาอุตสาหกรรม โดยอาศัยความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษากับผูประกอบการ ตลอดจนกําหนด มาตรฐานทักษะฝมือแรงงาน โดยสงเสริมใหผูประกอบการใชคุณวุฒิวิชาชีพเปนเครื่องมือในการพิจารณาคาจางแรงงาน เพื่อจูงใจใหพนักงานตองการพัฒนาทักษะฝมือตนเองมากขึ้น ดวยมาตรการทางภาษี อาทิ สถานประกอบการหรือสถาบัน การศึกษาที่ดําเนินการจัดฝกอบรมเพื่อพัฒนาฝมือแรงงาน จะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีจากการสนับสนุนการศึกษาตาม พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 476 พ.ศ. 2551 สามารถหักคาใชจายได 2 เทาของคาใชจายที่จายไป แตไมเกินรอยละ 10 ของกําไร สุทธิกอนหักรายจายเพื่อสาธารณประโยชน เปนตน 4) การบริหารจัดการ ผานกระบวนการเสริมสรางความรูค วามเขาใจในการบริหารจัดการใหแกผบู ริหาร ทัง้ ในดาน การผลิตและการตลาด โดยใหคําปรึกษาแนะนําผูประกอบการในการปรับปรุงกระบวนการผลิตในดานตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพ และไดมาตรฐาน และสงเสริมและสนับสนุนใหผปู ระกอบการนําระบบการบริหารจัดการสมัยใหมตามมาตรฐานสากลมาใช อาทิ Lean Manufacturing8 / Toyota Production System / Total Quality Management ตลอดจนการสรางแรงจูงใจโดยการให สิทธิประโยชน (Incentive) แกผูประกอบการเพื่อกระตุนใหเกิดการเพิ่มผลิตภาพ 5) การสงเสริมปจจัยสนับสนุน (Enabling Factors) เนื่องจากในปจจุบันอุตสาหกรรมสนับสนุน (Supporting Industry) อุตสาหกรรมพื้นฐานยังไมเขมแข็งพอที่จะตอบสนองตอความตองการของภาคเอกชน และมีผลประโยชนทับซอน/ ขัดแยงกัน (Conflict of Interest) ระหวางกิจกรรมภายในหวงโซอุปทาน (Supply Chain) เดียวกัน ตั้งแตตนนํ้า กลางนํ้า จนถึงปลายนํ้า ดังนั้น แนวทางการพัฒนาควรมุงเนนที่การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure) พัฒนาระบบ Logistics & Supply Chain การสงเสริมเครือขายวิสาหกิจ (Cluster) ใหมคี วามเขมแข็ง ตลอดจนปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบตาง ๆ ใหเอื้อตอการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม 6) การสงเสริมดานการวิจัย พัฒนา และการสรางนวัตกรรม โดยอาศัยความรวมมือจากหนวยงานทุกฝาย ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะภาคเอกชนที่ตองมีการกําหนดทิศทางและกลยุทธที่ชัดเจน เพื่อกระตุนใหเกิด การพัฒนานวัตกรรมภายในองคกร ไดแก การสงเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) สินคาใหตรงตามความตองการของตลาด การสงเสริมการวิจัยเพื่อออกแบบ (Design) ผลิตภัณฑสินคาใหมีความแตกตาง ตลอดจนการพัฒนากําลังคนและเสริมสราง ศักยภาพสถาบันการศึกษาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อใหมีความพรอมที่จะพัฒนาตอยอดองคความรูและ สรางองคความรูใหม ๆ ในแตละสาขาอุตสาหกรรมตอไป โดยที่ผานมาภาครัฐไดมีการกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อชวยสงเสริม  ญาไทยและทองถิน่ อาทิ การกําหนดมาตรการ การสรางสรรคนวัตกรรมโดยเฉพาะใน SMEs เพิม่ ขึน้ รวมทัง้ สินคาทีม่ าจากภูมปิ ญ ทางภาษีเพือ่ สงเสริมใหเกิด R&D โดยใหสทิ ธินติ บิ คุ คลหักภาษีได 2 เทา ของรายจายเพือ่ การวิจยั พัฒนาอุตสาหกรรม การบริการ ขอมูลทางเทคโนโลยีเพือ่ นําไปใชในการพัฒนาตอยอดผลิตภัณฑ โดยกรมทรัพยสนิ ทางปญญา กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม เปนตน นอกจากนี้ ยังไดดําเนินการจัดตั้งกองทุนพัฒนานวัตกรรมขึ้นเพื่อใหการสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม ของประเทศ กองทุนฯ ดังกลาวจะใหการสนับสนุนโครงการพัฒนานวัตกรรมเพือ่ นําไปใชในเชิงพาณิชย เพือ่ ประโยชนทางเศรษฐกิจ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน

8

Lean Manufacturing เปนระบบบริหารจัดการดานการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของลูกคาแบบทันที โดยเนนสรางประสิทธิผลสูงสุด และ ลดการสูญเสีย (waste) ในวงจรการผลิต และเพิ่มคุณคาใหแกตัวสินคาอยางตอเนื่อง เพื่อใหลูกคาเกิดความพอใจสูงสุด (Customer Satisfaction)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

