10_

Page 1

ÃÒ§ҹʶҹ¡Òó ´ŒÒ¹¡ÒäÅѧ »‚§º»ÃÐÁÒ³ 2559

Êӹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ ¡ÃзÃǧ¡ÒäÅѧ ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ 6 ¡ÃØ§à·¾Ï 10400 â·ÃÈѾ· 0-2273-9020 â·ÃÊÒà 0-2618-3385 www.fpo.go.th

µØÅÒ¤Á 2558

Êӹѡ¹âºÒ¡ÒäÅѧ Êӹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ ©ºÑº·Õè 1/2559


สารบัญ หน้า บทสรุปผูบ้ ริหาร

1

สถานการณ์ด้านรายได้

10

สถานการณ์ด้านรายจ่าย

15

ฐานะการคลังรัฐบาล - ระบบกระแสเงินสด - ระบบ สศค.

20

ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

24

สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ

28

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง

30

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล

32

การกระจายอํานาจการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

36

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ

41

สถิติด้านการคลัง 1) 2) 3) 4) 5) 6)

ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาล โครงสร้างงบประมาณรายจ่าย ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสด ฐานะการคลังตามระบบ สศค. สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้

 เดือนตุลาคม 2558 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 165,304 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 1,212 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.7 โดยการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลัง ต่ํากว่าประมาณการ 5,177 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.2 อย่างไรก็ดี การจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานอื่น สูงกว่าเป้าหมาย 4,768 ล้านบาท หรือร้อยละ 68.7

ด้านรายจ่าย

 เดือนตุลาคม 2558 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 374,201 ล้านบาท ประกอบด้วยการเบิกจ่ายจาก ปีงบประมาณปีปัจจุบัน 359,608 ล้านบาท (รายจ่ายประจํา 336,077 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 23,531 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อนจํานวน 14,593 ล้านบาท  เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 78 ล้านบาท การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศจํานวน 283 ล้านบาท และโครงการเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน จํานวน 8,524 ล้านบาท ส่งผลให้ในปีงบประมาณ 2559 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิน้ 383,086 ล้านบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

 ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 2558 ) รัฐบาลมีรายได้ นําส่งคลัง 156,085 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ปีปัจจุบนั และปีก่อน) รวม 374,201 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 218,116 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่ขาดดุล 11,280 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 229,396 ล้านบาท  เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2558 มีจํานวน 295,880 ล้านบาท  ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 2558) รัฐบาลมีรายได้ ทั้งสิ้น 168,305 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 342,468 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล ทั้งสิ้น 174,163 ล้านบาท เมือ่ รวมกับดุลของกองทุนนอกงบประมาณที่เกินดุล 66,387 ล้านบาท และหักรายจ่ายเงินกู้โครงการเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่ายเพื่อวางระบบ การบริหารจัดการน้ําและเงินกู้ต่างประเทศ จํานวน 8,524 225 78 และ 58 ล้านบาท ตามลําดับ ทําให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 115,106 ล้านบาท

ฐานะการคลัง อปท.

 ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ณ ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2558 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) คาดว่าจะมีรายได้รวม 129,052 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 14,610 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 66,612 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 47,830 ล้านบาท) และคาดว่ามีรายจ่ายจํานวน 150,824 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลัง ของ อปท. ขาดดุล 21,772 ล้านบาท -1-


สถานะหนี้สาธารณะ

 หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนกันยายน 2558 มีจํานวน 5,783,323 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.0 ของ GDP ประกอบด้วยหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 93.8 ส่วนที่เหลือ ร้อยละ 6.2 เป็นหนี้ต่างประเทศ และเมื่อแบ่งตามอายุเครื่องมือการกู้เงิน หนี้ระยะยาวคิดเป็น ร้อยละ 96.4 และหนี้ระยะสัน้ ร้อยละ 3.6 สําหรับกรณีแบ่งตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเป็น ร้อยละ 87.0 ส่วนที่เหลือร้อยละ 13.0 เป็นหนี้ระยะสั้น

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

 กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15  จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25  การวิเคราะห์กรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2558 อยู่ทรี่ ้อยละ 43.5 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49.9 ในปีงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตอ่ งบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 7.1 ในปีงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10.0 ในปีงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยได้ลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2558 อย่ า งไรก็ ตาม เพื่ อ ลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิ จ โลกถดถอย ในระยะสั้ นรัฐ บาลยั งมี ความจําเป็นต้องดําเนินนโยบายขาดดุลจนกว่าภาวะเศรษฐกิจจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติและ จะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในช่วงต่อไป - สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายคาดว่าจะอยู่ในระดับเฉลี่ย ร้อยละ 22.2 ต่องบประมาณรายจ่ายตลอดช่วงปีงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากว่าระดับที่กําหนดไว้ อย่างไร ก็ดี รัฐบาลมีนโยบายในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ในปี 2560 – 2562 ด้วยการลดสัดส่วนการลงทุนโดยการกู้เงินมาใช้ในการลงทุนตามยุทธศาสตร์ การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (PPPs) โดยรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ซึ่งการดําเนิน การดังกล่าวจะทําให้รัฐบาลมีวงเงินเหลือกลับมาเพื่อจัดสรรเป็นรายจ่ายลงทุนเพิ่มขึ้น ภายใต้วงเงินกู้ เพื่อชดเชยการขาดดุลจํานวนเท่าเดิมซึ่งจะส่งผลให้รายจ่ายลงทุนเฉลี่ยในงบประมาณ 2560 – 2562 อยู่ที่ร้อยละ 25 ของงบประมาณรายจ่าย

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล

 ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงค้าง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2558 มีจํานวน 896,932.5 ล้านบาท ขณะที่ยอดหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) เท่ากับ 9,165.9 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง (NPLs Ratio) ร้อยละ 1.0  รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ต้องได้รับการชดเชยตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิน้ ไตรมาสที่ 2 ปี 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 108,108.1 ล้านบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 26,105.5 ล้านบาท -2-


การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะอนุกรรมการด้านการ ติดตามและประเมินผลในคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ซึ่งมีหน้าที่ติดตามผลการดําเนินการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตามแผนการกระจายอํานาจให้แก่ อปท. พิจารณาเห็นว่า ภารกิจที่ถ่ายโอนการบริหารจัดการขยะเป็น การจัดการที่ต้องสัมพันธ์ กับ อปท. ในหลายพื้นที่ และเนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างที่ไม่เอื้ออํานวยต่อการ ดําเนินงานของ อปท. เช่น ใช้งบประมาณสูงในการดําเนินงานบริหารจัดการขยะ ขาดแคลนเครื่องมือ อุปกรณ์ และเกินขีดความสามารถของบุคลากรท้องถิ่นทีจ่ ะดําเนินการได้ เป็นต้น จึงต้องอาศัยการดําเนินงาน รูปแบบความร่วมมือในการจัดบริการสาธารณะระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง เพื่อให้สามารถตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้ ในการนี้ คณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผลร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการการ กระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สกถ.) ได้ดําเนินการติดตามและประเมินผลการบริหาร จัดการขยะในลักษณะรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. ของ อปท. กลุ่มตัวอย่างจํานวน 6 แห่ง ได้แก่ 1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง 2) เทศบาลนครภูเก็ต 3) เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ 4) เทศบาลตําบล ลานกระบือ 5) เทศบาลตําบลเกาะคา และ 6) เทศบาลตําบลพนา ระหว่างวันที่ 7 พฤษภาคม – 30 มิถุนายน 2558 และที่ประชุมคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล ครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 ได้มมี ติเห็นชอบรายงานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการขยะในลักษณะ ความร่วมมือของ อปท. ดังกล่าว โดยมีข้อเสนอแนะให้ สกถ. บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ในการให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใน การจัดการขยะที่มีความสอดคล้องกับบริบทของ อปท. รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณให้แก่ อปท.ในการจัดการขยะ มูลฝอยในพืน้ ที่ และกระทรวงมหาดไทยควรกําหนดมาตรการในการสนับสนุน อปท. ทีม่ ีการบริหารจัดการขยะ ในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการได้รับความร่วมมือจากประชาชน ชุมชน ในการคัดแยกขยะ ตั้งแต่ต้นทาง เป็นต้น มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังทีส่ าํ คัญ ประจําเดือนตุลาคม 2558 1. เรื่อง ทบทวนหลักเกณฑ์การจ่ายปันผลแก่ผู้ถือหุ้นธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร คณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้ 1. เห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๓๕ เรื่อง หลักเกณฑ์การจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ซึ่งมี หลักการในการจ่ายเงินปันผลในส่วนของกระทรวงการคลัง จากเดิมกําหนดให้จ่ายโดยการซื้อหุ้นเพิ่มทุน ธ.ก.ส. เป็น การจ่ายปันผลในลักษณะเงินนําส่งคลังเช่นเดียวกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น 2. ให้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติที่เห็นว่า ในอนาคต หาก ธ.ก.ส. มีความจําเป็นต้องเพิ่มทุน กระทรวงการคลังควรกําหนดให้ ธ.ก.ส. จัดทํารายละเอียดแผนงาน/โครงการและกลุ่มเป้าหมายในการดําเนินการควบคู่กับการจัดทํารายงานวิเคราะห์ ความอ่อนไหว (Sensitivity Analysis) เช่นเดียวกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น เพื่อพิจารณาผลกระทบต่อ อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS Ratio) และใช้ประกอบการขอรับการเพิ่มทุนในแต่ละครัง้ ไป พิจารณาดําเนินการต่อไปด้วย

-3-


2. เรื่อง การโอนเงินหรือสินทรัพย์ของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เพื่อชําระคืน ต้นเงินกู้และดอกเบีย้ FIDF 1 และ FIDF 3 คณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้ 1. อนุมัติให้โอนเงินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (กองทุนฯ) เข้าบัญชี สะสมเพื่อการชําระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหายของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (บัญชีสะสมฯ) ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ จํานวน ๑๔,๐๐๐ ล้านบาท โดยให้กองทุนฯ ทยอยโอนเงินดังกล่าว เข้าบัญชีสะสมฯ ตามปริมาณสภาพคล่องของกองทุนฯ ทั้งนี้ ในระหว่างปีงบประมาณ ๒๕๕๙ หากกองทุนฯ ได้รับเงินที่มีนัยสําคัญให้พิจารณาทบทวนเพื่อขออนุมัตินําส่งเงินเข้าบัญชีสะสมฯ เพิ่มเติมต่อไป ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ 2. ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยรับความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเพื่อให้สามารถนําแหล่งเงินจากกําไรสุทธิ ร้อยละ ๙๐ ทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยต้องนําส่งรัฐ และสินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจําปีตาม กฎหมายว่าด้วยเงินตราโดยไม่ต้องเข้าบัญชีสํารองพิเศษตามที่กําหนดไว้ในมาตรา ๗ ของพระราชกําหนด ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบัน การเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ เข้าบัญชีสะสมฯ เพือ่ ให้สามารถชําระหนี้ FIDF 1 และ FIDF 3 ได้มากขึ้น ไปพิจารณา ดําเนินการต่อไปด้วย 3. เรื่อง มาตรการภาษีเพือ่ สนับสนุนกองทุนการออมแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีมีมติ ๑. เห็นชอบหลักการของมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกองทุนการออมแห่งชาติ ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ ๑.๑ กําหนดให้ผู้มีเงินได้สามารถหักลดหย่อนเงินสะสมเข้ากองทุนการออมแห่งชาติ(กอช.) ในการ คํานวณเงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามจํานวนที่จ่ายจริง ในลักษณะการยกเว้นภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาสําหรับเงินได้เท่าที่สมาชิกของ กอช. จ่ายเป็นเงินสะสมเข้า กอช. ทั้งนี้ เมือ่ รวมกับเงินสะสมใน ลักษณะทํานองเดียวกันแล้วต้องไม่เกินกว่าจํานวนตามที่ประมวลรัษฎากรกําหนด ๑.๒ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ทีส่ มาชิกของ กอช. หรือ บุคคลซึ่งสมาชิกของ กอช. ได้แสดงเจตนาไว้แก่ กอช. หรือทายาทของสมาชิก กอช. ได้รับจาก กอช. ในกรณี ที่สมาชิกของ กอช. สิ้นสมาชิกภาพเพราะอายุครบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ หรือมีกฎหมายกําหนดให้การสิ้นสมาชิก ภาพเพราะเหตุอื่นถือว่าเป็นการสิ้นสมาชิกภาพเพราะอายุครบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ หรือสิ้นสมาชิกภาพเพราะตาย ๑.๓ ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ทีส่ มาชิก กอช. ได้รับจาก กอช. ในกรณีที่ทุพพลภาพก่อนอายุครบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ ทั้งนี้ การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามข้อ ๑.๑-๑.๓ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด ๑.๔ ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการของ กอช. ๑.๕ ยกเว้นอากรแสตมป์สําหรับการกระทําตราสารของ กอช. สําหรับผลประโยชน์ของเงินสะสมที่สมาชิกของ กอช. ได้รับจาก กอช. ในกรณีที่สิ้นสมาชิกภาพ เพราะลาออกจากกองทุน เห็นควรให้รวมคํานวณเงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเช่นเดียวกับ การลาออกจากกองทุนอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกัน -4-


๒. ให้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับเหตุผล ความจําเป็นที่จะต้องกําหนดให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีมีผลย้อนหลังไปจนถึงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เนื่องจาก กอช. ได้เริ่มรับสมาชิกในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยรับโอนสมาชิกส่วนหนึ่งจากกองทุนประกันสังคมตาม พระราชบัญญัติการให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้สมัครเป็นสมาชิกของกองทุนการออมแห่งชาติบางกรณีและการโอน เงินจากกองทุนประกันสังคมในกรณีชราภาพไปยังกองทุนการออมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ ดังนั้น โดย ข้อเท็จจริงจึงไม่มีสมาชิกที่อาจได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการที่กระทรวงการคลังเสนอก่อนปี พ.ศ. ๒๕๕๘ แต่อย่างใด ไปพิจารณาดําเนินการต่อไปด้วย 4. เรื่อง มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้สําหรับเงินส่วนแบ่งกําไรจากห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่ นิตบิ ุคคลบางกรณี คณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้ ๑. เห็นชอบมาตรการยกเว้นภาษีเงินได้สําหรับเงินส่วนแบ่งกําไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะ บุคคลที่มใิ ช่นติ ิบุคคลบางกรณี เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญหรือ บุคคลในคณะบุคคลที่มใิ ช่นติ ิบุคคล โดยกําหนดให้เงินส่วนแบ่งของกําไรจากเงินได้ดังกล่าวเป็นเงินได้พึง ประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนํามารวมคํานวณภาษีเงินได้ ๒. อนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วย การยกเว้นรัษฎากร มีสาระสําคัญเป็นการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินได้จากเงินส่วนแบ่งกําไร จากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มใิ ช่นิติบุคคล ซึ่งเป็นเงินได้จากการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ที่เป็น กรรมสิทธิ์รวมอันได้มาโดยทางมรดกหรือที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา และเงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝาก ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยให้รับความเห็นของ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่เห็นควรมีการกําหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคลที่มไิ ด้มีเจตนาเข้าร่วมกันเพื่อประกอบกิจการให้มีความชัดเจน เพื่อเป็นการลดการใช้ดุลพินิจของเจ้าพนักงานในการกําหนดผู้ที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี และเพื่อให้ การดําเนินมาตรการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตลอดจนผู้ได้รับประโยชน์ตรงตามกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งกําหนด เพดานการยกเว้นภาษีเพื่อไม่ให้สญ ู เสียโอกาสในการจัดหารายได้ของรัฐบาล ไปประกอบการพิจารณาด้วย แล้วดําเนินการต่อไปได้ ๓. มอบให้กระทรวงการคลังพิจารณาศึกษาแนวทางและความเหมาะสมในการอํานวยความสะดวก ด้านภาษีให้แก่นักลงทุน เช่น การลดความซ้าํ ซ้อนในการจัดเก็บภาษี การลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ และการให้บริการรับชําระภาษีแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop service) เป็นต้น 5. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการปรับลดอัตรา ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลเป็นการถาวร) คณะรัฐมนตรีมมี ติ ดังนี้ ๑. อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการ ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นการถาวร) โดยมีหลักการสําคัญเป็นการปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติ บุคคลเป็นการถาวรจากอัตราร้อยละ ๓๐ ของกําไรสุทธิ เหลืออัตราร้อยละ ๒๐ ของกําไรสุทธิของบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นการถาวร ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ เป็น ต้นไป ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วส่งให้ คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป -5-


๒. ให้กระทรวงการคลังประเมินผลการดําเนินมาตรการลดอัตราภาษีในช่วงที่ผ่านมา ทั้งการประเมินผล รายมาตรการและการประเมินผลในภาพรวม ให้ครอบคลุมทางด้านการขยายฐานภาษีการลงทุน การจ้างงาน และภาวะเศรษฐกิจโดยรวม และวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อรายได้ภาครัฐและภาระหนี้สาธารณะในระยะ ปานกลาง และรายงานต่อคณะรัฐมนตรีตามความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติต่อไปด้วย 6. เรื่อง ร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... [มาตรการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบคุ คลสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)] คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยเป็นการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับ ผู้ประกอบการ SMEs สําหรับกําไรสุทธิตั้งแต่สามแสนบาทขึ้นไปให้เสียภาษีในอัตราร้อยละสิบของกําไรสุทธิ เป็นเวลาสองรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน ทั้งนี้ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๘ แต่ไม่เกินวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดําเนินการต่อไปได้ 7. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับแสตมป์สรรพสามิต จํานวน 2 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับแสตมป์สรรพสามิต จํานวน ๒ ฉบับ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดําเนินการ ต่อไปได้ ดังนี้ ๑. ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ๒๕๒๗ ว่าด้วยวิธีการในการใช้แสตมป์สรรพสามิตและเครือ่ งหมายแสดงการเสียภาษี เพื่อให้ปรากฏว่าได้เสีย ภาษีแล้ว มีสาระสําคัญเป็นการกําหนดวิธีการในการใช้แสตมป์สรรพสามิตสําหรับเครื่องดื่มเพื่อให้ปรากฏว่า ได้เสียภาษีแล้ว ๒. ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ๒๕๒๗ ว่าด้วยชนิดและลักษณะแสตมป์สรรพสามิต มีสาระสําคัญเป็นการกําหนดชนิดและลักษณะแสตมป์ สรรพสามิตสําหรับเครื่องดื่มที่นําเข้ามาในราชอาณาจักร 8. เรื่อง มาตรการภาษีเพือ่ สนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน (Venture Capital) คณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้ ๑. เห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน (Venture Capital) และอนุมัติ หลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยเป็นการสนับสนุนให้มีการลงทุนของบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและทรัสต์ ให้ประกอบ กิจการเงินร่วมลงทุนให้มากยิง่ ขึ้น เพื่อพัฒนาตลาดการลงทุนในประเทศไทย และส่งเสริมให้มกี ารลงทุน ในกิจการเป้าหมายที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการประกอบกิจการตามประเภทอุตสาหกรรมที่สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กําหนด จึงได้กําหนดสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้แก่ กิจการเงินร่วมลงทุนสําหรับการลงทุนในกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการประกอบธุรกิจเพื่อ สนับสนุนให้เกิดกิจการเงินร่วมลงทุนที่สามารถเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการประกอบการที่มีการสร้าง นวัตกรรมเพื่อนําไปสู่การผลิตและการบริการที่ทันสมัย ก่อให้เกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของระบบ -6-


เศรษฐกิจ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้ว ดําเนินการต่อไปได้ ๒. มอบให้กระทรวงการคลังและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรบั ความเห็นของกระทรวง อุตสาหกรรมและสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเกี่ยวกับการดําเนิน มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน ควรมีกลไกหรือกระบวนการตรวจสอบกิจการที่จะได้สิทธิ ให้ชัดเจน การเร่งกําหนดหลักเกณฑ์การรับรองกิจการที่รัฐต้องการสนับสนุน โดยพิจารณาเพิ่มเติมธุรกิจ อุตสาหกรรมอืน่ ๆ ทีค่ ณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกําหนดไว้ การประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งผู้ลงทุน บริษัทที่ประกอบการร่วมลงทุนและกิจการเป้าหมาย ในเรื่องของการดําเนินกิจการเงินร่วมทุน หลักเกณฑ์การรับรองกิจการฯ ที่ประกาศโดย สวทช. รวมทัง้ สนับสนุนและอํานวยความสะดวกให้กิจการร่วมลงทุนบังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนการตรวจสอบ การใช้สิทธิการลดหย่อนภาษีของผู้ที่จะได้รับประโยชน์จากมาตรการดังกล่าว และมีการประเมินผลการ ดําเนินงานของมาตรการนี้ รวมถึงมาตรการสนับสนุนกิจการร่วมลงทุนอื่น ๆ ทีค่ ณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบ ไปแล้ว และรายงานต่อคณะรัฐมนตรีเป็นระยะ ๆ ไปพิจารณาดําเนินการต่อไปด้วย 9. เรื่อง มาตรการการเงินการคลังเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ คณะรัฐมนตรีมีมติ ๑. เห็นชอบในหลักการของมาตรการการเงินเพื่อส่งเสริมการให้สินเชื่อทีอ่ ยู่อาศัยแก่ผู้มรี ายได้น้อย และปานกลาง และมาตรการการคลังเพื่อลดภาระให้กับผูซ้ ื้ออสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็นมาตรการให้การช่วยเหลือ ประชาชนผู้มีรายได้น้อยและรายได้ปานกลางให้สามารถมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองได้มากยิ่งขึ้น โดยการขอรับ สินเชื่อที่มเี งื่อนไขพิเศษจากธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ตามทีก่ ระทรวงการคลังเสนอ ทั้งนี้ กรณีการยกเว้น การให้สิทธิประโยชน์ของหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non Performing Loan : NPL) ของลูกหนี้รายย่อย ให้ กระทรวงการคลังหารือกับธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนเริ่มดําเนินการตามมาตรการการเงินด้วย ๒. เห็นชอบในหลักการร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย รวม ๓ ฉบับ มีสาระสําคัญเพือ่ ลด ค่าธรรมเนียมสําหรับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมให้แก่ผซู้ ื้ออสังหาริมทรัพย์ ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ และให้สง่ คณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา เป็นเรื่องด่วน แล้วดําเนินการต่อไปได้ ดังนี้ ๒.๑ ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติ กรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารที่อยู่อาศัยตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรี กําหนด ๒.๒ ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติ กรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจัดสรรที่ดินตามกฎหมายว่าด้วย การจัดสรรที่ดนิ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ๒.๓ ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติ กรรมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีห้องชุดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ๓. มอบหมายให้ ธอส. ประสานงานกับผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อหาแนวทางในการ ลดภาระค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนและค่าธรรมเนียมการโอนให้กบั ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยตามมาตรการนี้ ๔. ให้กระทรวงการคลังเร่งเสนอร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการ ยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ต่อคณะรัฐมนตรีตามหลักการของมาตรการการคลังในเรื่องนี้ เพื่อให้มีผล ใช้บังคับโดยเร็วด้วย -7-


10. เรื่อง การปรับปรุงมาตรการภาษีเพือ่ ส่งเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญ่ขา้ มประเทศ คณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้ ๑. เห็นชอบการปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญ่ข้ามประเทศ (International Headquarters : IHQ) โดยยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับรายรับจากการบริหารเงินทั้งหมด ของ IHQ โดยปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการจัดตั้ง IHQ ในส่วนการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะให้แก่ IHQ ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ ๕๘๖) พ.ศ. ๒๕๕๘ จากการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับรายรับของ IHQ จากการให้กู้ยืม แก่วิสาหกิจในเครือที่เป็นการบริหารเงิน เป็นการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับรายรับของ IHQ จากการ บริหารเงินโดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ๒. ให้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่เห็นควรให้กระทรวงการคลัง ปรับปรุงประมวลรัษฎากรให้สามารถใช้ฐานเงินดอลลาร์สหรัฐในการคิดภาษีของ IHQ เพื่อจูงใจให้บรรษัท ข้ามชาติมีการจัดตั้ง IHQ รวมถึงมีการทําธุรกรรมทางการเงินในไทยโดยรวมมากขึ้น ไปประกอบการพิจารณา ดําเนินการต่อไป

-8-


สถานการณ์ด้านการคลัง หน่วย :พันล้านบาท

Q1 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักการจัดสรรให้ อปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 ฐานจากการค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยืมสุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกู้ตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%

ปีงบประมาณ 2558 Q3

Q2

Q4

ปีงบประมาณ 2559 ต.ค.58

ทั้งปี

349.5 (2.0) 102.2 (2.0) 30.3 0.5 46.8 (1.2) 54.9 43.6 52.6 2.3 583.8 1.2 507.5 0.8

360.9 0.7 121.4 9.0 28.7 0.3 20.6 (17.8) 39.4 35.8 38.1 1.3 570.9 3.0 469.9 3.9

540.7 0.1 108.3 11.9 27.3 (0.7) 43.6 (7.2) 44.8 34.4 43.5 1.3 764.6 3.4 652.5 5.2

478.0 (0.0) 107.2 14.7 29.2 (1.9) 50.4 18.0 34.3 27.6 33.6 0.7 699.2 4.6 577.5 6.4

1,729.2 (0.0) 439.1 14.7 115.5 (1.9) 161.3 18.0 173.4 27.6 167.8 5.6 2,618.5 4.6 2,207.5 6.4

110.8 (0.9) 38.5 13.3 9.5 (7.8) 20.0 (45.9) 11.7 33.4 11.6 0.1 190.5 (5.6) 165.9 (4.5)

153.0 (5.4) 298.4 (0.2) 29.8 0.2

166.0 0.7 316.0 3.5 27.7 (0.4)

347.2 (0.4) 301.5 4.5 26.8 (1.2)

285.9 (0.1) 299.2 4.9 28.1 (2.2)

952.2 (0.1) 1,215.0 4.9 112.4 (2.2)

47.2 5.8 102.0 0.9 9.4 (7.3)

844.1 1.6 766.4 0.7 77.7 93.3 89.5 3.8 1.3 (43.6) 161.1 65.0

617.6 11.7 557.7 15.6 59.9 56.9 53.6 3.3 2.7 (24.2) 124.7 46.0

569.6 10.7 529.4 11.1 40.1 54.2 54.3 (0.1) 0.6 (81.8) 142.4 47.4

570.1 1.6 524.6 (0.3) 45.5 69.3 60.5 8.8 0.8 (99.1)

2,601.4 5.7 2,378.1 5.9 223.2 273.7 257.9 15.8 5.4 (248.7)

374.0 1.8 359.6 4.3 14.6 25.7 22.4 3.3 0.3 (99.7)

64.5

229.9

13.5

(347.7) (202.8) (202.8)

(142.3) (65.5) (65.5)

76.7 177.2 177.2

(370.9) 44.1 44.1

(784.2) (47.0) (47.0)

229.4 (116.6) (116.6)

179.3

121.1

263.8

426.2

426.2

295.9

3,954.7 1,661.3 8.0 5,624.0 46.3

4,094.0 1,628.3 8.2 5,730.5 43.3

4,070.2 1,608.3 6.0 5,684.5 42.4

4,157.4 1,607.5 18.4 5,783.3 43.0

4,157.4 1,607.5 18.4 5,783.3 43.0

หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนวางแผนการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-9-

n/a n/a n/a n/a n/a n/a


สถานการณ์ด้านรายได้  เดือนตุลาคม 2558 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 165,304 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 1,212 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.7 (ต่าํ กว่า เดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 4.8) โดยการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลังต่ํากว่า ประมาณการ 5,177 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.2 ภาษีที่จัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการที่สาํ คัญ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 2,131 หรือร้อยละ 3.6 โดยเป็นผลจากภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนําเข้าที่ได้รับผลกระทบ จากราคาน้ํามันดิบที่ลดลง ภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 1,271 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.8 และ ภาษียาสูบจัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 1,021 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.2 ในขณะทีก่ ารจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานอื่น สูงกว่าเป้าหมาย 4,768 ล้านบาท หรือร้อยละ 68.7 ตารางสรุปรายได้รัฐ บาลเดือนตุลาคม 2558

*

หน่วย : ล้านบาท

ที่มาของรายได้

ปีนี้

ปีที่แล้ว

1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได้ 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 1/ หัก รายได้รัฐ บาลสุทธิ

110,846 38,454 9,499 158,799 19,993 11,710 25,198 165,304

111,837 33,934 10,304 156,075 36,963 8,776 28,113 173,701

เปรียบเทียบปีนี้ ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปีนี้กับ งปม.ทั้งปีเท่ากับ ปมก. เอกสาร งปม. กับปีที่แล้ว จํา นวน ร้อยละ 2,325,000 ล้านบาท จํา นวน ร้อยละ (991) (0.9) 113,607 (2,761) (2.4) 4,520 13.3 40,069 (1,615) (4.0) (805) (7.8) 10,300 (801) (7.8) 2,724 1.7 163,976 (5,177) (3.2) (16,970) (45.9) 25,561 (5,568) (21.8) 2,934 33.4 6,942 4,768 68.7 (2,915) 9.5 29,963 (4,765) (6.1) (8,397) (4.8) 166,516 (1,212) (0.7)

*

หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 1/ รายการหัก ได้แก่ (1) คืนภาษีของกรมสรรพากร 21,600 ล้านบาท (เป็นตัวเลขคาดการณ์) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 798 ล้านบาท (3) จัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อบจ. 1,500 ล้านบาท (เป็นตัวเลขคาดการณ์) (4) เงินกันชดเชยส่งออก 1,300 ล้านบาท (เป็นตัวเลขคาดการณ์) ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 10


ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บสรุปได้ ดังนี้  กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 110,846 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 2,761 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.4 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.9) ภาษีที่จัดเก็บได้ต่ํากว่าเป้าหมายที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 2,131 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.6 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.5) โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการบริโภคในประเทศ จัดเก็บได้ต่ํากว่าเป้าหมาย 1,068 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.0 (แต่สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 3.4) ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเข้าต่ํากว่าเป้าหมาย 1,063 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีทแี่ ล้ว ร้อยละ 16.4) นอกจากนี้ภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้ต่ํากว่าเป้าหมาย 1,271 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.8 (แต่สูงกว่า เดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 8.8) เป็นผลจากภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาคเอกชนจัดเก็บได้ต่ํากว่าที่คาดการณ์ไว้

