

6 GREEN LPN LIVABLE LIVING
EXPERIENCE
• สารจากประธานกรรมการ
• เป้าหมายเพื อความยังยืน
- วิสัยทัศน์ปี 2566-2568
- พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสีย
• LPN WAY วิถีองค์กรขับเคลือนสู่ความยังยืน
• ผลงานทีภาคภูมิใจ
• กลยุทธ์องค์กรและแนวทางการดำาเนินงาน
ปี 2567
• รางวัลแห่งความภูมิใจ
• เป้าหมายเพื อการเติบโตอย่างยังยืน
•
OUT PROCESS
ความรับผิดชอบ ต่อสิ งแวดล้อมและสังคม
นอกกระบวนการ AS PROCESS
ความรับผิดชอบ
ต่อสิ งแวดล้อมและสังคม อิงกระบวนการ
• LPC SOCIAL ENTERPRISE
• LPN ACADEMY : สถาบันแอล.พี.เอ็น.
ความยังยืนระดับนโยบาย
PROCESS
• GREEN ENTERPRISE
การดำาเนินธุรกิจทีให้ความสำ าคัญ
กับการบริหารจัดการและทุนมนุษย์
• GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
การกำาหนดผลตอบแทนและการเติบโต
ขององค์กรให้เหมาะสม
• GREEN DESIGN CONCEPT
การออกแบบผลิตภัณฑ์
ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ งแวดล้อม
• GREEN MARKETING MANAGEMENT
การตลาดทีเป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง
• GREEN CONSTRUCTION PROCESS
การบริหารจัดการผลกระทบทีมีผลต่อ สิ งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง
• GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต
ของผู้พักอาศัยในโครงการหลังส่งมอบ
• การพัฒนาด้านนวัตกรรม
สารจากประธานกรรมการ
ผมขอขอบคุณทุกความทุ่มเทของผู้บริหาร พนักงาน และพันธมิตรทางธุรกิจทีสนับสนุนการทำางานทีผ่านมา รวมทังความเชือมัน
ให้บริษัทไม่หยุดทีจะพัฒนาสินค้าและบริการเพื
ทีส่งมอบความสุขทีแท้จริงของการอยู่อาศัยให้กับคนไทยทุกคน
อย่างยังยืน

และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและทีคาดว่าจะเกิดขึนในอนาคต ซึงในปี 2566 นัน เศรษฐกิจของไทยได้รับ
ผลกระทบจากการที เศรษฐกิจของโลกเข้าสู่ภาวะถดถอย บริษัทจึงต้องมีการปรับตัวเพื อรองรับกับสถานการณ์
ทีเกิดขึน ด้วยการปรับโครงสร้างภายใน เพื
และหลักธรรมาภิบาล
พัฒนาศักยภาพให้เป็น
คนเก่งด้วยทักษะ ความรู้
และปฏิบัติงาน
ด้วยความรับผิดชอบ
ร่วมกันพัฒนากระบวนการ ในการทำางานเพื อความก้าวหน้า
(Livable Home)” ด้วยราคา
(Affordable Price)
(Sustainable Development)















LPN WAY
(LPN Way) ประกอบด้วยคุณค่า
(Respect to Stakeholders)
C-L-A-S-S-I-C
สมรรถนะหลักองค์กร (Core Competency)
COST LEADERSHIP
(Continuous Development)
COST
LPN WAY SUSTAINABLE DEVELOPMENT
CONTINUOUS DEVELOPMENT
LPN TEAM DYNAMIC
LATERAL THINKING
LATERAL THINKING ALLIANCE



S S


A I

INTEGRITY

CONTINUOUSDEVELOPMENT RESPECT TOSTAKEHOLDERS LPN
COLLABORATION

C
HUMAN
SPEED WITH QUALITY
RESPECT
CORPORATE GOVERNANCE
COLLABORATION

Environmental
1,960,300















กลยุทธ์องค์กรและแนวทางการดำาเนินงานปี
FINANCIAL
Sustainability
CUSTOMER
Create Value for our customers: to meet and beyond their needs, demands, and expectations through products and services
INTERNAL
Decision are made on the basic of best available Information and a culture of continuous improvement and commitment to the consequences
Increase sales revenue and backlog
Achieve a positive financial position
Manage dept liabilities and liquidity
Our communities’ and residents’ outcomes are “Pride to belong”
Value for money, quality and care
Marketing Mgt. Green Margeting Mgt.
Enhance Brand Experience
Deliver a quality living and society
Develop and embed ESG goals into our operating process and structure to sustain our business
Construction Mgt. Green Construction Mgt.
Customer Mgt. Customer insight data
Financial Mgt. Green Financial Mgt.
ORGANIZATIONAL CAPABILITIES
Our staff are proficient, capable, compassionate and committed to delivery the best result
Our organizational structure and systems support the delivery of outstanding outcomes and responsive to impact of change
Human Capital
Engaged & Empowered Workforce
Develop talented, empowered and accountable workforce
Strengthen staff communication and engagement
Develop a culture of Self Learning, and Continuous Improvement
• Develop Systematic Thinking and Result-oriented skills
Information Capital
Consequence & Data-driven Based
Promote enquiry and research to develop, share and apply new knowledge
Develop IT capability for better accessing, understanding and evaluation of information
Promote objective-drive and cost-benefit decision making
Operation Mgt. Cross function
Organizational Capital
Responsive & Livable Organization
Promote team-based organization and goaldirected alignment
• Develop expertise in business deliverable procedures across business units and partners
Strengthen stakeholder -centric collaboration
• Green Enterprise Management
สามารถที่จะสร้างผลกำาไรและจ่ายเงินปันผลกลับคืนสูงบริษัทแม่
2. ปรับพอร์ตการลงทุนให้มีความเหมาะสมโดยใช้เงินทุนของบริษัท ขยายการลงทุนไปในธุรกิจที่ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม
(Rebalance for Sustainable Growth)
ที่ตอบโจทย์กับความต้องการของลูกค้า (Customer Insight) ด้วย
การวิเคราะห์พฤติกรรมและความต้องการของลูกค้าจากฐานข้อมูล (Big Data) โดยการปรับแผนในการพัฒนาโครงการให้สามารถ
ตอบโจทย์กับความต้องการของคนรุ่นใหม่