107


ทั้งนี้ ระดับของนวัตกรรมและความกาวหนาทางเทคโนโลยีนับเปนปจจัยเสริมที่สําคัญยิ่งตอการพัฒนาเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมของชาติ อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาดานปจจัยปอนเขา (Input) ทางการลงทุนดาน R&D เทียบเปนรอยละ ตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ประเทศไทยอยูที่เพียงรอยละ 0.28 ในป 2554 เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากรอยละ 0.22 ในปกอนหนา ขณะที่กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมตั้งเปาเพิ่มสัดสวนการลงทุนดาน R&D ไวที่รอยละ 1 ของ GDP ภายในป 2559 โดยในปจจุบันประเทศอุตสาหกรรมใหมตาง ๆ เชน สิงคโปร ไตหวัน และเกาหลี มีสัดสวนการลงทุน ดาน R&D สูงกวาประเทศไทยถึง 8-12 เทา ขณะเดียวกัน R&D ของประเทศไทยนั้นขึ้นอยูกับภาครัฐเปนสวนใหญ โดยคาใช จายดาน R&D ของภาคเอกชนคิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 32.6 ของคาใชจาย R&D รวมทั้งประเทศ แสดงใหเห็นวานโยบาย การกระตุนใหเอกชนลงทุนดาน R&D ของไทยนั้นยังไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร และยังมีศักยภาพที่จะสามารถตอยอด ตอไปไดอีก

108

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


บทวิเคราะห

1

เรื่อง ทองเที่ยวไทย : การเติบโตที่ยั่งยืน บทสรุปผูบริหาร

ภาวการณทองเที่ยวมีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งจากนักทองเที่ยว ตางชาติถือเปนปจจัยสําคัญที่ชวยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงที่ผานมา โดยเปนแหลงรายได เงินตราตางประเทศที่สําคัญของประเทศไทย ทั้งยังกอใหเกิดการจางงานในภาคธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจ เชื่อมโยง ซึ่งในชวงที่ผานมาแมวาจะมีเหตุการณบั่นทอนบรรยากาศการทองเที่ยวไทยทั้งจากภายในประเทศ และภายนอกประเทศ ไดแก เหตุการณความไมสงบทางการเมืองภายในประเทศ ภัยธรรมชาติ การแพรระบาด ของโรคตาง ๆ และวิกฤตเศรษฐกิจโลก จะสงผลกระทบตอจํานวนและรายไดจากนักทองเที่ยวตางชาติที่ลดลง อยางหลีกเลี่ยงไมได แตก็เปนเพียงผลกระทบในระยะสั้น ๆ โดยสามารถพลิกฟนและผานพนวิกฤตตาง ๆ มาได อยางรวดเร็วและแข็งแกรง ❍ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ประมาณการจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่จะเดินทางเขามา ทองเที่ยวในประเทศไทยในชวง 10 ปขางหนาวา อาจจะสูงถึง 26.5 ลานคน สรางรายไดใหแกประเทศเปนมูลคา 10 ลานลานบาท ❍ จากการวิเคราะหพบวา ในภาพรวมนักทองเทีย ่ วในกลุม ทีม่ กี ารขยายตัวไดดี (High Growth) และ มีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้น (Increasing Market Share) ยังคงเปนกลุมเอเชียและกลุมยุโรป ในขณะที่กลุมประเทศ BRIC (บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน) ที่คาดการณวาจะมีแนวโนมเศรษฐกิจขยายตัวมากกวารอยละ 7 ในชวง 10 ปขางหนา จะนํามาสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวในอนาคต ❍ แนวนโยบายในอนาคตนอกจากการทําการตลาดเชิงลึกแลว การฟนฟูแหลงทองเที่ยวและ การมีสวนรวมของชุมชนในการอนุรักษแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติ เพื่อรองรับการทองเที่ยวในระยะยาวเปน สิ่งที่ตองเรงดําเนินการ โดยภาครัฐใหการสนับสนุนและเตรียมความพรอมเพื่อเสริมสรางศักยภาพใหแกชุมชน ทองถิ่นในการบริหารจัดการการทองเที่ยวและสรางกลยุทธในการสรางความแตกตางที่เหนือกวาคูแขงขัน เพื่อ เปนจุดขายในการกระตุนหรือเชิญชวนลูกคาใหเขามาซื้อหาหรือใชบริการทองเที่ยวอยางตอเนื่องและยั่งยืน ❍

1. บทนํา ภาคการทองเที่ยวมีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งจากนักทองเที่ยวจากตางประเทศ ถือเปน ปจจัยสําคัญที่ชวยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงที่ผานมา โดยเปนแหลงรายไดเงินตราตางประเทศที่สําคัญ ของประเทศ ทั้งยังกอใหเกิดการจางงานในภาคธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจเชื่อมโยง ดังนั้น จึงไดจัดทําบทวิเคราะหเรื่อง “ทองเทีย่ วไทย : การเติบโตทีย่ งั่ ยืน” โดยไดวเิ คราะหถงึ ประเด็นสําคัญ ดังนี้ 1) บทบาทการทองเทีย่ วจากตางประเทศตอเศรษฐกิจไทย 2) สถานการณการทองเทีย่ วไทยจากอดีตสูป จ จุบนั 3) แนวโนมการทองเทีย่ วจากตางประเทศในทศวรรษหนา และ 4) ขอเสนอแนะ เชิงนโยบาย