- 11


 กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 38,454 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 1,615 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.0 (แต่สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 13.3) โดยภาษีที่จัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษียาสูบจัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 1,021 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.2 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 36.7) เนื่องจากสัดส่วนการบริโภคยาสูบราคาต่ําต่อยาสูบราคาสูงเพิ่มขึ้น และภาษีสรรพสามิตน้ํามันจัดเก็บได้ต่ํากว่า ประมาณการ 857 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.6 (แต่สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 107.5) เป็นผลจากการคงอัตรา ภาษีน้ํามันดีเซลที่ลิตรละ 4.25 บาท ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2558 อย่างไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีเบียร์จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 547 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.4 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีท่ีแล้วร้อยละ 5.2)

 กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 9,499 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 801 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.8 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.8) สาเหตุสําคัญมาจากอากรขาเข้าที่จัดเก็บได้ต่ํากว่าเป้าหมาย 772 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.6 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.4)

 รัฐวิสาหกิจ นําส่งรายได้รวม 19,993 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 5,568 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.8 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีท่แี ล้วร้อยละ 45.9) เนื่องจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย นําส่งรายได้บางส่วนในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี รัฐวิสาหกิจที่นําส่งรายได้/เงินปันผลสูงกว่าประมาณการ ที่สําคัญ ได้แก่ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การประปานครหลวง และการไฟฟ้านครหลวง - 12


 หน่วยงานอืน่ จัดเก็บรายได้รวม 11,710 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 4,768 ล้านบาท หรือร้อยละ 68.7 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 33.4) เนื่องจากการนําส่งเงินจากการยกเลิกโครงการ สวัสดิการเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยของข้าราชการส่งคืนคลังเป็นรายได้แผ่นดินส่วนหนึ่ง สําหรับกรมธนารักษ์จัดเก็บรายได้รวม 118 ล้านบาท ต่ํากว่าเป้าหมายจํานวน 55 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.8 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 27.2) เนื่องจากรายได้ที่ราชพัสดุจัดเก็บได้ต่ํากว่าเป้าหมายเป็นสําคัญ  การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 21,600 ล้านบาท ต่าํ กว่าประมาณการ 4,816 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.2 ประกอบด้วยการคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 18,000 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 5,200 ล้านบาท หรือร้อยละ 22.4 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์) จํานวน 3,600 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 384 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.9  อากรถอนคืนกรมศุลกากร จํานวน 798 ล้านบาท ใกล้เคียงกับประมาณการ  การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้กับองค์การบริหารส่วนจังหวัด จํานวน 1,500 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 27 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.8  เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก จํานวน 1,300 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 21 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 1.6

- 13


ตาราง ผลการจัด เก็บรายได้ รัฐบาลเบื้ องต้ น เดื อนตุ ลาคม 2558 1/ เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้ 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9

ภาษีน้ํามันฯ ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า

2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น

รวมรายได้ 3 กรม 4. รัฐ วิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์

รวมรายได้จัดเก็บ (Gross) หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net) หมายเหตุ

ปีนี้

ปีที่แล้ว

จํา นวน

ร้อยละ

ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ 2,330,000 ล้านบาท

จํา นวน

ร้อยละ

110,846

111,837

(991)

(0.9)

113,607

(2,761)

(2.4)

57,874 25,423 21,828 4,558 1,131 32

61,214 23,368 21,260 16 4,718 1,231 30

(3,340) 2,055 568 (16) (160) (100) 2

(5.5) 8.8 2.7 (3.4) (8.1) 6.7

60,005 26,694 20,867 5,013 1,004 24

(2,131) (1,271) 961 (455) 127 8

(3.6) (4.8) 4.6 (9.1) 12.6 33.3

38,454

33,934

4,520

13.3

40,069

(1,615)

(4.0)

12,140 7,765 7,072 4,602 4,911 1,336 243 208 30 96

5,852 6,755 6,721 7,272 5,099 1,596 233 183 50 105

6,288 1,010 351 (2,670) (188) (260) 10 25 (20) (9)

107.5 15.0 5.2 (36.7) (3.7) (16.3) 4.3 13.7 (40.0) (9)

12,997 7,777 6,525 5,623 5,147 1,386 233 188 49 91

(857) (12) 547 (1,021) (236) (50) 10 20 (19) 5

(6.6) (0.2) 8.4 (18.2) (4.6) (3.6) 4.3 10.6 (38.8) 5.5

51

68

(17)

(25.0)

53

(2)

(3.8)

9,499

10,304

(805)

(7.8)

10,300

(801)

(7.8)

9,338 26 135

10,084 22 198

(746) 4 (63)

(7.4) 18.2 (31.8)

10,110 25 165

(772) 1 (30)

(7.6) 4.0 (18.2)

158,799 19,993 11,710

156,075 36,963 8,776

2,724 (16,970) 2,934

1.7 (45.9) 33.4

163,976 25,561 6,942

(5,177) (5,568) 4,768

(3.2) (21.8) 68.7

8,614

2,978

34.6

6,769

4,823

71.3

118

162

(44)

(27.2)

173

(55)

(31.8)

190,502 25,198

201,814 28,113

(11,312) (2,915)

(5.6) (10.4)

196,479 29,963

(5,977) (4,765)

(3.0) (15.9)

24,428

(2,828)

(11.6)

26,416

(4,816)

(18.2)

18,000

21,501

(3,501)

(16.3)

23,200

(5,200)

(22.4)

3,600

2,927

673

23.0

3,216

384

11.9

11,592

21,600

3/

4/

798

1,300

(502)

(38.6)

795

3

0.4

1,500

4/

1,246

254

20.4

1,473

27

1.8

1,300

4/

1,139

161

14.1

1,279

21

1.6

173,701

(8,397)

(4.8)

166,516

(1,212)

(0.7)

165,304

1/

ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 2/ ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/ ตัวเลขจากระบบ GFMIS ข้อมูลค่าภาคหลวงปิโตรเลียมและกําไรองค์กรร่วมฯ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ 4/ ตัวเลขคาดการณ์ ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : ส่วนนโยบายรายได้ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 14 -

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบปีนกี้ บั ปมก. เอกสาร งปม.


สถานการณ์ด้านรายจ่าย  พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2559 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 132 ตอนที่ 91 ก เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2558 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจํานวน 2,720,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2558 ร้อยละ 5.6 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจํา 2,100,836 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากปีทเี่ เล้วร้อยละ 3.6 รายจ่ายลงทุน 543,636 ล้านบาท เพิ่มขึน้ จาก ปีที่เเล้วร้อยละ 20.9 รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 61,992 ล้านบาท และรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 13,536 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2559 หน่วย : ล้านบาท

ปีงบประมาณ 2558 ปีงบประมาณ 2559 โครงสร้างงบประมาณ เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด จํานวน จํานวน ร้อยละ ร้อยละ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย 2,575,000 2.0 2,720,000.0 5.6 (สัดส่วนต่อ GDP) 20.4 20.4 - รายจ่ายประจํา 2,027,858.8 0.5 2,100,836.3 3.6 (สัดส่วนต่องบประมาณ) 78.7 77.2 - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 41,965.4 212.6 13,536.1 -67.7 (สัดส่วนต่องบประมาณ) 1.6 0.5 - รายจ่ายลงทุน 449,475.8 1.9 543,635.9 20.9 (สัดส่วนต่องบประมาณ) 17.5 20.0 - รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 55,700.0 5.4 61,991.7 11.3 (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2.2 2.3 2. รายรับ 2,575,000.0 2.0 2,720,000.0 5.6 (สัดส่วนต่อ GDP) 20.4 20.4 - รายได้ 2,325,000.0 2.2 2,330,000.0 0.2 - เงินกู้ 250,000.0 390,000.0 56.0 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 12,627,000.0 4.0 13,359,400.0 5.8 (GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

- 15 -


 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2558 เห็นชอบการกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ที่อัตราร้อยละ 96.0 และกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่าย ลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 87.0 ของวงเงินงบรายจ่ายลงทุน โดยได้กําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายราย ไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่

เป้าหมายการเบิกจ่าย แต่ละสิน้ ไตรมาส

1 2 3 4

820,302 595,134 572,833 617,452

เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายแต่ละ สิ้นไตรมาส (%) 30 22 21 23

 เดือนตุลาคม 2558 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 374,201 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 6,603 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.8 เดือนตุลาคม ปีงบประมาณ 1. รายจ่ายปีปจั จุบนั 1.1 รายจ่ายประจํา 1.2 รายจ่ายลงทุน 2. รายจ่ายปีก่อน รวม

2558

2557

359,608 336,077 23,531 14,593 374,201

344,801 329,977 14,824 22,797 367,598

เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 14,807 4.3 6,100 1.8 8,707 58.7 (8,204) (36.0) 6,603 1.8

ผลการเบิกจ่าย

อัตราการเบิกจ่าย (%)

ประกอบด้วย 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2559 จํานวน 359,608 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว 14,807 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.3 แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา 336,077 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 23,531 ล้านบาท โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สําคัญคือ รายจ่ายอื่นของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร 52,759 ล้านบาท เงินอุดหนุนของ กระทรวงศึกษาธิการ 39,146 ล้านบาท และเงิน อุดหนุนสํานักงานประกันสังคม 25,073 ล้านบาท 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจํานวน 14,593 ล้านบาท ต่ํากว่าช่วงเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 8,204 ล้านบาท หรือร้อยละ 36.0 - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจํานวน 31,175 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.4 ของวงเงินงบกลาง (422,722 ล้านบาท) โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สําคัญ ได้แก่ - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 21,372 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.2 - เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ 3,694 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.0 - เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงาน 446 คิดเป็นร้อยละ 8.5

- 16 -


การเบิกจ่ายงบประมาณในเดือนแรกของปีงบประมาณ 2559

ล้านบาท

2,720,000

2,720,000

2,176,000

2,176,000

1,632,000

1,632,000

1,088,000

1,088,000

544,000

544,000

0

ต.ค.58 พ.ย.58 ธ.ค.58 ม.ค.59 ก.พ.59 มี.ค.59 เม.ย.59 พ.ค.59 มิ.ย.59 ก.ค.59 ส.ค.59 ก.ย.59 ปีปัจจุบัน(รายเดือน) 359,608 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 สะสม 2558 344,801 525,461 766,371 964,262 1,095,70 1,324,08 1,503,02 1,666,98 1,853,51 2,062,24 2,201,16 2,378,11 สะสม 2559 359,608

0

 รัฐบาลไม่มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน - เดือนตุลาคม 2558 ไม่มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือน ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 และ ตั้งแต่เริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจ่ายไปแล้ว ตุลาคม 2558 345,518 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.0 ของวงเงินที่ ได้รับอนุมัติ 348,940 ล้านบาท  รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหาร - เดือนตุลาคม 2558 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้ําฯ 78 ล้านบาท และตั้งแต่เริ่ม จัดการน้ําฯ ในเดือนตุลาคม 2558 จํานวน 78 โครงการ (เดือนกุมภาพันธ์ 2555) เบิกจ่ายไปแล้ว ล้านบาท 23,961 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.8 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติจํานวน 350,000 ล้านบาท  รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้โครงการเพื่อการพัฒนา ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนส่ง ทางถนนระยะเร่งด่วน ในเดือนตุลาคม 2558 จํานวน 8,524 ล้านบาท

- เดือนตุลาคม 2558 มีการเบิกจ่ายเงินกู้โครงการเพื่อ การพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบ ขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน 8,524 ล้านบาท และตั้งแต่ เริ่มโครงการ (เดือนมีนาคม 2558) เบิกจ่ายไปแล้ว 21,820 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.9 ของวงเงินที่ ได้รับอนุมัติจํานวน 78,295 ล้านบาท หน่วย: ล้านบาท

ปีงบประมาณ 2559

โครงการ

1.โครงการภายใต้ปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง

วงเงินที่ ได้รับอนุมัติ

1/

2. เงินกู้ภายใต้ พรก. บริหารจัดการน้ําฯ 3/ 3. โครงการเงินกู้เพือ่ การพัฒนาระบบ บริหารจัดการทรัพยากรน้ําและรบบขนส่ง ทางถนนระยะเร่งด่วน

2553

2554

2555

2556

348,940 234,369 61,391 24,420 7,509 350,000 1,762 13,740

2557

4,597 6,793

78,295

ต.ค. 58

2558

ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน ต.ค.58

ตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน ต.ค.58

เบิกจ่าย

ร้อยละของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ

13,232 1,588

-

0.0 0.0

-

78

78

0.0 0.0

345,518 23,961

99.0 6.8

13,297

8,524

10.9

8,524

10.9

21,820

27.9

เบิกจ่าย

ร้อยละของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ

เบิกจ่าย

ร้อยละของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ

หมายเหตุ 1/เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จํานวน 1,020 ล้านบาท ทําให้ เหลือวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 348,940 ล้านบาท (วงเงินที่ได้รับอนุมัติเดิม 349,960 ล้านบาท) 2/ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ ยกเลิกการดําเนินการตาม พรก. บริหารจัดการน้ําจํานวน 324,606 ล้านบาท 3/ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558 คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติโครงการเงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วนจํานวน 78,294.85 ล้านบาท

- 17 -


 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้ตา่ งประเทศ ในเดือน - เดือนตุลาคม 2558 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 282.7 ล้านบาท ต่ํากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 84.5 ล้านบาท ตุลาคม 2558 จํานวน 282.7 ล้านบาท หน่วย : ล้านบาท

ตุลาคม รายการ 2558 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* รวม

2557

57.5 225.2 282.7

56.6 9.7 300.9 367.2

เปลี่ยนแปลง จํานวน ร้อยละ 0.9 1.6 (9.7) (100.0) (75.7) (25.2) (84.5) (23.0)

ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงิน กู้ DPL 1,300 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ล้านบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแล้ว 37,928.54 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินกู้ภายใต้ TKK 17,684.99 ล้านบาท และนอก TKK 20,243.55 ล้านบาท

 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 2558) มีการเบิก จ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 383,086 ทั้งสิน้ 383,086 ล้านบาท ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2559 จํานวน 359,608 ล้านบาท รายจ่ายปีก่อน 14,593 ล้านบาท โครงการภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 78 ล้านบาท การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ จํานวน 283 ล้านบาท และโครงการเพื่อการพัฒนา ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทาง ถนนระยะเร่งด่วน จํานวน 8,524 ล้านบาท

- 18 -


การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/  เดือนตุลาคม 2558 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจ่าย 25,703 ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว 5,547 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.8 เป็นผลจากกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง มีรายจ่ายเงินชดเชยลดลงเป็นสําคัญ

เดือนตุลาคม 2558 มีการเบิกจ่ายรวม 25,703 ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 5,547 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.8 ประกอบด้วย รายจ่าย 22,382 ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว 7,552 ล้านบาท สาเหตุสําคัญเป็นผลจากกองทุนน้ํามัน เชื้อเพลิง มีรายจ่ายเงินชดเชยลดลง 6,992 ล้านบาท เงินให้กู้ยืม สุทธิ มีการชําระคืนเงินกู้จํานวน 3,321 ล้านบาท สูงกว่าเดือน เดียวกันปีที่แล้ว 2,005 ล้านบาท

การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนตุลาคม 2558 หน่วย : ล้านบาท เดือนตุลาคม รายการ

2558*

2557

1. รายจ่าย

22,382

2. เงินให้กู้ยืมสุทธิ รวม

เปรียบเทียบ จํานวน

ร้อยละ

29,934

-7,552

-25.2

3,321

1,316

2,005

152.4

25,703

31,250

-5,547

-17.8

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1/

การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 113 กองทุน) ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย

- 19 -


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1ในปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2558)  ในปีงบประมาณ 2559 ดุลการคลัง ในปีงบประมาณ 2559 รัฐบาลมีรายได้นําส่งคลัง ของรัฐบาลตามระบบ กระแสเงินสด 156,085 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณ จาก ขาดดุล 229,396 ล้านบาท คิดเป็น งบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 374,201 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 218,116 ร้อยละ 1.6 ของ GDP2 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 11,280 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 229,396 ล้านบาท รัฐบาลชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบั ตร 99,094 ล้านบาท ส่ ง ผลให้ เงิ นคงคลั ง ณ สิ้นเดือน ตุลาคม 2558 มีจํานวน 295,880 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท

ปีงบประมาณ รายได้ รายจ่าย ปีปัจจุบัน ปีก่อน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดก่อนกู้ เงินกูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู้ เงินคงคลังปลายงวด

2558 156,085 374,201 359,608 14,593 (218,116) (11,280) (229,396) 99,094 (130,302) 295,880

2557 166,104 367,598 344,801 22,797 (201,494) 15,829 (185,665) 15,850 (169,815) 325,932

เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ (10,019) (6.0) 6,603 1.8 14,807 4.3 (8,204) (36.0) (16,622) 8.2 (27,109) (171.3) (43,731) 23.6 83,244 525.2 39,513 (23.3) (30,052) (9.2)

ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีงบประมาณ 2558 เท่ากับ 13,451,000 ล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีงบประมาณ 2559 เท่ากับ 14,123,600 ล้านบาท

2

- 20 -


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.)3 ในเดือนแรกของปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 2558)  ปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 2558) ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้รวมทั้งสิ้น 168,305 ล้านบาท ต่ํากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 12,344 ล้านบาท ประกอบด้วย รัฐบาลขาดดุล 116,661 ล้านบาท รายได้ในงบประมาณ (ก่อนจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) โดยขาดดุลงบประมาณ 174,163 168,037 ล้านบาท และเงินช่วยเหลือต่างประเทศ ล้านบาท ในขณะที่ดลุ กองทุนนอก งบประมาณเกินดุล 66,387 ล้านบาท 268 ล้านบาท นอกจากนี้ มีรายจ่ายเงินกู้โครงการ ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 342,468 ล้านบาท เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการ สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 13,229 ล้านบาท ประกอบด้วย ทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทางถนน รายจ่าย (ไม่รวมรายจ่ายชําระต้นเงินกู้ การถือครองสินทรัพย์ ระยะเร่งด่วน จํานวน 8,524 ล้านบาท ทางการเงิน รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนา รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และ โครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่ายเงินกู้โครงการเพื่อการพัฒนา พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (DPL) ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทางถนน จํานวน 225 ล้านบาท รายจ่ายเพื่อ ระยะเร่งด่วน รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา วางระบบการบริหารจัดการน้ําจํานวน เงินกู้ต่างประเทศ และรายจ่ายตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง) 78 ล้านบาท และเงินกู้ต่างประเทศ จํานวน 342,200 ล้านบาท และเงินช่วยเหลือต่างประเทศ (Project loan และ SAL) จํานวน 268 ล้านบาท 58 ล้านบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทัง้ สิ้น 174,163 ล้านบาท ขาดดุลสูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 25,573 ล้านบาท กองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 96,395 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 12.7 ในขณะที่มรี ายจ่ายจํานวน 26,687 ล้านบาท ต่ํากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 16.2 และมีเงินให้กู้หักชําระคืน 3,321 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ กองทุนนอกงบประมาณเกินดุล 66,387 ล้านบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเป็นสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลกองทุน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจ่ายเงินกู้โครงการเพื่อ การพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบ ขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่าย เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ําและเงินกู้ต่างประเทศ จํานวน 8,524 225 78 และ 58 ล้านบาท ตามลําดับ ทําให้ดุล การคลังรัฐบาลขาดดุล จํานวน 116,661 ล้านบาท 3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ

- 21-


ดุลการคลังเบือ้ งต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้ และรายจ่ายจากดอกเบี้ยและการชําระคืน ต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 115,106 ล้านบาท ในขณะที่ช่วง เดียวกันของปีที่แล้วขาดดุล 94,946 ล้านบาท ดุลการคลังเบือ้ งต้นตามระบบ สศค. หน่วย : ล้านบาท ตุลาคม ปีงบประมาณ

เปรียบเทียบ

2558

2557

1. รายได้

168,305

180,649

(12,344)

(6.8)

2. รายจ่าย

342,468

329,239

13,229

4.0

3. ดุลงบประมาณ (1-2)

(174,163)

(148,590)

(25,573)

17.2

3

(3)

(100.0)

78

103

(25)

(24.5)

225

301

(76)

(25.1)

จํานวน

ร้อยละ

รัฐบาล

4. แผนปฎิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง (TKK)

-

5. รายจ่ายเพือ่ วางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจ่ายเงินกู้เพือ่ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (DPL) 7.รายจ่ายเงินกู้โครงการเพือ่ การพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน

8,524

-

8,524

-

8. เงินกู้ตา่ งประเทศ (Project loan และ SAL) 9. ดุลกองทุนนอกงบประมาณ (9.1-9.2-9.3)

58 66,387

66 52,392

(8) 13,995

(13.3) 26.7

9.1 รายได้

96,395

85,511

10,884

12.7

9.2 รายจ่าย

26,687

31,858

(5,171)

(16.2)

3,321

1,261

2,060

163.4

10. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+9-4-5-6-7-8)

(116,661)

(96,670)

(19,991)

20.7

11. ดุลการคลังเบือ้ งต้นของรัฐบาล

(115,106)

(94,946)

(20,160)

21.2

9.3 เงินให้กู้หกั ชําระคืน

จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 22 -


ดุ ลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงิน สด และตามระบบ สศค. ปี งบประมาณ 2558 - 2559 ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ - รายได้สุทธิ - จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. - จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินช่วยเหลือต่างประเทศ - อื่นๆ 2. รายจ่าย - รายจ่ายปีปัจจุบัน (อัตราการเบิกจ่าย : %) - รายจ่ายปีก่อน - จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. - จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินช่วยเหลือต่างประเทศ - หัก ส่วนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจ่ายจากเงินกูต้ ่างประเทศ 6. รายจ่ายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ 7.รายจ่ายเพือ่ วางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจ่ายจัดทรัพยากรน้ําและระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน 9.รายจ่ายเงินกูเ้ พือ่ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (DPL) 10. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 10.1 รายได้ 10.2 รายจ่าย 10.3 เงินให้กู้หักชําระคืน 11. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 11.1 รายได้ 11.2 รายจ่าย 12. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8-9+10-11)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

จํานวน

2558

% of GDP

ระบบกระแสเงินสด

2,325,000

17.6

2,201,031

16.4

2,575,000 2,575,000

19.5 19.5

2,601,422 2,378,115 92 223,307

19.4 17.7

(400,391.0) 80,826

(3.0) 0.6

(250,000.0)

(250,000)

(1.9)

(1.9)

(319,565)

1.7

(2.4)

จํานวน

% of GDP

ระบบ สศค. 2,500,974 2,207,475 8,729 96,346 1,449 186,974 2,701,763 2,334,260 91 223,307 8,729 96,346 1,449 20,971 58,642 (200,790) 1,242 13,232 1,590 13,297 4,233 214,194 488,320 258,020 16,106 183,308 183,308 (20,191)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

2559e จํานวน

% of GDP

ระบบกระแสเงินสด

18.7 16.5 0.1 0.7 0.0

2,330,000

17.7

2,330,000

17.4

20.2 17.4

2,720,000 2,720,000

20.6 20.6

2,856,967 2,605,721 95.8 251,246

21.3 19.4

(526,967) 13,536

(3.9) 0.1

1.7 0.1 0.7 0.0 0.2 (1.5) 0.0 0.1 0.0 0.1 0.0 1.6 3.6 1.9 0.1 1.4 1.4 (0.2)

(390,000)

(390,000)

(3.0)

(3.0)

(513,431)

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 13. รายรับ (12.1+12.2) 606,490 4.5 13.1 รายได้ 225,496 1.7 380,994 2.8 13.2 เงินช่วยเหลือจากรัฐบาล 14 รายจ่าย 584,002 4.4 15. ดุลการคลัง (12-13) 22,488 0.2 16. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 16.1 รายได้ 380,994 2.8 16.2 รายจ่าย 380,994 2.8 2,298 0.0 17. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (12+15-16) GDP (ล้านบาท) 13,201,000 13,401,200 13,401,200 13,201,000 13,401,200 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเป็นการแสดงรายได้ (รวมค่า Premium และรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แต่ไม่รวมรายรับจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายได้จากภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่โอนให้แก่อปท.) และรายจ่ายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายได้เพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร่,ภาคหลวงปิโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระต้นเงินกู้พันธบัตร FIDF,เงินช่วยเหลือต่างประเทศ หัก การขายสินทรัพย์,เงินเหลือจ่าย,เงินกู้รับคืน รายได้เงินกู้รับคืน และรวมเงินภาษีที่จดั สรรให้ อปท. และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางด้านรายจ่าย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร่,ภาคหลวงปิโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินช่วยเหลือต่างประเทศ หัก ส่วนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย์,เงินเหลือจ่าย,เงินให้กู้รับคืน และเงินภาษีที่จดั สรรให้อปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบด้วย เงินทุนหมุนเวียน และกองทุนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ได้บันทึกข้อมูลตามเกณฑ์คงค้าง สําหรับกองทุนน้ํามันได้เริ่มบันทึกรายจ่ายชดเชยน้ํามันตามเกณฑ์คงค้างตั้งแต่เดือนมกราคม 2547 เป็นต้นมา 5. รายได้ตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยู่ในระบบ cash basis ส่วนรายได้ตามระบบ สศค. บันทึกอยู่ในระบบ acrual basis 6. ข้อมูล GDP ปี 2559 อ้างอิงจากข้อมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 7. รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา อยู่ระหว่างการเสนอ ครม. จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแห่งประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันทีบันทึกข้อมูล : 30 กันยายน 2558

21--- 23

หน่วย: ล้านบาท

1.9

(3.8)

จํานวน ระบบ สศค. 2,623,086 2,330,000 10,320 109,000 2,983 170,783 2,980,992 2,543,729 93.5 251,246 10,320 109,000 2,983 21,000 84,714 (357,906)

% of GDP 19.6 17.4 0.1 0.8 0.0 1.3 22.2 19.0 1.9 0.1 0.8 0.0 0.2 (2.7)

1,260 56,837 36,700 2,700 221,600 505,400 267,100 16,700 148,475 148,475 (233,803)

0.0 0.4 0.3 0.0 1.7 3.8 2.0 0.1 1.1 1.1 (1.7)

624,870 366,570 258,300 562,383 62,487

4.7 2.7 1.9 4.2 0.5 1.9 1.9 (1.3)

258,300 258,300 (171,316) 13,401,200


ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2558 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2558) 1. ด้านรายได้ 1 อปท. จำนวน 7,853 แห่ง มีรำยได้รวม 129,052 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วง เดียวกันของปีที่แล้ว 36,049 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 38.8 โดยเป็นรำยได้จำกเงินอุดหนุน และรำยได้ที่ รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ เพิ่มขึ้น 32,393 และ 2,971 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 209.8 และ 4.7 ตำมลำดับ เนื่องจำกในไตรมำสที่ 4 ปีงบประมำณ 2558 อปท. ได้รับกำรจัดสรรเงินอุดหนุน จำกกรมส่งเสริม กำรปกครองท้องถิ่ นและเงินอุดหนุนเหลื่อมปีเพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ 2557 (ข้อมูลจำกกรมบัญชีกลำง) ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายได้จัดเก็บเอง 1/ (ร้อยละของรำยได้รวม) 1.1 รำยได้จำกภำษีอำกร 1.2 รำยได้ที่ไม่ใช่ภำษีอำกร 2. รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรำยได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรำยได้รวม) รวม (ร้อยละของรำยได้รวม)

ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 14,610 13,925 11.3 15.0 7,505 6,871 7,105 7,054 66,612 63,641 51.6 68.4 47,830 15,437 37.1 16.6 129,052 93,003 100 100

เปรียบเทียบ จานวน

ร้อยละ

685

4.9

634 51 2,971

9.2 0.7 4.7

32,393

209.8

36,049

38.8

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 3 พฤศจิกำยน 2558 ที่มำ : 1/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และคำดกำรณ์โดยสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 2/ รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ จำกกรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมกำรขนส่งทำงบก กรมกำรปกครอง และสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 3/ รำยได้เงินอุดหนุนรัฐบำล จำกกรมบัญชีกลำง จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

รายได้ของ อปท. จาแนกตามแหล่งที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 14,610 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 685 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 4.9 ประกอบด้วย รำยได้จำกภำษีอำกร 7,505 ล้ำนบำท และรำยได้ที่ไม่ใช่ภำษีอำกร 7,105 ล้ำนบำท 1.2 รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 66,612 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 2,971 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 4.7 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 47,830 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 32,393 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 209.8

- 24 -


2. ด้านรายจ่าย 1 อปท. จำนวน 7,853 แห่ง มีรำยจ่ำยทั้งสิ้น 150,824 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำก ช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 7,857 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 5.5 โดยเป็นกำรเพิ่มขึ้นจำกรำยจ่ำยประจำและ รำยจ่ำยพิเศษ 4,564 และ 2,255 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 6.6 และ 8.1 ตำมลำดับ (รำยละเอียดตำมตำรำงที่ 2) ตารางที่ 2 รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายจ่ายงบกลาง 2. รายจ่ายประจา 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน 4. รายจ่ายพิเศษ 5. รายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี รวม

ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 6,957 6,115 73,631 69,067 32,456 31,582 30,103 27,848 7,677 8,355 150,824 142,967

เปรียบเทียบ จานวน

ร้อยละ

842 4,564 874 2,255 (678) 7,857

13.8 6.6 2.8 8.1 (8.1) 5.5

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 3 พฤศจิกำยน 2558 จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

3. ดุลการคลัง 2 อปท. ขำดดุล 21,772 ล้ำนบำท ขำดดุลลดลงจำกช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้ว 28,192 ล้ำนบำท (รำยละเอียดตำมตำรำงที่ 3 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายได้ 1.1 รำยได้ที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 2/ 1.3 รำยได้จำกเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/

ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 129,052 93,003 14,610 13,925 66,612 63,641 47,830 15,437 150,824 142,967 (21,772) (49,964)

เปรียบเทียบ จานวน 36,049 685 2,971 32,393 7,857 28,192

ร้อยละ 38.8 4.9 4.7 209.8 5.5 (56.4)

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 3 พฤศจิกำยน 2558 ที่มำ : 1/ จำกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ จำกกรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมกำรขนส่งทำงบก กรมกำรปกครอง และสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 3/ รำยได้จำกเงินอุดหนุนรัฐบำล จำกกรมบัญชีกลำง 4/ พิจำรณำจำกข้อมูลกำรเปลี่ยนแปลงเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝำกคลัง อปท.ในกระทรวงกำรคลังจำกกรมบัญชีกลำง จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

1 2

รำยจ่ำย อปท. พิจำรณำจำกผลต่ำงของรำยได้กับดุลกำรคลังของ อปท. ดุลกำรคลังของ อปท. พิจำรณำจำกข้อมูลกำรเปลี่ยนแปลงเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จำกธนำคำรแห่งประเทศไทย และเงินฝำกคลัง อปท. ในกระทรวงกำรคลังจำกกรมบัญชีกลำง

- 25 -


แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2557 และ 2558 หน่วย : ล้านบาท

ฐานะดุลการคลังของ อปท. ปีงบประมาณ 2558 1. ด้านรายได้ อปท. มีรำยได้ 608,075 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 41,530 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 7.3 โดยเป็นรำยได้จำกเงินอุดหนุนและรำยได้ ที่รัฐบำลจัดเก็บให้ และแบ่งให้ เพิ่มขึ้น 27,417 และ 9,982 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 11.3 และ 3.8 ตำมลำดับ 2. ด้านรายจ่าย มีรำยจ่ำยรวมทั้งสิ้น 579,668 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 31,160 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 5.7 โดยเป็นกำรเพิ่มขึ้นจำกรำยจ่ำยประจำและรำยจ่ำยพิเศษ 25,849 และ 10,764 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 9.6 และ 7.7 ตำมลำดับ 3. ดุลการคลั ง อปท. เกินดุล 28,407 ล้ ำนบำท เกินดุล เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 10,370 ล้ ำนบำท หรื อร้ อยละ 57.5 ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายได้ 1.1 รำยได้ที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 2/ 1.3 รำยได้จำกเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/

ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 608,075 566,545 65,753 61,622 271,463 261,481 270,859 243,442 579,668 548,508 28,407 18,037

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 3 พฤศจิกำยน 2558 ที่มำ : 1/ จำกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ จำกกรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมกำรขนส่งทำงบก กรมกำรปกครอง และสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 3/ รำยได้จำกเงินอุดหนุนรัฐบำล จำกกรมบัญชีกลำง 4/ พิจำรณำจำกข้อมูลกำรเปลี่ยนแปลงเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝำกคลัง อปท.ในกระทรวงกำรคลังจำกกรมบัญชีกลำง จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

- 26 -

เปรียบเทียบ จานวน 41,530 4,131 9,982 27,417 31,160 10,370

ร้อยละ 7.3 6.7 3.8 11.3 5.7 57.5


แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ปีงบประมาณ 2557 และ 2558 หน่วย : ล้านบาท

เงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร และเงินฝากคลังของ อปท. ณ สิ้นเดือนกันยำยน 2558 เงินฝำกของ อปท. ทั้งหมดมีจำนวน 417,831 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำก สิ้นปีงบประมำณที่แล้ว 28,407 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 7.3 ประกอบด้วยเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบ ธนำคำรจำนวน 417,138 ล้ำนบำท และเงินฝำกคลังของ อปท. จำนวน 693 ล้ำนบำท ตารางที่ 5 เงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร และเงินฝากคลังของ อปท.