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำากัด (มหาชน)
ได้รับรางวัลด้านบรรษัทภิบาล
บริษัททีมีการกำากับดูแลกิจการใน
“ระดับดีเลิศ” (5 ดาว)
จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
โดยการสนับสนุนจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึงได้สำารวจการกำากับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนไทย
ประจำาปี 2566






กับพันธกิจที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
2566
ซึ่งบริษัทยังคงให้ความสำาคัญสูงสุดกับการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความยั่งยืน อย่างไรก็ตามในปีนี้
อสังหาริมทรัพย์ยังคงเผชิญกับความท้าทายจากหลายปัจจัย ถึงแม้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัสจะคลี่คลายลง แต่การใช้ชีวิต ของผู้คนในสังคมยังคงต้องระมัดระวัง
ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มก้าวผ่านวิกฤติได้อย่างปลอดภัย
ในส่วนของเป้าหมายหลักในการเติบโตขององค์กร คณะกรรมการบริษัทยังคงให้ความสำ
SDGs

แบ่งปันคืนสู่สังคม
ด้วยการสนับสนุน
การดำาเนินงานของ “วิสาหกิจเพื่อสังคม”
เพื่อสร้างงาน คุณภาพ
ชีวิต และศักดิ์ศรี
ของสตรีด้อยโอกาส
กำาหนดให้
จัดให้มีการฝึกอบรม
อาชีพแก่สตรีด้อย โอกาสที่ทำางานใน องค์กร
สนับสนุนให้มี การเรียนการสอน แก่เด็กด้อยโอกาส ภายในบ้านพัก คนงานก่อสร้าง
SDGs
Green Enterprise

ปฏิบัติกับผู้มี
ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างเท่าเทียม
เคารพสิทธิมนุษยชน
และให้ความสำาคัญ กับการให้โอกาสที่ เท่าเทียมแก่ผู้พิการ พัฒนาโครงการ เพื่อให้ประชากร
(Business Model Innovation)
Community Management
ประสิทธิภาพ
ส่งเสริมให้มีการ
รีไซเคิลและลดขยะ
ภายในองค์กร

พัฒนาโครงการโดย
LPN Green Design
Concept
Green Construction Process Standard
LPN’S GREEN JOURNEY
บนเส้นทางของการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ LPN
นำาพาองค์กรและมีผู้ส่วนได้เสียทุกกลุ่มสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทจึงได้ยึดถือและน้อมนำาเอาหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มิติสิ่งแวดล้อมซึ่งมีหลายกระบวนการในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่อาจสร้างผลกระทบในวงกว้าง เช่น กระบวนการออกแบบ
ก่อสร้าง และกระบวนการการดูแลการอยู่อาศัย
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
LPN Green Design Concept และ LPN Green Construction Process
ความสำาคัญกับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แนวคิดการออกแบบมาพัฒนาให้เป็นแนวปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมภายใต้แนวคิด 6 GREEN LPN
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมถึงปรับปรุงกระบวนการให้ตอบรับการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน ด้วยการนำาแนวคิดในการออกแบบ และการก่อสร้างที่อยูู่อาศัยให้เกิดของเสียน้อยที่สุด (Eco-Design & Zero-Waste)
(Sustainable Organization)
First LPN Signature Green Project 6 GREEN LPN
Green Design Concept and Green Construction Process Standard


First LEED Certified Project
(Carbon Neutral)

Dream House Project
Livable Community Model
The Seeds: Idea Suggestion

Green Design Concept and Green Construction Process Standard for Housing
BEC Awards
The Seeds: Idea Suggestion #2
Construction Camp Site - Quality Improvement Project
100% BIM Implementation
LPN Signature Course

Year of Shift
ISO 14001 and ISO 9001 Kick-off year
Product Development Center
Green Enterprise Standard Green Marketing Management Standard
Green Financial Management Standard

Lumpini Property
Management Co.,Ltd. achieves ISO 9001: 2015
LPC Social Enterprise Co.,Ltd. achieves ISO 9001: 2015
Lumpini Project Management Service Co.,Ltd. achieves ISO 9001: 2015 and ISO 14001: 2015
LPC Social Enterprise Co.,Ltd. certified as the first group of SE
TREES Certification Anticipated
Green Community Management Standard Service Development Center


LPN Zero Waste Management Project 2022 Kick off
LPN Zero Waste Management Project 2022
LPN Carbon Neutral Organization
LPN Carbon Neutral Organization
LEED Certification Anticipated (Punn Tower)
LPN Carbon Neutral Organization
LPN 6 Green Development








CESR PROJECT


CESR PROJECT
2566

ขอบเขตที 1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงขององค์กร
ขอบเขตที

2566
จากการที่บริษัทมีการจัดทำาคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลา

Science-based Targets : SBT)
• ตารางสรุปข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร
2562-2566












57,934



(Thailand Carbon Neutral Network)
Climate Care Collaboration
Climate Care Collaboration
Climate Care Collaboration
Care the Bear
6 ด้านดังนี้
1) รณรงค์ให้เดินทางโดยรถสาธารณะหรือเดินทางมาร่วมกัน
2) ลดการใช้พลังงานจากอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเปลี่ยนไปใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน
3) ลดการใช้กระดาษ พลาสติก
4) งดการใช้โฟมจากบรรจุภัณฑ์หรือโฟมเพื่อการตกแต่งในงาน
5) ออกแบบโดยใช้วัสดุตกแต่งที่สามารถกลับมาใช้ใหม่ได้
6) ลดขยะจากอาหารเหลือทิ้งในงาน
“2023 LPN Business Direction Press Conference & Thank You Party”
Care the Bear
Care the Whale
Care the Wild
Care the Whale
ประเทศไทยร่วมกับภาคสังคม
ขยายผลไปออกยังพื้นที่ต่างๆ เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะปัญหาขยะที่เกิดขึ้น โดยมีเป้าหมายเพื่อลดปริมาณการเกิดขยะตั้งแต่ต้นทาง
Whale Calculator ที่จะช่วยคำานวณปริมาณขยะที่เกิดขึ้น
ซึ่งบริษัทได้นำาเครื่องมือดังกล่าวมาใช้ในการคำานวณปริมาณขยะในสำานักงานใหญ่ เพื่อให้ทราบว่า การจัดการขยะของบริษัทสามารถช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากน้อยเพียงใด เพื่อหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะขององค์กร ปี 2566 ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในองค์กร