1

ผูเ ขียน : นางสาวคงขวัญ ศิลา เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร สวนการวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางณัฐยา อัชฌากรลักษณ ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

109


2. บทบาทการทองเที่ยวจากตางประเทศตอเศรษฐกิจไทย ภาคการทองเที่ยวจากตางประเทศถือวามีความสําคัญตอเศรษฐกิจไทยอยางมากในชวงที่ผานมา โดยมีสัดสวน ในผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) เฉลี่ย 10 ป สูงถึงกวารอยละ 6.0 (ภาพที่ 1) และคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 50 ของมูลคาการสงออกภาคบริการ (Export of Services) ทั้งหมด ทั้งยังเปนแหลงรายไดเงินตราตางประเทศเขาสูประเทศ อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ภาคการทองเที่ยวยังมีความเชื่อมโยง (Linkages) กับภาคอุตสาหกรรมอื่น ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม บริการตาง ๆ เชน โรงแรม รานอาหาร การขนสง ฯลฯ ทั้งยังกอใหเกิดการจางงานในภาคธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจเชื่อมโยง

ภาพที่ 1 สัดสวนรายไดจากการทองเที่ยวจากตางประเทศในผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

2.1 ผลกระทบของการทองเที่ยวจากตางประเทศที่มีตอเศรษฐกิจไทย ภาคการทองเทีย่ วมีความเชือ่ มโยงตอเศรษฐกิจไทยผานหลายชองทาง ทัง้ ทางดานเศรษฐกิจดานอุปสงค (Demand-side) และอุปทาน (Supply side) นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจทั้งภายใน (Internal stability) และภายนอก (External stability) สามารถสรุปไดดังนี้ (ภาพที่ 2) ชองทางเศรษฐกิจดานอุปสงค ชองทางที่ 1 กระทบตอการสงออกบริการ ภาคการทองเทีย่ วจากตางประเทศคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 50 ของการสงออกบริการ โดยรายไดจากการทองเที่ยวในป 2553 มีจํานวน 6.22 แสนลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 6.0 ของ GDP ❍

ชองทางเศรษฐกิจดานอุปทาน ชองทางที่ 2 กระทบตอบริการโรงแรมและภัตตาคาร ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 3.8 ของ GDP ในป 2553 ดังนั้น หากจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศเพิ่มขึ้นยอมสงผลใหมูลคาเพิ่มจากการใหบริการของโรงแรมและภัตตาคารเพิ่มขึ้น ตามไปดวย ชองทางที่ 3 กระทบตอบริการคมนาคมขนสง ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 9.4 ของ GDP ในป 2553 เมื่อจํานวน นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น การขนสงทางอากาศและการขนสงทางบกจะเพิ่มขึ้นตามจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ ชองทางที่ 4 กระทบตอบริการขายสง ขายปลีก ซึง่ มีสดั สวนรอยละ 13.3 ของ GDP ในป 2553 เมือ่ การทองเทีย่ ว ของประเทศไทยขยายตัวจะทําใหกิจกรรมการขายปลีกขายสงของธุรกิจหางรานขยายตัวเชื่อมโยงตามไปดวย ❍

110

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 2 ชองทางการสงผานผลกระทบของการทองเที่ยวจากตางประเทศตอเศรษฐกิจไทย

ที่มา : สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ชองทางเศรษฐกิจดานเสถียรภาพภายนอกประเทศ ชองทางที่ 5 กระทบตอดุลบัญชีเดินสะพัด2 ผานรายไดจากดุลบริการที่เกิดจากรายไดการทองเที่ยวจาก ตางประเทศโดยในป 2553 มีสดั สวนประมาณรอยละ 60 ของรายไดจากการสงออกบริการ ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของดุลบัญชีเดินสะพัด ❍

ชองทางเศรษฐกิจดานเสถียรภาพภายในประเทศ ชองทางที่ 6 กระทบตอภาวะการจางงาน การทองเที่ยวจากตางประเทศจะมีผลโดยตรงตอการจางงาน ในหมวดโรงแรมและภัตตาคาร ตลอดจนการจางงานในสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน การคมนาคมขนสง และการคาสงคาปลีก โดยมีจํานวนแรงงานที่อยูในขายที่จะไดรับประโยชนประมาณ 10 ลานคน หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 26.3 ของการจางงานรวม หรือจากจํานวนผูมีงานทําทั้งสิ้น 38 ลานคน ในป 2553 ❍

2

ดุลบัญชีเดินสะพัด = ดุลการคา (Trade balance) + ดุลบริการ รายไดและเงินโอน (Net services income & transfers)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