หน่วย : ล้ำนบำท

ที่มำ : เงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จำก ธปท. และเงินฝำกคลังของ อปท. จำกกรมบัญชีกลำง

สถานะหนี้เงินกู้ ณ สิ้นเดือนกันยำยน 2558 หนี้เงินกู้คงค้ำงของ อปท. จำกระบบธนำคำรมีจำนวน 20,070 ล้ำนบำท ลดลงจำกสิ้นปีงบประมำณที่แล้ว 2,975 ล้ำนบำท ตารางที่ 6 สถานะหนี้เงินกู้คงค้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วย : ล้ำนบำท

ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย และสำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ หมำยเหตุ : N/A หมำยถึง ไม่มีข้อมูล

- 27 -


สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2558 หน่วย : ล้านบาท

 หนี้สาธารณะคงค้างจํานวน 5,783,323 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 43.0 ของ GDP เพิ่มขึน้ จากเดือนที่แล้ว 46,679 ล้านบาท ประกอบด้วย หนี้ในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 93.8 ส่วนที่เหลือ ร้อยละ 6.2 เป็นหนี้ต่างประเทศ และเมื่อแบ่งตามอายุเครื่องมือ การกู้เงิน หนี้ระยะยาวคิดเป็น ร้อยละ 96.4 และหนี้ระยะสัน้ ร้อยละ 3.6 กรณีแบ่งตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเป็น ร้อยละ 87.0 ส่วนที่เหลือร้อยละ 13.0 เป็นหนี้ระยะสั้น  หนี้คงค้างที่เพิ่มขึ้นมีสาเหตุ มาจากหนีข้ องรัฐบาลและ หนี้ของรัฐวิสาหกิจ เพิ่มขึ้น 46,508 และ 4,661 ล้านบาท ตามลําดับ ในขณะที่หนี้หน่วยงาน อื่นของรัฐ ลดลง 4,490 ล้านบาท

1. รวมหนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง หนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP*** หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) หมายเหตุ

31 ส.ค.58 4,110,887 82,877 4,028,010 1,602,835 103,287 872,421 166,419

30 ก.ย. 58 4,157,395 84,677 4,072,718 1,607,495 102,906 864,510 172,700

460,708 22,922 0.0 22,922 0.0 5,736,644

467,379 18,433 0.00 18,433 0.0 5,783,323

13,398,970 42.8

13,453,060 43.0

* หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแต่ละเดือน โดย GDP ของเดือน สิงหาคม 2558 เท่ากับ 13,398.97 พันล้านบาท และ GDP ของเดือนกันยายน 2558 คํานวณ ดังนี้ (GDP ไตรมาส 4 ปี 57) + (GDP ไตรมาส 1 – 2 ปี 58) + [(ประมาณการ GDP ปี 58 – GDP ไตรมาส 1 - 2 ปี 58)/6]* 3 เท่ากับ 13,453.06 พันล้านบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 28 -


สัดส่วนหนีใ้ นประเทศและหนี้ต่างประเทศ  หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 46,508 ล้านบาท เมื่อเทียบ หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ กับเดือนที่แล้ว โดยมีสาเหตุหลัก จํานวน (ล้านบาท) 5,423,040 360,283 จากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล ร้อยละ (%) 93.8 6.2 งบประมาณและการบริหารหนี้ เพิ่มขึ้น 46,138 ล้านบาท สัดส่วนหนีร้ ะยะยาวและหนีร้ ะยะสั้น (แบ่งตามอายุของเครื่องมือการกู้เงิน)  หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 4,661 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แล้ว มีสาเหตุหลักมาจาก การไฟฟ้านครหลวงออกพันธบัตร 4,000 ล้านบาท  หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ ลดลง 4,490 ล้านบาท เมื่อ เทียบกับเดือนที่แล้ว เนื่องจาก หน่วยงานของรัฐมีการเบิกจ่าย จากแหล่งเงินกู้ต่างๆ น้อยกว่า การชําระคืนต้นเงินกู้ โดย รายการที่สําคัญเกิดจาก การชําระคืนต้นเงินกู้ของ สํานักงานกองทุนอ้อยและ น้ําตาลทราย 4,516 ล้านบาท

หนี้ระยะยาว 5,576,039 96.4

จํานวน (ล้านบาท) ร้อยละ (%)

หนี้ระยะสัน้ 207,284 3.6

สัดส่วนหนีร้ ะยะยาวและหนีร้ ะยะสั้น (แบ่งตามอายุคงเหลือ) หนี้ระยะยาว 5,033,232 87.0

จํานวน (ล้านบาท) ร้อยละ (%)

- 29 -

หนี้ระยะสัน้ 750,091 13.0


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดและเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้  สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60  ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15  การจัดทํางบประมาณสมดุล  สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทําการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปได้ดังนี้  สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2558 อยู่ที่ร้อยละ 43.5 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49.9 ในปีงบประมาณ 2562  ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 7.1 ในปีงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10.0 ในปีงบประมาณ 2562  รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยได้ลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2558 อย่างไรก็ตาม เพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย ในระยะสั้นรัฐบาล ยังมีความจําเป็นต้องดําเนินนโยบายขาดดุลจนกว่าภาวะเศรษฐกิจจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ และจะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในช่วงต่อไป  สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายคาดว่าจะอยู่ในระดับเฉลี่ย ร้อยละ 22.2 ต่องบประมาณรายจ่ายตลอดช่วงปีงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากว่าระดับที่ กําหนดไว้ อย่างไรก็ดี รัฐบาลมีนโยบายในการปรับเปลีย่ นโครงสร้างการลงทุนใน โครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมในปี 2560 – 2562 ด้วยการลดสัดส่วน การลงทุนโดยการกู้เงินมาใช้ในการลงทุนตามยุทธศาสตร์การให้เอกชนร่วมลงทุนใน กิจการของรัฐ (PPPs) โดยรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวจะ ทําให้รัฐบาลมีวงเงินเหลือกลับมาเพื่อจัดสรรเป็นรายจ่ายลงทุนเพิ่มขึ้น ภายใต้วงเงินกู้ เพื่อชดเชยการขาดดุลจํานวนเท่าเดิมซึ่งจะส่งผลให้รายจ่ายลงทุนเฉลี่ยในงบประมาณ 2560 – 2562 อยู่ที่ร้อยละ 25 ของงบประมาณรายจ่าย

- 30 -


ผลการวิเคราะห์การดําเนินงานตามกรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง ณ สิน้ ไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2558 หน่วย: ล้านบาท 1)

1. หนี้สาธารณะคงค้าง /GDP (FY) (1.2/1.1) 1.1 nominal GDP (FY)1) 1.2 หนี้สาธารณะคงค้าง 2. ภาระหนี้/งบประมาณ2) ( 2.1/3.2) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 2.1.1 ชําระต้นเงินกู้ 2.1.2 ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) 3.1 รายได้รัฐบาลสุทธิ3) 3.2 งบประมาณรายจ่าย4) 4. รายจ่ายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 4.1 รายจ่ายลงทุน

2558 2559 2560 2561 2562 43.5 46.3 48.3 49.6 49.9 13,350,000 13,949,500 14,786,500 15,673,700 16,614,100 5,809,471 6,461,597 7,148,709 7,781,830 8,297,359 7.1 7.4 8.9 9.6 10.0 183,271 201,032 253,920 285,649 312,448 55,700 61,992 85,434 89,451 93,654 127,571 139,040 168,486 196,198 218,794 -369,000 -390,000 -378,000 -363,700 -346,700 2,206,000 2,330,000 2,469,800 2,618,000 2,775,100 2,575,000 2,720,000 2,847,800 2,981,700 3,121,800 17.5 20.0 24.8 24.0 25.0 449,476 543,636 705,241 715,193 781,123

ที่มา : 1) ข้อสมมติฐานเศรษฐกิจปี 2558 – 2562 จากสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สศค. 2) ข้อมูลภาระหนี้ตอ่ งบประมาณปี 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2558 และปี 2559 – 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ (ณ วันที่ 29 กันยายน 2558) 3) ประมาณการรายได้รัฐบาลสุทธิ ปี 2558 ตามเอกสารงบประมาณ ปี 2558 ปี 2559 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 เรื่องวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2559 และปี 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ข้อมูลงบประมาณรายจ่ายปี 2558 จากเอกสารงบประมาณปี 2558 ปี 2559 จากร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ 2559 และปี 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค.

- 31 -


การดําเนินินกิจกรรรมกึง่ กการคลังผ่ผานสถาาบันการเงินเฉพพาะกิจ

1/

ณ สิ้นไตตรมาสที่ 2 ปี 2558 (ณ ณ 30 มิถุนายน า 2558) ผลการดําเนินงานในภภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานขของโครงการที่มีการแยกบับัญชี PSA กการดําเนินโครรงการทีม่ ีการแยกบัญชี PSAA มียอดสินเชือคงค้ ่ าง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2558 จํานวนทั น ้งสิน้ 896,932.52 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 1.98 จากไตรรมาสทีผ่ ่านมาา ขณะทีห่ นีท้ ไม่ ไี่ ก่อให้เกิดราายได้ (NPLs) ของโครงการ ที่มีการแยยกบัญชี PSA ณ สิน้ ไตรมาสสที่ 2 ปี 25588 มีจํานวนทั้งสิ้น 9,165.94 ล้านบาท คิดเเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ ก่อให้เกิดดรายได้ต่อยอดดสินเชื่อคงค้าง า (NPLs Rattio) ร้อยละ 1.02 1 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที จ ผ่ ผ่านมา เนือ่ งจจากมี NPLs จากโครงการพักหนี้ 3 จังหวัดชายแแดนภาคใต้ขอองธนาคารเพือการเกษตรแล อ่ ละสหกรณ์กาารเกษตร (ธ.ก.ส.) เพิ่มเข้า มาอีก 8222.44 ล้านบาาท (แผนภาพทที่ 1) แผนนภาพที่ 1 สินเชื น ่อคงค้าง และ NPLs จากโครงการที จ ทีม่ ีการแยกบับัญชี PSA ล้านบาท 1,100,000 1,000,000 900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0

ร้อยละ 4

3..61 9880,505.04 3.14

9116,062.74 3.31

908,8223.76

915,037.166

896,9322.92

3 2

0.889 30,742.41

330,328.23

32,7777.87

8,184.008

Q44/57 NPLs

Q1/558

1.022

1

9,165.94 0

Q2/57

QQ3/57 สินเชื่อคคงค้าง

Q2/588 NPLs Ratio

ข รที่มีการแยกบบัญชี PSA 2. ประมาณการภาระะทางการคลังของโครงการ แม้ว่าการดําเนนินโครงการตตามนโยบายรัฐฐจะส่งผลดีตอระบบเศรษฐ อ่ ฐกิจ แต่ขณะเดีดียวกันก็ก่อใหห้เกิดภาระ ทางการคคลังของรัฐบาลลในการชดเชยความเสียหาายจากการดําเนินโครงการตต่าง ๆ ดังจะเเห็นได้จากประมาณการ ภาระทางงการคลังของสสถาบันการเงินเฉพาะกิจทีข่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการทีที่มีการแยกบัญชี ญ PSA) ตั้งแต่เริม่มต้นจนถึงสิ้นสุสดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสทีที่ 2 ปี 2558 มีจํจานวนทั้งสิ้น 108,108.122 ล้านบาท แลละคงเหลือ ภาระทางงการคลังที่รอการชดเชยจาากรัฐบาลจํานนวน 26,105.447 ล้านบาท ทัท้งนี้ สัดส่วนภภาระทางการคคลังคงเหลือ รอการชดดเชยจากรัฐบาลต่อประมาณ ณการภาระทาางการคลังจากโครงการทีมี่มกี ารแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเป็น ร้อยละ 224.15 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที น ที่ผ่านมาเล็กน้อย (แผนภาพพที่ 2) หมายเหตุ : 1/ การรายงานการรดําเนินกิจกรรมกึงการคลั ่ งในที่นี้ พิ จารณาเฉพาะโครรงการที่มีการแยกบบัญชีธุรกรรมการดดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แห่ง ได้ด้แก่ ธนาคารออมสิสิน ธนาคารเพื่อกาารเกษตรและสหกกรณ์การเกษตร (ธธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ธนาคคารเพื่อการส่งออกกและนําเข้าแห่งประเทศไทย ป (ธสน..) ธนาคารพัฒนาวิวิสาหกิจขนาดกลาางและขนาดย่อมแแห่งประเทศไทย (ธพว.) และธนาคาาร อิสลามแห่งปประเทศไทย (ธอทท.) ยกเว้นบรรษัทประกั ป นสินเชื่ออุตสสาหกรรมขนาดย่อม อ (บสย.) ที่เป็นสถาบั ส นการเงินเฉพพาะกิจที่ค้ําประกันสิ น นเชื่อ ขณะที่ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศั อ ย (บตท.) ไม่มีมกี ารดําเนินโครงก ารตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ในการพิ ใ จารณาโคครงการ PSA ของสสํานักงานเศรษฐกิกิจ การคลัง กําหหนดให้นับเฉพาะโโครงการที่คณะรัฐมนตรี ฐ มีมติเห็นชออบหลังวันที่ 4 สิงหาคม ห 2552 เป็นต้ตนไป

- 32 -


แผนภาพที่ 2 ภาระทางการคลังจากโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ล้านบาท 120,000

47.24

100,000

37.62

80,000

26.50 110,660.59 81,336.13 29,324.46

107,846.88 82,740.34 25,106.54

108,108.12 82,002.65 26,105.47

20,000

24.15

102,444.37 63,909.87 38,534.50

40,000

23.28

99,390.96 52,439.47 46,951.49

60,000

Q2/57

Q3/57

Q4/57

Q1/58

Q2/58

0

ร้อยละ 50.00 45.00 40.00 35.00 30.00 25.00 20.00 15.00 10.00 5.00 0.00

ประมาณการภาระการคลังทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล รัฐบาลชดเชยแล้ว ภาระทางการคลังคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดส่วนภาระทางการคลังคงเหลือต่อความเสียหายทั้งหมด

ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2558 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงค้างสูงที่สุดจํานวน 821,509.72 ล้านบาท รองลงมา คือ ธนาคารออมสิน ที่มียอดสินเชื่อคงค้างจํานวน 34,267.64 ล้านบาท ขณะที่ NPLs ของ ธพว. มีมูลค่าสูงที่สุด เท่ากับ 6,872.37 ล้านบาท โดย NPLs ส่วนใหญ่ของ ธพว. มาจากโครงการดังต่อไปนี้ 1) โครงการสินเชือ่ SME Power เพื่อวันใหม่ (ระยะที่ 1) 2) โครงการสินเชื่อ SME Power เพื่อผู้ประสบอุทกภัย ปี 2553 3) โครงการสินเชื่อเพื่อ พัฒนากระบวนการผลิตภายใต้สินเชื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบว่า ธอท. และ ธพว. มีสัดส่วนค่อนข้างสูง เนื่องจากกลุ่มลูกค้า จะเป็นผู้ประกอบการรายย่อย ที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไม่มหี ลักประกัน และเป็นผู้ประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไม่ต้องตรวจเครดิตบูโรก่อน การปล่อยกู้ ซึง่ แตกต่างจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหน้าที่เป็นตัวกลางในการจ่ายเงินแทนรัฐบาลและ การปล่อยกู้ระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงินเฉพาะกิจดังกล่าวมี NPLs Ratio สูง รัฐบาล อาจมีความเสี่ยงในการพิจารณาเพิ่มทุนต่อไป (แผนภาพที่ 3)

- 33 -


แ แผนภาพที ่ 3 ผลการดําเนินินงานรายสถถาบันของโครรงการที่มีการ แยกบัญชี PSSA

2. ประมาณการภาระะทางการคลังของโครงการ ข รที่มีการแยกบบัญชี PSA2/ ปประมาณการรภาระทางการคลังขอรับกการชดเชยจากกรัฐบาล ธ.ก.ส. มีมูลค่าดังกกล่าวมากทีส่ ดจํ ดุ านวน 81,177.559 ล้านบาท ในขณะที ใ ่ภารระทางการคลัลังคงเหลือรอกการชดเชยจากรัฐบาลพบว่า ธนาคารออมมสินมีมลู ค่า ดังกล่าวมมากทีส่ ุดจํานววน 11,594.966 ล้านบาท หรื​ือคิดเป็นภาระทางการคลลังคงเหลือต่ออภาระทางการรคลังทั้งหมด ของ ธ.ก.ส. และ ธนาคคารออมสิน อยู อ ่ที่ร้อยละ 8..76 และ 72.990 ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิ ห จารณา ธสน. ธ ธอท. ธออส. และ ธพวว. ซึ่งมีสัดส่วนภาระทางกา น ารคลังคงเหลือต่ อ อภาระ ทางการคคลังทั้งหมดอยูยู่ในระดับสูงเทท่ากับร้อยละ 84.46 78.311 65.93 และ 62.25 ตามลํลําดับแล้ว พบบว่า สัดส่วน ความเสียยหายคงเหลือของ ข ธสน. ดังกล่ ก าวไม่ส่งผลกกระทบต่อการรดําเนินงานตาามปกติหรือสภภาพคล่อง เนืนื่องจาก ธสน. มีโครงกาารที่มกี ารแยกบัญชี PSA เพีพียงโครงการเดดียว และมีหลัลกเกณฑ์การปปล่อยสินเชื่อที ่เข้มงวด ดังนัน้น คาดว่า โครงการดังกล่าวมีโอกกาสเสียหายค่อนข้ อ างน้อย ขขณะที่ ธอท. และ แ ธพว. แม้ม้ว่ามูลค่าภาระะทางการคลังคงเหลื ง อ อ ่อเปรียบบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แต่จากสัดส่วนภาระ ว รอการชดดเชยจากรัฐบาลค่อนข้างน้อยเมื ทางการคคลังคงเหลือต่ตอภาระทางการคลังทั้งหมดด และผลการรดําเนินงานทีมีม่ สี ัดส่วน NPLLs Ratio อยูในระดั ใ่ บสูง อาจส่งผลลให้รฐั บาลต้องชดเชยภาระ อ ะทางการคลังเเพิ่มขึ้น และสส่งผลกระทบตต่อการดําเนินงงานและสภาพพคล่องของ ธอท. และ ธพว. ในทีสุส่ ด (แผนภาพที่ 4) สสําหรับ บสย. แม้ว่าจะเป็นสถาบั น นการเงิงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื น ่อ แต่การค้ค้ําประกันดังกล่ ก าวส่วนหนึง่ เป็นการค้ค้ําประกันโครงการที่มีการแแยกบัญชี PSAA ทําให้รัฐบาลลมีภาระในกาารชดเชยภาระะทางการคลังเช่นเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิกิจอื่น ๆ โดยปประมาณการภภาระทางการรคลังที่ขอรับการชดเชยจาก ก กรัฐบาลของ บสย. บ มีจํานวนน น ขณะทีมี่ ภาระทางกาารคลังคงเหลือรอการชดเช อ ชยอีกจํานวน 1 3,634.69 ล้านบาท น ทั้งสิ้น 166,881.24 ล้านบาท .

2/

การประมมาณการความเสียหายที ห ่ต้องได้รับกาารชดเชยจากรัฐบาาลตั้งแต่เริ่ม - สิ้นสุสดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตา แ ามข้อตกลงซึ่งแตกต่างกันตาม SFIs แต่ละแห่ง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เป็นกาารประมาณการคววามเสียหายตั้งแต่เเริ่มโครงการถึงวันที น ่ 31 มีนาคม 2558

- 34 -


แผนภภาพที่ 4 ภารระทางการคลัลังรายสถาบันจากโครงการ น รที่มีการแยกบบัญชี PSA

ออมสิน

62.25

ธ.ก.ส. ธสน. ธพว. ธอส. ประมาณการภาระ ป ะทางการคลังทั้งหมมดที่ขอรับการชดเเชยจากรัฐบาล ภาระทางการคลั ภ งคคงเหลือรอการชดเเชยจากรัฐบาล สัดส่วนภาระทางก ารคลังคงเหลือต่อภาระทางการคลั อ งทั ง ้งหมดแต่ละ SFFI

- 35 -

1,311.15 1,026.78

84.46

6,265.12 3,900.22

7,114.47 8.776

665.93

1,050.00 886.81

81,177.59 81 177 59

72.90

2,400.00 1,582.23

78.31

15 904 26 15,904.26 11,594.96

ล้าานบาท 990,000 880,000 770,000 660,000 550,000 440,000 330,000 220,000 110,000 0

ธอท.

ร้อยละ 90.00 80.00 70.00 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00


การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการขยะในลักษณะรูปแบบความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ คณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผลในคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ซึ่งมีหน้าที่ติดตามผลการดําเนินการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตามแผนการกระจายอํานาจให้แก่ อปท. พิจารณาเห็นว่า ภารกิจที่ถ่ายโอนการบริหาร จัดการขยะเป็นการจัดการที่ต้องสัมพันธ์กับ อปท. ในหลายพื้นที่ และเนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างที่ไม่ เอื้ออํานวยต่อการดําเนินงานของ อปท. เช่น ใช้งบประมาณสูงในการดําเนินงานบริหารจัดการขยะ ขาดแคลน เครื่องมืออุปกรณ์ และเกินขีดความสามารถของบุคลากรท้องถิ่นที่จะดําเนินการได้ เป็นต้น จึงต้องอาศัย การดําเนินงานรูปแบบความร่วมมือในการจัดบริการสาธารณะระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง เพื่อให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ ในการนี้ คณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผลร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการ การกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สกถ.) ได้ดําเนินการติดตามและประเมินผลการบริหาร จัดการขยะในลักษณะรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. ของ อปท. กลุ่มตัวอย่างจํานวน 6 แห่ง ระหว่าง วันที่ 7 พฤษภาคม – 30 มิถนุ ายน 2558 และที่ประชุมคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล ครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 ได้มีมติเห็นชอบรายงานการติดตามผลการบริหารจัดการ ขยะในลักษณะรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. สรุปได้ดังนี้ 1. อปท. กลุ่มตัวอย่างจํานวน 6 แห่ง และการบริหารจัดการขยะในรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. 1.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง อําเภอเมือง จังหวัดระยอง (อบจ. ระยอง) อบจ. ระยอง กําจัดขยะด้วยการฝังกลบขยะอย่างถูกหลักสุขาภิบาล คือ การฝังกลบบน พื้นดินและแบบขุดร่อง โดยมีศูนย์กําจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจร จํานวน 1 แห่ง กําจัดขยะได้จํานวน 250 ตัน/วัน คิดอัตราค่าบริการกําจัดขยะจํานวน 400 บาท/ตัน มีค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษาเครื่องมือปีละ 300 ล้านบาท มีบุคลากรรับผิดชอบจํานวน 15 คน โดย อบจ. ระยอง ได้จัดทําบันทึกข้อตกลงในการบริหารจัดการ ขยะร่วมกับเทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) ในจังหวัด จํานวน 26 แห่ง สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด และบริษัทเอกชน โดย อบจ. ระยอง สนับสนุนงบประมาณเป็นหลักส่วนราชการจัดสรร ให้บางส่วน อปท. อื่น ๆ จ่ายค่าบริการกําจัดขยะ และร่วมจัดทําแผนในการดําเนินงาน ประโยชน์ที่ อบจ. ระยอง ได้รบั จากการบริหารจัดการขยะ คือ สามารถรองรับปริมาณขยะมูลฝอยของจังหวัด สามารถคัดแยกขยะแล้ว นํากลับมาใช้ใหม่ และนําขยะอินทรีย์ไปแปรรูปเป็นปุ๋ยชีวภาพ เป็นต้น 1.2 เทศบาลนครภูเก็ต อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต (ทน. ภูเก็ต) ทน. ภูเก็ต กําจัดขยะด้วยระบบเตาเผาขยะมูลฝอย ระบบฝังกลบขยะและบ่อกําจัดขยะ และการทําปุ๋ยหมัก โดยระบบเตาเผาขยะกําจัดขยะได้จํานวน 700 ตัน/วัน คิดอัตราค่าบริการกําจัดขยะ จํานวน 520 บาท/ตัน มีค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษาเตาเผาขยะปีละ 88 ล้านบาท มีบุคลากรรับผิดชอบ จํานวน 15 คน สําหรับระบบฝังกลบขยะและบ่อกําจัดขยะมีจํานวน 5 บ่อ มีค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษา เครื่องมือปีละ 39 ล้านบาท มีบุคลากรรับผิดชอบจํานวน 15 คน และการทําปุ๋ยหมักเป็นการทําถังหมักปุ๋ย - 36


อินทรีย์แบบใช้อากาศ โดย ทน. ภูเก็ต ได้จัดทําบันทึกข้อตกลงในการบริหารจัดการขยะร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล อบต. ทุกแห่งในจังหวัดรวม 19 แห่ง และมูลนิธิเพื่อสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต โดย ทน. ภูเก็ต สนับสนุนงบประมาณบุคลากร และอุปกรณ์ อปท. อื่นสนับสนุนบุคลากรและร่วมจัดทํา แผนการดําเนินงาน ประโยชน์ที่ ทน. ภูเก็ตได้รับจากการบริหารจัดการขยะ คือ ระบบเตาเผาขยะมีระบบ จัดการมลพิษทางอากาศ ระบบฝังกลบขยะและบ่อกําจัดขยะมีการคัดแยกขยะอันตราย และการทําปุย๋ หมัก ช่วยลดปริมาณขยะอินทรียจ์ ากครัวเรือนและมีปุ๋ยหมักสําหรับใส่ต้นไม้ในชุมชน เป็นต้น 1.3 เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ อําเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ (ทม. บุรีรัมย์) ทม. บุรีรมั ย์ กําจัดขยะโดยมีบ่อกําจัดขยะ จํานวน 1 แห่ง กําจัดขยะได้จํานวน 70 ตัน/วัน คิดอัตราค่าบริการกําจัดขยะจํานวน 500 บาท/ตัน มีค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษาเครื่องมือปีละ 0.70 ล้านบาท มีบุคลากรรับผิดชอบจํานวน 12 คน โดย ทม. บุรีรัมย์ได้จัดทําบันทึกข้อตกลงในการบริหารจัดการ ขยะร่วมกับเทศบาล จํานวน 4 แห่ง อบต. จํานวน 2 แห่ง และจังหวัดทหารบกบุรีรัมย์ โดย ทม. บุรีรมั ย์ สนับสนุนงบประมาณ และอุปกรณ์ในการดําเนินงาน สําหรับเทศบาล อบต. และหน่วยงานอื่นสนับสนุน บุคลากรและร่วมกําหนดแผนการดําเนินงาน ประโยชน์ที่ ทม. บุรีรัมย์ ได้รับจากการบริหารจัดการขยะ คือ มีระบบคัดแยกขยะที่สามารถนําขยะที่ผ่านการคัดแยกกลับมาใช้ใหม่ แก้ไขปัญหามลพิษจากขยะมูลฝอยได้ เป็นต้น 1.4 เทศบาลตําบลลานกระบือ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร (ทต. ลานกระบือ) ทต. ลานกระบือ กําจัดขยะโดยมีบ่อฝังกลบขยะและการตั้งกองระบบเชิงกลชีวภาพ จํานวน 1 แห่ง โดยกําจัดขยะได้จํานวน 11 ตัน/วัน คิดอัตราค่าบริการกําจัดขยะจํานวน 350 บาท/ตัน มีค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษาเครื่องมือปีละ 12.50 ล้านบาท มีบุคลากรรับผิดชอบจํานวน 4 คน โดย ทต. ลานกระบือได้จัดทําบันทึกข้อตกลงในการบริหารจัดการขยะร่วมกับเทศบาล อบต. รวม 10 แห่ง มูลนิธิพัฒนาสีแ่ ยกอินโดจีนพิษณุโลก บริษทั คัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิลวงษ์วาณิชย์ และบริษัท ปตท. สํารวจ และผลิตปิโตรเลียมสยาม จํากัด(มหาชน) โดย ทต. ลานกระบือสนับสนุนงบประมาณ และเครื่องมือใน การดําเนินงาน สําหรับเทศบาล อบต.และหน่วยงานอื่นสนับสนุนงบประมาณ และสถานที่ดําเนินการ ประโยชน์ที่ ทต. ลานกระบือได้รับจากการบริหารจัดการขยะ คือ มีการคัดแยกขยะมูลฝอยและการรีไซเคิล วัสดุเหลือใช้ ทําให้ปริมาณขยะลดลงและสามารถนําขยะไปใช้ประโยชน์ 1.5 เทศบาลตําบลเกาะคา อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง (ทต. เกาะคา) ทต. เกาะคา กําจัดขยะโดยการทําปุ๋ยหมักจากขยะเปียก เป็นการคัดแยกขยะแล้วนํา ขยะเปียกไปทําปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยน้ําหมักชีวภาพ และมีบ่อฝังกลบขยะบนพื้นดิน กําจัดขยะได้จํานวน 250 ตัน/วัน มีค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษาเครื่องมือปีละ 1.30 ล้านบาท มีบุคลากรรับผิดชอบจํานวน 15 คน โดย ทต. เกาะคาได้จัดทําบันทึกข้อตกลงในการบริหารจัดการขยะร่วมกับเทศบาล จํานวน 6 แห่ง โดย ทต. เกาะคาสนับสนุนงบประมาณ และเครื่องมือในการดําเนินงาน เทศบาลอื่นสนับสนุนงบประมาณ และ จัดทําแผนในการดําเนินงาน ประโยชน์ที่ ทต. เกาะคา ได้รับจากการบริหารจัดการขยะ คือ มีการคัดแยกขยะ และกําจัดขยะถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีการจัดการขยะแบบครบวงจร และมีการแปรรูปขยะและวัสดุเหลือ ใช้เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถจําหน่ายและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน เป็นต้น 1.6 เทศบาลตําบลพนา อําเภอพนา จังหวัดอํานาจเจริญ (ทต. พนา) ทต. พนา กําจัดขยะโดยการทําปุ๋ยหมัก และการทําน้ําปุ๋ยชีวภาพ มีบุคลากรรับผิดชอบ จํานวน 15 คน โดย ทต. พนา ได้จัดทําบันทึกข้อตกลงในการบริหารจัดการขยะร่วมกับ อปท. จํานวน 4 แห่ง โดย ทต. พนา สนับสนุนงบประมาณ และเครื่องมือในการดําเนินงาน รวมทั้งให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน - 37