Care the Whale Calculator
Total Waste Output (KG)
6,060
Recycle and General (%)
1,644 4,416 General Waste
Recycle Volume
Recycled by Category (KG)
Plastic 215 Can 4 Paper 1,425

Waste Volume by Year, Quarter, Month (KG)

Care the Wild

8,223 กิโลกรัม ซึ่งช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เท่ากับ

จากกิจกรรม “แยก แลก ตัง” จากองค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
ภายใต้โครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme; LESS) และ เมื่อวันศุกร์ที่
คณะอนุกรรมการกำ า กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เป็นผู้แทนบริษัทเข้าร่วมพิธีรับมอบประกาศเกียรติคุณ
2023 : Time To Reduce
รวมถึงสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในองค์กรให้ร่วมกัน ลดและจัดการทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า เพื่อนำาไปสู่การลดก๊าซเรือนกระจกอย่างเป็นรูปธรรม


Climate Care Forum 2023 : Time To Reduce

การบริหารจัดการพลังงานในองค์กร
จากแนวคิดและนโยบายของผู้บริหารระดับสูงเรื่องการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าในองค์กร
และแผนการปฏิบัติงานในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า

การติดตัง Solar Rooftop
เป็นโครงการลดก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โดยการติดตั้ง
แผง Solar Rooftop บนหลังคาอาคารสำานักงานขายตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง จำานวน
แผง 545-600 วัตต์ต่อแผง จำานวนรวม 178 แผง (ขนาดติดตั้ง
Solar Rooftop
31,733
(KgCO2e)

(องค์การมหาชน)
ภายใต้โครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme; LESS) ด้านพลังงาน
กระจกได้ทั้งสิ้น 31,733 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (KgCO2e)
Solar Rooftop
LPN Sale Gallery
- 20 ธันวาคม 2566
มกราคม - 20 ธันวาคม 2566
มกราคม - 20 ธันวาคม 2566
มิถุนายน - 30 พฤศจิกายน 2566 14 มิถุนายน - 20 ธันวาคม 2566 22 มิถุนายน - 20 ธันวาคม 2566 17 กรกฎาคม - 20 ธันวาคม 2566


ในการสร้างความยั่งยืนให้กับองค์กร จำ า เป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรทุกระดับจะต้องมีความเข้าใจ
รวมถึงมองเห็นเป้าหมายเดียวกัน หลักคิดในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนจึงได้รับการรวบรวมและ กลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ในองค์กร รวมทั้งใช้เป็นแนวทางให้ทุกภาคส่วนนำาไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
พื นฐานการพัฒนาอย่างยังยืนบนหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง LPN
ผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง
รักษาการเติบโตให้เป็นไปอย่างเหมาะสม นอกจากนี้
มาปรับใช้เป็นแนวทางการดำาเนินธุรกิจของบริษัทอีกด้วย
มีการประเมินศักยภาพของบริษัทและ ประเมินความเสี่ยงอย่างสม่าเสมอ เพื่อนำา
ไปสู่การกำาหนดอัตราการเติบโตที่เหมาะสม
แสวงหาผลกำาไรที่พอประมาณ ไม่เอารัด
เอาเปรียบ ดำาเนินธุรกิจโดยไม่เบียดเบียน
นโยบายและเป้าหมายการจัดการด้านความยังยืน
ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในทุกกระบวนการและทุกขั้นตอน เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม พร้อมทั้งดูแล ผู้มีส่วนได้เสียอย่างเหมาะสม
ต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้เสียทั้ง 8 กลุ่ม ใน 10 กระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
โดยกำาหนดเป้าหมายสุดท้ายของการดำาเนินธุรกิจทั้ง
PROFIT
ECONOMIC
สร้างสมดุลของผลตอบแทนหรือกำาไรใน การดำาเนินงานที่พอประมาณและต่อเนื่อง
บนพื้นฐานของการกำ า กับดูแลกิจการที่ดี มีความรับผิดชอบในการประกอบกิจการ ด้วยความโปร่งใสและเปิดเผย บริหาร ความเสี่ยงในระดับที่เหมาะสม รวมถึง
คำ า นึงถึงการแบ่งปันผลตอบแทนไปสู่ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ลดผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ในกระบวนการ (In Process) ตั้งแต่ กระบวนการออกแบบและกระบวนการ
โดยทั่วไปความรับผิดชอบของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มักจะสิ้นสุดที่การส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือห้องชุดแก่ลูกค้า แต่ในทางกลับกัน บริษัทเล็งเห็นถึงความสำาคัญของการดูแลคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัยในโครงการ ซึ่งไว้วางใจในการเลือกซื้อห้องชุด
6 GREEN LPN
ด้วยความตระหนักถึงการดำาเนินธุรกิจที่ต้องคำานึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างจริงจังในทุกกระบวนการ
35
และกลั่นกรองประสบการณ์จากการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และการบริหารชุมชน
1 2 3
GREEN ENTERPRISE การดำาเนินธุรกิจที่ให้ความสำาคัญกับ
GREEN DESIGN CONCEPT
GREEN MARKETING MANAGEMENT
4 5 6
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
GREEN CONSTRUCTION PROCESS
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
8 STAKEHOLDERS
1 2 3 4
SHAREHOLDERS
5 6 7 8
NEIGHBORS
RESIDENTS
PROCESS 01
10 PROCESSES
PROCESS 02
PROCESS 03
พัฒนาโครงการบนพื้นที่คุณภาพ
ที่สามารถตอบสนองต่อการขยายของ
ตัวเมืองและความต้องการที่อยู่อาศัย
ของประชากร โดยต้องเป็นทำาเล
ที่สามารถเข้าถึงแหล่งคมนาคม และแหล่งอำานวยความสะดวกพื้นฐาน
1 2 3 4 5
PROCESS 04
ออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม เพื่อตอบสนองความต้องการที่ “พอดี” กับทุกมิติของการ อยู่อาศัย ด้วยมาตรฐานการออกแบบอาคาร LPN Green Design
Concept Standard ซึ่งบริษัทได้พัฒนาขึ้นโดยใช้เกณฑ์อาคารเขียว ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นต้นแบบ เพื่อยกระดับ ให้ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานและเป็นที่อยู่อาศัยที่ส่งเสริมให้ผู้อยู่อาศัย ประหยัดการใช้ทรัพยากร และสามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
PROCESS 05
ยึดหลัก Human Centric หรือการให้ความสำาคัญ
ดำาเนินนโยบายการตลาดด้วยความจริงใจ โปร่งใส รับผิดชอบต่อผู้บริโภคทั้งก่อนและหลังการส่งมอบ
การบริหารจัดการ
ทางการเงิน
กำ า หนดเป้าหมายการทำ า ธุรกิจที่มุ่งสู่
การเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
มีผลการดำ า เนินงานที่มีกำ า ไรเติบโต อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม และนำ า ผลตอบแทนนั้นไปกระจายต่อ
ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการ พัฒนาโครงการอย่างสมดุล โดยการบริหารจัดการอัตราส่วน
ทางการเงินและค่าใช้จ่ายของบริษัท และบริษัทย่อยในสัดส่วนที่เหมาะสม
ตามเป้าหมายรายได้และแผนธุรกิจ ขององค์กร
มีมาตรฐานการตรวจคุณภาพของห้องชุดและพื้นที่ส่วนกลางให้ สมบูรณ์ก่อนการส่งมอบอย่างเคร่งครัด
GRI : 102-9 Supply chain 102-16 Values,principles,standards,and norms of behaviour
การจัดการด้านความยังยืน
ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นอย่างสูง โดยเฉพาะโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ จะเห็นได้ว่าอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีคุณภาพมักสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นอย่างมาก บริษัทจึงให้ความสำาคัญกับการดำาเนินธุรกิจ โดยคำานึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม และได้กำาหนดไว้ในแผนธุรกิจของบริษัทเพื่อนำาไปสู่ความยั่งยืนที่แท้จริง
แค่ความรับผิดชอบในกระบวนการ (In Process) ตามแนวทาง
(Out Process)
1 2 3
ในกระบวนการ
In Process
คือ ความรับผิดชอบจากผลกระทบและสร้างคุณค่า
จากการดำาเนินธุรกิจขององค์กรที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและสังคมในทุกกระบวนการ
ดำาเนินงานขององค์กร
นอกกระบวนการ Out Process
คือ การมีส่วนร่วมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อ
สิ่งแวดล้อมและสังคมที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การดำาเนินงานขององค์กร
อิงกระบวนการ As Process
คือ การสนับสนุนและดำาเนินกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม และสังคมที่ไม่มีอยู่ในการดำาเนินธุรกิจหลักขององค์กร
IN PROCESS
1. GREEN ENTERPRISE
การดำาเนินธุรกิจทีให้ความสำ
2. GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
การกำาหนดผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กรให้เหมาะสม
3. GREEN DESIGN CONCEPT
การออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ
4. GREEN MARKETING MANAGEMENT
การตลาดทีเป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง
5. GREEN CONSTRUCTION PROCESS
การบริหารจัดการผลกระทบทีมีผลต่อสิ งแวดล้อมและสังคม ในกระบวนการก่อสร้าง
6. GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัย
GREEN ENTERPRISE