111


3. สถานการณการทองเที่ยวไทยจากอดีตสูปจจุบัน 3.1 สถานการณการทองเที่ยวไทยในชวง 10 ปที่ผานมา จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขาประเทศไทยมีเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในชวงทศวรรษที่ผานมา โดยมี จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขามาในประเทศไทยเฉลี่ยปละประมาณ 12.7 ลานคน มีอัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 5.6 ตอป (ตารางที่ 1) แมประเทศไทยจะประสบกับปญหาและวิกฤตดานการทองเทีย่ วในชวงทีผ่ า นมา ซึง่ สงผลกระทบตอจํานวน นักทองเที่ยว แตจากการศึกษาพบวาหลังจากวิกฤตตาง ๆ ผานพนไปไมวาจะเปนการระบาดของโรคซารส (SARS) เหตุการณ สึนามิ (Tsunami) การรัฐประหาร วิกฤตราคานํ้ามัน โรคไขหวัดสายพันธุใหม 2009 และวิกฤตการเมืองในประเทศ เปนตน นักทองเที่ยวก็จะเริ่มกลับเขามาอีกครั้งหนึ่งในระยะเฉลี่ยไมเกิน 3 เดือน (ภาพที่ 3) โดยการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวในตลาด ระยะใกลจากเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือและอาเซียน ไดแก ญี่ปุน มาเลเซีย และจีน (สัดสวนรวมรอยละ 26.2 ของจํานวน นักทองเที่ยวจากตางประเทศทั้งหมดในป 2553) เปนกลุมที่มีความออนไหวตอสถานการณตาง ๆ มากที่สุด

ตารางที่ 1 จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศในชวง 10 ปที่ผานมา 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 เฉลี่ย 10 ป จํานวนนักทองเที่ยว 10.1 จากตางประเทศ (ลานคน)

10.8 10.0 11.7 11.5 13.8 14.5 14.6 14.1 15.9

12.7

% YoY

7.3

5.6

5.8

-7.4 16.5

-1.1

20.0

4.6

0.8

-3.0 12.6

ที่มา : กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา คํานวณโดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ภาพที่ 3 อัตราการขยายตัวของจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ (ป 2525-2554)

ที่มา : สํานักนโยบายเศรษฐมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

112

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


3.2 สถานการณการทองเที่ยวลาสุด ภาวการณทอ งเทีย่ วไทยลาสุดในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 สามารถเติบโตไดดอี ยางตอเนือ่ งโดยสามารถผานพนวิกฤต ตาง ๆ มาไดอยางแข็งแกรง แมวาจะมีเหตุการณบั่นทอนบรรยากาศการทองเที่ยวไทยทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ นับจากเหตุการณความไมสงบในลิเบียเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 กรณีธรณีพิบัติและสึนามิที่ประเทศญี่ปุนเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ปญหาคาเงินบาทที่แข็งคามากขึ้นในชวงตนป ราคานํ้ามันที่ทรงตัวในระดับสูงและภาวะเศรษฐกิจของ กลุมตลาดยุโรปและอเมริกาที่ยังคงมีการฟนตัวอยางออนแอ และปญหาภายในประเทศจากอุทกภัยของไทยที่นับเปนวิกฤต นํา้ ทวมใหญของไทยในเขตพืน้ ทีภ่ าคใตชว งเดือนมีนาคม 2554 ภาคเหนือและภาคกลางชวงเดือนสิงหาคม 2554 แตไมไดทาํ ให จํานวนนักทองเทีย่ วจากตางประเทศในภาพรวมเดินทางเขาสูป ระเทศไทยลดลงแตอยางใด ในทางตรงขาม จํานวนนักทองเทีย่ ว กลับเพิ่มขึ้นทําลายสถิติ (High Record) ในทุก ๆ เดือนตั้งแตเดือนมกราคม 2554 เปนตนมา โดยในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 มีจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขาประเทศไทยทั้งสิ้น 14.4 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 27.1 (ภาพที่ 4) เติบโตได อยางแข็งแกรงจากปลายป 2553 ที่ขยายตัวเพียงรอยละ 12.6

ภาพที่ 4 จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ (คน) รายเดือนตั้งแตป 2549–2554

ที่มา : กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา

ทั้งนี้ จากการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขาประเทศไทยในชวงแรกของป 2554 ไดรับ แรงเกื้อหนุนจากตลาดระยะใกลภายในเอเชียเปนหลัก โดยเฉพาะจากเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือและอาเซียน โดยนักทองเที่ยว จากจีน อินเดีย และเกาหลี มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเรง สวนหนึ่งเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ 7 ยังขยายตัวไดดี ในขณะที่ภาวะ เศรษฐกิจของกลุม ตลาดยุโรปและสหรัฐอเมริกายังฟน ตัวไดไมเต็มทีท่ าํ ใหมกี ารขยายตัวในระดับทรงตัว อยางไรก็ตาม นักทองเทีย่ ว จากรัสเซียยังคงเติบโตไดดใี นระดับสูงแซงกระแสตลาดยุโรป สวนภูมภิ าคโอเชียเนียมีการขยายตัวไดดเี ชนกันโดยเฉพาะประเทศ ออสเตรเลีย ขณะที่กลุมตะวันออกกลางแมจะมีปญหาความไมสงบภายในภูมิภาคชวงตนป แตนักทองเที่ยวยังคงขยายตัวไดดี โดยเฉพาะจากประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