ในการบริหารขยะแบบครบวงจร ส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะจากครัวเรือนและนําไปขายสร้างรายได้ และมี การติดตามประเมินผลงานทุก 3 เดือน เพือ่ ให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน โดย อปท. อื่นสนับสนุน บุคลากร และร่วมกําหนดแผนการดําเนินงาน ประโยชน์ที่ ทต. พนา ได้รับจากการบริหารจัดการขยะ คือ สามารถนําขยะที่ผ่านการคัดแยกกลับมาใช้ใหม่ สามารถนําขยะอินทรีย์มาแปรรูปเป็นปุ๋ยชีวภาพ และแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน เป็นต้น 2. วิเคราะห์ผลการติดตามและประเมินผลการดําเนินการบริหารจัดการขยะในรูปแบบความร่วมมือ ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พบว่า อปท. มีวิธีการบริหารจัดการขยะจํานวน 4 วิธี ได้แก่ 1) ระบบกําจัดขยะมูลฝอยด้วย เตาเผาขยะ 2) ระบบฝังกลบขยะและบ่อฝังกลบขยะที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล 3) การวางกองที่ไม่ถูกหลัก สุขาภิบาล และ 4) การทําปุ๋ยหมัก และ อปท. มีการบริหารจัดการขยะตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 2.1 อปท. ขนาดใหญ่ในลักษณะสังคมเมือง พบว่า มีปริมาณขยะจํานวนมาก และไม่มกี ารคัดแยกขยะจากครัวเรือน โดยมี กรณีศึกษา2 กรณี ได้แก่ 2.1.1 กรณีจังหวัดภูเก็ต เทศบาลนครภูเก็ตมีการบริหารจัดการขยะแบบผสมผสาน ได้แก่ 1) ระบบ เตาเผาขยะและสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) 2) การฝังกลบ และ 3) การทําปุ๋ย หมัก ทั้งนี้ การบริหารจัดการขยะดังกล่าว สามารถกําจัดขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวันได้ โดย อปท. แต่ละแห่ง มีหน้าที่ขนขยะไปยังจุดรับขยะไปกําจัด และเทศบาลนครภูเก็ตรับผิดชอบขนขยะให้สําหรับ อปท. ที่ไม่มีรถ ขนขยะ โดยคิดค่าธรรมเนียมในการขนและกําจัดขยะ และเทศบาลนครภูเก็ตมีความคุ้มทุนในการดําเนินงาน 2.1.2 กรณีจังหวัดระยอง อบจ. ระยอง มีการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร กําจัดขยะโดยวิธีฝังกลบ อย่างถูกหลักสุขาภิบาล มีการก่อสร้างโรงไฟฟ้าเพื่อแปลงขยะเป็นพลังงานไฟฟ้าขายให้กับ กฟภ. และมี กระบวนการคัดแยกขยะ ได้แก่ ขยะอินทรีย์และขยะที่เหลือจากการคัดแยกจะนําไปฝังกลบอย่างถูกหลัก สุขาภิบาล ขยะรีไซเคิลและเศษพลาสติกมีการนําส่งโรงงานแปรรูป นอกจากนี้ มีการแปรรูปขยะมูลฝอย เป็นทุน และการทําปุ๋ยหมักชีวภาพ 2.2 อปท. ขนาดเล็กในลักษณะสังคมชนบท พบว่า ส่วนใหญ่เป็นขยะในครัวเรือน ขยะมูลฝอยจากการอุปโภคและบริโภค การกําจัด อาจเป็นการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล หรือการทําปุ๋ยหมัก โดยมีกรณีศึกษา ได้แก่ กรณีจังหวัดลําปาง เทศบาลตําบลเกาะคามีการบริหารจัดการขยะ โดยมีศูนย์ประสานและบริหารจัดการร่วมด้านการจัดการขยะ โดยการฝังกลบขยะบนพื้นดิน โดย อปท. นําขยะที่ผ่านการคัดแยกมายังที่กําจัดขยะ และ อปท. แต่ละแห่ง ที่เป็นภาคีสมาชิกอุดหนุนงบประมาณปีละ 100,000 บาท เป็นค่ากําจัดขยะและค่าบริหารจัดการศูนย์ฯ มีการกําจัดขยะโดยการทําปุ๋ยหมักจากขยะเปียก มีการรณรงค์ให้คัดแยกขยะจากครัวเรือน และนํากลับมา ใช้ใหม่ นอกจากนี้ เทศบาลใช้กระบวนการจัดการโดยคนในชุมชน สร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของท้องถิ่น ทําให้ประสบความสําเร็จในการบริหารจัดการขยะ - 38


3. การดําเนินงานในลักษณะรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. อปท. ส่วนใหญ่ร่วมดําเนินการในลักษณะการจัดทําบันทึกข้อตกลงร่วมกัน และบางแห่ง มีการจัดทําโครงการร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะได้มาตรฐาน สูงขึ้น คุ้มค่าและเกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง นอกจากนี้ การร่วมดําเนินงานตามความร่วมมือของ อปท. ส่วนใหญ่ อปท. ที่เป็นเจ้าภาพมีการสนับสนุนงบประมาณ บุคลากร เครื่องมือ และกําหนดแผนการ ดําเนินงาน และ อปท. อื่น ๆ ส่วนราชการต่าง ๆ ร่วมสนับสนุนงบประมาณ และร่วมจัดทําแผนการดําเนินงาน 4. การบริหารจัดการเกี่ยวกับการกําหนดความรับผิดชอบร่วมกัน รายได้ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการโครงการ การดูแลบํารุงทรัพย์สิน เครื่องมือ และอุปกรณ์ ส่วนใหญ่ อปท. เจ้าภาพ รับผิดชอบบํารุงรักษา มีข้อตกลงร่วมกันในการดูแลทรัพย์สิน และมีการทําหลักฐานการยืมและคืนเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ และกรณีเกิดความเสียหาย อปท. เจ้าภาพ รับผิดชอบ หรือกรณีจ้างเหมาบริการ เอกชนจะรับผิดชอบตามข้อตกลง 5. ผลลัพธ์ที่ได้เปรียบเทียบก่อนและหลังดําเนินโครงการในลักษณะรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. 5.1 ก่อนดําเนินการ พบว่า ประชาชนไม่มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง อปท. แต่ละแห่ง ไม่มีสถานที่รวบรวมและกําจัดขยะ มีการกําจัดขยะไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ขาดงบประมาณใน การดําเนินงาน และประชาชนขาดความรู้ในการกําจัดขยะ 5.2 หลังดําเนินการ มีการบริหารจัดการขยะในรูปแบบความร่วมมือ พบว่า อปท. มีการ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกําจัดขยะ และคัดแยกขยะจากต้นทาง ทําให้ อปท. สามารถนําขยะ ที่ผ่านการคัดแยกมาเข้าสู่กระบวนการ โดยร่วมมือกับ อปท. ในจังหวัดเดียวกัน และมีผู้เชี่ยวชาญมาให้ คําปรึกษาในการกําจัดขยะตามหลักสุขาภิบาล ทําให้กําจัดขยะได้มาก ส่งผลให้สภาพแวดล้อมดีขึ้น 5.3 ปัจจัยแห่งความสําเร็จ พบว่า อปท. และชุมชนมีการวางแผนและการประสานงานที่ดี และ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณอย่างต่อเนื่อง มีองค์ความรู้และต้นแบบที่ดีในการดําเนินงาน จึงเกิด ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง อปท. ด้วยกัน และประชาชน ส่งผลให้เกิดความร่วมมือในการบริหารจัดการขยะ 5.4 แผนการดําเนินงานในอนาคต อปท. ขนาดใหญ่จะพัฒนาการบริหารจัดการขยะ ในภาพรวมแบบครบวงจร เช่น อบจ. ระยอง จะก่อสร้างอาคารคัดแยกขยะมูลฝอยพร้อมติดตั้งเครื่องจักร ระบบคัดแยกขยะ และเทศบาลนครภูเก็ตมีแผนจัดทําอุทยานการเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น สําหรับ อปท. ขนาดเล็ก เช่น เทศบาลตําบลเกาะคา มีแผนจัดทําระบบการคัดแยกขยะที่สามารถนําขยะ เชื้อเพลิงไปขายให้กับบริษัทเอกชนเป็นรายได้ให้แก่เทศบาล และเทศบาลตําบลลานกระบือมีการบริหาร จัดการขยะแบบเชิงกลและชีวภาพเป็นแบบระบบเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงขยะ เป็นต้น 6. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของ อปท. การบริหารจัดการขยะในรูปแบบความร่วมมือมีปัญหาในการดําเนินงาน คือ ประชาชน ไม่คัดแยกขยะจากต้นทาง ทําให้เกิดขยะสะสม มีเครื่องมือ เครื่องจักรไม่เพียงพอรองรับปริมาณขยะทีม่ ีจํานวน มาก และขาดงบประมาณในการดําเนินงาน ไม่มีกฎหมายรองรับการดําเนินงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะ ในรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. โดย อปท. ขนาดใหญ่มีข้อเสนอแนะว่า ส่วนกลางควรจัดสรรงบประมาณ ในการบริหารขยะแบบครบวงจรในภาพรวมของจังหวัด ควรสนับสนุนเครื่องมือ และให้คําปรึกษาด้านเทคนิค - 39


แก่ อปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะและการดําเนินงาน ในรูปแบบความร่วมมือระหว่าง อปท. ให้สามารถดําเนินการได้ 7. แนวทางการดําเนินงานและข้อเสนอแนะ 7.1 สกถ. บรูณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ในการให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการจัดการขยะที่สอดคล้องกับบริบทของ อปท. รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณให้แก่ อปท. ในการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ 7.2 กระทรวงมหาดไทยควรกําหนดมาตรการสนับสนุน อปท. ที่มีการบริหารจัดการขยะ ในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความร่วมมือจากประชาชน ชุมชน ในการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง 7.3 กระทรวงมหาดไทยควรส่งเสริม อปท. ให้มีการรวมกลุ่มเพื่อบริหารจัดการขยะ อย่างครบวงจร ตามความสามารถของ อปท. และใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยการจัดการขยะภายใน กลุ่ม อปท. จะช่วยลดปริมาณขยะของจังหวัดในภาพรวมได้ 7.4 องค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือเทศบาลควรเป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการ อปท. และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในจังหวัดในการเป็นศูนย์กลางรวบรวมขยะอันตรายจากชุมชน และนําไปกําจัด อย่างถูกต้อง โดยร่วมกันในการออกค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน

- 40


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญประจําเดือนตุลาคม 2558 6 ตุลาคม 2558 1. เรื่อง ทบทวนหลักเกณฑ์การจ่ายปันผลแก่ผู้ถือหุ้นธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2535 เรื่องหลักเกณฑ์การจ่ายเงินปันผลแก่ผถู้ ือหุ้นธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ซึ่งมีหลักการในการจ่ายเงินปันผลในส่วนของ กค. จากเดิมกําหนดให้จ่ายโดยการซื้อหุ้นเพิ่มทุน ธ.ก.ส. เป็น การจ่ายปันผลในลักษณะเงินนําส่งคลังเช่นเดียวกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น 2. เรื่อง การโอนเงินหรือสินทรัพย์ของกองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เพื่อชําระคืนต้น เงินกู้และดอกเบี้ย FIDF 1 และ FIDF 3 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ให้โอนเงินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและ พัฒนาระบบสถาบันการเงิน (กองทุนฯ) เข้าบัญชีสะสมเพือ่ การชําระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหายของกองทุน เพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (บัญชีสะสมฯ) ในปีงบประมาณ 2559 จํานวน 14,000 ล้านบาท โดยให้กองทุนฯ ทยอยโอนเงินดังกล่าวเข้าบัญชีสะสมฯ ตามปริมาณสภาพคล่องของกองทุนฯ ทั้งนี้ ในระหว่าง ปีงบประมาณ 2559 หากกองทุนฯ ได้รับเงินที่มีนัยสําคัญให้พิจารณาทบทวนเพื่อขออนุมัตินําส่งเงินเข้าบัญชีสะสม ฯ เพิ่มเติมต่อไป สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงานว่า 1. ในปีงบประมาณ 2558 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้กองทุนฯ โอนเงินเข้าบัญชีสะสมฯ ชําระคืนต้นเงินกู้ และดอกเบี้ย FIDF 1 และ FIDF 3 จํานวน 3 ครั้ง เป็นจํานวนเงินทั้งสิ้น 65,029 ล้านบาท โดยกองทุนฯ ได้ทยอยโอนเงินจํานวนดังกล่าวชําระต้นเงินกู้ FIDF 1 และ FIDF 3 ไปแล้ว 52,629 ล้านบาท ส่วนที่เหลือ 12,400 ล้านบาท จะโอนในเดือนกันยายน 2558 2. จากการทบทวนประมาณการกระแสเงินรับ – จ่ายของกองทุนฯ คาดว่า ณ สิ้นเดือนกันยายน 2559 กองทุนฯ จะมีสภาพคล่องคงเหลือ 15,598 ล้านบาท [ไม่รวมเงินปันผลรับจากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) เนื่องจากในปี 2559 คาดว่าจะมีการโอนหุ้นในส่วนที่กองทุนฯ ถือหุ้นไปบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติตามนโยบาย ทางการ] ซึ่งกองทุนฯ จะมีสภาพคล่องที่จะสามารถชําระต้นเงิน FIDF 1 และ FIDF 3 ในปีงบประมาณ 2559 ได้ 14,000 ล้านบาท 3. คณะกรรมการจัดการกองทุนในการประชุมเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2558 จึงเห็นควรนําเสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติให้โอนเงินของกองทุนฯ เพื่อชําระต้นเงินกู้และดอกเบี้ย FIDF 1 และ FIDF 3 ในปีงบประมาณ 2559 จํานวน 14,000 ล้านบาท โดยทยอยโอนเงินของกองทุนฯ เข้าบัญชีสะสมฯ ตามปริมาณ สภาพคล่องของกองทุนฯ และในระหว่างปีงบประมาณ 2559 หากกองทุนฯ ได้รับเงินที่มีนัยสําคัญจะพิจารณา ทบทวนเพื่อขออนุมัตินําส่งเข้าบัญชีสะสมฯ เพิ่มเติมต่อไป

- 41 -


3. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกองทุนการออมแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักการของมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกองทุนการออมแห่งชาติ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. กําหนดให้ผมู้ ีเงินได้สามารถหักลดหย่อนเงินสะสมเข้ากองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ในการคํานวณ เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามจํานวนที่จ่ายจริง ในลักษณะการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สําหรับเงินได้เท่าที่สมาชิกของ กอช. จ่ายเป็นเงินสะสมเข้า กอช. ทั้งนี้ เมือ่ รวมกับเงินสะสมในลักษณะทํานอง เดียวกันแล้วต้องไม่เกินกว่าจํานวนตามที่ประมวลรัษฎากรกําหนด 2. ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่สมาชิกของ กอช. หรือบุคคล ซึ่งสมาชิกของ กอช. ได้แสดงเจตนาไว้แก่ กอช. หรือทายาทของสมาชิก กอช. ได้รับจาก กอช. ในกรณีที่สมาชิก ของ กอช. สิ้นสมาชิกภาพเพราะอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ หรือมีกฎหมายกําหนดให้การสิน้ สมาชิกภาพเพราะเหตุอื่น ถือว่าเป็นการสิ้นสมาชิกภาพเพราะอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ หรือสิ้นสมาชิกภาพเพราะตาย 3. ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่สมาชิกของ กอช. ได้รับจาก กอช. ในกรณีทที่ ุพพลภาพก่อนอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ ทั้งนี้ การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามข้อ 1 – 3 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่ อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด 4. ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการของ กอช. 5. ยกเว้นอากรแสตมป์สําหรับการกระทําตราสารของ กอช. อนึ่ง สําหรับผลประโยชน์ของเงินสะสมที่สมาชิกของ กอช. ได้รับจาก กอช. ในกรณีทสี่ ิ้นสมาชิกภาพ เพราะลาออกจากกองทุน เห็นควรให้รวมคํานวณเงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเช่นเดียวกับ การลาออกจากกองทุนอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกัน สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงการคลัง รายงานว่า 1. เนื่องจาก กอช. มีวัตถุประสงค์และลักษณะการดําเนินการคล้ายคลึงกับกองทุนบําเหน็จบํานาญ ข้าราชการ (กบข.) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (กสล.) และกองทุนประกันสังคมกล่าวคือ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม การออมของประชาชนให้มีหลักประกันรายได้ระดับพื้นฐานในวัยสูงอายุ สมาชิก กอช. สมควรได้รับสิทธิประโยชน์ ทางภาษีในทํานองเดียวกันกับสมาชิก กบข. สมาชิก กสล. และสมาชิกกองทุนประกันสังคม นอกจากนี้ หากการดําเนินการของ กอช. ซึ่งคาดว่าส่วนใหญ่เป็นการทําธุรกรรมทางการเงินมีต้นทุนทีต่ ่ําจะช่วยเพิ่มผลประโยชน์ ที่สมาชิกของ กอช. ได้รับจาก กอช. อันเป็นการช่วยเหลือสมาชิกของ กอช. โดยเฉพาะสมาชิกที่มีรายได้น้อยให้มี รายได้เพียงพอยิ่งขึ้นแก่การดํารงชีพในยามชราภาพ 2. สมาชิกของ กอช. จะได้รับเงินหรือผลประโยชน์จาก กอช. ดังนี้ 2.1 เงินบํานาญในกรณีที่สนิ้ สมาชิกภาพเพราะอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (มาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติ กองทุนการออมแห่งชาติฯ) 2.2 เงินดํารงชีพในกรณีที่เงินบํานาญ มีจํานวนน้อยกว่าจํานวนเงินบํานาญขั้นต่ําที่กําหนด โดยกฎกระทรวง (มาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติฯ) 2.3 เงินสะสม เงินสมทบของรัฐบาล และผลประโยชน์ของเงินสะสมและเงินสมทบของรัฐบาล ในกรณี ที่สิ้นสมาชิกภาพเพราะตายก่อนอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ โดยจ่ายให้แก่บคุ คลทีส่ มาชิกแสดงเจตนาไว้ต่อกองทุนหรือ ทายาทของสมาชิก (มาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติฯ) 2.4 เงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสะสมทั้งหมดหรือบางส่วนในกรณีที่ทุพพลภาพก่อน อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (มาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติ) - 42 -


2.5 เงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสะสมในกรณีทสี่ ิ้นสมาชิกภาพเพราะลาออกจากกองทุน (มาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติ) 2.6 เงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสะสมในกรณีทสี่ มาชิกของ กอช. เป็นสมาชิกกองทุนหรืออยู่ใน ระบบบํานาญอื่นก่อนสิ้นสมาชิกภาพ และได้คงการเป็นสมาชิกของ กอช. ต่อไปโดยได้รับเงินสะสมและ ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินสะสมเมื่อสิ้นสมาชิกภาพ กล่าวคือ อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์หรือตายหรือลาออกจาก กองทุน (มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติ) 2.7 เงินชดเชยกรณีสิ้นสมาชิกภาพเพราะอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์หรือตาย แต่ในวันที่สิ้นสมาชิกภาพนั้น ผลประโยชน์ของเงินสะสมและเงินสมทบของรัฐบาลที่ได้รับตลอดช่วงอายุการเป็นสมาชิกคํานวณได้น้อยกว่าอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจําประเภท 12 เดือน โดยเฉลี่ยของธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร และธนาคารพาณิชย์แห่งใหญ่ 5 แห่ง โดยเงินชดเชยจะเท่ากับผลต่างระหว่างผลประโยชน์ของเงิน สะสมและเงินสมทบของรัฐบาลดังกล่าวกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําที่คํานวณได้ (มาตรา 44 แห่ง พระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติ) 4. เรื่อง มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้สาํ หรับเงินส่วนแบ่งกําไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่ นิติบุคคลบางกรณี คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบมาตรการยกเว้นภาษีเงินได้สําหรับเงินส่วนแบ่งกําไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือ คณะบุคคลทีม่ ใิ ช่นิติบุคคลบางกรณี 2. อนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการ ยกเว้นรัษฎากร และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดําเนินการต่อไปได้ สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงการคลังเสนอว่า 1. เนื่องจากพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 39) พ.ศ. 2557 กําหนดให้ยกเลิก มาตรา 42 (14) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งเป็นการยกเลิกการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินส่วนแบ่ง กําไรจากการประกอบกิจการของห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มใิ ช่นิติบุคคลอันมีผลทําให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือบุคคลในคณะบุคคลฯ จะต้องนําเงินได้สําหรับเงินส่วนแบ่งของกําไรมารวมคํานวณเพื่อเสีย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งมีผลกระทบต่อห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มใิ ช่นติ ิบุคคลบางส่วนที่มิได้มี เจตนาเข้ากันเพื่อประกอบกิจการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 การให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์รวมที่ได้มาโดยทางมรดก หรือที่ได้รบั จากการให้โดย เสน่หา ผู้เป็นหุน้ ส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญหรือบุคคลในคณะบุคคลฯ มิได้มีความประสงค์ที่จะเข้าร่วมกัน เพื่อประกอบกิจการตั้งแต่แรกเริ่ม 1.2 การเปิดบัญชีเงินฝากร่วมกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างเครือญาติส่วนใหญ่เป็นไปเพื่อ ความสะดวกในการเบิกเงิน ถอนเงิน หรือเพื่อชําระค่าสาธารณูปโภค รวมถึงการเปิดบัญชีร่วมกันในกรณีอื่น ๆ ที่ มิได้มีความประสงค์ที่จะเข้าร่วมประกอบกิจการ เช่น การเปิดบัญชีเงินสดย่อยของนิสิตมหาวิทยาลัย เป็นต้น 2. เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญหรือบุคคลในคณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิติบุคคล จึงสมควรกําหนดให้เงินส่วนแบ่งของกําไรจากเงินได้ดังกล่าวเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องนํามารวมคํานวณภาษีเงินได้

- 43 -


สาระสําคัญของร่างกฎกระทรวง 1. กําหนดยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสําหรับเงินได้ ดังต่อไปนี้ 1.1 เงินส่วนแบ่งของกําไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มใิ ช่นิติบุคคลซึ่งเป็นเงินได้ จากการ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์รวมอันได้มาโดยทางมรดกหรือได้รับมาจากการให้โดยเสน่หา ซึ่งต้องเสีย ภาษีเงินได้ตามส่วน 2 หมวด 3 ลักษณะ 2 แห่งประมวลรัษฎากร 1.2 เงินส่วนแบ่งของกําไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มใิ ช่นิติบุคคลซึ่งเป็นดอกเบี้ยเงินฝาก และถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จา่ ย ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ดังกล่าวไม่ขอรับเงินภาษีที่ถูกหักไว้คืนหรือ ไม่ขอเครดิตเงินภาษีที่ถูกหักไว้ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน 2. กําหนดให้รา่ งกฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับสําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป 13 ตุลาคม 2558 1. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการปรับลดอัตราภาษี เงินได้นิติบคุ คลเป็นการถาวร) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นการถาวร) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอและให้ส่งสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้วส่งให้คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติพจิ ารณา ก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป สาระสําคัญของร่างพระราชบัญญัติ 1. ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 ของกําไรสุทธิของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลให้คงจัดเก็บในอัตราร้อยละ 20 ของกําไรสุทธิของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นการถาวร ตั้งแต่รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป 2. ให้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรที่ถูกยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ยังคงใช้บังคับ ต่อไปเฉพาะในการปฏิบัติจัดเก็บภาษีอากรที่ค้างอยู่หรือที่พึงชําระก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ 2. เรื่อง ร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... [มาตรการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบคุ คลสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)] คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลด อัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... [มาตรการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs)] ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดําเนินการต่อไปได้ สาระสําคัญของร่างพระราชกฤษฎีกา 1. กําหนดให้มกี ารจัดเก็บอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมีทุนทีช่ ําระ แล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการใน รอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 30 ล้านบาท สําหรับช่วงกําไรสุทธิส่วนที่เกิน 300,000 บาทขึ้นไป ให้จัดเก็บในอัตรา ร้อยละ 10 ของกําไรสุทธิเป็นระยะเวลา 2 รอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2559

- 44 -


2. สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีหลังจากรอบระยะเวลาตามข้อ 1 ให้จัดเก็บในอัตรา ดังต่อไปนี้ 2.1 ร้อยละ 15 ของกําไรสุทธิ สําหรับกําไรสุทธิเฉพาะส่วนที่เกินสามแสนบาท แต่ไม่เกินสามล้านบาท 2.2 ร้อยละ 20 ของกําไรสุทธิ สําหรับกําไรสุทธิส่วนที่เกินสามล้านบาท 3. เรื่อง ร่างกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับแสตมป์สรรพสามิต จํานวน 2 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 ว่าด้วยวิธีการในการใช้แสตมป์สรรพสามิตและเครื่องหมายแสดงการเสียภาษี เพื่อให้ ปรากฎว่าได้เสียภาษีแล้ว และ ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษี สรรพสามิต พ.ศ. 2527 ว่าด้วยชนิดและลักษณะแสตมป์สรรพสามิต รวม 2 ฉบับ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา และดําเนินการต่อไปได้ สาระสําคัญของร่างกฎกระทรวง 2 ฉบับ มีดังนี้ 1. ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 กําหนดวิธีการในการใช้แสตมป์สรรพสามิตสําหรับเครื่องดื่มเพื่อให้ปรากฏว่าได้เสียภาษีแล้ว ดังนี้ กฎกระทรวง (เดิม) ร่างกฎกระทรวง (ใหม่) ข้อ 1 (3) สําหรับเครื่องดื่ม ให้ปิดแสตมป์สรรพสามิต ข้อ 1(3) สําหรับเครื่องดื่ม ให้ปิดแสตมป์สรรพสามิต ที่ปากภาชนะที่บรรจุเครื่องดื่มในลักษณะซึ่งถ้าได้เปิด 1 ดวง ที่ ภาชนะบรรจุเครื่ องดื่ ม ให้แ นบสนิ ทจนไม่ ภาชนะนั้นแล้วแสตมป์สรรสามิตนั้นจะต้องถูกทําลาย สามารถแกะลอกมาใช้ ซํ้าได้ ในตํ าแหน่งที่ สามารถ มองเห็นได้ชัดเจนตามชนิด ดังนี้ (ก) เครื่ อ งดื่ ม บรรจุ ภ าชนะประเภทขวด ให้ ปิ ด แสตมป์สรรพสามิตที่ด้านบนของฝาหรือจุก หรือสิ่ง ผนึ ก ภาชนะอื่ น ซึ่ ง ใช้ ผ นึ ก ภาชนะนั้ น ได้ ใ นทํ า นอง เดียวกับฝาหรือจุกของเครื่องดื่มนั้น (ข) เครื่องดื่มบรรจุภาชนะประเภทกล่อง กระป๋อง หรือภาชนะบรรจุอื่น ๆ ให้ปิดแสตมป์สรรพสามิตที่ ด้านบน หรือด้านข้างของภาชนะบรรจุเครื่องดื่มนั้น ไม่มี ข้ อ 2 การใช้ แ สตมป์ ส รรพสามิ ต ตามกฎกระทรวง ฉบั บ ที่ 15 ฉบั บ ที่ 21 และฉบั บ ที่ 22 สํ า หรั บ ปิ ด ภาชนะบรรจุเ ครื่ อ งดื่ม ที่ ผ ลิ ตในราชอาณาจัก รให้ ผู้ ประกอบอุตสาหกรรมมีหน้าที่ปิดและขีดฆ่าแสตมป์ ทุกดวงที่ใช้ โดยให้ใช้วิธีการปิดแสตมป์สรรพสามิตที่ ปากภาชนะบรรจุเครื่องดื่มในลักษณะ ซึ่งถ้าได้เปิด ภาชนะนั้ น แล้ ว แสตมป์ ส รรพสามิ ต นั้ น จะต้ อ งถู ก ทําลาย โดยให้ใ ช้วิธีการดังกล่าวไปจนกว่าจะมีการ ยกเลิกลักษณะแสตมป์ดังกล่าว

- 45 -


2. ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 กําหนดชนิดและลักษณะแสตมป์สรรพสามิตสําหรับเครื่องดื่มที่นําเข้ามาในราชอาณาจักร ดังนี้ กฎกระทรวง (เดิม) ไม่มี