จากความตั้งใจของบริษัทที่จะเป็นผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ให้ความสำาคัญกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในทุกกระบวนการ
และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม บริษัทจึงได้นำาแนวคิดดังกล่าวกำาหนดเป็นนโยบายและการปฏิบัติเพื่อดูแลผู้มีส่วนได้เสีย
(Corporate Policy) ไปจนถึงมาตรฐานการปฏิบัติงาน
1. การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน (Sustainability Management)
2. การบริหารจัดการทุนมนุษย์ (Human Capital Management)
1.
(Sustainability Management)
1. การเติบโตและการสร้างผลกำาไรอย่างเหมาะสม บริษัทได้พัฒนาแนวทางและแผนกลยุทธ์การบริหาร โดยกำ า หนด
เป้าหมายการเติบโตและผลกำ า ไรด้วยการให้ผลตอบแทนที่ต่อเนื่อง และมั่นคงแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปีที่ผ่านมา บริษัทได้คำานึงถึงการพัฒนาและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นปีที่ธุรกิจในภาคอสังหาริมทรัพย์กำาลังฟื้นตัวจากผลกระทบ
ในช่วงการระบาดของ COVID-19
2. บ้านทีสามารถเป็นเจ้าของได้
ด้วยการยึดมั่นในหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่ให้ความใส่ใจกับสังคมของ
บริษัท จึงนำามาสู่นโยบายการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ “พอดี” กับ
การใช้ชีวิต ที่นอกจากจะช่วยให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงและเป็นเจ้าของ
ที่อยู่อาศัยได้จริงแล้ว ยังช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย ในทุกมิติอีกด้วย
3. ดูแลคุณภาพชีวิตภายใต้วัฒนธรรมการอยู่อาศัยทีดี ร่วมกัน
เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยในโครงการสามารถใช้ชีวิตได้อย่างสะดวกสบาย
(Togetherness Care & Share)
บริษัทมีมาตรฐานการจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ควบคุมได้
บนพื้นฐานความรับผิดชอบในการประกอบธุรกิจและข้อปฏิบัติ เพื่อความยั่งยืน นอกจากนั้นยังคำ า นึงถึงคุณธรรม ความโปร่งใส
6. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันทุกรูปแบบ บริษัทมีนโยบายต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบทั้งภายในและภายนอก องค์กร โดยได้มีการกำ า หนดแนวทางการปฏิบัติงานอย่างรัดกุม
(Human Capital Management)
1. กำาหนดค่านิยมองค์กร (Corporate Value)
ALLIANCE SPEED WITH QUALITY
LATERAL THINKING