113


4. แนวโนมการทองเที่ยวจากตางประเทศในทศวรรษหนา จากขอเท็จจริงที่การทองเที่ยวจากตางประเทศมีความสําคัญตอเศรษฐกิจไทย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จึงได ทําการประมาณการเบื้องตนของแนวโนมการทองเที่ยวจากตางประเทศโดยใชวิธี Hodrick-Prescott Filter ซึ่งเปนการใชขอมูล การเติบโตจากอดีตตั้งแตป 2524–2553 ภายใตสมมติฐานหากสถานการณเปนปกติ ไมมีภาวะความไมสงบในประเทศหรือ ภัยธรรมชาติทรี่ นุ แรง และไมมกี ารทําการตลาดเชิงรุก เพือ่ ประมาณการจํานวนนักทองเทีย่ วจากตางประเทศในชวง 10 ปขา งหนา พบวา ณ สิน้ ป 2564 จํานวนนักทองเทีย่ วจากตางประเทศทีจ่ ะเดินทางเขามาทองเทีย่ วในประเทศไทยจะมีจาํ นวนประมาณ 26.5 ลานคน และสรางรายไดใหแกประเทศสูงถึง 10 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 6.1 ของ GDP (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 การคาดการณจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ รายไดและสัดสวนรายไดนักทองเที่ยวจากตางประเทศตอ GDP ในชวง 10 ปขางหนา (2555-2565)

(หนวย : ลานบาท)

การคาดการณการทองเที่ยวในชวง 10 ปขางหนา (2555-2565) ป

คาดการณนักทองเที่ยว จากตางประเทศ (คน)

คาดการณรายได จากการทองเที่ยวจากตางประเทศ* (ลานบาท)

คาดการณสัดสวน รายไดตอ GDP

2555

17,227,152

678,970

5.88

2556

18,073,062

712,309

5.91

2557

18,960,509

747,286

5.93

2558

19,891,532

783,980

5.95

2559

20,868,272

822,476

5.98

2560

21,892,972

862,862

6.00

2561

22,967,989

905,232

6.02

2562

24,095,793

949,682

6.05

2563

25,278,976

996,314

6.07

2564

26,520,257

1,045,236

6.09

ที่มา : สํานักนโยบายเศรษฐมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ *ภายใตสมมติฐานมีการใชจายตอหัวเทากันทุกปที่ 39,413 บาท (เฉลี่ยจากป 2551-2553)