ร่างกฎกระทรวง (ใหม่) ข้ อ 3 (14) แสตมป์ เ ครื่ อ งดื่ ม สํ า หรั บ ใช้ ปิ ด ภาชนะ บรรจุเครื่องดื่มที่นําเข้ามาในราชอาณาจักร ทําด้วย กระดาษสีขาว และมีกระดาษแผ่นหลังเป็นแบบกลาส ซีน พื้นผิวด้านหน้ามีลักษณะกึ่งมันวาว เป็นรูปวงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาว 1.9 เซนติเมตร น้ําหนักรวม ของดวงแสตมป์ ไม่เกิน 150 gsm มีแถบวงกลมสีน้ํา เงิ น เข้ ม อยู่ ร อบนอกตรงกลางมี ต ราสั ญ ลั ก ษณ์ ก รม สรรพสามิตสีส้ม พื้นหลังตราสัญลักษณ์เป็นแถบรัศมีสี ส้มเข้มและสีส้มอ่อนสลับกัน ด้านล่างตราสัญลักษณ์มี ข้อความ “EXCISEDEPARTMENT” สีส้มบนพื้นสีขาว ระหว่างตราสัญลักษณ์และตัวอักษรมีแถบสีเขียวเข้ม อยู่ ทั้ ง สองด้ า น ด้ า นบนตราสั ญ ลั ก ษณ์ ถั ด จากแถบ วงกลมสี น้ํ า เงิ น เข้ ม ลงมาเป็ น แถบกึ่ ง วงกลมสี เ ขี ย ว ด้านซ้ายจรดตัวอักษร “E” และด้านขวาจรดตัวอักษร “T” โดยแถบกึ่งวงกลมสีเขียวนี้เมื่อมองด้านหน้าจะ เห็นเป็นสีเขียวและเมื่อเปลี่ยนมุมมองจะเห็นเป็นสีม่วง

4. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน (Venture Capital) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน (Venture Capital) 2. อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดําเนินการต่อไปได้ กค. เสนอว่า 1. เนื่องจากรัฐบาลได้มีนโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนของบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย และทรัสต์ ให้ประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนให้มากยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาตลาดการลงทุนในประเทศไทย และส่งเสริมให้ มีการลงทุนในกิจการเป้าหมายที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการประกอบกิจการตามประเภทอุตสาหกรรมที่ สํานักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกําหนด จึงสมควรกําหนดสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้แก่กิจการเงิน ร่วมลงทุนสําหรับการลงทุนในกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการประกอบธุรกิจ เพื่อสนับสนุนให้เกิดกิจ การเงินร่วมลงทุนที่สามารถเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการประกอบการที่มีการสร้างนวัตกรรมเพื่อนําไปสู่การผลิต และการบริการที่ทันสมัยก่อให้เกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของระบบเศรษฐกิจ 2. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุนให้มีการลงทุนในกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานใน การประกอบธุรกิจเป็นการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่บริษัท ซึ่งประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนและผูท้ ี่ลงทุนใน กิจการเงินร่วมลงทุนเป็นมาตรการที่มีความจําเป็นเร่งด่วน เพื่อให้เกิดการสร้างนวัตกรรมเพื่อนําไปสู่การผลิตและ การบริการที่ทนั สมัย ก่อให้เกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของระบบเศรษฐกิจ - 46 -


3. เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุนในการเป็นแหล่งเงินทุนให้กับกิจการทีม่ ีการใช้เทคโนโลยี หลักเป็นฐานในการสร้างมูลค่าเพิ่ม อันจะทําให้เกิดการกระตุ้นการลงทุนและการสร้างนวัตกรรมในภาคการผลิต และการบริการ กค. จึงได้เสนอมาตรการสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุนภายใต้หลักการ ดังนี้ 3.1 สิทธิประโยชน์ทางภาษีสําหรับกิจการเงินร่วมลงทุน 3.1.1 กําหนดให้กิจการเงินร่วมลงทุนได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับเงินปันผลที่รับจาก บริษัทเป้าหมาย ทั้งนี้ เฉพาะเงินปันผลในส่วนที่คํานวณได้จากการประกอบกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานใน การทําธุรกิจตามประเภทอุตสาหกรรมที่กําหนดและได้รับการรับรองจากโดย สวทช. 3.1.2 กําหนดให้กิจการเงินร่วมลงทุนได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับรายได้จากการโอน หุ้นของบริษัทเป้าหมาย ที่ตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าที่ลงทุน ทั้งนี้ บริษัทเป้าหมายต้องประกอบกิจการที่ใช้ เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจอย่างต่อเนื่องและก่อให้เกิดรายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบของรายได้ ทั้งหมดในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับรายงานจากการโอนหุ้น 3.1.3 กําหนดให้การยกเว้นภาษีเงินได้ข้างต้นเป็นระยะเวลาสิบรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน 3.2 สิทธิประโยชน์ทางภาษีสําหรับผู้ลงทุนในกิจการเงินร่วมลงทุน 3.2.1 กําหนดให้ผู้ลงทุนได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับเงินปันผลที่จ่ายโดยบริษัทซึ่งประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนหรือทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนทั้งนี้ เฉพาะเงินปันผลที่กิจการเงินร่วมลงทุนได้รับจากบริษัทเป้าหมายในส่วนที่คํานวณได้จากการประกอบกิจการที่ใช้ เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจตามประเภทอุตสาหกรรมที่กําหนดเเละรับรองโดยสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 3.2.2 กําหนดให้ผู้ลงทุนได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับรายได้จากการโอนหุ้นในบริษัทซึ่งประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน หรือรายได้จากการโอนหน่วยทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน ทั้งนี้ เฉพาะการโอนหุ้นที่ตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าที่ลงทุนโดยมี เงื่อนไขดังนี้ (1) กรณีกิจการเงินร่วมลงทุนไม่มีกําไรสะสมให้ผู้ลงทุนได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับรายได้จากการโอนหุ้นในบริษทั ซึ่งประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนหรือ รายได้จากการโอนหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อประกอบกิจการการเงินร่วมลงทุน ตามสัดส่วนการลงทุนของกิจการ เงินร่วมลงทุนที่ได้ลงทุนในบริษัทเป้าหมายซึ่งประกอบกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจ ทั้งนี้ บริษัทเป้าหมายต้องประกอบกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจอย่างต่อเนื่องและก่อให้เกิดรายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบของรายได้ทั้งหมดในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับรายได้จากการ โอนหุ้น (2) กรณีบริษทั ซึ่งประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนมีกําไรสะสมจากรายได้ที่ได้รับการยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลของกิจการเงินร่วมลงทุนไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบของกําไรสะสมทั้งหมดในรอบระยะเวลา บัญชีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับรายได้จากการโอนหุ้นนั้น ให้ผู้ลงทุนได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งจํานวน (3) กรณีทรัสต์เพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนมีกําไรสะสมจากรายได้จากการลงทุนใน บริษัทเป้าหมายในส่วนที่คํานวณได้จากกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจไม่น้อยกว่าร้อยละแปด สิบของกําไรสะสมทั้งหมดในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับรายได้จากการโอนหน่วยทรัสต์นั้น ให้ผู้ลงทุนได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคลทางจํานวน

- 47 -


(4) กําหนดให้ผู้ลงทุนได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับรายได้จากการที่บริษัทซึ่งประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนเลิกกิจการตามสัดส่วนกําไรสะสมจากรายได้ที่ได้รับ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทซึง่ ประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน ซึ่งตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าทุน หรือ รายได้จากการที่ทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนเลิกกันตามสัดส่วนกําไรสะสมที่คํานวณได้จากการลงทุนในบริษัท เป้าหมายเฉพาะส่วนที่เกิดจากการประกอบกิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจ ซึ่งตีราคาเป็นเงินได้ เกินกว่าทุน 3.3 หลักเกณฑ์และเงื่อนไข 3.3.1 บริษัทเป้าหมายต้องเป็นบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยซึ่งประกอบกิจการ ที่ใช้ เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน และไม่เป็นบริษัททีจ่ ดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3.3.2 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในการทําธุรกิจ ได้แก่ กิจการซึ่งใช้เทคโนโลยีหลัก ตามหลักเกณฑ์ท่ี สวทช. ประกาศกําหนด เป็นฐานในการออกแบบและพัฒนาเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตหรือ ให้บริการอย่างเป็นระบบตามที่กําหนด และได้รับการรับรองโดย สวทช. โดยกรณีมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ให้ สวทช. สามารถเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากบริษัทผู้ขอรับรองในการประกอบธุรกิจประเภทอุตสาหกรรม 10 ประเภท ดังต่อไปนี้ 1) อุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร 2) อุตสาหกรรมเพื่อประหยัดพลังงานผลิตพลังงานทดแทน และพลังงานสะอาด 3) อุตสาหกรรมฐานเทคโนโลยีชีวภาพ 4) อุตสาหกรรมการแพทย์และสาธารณสุข 5) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อุตสาหกรรมบริการ และอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 6) อุตสาหกรรมวัสดุก้าวหน้า 7) อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องประดับ 8) อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน 9) อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ และบริการสารสนเทศ 10) อุตสาหกรรมฐานการวิจัย พัฒนาและ นวัตกรรมหรืออุตสาหกรรมใหม่ 3.3.3 เงินทุนของกิจการเงินร่วมลงทุน กรณีบริษทั ซึง่ ประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน ต้องมีทุนจดทะเบียนชําระแล้วขั้นต่ํา 20 ล้านบาท และกรณีทรัตส์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ต้องมีมลู ค่าเงินทุนชําระแล้วไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาท 3.3.4 สถานะของกิจการเงินร่วมลงทุน (1) เป็นบริษทั ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึง่ ได้จดแจ้งการเป็นกิจการเงินร่วมลงทุนกับ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และไม่ใช้สิทธิ ยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 อัฏฐารส แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุนเพื่อการลงทุนใน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (2) เป็นทรัสต์ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน ตามประกาศ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3.4 มาตรการข้างต้น จะส่งผลกระทบ ดังนี้ 3.4.1 กิจการเงินร่วมลงทุนจะเป็นแหล่งระดมทุนให้กบั ธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจเกิดใหม่ที่มี ศักยภาพอันจะเป็นการสร้างโอกาสให้กับธุรกิจที่มีนวัตกรรมของไทยได้มีโอกาสเติบโตต่อไป ทําให้เกิดการยกระดับ ขีดความสามารถเชิงการแข่งขันของประเทศ 3.4.2 เป็นการสนับสนุนให้กิจการเงินร่วมลงทุนมีส่วนในการกระตุ้นและผลักดันกิจการ เป้าหมายให้เข้าสู่ระบบการบริหารจัดการอย่างมืออาชีพและมีมาตรฐาน ซึ่งจะทําให้กิจการเป้าหมายเติบโตอย่าง มั่นคง และสามารถพัฒนาตนเองเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ได้ในทีส่ ุด - 48 -


3.4.3 การสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุนจะทําให้เพิ่มช่องทางการลงทุนให้มคี วาม หลากหลายยิ่งขึ้น อันจะเป็นการพัฒนาตลาดทุนไทยให้มคี วามเข้มแข็ง 3.4.4 จะทําให้กิจการเป้าหมายสามารถเติบโตได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน อันจะเป็นรากฐานที่ เข้มแข็งของเศรษฐกิจไทย 3.4.5 การยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรการเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุนดังกล่าว ไม่มี ผลกระทบต่อรายได้การจัดเก็บจากฐานภาษีเงินได้ในปัจจุบันเนื่องจากเป็นการยกเว้นภาษีให้กับการประกอบ กิจการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สาระสําคัญของร่างพระราชกฤษฎีกา 1. กําหนดให้บริษัทที่จะได้รับสิทธิประโยชน์นี้ ต้องเป็นบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยซึ่ง ประกอบกิจการที่รัฐต้องการสนับสนุน หรือประกอบกิจการที่รัฐต้องการสนับสนุน และประกอบกิจการอื่นด้วย และต้องไม่เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2. กําหนดกิจการที่ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมที่รัฐต้องการสนับสนุนรวม 10 ประเภท และ กิจการดังกล่าวต้องใช้เทคโนโลยีตามหลักเกณฑ์ที่ สวทช. ประกาศกําหนดเป็นฐานในการออกแบบและพัฒนาเพื่อ ใช้ในกระบวนการผลิตหรือให้บริการ และได้รับการรับรองจาก สวทช. 3. กําหนดให้ทรัสต์ที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ต้องเป็นทรัตส์ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อประกอบกิจการเงินร่วม ลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน 4. กําหนดให้หลักเกณฑ์การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ และคุณสมบัติของบริษัทซึ่งประกอบกิจการ ร่วมลงทุน ทรัสต์เพื่อกิจการร่วมลงทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์การยกเว้นภาษีเงินได้สําหรับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ที่มีเงินได้อันเนื่องมาจากการลงทุนในบริษัทซึ่งประกอบกิจการร่วมลงทุนหรือทรัสต์เพื่อกิจการร่วมลงทุน 5. เรื่อง มาตรการการเงินการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบในหลักการของมาตรการการเงินเพื่อส่งเสริมการให้สินเชื่อทีอ่ ยู่อาศัยแก่ผู้มรี ายได้น้อยและ ปานกลาง และมาตรการการคลังเพื่อลดภาระให้กับผูซ้ ื้ออสังหาริมทรัพย์ 2. เห็นชอบร่างประกาศกระทรวงมหาดไทยรวม 3 ฉบับ ดังนี้ 2.1 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรมตาม ประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารที่อยู่อาศัยตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะรัฐมนตรีกําหนด 2.2 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจัดสรรที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด 2.3 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม กฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีห้องชุดตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะรัฐมนตรีกําหนด 3. มอบหมายให้ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ประสานงานกับผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่อหาแนวทางในการลดภาระค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนและค่าธรรมเนียมการโอนให้กับผูซ้ ื้อทีอ่ ยู่อาศัย ตามมาตรการนี้ สาระสําคัญของเรื่อง 1. มาตรการการเงิน มีหลักการเพื่อสนับสนุนกลุ่มผู้มรี ายได้น้อยและรายได้ปานกลาง ให้สามารถกู้เงินจาก ธอส. โดยเงื่อนไข ที่กําหนดขึ้นเฉพาะเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยในวงเงินที่สูงขึ้น ซึ่งจะทําให้กลุ่มผู้กกู้ ลุ่มนี้รวมทั้งผูท้ ี่ถูกปฏิเสธสินเชื่อจาก - 49 -


ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ และยังช่วยกระตุ้นตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัยและภาคอสังหาริมทรัพย์ ของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้สนิ เชื่อเพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุดและเพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร โดย ธอส. จะกําหนดวงเงินให้กู้ต่อราย อัตราดอกเบี้ยและเงินที่ชําระหนี้ ในแต่ละงวดที่ผ่อนปรน เพื่อช่วยให้กลุ่มเป้าหมายได้รับสินเชื่อมากขึ้นเพียงพอที่จะมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง การดําเนินการตามมาตรการดังกล่าว รัฐบาลไม่จําเป็นต้องตั้งงบประมาณเพื่อชดเชยให้ ธอส. อย่างไรก็ดี ธอส. ขอให้ไม่นับรวมหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non Performing Loan : NPL) ที่เกิดจากการดําเนินโครงการตาม มาตรการนี้เป็นหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้และขอผ่อนผันตัวชี้วัดในเรื่องการปล่อยสินเชื่อในวงเงิน 1.5 ล้านบาทต่อ ราย ตามเกณฑ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ ทั้งนี้ มีวงเงินโครงการประมาณ 10,000 บาท และ ธอส. สามารถเพิ่มวงเงินได้ตามความเหมาะสม และมีกําหนดระยะเวลารับคําขอและการดําเนินการ 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2558 และให้ ธอส. สามารถขยายระยะเวลาได้ตามความเหมาะสม โดยมีระยะเวลากู้ สูงสุดไม่เกิน 30 ปี 2. มาตรการการคลัง มี 2 มาตรการ ดังนี้ 2.1 กําหนดมาตรการเพื่อเป็นการลดภาระให้กับผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ (ในส่วนความรับผิดชอบ ของกระทรวงมหาดไทย) โดยกําหนดเป็นร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย ดังนี้ 2.1.1 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารที่อยู่อาศัยตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรี กําหนด เป็นการกําหนดให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนการโอนและค่าจดทะเบียนการจํานองอสังหาริมทรัพย์ร้อยละ ศูนย์จุดศูนย์หนึ่ง (0.01) สําหรับการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารที่อยู่ประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝดบ้านแถว และอาคารพาณิชย์ และมิใช่ที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดินหรือที่ดําเนินการจัดสรรที่ดินโดยทางราชการ หรือองค์การของรัฐบาล ซึ่งมีอํานาจจัดสรรที่ดินตามกฎหมาย 2.1.2 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจัดสรรที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรร ที่ดินตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด เป็นการกําหนดให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนการโอนและค่า จดทะเบียนการจํานองอสังหาริมทรัพย์ร้อยละศูนย์จุดศูนย์หนึ่ง (0.01) สําหรับกรณีการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ดังต่อไปนี้ (1) เป็นที่ดิน อาคาร หรืออาคารพร้อมที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรหรือที่ ดําเนินการจัดสรรที่ดินโดยทางราชการหรือองค์การของรัฐบาลซึ่งมีอํานาจหน้าที่ทําการจัดสรรที่ดินตามกฎหมาย (2) เป็นอาคารประเภทดังต่อไปนี้ (ก) บ้านเดี่ยว (ข) บ้านแฝด (ค) บ้านแถว (ง) อาคารพาณิชย์ 2.1.3 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีห้องชุดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด เป็นการกําหนดให้เรียก เก็บค่าจดทะเบียนการโอนและค่าจดทะเบียนการจํานองห้องชุดร้อยละศูนย์จุดศูนย์หนึ่ง (0.01) สําหรับกรณีการ ซื้อขายห้องชุด การโอนกรรมสิทธิ์และการจํานองห้องชุดทั้งหมดหรือห้องชุดในอาคารชุดซึ่งจดทะเบียนนิติบุคคล อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ทั้งนี้ ร่างประกาศทั้ง 3 ฉบับ ให้มีผลใช้บังคับเป็นเวลา 6 เดือน ตั้งแต่ วันที่รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยลงนามในร่างประกาศดังกล่าว 2.2 เพื่อเป็นการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ในส่วนความรับผิดชอบของกระทรวงการคลัง) สําหรับรายได้ที่จ่ายไปเพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุดที่มีมูลค่าไม่เกิน 3 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยของตนเองเป็นจํานวนร้อยละ 20 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ โดยมีหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขดังนี้ - 50 -


(1) ต้องใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อเนื่องกัน 5 ปีภาษี นับแต่ปีภาษีที่มีการจด ทะเบียนการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ โดยให้แบ่งใช้สิทธิเป็นจํานวนเท่า ๆ กันในแต่ละปีภาษี (2) ต้องจ่ายค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ และจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์ตั้งแต่ วันที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 (3) มีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ทซี่ ื้อเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันที่จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์ (4) ไม่เคยมีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์มาก่อน (5) ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด ซึ่งกระทรวงการคลัง จะดําเนินการออกกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วต่อไป 20 ตุลาคม 2558 1. เรื่อง การปรับปรุงมาตรการภาษีเพือ่ ส่งเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญ่ข้ามประเทศ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอการปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริม การจัดตั้งสํานักงานใหญ่ข้ามประเทศ (International Headquarters: IHQ)โดยยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับ รายรับจากการบริหารเงินทั้งหมดของ IHQโดยปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการจัดตั้ง IHQ ในส่วนการ ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะให้แก่ IHQ ตามมาตรา 12 แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่า ด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 586) พ.ศ. 2558 จากการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับรายรับของ IHQ จากการให้กู้ยืมแก่วิสาหกิจในเครือที่เป็นการบริหารเงิน เป็นการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับรายรับของ IHQ จากการบริหารเงินโดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม 2558

- 51 -


สถิติด้านการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี หน่วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นติ ิบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อืน่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอนื่ ๆ รายได้อนื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีหินอ่อนและหินแกรนิต ภาษีซเี มนต์ ภาษีไม้ขดี ไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อนื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีอนื่ ๆ 2. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สทุ ธิ GDP (ปีปฏิทิน) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทิน (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

261,043 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,030 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 696 294 7 38 1 2 621 19 8 86,246 85,082 11 1,153 449,319 76,048 42,896 33,152 525,367

300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,791 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 74 157 10 56 2 6 105,909 104,651 11 1,247 532,505 75,603 36,701 38,902 608,108

366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546

444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143

508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 154 119 10 75 2 55 12 129,542 128,212 6 1,324 805,534 89,756 40,650 49,106 895,290

518,619 115,137 162,655 5,322 264 195,813 34,286 4,734 408 180,168 63,983 29,816 22,763 21,383 32,295 7,519 1,765 129 168 205 142 11 91 7 17 59 19 1 104,160 102,704 8 1,448 802,947 106,102 38,102 68,000 909,049

498,967 122,945 99,480 5,316 342 232,388 35,241 2,992 263 155,564 65,373 28,560 20,257 23,191 8,557 7,023 1,003 538 442 481 139 126 163 103 11 19 56 3 69,338 67,108 17 2,213 723,869 91,813 42,518 49,295 815,682

525,367 N/A N/A N/A N/A

41,432 38,354 3,078 10,348 556,328 3,263,439 17.0 N/A N/A

48,723 45,330 3,393 6,262 652,561 3,689,090 17.7 3,572,116 18.3

52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 4,217,609 17.9 4,107,453 18.4

37,813 34,148 3,665 7,473 850,004 4,638,605 18.3 4,533,732 18.7

58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 4,710,299 17.9 4,695,277 18.0

74,660 63,858 10,802 7,559 733,463 4,701,559 15.6 4,710,587 15.6


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี หน่วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นติ ิบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อืน่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ รายได้อนื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อนื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีอนื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สทุ ธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สทุ ธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทิน (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

452,318 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,893 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,094 66,994 36 1,064 684,305 109,043 52,679 56,364 793,348

461,321 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,824 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 581 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,340 100,257 56,182 44,075 817,597

499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,599 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 524 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,148 104,617 45,482 59,135 874,765

544,282 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 557 212 45 268 126 15 23 60 5 15 98,628 96,326 163 2,139 851,063 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,438

627,683 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,644 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 814 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,146 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,631

772,236 135,155 261,890 31,935 316,134 20,024 6,820 278 275,774 76,996 36,325 26,181 42,749 65,012 9,350 2,859 1,641 763 12,625 993 280 97 332 167 34 23 44 5 48 82 161 106,122 103,635 267 2,220 1,154,132 135,748 49,086 2,976 25,075 6,000 52,611 1,289,880

937,150 147,352 329,516 41,178 385,718 26,304 6,816 266 279,395 76,458 38,193 28,620 45,483 58,760 10,106 3,712 1,849 762 13,935 1,119 398 86 372 179 40 38 74 53 92 185 110,404 106,917 285 3,202 1,326,949 147,472 60,664 3,210 1,484 82,114 1,474,421

75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,113 709,113 4,789,821 14.8 4,739,558 15.0

57,037 47,358 9,679 3,198 7,278 750,084 750,084 5,069,823 14.8 4,989,221 15.0

77,921 65,682 12,239 3,732 7,698 785,414 785,414 5,345,013 14.7 5,304,426 14.8

79,902 65,769 14,133 4,109 8,234 867,193 16,525 850,668 5,769,578 14.7 5,628,548 15.1

80,149 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,939 40,604 968,335 6,317,302 15.3 6,168,364 15.7

115,574 96,947 18,627 6,368 11,226 1,156,712 47,726 1,108,986 6,954,271 15.9 6,757,787 16.4

131,219 109,625 21,594 7,451 12,421 1,323,330 58,400 1,264,930 7,614,409 16.6 7,454,607 17.0


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี หน่วย: ล้านบาท

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อืน่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ รายได้อนื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อนื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีอนื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สทุ ธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สทุ ธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทิน (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)

1,057,199 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,097 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,170 367 87 425 185 56 39 52 26 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,995 73,500 3,330 77,165 1,581,523

1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,232 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 16 111 202 90,626 88,169 345 2,112 1,497,052 206,725 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,777

1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,301 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,194 309 84 490 167 63 44 37 6 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,983 183,658 77,546 4,682 101,430 1,837,641

1,138,564 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,222 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,298

1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,860 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,037 400 64 452 190 39 27 26 3 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,592 235,452 140,031 3,868 91,553 2,003,044

1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 62 494 201 22 24 29 113 143 102,882 99,968 241 2,673 2,018,327 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,378

1,617,294 266,203 544,591 94,097 659,804 41,057 11,180 362 379,653 61,061 59,915 53,500 64,893 117,145 16,208 977 2,318 2,126 1,099 411 57 476 221 23 40 35 2 104 140 118,974 116,325 323 2,326 2,115,921 239,391 112,268 4,374 122,749 2,355,312

162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,001 57,312 1,339,689 8,400,655 15.9 8,252,527 16.2

181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,054 57,592 1,444,462 9,076,307 15.9 8,846,471 16.3

202,717 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,255 65,420 1,545,835 9,706,932 15.9 9,752,663 15.9

199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,654,016 14.6 9,443,365 14.9

208,733 160,052 48,681 11,096 13,005 1,770,210 65,736 1,704,474 10,802,402 15.8 10,614,376 16.1

230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,874 74,556 1,892,318 11,300,485 16.7 11,366,038 16.6

260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,843 88,965 1,975,878 12,354,656 16.0 11,775,760 16.8


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี หน่ วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบี ยร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 4. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปี ปฏิทิน) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปี ปฏิทิน (ร้อยละ) GDP (ปี งบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปี งบประมาณ (ร้อยละ)

2556 1,764,707 299,034 592,499 113,291 698,087 48,771 12,735 290 432,897 63,532 67,893 52,640 69,119 153,874 17,838 1,003 2,933 2,294 1,208 563 58 566 236 32 39 27 107 143 113,393 110,628 254 2,511 2,310,997 260,464 152,568 6,448 101,448 2,571,461 315,893 283,471 228,941 54,530 N/A 15,476 16,946 2,255,568 93,967 2,161,601 12,910,038 16.7 12,867,249 16.8

2557 1,729,819 280,945 570,118 102,165 711,556 53,034 11,663 338 382,731 63,403 61,001 64,654 76,559 93,473 16,622 519 2,585 2,074 1,157 684 55 552 224 27 35 21 107 136 117,740 114,647 269 2,824 2,230,290 272,645 130,527 5,427 136,691 2,502,935 331,234 291,007 226,086 64,921 8,610 15,439 16,178 2,171,701 97,041 2,074,660 13,148,601 15.8 13,074,771 15.9

2558 1,729,203 302,491 566,150 83,522 708,905 54,175 13,572 388 439,093 127,786 62,734 62,488 80,114 80,704 17,599 471 2,915 2,190 1,323 769 126 579 272 25 35 21 125 140 115,488 112,210 204 3,074 2,283,784 334,679 167,830 5,595 161,254 2,618,463 314,641 272,000 220,313 51,687 11,348 14,549 16,744 2,303,822 96,346 2,207,476 13,451,000 16.4 13,368,449 16.5

2559 (1 เดื อน) 110,846 21,828 25,423 57,874 4,558 1,131 32 38,454 12,140 4,602 4,911 7,072 7,765 1,336 30 243 208 96 51 10 36 23 3 2 2 8 11 9,499 9,338 26 135 158,799 31,703 11,592 118 19,993 190,502 25,198 21,600 18,000 3,600 798 1,500 1,300 165,304 165,304 N/A N/A N/A N/A

หมายเหตุ: 1. ข้อมูล GDP ปี 2536 - 2558 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 2. ผลการจัดเก็บรายได้ของกรมศุลกากรตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 เป็นตัวเลขก่อนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: ส่วนนโยบายรายได้ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายเดือน หน่วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นติ ิบุคคล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อืน่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสรุ าฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอนื่ ๆ รายได้เบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครีอ่ งหอม ภาษีแก้วและเครือ่ งแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชัน้ บรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก อืน่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอนื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.54 88,824 18,411 19,135 17 47,791 2,745 707 17 26,802 4,804 3,206 4,117 5,013 8,202 923 49 205 163 87 31 5 31 20 2 4 3 9 12 7,752 7,599 63 90 123,377 25,002 4,221 82 20,700 148,380

พ.ย.54 98,404 15,450 33,027 640 45,714 2,837 719 16 25,632 4,701 7,150 3,264 4,940 3,544 1,705 31 69 121 64 43 3 23 14 2 2 1 0.01 9 11 9,190 9,012 23 154 133,225 25,764 13,571 426 11,767 158,989

ธ.ค.54 91,520 18,155 16,639 54 52,020 3,706 914 31 30,755 4,923 6,214 5,941 6,488 5,271 1,520 57 47 142 75 79 1 36 13 1 2 2 8 11 10,291 10,061 27 204 132,566 11,789 8,793 160 2,836 144,355

ม.ค.55 99,215 27,377 16,475 14 51,665 2,816 766 102 27,908 5,514 4,313 4,715 5,573 6,123 1,162 64 147 150 96 53 5 43 18 3 2 3 9 12 9,760 9,549 3 208 136,883 15,325 6,459 1,580 7,286 152,208

ก.พ.55 113,459 21,977 25,910 7,648 53,808 3,198 896 21 30,531 5,245 4,761 4,631 5,802 8,370 1,142 72 200 170 108 31 5 58 17 2 1 2 2 9 12 9,709 9,531 22 156 153,698 19,149 14,736 620 3,793 172,847

ปีงบประมาณ 2555 มี.ค.55 เม.ย.55 110,475 105,826 32,109 26,879 17,071 17,734 935 664 55,599 56,659 3,788 3,009 948 857 26 24 37,620 32,213 5,151 4,897 6,195 5,363 5,812 4,411 6,796 5,449 11,460 9,908 1,569 1,540 92 77 216 243 194 198 107 103 27 22 5 5 54 48 19 21 2 2 3 4 2 3 9 9 12 12 11,195 10,317 10,874 10,128 66 24 255 165 159,291 148,355 15,981 25,262 5,012 4,195 270 654 10,699 20,413 175,272 173,617

13,553 12,270 1,283 1,040 826 132,961 132,961

18,234 16,564 1,669 1,012 908 138,836 138,836

15,409 14,104 1,304 1,198 1,084 126,665 126,665

15,490 14,114 1,377 1,074 1,011 134,632 134,632

25,190 20,412 4,778 1,249 1,017 145,391 7,155 138,236

26,956 18,040 8,916 1,303 1,198 145,815 5,845 139,969

23,409 15,946 7,463 1,265 995 147,948 7,615 140,333

พ.ค.55 277,714 22,403 121,712 72,530 56,276 3,605 1,160 27 31,324 5,128 4,043 3,629 5,190 11,198 1,543 94 197 186 90 26 7 36 20 2 2 4 9 11 11,314 11,077 28 209 320,351 20,106 15,338 120 4,648 340,457