INTEGRITY

CONTINUOUSDEVELOPMENT

COLLABORATION

LATERAL THINKING
ALLIANCE
SPEED WITH QUALITY
INTEGRITY
COLLABORATION
2. องค์กรน่าอยู่ (Livable Organization)
(Real Pleasure of Working)
รักษาและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการจัดกิจกรรมภายในเพื่อสร้าง ความสุขและความสัมพันธ์ที่ดีร่วมกันใน
ทั้งกิจกรรม
สิ่งแวดล้อมและสังคมภายนอกองค์กร
1. 4. 2. 5. 3. 6.
กำ า หนดผลตอบแทนที่สอดคล้องกับ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำางาน มีการจัดสวัสดิการให้ตามความเหมาะสมอย่าง เป็นธรรมและเท่าเทียม ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
ของบุคลากรโดยสนับสนุนให้มีความสมดุล ทั้งในชีวิตและงาน (Work-Life Balance)
3. พัฒนาบุคลากรด้วย A-S-K (Learning & Growth)
ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน
(Skill)
4. สร้างความสมดุลระหว่างการทำางานและชีวิต (Work-Life Balance)
บริษัทส่งเสริมการดูแลคุณภาพชีวิตและการทำ า งานของพนักงาน
(Knowledge)
GREEN ENTERPRISE OPERATION
ผลการดำาเนินงาน
Green Community Management
การบริหารจัดการเพื อความยังยืน การบริหารความเสี ยง
Green Financial Management, Green Design Concept, Green Marketing Management, Green Construction Process
Green Enterprise
2566
บริษัทตระหนักดีว่าการดำาเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ส่งผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) หลายฝ่าย โดยในปี
ขยายฐานรายได้จากธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อเพิ่มรายได้
และความเสี่ยงในแคมป์คนงาน
นโยบายการบริหารความเสี่ยงของบริษัทเป็นไปตามหลักการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ความเสี่ยง ทำาหน้าที่กำาหนดนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมทุกกระบวนการ และสอบทานนโยบายการบริหารความเสี่ยง อยู่เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดผลกระทบจากสภาพสถานการณ์ใน
ที่มีหลากหลายปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งการระบาดของโรคและสภาพเศรษฐกิจที่ผันผวน โดยบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับต่าซึ่งสามารถยอมรับได้ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบที่เป็นอิสระจากคณะกรรมการบริหาร ซึ่งคณะกรรมการ
อิสระนี้มีหน้าที่เสนอแนวทาง
• ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม
• มุ่งมั่น ทุ่มเทในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ โปร่งใส
เพื่ออำานวยความสะดวก ให้กับพนักงานให้สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา
• การสื่อสารทบทวนจรรยาบรรณ







และสังคม โดยมุ่งเน้นการพิจารณาผลกระทบจากการดำาเนินงานที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร
คณะกรรมการบริษัทมีส่วนร่วมในการดำ า เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมขององค์กรผ่านคณะอนุกรรมการชุดนี้
การกำากับดูแลกิจการ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน
การกำากับดูแลกิจการถือเป็นหนึ่งในประเด็นความยั่งยืนที่มีนัยสำาคัญที่ผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์กรจะต้องมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โดยบริษัท ได้กำาหนดหลักปฏิบัติภายใต้นโยบายดังกล่าวไว้ดังนี้
• ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ในฐานะผู้นำาองค์กรที่สร้างคุณค่าให้กิจการอย่างยั่งยืน
• กำ า หนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจการที่เป็นไปเพื่อ
• เสริมสร้างคณะกรรมการที่มีประสิทธิผล
• สรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและการบริหารบุคลากร
บริษัทดำาเนินธุรกิจภายใต้หลักสิทธิมนุษยชน
ผลการดำาเนินงานในการสื่อสารและอบรมความรู้
1) การเรียนรู้และทดสอบความรู้
3 มีพนักงานเข้าทบทวนความรู้
2) พัฒนาและผลิต
3) ตู้ ปณ. จริยธรรม (ตู้ปณ.21)
4) การตรวจสอบกรณีมีเรืองสงสัยอาจพบการกระทำาความผิดทางวินัยร้ายแรงของพนักงาน
ปี 2566
• การสื อสารและอบรมเกียวกับนโยบายและขันตอนการต่อต้านทุจริต
Onboading ผู้บริหารใหม่
• กำาหนดให้มีการประเมินความเสี
• ทบทวนมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชันอย่างสม าเสมอ
• จัดให้มีช่องทางในการร้องเรียนเมือพบการเห็นการกระทำาทุจริตด้วยวิธีการดังต่อไปนี
แจ้้งต่่อประธาน
กรรมการบริหารหรือผู้้ บังคัับบัญชาโดยต่รง
ส่่งผู้่านกล่่องแส่ดง คัวามคัิดเห็นใน
ส่านักงาน
แจ้้งผู้่าน Whatsapp
ไปยังประธานกรรมการ
แจ้้งผู้่านแบบประเมิน คัวามผู้้กพัันองคั์กร แจ้้งด้วยการส่่ง
การจ้างงานอย่างเป็นธรรมและความหลากหลายของพนักงาน การว่าจ้างพนักงานใหม่และการลาออกของพนักงาน
• แยกตามเพศ


• แยกตามเพศ (คน) • แยกตามภูมิภาค (คน)


1) การสรรหาว่าจ้างพนักงานสายงานพัฒนาธุรกิจ
2) การลาออกของพนักงานสายงานพัฒนาธุรกิจ
การสรรหาว่าจ้างและการลาออกของพนักงาน การสรรหาว่าจ้าง
4) การลาออกของพนักงานสายงานบริการ
3) การสรรหาว่าจ้างพนักงานสายงานบริการ ปี
1. การดูแลสุขภาพพนักงานทีมีโอกาสหรือความเสี ยงสูง
ต่อการเป็นโรคทีเกิดจากการทำางาน บริษัทมีการติดตามผลด้านสุขภาพของพนักงานกลุ่มที่เสี่ยงเกิดโรคจากการทำางาน ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปกติ
เล็กน้อยและไม่มีผู้เสียชีวิตจากการทำางาน