114

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


5. บทสรุปและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย จากการที่ ก ารท อ งเที่ ย วจากต า งประเทศมี ค วามสํ า คั ญ ต อ เศรษฐกิ จ ไทยโดยเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ช  ว ยสนั บ สนุ น การขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงที่ผานมา ทั้งยังมีความเชื่อมโยงตอเศรษฐกิจไทยทั้งทางดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจและ ยังมีผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Stability) จึงควรมีความจําเปนทีป่ ระเทศตองดําเนินมาตรการเพือ่ สรางความยัง่ ยืน ใหแกภาคการทองเที่ยวจากตางประเทศ ดังนี้ 5.1 นโยบายสนับสนุนการทองเที่ยวในดานอุปสงค แนวนโยบายในอนาคตควรใหความสําคัญกับการตลาดเชิงรุก เนือ่ งจากจํานวนนักทองเทีย่ วในตลาดโลกจะเพิม่ ขึน้ ทําให ในแตละประเทศจะมีการแขงขันดานการทองเทีย่ วสูงขึน้ ดังนัน้ ควรมีการโฆษณาประชาสัมพันธ การกําหนดกลยุทธ ใหสามารถ รักษาตลาดเดิมและแยงชิงตลาดใหม เพื่อแยงชิงสวนแบงการตลาดในเวทีโลกมากขึ้น รวมทั้งการใชระบบอิเล็กทรอนิกสและ สารสนเทศมาเปนเครือ่ งมือสําคัญในการสรางความแตกตางและสรางคุณคาของสินคาในอนาคต ทัง้ ในรูปแบบของ E-commerce และ E-business โดยเฉพาะสังคม Online ซึ่งบทบาทของอินเทอรเน็ตไดกลายมาเปนชองทางใหม และกําลังไดรับความนิยม ในการแพรขอ มูลและประชาสัมพันธ นอกจากนี้ รัฐบาลจําเปนตองดูแลรักษาเสถียรภาพคาเงินบาททีม่ แี นวโนมแข็งคาขึน้ ไมให แข็งคาขึ้นมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อการรักษาการแขงขันทางดานราคา 5.2 นโยบายสนับสนุนการทองเที่ยวในดานอุปทาน ความสําเร็จของการทองเที่ยวของไทยสวนหนึ่งเนื่องจากมีสถานที่ทองเที่ยวที่มีความหลากหลายทั้งดานวัฒนธรรม และธรรมชาติ ประกอบกับมีทําเลที่ตั้งที่เปนยุทธศาสตรโดยอยูระหวางกลางของกลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต อยางไรก็ตาม การเพิม่ ขึน้ ของจํานวนนักทองเทีย่ วในอนาคตอาจสงผลตอการทําลายสถานทีท่ อ งเทีย่ วและระบบนิเวศ ดังนัน้ จึงควรมีมาตรการ ดานการบริหารจัดการแหลงทองเทีย่ วอยางเปนระบบ เพือ่ การรักษาการทองเทีย่ วใหมคี ณ ุ ภาพและยัง่ ยืน (Sustainable Tourism) ผานการสรางกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนเนื่องจากเปนเจาของพื้นที่ โดยการกระจายอํานาจและเปดโอกาสใหชุมชน และทองถิ่นมีสวนรวมในการบริหารจัดการมากขึ้น ขณะที่ภาครัฐจําเปนตองเตรียมความพรอมและเสริมสรางศักยภาพ ใหแกชมุ ชนทองถิน่ ในการบริหารจัดการการทองเทีย่ ว นอกจากนี้ ปญหาดานสภาพแวดลอมเริม่ ไดรบั ความสนใจมากในระยะหลัง และสงผลกระทบมากขึ้นตออุตสาหกรรมการทองเที่ยว โดยนักทองเที่ยวจํานวนมากเริ่มมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบตอ สภาพแวดลอมมากขึ้น ซึ่งในอนาคต Green Logistic จะเปนแนวโนมที่ถูกกําหนดใหแหลงทองเที่ยวตองใหความสําคัญกับ สิ่งแวดลอม และอาจถูกกําหนดเปนเงื่อนไขหนึ่งในการทองเที่ยวระหวางประเทศมากขึ้น ดังนั้น จึงควรมีการกําหนดยุทธศาสตร ในเรือ่ งการใหความสําคัญกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ ผานการใหการฝกอบรมและเพิม่ ความรูใ หแกชมุ ชน และเผยแพรประชาสัมพันธ แนวความคิดการทองเทีย่ วแบบใหมใหแกนกั ทองเทีย่ ว เชน 1) การทองเทีย่ วแบบลดคารบอนไดออกไซด (Low Carbon Tourism) คือการทองเที่ยวที่ไมเรงรีบโดยการมุงเนนจํานวนวันพํานักมากขึ้น และ 2) การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค (Creative Tourism) โดยมุงเนนดานวัฒนธรรมประเพณี ดานความสนุกรื่นรมยในเอกลักษณแหงทองถิ่น หรือ “รอยยิ้มและความสัมพันธ” ที่งดงาม ระหวางนักทองเที่ยวและคนทองถิ่น หรือเนนความถนัดในดานศิลปะความบันเทิงระหวางคนตอคน มากกวาการเนน การสรางพิพิธภัณฑและศิลปวัตถุ หรือเนนเฉพาะสถานที่ทองเที่ยว เชน สายลม แสงแดด และขุนเขา เหมือนที่ผานมา3 ทั้งนี้ การสรางกลยุทธในการสรางความแตกตางที่เหนือคูแขงขันทั้งทางดานอุปสงคและอุปทาน จะเปนจุดขายที่สําคัญ ในการกระตุนหรือเชิญชวนนักทองเที่ยวใหเขามาทองเที่ยวในประเทศอยางตอเนื่องและยั่งยืน

3

อางอิงจากการสัมภาษณ พันเอก ดร.นาฬกอติภัค แสงสนิท กรรมการและผูอํานวยการองคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

115


ภาคการเงิน รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 3 ป 2554 ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 อัตราดอกเบี้ยเงินกูและอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารพาณิชย ปรับตัวเพิม่ ขึน้ โดยอัตราดอกเบีย้ เงินฝากประจํา 1 ป และอัตราดอกเบีย้ เงินกู MLR ณ สิน้ เดือนสิงหาคม 2554 ปรับเพิม่ ขึน้ จาก รอยละ 1.55 และรอยละ 6.31 ณ สิ้นป 2553 มาอยูที่รอยละ 2.73 และรอยละ 7.31 ตามลําดับ (ภาพที่ 1) ตามการปรับเพิ่มอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแหงประเทศไทยในชวงดังกลาว อยางไรก็ตาม อัตราเงินเฟอที่ยังคงเพิ่มขึ้นสงผลใหอัตราดอกเบี้ย เงินฝากที่แทจริงลดลงตอเนื่องจากไตรมาสกอนหนา ❍ การคาดการณอัตราดอกเบี้ยในป 2554 และป 2555 เชื่อวาอัตราดอกเบี้ยเงินกูและเงินฝากของธนาคาร พาณิชยจะปรับตัวเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยมีแนวโนมที่จะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากการแขงขันระดมเงินฝากของ สถาบันการเงิน เพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ❍