มิ.ย.55 152,927 23,009 66,689 748 57,025 4,268 1,162 27 32,068 4,997 4,026 3,852 4,658 12,453 1,391 121 249 203 89 28 5 38 17 1 5 3 8 12 9,829 9,699 3 127 194,824 12,661 8,811 141 3,709 207,485

ก.ค.55 100,699 20,857 18,874 0 56,349 3,562 1,030 26 34,015 5,327 5,070 4,325 5,218 12,219 1,195 110 243 196 87 26 5 35 18 2 3 3 0.001 8 12 9,960 9,908 32 20 144,674 13,444 4,724 99 8,621 158,118

ส.ค.55 207,576 19,304 114,643 10,833 58,229 3,567 977 24 36,790 5,338 5,562 4,756 4,787 14,307 1,334 111 259 219 94 23 5 36 20 2 7 3 0.01 1 8 12 10,496 9,865 29 601 254,862 20,403 16,890 107 3,407 275,265

ก.ย.55 170,656 20,272 76,681 12 68,669 3,957 1,043 22 33,995 5,036 4,012 4,048 4,981 14,089 1,183 100 242 186 98 22 5 38 24 2 4 5 8 12 9,162 9,023 2 136 213,813 34,505 9,520 116 24,869 248,317

24,039 18,291 5,748 1,256 1,348 313,814 7,541 306,273

22,729 18,257 4,472 1,339 2,538 180,879 6,661 174,218

21,318 19,324 1,994 1,281 1,071 134,448 7,534 126,914

23,803 21,035 2,768 1,273 1,259 248,930 8,170 240,760

30,245 27,654 2,590 1,524 2,026 214,524 38,445 176,079


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายเดือน หน่วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อืน่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสรุ าฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอนื่ ๆ รายได้เบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก อืน่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอนื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.55 พ.ย.55 106,740 122,454 21,133 19,553 21,836 35,395 0.7 600 58,962 61,600 3,732 4,218 1,053 1,068 24 20 37,241 41,689 4,945 5,121 4,684 6,041 4,031 4,987 6,449 7,271 15,162 15,992 1,325 1,607 95 90 225 214 183 208 95 95 49 64 6 5 36 38 26 23 2 2 2 3 3 2 8 9 12 12 10,859 10,679 10,535 10,484 20 20 303 175 154,839 174,822 18,996 25,777 4,919 19,738 831 970 13,247 5,068 173,835 200,599

ปีงบประมาณ 2556 ธ.ค.55 ม.ค.56 ก.พ.56 มี.ค.56 เม.ย.56 พ.ค.56 มิ.ย.56 ก.ค.56 ส.ค.56 ก.ย.56 117,663 124,080 115,473 116,606 118,463 291,871 164,929 104,928 181,778 199,722 19,113 33,461 23,673 35,874 30,789 25,245 24,816 22,656 20,926 21,795 33,800 22,467 20,506 18,220 23,147 114,243 78,109 20,989 88,631 115,157 1,538 1,435 9,676 9 228 90,970 0.1 0.6 7,059 1,774 57,487 62,107 56,913 57,134 59,568 56,123 56,374 56,117 59,840 55,862 4,720 3,508 3,662 4,240 3,661 4,150 4,553 4,059 4,228 4,040 987 1,082 1,024 1,103 1,040 1,113 1,048 1,080 1,070 1,067 19 19 19 26 29 28 29 27 24 27 40,140 37,983 36,007 38,110 37,844 33,387 34,048 31,761 32,885 31,803 5,485 5,856 4,882 5,211 5,501 5,501 5,028 5,562 5,191 5,249 5,072 5,753 6,392 5,640 5,153 5,288 5,218 5,412 5,645 7,594 3,992 5,392 4,568 4,637 4,730 4,221 3,932 4,137 5,130 2,885 6,780 5,503 5,326 6,816 6,093 5,812 4,752 4,386 4,525 5,406 16,540 13,204 12,700 13,284 13,785 10,326 12,996 10,531 10,636 8,716 1,554 1,568 1,424 1,816 1,854 1,611 1,446 1,126 1,133 1,375 90 93 101 96 86 84 72 62 65 68 213 241 243 258 295 241 285 248 258 213 203 161 200 192 212 187 199 180 189 182 107 115 123 113 108 91 95 87 88 92 104 96 48 46 29 25 25 28 26 23 5 5 4 4 7 5 4 4 4 5 50 60 69 62 53 39 43 39 37 38 21 17 20 20 18 19 18 16 19 19 4 3 2 2 2 2 3 2 4 3 4 3 4 3 2 4 4 3 3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 10 11 10 9 9 9 8 8 8 9 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 9,533 9,895 8,595 9,107 8,948 8,637 8,714 9,688 9,677 9,060 9,378 9,814 8,338 8,897 8,804 8,453 8,523 9,357 9,211 8,833 39 37 23 24 27 20 3 22 16 3 136 78 235 194 140 146 155 307 442 200 167,337 171,958 160,076 163,823 165,255 333,895 207,691 146,376 224,340 240,586 40,320 14,959 25,311 21,657 26,924 29,152 10,250 16,352 21,255 9,511 35,810 5,620 19,461 6,376 4,399 18,486 7,548 5,961 17,968 6,283 1,629 240 420 246 662 107 121 110 116 996 9,099 5,431 15,034 21,863 10,559 2,582 10,281 3,171 2,232 2,881 207,657 186,917 185,387 185,479 192,179 363,048 217,942 162,728 245,594 250,097

24,357 22,251 2,106 1,332 1,180 146,966 146,966

18,129 16,983 1,146 1,293 1,247 186,988 186,988

23,516 21,618 1,898 1,313 1,234 174,537 174,537

20,759 17,687 3,072 1,371 1,308 163,480 163,480

27,095 20,696 6,399 1,234 991 156,067 156,067

32,750 21,995 10,754 1,326 1,276 150,128 150,128

27,958 17,264 10,694 1,378 1,283 161,560 32,385 129,175

23,731 17,428 6,303 1,177 1,287 336,853 7,249 329,603

23,943 19,338 4,604 1,277 2,635 190,087 7,022 183,065

21,305 18,900 2,405 1,241 1,069 139,113 8,499 130,614

19,452 17,104 2,348 1,310 1,284 223,548 7,745 215,803

20,478 17,677 2,801 1,224 2,152 226,243 31,067 195,177


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายเดือน หน่วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นติ ิบุคคล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อืน่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสรุ าฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอนื่ ๆ รายได้เบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครีอ่ งหอม ภาษีแก้วและเครือ่ งแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก อืน่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอนื่ ๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 4. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.56 พ.ย.56 112,332 118,159 22,094 20,613 23,685 33,865 0.1 1,154 61,045 57,073 4,396 4,460 1,085 971 26 23 36,625 34,994 5,204 5,014 5,837 3,452 7,069 7,830 7,552 8,070 9,153 8,592 1,164 1,523 74 50 219 179 190 135 96 81 67 68 6 2 36 36 23 14 4 3 5 2 2 2 8 10 12 12 10,400 9,983 10,257 9,843 2 2 141 138 159,357 163,136 44,051 26,180 7,168 18,411 250 260 36,633 7,509 203,407 189,316

ธ.ค.56 126,301 19,217 39,155 1,950 59,889 5,128 941 21 32,666 4,934 4,886 4,170 7,156 9,682 1,277 39 179 133 94 117 2 50 13 2 2 2 10 12 9,788 9,614 23 151 168,755 15,356 10,206 1,953 3,196 184,111

ม.ค.57 ก.พ.57 120,637 115,871 27,634 23,865 23,265 21,856 0.05 8,850 64,671 56,265 4,103 4,124 942 889 22 22 33,324 31,364 5,671 5,312 4,810 5,382 6,144 4,729 6,056 6,208 8,713 7,922 1,220 1,213 35 40 251 214 210 170 114 118 100 55 3 4 59 67 20 18 2 3 6 3 2 2 11 9 12 11 10,162 8,695 9,908 8,610 26 25 228 61 164,122 155,930 21,106 26,810 6,192 18,289 306 720 14,609 7,802 185,228 182,740

ปีงบประมาณ 2557 มี.ค.57 เม.ย.57 พ.ค.57 112,535 111,183 252,501 30,194 26,610 24,557 19,599 19,551 99,442 0.1 0.1 64,478 57,252 60,060 58,779 4,477 3,993 4,281 981 938 932 32 31 31 36,125 33,339 30,134 5,208 5,124 5,140 5,641 5,844 5,397 5,751 4,964 5,181 8,795 6,717 5,485 8,425 8,406 6,866 1,728 1,676 1,524 41 22 36 211 264 203 161 177 170 107 102 89 57 42 45 4 4 4 59 52 40 19 21 22 2 2 2 4 3 1 1 2 8 9 9 11 11 11 9,796 9,028 9,449 9,450 8,878 9,323 28 24 24 318 127 102 158,456 153,550 292,084 17,887 25,410 32,731 5,419 6,623 17,172 285 667 317 12,183 18,120 15,242 176,343 178,960 324,815

21,481 18,150 3,331 853 1,341 1,161 178,571 178,571

21,795 19,695 2,100 1,099 1,391 1,385 158,441 158,441

17,382 15,344 2,038 553 1,370 1,197 164,726 8,591 156,134

32,989 19,914 13,075 847 1,229 1,205 140,072 8,036 132,037

19,669 18,085 1,584 1,015 1,208 973 166,451 166,451

22,987 16,045 6,942 711 1,243 956 156,843 7,799 149,044

29,647 18,646 11,001 607 1,302 1,123 146,281 9,889 136,392

34,977 25,139 9,838 569 1,271 1,255 286,742 8,062 278,680

มิ.ย.57 180,339 23,623 78,322 15,420 57,491 4,482 964 36 28,003 4,757 5,436 4,510 5,140 6,250 1,395 31 223 157 81 24 2 41 15 2 2 2 7 10 9,533 9,344 24 166 217,875 13,384 9,024 197 4,163 231,259

ก.ค.57 110,035 21,450 21,953 1,574 59,482 4,553 989 33 27,768 5,560 4,420 4,318 5,093 6,542 1,236 45 228 207 83 39 4 35 18 2 3 2 7 11 10,526 9,800 23 703 148,329 15,471 6,147 144 9,180 163,799

ส.ค.57 175,683 20,050 82,924 7,088 60,499 4,173 918 30 28,026 5,380 4,653 4,944 4,954 6,213 1,319 48 211 178 94 32 9 38 20 3 3 2 9 12 9,583 9,367 23 193 213,291 22,164 18,672 156 3,336 235,456

ก.ย.57 194,245 21,038 106,500 1,649 59,049 4,864 1,113 32 30,363 6,099 5,244 5,045 5,333 6,709 1,348 58 203 187 99 39 11 39 22 2 2 2 10 12 10,797 10,252 47 498 235,404 12,094 7,204 172 4,718 247,499

25,713 19,044 6,669 901 1,239 2,559 200,848 7,456 193,392

23,081 20,038 3,043 522 1,256 1,101 137,838 8,285 129,553

20,937 19,055 1,883 422 1,308 1,064 211,724 6,668 205,056

20,348 16,932 3,416 511 1,280 2,199 223,161 32,254 190,907


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายเดือน หน่วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายได้เบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 4. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.57 111,838 21,260 23,368 16 61,214 4,718 1,231 30 33,935 5,852 7,272 5,099 6,721 6,755 1,596 50 233 183 105 68 9 43 24 2 5 2 9 12 10,303 10,084 22 198 156,076 45,740 8,614 162 36,963 201,815

พ.ย.57 119,201 20,864 34,180 669 58,010 4,344 1,108 26 32,589 5,130 5,570 5,803 7,040 6,931 1,451 48 244 195 99 78 8 39 22 2 4 2 10 12 9,728 9,562 19 146 161,518 24,559 19,006 352 5,200 186,076

ธ.ค.57 118,500 19,641 32,464 562 58,932 5,441 1,432 28 35,690 7,554 5,644 5,062 7,707 7,264 1,711 38 261 193 111 146 9 50 23 2 3 2 11 12 10,295 10,104 21 170 164,485 31,386 25,007 1,787 4,592 195,872

ม.ค.58 126,302 34,931 22,945 13 62,977 4,352 1,058 26 39,967 11,237 5,211 7,337 6,427 7,908 1,178 41 230 174 124 100 9 60 21 3 4 2 13 12 9,692 9,533 17 142 175,962 13,967 7,013 275 6,680 189,929

ก.พ.58 111,216 23,756 21,419 6,465 54,723 3,823 999 31 37,961 10,376 5,902 6,749 7,149 5,878 1,253 38 234 189 139 54 9 74 24 2 3 2 13 12 9,203 8,852 37 314 158,381 22,949 15,792 734 6,423 181,330

24,427 21,501 2,927 1,300 1,246 1,139 173,704 173,704

21,215 19,602 1,613 1,104 1,171 950 161,636 161,636

20,490 18,657 1,833 783 1,225 1,261 172,113 172,113

18,203 15,999 2,204 691 1,178 1,254 168,603 7,989 160,614

21,116 16,687 4,429 700 1,069 1,105 157,340 7,704 149,635

ปีงบประมาณ 2558 มี.ค.58 เม.ย.58 123,389 117,808 35,621 29,637 20,888 21,804 0.2 8 61,036 60,816 4,663 4,411 1,146 1,095 36 37 43,478 39,682 12,489 13,812 6,227 3,211 6,725 4,605 9,285 7,214 6,279 8,360 1,790 1,817 38 34 270 275 203 194 122 116 51 44 9 13 63 53 24 20 2 2 1 5 2 2 11 11 11 12 9,764 9,526 9,261 9,325 20 17 484 184 176,631 167,016 23,034 40,345 15,280 6,608 304 281 7,450 33,457 199,666 207,361 28,127 18,272 9,856 956 1,429 1,381 167,772 8,087 159,686

23,469 15,167 8,302 981 1,188 1,119 180,603 9,485 171,118

พ.ค.58 193,794 24,976 76,052 31,206 56,539 3,953 1,033 35 32,011 12,338 3,877 3,159 4,681 5,965 1,419 37 241 151 97 46 11 38 20 2 3 2 11 11 8,478 8,360 0.6 118 234,283 26,512 23,219 794 2,499 260,795

มิ.ย.58 229,125 26,029 96,931 40,606 59,785 4,602 1,135 38 36,563 13,315 4,713 4,128 5,876 6,440 1,487 40 251 155 112 47 15 44 26 2 2 2 10 12 9,270 9,093 11.7 166 274,958 21,487 13,681 180 7,627 296,446

ก.ค.58 110,362 22,798 23,928 4 57,540 4,944 1,114 34 35,242 11,534 5,225 4,700 5,958 6,028 1,219 40 226 170 92 50 9 36 20 2 2 2 9 12 8,992 8,817 26 150 154,596 17,332 9,894 256 7,181 171,928

ส.ค.58 180,362 21,237 91,701 3,972 58,047 4,290 1,083 32 36,817 12,252 5,173 4,520 6,465 6,467 1,352 33 219 188 102 46 11 40 22 3 3 2 9 12 10,722 10,033 11 677 227,901 28,543 16,226 211 12,106 256,444

25,734 18,522 7,212 647 1,109 1,227 232,078 7,662 224,416

26,041 21,257 4,784 842 1,300 2,642 265,621 8,613 257,009

18,800 17,000 1,800 1,121 1,137 1,106 149,764 7,180 142,584

19,000 17,000 2,000 1,037 1,200 1,000 234,207 7,438 226,768

ก.ย.58 187,430 59,331 100,486 21,819 4,627 1,133 34 35,156 11,896 4,709 4,600 5,593 6,430 1,327 33 230 195 103 40 14 38 26 2 2 2 8 11 9,513 9,186 1 326 232,099 38,715 7,382 259 31,074 270,814 25,000 21,000 4,000 1,186 1,300 2,300 241,028 32,188 208,840


ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายเดือน หน่วย: ล้านบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ปีงบประมาณ 2559 ต.ค.58 110,846 21,828 25,423 57,874

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

4,558

อากรแสตมป์

1,131

อื่นๆ

32

กรมสรรพสามิต

38,454

ภาษีน้ํามันฯ

12,140

ภาษียาสูบ

4,602

ภาษีสุราฯ

4,911

ภาษีเบียร์

7,072

ภาษีรถยนต์

7,765

ภาษีเครื่องดื่ม

1,336

ภาษีเครื่องไฟฟ้า

30

ภาษีรถจักรยานยนต์

243

ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายได้เบ็ดเตล็ด

208 96 51

ภาษีสถานบริการ(สนามม้า)

10

ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม

36 23 3 2

ภาษีไพ่

2

ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร

8 12 9,499

อากรขาเข้า

9,338

อากรขาออก

26

อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รัฐวิสาหกิจ

135 158,799 31,703 11,592 118 19,993

รวมรายได้จัดเก็บ

190,502

หัก

25,198

1. คืนภาษีของกรมสรรพากร

21,600

- ภาษีมูลค่าเพิ่ม

18,000

- ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 4. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร

3,600 798 1,500 1,300 165,304 165,304

หมายเหตุ: ผลจัดเก็บรายได้ของกรมศุลกากรตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2556 เป็นต้นไป เป็นตัวเลขก่อนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: ส่วนนโยบายรายได้ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


สัดส่วนรายได้ต่อ GDP (FY) หน่ วย: ร้อยละ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบี ยร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายได้อื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่นๆ 4. รวมรัฐ วิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์ 6. รวมรายได้จัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 อากรถอนคืนกรมศุลกากร 7.3 จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 7.4 เงินกันชดเชยส่งออก 8. รายได้สุทธิก่อนจัดสรรให้ อปท. 9. หักจัดสรรให้ อปท. 10. รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

12.57 1.98 4.42 0.55 5.17 0.35 0.09 0.004 3.75 1.03 0.51 0.38 0.61 0.79 0.14 0.05 0.02 0.01 0.19 0.02 0.01 1.48 1.43 0.004 0.04 1.12 0.86 0.81 0.04 19.78 2.03 1.76 1.47 0.29

12.81 2.06 4.54 0.68 5.06 0.37 0.09 0.003 3.32 0.86 0.43 0.35 0.54 0.72 0.13 0.04 0.02 0.01 0.19 0.01 0.004 1.17 1.13 0.004 0.03 0.94 0.93 0.89 0.04 19.16 2.24 1.97 1.67 0.30

12.65 2.18 4.35 0.74 4.91 0.39 0.08 0.003 3.25 0.87 0.47 0.38 0.59 0.63 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.003 1.10 1.00 0.004 0.02 1.04 1.36 0.91 0.03 19.26 2.28 2.05 1.70 0.36

13.08 2.10 4.72 0.76 5.16 0.26 0.08 0.003 2.85 0.69 0.43 0.38 0.55 0.59 0.13 0.04 0.02 0.02 0.001 0.01 0.003 1.02 0.99 0.005 0.02 1.04 0.84 0.80 0.05 18.84 2.32 2.08 1.78 0.29

12.06 2.10 4.15 0.96 4.57 0.19 0.08 0.002 3.08 0.96 0.47 0.40 0.52 0.52 0.13 0.03 0.02 0.02

11.91 1.96 4.28 0.64 4.73 0.22 0.08 0.002 3.82 1.44 0.50 0.40 0.55 0.73 0.13 0.02 0.02 0.02

13.34 2.08 5.05 0.72 5.08 0.31 0.09 0.002 3.52 1.04 0.50 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02

13.73 2.26 4.62 0.80 5.60 0.35 0.09 0.003 3.22 0.52 0.51 0.45 0.55 0.99 0.14 0.01 0.02 0.02

13.71 2.32 4.60 0.88 5.43 0.38 0.10 0.002 3.36 0.49 0.53 0.41 0.54 1.20 0.14 0.01 0.02 0.02

13.23 2.15 4.36 0.78 5.44 0.41 0.09 0.003 2.93 0.48 0.47 0.49 0.59 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02

12.93 2.26 4.23 0.62 5.30 0.41 0.10 0.003 3.28 0.96 0.47 0.47 0.60 0.60 0.13 0.00 0.02 0.02

0.01 0.006 0.85 0.82 0.004 0.03 0.92 0.93 0.89 0.04 17.84 2.33 2.11 1.67 0.44

0.01 0.004 0.92 0.88 0.002 0.03 0.86 1.36 1.32 0.04 18.87 2.19 1.97 1.51 0.46

0.01 0.004 0.91 0.88 0.002 0.02 0.87 0.94 0.90 0.04 19.57 2.27 2.02 1.66 0.37

0.01 0.003 1.01 0.99 0.003 0.02 1.04 0.99 0.95 0.04 20.00 2.47 2.21 1.83 0.38

0.01 0.004 0.88 0.86 0.002 0.02 0.79 1.24 1.19 0.05 19.98 2.46 2.20 1.78 0.42

0.10 0.17 17.75 0.78 16.97

0.11 0.15 16.93 0.69 16.23

0.11 0.12 16.98 0.65 16.33

0.12 0.12 16.52 0.67 15.85

0.10 0.12 15.51 0.57 14.94

0.10 0.12 16.68 0.62 16.06

0.11 0.13 17.30 0.66 16.65

0.13 0.13 17.53 0.76 16.78

0.12 0.13 17.53 0.73 16.80

0.01 0.01 0.90 0.88 0.002 0.02 1.05 1.04 1.00 0.04 19.14 2.53 2.23 1.73 0.50 0.07 0.12 0.12 16.61 0.74 15.87

0.01 0.01 0.86 0.84 0.002 0.02 1.21 1.30 1.26 0.04 19.59 2.35 2.03 1.65 0.39 0.08 0.11 0.13 17.23 0.72 16.51


Revenue Buoyancy (GDP: FY) หน่วย: ร้อยละ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบี ยร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายได้อื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่นๆ 4. รวมรัฐ วิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์ 6. รวมรายได้จัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 อากรถอนคืนกรมศุลกากร 7.3 จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 7.4 เงินกันชดเชยส่งออก 8. รายได้สุทธิก่อนจัดสรรให้ อปท. 9. หักจัดสรรให้ อปท. 10. รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2.07 0.88 2.50 2.81 2.13 3.04 -0.01 -0.41 0.13 -0.07 0.50 0.90 0.62 -0.93 0.78 2.89 1.23 -0.01 1.01 1.25 4.07 0.39 0.31 0.64 4.29 4.13 -1.67 2.29 0.76 1.39 1.31 1.31 1.27 1.54

1.20 1.44 1.28 3.48 0.78 1.53 0.62 -0.77 -0.18 -0.70 -0.62 0.17 -0.26 0.17 0.61 -0.47 0.82 5.09 1.06 0.40 -0.71 -1.20 -1.16 0.98 -2.68 -0.72 1.90 1.98 0.35 0.68 2.07 2.26 2.44 1.36

0.81 1.86 0.37 2.26 0.55 1.72 -0.25 -0.84 0.67 1.22 2.40 1.98 2.48 -0.92 1.25 0.79 -2.38 2.93 -7.42 0.16 -3.73 -0.81 -0.81 1.34 -1.05 1.61 7.91 1.34 -1.16 1.07 1.30 1.61 1.19 3.94

1.37 3.40 0.61 1.04 1.93 4.69 1.23 -7.10 1.55 4.49 -2.63 8.82 0.80 0.96 1.04 3.85 -0.30 -1.46 -1.23 -11.19 0.00 -1.59 1.03 -1.00 0.26 2.64 0.35 4.66 0.55 0.52 0.11 5.51 0.04 1.21 1.93 4.23 -9.61 0.11 3.54 1.44 -22.43 0.97 6.11 0.97 6.43 4.44 6.14 0.21 -7.89 1.73 4.60 -3.11 -2.05 -0.37 -2.53 5.21 5.79 0.77 2.63 1.19 0.94 1.12 0.51 1.56 2.93 -0.93 -14.10

0.89 0.42 1.28 -2.05 1.31 2.14 1.34 0.73 3.17 5.47 1.73 0.94 1.62 4.57 1.36 -3.88 1.86 2.56

2.80 1.86 1.90 3.51 3.71 -1.42 2.89 4.31 2.12 3.95 7.85 4.24 2.53 2.37 2.05 8.34 -0.21 -1.40 -3.23 -13.38 1.01 1.32 2.07 2.78 0.64 1.53 2.86 7.26 0.28 3.21 -3.77 -4.82 2.17 0.42 1.81 -0.89

0.98 -1.23 1.33 -3.75 0.95 -2.34 2.20 -6.09 0.63 1.20 2.03 5.42 1.50 -5.22 -2.15 10.26 1.51 -7.19 0.44 -0.13 1.44 -6.29 -0.17 14.15 0.70 6.67 3.38 -24.34 1.09 -4.23 0.29 -29.92 2.86 -7.36 0.85 -5.95

-0.18 -1.96 1.69 1.71 -4.69 2.30 0.46 5.19 5.42 0.10 1.53 0.49 0.38 0.11 1.38

0.67 0.87 0.83 0.97 6.01 -3.24 1.12 -3.60 -3.77 2.56 1.56 1.50 1.44 2.51 -2.07

0.28 -0.86 4.34 4.54 9.34 -3.61 6.73 2.43 2.59 -1.19 1.63 3.55 3.66 4.05 1.88

1.07 3.99 -0.51 -0.53 -2.29 0.86 -1.87 3.92 3.87 5.12 0.99 0.94 0.96 0.65 2.47

1.65 1.03 1.40 2.17 1.36

2.16 -0.02 0.52 -0.17 0.55

0.52 -2.22 1.04 0.07 1.09

2.17 1.53 0.71 1.33 0.69

1.83 1.33 1.68 1.78 1.68

2.01 1.96 1.57 1.89 1.56

4.68 0.88 1.38 5.36 1.22

0.48 1.18 1.00 0.61 1.01

7.01 2.31 2.87 5.59 2.75

2558 -0.02 3.41 -0.31 -8.12 -0.17 0.96 7.29 6.59 6.56 45.21 1.26 -1.49 2.07 -6.08 2.62 -4.12 5.68 2.49

-2.61 6.39 13.29 5.53 2.38 -0.85 2.25 -0.95 3.66 -10.76 7.73 3.94 21.54 8.00 -8.99 12.27 -8.96 12.72 -9.82 1.38 -1.65 2.05 1.08 -2.23 1.65 -2.91 -0.77 -1.14 11.82 -9.08 -6.78 14.16 -0.15 -2.57 -2.81 1.56 -2.31 2.71 2.03 -0.32 -2.49 2.85


สัดส่วนรายได้ต่อ GDP (CY) หน่ วย: ร้อยละ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบี ยร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายได้อื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่นๆ 4. รวมรัฐ วิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์ 6. รวมรายได้จัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 อากรถอนคืนกรมศุลกากร 7.3 จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 7.4 เงินกันชดเชยส่งออก 8. รายได้สุทธิก่อนจัดสรรให้ อปท. 9. หักจัดสรรให้ อปท. 10. รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

12.31 1.94 4.33 0.54 5.07 0.35 0.09 0.003 3.67 1.00 0.50 0.38 0.60 0.77 0.13 0.05 0.02 0.01 0.18 0.01 0.01 1.45 1.40 0.004 0.04 1.10 0.84 0.80 0.04 19.36 1.98 1.72 1.44 0.28

12.58 2.02 4.46 0.67 4.97 0.36 0.09 0.003 3.26 0.84 0.42 0.35 0.53 0.71 0.13 0.04 0.02 0.01 0.18 0.01 0.004 1.15 1.11 0.004 0.03 0.92 0.91 0.87 0.04 18.83 2.20 1.94 1.65 0.29

12.33 2.12 4.24 0.72 4.78 0.38 0.08 0.003 3.16 0.85 0.46 0.37 0.57 0.62 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.003 1.08 0.97 0.004 0.02 1.03 1.33 0.89 0.03 18.77 2.22 2.00 1.65 0.35

13.15 2.11 4.75 0.76 5.19 0.26 0.08 0.003 2.87 0.69 0.43 0.38 0.55 0.60 0.13 0.04 0.02 0.02 0.001 0.01 0.003 1.03 1.00 0.005 0.02 1.04 0.85 0.80 0.05 18.93 2.33 2.09 1.79 0.30

11.79 2.05 4.06 0.94 4.47 0.19 0.08 0.002 3.02 0.94 0.46 0.39 0.51 0.51 0.13 0.03 0.02 0.02

11.71 1.93 4.21 0.63 4.65 0.21 0.08 0.002 3.76 1.41 0.49 0.39 0.54 0.71 0.13 0.01 0.02 0.02

13.41 2.09 5.08 0.72 5.11 0.32 0.09 0.002 3.54 1.04 0.51 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02

13.09 2.15 4.41 0.76 5.34 0.33 0.09 0.003 3.07 0.49 0.48 0.43 0.53 0.95 0.13 0.01 0.02 0.02

13.67 2.32 4.59 0.88 5.41 0.38 0.10 0.002 3.35 0.49 0.53 0.41 0.54 1.19 0.14 0.01 0.02 0.02

13.16 2.14 4.34 0.78 5.41 0.40 0.09 0.003 2.91 0.48 0.46 0.49 0.58 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02

12.86 2.25 4.21 0.62 5.27 0.40 0.10 0.003 3.26 0.95 0.47 0.46 0.60 0.60 0.13 0.00 0.02 0.02

0.01 0.005 0.83 0.80 0.004 0.03 0.90 0.91 0.87 0.04 17.45 2.27 2.07 1.63 0.43

0.01 0.004 0.90 0.87 0.002 0.03 0.85 1.33 1.30 0.04 18.54 2.16 1.93 1.48 0.45

0.01 0.004 0.91 0.88 0.002 0.02 0.87 0.95 0.91 0.04 19.68 2.28 2.04 1.67 0.37

0.01 0.003 0.96 0.94 0.003 0.02 0.99 0.94 0.91 0.04 19.06 2.35 2.11 1.75 0.36

0.01 0.004 0.88 0.86 0.002 0.02 0.79 1.23 1.18 0.05 19.92 2.45 2.20 1.77 0.42

0.10 0.16 17.38 0.77 16.61

0.11 0.15 16.63 0.68 15.95

0.10 0.11 16.55 0.63 15.91

0.12 0.12 16.60 0.67 15.93

0.09 0.12 15.17 0.56 14.61

0.10 0.12 16.39 0.61 15.78

0.11 0.13 17.41 0.66 16.75

0.12 0.12 16.71 0.72 15.99

0.12 0.13 17.47 0.73 16.74

0.01 0.005 0.90 0.87 0.002 0.02 1.04 1.03 0.99 0.04 19.04 2.52 2.21 1.72 0.49 0.07 0.12 0.12 16.52 0.74 15.78

0.01 0.006 0.86 0.83 0.002 0.02 1.20 1.29 1.25 0.04 19.47 2.34 2.02 1.64 0.38 0.08 0.11 0.12 17.13 0.72 16.41


Revenue Buoyancy (GDP: CY) หน่ วย: ร้อยละ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบี ยร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายได้อื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่นๆ 4. รวมรัฐ วิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์ 6. รวมรายได้จัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 อากรถอนคืนกรมศุลกากร 7.3 จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 7.4 เงินกันชดเชยส่งออก 8. รายได้สุทธิก่อนจัดสรรให้ อปท. 9. หักจัดสรรให้ อปท. 10. รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.