3.
ผลกระทบและการร้องเรียนเรืองการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างไม่เป็นธรรมในปี 2566
4. อัตราส่วนของค่าจ้างมาตรฐานเปรียบเทียบกับค่าแรงขันต
อัตราส่วนของค่าจ้างมาตรฐานเปรียบเทียบกับค่าแรงขันตา
ตาราง : อัตราค่าจ้างมาตรฐานของบริษัทเปรียบเทียบระหว่างปี 2565 และ 2566
พนักงาน ระดับ 1 - 4 (ระดับปริญญาตรี)
พนักงานบริการชุมชน
อัตราค่าจ้างเฉลี่ยรวมทั้งหมด
ตาราง : อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทนของบริษัทเปรียบเทียบระหว่างปี 2565 และ
พนักงาน ระดับ 1 - 4 (ระดับปริญญาตรี)
พนักงาน รปภ. และความสะอาด
ตาราง : อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทนของบริษัทเปรียบเทียบระหว่างปี 2565 และ 2566 (สายงานพัฒนาธุรกิจ)
(เท่า)
พนักงาน ระดับ 1 - 4 (ระดับปริญญาตรี)
พนักงานบริการชุมชน
ตาราง : อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทนของบริษัทเปรียบเทียบระหว่างปี
6. อัตรากำาลังขององค์กรแบ่งตามเพศ
• สัดส่วนของฝ่ายบริหารและพนักงานแยกตามภูมิภาค
• สัดส่วนของฝ่ายบริหารและพนักงานแยกตามภูมิภาค
2566 ถึงแม้ว่าบริษัทต้องเผชิญกับความน่าวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคระบาดและเศรษฐกิจ ที่ส่งผลต่อภาพรวมธุรกิจพัฒนาที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง
อัตราการบาดเจ็บจากการทำางานสายงานพัฒนาธุรกิจเปรียบเทียบระหว่าง
บริษัทตระหนักและให้ความเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และความเท่าเทียมกันของบุคคลโดยไม่เลือกปฏิบัติ
บริษัทย่อยต้องปฏิบัติต่อกันและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มด้วยความเคารพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน รวมทั้งปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมกับ
บริษัทยังให้ความสำาคัญในด้านแรงงานโดยจะปฏิบัติต่อพนักงานและลูกจ้างตามกฎหมายแรงงาน
กับแรงงานอย่างเป็นธรรมทั้งแรงงานไทยและแรงงานต่างชาติ
ยังไม่ได้รับข้อร้องเรียนใดๆ
• จำานวนข้อร้องเรียนเกียวกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน
ยังไม่ได้รับข้อร้องเรียนใดๆ
• การสื อสารและจัดอบรมพนักงานเรื


3) ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพให้พนักงาน


4) ส่งเสริมศักยภาพพนักงานผู้พิการ ในด้านต่างๆ
1) ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
Microsoft 365-Engage
Case Study
2) พัฒนากระบวนการเรียนรู้
Sharing Employee’s Portfolio
Sharing Business Knowledge, Sharing Department Knowledge
ปี 2566 บริษัทมีการบริหารจัดการและดูแลบุคลากรในองค์กร
โดยมุ่งเน้นการตรวจสุขภาพที่มีประสิทธิภาพรายบุคคล พร้อมติดตามผลการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่อง - การทำางานจากที่บ้าน (Remote Working - Work From Home)
- การยืดหยุ่นเวลาการทำางาน (Flexible Hour)
- สิทธิ์การลาเพื่อทำางานนอกสถานที่ (Workcation)
- พนักงานสามารถแต่งกายมาทำางานด้วยชุดลำาลองที่สุภาพ
- ส่วนลดกาแฟ SHE และรับกาแฟฟรีวันเกิด
- กิจกรรม HAPPY FRIDAY “นวดผ่อนคลายสบายกาย"
ทุกวันศุกร์ By LPC - กิจกรรมชมรม - กิจกรรมสันทนาการเชื่อมความสัมพันธ์ระดับฝ่าย
การรักษาตัวกับพนักงาน - เข้าเยี่ยมและดูแลที่ปรึกษาบริษัทที่ป่วยด้วยโรคกระดูกทับเส้นประสาท 1 ราย - รณรงค์และให้ความรู้พนักงานในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง







4) คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินรางวัลตอบแทนการทำางาน
5) สถาบัน แอล.พี.เอ็น. ในปี 2566
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
บริษัทมั่นใจเป็นอย่างยิ่งว่าการที่บริษัทมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้า
ความสำาเร็จไปด้วยกันเท่านั้น แต่ในยามที่เกิดวิกฤติก็จะสามารถจับมือเพื่อผนึกเป็นกำาลังที่แข็งแกร่งจนฟันฝ่าวิกฤตินั้นไปได้ ซึ่งการที่องค์กรและ
ซึ่งในที่นี้หมายถึงคู่ค้า ยังคงสามารถดำาเนินธุรกิจในสังคมได้อย่างต่อเนื่องนั้น เป็นสิ่งที่บ่งชี้ว่าการดำาเนินธุรกิจขององค์กรสามารถ
สร้างความยั่งยืนในสังคมได้อย่างแท้จริง อันจะเห็นได้จากการที่บริษัทเผชิญกับวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 และสามารถผ่านพ้นสถานการณ์ ดังกล่าวมาได้
เหตุการณ์วิกฤติเศรษฐกิจในครั้งนั้น นอกจากความมุ่งมั่นในการดำ
บริษัทตระหนักดีว่าธุรกิจที่มีลักษณะห่วงโซ่อุปทานเช่นนี้จะต้องสร้างคุณค่าร่วมกัน ประสบความสำ
ผลประกอบการจากการ ดำ า เนินธุรกิจจึงมิได้เป็นเครื่องยืนยันว่าธุรกิจจะอยู่รอดได้หากเกิดวิกฤติการณ์ขึ้นอีก
COMMIT
ASSESS
(Two-way Communication) ผ่านช่องทาง Whatsapp, Telegram
• รับทราบแผนงานและกำาหนดเป้าหมายร่วมกัน
• รับฟังความคิดเห็นและความคาดหวังของกันและกัน
• ระบุและพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดระหว่างการทำางานร่วมกัน
• วางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ENGAGE MEASURE
IMPLEMENT
การมีส่วนร่วมของ LPN และ LPN Team ในการพัฒนาแต่ละโครงการ LPN และ LPN Team
LPN และ LPN Team
Sustainable Development Goals
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
การกำาหนดผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กรให้เหมาะสม