ภาพที่ 1 อัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ยอดคงค า งสิ น เชื่ อ ของสถาบั น การเงิ น ที่ รั บ ฝากเงิ น 1 (Depository institutions) ณ สิ้ น เดื อ น สิงหาคม 2554 ขยายตัวในอัตราเรงขึ้นตอเนื่อง ขณะที่เงินฝากขยายตัวตอเนื่อง แตในอัตราที่ชะลอกวาสินเชื่อ (ภาพที่ 2 และภาพที่ 3) โดย ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 สถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางของสินเชื่อภาคเอกชนจํานวน 10,899.9 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 17.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแลวเพิ่มขึ้น รอยละ 1.4 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา ซึ่งเปนการขยายตัวทั้งสินเชื่อภาคธุรกิจและสินเชื่อภาคครัวเรือน โดยหากวิเคราะห ตามผูใ หสนิ เชือ่ พบวา สินเชือ่ ธนาคารพาณิชยขยายตัวเรงขึน้ ชัดเจน ขณะทีส่ นิ เชือ่ ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวตอเนือ่ ง ดานเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางเงินฝากจํานวน 11,162.6 พันลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 11.4 เมือ่ เทียบชวงเดียวกัน ของปกอนหนา และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแลวเพิ่มขึ้นรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา จากการแขงขันระดมเงินฝาก ของธนาคารพาณิชยเพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อ และพยายามจํากัดตนทุนดอกเบี้ยในชวงที่อัตราดอกเบี้ยเปนชวงขาขึ้น ❍

1

116

ไดแก ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สหกรณออมทรัพย และกองทุนรวมตลาดเงิน

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 2 สินเชื่อในสถาบันรับฝากเงิน

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 3 เงินฝากในสถาบันรับฝากเงิน

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

สินเชือ่ ของธนาคารพาณิชย ณ เดือนสิงหาคม ป 2554 ขยายตัวดีตอ เนือ่ ง ขณะทีเ่ งินฝากของธนาคาร พาณิชยขยายตัวชะลอลงเล็กนอย (ภาพที่ 4 และภาพที่ 5) ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 ธนาคารพาณิชยมียอดคงคางสินเชื่อ ภาคเอกชนจํานวน 7,268.3 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 15.9 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา และเมือ่ ขจัดผลของฤดูกาล แลวเพิ่มขึ้นรอยละ 1.6 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา ดานเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางเงินฝากจํานวน 7,714.3 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 8.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแลวหดตัวเล็กนอยที่ รอยละ 0.7 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา ❍

ภาพที่ 4 สินเชื่อในธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 5 เงินฝากในธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ยอดคงคางสินเชื่อภาคธุรกิจของธนาคารพาณิชย ณ เดือนสิงหาคม 2554 ขยายตัวเรงขึ้น ในขณะ ที่สินเชื่อภาคครัวเรือนยังคงขยายตัวตอเนื่อง (ภาพที่ 6) สินเชื่อที่ใหแกภาคธุรกิจของธนาคารพาณิชยซึ่งมีสัดสวนกวา รอยละ 40 ของสินเชือ่ รวม ณ สิน้ เดือนสิงหาคม ป 2554 ขยายตัวดีตอ เนือ่ งทีร่ อ ยละ 16.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สอดคลองกับการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะการลงทุนภาคเอกชน ในขณะที่สินเชื่อภาคครัวเรือนซึ่งมีสัดสวนกวารอยละ 60 ของสินเชื่อรวม ขยายตัวรอยละ 15.4 สอดคลองกับการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน สะทอนความเชื่อมั่นของ ภาคเอกชนตอภาวะเศรษฐกิจไทย ❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

117


ภาพที่ 6 ยอดคงคางสินเชื่อครัวเรือนและสินเชื่อธุรกิจของธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

สินเชื่อธุรกิจเกือบทุกภาคการผลิตขยายตัวดีตอเนื่อง โดยเฉพาะสินเชื่อภาคบริการและภาค อุตสาหกรรม (ภาพที่ 8) สินเชื่อภาคบริการซึ่งมีสัดสวนกวารอยละ 45 (ภาพที่ 7) ของสินเชื่อธุรกิจ ขยายตัวรอยละ 31.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เรงขึ้นจากยอดคงคางสินเชื่อภาคบริการในไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 18.4 สอดคลองกับการขยายตัวของจํานวนนักทองเที่ยวในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ที่รอยละ 50.1 สินเชื่อภาคอุตสาหกรรมซึ่งมีสวน แบงรอยละ 42.6 ของสินเชื่อธุรกิจ ขยายตัวรอยละ 17.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เรงขึ้นจากยอดคงคางสินเชื่อ ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 12.1 นอกจากนี้ สินเชื่ออสังหาริมทรัพยขยายตัวตอเนื่องที่รอยละ 1.3 ขณะที่สินเชื่อภาคเกษตรกรรมขยายตัวชะลอลงจากยอดคงคางสินเชื่อเกษตรกรรมในไตรมาสกอนหนามาอยูที่รอยละ 17.5 สอดคลองกับดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมและราคาสินคาเกษตรในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ทีข่ ยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนหนา ❍