2548

2549

2550

2.25 0.95 2.72 3.05 2.32 3.30 -0.01 -0.45 0.14 -0.07 0.54 0.98 0.67 -1.01 0.85 3.14 1.33 -0.01 1.09 1.36 4.42 0.42 0.33 0.69 4.66 4.49 -1.81 2.48 0.83 1.51 1.42 1.43 1.38 1.68

1.24 1.49 1.33 3.61 0.80 1.59 0.64 -0.79 -0.18 -0.72 -0.64 0.18 -0.27 0.17 0.63 -0.49 0.85 5.28 1.10 0.42 -0.74 -1.24 -1.20 1.01 -2.77 -0.75 1.96 2.05 0.36 0.70 2.14 2.34 2.52 1.41

0.73 1.66 0.33 2.03 0.49 1.54 -0.23 -0.76 0.60 1.09 2.15 1.77 2.22 -0.82 1.12 0.71 -2.13 2.62 -6.64 0.15 -3.34 -0.72 -0.73 1.20 -0.94 1.44 7.08 1.20 -1.04 0.96 1.16 1.44 1.06 3.52

1.79 1.12 1.52 2.36 1.48

2.24 -0.02 0.54 -0.18 0.57

0.46 -1.99 0.93 0.06 0.97

2551

2552

2.02 19.77 0.90 6.05 2.85 27.27 1.82 -41.33 2.29 26.11 -3.88 51.34 1.18 5.60 1.53 22.42 -0.45 -8.52 -1.82 -65.09 0.00 -9.23 1.52 -5.81 0.38 15.34 0.51 27.11 0.80 3.03 0.17 32.06 0.06 7.06 2.84 24.60 -14.17 0.16 20.58 2.13 -130.51 1.43 35.57 1.43 37.38 6.54 35.70 0.31 -45.91 2.56 26.75 -4.58 -11.95 -0.54 -14.70 7.69 33.71 1.13 15.31 1.76 5.49 1.66 2.99 2.30 17.03 -1.38 -82.04 3.19 2.25 1.05 1.96 1.01

40.78 13.46 16.69 32.49 16.02

2553

2554

2555

2557

2558

0.93 0.44 1.34 -2.14 1.37 2.23 1.40 0.77 3.31 5.70 1.81 0.98 1.69 4.76 1.42 -4.04 1.94 2.66

4.31 2.91 5.70 4.44 3.26 12.05 3.88 3.15 -0.33 -4.95 1.55 3.18 0.98 4.39 0.43 -5.80 3.33 2.78

0.72 1.35 -0.55 1.67 1.52 1.64 0.92 3.22 -0.54 -5.17 0.51 1.07 0.59 2.81 1.24 -1.86 0.16 -0.34

2.03 2.74 1.96 4.54 1.29 4.18 3.09 -4.43 3.12 0.90 2.96 -0.36 1.45 6.97 2.24 0.59 5.91 1.76

-1.07 -3.27 -2.04 -5.31 1.04 4.73 -4.56 8.96 -6.27 -0.11 -5.49 12.35 5.83 -21.24 -3.69 -26.11 -6.42 -5.19

-0.02 3.33 -0.30 -7.93 -0.16 0.94 7.12 6.432 6.40 44.15 1.24 -1.46 2.02 -5.94 2.56 -4.02 5.55 2.43

-0.19 -2.04 1.77 1.78 -4.89 2.40 0.48 5.41 5.65 0.10 1.59 0.51 0.39 0.12 1.44

1.04 1.33 1.28 1.50 9.24 -4.97 1.72 -5.52 -5.78 3.93 2.40 2.30 2.21 3.85 -3.18

0.11 -0.33 1.68 1.75 3.61 -1.39 2.60 0.94 1.00 -0.46 0.63 1.37 1.41 1.57 0.73

2.21 8.23 -1.04 -1.09 -4.71 1.78 -3.86 8.08 7.99 10.55 2.04 1.95 1.97 1.33 5.10

1.91 1.39 1.75 1.86 1.75

3.09 3.01 2.41 2.91 2.39

1.81 0.34 0.53 2.07 0.47

0.99 2.42 2.05 1.25 2.09

-2.28 11.60 2.07 1.97 3.20 6.75 18.80 -7.85 -7.82 -8.57 -1.44 0.94 1.44 -0.67 10.31 -5.92 -0.13 -2.45 -2.01 1.77 -2.18

6.24 5.40 -0.83 -0.92 -10.51 3.85 7.81 11.98 12.43 1.35 2.01 -2.18 -2.84 -1.11 -8.86 13.83 -2.51 1.52 2.65 -0.31 2.78

หมายเหตุ: 1. ข้อมูล GDP ปี 2558 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 2. ผลการจัดเก็บรายได้ของกรมศุลกากรตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 เป็นตัวเลขก่อนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จัดทําโดย: ส่วนนโยบายรายได้ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2556


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2559 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ

2532

2533

2534

2535

2536

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

(อัตราเพิ่ม) (%)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

(อัตราเพิ่ม) (%)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

(อัตราเพิ่ม) (%)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

1,690,500.0

2,005,254.0

2,400,000.0

2,620,000.0

3,130,000.0

9.2

19.5

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 22.4 18.6 19.7 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2559 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ

2537

2538

2539

2540

2541

625,000.0

715,000.0

843,200.0

944,000.0

800,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

17.9

17.4

18.0

18.1

15.8

(อัตราเพิ่ม) (%)

11.6

14.4

17.9

12.0

(15.3)

376,382.3

434,383.3

482,368.2

528,293.4

512,331.1

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

10.8

10.6

10.3

10.1

10.1

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

60.2

60.8

57.2

56.0

64.0

7.2

15.4

11.0

9.5

(3.0)

212,975.6

253,839.8

327,288.6

391,209.7

256,432.8

6.1

6.2

7.0

7.5

5.1

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

34.1

35.5

38.8

41.4

32.1

(อัตราเพิ่ม) (%)

24.1

19.2

28.9

19.5

(34.5)

35,642.1

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5.7

3.7

4.0

2.6

3.9

(4.5)

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600,000.0

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

17.1

17.4

18.0

17.8

15.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

12.3

19.2

17.9

9.7

(15.5)

(25,000.0)

0.0

0.0

(19,000.0)

(17,980.0)

(0.7)

0.0

0.0

(0.4)

(0.4)

3,499,000.0

4,099,000.0

4,684,000.0

5,205,500.0

5,076,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจ่ายประจํา

(อัตราเพิ่ม) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.8 17.1 14.3 11.1 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 923,000 ล้านบาท

(2.5)


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2559 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ

2542

2543

2544

825,000.0

860,000.0

910,000.0

1,023,000.0

999,900.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

16.5

16.7

17.5

19.3

17.2

(อัตราเพิ่ม) (%)

(0.6)

4.2

5.8

12.4

(2.3)

586,115.1

635,585.1

679,286.5

773,714.1

753,454.7

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

11.7

12.4

13.0

14.6

13.0

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

71.0

73.9

74.6

75.6

75.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

12.8

8.4

6.9

13.9

(2.6)

233,534.7

217,097.6

218,578.2

223,617.0

211,493.5

4.7

4.2

4.2

4.2

3.6

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

28.3

25.2

24.0

21.9

21.2

(อัตราเพิ่ม) (%)

(8.9)

(7.0)

0.7

2.3

(5.4)

5,350.2

7,317.3

12,135.3

25,668.9

34,951.8

0.6

0.9

1.3

2.5

3.5

(82.9)

36.8

65.8

111.5

36.2

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

800,000.0

750,000.0

805,000.0

823,000.0

825,000.0

16.0

14.6

15.5

15.5

14.2

2.3

(6.3)

7.3

2.2

0.2

(25,000.0)

(110,000.0)

(105,000.0)

(200,000.0)

(174,900.0)

(0.5)

(2.1)

(2.0)

(3.8)

(3.0)

5,002,000.0

5,137,000.0

5,208,600.0

5,309,200.0

5,799,700.0

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) (1.4) 2.7 1.4 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1.9

9.2

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

2545

2546


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2559 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ

2547

2548

2549

2550

2551

2552

1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

18.0

17.4

17.5

18.6

17.6

22.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

16.4

7.4

8.8

15.2

6.0

17.6

836,544.4

881,251.7

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

12.9

12.2

12.3

13.5

12.9

16.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

71.9

70.5

70.5

72.5

73.1

72.3

(อัตราเพิ่ม) (%)

11.0

5.3

8.8

18.5

6.9

16.3

292,800.2

318,672.0

358,335.8

374,721.4

400,483.9

429,961.8

4.5

4.4

4.6

4.5

4.3

4.9

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

25.2

25.5

26.3

23.9

24.1

22.0

(อัตราเพิ่ม) (%)

38.4

8.8

12.4

4.6

6.9

7.4

34,155.4

50,076.3

43,187.2

55,490.5

45,527.0

63,676.1

2.9

4.0

3.2

3.5

2.7

3.3

(2.3)

46.6

(13.8)

28.5

(18.0)

39.9

-

-

-

-

-

46,679.7

-

-

-

-

-

2.4

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้

958,477.0 1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4

1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

16.4

17.4

17.5

16.9

15.9

18.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

28.9

17.5

8.8

4.4

5.3

7.3

(99,900.0)

0.0

0.0 (146,200.0) (165,000.0) (347,060.5)

(1.5)

0.0

0.0

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(1.7)

(1.8)

(4.0)

6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0 8,399,000.0 9,418,600.0 8,712,500.0

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.7 11.1 8.2 7.9 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 50,000 ล้านบาท

12.1

(7.5)


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2559 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจ่ายประจํา

2553

2554

1,700,000.0

2555

2,169,967.5 2,380,000.0

2556

2557

2558

2,400,000.0

2,525,000.0

2,575,000.0

17.0

20.6

20.7

20.1

19.1

20.2

(12.9)

27.6

9.7

0.8

5.2

2.0

1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7

2,017,625.8

2,027,858.8

1,434,710.1

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

14.3

15.8

16.0

15.9

15.2

15.9

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

84.4

76.8

77.4

79.2

79.9

78.8

1.7

16.2

10.4

3.2

6.2

0.5

214,369.0

355,484.6

438,555.4

450,373.8

441,128.6

449,475.8

2.1

3.4

3.8

3.8

3.3

3.5

12.6

16.4

18.4

18.7

17.5

17.5

(50.1)

65.8

23.4

2.7

(2.1)

1.9

50,920.9

32,554.6

46,854.0

49,149.5

52,821.9

55,700.0

3.0

1.5

2.0

2.1

2.1

2.2

(20.0)

(36.1)

43.9

4.9

7.5

5.4

-

114,488.6

53,918.0

-

13,423.7

41,965.4

-

5.3

2.2

-

0.5

1.6

1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0

2,275,000.0

2,325,000.0

(อัตราเพิ่ม) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

1,350,000.0

13.5

16.8

17.2

17.6

17.2

18.2

(15.9)

3.8

11.9

6.1

8.3

2.2

(400,000) (400,000.0) (300,000.0)

(250,000.0)

(250,000.0)

(2.0)

(2.0)

(350,000.0) (3.5)

(3.8)

(3.5)

(2.5)

10,000,900.0 10,539,400.0 11,478,600.0 11,922,000.0 13,242,000.0 12,744,000.0

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 14.8 5.4 8.9 3.9 11.1 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2532 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ล้านบาท 3. GDP ที่ใช้เป็น GDP ที่ปรับตามงบประมาณโดยสังเขป

(3.8)


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2559 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจ่ายประจํา

2559 2,720,000

20.4 5.6 2,100,836.3

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

15.7

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

77.2

(อัตราเพิ่ม) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

3.6 543,635.9 4.1

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

20.0

(อัตราเพิ่ม) (%)

20.9

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

61,991.7 2.3 11.3 13,536.1 0.5 2,330,000

17.3 0.2 (390,000) (2.9) 13,359,400

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 4.8 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2532 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ล้านบาท 3. GDP ที่ใช้เป็น GDP ที่ปรับตามงบประมาณโดยสังเขป


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2549

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 มี.ค. 49 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,528,823 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243 168,823 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 127,437 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 109,598 8.6 8.2 6.1 8.1 7.4 8.1 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 87,879 10.2 8.0 6.8 9.2 7.6 9.0 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 21,719 4.5 8.6 4.4 5.4 6.9 5.7 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 17,839 10.5 17.4 4.0 6.9 10.6

หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2549 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 รวม 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 1,010,489 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 349,511 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571 169,571 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 1,394,572 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 1,270,028 7.1 6.1 8.1 6.8 8.2 10.7 93.4 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 1,006,881 7.3 7.0 9.7 7.5 8.4 11.2 99.6 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 263,147 6.4 3.5 4.0 4.8 7.5 9.2 75.3 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 124,544 2.3 4.0 3.9 3.7 3.2 5.8 73.4

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2550 ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 1. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 6.0 6.9 6.1 5.6 12.2 - รายจ่ายประจา 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 7.7 8.7 7.9 6.1 11.1 - รายจ่ายลงทุน 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.5 2.3 1.5 3.6 16.1 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.3 11.5 10.3 6.4 5.8 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555

หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2550 มี.ค. 50 เม.ย. 50 พ.ค. 50 มิ.ย. 50 ก.ค. 50 ส.ค. 50 ก.ย. 50 รวม 1,722,389 1,722,287 1,722,271 1,722,266 1,722,241 1,722,322 1,722,364 1,722,364 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1566200 1,246,571 1,246,335 1,245,965 1,245,109 1,244,236 1,242,815 1,239,641 1239641 319,629 319,865 320,235 321,091 321,964 323,385 326,559 326559 156,189 156,087 156,071 156,066 156,041 156,122 156,164 156164 139,900 115,830 137,086 164,381 146,556 122,778 150,888 1,574,966 127,872 111,216 131,311 158,603 142,784 118,609 144,234 1,470,839 8.2 7.1 8.4 10.1 9.1 7.6 9.2 93.9 106,881 97,682 90,381 126,402 119,440 101,347 116,157 1,208,133 8.6 7.8 7.3 10.2 9.6 8.2 9.4 97.5 20,991 13,534 40,930 32,201 23,344 17,262 28,077 262,706 6.6 4.2 12.8 10.0 7.3 5.3 8.6 80.4 12,028 4,614 5,775 5,778 3,772 4,169 6,654 104,127 7.7 3.0 3.7 3.7 2.4 2.7 4.3 66.7


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2551

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 50 1,769,427 1,660,000 1,295,140 364,860 109,427 155,389 147,936 8.9 121,123 9.4 26,813 7.3 7,453 6.8

พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 364,887 332,765 332,813 332,809 149,505 150,026 150,883 152,516 127,018 110,867 158,402 118,658 112,113 97,846 146,917 108,633 6.8 5.9 8.9 6.5 93,861 88,182 93,934 97,960 7.2 6.6 7.1 7.4 18,252 9,664 52,983 10,673 5.0 2.9 15.9 3.2 14,905 13,021 11,485 10,025 10.0 8.7 7.6 6.6

ปีงบประมาณ มี.ค. 51 เม.ย.51 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181 125,147 154,636 113,533 150,029 6.8 9.0 100,423 104,918 7.6 7.9 13,110 45,111 3.9 13.6 11,614 4,607 7.7 3.0

หน่วย : ล้านบาท 2551 พ.ค.51 มิ.ย.51 ก.ค.51 ส.ค.51 ก.ย.51 รวม 1,811,408 1,811,408 1,811,408 1,811,940 1,812,063 1,812,063 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,326,271 1,326,029 1,326,205 1,325,380 1,319,724 1,319,724 333,729 333,971 333,795 334,620 340,276 340,276 151,408 151,667 151,925 151,940 152,063 152,063 126,767 143,198 138,838 124,629 149,856 1,633,405 119,962 137,088 134,497 120,424 143,501 1,532,479 7.2 8.3 8.1 7.3 8.6 92.3 108,354 107,295 115,870 107,822 125,248 1,264,990 8.2 8.1 8.7 8.1 9.5 95.9 11,608 29,793 18,627 12,602 18,253 267,489 3.5 8.9 5.6 3.8 5.4 78.6 6,805 6,110 4,341 4,205 6,355 100,926 4.5 4.0 2.9 2.8 4.2 66.4

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.6 8.1 7.0 9.7 9.1 9.1 7.0 7.9 - รายจ่ายประจา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.7 8.9 8.0 8.5 9.0 10.4 7.4 7.3 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 0.2 5.1 2.7 14.7 9.6 3.8 5.4 10.7 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.9 8.3 9.2 7.5 6.8 8.8 2.3 3.3 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 8 มีนาคม 2552 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555

มิ.ย. 52 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528 139,498 131,026 6.7 110,789 7.0 20,237 5.4 8,472 4.4

ก.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540 164,118 158,730 8.1 128,632 8.2 30,098 8.0 5,388 2.8

ส.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540 142,162 136,915 7.0 119,691 7.6 17,224 5.1 5,247 2.7

ก.ย. 52 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 196,882 186,890 9.6 159,555 10.2 27,336 7.2 9,991 5.2

รวม 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 1,917,129 1,790,862 91.8 1,507,894 96.1 282,969 74.1 126,266 65.9


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2553

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีก่อน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 มี.ค.53 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 1,479,843 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 220,157 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939 243,152 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 149,981 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 129,653 4.7 9.8 8.8 7.9 10.0 7.6 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 119,986 5.3 10.9 7.6 8.7 8.0 8.1 673 5,334 37,602 5,670 51,504 9,667 0.3 2.4 17.1 2.6 23.4 4.4 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 20,328 4.5 9.3 9.2 6.6 5.5 8.4

หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2553 เม.ย.53 พ.ค.53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 รวม 1,943,152 1,943,152 1,943,174 1,943,255 1,943,505 1,943,547 1,943,547 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,479,558 1,479,100 1,476,716 1,474,315 1,472,692 1,468,655 1,468,655 220,442 220,900 223,284 225,685 227,308 231,345 231,345 243,152 243,152 243,174 243,255 243,505 243,547 243,547 145,528 123,967 135,455 142,627 110,118 192,704 1,784,412 136,587 118,059 123,196 135,128 103,322 182,407 1,627,874 8.0 6.9 7.2 7.9 6.1 10.7 95.8 125,819 110,268 111,500 124,850 92,492 161,105 1,444,760 8.5 7.5 7.6 8.5 6.3 11.0 98.4 10,768 7,791 11,696 10,278 10,830 21,302 183,115 4.9 3.5 5.2 4.6 4.8 9.2 79.2 8,941 5,908 12,259 7,499 6,796 10,297 156,538 3.7 2.4 5.0 3.1 2.8 4.2 64.3

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 มิ.ย. 54 ก.ค. 54 ส.ค. 54 ก.ย. 54 รวม 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 2,353,189 2,353,191 2,353,192 2,353,202 2,353,202 2,353,202 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 1,813,687 1,810,757 1,808,951 1,806,977 1,806,977 1,806,977 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 356,280 359,211 361,017 362,991 362,991 362,991 1.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 183,221 183,224 183,225 183,235 183,235 183,235 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 211,446 187,593 143,032 143,543 193,411 2,177,895 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 205,223 181,250 138,411 135,473 184,648 2,050,539 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 9.4 10.0 7.3 10.7 6.7 7.6 6.2 9.5 8.4 6.4 6.2 8.5 94.5 - รายจ่ายประจา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 188,690 161,493 120,305 113,041 152,068 1,786,978 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 11.0 11.4 7.7 8.5 7.1 8.2 7.0 10.4 8.9 6.7 6.3 8.4 98.9 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 16,533 19,757 18,105 22,431 32,579 263,558 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.2 3.1 5.3 21.6 4.8 4.5 4.1 4.6 5.5 5.0 6.2 9.0 72.6 2.2 รายจ่ายจากปีก่อน 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 6,223 6,343 4,621 8,070 8,763 127,355 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 8.3 9.7 8.8 8.0 8.3 7.6 2.5 3.4 3.5 2.5 4.4 4.8 69.5 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 18 เมษายน 2554 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีก่อน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 54 2,271,861 2,070,000 1,706,509 363,491 201,861 166,954 155,910 7.5 136,594 8.0 19,316 5.3 11,044 5.5

พ.ย. 54 2,278,511 2,070,000 1,725,733 344,267 208,511 150,234 131,863 6.4 127,201 7.4 4,662 1.4 18,371 8.8

ธ.ค. 54 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250 172,628 151,587 7.3 137,437 8.0 14,150 4.0 21,041 9.9

ม.ค. 55 2,285,784 2,070,000 1,714,147 355,853 215,784 150,463 135,611 6.6 131,401 7.7 4,210 1.2 14,852 6.9

ก.พ. 55 2,597,224 2,380,000 1,976,557 403,443 217,224 259,062 244,073 10.3 235,123 11.9 8,950 2.2 14,989 6.9

มี.ค. 55 2,595,716 2,380,000 1,973,811 406,189 215,716 369,978 351,873 14.8 283,286 14.4 68,587 16.9 18,105 8.4

ปีงบประมาณ 2555 เม.ย. 55 พ.ค. 55 2,595,703 2,595,707 2,380,000 2,380,000 1,973,465 1,971,729 406,535 408,271 215,703 215,707 157,569 144,922 150,279 135,051 6.3 5.7 135,231 113,242 6.9 5.7 15,048 21,810 3.7 5.3 7,290 9,871 3.4 4.6

มิ.ย. 55 2,595,893 2,380,000 1,969,865 410,135 215,893 157,415 150,381 6.3 127,772 6.5 22,609 5.5 7,034 3.3

ก.ค. 55 2,596,094 2,380,000 1,968,353 411,647 216,094 179,248 171,242 7.2 146,783 7.5 24,460 5.9 8,006 3.7

ส.ค. 55 2,596,251 2,380,000 1,966,525 413,475 216,251 159,508 152,964 6.4 125,741 6.4 27,223 6.6 6,544 3.0

ก.ย. 55 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 227,347 217,642 9.1 173,258 8.8 44,384 10.7 9,705 4.5

รวม 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 2,295,327 2,148,475 90.3 1,873,067 95.3 275,408 66.3 146,852 67.8

หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ล้านบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ทาให้ในช่วงตัง้ แต่ตน้ ปีงบประมาณ 2555 ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณทีล่ ่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16

ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556 หน่วย : ล้านบาท

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีก่อน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม

ต.ค. 55 2,622,170 2,400,000 1,941,257 458,743 222,170 312,152 290,631 12.1 286,670 14.8 3,961 0.9 21,521 9.7 312,152 290,631 286,670 3,961 21,521

ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 17 กันยายน 2556

พ.ย. 55 2,650,593 2,400,000 2,000,816 399,184 250,593 299,828 270,813 11.3 223,583 11.2 47,229 11.8 29,015 11.6 611,980 561,444 510,254 51,190 50,536

ธ.ค. 55 2,696,798 2,400,000 2,000,584 399,416 296,798 173,933 138,335 5.8 131,112 6.6 7,224 1.8 35,598 12.0 785,914 699,780 641,366 58,414 86,134

ม.ค. 56 2,699,332 2,400,000 2,000,565 399,435 299,332 208,114 181,092 7.5 173,709 8.7 7,383 1.8 27,022 9.0 994,027 880,871 815,074 65,797 113,156

ก.พ. 56 2,699,423 2,400,000 2,000,146 399,854 299,423 152,074 130,538 5.4 122,601 6.1 7,937 2.0 21,536 7.2 1,146,101 1,011,409 937,675 73,734 134,692

มี.ค. 56 2,700,236 2,400,000 1,999,867 400,133 300,236 225,477 201,278 8.4 125,923 6.3 75,355 18.8 24,199 8.1 1,371,578 1,212,687 1,063,598 149,089 158,891

ปีงบประมาณ 2556 เม.ย. 56 พ.ค. 56 2,700,230 2,700,247 2,400,000 2,400,000 1,999,020 1,997,524 400,980 402,476 300,230 300,247 180,364 135,275 170,268 125,710 7.1 5.2 156,669 108,997 7.8 5.5 13,599 16,713 3.4 4.2 10,096 9,565 3.4 3.2 1,551,941 1,687,216 1,382,955 1,508,665 1,220,267 1,329,264 162,688 179,401 168,986 178,551

มิ.ย. 56 2,700,255 2,400,000 1,996,729 403,271 300,255 166,398 155,273 6.5 135,424 6.8 19,849 4.9 11,125 3.7 1,853,614 1,663,938 1,464,688 199,250 189,676

ก.ค. 56 2,602,357 2,400,000 1,995,740 404,260 202,357 171,087 158,406 6.6 137,824 6.9 20,582 5.1 12,681 6.3 2,024,701 1,822,344 1,602,512 219,832 202,357

ส.ค. 56 2,700,727 2,400,000 1,995,847 404,153 300,727 143,446 130,299 5.4 106,333 5.3 23,966 5.9 13,147 4.4 2,168,147 1,952,643 1,708,845 243,798 215,504

ก.ย. 56 2,701,010 2,400,000 1,991,899 408,101 301,010 234,333 218,816 9.1 186,040 9.3 32,776 8.0 15,517 5.2 2,402,481 2,171,459 1,894,885 276,574 231,022

รวม 2,701,010 2,400,000 1,991,899 408,101 301,010 2,402,481 2,171,459 90.5 1,894,885 95.1 276,574 67.8 231,022 76.7 2,402,481 2,171,459 1,894,885 276,574 231,022


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2557 หน่วย : ล้านบาท

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายประจา) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายลงทุน) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณปีกอ่ น) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม

ต.ค. 56 2,767,610 2,525,000 2,097,308 427,692 242,610 258,272 244,001 9.7 241,303 11.5 2,697 0.6 14,271 5.9 258,272 244,001 241,304 2,697 14,271

ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 29 ตุลาคม 2557

พ.ย. 56 2,806,747 2,525,000 2,097,273 427,727 281,747 255,803 232,568 9.2 227,852 10.9 4,717 1.1 23,235 8.2 514,076 476,568 469,154 7,414 37,508

ธ.ค. 56 2,826,083 2,525,000 2,097,101 427,899 301,083 316,983 284,256 11.3 175,127 8.4 109,129 25.5 32,727 10.9 831,059 760,826 644,283 116,543 70,233

ม.ค. 57 2,826,091 2,525,000 2,097,053 427,947 301,091 213,210 186,395 7.4 177,496 8.5 8,898 2.1 26,814 8.9 1,044,267 947,220 821,778 125,441 97,047

ก.พ. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,723 428,277 301,093 174,379 154,109 6.1 141,913 6.8 12,195 2.8 20,270 6.7 1,218,646 1,101,328 963,692 137,636 117,318

มี.ค. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,645 428,355 301,093 165,457 142,036 5.6 128,728 6.1 13,308 3.1 23,421 7.8 1,384,103 1,243,364 1,092,420 150,944 140,739

ปีงบประมาณ 2557 เม.ย. 57 พ.ค. 57 2,826,093 2,826,093 2,525,000 2,525,000 2,096,540 2,096,418 428,460 428,582 301,093 301,093 195,825 154,300 179,780 142,463 7.1 5.6 156,868 125,854 7.5 6.0 22,912 16,609 5.3 3.9 16,045 11,837 5.3 3.9 1,579,928 1,734,228 1,423,144 1,565,607 1,249,288 1,375,142 173,856 190,465 156,784 168,621

มิ.ย. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,538 428,462 301,141 164,554 154,426 6.1 135,722 6.5 18,704 4.4 10,128 3.4 1,898,782 1,720,033 1,510,864 209,169 178,749

ก.ค. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,455 428,545 301,141 200,235 189,421 7.5 170,069 8.1 19,351 4.5 10,814 3.6 2,099,016 1,909,453 1,680,933 228,520 189,563

ส.ค. 57 2,826,161 2,525,000 2,095,928 429,072 301,161 132,110 124,670 4.9 107,216 5.1 17,454 4.1 7,440 2.5 2,231,126 2,034,124 1,788,149 245,975 197,002

ก.ย. 57 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 228,864 212,182 8.4 174,107 8.3 38,075 8.8 16,682 5.5 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684

รวม 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 2,459,992 2,246,307 89.0 1,962,257 93.7 284,050 65.8 213,684 70.7 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้านบาท

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายประจา) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายลงทุน) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณปีกอ่ น) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม

ต.ค. 57 2,754,737 2,575,000 2,130,645 444,355 179,737 367,598 344,801 13.4 329,977 15.5 14,824 3.3 22,797 12.7 367,598 344,801 329,977 14,824 22,797

ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 21 ตุลาคม 2558

พ.ย. 57 2,894,596 2,575,000 2,130,590 444,410 319,596 205,758 180,660 7.0 171,898 8.1 8,762 2.0 25,098 7.9 573,358 525,462 501,875 23,587 47,895

ธ.ค. 57 2,911,748 2,575,000 2,130,618 444,382 336,748 270,745 240,910 9.4 223,234 10.5 17,676 4.0 29,835 8.9 844,102 766,371 725,109 41,262 77,731

ม.ค. 58 2,918,123 2,575,000 2,130,806 444,194 343,123 215,737 197,891 7.7 181,071 8.5 16,820 3.8 17,846 5.2 1,059,839 964,262 906,180 58,082 95,577

ก.พ. 58 2,921,856 2,575,000 2,151,589 423,411 346,856 150,428 131,447 5.1 109,685 5.1 21,762 5.1 18,981 5.5 1,210,266 1,095,709 1,015,865 79,844 114,557

มี.ค. 58 2,926,323 2,575,000 2,150,751 424,249 351,323 251,453 228,371 8.9 190,218 8.8 38,153 9.0 23,082 6.6 1,461,719 1,324,079 1,206,082 117,997 137,640

ปีงบประมาณ 2558 เม.ย. 58 พ.ค. 58 2,926,323 2,926,323 2,575,000 2,575,000 2,154,123 2,154,079 420,877 420,921 351,323 351,323 191,488 176,754 178,945 163,958 6.9 6.4 156,138 139,510 7.2 6.5 22,807 24,448 5.4 5.8 12,543 12,796 3.6 3.6 1,653,207 1,829,961 1,503,025 1,666,983 1,362,221 1,501,731 140,804 165,252 150,182 162,978

มิ.ย. 58 2,926,323 2,575,000 2,155,348 419,652 351,323 201,327 186,535 7.2 156,676 7.3 29,859 7.1 14,792 4.2 2,031,288 1,853,518 1,658,407 195,111 177,770

ก.ค. 58 2,926,582 2,575,000 2,157,892 417,108 351,582 221,926 208,731 8.1 186,059 8.6 22,672 5.4 13,195 3.8 2,253,214 2,062,249 1,844,466 217,783 190,965