Green Financial Management
ที่มีกำาไรเติบโตอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม และนำาผลตอบแทนนั้นไปกระจายต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการพัฒนาโครงการอย่างสมดุล โดยการบริหารจัดการอัตราส่วนทางการเงินและค่าใช้จ่ายของบริษัทและบริษัทย่อยในสัดส่วนที่เหมาะสม ตามเป้าหมายรายได้และแผนธุรกิจของ องค์กร นับตั้งแต่การกำาหนดนโยบายปันผลกำาไรสุทธิในอัตราส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ
Accountability Financial Statement
ข้อมูลที่สำาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
มีความถูกต้องครบถ้วน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนในการใช้งบการเงิน
Accountability Financial Statement อันได้แก่
1. ความโปร่งใส (Transparency)
บริษัทมีนโยบายการจัดการด้านการเงินอย่างโปร่งใสภายใต้หลักการ
กำ า กับดูแลกิจการที่ดี โดยจัดให้มีระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม
และมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ า นวน 4 ท่าน โดยมี
กรรมการตรวจสอบจำ า นวน 3 ท่าน
ด้านบัญชี-การเงิน ทำาหน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชีและตรวจสอบ
คุณภาพของรายงานทางการเงิน รวมทั้งระบบการควบคุมภายใน
ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบจะปรากฏในแบบแสดงข้อมูล
ประจำาปี และรายงานประจำาปี
2. การตรวจสอบอย่างสม าเสมอ (Auditability)
คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อกำ า กับ ดูแลและตรวจสอบการดำาเนินงาน รวมถึงสอบทานแผนการตรวจสอบ ประจำ า ปีและแผนการตรวจสอบระยะยาว โดยเน้นให้สุ่มสอบทาน
3. การเปิดเผย (Disclosure) ไม่มีวาระซ่อนเร้น (Hidden Agenda)
เพื่อประโยชน์
4. สอบวัดได้ (Measurable)
เพื่อการสร้างมาตรฐานของการตรวจสอบให้เกิดความโปร่งใสและ
พ.ศ.2535
Green Financial Management Standard Checklist of LPN
2566
Standard Checklists ครบทุกหัวข้อ
Green Financial Management
Green Financial Management Standard Checklists
มาตรฐานที 2 ความสมดุลของผลตอบแทน สร้างสมดุลของผลตอบแทน หรือกำาไรในการดำาเนินงานทีพอประมาณ
และต่อเนืองบนพื
นฐานของการกำากับดูแลกิจการทีดี รวมถึงการแบ่งปันผลตอบแทนไปสู่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
2.1 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินปันผลประจำาปีให้แก่ผู้ถือหุ้น จากผลประกอบการบริษัท
2.2 หลักเกณฑ์การจ่ายโบนัสประจำาปีให้แก่พนักงาน จากผลประกอบการบริษัท
2.3 เงื่อนไขในการทำาธุรกรรมร่วมกันทางการค้ากับปิยมิตรและคู่ค้า
มาตรฐานที 3 ด้านการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี
3.3 ทบทวนระบบการควบคุมเพื่อพัฒนาให้ทันต่อเหตุการณ์และความเสี่ยงที่มากขึ้นในแต่ละสถานการณ์
4.1
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT OPERATION
ผลการดำาเนินงาน
การกำาหนดผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กรให้เหมาะสม
การแบ่งปันผลประโยชน์และความมังคังกับผู้มีส่วนได้เสีย
ภายใต้กรอบของการทำางานตามหลักการของ Green Finacial Management บริษัทให้ความสำาคัญกับการแบ่งปันผลประโยชน์และความมั่งคั่ง (Balancing Wealth) ให้กับผู้มีส่วนได้เสียในสัดส่วนที่เหมาะสม
2. การให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมกับพนักงานและทีมงาน
3. การจ่ายปันผลที่เหมาะสมกับผู้ลงทุนและผู้ถือหุ้น
4. ทำาธุรกิจอย่างโปร่งใสและจ่ายเงินภาษีให้กับรัฐ
5. จัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมเพื่อการลงทุนในชุมชน
ผลการดำาเนินงานด้านการกำาหนดผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กรให้เหมาะสม
ณ 31 ธันวาคม 2564, 2565 และ 2566
รวมรายได้จากการขายและบริการ




กำาหนด

การกำาหนดเป้าหมายในการรักษาผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กร
1. อัตราส่วนหนีสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio)
บริษัทคงนโยบายในการกำาหนดอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ในอัตรา 1:1
เป็นการสร้างวินัยและความแข็งแกร่งทางการเงินให้กับองค์กร
ลดความเสี่ยงที่จะเกิดภาระหนี้เกินตัว ในขณะเดียวกันยังคงรักษาการเติบโตได้ในอัตราที่เหมาะสม
2. กำาไรขันต้น (Gross Profit Margin)
บริษัทกำาหนดกรอบและเป้าหมายของอัตรากำาไรขั้นต้นที่เหมาะสมต่อการดำาเนินงานและไม่น้อยกว่า
เพื่อใช้เป็นตัววัดประสิทธิภาพของการประกอบกิจการ
3. อัตราส่วนเงินปันผลต่อกำาไรสุทธิ (Dividend per Net Profit Ratio) บริษัทกำ า หนดเป้าหมายของอัตราส่วนเงินปันผลต่อกำ
50 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม และในขณะเดียวกันบริษัทยังรักษาเงินลงทุน
เพื่อการขยายตัวของธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดยคำ า นึงถึงความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรม เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนสืบไป
(Indicators)
1.08 : 1
21.44%
53.61%
1. อัตราส่วนหนีสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio) คืออัตราส่วนที่นำาหนี้สินรวมหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนนี้จะแสดงโครงสร้างเงินทุนของกิจการว่าสินทรัพย์ของกิจการมาจาก การกู้ยืมหรือมาจากทุนของกิจการ
2. กำาไรขันต้น (Gross Profit Margin)
คือสัดส่วนของกำาไรขั้นต้นกับยอดขายสุทธิของกิจการ
Sustainable Development Goals
GREEN DESIGN CONCEPT
การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ งแวดล้อม