ภาพที่ 8 การขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย

ภาพที่ 7 สินเชื่อแยกตามภาคธุรกิจ

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 9 โครงสรางสินเชื่อผูบริโภค

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

118

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ยอดคงคางสินเชื่อผูบริโภคในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 14.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอนหนา โดยสินเชื่อบุคคลเพื่อซื้อรถหรือเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนต ซึ่งคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 5 ของสินเชือ่ รวม หรือรอยละ 22 ของสินเชือ่ บุคคล ขยายตัวในระดับสูงตอเนือ่ งจากยอดคงคางสินเชือ่ ดังกลาวในไตรมาสกอนหนา รอยละ 31.6 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สะทอนการบริโภคสินคาคงทนในสวนของรถยนตและรถจักรยานยนตทยี่ งั คงอยูใ นระดับสูง แมวา การผลิตหมวดสินคายานยนตจะชะลอลงในชวงดังกลาว จากการขาดชิน้ สวนการผลิต (Supply shortage) หลังการปดบริการชั่วคราวของบริษัทผลิตรถยนตรายใหญในประเทศญี่ปุน จากภัยพิบัติสึนามิในเดือนมีนาคม 2554 ขณะที่ ยอดคงคางสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัย ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 13 ของสินเชื่อทั้งหมด หรือกวารอยละ 55 ของสินเชื่อบุคคล ขยายตัวชะลอลงตอเนื่องเปนไตรมาสที่ 4 มาอยูที่รอยละ 9.5 จากการยกเลิกมาตรการลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะจากการขาย อสังหาริมทรัพย ในวันที่ 30 มิถุนายน 2553 รวมถึงความเขมงวดของธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ในการปลอยสินเชื่อที่อยู อาศัย โดย ธปท. ไดออกเกณฑกาํ หนดวงเงินสินเชือ่ ตอมูลคา Loan to value ratio (LTV ratio) ใหม เพือ่ เพิม่ ความเขมงวดในการปลอย สินเชื่อของธนาคารพาณิชย โดยเฉพาะในสวนของสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัยแนวสูง (คอนโดมิเนียม) ที่ราคาตํ่ากวา 10 ลานบาท ในขณะเดียวกัน ยอดคงคางสินเชื่อบัตรเครดิตในเดือนกรกฎาคม ป 2554 ขยายตัวไดดีตอเนื่องจากเดือนกอนหนามาอยูที่ รอยละ 14.1 บงชี้การบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวไดอยางตอเนื่อง สอดคลองกับดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคในเดือนกรกฎาคม 2554 ที่ปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนกอนหนามาอยูที่ระดับ 74.4 ❍

ภาพที่ 10 การขยายตัวสินเชื่อบุคคล ธนาคารพาณิชยแยกประเภท

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 11 การใชจายภาคครัวเรือน ผานบัตรเครดิต

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

กลาวโดยสรุป ณ สิ้นเดือนสิงหาคม ป 2554 สถาบันการเงินไทยยังคงระดมเงินทุนตอเนื่อง เพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อที่เรงขึ้น ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยการขยายตัวของภาคการบริโภคและ ภาคการผลิตไดสง เสริมใหสนิ เชือ่ ขยายตัวเรงขึน้ ติดตอกันเปนเวลากวา 16 เดือน ทัง้ นี้ การแขงขันระดมเงินฝากระหวางสถาบันการเงิน ที่เพิ่มมากขึ้น ผนวกกับมาตรการคุมครองเงินฝากที่จะทยอยสิ้นสุดลงในเดือนสิงหาคม 2555 สงผลใหสถาบันการเงินตาง ๆ โดยเฉพาะธนาคารพาณิชยไดปรับเปลีย่ นวิธกี ารระดมเงินฝากผานการออกตัว๋ แลกเงินหรือใชกลยุทธพเิ ศษตาง ๆ เพือ่ สรางแรงจูงใจ แกลูกคาเพิ่มขึ้น สงผลใหธนาคารแหงประเทศไทยออกมาตรการลดความเสี่ยง อาทิ การเพิ่มเงินสดสํารองที่ตองดํารงตาม กฎหมายสําหรับธนาคารพาณิชยทมี่ กี ารระดมเงินฝากผานการออกตัว๋ แลกเงิน นอกจากนี้ ไดมกี ารรวมมือกับหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ อื่น ๆ เพื่อกํากับดูแลสถาบันการเงินอยางใกลชิด และออกมาตรการควบคุมไดทันทวงทีหากพบปจจัยเสี่ยง อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหถึงสถานภาพของธนาคารพาณิชยในปจจุบันพบวายังคงมีความแข็งแกรง โดยสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได สุทธิยังคงอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 1.6 ของสินเชื่อทั้งหมด ขณะที่สัดสวนเงินกองทุนตอสินทรัพยเสี่ยงยังคงอยูในระดับสูงที่ รอยละ 15.4 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กฎหมายกําหนดไวที่รอยละ 8.5 ❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

119


Thailand’s Key Economic Indicators ตารางเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators)

120

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง FISCAL POLICY OFFICE

เสนอแนะอยางมีหลักการ

ศึกษาโดยไมหยุดนิ่ง

คนคลังที่มีคุณภาพ


สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2298-5602 website : http://www.fpo.go.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.