ส.ค. 58 2,926,818 2,575,000 2,159,156 415,844 351,818 148,252 138,914 5.4 116,710 5.4 22,204 5.3 9,338 2.7 2,401,466 2,201,163 1,961,176 239,987 200,303

ก.ย. 58 2,926,819 2,575,000 2,206,648 368,352 351,819 199,955 176,951 6.9 145,379 6.6 31,572 8.6 23,004 6.5 2,601,422 2,378,115 2,106,555 271,560 223,307

รวม 2,926,819 2,575,000 2,206,648 368,352 351,819 2,601,422 2,378,115 92.4 2,106,555 95.5 271,560 73.7 223,307 63.5 2,601,422 2,378,115 2,106,555 271,560 223,307


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2559 หน่วย : ล้านบาท

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายประจา) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายลงทุน) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณปีกอ่ น) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม

ต.ค. 58 2,956,532 2,720,000 2,181,833 538,167 236,532 374,201 359,608 13.2 336,077 15.4 23,531 4.4 14,593 6.2 374,201 359,608 336,077 23,531 14,593

ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 16 พฤศจิกายน 2558

พ.ย. 58

ธ.ค. 58

ม.ค. 59

ก.พ. 59

มี.ค. 59

ปีงบประมาณ 2558 เม.ย. 59 พ.ค. 59

มิ.ย. 59

ก.ค. 59

ส.ค. 59

ก.ย. 59

รวม


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพือ่ ชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)

2524 110,392 132,212

2525 113,848 155,281

2526 136,608 171,033

2527 147,872 187,024

2528 159,199 209,830

หน่วย: ล้านบาท 2529 166,123 211,968

(21,820) 8,940 (12,880) 14,682 1,802 6,333 8,135

(41,433) 15,404 (26,029) 26,422 393 8,135 8,528

(34,425) 3,838 (30,587) 34,082 3,495 8,528 12,023

(39,152) 5,498 (33,654) 30,000 (3,654) 12,023 8,369

(50,631) 7,568 (43,063) 47,000 3,937 8,369 12,306

(45,845) (1,512) (47,357) 46,000 (1,357) 12,306 10,949

ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพือ่ ชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 13 กุมภาพันธ์ 2558

2530 193,525 223,746 203,043 20,703 (30,221) (11,624) (41,845) 42,000 155 8,528 8,683

2531 245,030 220,694 198,687 22,007 24,336 (56,780) (32,444) 42,660 10,216 8,683 18,899

2532 309,536 269,351 247,401 21,950 40,185 (13,471) 26,714 12,981 39,695 18,899 58,594

2533 394,509 312,320 280,841 31,479 82,189 (35,525) 46,664 25,000 71,664 58,594 130,258

2534 464,900 362,464 316,509 45,955 102,436 (51,816) 50,620 0 50,620 130,258 180,878

หน่วย: ล้านบาท 2535 499,004 448,322 386,246 62,076 50,682 (7,086) 43,596 0 43,596 180,878 224,474


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพือ่ ชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)

2536 557,783 529,619 462,744 66,875 28,164 (12,375) 15,789 0 15,789 226,895 242,684

2537 655,989 598,798 511,937 86,861 57,191 (61,898) (4,707) 0 (4,707) 242,684 237,977

2538 760,138 670,553 569,384 101,169 89,585 (7,647) 81,938 0 81,938 237,977 319,915

2539 850,177 777,246 652,261 124,985 72,931 5,897 78,828 0 78,828 319,915 398,743

2540 844,249 906,641 742,598 164,043 (62,392) (52,753) (115,145) 0 (115,145) 398,743 283,598

หน่วย: ล้านบาท 2541 727,393 848,029 687,102 160,927 (120,636) (18,565) (139,201) 0 (139,201) 283,598 144,397

ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพือ่ ชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 13 กุมภาพันธ์ 2558

2542 709,927 838,711 710,262 128,449 (128,784) 30,827 (97,957) 40,000 (57,957) 144,397 86,440

2543 748,105 859,761 760,863 98,898 (111,656) (9,759) (121,415) 107,925 (13,490) 86,440 72,950

2544 769,448 901,529 812,044 89,485 (132,081) 30,736 (101,345) 104,797 3,452 72,950 76,402

2545 848,707 1,003,600 917,767 85,833 (154,893) 4,471 (150,422) 170,000 19,578 76,402 95,980

2546 966,841 979,506 898,300 81,206 (12,665) (28,098) (40,763) 76,000 35,237 95,980 131,217

หน่วย: ล้านบาท 2547 1,127,153 1,140,110 1,052,660 87,450 (12,957) (55,018) (67,975) 90,000 22,025 131,217 153,242


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)

ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 6 ตุลาคม 2558

2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 (73,009) (52,144) 0 (52,144) 153,242 101,098

2554 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 (285,848) 177,449 (108,399) 200,666 92,267 429,026 521,294

2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 (55,592) 92,921 37,329 0 37,329 101,098 138,427

2555 1,977,670 2,295,327 2,148,475 146,852 (317,657) 13,549 (304,108) 344,084 39,976 521,294 561,270

2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 (130,249) (11,674) (141,923) 146,200 4,277 138,427 142,704

2556 2,163,469 2,402,481 2,171,459 231,022 (239,011) 845 (238,167) 281,949 43,782 561,270 605,052

2551 1,545,837 1,633,404 1,532,479 100,925 (87,568) 8,888 (78,680) 165,000 86,320 142,704 229,024

หน่วย: ล้านบาท 2553 2552 1,409,653 1,708,625 1,917,129 1,784,413 1,790,862 1,627,875 126,266 156,538 (507,476) (75,788) 131,198 (21,568) (376,278) (97,356) 441,061 232,575 64,783 135,220 229,024 293,807 293,807 429,026

2557

2558

2,075,665 2,459,990 2,246,306 213,684 (384,325) 25,020 (359,305) 250,000 (109,306) 605,052 495,746

2,199,125 2,601,422 2,378,115 223,307 -402,297 82,727 -319,570 250,000 -69,570 495,747 426,177

หน่วย: ล้านบาท 2559 (1 เดือน) 156,085 374,201 359,608 14,593 -218,116 -11,280 -229,396 99,094 -130,302 426,182 295,880


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล หน่วย: ล้านบาท รายเดือน 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 53 124,854 207,452 194,118 13,334 -82,598 -25,058 -107,655 16,000 -91,655 429,026 337,371

พ.ย. 53 125,512 223,152 207,201 15,951 -97,640 -20,254 -117,894 20,021 -97,873 337,371 239,498

ธ.ค. 53 144,694 167,767 152,004 15,763 -23,073 80,005 56,931 17,000 73,931 239,498 313,429

ม.ค. 54 129,902 235,192 220,657 14,534 -105,290 -37,801 -143,091 15,000 -128,091 313,429 185,339

ก.พ. 54 126,718 154,689 139,464 15,225 -27,971 -8,650 -36,620 21,084 -15,536 185,339 169,803

ปีงบประมาณ 2554 มี.ค. 54 เม.ย. 54 พ.ค. 54 127,476 141,447 128,165 170,913 139,705 211,446 157,010 135,081 205,223 13,903 4,625 6,223 -43,437 1,742 -83,281 -36,480 -16,913 117,889 -79,917 -15,171 34,608 24,500 16,000 5,333 -55,417 829 39,941 169,803 114,386 115,215 114,386 115,215 155,156

ก.พ. 55 124,873 259,061 244,073 14,989 -134,188 14,659 -119,529 23,500 -96,029 241,477 145,448

ปีงบประมาณ 2555 มี.ค. 55 เม.ย. 55 พ.ค. 55 138,801 140,817 143,136 369,978 157,570 144,922 351,873 150,279 135,051 18,105 7,290 9,871 -231,177 -16,753 -1,786 90,993 41,433 21,915 -140,184 24,681 20,129 70,110 80,598 15,329 -70,074 105,279 35,458 145,448 75,374 180,653 75,374 180,653 216,111

มิ.ย. 54 342,273 187,593 181,250 6,343 154,680 -13,292 141,388 4,500 145,888 155,156 301,044

ก.ค. 54 99,318 143,032 138,411 4,621 -43,714 13,215 -30,499 8,000 -22,499 301,044 278,545

ส.ค. 54 126,039 143,543 135,473 8,070 -17,504 8,931 -8,573 78 -8,495 278,545 270,050

ก.ย. 54 275,649 193,411 184,648 8,763 82,238 115,856 198,093 53,150 251,243 270,050 521,294

รวม 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,449 -108,399 200,666 92,267 429,026 521,294 หน่วย: ล้านบาท

รายเดือน 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 13 กุมภาพันธ์ 2558

ต.ค. 54 133,224 166,954 155,910 11,044 -33,730 -157,195 -190,925 0 -190,925 521,294 330,368

พ.ย. 54 125,164 150,234 131,863 18,371 -25,070 -3,116 -28,186 0 -28,186 330,368 302,182

ธ.ค. 54 146,695 172,628 151,587 21,041 -25,933 -10,649 -36,582 0 -36,582 302,182 265,600

ม.ค. 55 138,806 150,463 135,611 14,852 -11,657 -12,467 -24,124 0 -24,124 265,600 241,477

มิ.ย. 55 350,154 157,415 150,381 7,034 192,739 -25,951 166,789 42,891 209,680 216,111 425,792

ก.ค. 55 127,504 179,248 171,242 8,006 -51,744 3,291 -48,453 25,078 -23,375 425,792 402,417

ส.ค. 55 159,709 159,507 152,963 6,544 202 6,825 7,026 55,000 62,026 402,417 464,443

ก.ย. 55 248,787 227,347 217,642 9,705 21,440 43,810 65,249 31,577 96,826 464,443 561,270

รวม 1,977,670 2,295,327 2,148,475 146,852 -317,657 13,548 -304,108 344,084 39,976 521,294 561,270


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล หน่วย: ล้านบาท

รายเดือน 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 55 149,311 312,153 290,631 21,521 -162,842 -100,607 -263,449 0 -263,449 561,270 297,821

พ.ย. 55 168,805 299,827 270,813 29,014 -131,022 -18,600 -149,622 44,998 -104,624 297,821 193,197

ธ.ค. 55 184,179 173,933 138,335 35,598 10,246 -1,361 8,884 57,938 66,822 193,197 260,019

ม.ค. 56 174,973 208,114 181,092 27,022 -33,141 -14,244 -47,385 14,887 -32,498 260,019 227,521

ก.พ. 56 142,568 152,074 130,538 21,536 -9,506 7,446 -2,059 37,669 35,610 227,521 263,131

ปีงบประมาณ 2556 มี.ค. 56 เม.ย. 56 พ.ค. 56 159,046 131,629 170,630 225,477 180,364 135,275 201,278 170,268 125,710 24,199 10,096 9,565 -66,431 -48,734 35,355 -9,997 17,875 -6,231 -76,428 -30,859 29,124 8,266 13,054 20,469 -68,162 -17,805 49,592 263,131 194,969 177,165 194,969 177,165 226,757

ก.พ. 57 128,088 174,379 154,109 20,270 -46,291 -9,253 -55,544 36,870 -18,674 255,629 236,954

ปีงบประมาณ 2557 มี.ค. 57 เม.ย. 57 พ.ค. 57 141,721 136,138 159,820 165,457 195,825 154,300 142,036 179,780 142,463 23,421 16,045 11,837 -23,736 -59,687 5,519 -8,467 30,202 -3,743 -32,203 -29,484 1,776 9,849 25,000 31,544 -22,354 -4,484 33,320 236,954 214,601 210,116 214,601 210,116 243,437

มิ.ย. 56 344,907 166,398 155,273 11,125 178,509 -5,438 173,072 24,415 197,487 226,757 424,244

ก.ค. 56 130,334 171,087 158,406 12,681 -40,753 -8,435 -49,188 11,351 -37,837 424,244 386,407

ส.ค. 56 163,781 143,446 130,299 13,147 20,335 -3,702 16,633 28,404 45,037 386,407 431,444

ก.ย. 56 243,305 234,333 218,816 15,517 8,972 144,139 153,111 20,497 173,608 431,444 605,052

รวม 2,163,469 2,402,481 2,171,459 231,022 -239,012 845 -238,167 281,949 43,782 561,270 605,052 หน่วย: ล้านบาท

รายเดือน 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 56 179,528 258,272 244,001 14,271 -78,744 -21,037 -99,781 0 -99,781 605,052 505,271

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 13 กุมภาพันธ์ 2558

พ.ย. 56 153,159 255,803 232,568 23,235 -102,644 -8,541 -111,185 17,000 -94,185 505,271 411,085

ธ.ค. 56 163,710 316,982 284,256 32,727 -153,273 21,622 -131,651 46,294 -85,357 411,085 325,728

ม.ค. 57 167,361 213,209 186,395 26,814 -45,848 -44,399 -90,247 20,147 -70,100 325,728 255,629

มิ.ย. 57 324,371 164,554 154,426 10,128 159,817 -13,156 146,662 1,183 147,845 243,437 391,282

ก.ค. 57 129,071 200,235 189,421 10,814 -71,163 -9,703 -80,866 36,277 -44,589 391,282 346,692

ส.ค. 57 133,134 132,110 124,670 7,440 1,024 2,412 3,435 7,776 11,211 346,692 357,904

ก.ย. 57 259,564 228,864 212,182 16,682 30,700 89,084 119,783 18,060 137,843 357,904 495,747

รวม 2,075,665 2,459,990 2,246,306 213,684 -384,325 25,021 -359,305 250,000 -109,305 605,052 495,747


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล หน่วย: ล้านบาท รายเดือน 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพือ่ ชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 57 166,105 367,598 344,801 22,797 -201,494 15,829 -185,666 15,850 -169,816 495,747 325,932

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่: 2 พฤศจิกายน 2558

พ.ย. 57 144,187 205,758 180,660 25,098 -61,571 -31,462 -93,033 9,970 -83,063 325,932 242,869

ธ.ค. 57 186,470 270,745 240,911 29,835 -84,276 15,267 -69,008 5,463 -63,545 242,869 179,324

ม.ค. 58 162,172 215,737 197,891 17,846 -53,565 -26,873 -80,438 17,116 -63,322 179,324 116,002

ก.พ. 58 142,868 150,428 131,447 18,981 -7,560 23,831 16,271 50,860 67,131 116,002 183,133

ปีงบประมาณ 2558 มี.ค. 58 เม.ย. 58 173,661 149,340 251,453 191,488 228,371 178,945 23,082 12,542 -77,793 -42,148 -346 4,603 -78,139 -37,545 16,103 42,000 -62,036 4,455 183,133 121,097 121,097 125,552

พ.ค. 58 163,443 176,754 163,958 12,796 -13,312 -2,090 -15,402 24,000 8,598 125,552 134,150

มิ.ย. 58 348,036 201,327 186,535 14,792 146,709 -17,020 129,689 0 129,689 134,150 263,839

ก.ค. 58 140,505 221,926 208,731 13,195 -81,421 -369 -81,790 20,000 -61,790 263,839 202,049

ส.ค. 58 174,686 148,252 138,914 9,338 26,434 4,017 30,451 33,000 63,451 202,049 265,500

ก.ย. 58 258,098 199,955 176,951 23,004 58,143 86,896 145,039 15,638 160,677 265,500 426,177

รวม 2,199,125 2,601,422 2,378,115 223,307 -402,297 82,727 -319,570 250,000 -69,570 495,747 426,177


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล หน่วย: ล้านบาท รายเดือน 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพือ่ ชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 58 156,085 374,201 359,608 14,593 -218,116 -11,280 -229,396 99,094 -130,302 426,182 295,880

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่: 1 ธันวาคม 2558

พ.ย.58

ธ.ค.58

ม.ค.59

ก.พ.59

มี.ค.59

ปีงบประมาณ 2559 เม.ย.59

พ.ค.59

มิ.ย.59

ก.ค.59

ส.ค.59

ก.ย.59

รวม


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) รายปี Table 4-1 CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: ANNUAL DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/ 8/

FY2010 1/ 2/

3/ 4/

FY2011

FY2012

FY2013

1,819,713 2,015,974 2,118,451 2,377,921 2,131,350 2,197,461 2,394,541 2,613,844 1,925,684 2,040,230 2,208,883 2,381,216 205,666 157,230 185,658 232,629 (105,971) (24,256) (90,432) (3,295) (311,637) (181,486) (276,090) (235,924) 10,845 92,188 57,416 1,401 322,482 273,675 333,506 237,324 270,603 272,684 (89,452) 95,340 51,879 991 422,958 141,984

FY2014 2,306,092 2,612,066 2,443,102 168,964 (137,010) (305,973) (145,534) 160,440 119,279 41,161

5/ 2/

3/ 4/

225,210 177,005 172,625 4,380 52,585 48,205 42,800 (5,405) (5,405) -

226,661 206,767 204,986 1,781 21,675 19,894 5,053 (14,844) (14,844) -

253,946 229,335 228,940 395 25,006 24,611 28,520 3,909 3,909 -

378,643 252,043 250,870 1,173 127,774 126,601 125,142 (1,458) (1,458) -

281,835 248,770 249,580 (810) 32,255 33,065 31,297 (1,768) (1,768) -

221,270 77,447 77,447 143,823 143,823 80,633 (63,190) (63,190) -

158,180 50,520 50,520 107,661 107,661 100,558 (7,103) (7,103) -

150,309 56,631 56,631 93,679 93,679 118,972 25,294 25,294 -

180,653 63,067 63,067 117,586 117,586 124,789 7,203 7,203 -

208,079 67,083 67,083 140,996 140,996 156,877 15,880 15,880 -

191,764 191,764 191,764 -

169,258 169,258 169,258 -

193,246 193,246 193,246 -

264,660 264,660 264,660 -

206,502 206,502 206,502 -

2,074,428 2,231,558 2,329,460 2,672,557 2,194,037 2,285,490 2,487,261 2,664,294 1,983,992 2,126,478 2,301,208 2,430,493 210,046 159,011 186,054 233,802 90,437 105,080 28,253 242,064 (119,609) (53,931) (157,801) 8,263 134,278 197,798 204,908 251,332 253,887 251,727 362,709 243,069 202,008 250,736 (60,248) 101,085 51,879 991 422,958 141,984

2,589,504 2,721,416 2,553,263 168,153 36,241 (131,912) 42,640 174,552 133,391 41,161

6/ 2/ 8/ 3/ 4/

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfer Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2008. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update March 31, 2015


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) รายเดือน Table 4-1 2015

CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA

Oct-14

Nov-14

Dec-14

Jan-15

Feb-15

Mar-15

Apr-15

May-15

Jun-15

Jul-15

Aug-15

Sep-15

1. Budgetary Account: 1.

Revenue

1/

2.

Expenditure (2.1+2.2):

2/

2.1 2.2

Expense Net acquisition of nonfinancial assets

3.

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets

6.

Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

2. Extrabudgetary Accounts: 1.

Revenue

2.

Expenditure (2.1+2.2): 2.1 2.2

2/

Expense Net acquisition of nonfinancial assets Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

3. Social Security Funds: 1.

Revenue

2.

Expenditure (2.1+2.2): 2.1

Expense

2.2

Net acquisition of nonfinancial assets

2/ 8/

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

4. Elimination of Double Counting: 1.

Revenue

2.

Expenditure (2.1+2.2): 2.1 2.2

2/

Expense Net acquisition of nonfinancial assets Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

177,334 233,423 219,137 14,286 (41,803) (56,089) (13,979) 42,110 41,279 831

164,123 157,539 136,057 21,482 28,066 6,584 79,978 73,394 73,672 (278)

182,165 265,977 230,278 35,699 (48,113) (83,812) (64,966) 18,846 18,243 603

188,574 204,769 184,539 20,230 4,035 (16,195) 27,111 43,306 42,857 449

269,892 285,573 175,724 230,632 155,199 204,885 20,525 25,747 114,693 80,688 94,168 54,939 (10,175) 61,679 (104,343) 6,740 (102,382) 4,960 (1,961) 1,780

157,619 239,991 231,074 162,354 212,927 145,331 18,147 17,023 (55,308) 94,659 (73,454) 77,635 (52,269) 96,965 21,185 19,330 18,253 16,558 2,932 2,772

264,784 251,326 213,358 37,968 51,427 13,459 59,798 46,339 46,339 -

67,481 27,111 27,714 (602) 39,767 40,369 41,358 989 989 -

16,812 15,460 15,313 147 1,500 1,352 4,783 3,430 3,430 -

20,100 28,230 27,966 264 (7,866) (8,130) (12,497) (4,367) (4,367) -

53,635 14,097 13,844 253 39,791 39,538 35,421 (4,117) (4,117) -

17,356 17,086 16,710 376 646 270 (407) (677) (677) -

16,408 20,991 20,840 151 (4,431) (4,582) (9,494) (4,912) (4,912) -

37,304 18,370 18,085 285 19,218 18,935 19,604 670 670 -

8,573 11,591 11,359 231 (2,786) (3,017) (5,250) (2,232) (2,232) -

8,579 18,668 18,054 613 (9,476) (10,088) (10,086) 3 3 -

26,990 7,930 7,214 716 19,775 19,060 33,103 14,044 14,044 -

7,477 11,196 10,668 529 (3,191) (3,719) (2,325) 1,394 1,394 -

19,229 26,946 25,856 1,090 (6,627) (7,716) (10,197) (2,480) (2,480) -

18,030 4,744 4,744 13,286 13,286 2,508 (10,779) (10,779) -

18,070 4,122 4,122 13,948 13,948 21,584 7,636 7,636 -

33,613 15,593 15,593 18,020 18,020 17,338 (682) (682) -

7,674 4,022 4,022 3,652 3,652 10,176 6,524 6,524 -

17,971 3,499 3,499 14,472 14,472 9,098 (5,373) (5,373) -

19,994 4,947 4,947 15,047 15,047 15,645 598 598 -

19,263 4,423 4,423 14,840 14,840 21,908 7,068 7,068 -

18,591 6,240 6,240 12,351 12,351 (1,394) (13,745) (13,745) -

7,644 4,495 4,495 3,148 3,148 17,826 3,750 3,750 -

19,785 4,504 4,504 15,281 15,281 6,717 (8,564) (8,564) -

20,197 6,528 6,528 13,669 13,669 (3,246) (3,139) (3,139) -

18,550 6,640 6,640 11,910 11,910 23,404 -

58,195 58,195 58,195 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,958 4,958 4,958 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,599 5,599 5,599 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

42,589 42,589 42,589 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,308 4,308 4,308 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,420 4,420 4,420

27,561 27,561 27,561

3,583 3,583 3,583

3,573 3,573 3,573

21,337 21,337 21,337

4,144 4,144 4,144

13,616 13,616 13,616

-

-

-

-

-

-

-

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

207,956 303,820 291,337 12,484 (83,381) (95,865) (117,270) (21,405) (21,723) 318

198,555 216,745 203,522 13,222 (4,967) (18,190) (11,433) 6,757 6,681 76

240,094 325,255 296,642 28,613 (56,548) (85,161) (90,113) (4,952) (5,122) 170

196,054 208,953 194,414 14,539 1,640 (12,900) 31,618 44,517 43,686 831

195,142 173,816 151,958 21,858 43,183 21,326 88,669 67,344 67,622 (278)

214,147 287,495 251,645 35,850 (37,497) (73,349) (58,815) 14,532 13,929 603

217,580 200,001 179,486 20,515 38,093 17,580 68,622 51,044 50,595 449

293,473 298,223 189,972 250,222 169,215 223,861 20,756 26,360 124,258 74,360 103,502 48,001 (16,819) 69,418 (120,320) 10,493 (118,359) 8,713 (1,961) 1,780

183,057 222,171 203,309 18,863 (20,252) (39,114) (12,449) 26,665 23,733 2,932

263,521 175,933 158,383 17,552 105,137 87,587 91,393 17,585 14,813 2,772

288,947 271,296 232,238 39,058 56,709 17,651 73,005 43,859 43,859 -

7/

3.

6.

191,980 287,031 258,682 28,349 (66,702) (95,051) (94,954) 97 (73) 170

6/

3.

6.

168,631 202,121 189,046 13,075 (20,415) (33,490) (37,800) (4,310) (4,386) 76

5/

3.

6.

180,640 330,160 317,074 13,086 (136,434) (149,521) (161,136) (11,615) (11,933) 318

5. Consolidated Central Government: 1.

Revenue

1/

2.

Expenditure (2.1+2.2):

2/

2.1 2.2

Expense Net acquisition of nonfinancial assets

3.

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets

6.

Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/ 8/

Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2011. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update October 30, 2015


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) รายเดือน Table 4-1 CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT 2016 GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrow ing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrow ing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrow ing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elim ination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrow ing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Governm ent: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrow ing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign

Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-15 1/ 2/

3/ 4/

168,305 351,294 331,239 20,056 (162,933) (182,989) (72,464) 110,525 110,800 (275)

5/ 2/

3/ 4/

78,364 21,943 21,906 37 56,458 56,421 54,504 (1,917) (1,917) -

6/ 2/

3/ 4/

18,030 4,744 4,744 13,286 13,286 2,508 (10,779) (10,779) -

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

64,436 64,436 64,436 N.A. N.A. N.A. N.A. 200,264 313,546 293,453 20,093 (93,189) (113,282) (15,453) 97,829 98,104 (275)

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept w hich did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net w orth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrow ing is the overall borrow ing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The follow ing are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollw ay Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions betw een the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data.

Last update October 30, 2015


สัดส่ วนรำยได้ ขององค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น ปี งบประมำณ 2540-2543

ประเภทรำยได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิ ของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2540 จำนวนเงิน สัดส่ วน 93,879 100.00 16,986 18.09 47,386 50.48 29,508 843,576

31.43

ปี 2541 จำนวนเงิน สัดส่ วน 96,056 100.00 16,759 17.45 48,667 50.67

30,630

31.89

733,462 11.13

ที่มา : กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่นและสานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 27 มีนาคม 2556

หน่วย : ล้านบาท ปี 2542 ปี 2543 จำนวนเงิน สัดส่ วน จำนวนเงิน สัดส่ วน 100,805 100.00 94,721 100.00 17,808 17.67 17,404 18.37 44,870 44.51 45,096 47.61

38,127

37.82

709,111 13.10

14.22

32,222 749,949

34.02 12.63


เป้ำหมำยสัดส่ วนรำยได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ปี งบประมำณ 2544-2550

ประเภทรำยได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิ ของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

หน่วย : ล้านบาท ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 จำนวนเงิน สัดส่ วน จำนวนเงิน สั ดส่ วน จำนวนเงิน สั ดส่ วน จำนวนเงิน สั ดส่ วน จำนวนเงิน สั ดส่ วน จำนวนเงิน สั ดส่ วน จำนวนเงิน สั ดส่ วน 159,753 100.00 175,850 100.00 184,066 100.00 241,948 100.00 293,750 100.00 327,113 100.00 357,424 100.00 17,702 11.08 21,084 11.99 22,258 12.09 24,786 10.24 27,019 9.20 29,110 8.90 32,021 8.96 55,652 34.84 58,144 33.07 60,218 32.72 82,623 34.15 102,520 34.90 110,190 33.69 120,729 33.78 12,669 7.93 19,349 11.00 35,504 19.29 43,100 17.82 49,000 16.68 61,800 18.89 65,300 18.27 73,730 772,574

46.15 20.68

77,273 803,651

43.94 21.88

66,086 829,496

35.90 22.19

91,438 1,063,600

37.79

115,211 1,250,000

22.75

หมายเหตุ : 1/ ในปี งบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยูท่ ี่ส่วนราชการที่ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นบั รวมในสัดส่ วนรายได้ของ อปท. เป็ นจานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลาดับ

39.22 23.50

126,013 1,360,000

38.52 24.05

139,374 1,420,000

38.99 25.17


เป้ำหมำยสั ดส่ วนรำยได้ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น ปี งบประมำณ 2551-2558

ประเภทรำยได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมลู ค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิ ของรัฐบาล 3. สัดส่ วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 จำนวนเงิน สัดส่ วน จำนวนเงิน สัดส่ วน จำนวนเงิน สัดส่ วน จำนวนเงิน สัดส่ วน จำนวนเงิน สัดส่ วน จำนวนเงิน สัดส่ วน 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 572,670 100.00 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 50,282 8.78 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 187,988 32.83 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 97,900 17.10 147,840 1,495,000

39.24 25.20

163,057 1,604,640

39.35 25.82

139,895 1,350,000

41.03 25.26

173,950 2/ 1,650,000

40.33 26.14

221,092 1,980,000

41.72 26.77

หมายเหตุ : 2/เป็ นตัวเลขก่อนการจัดทางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ่ งได้จดั สรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ่มเติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั้งนี้ เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื่อรวมกับที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปี แล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและสานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 21 ตุลาคม 2557

236,500 2,100,000

41.30 27.27


เป้ำหมำยสั ดส่ วนรำยได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ปี งบประมำณ 2557-2559

ประเภทรำยได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 รายได้ที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2557 จำนวนเงิน สั ดส่ วน 622,625 100.00 56,306 9.04 203,819 32.74 109,000 17.51 253,500 2,275,000

40.71 27.37

ปี 2558 จำนวนเงิน สั ดส่ วน 646,344 100.00 61,458 9.51 218,222 33.76 109,000 16.86 257,664 2,325,000

39.86 27.80

หน่วย : ล้านบาท ปี 2559 จำนวนเงิน สั ดส่ วน 656,239 100.00 70,000 10.67 218,940 33.36 109,000 16.61 0.00 258,299 39.36 2,330,000 28.16

ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สานักงบประมาณ กรมส่งเสริ มการปกครองท้องถิ่นและสานักงานเศรษฐกิจการคลัง รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 8 ตุลาคม 2558


เรื่อง

ผู้รับผิดชอบ

โทรศัพท์

E-mail

บทสรุปผูบ้ ริหาร สถานการณ์ดา้ นรายได้ สถานการณ์ดา้ นรายจ่าย การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ การเบิกจ่ายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณ์ดา้ นหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติด้านการคลัง - รายได้รัฐบาล - โครงสร้างงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดส่วนรายได้ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สายทิพย์ คําพุฒ อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย์ คําพุฒ ไพลิน ช่างภิญโญ ไพลิน ช่างภิญโญ

3556 3555 3556 3595 3595

nui-642@hotmail.com dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

ไพลิน ช่างภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ ศุทธ์ธี เกตุทัต ลลิตา ละสอน ธนากร ไพรวรรณ์

3544 3586 3563 3546

thammarit@gmail.com suthee@fpo.go.th lalita.lasorn@gmail.com thanakornpepe@gmail.com

ณัฏฐ์รวี กรรณุมาตร์

3576

sandyfaprew@hotmail.com

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย์ คําพุฒ ศุทธ์ธี เกตุทัต

3555 3556 3586

dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com suthee@fpo.go.th

ไพลิน ช่างภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ณัฏฐ์รวี กรรณุมาตร์

3576

sandyfaprew@hotmail.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.