Green Design Concept คือการออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการในทุกมิติของ การอยู่อาศัย ตั้งแต่แนวคิดการออกแบบและการวางผังโครงการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การคัดเลือกวัสดุประกอบอาคารที่สะดวกต่อการใช้งาน
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ งแวดล้อม
1. Strategic Location
ที่อยู่อาศัยของกลุ่มลูกค้าและการขยายของตัวเมือง
2. LPN Green Design Concept Standard
LPN Green Design Concept Standard
LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ของสหรัฐอเมริกา
TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability)
Sustainable Site Development
2.1 2.2
Water Efficiency การใช้นาอย่างมีประสิทธิภาพ


Energy Efficiency
2.3 2.5
Indoor Environmental Quality
2.4
การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
อาคารของ LPN ได้รับการออกแบบโดยคำ า นึงถึง
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคาร มีช่องทำาให้
แสงสว่างจากธรรมชาติสามารถส่องผ่านเข้ามา
ยังพื้นที่ภายใน เพื่อลดการใช้ดวงไฟส่องสว่าง
รวมไปถึงมีการใช้แผ่นฉนวนกันความร้อนและ
กระจกตัดแสง เพื่อช่วยลดความร้อนที่ส่งผ่านจาก
ภายนอก ซึ่งจะช่วยประหยัดไฟจากการใช้เครื่อง
ผ่านการประเมินตามเกณฑ์การมาตรฐาน
ประสิทธิภาพพลังงานของอาคาร (Building Energy Code: BEC)
Material and Resource

และมีนโยบายส่งเสริมการใช้ของที่ผลิตในประเทศ
อีกด้วย

3. Real Pleasure of Living






เพื่อให้มั่นใจว่าปณิธานในการสร้างที่อยู่อาศัยที่
ตั้งไว้ LPN จึงกำาหนดนโยบายการขายรวมถึงนโยบายการตลาดที่แสดงออกถึงความรับผิดชอบ
กับลูกค้าทั้งก่อนและหลังการส่งมอบ รวมไปถึงปฏิบัติต่อคู่แข่งในอุตสาหกรรมอย่างเป็นธรรม
1P 4P 2P 5P 6P 3P กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product)
การขายและโปรโมชั่นให้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งจัดการบริการทางการเงินเพื่อช่วยให้ลูกค้า
มีความสะดวกในการขอสินเชื่อ ซึ่งเป็นการสร้าง
(Promotion)
กลยุทธ์ด้านช่องทางการจัดจำาหน่าย (Place)
LPN Service Culture (S-E-R-V-I-C-E-S) เพื่อสร้างความมั่นใจ ให้กับลูกค้าว่าจะได้รับการบริการที่เป็นมาตรฐาน สร้างประสบการณ์เชิงบวกให้กับลูกค้า โดยมี
โอกาสการมีที่อยู่อาศัยให้ง่ายขึ้นอีกด้วย บริษัทมีการบริหารประสบการณ์ลูกค้าผ่านจุดสัมผัส หรือ Touch Point และการกำ
การประเมินระดับการเป็นผู้สนับสนุนองค์กร (Net Promoter Score: NPS) หลังกระบวนการขาย รวมทั้งมีช่องทางในการรับข้อเสนอแนะและเรื่อง
กลยุทธ์ด้านราคา (Price) กลยุทธ์ด้านบุคคลทีเกียวข้อง (People) กลยุทธ์ด้านขันตอนและกระบวนการ (Process)
Green Marketing Management Standard Checklist of LPN
2566
Green Marketing Management Standard Checklists
บริษัทได้กำาหนดให้มีมาตรฐานการบริหารจัดการด้านการตลาดสีเขียว หรือ Green Marketing Management Standard
ดำาเนินงานด้านการสื่อสารการตลาดอย่างเป็นธรรมและตอบสนองกลยุทธ์ Green Marketing Management
นับเป็นจรรยาบรรณในเชิงสมัครใจขององค์กรที่ได้กำาหนดขึ้นเองเพื่อใช้เป็นมาตรฐานการดำาเนินงานภายใน เพื่อความเป็นธรรมในการทำากิจกรรม
หรือสื่อสารการตลาดแก่ลูกค้า และเพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีที่สุดพร้อมกับการรับผิดชอบต่อสังคมไปในเวลาเดียวกัน มาตรฐานดังกล่าวได้นำาเอาหลักกลยุทธ์ทางการตลาด 6P
โดยมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นสามารถแบ่งออกเป็นทั้งหมด
Green Marketing Management Standard Checklist
ผลิตภัณฑ์ (Product)
• การส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์ตรงตามที่สื่อสารไว้
• การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ก่อนส่งมอบลูกค้าทุกครั้ง
• การรับประกันและให้การดูแลหลังส่งมอบผลิตภัณฑ์
ราคา (Price)
• ราคาและเงื่อนไขการชำาระเงินเหมาะสมตรงตามกลุ่มเป้าหมาย
• กำาไรที่เหมาะสมตรงตามกลุ่มเป้าหมาย
สถานที (Place)
• สำานักงานขายพร้อมให้บริการกับลูกค้าตามข้อกำาหนด
โปรโมชัน (Promotion)
• โฆษณา ส่งเสริมการขายชัดเจน
(Process)
บุคคล (People)
• มาตรฐานการให้บริการตามที่กำาหนด (Human Touch Point)
• อบรมและให้ความรู้แก่พนักงานรวมถึงจรรยาบรรณ
• ก าหนดมาตรฐานในการสื่อสารของพนักงานขายต่อลูกค้า
(Physical Evidence)
GREEN MARKETING MANAGEMENT
OPERATION
ผลการดำาเนินงาน
การตลาดทีเป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง
การบริหารประสบการณ์ลูกค้าผ่านจุดสัมผัส หรือ Touch Point
(Customer Experience) มีการวิเคราะห์และพัฒนาการบริการให้ตรงตามความต้องการในแต่ละช่วงอายุของลูกค้า (Customer Life Cycle) และสร้าง ความพึงพอใจในการให้บริการ
(Brand Loyalty)
จากช่องทางที่สะดวกและได้รับการบริการที่
การบริหารประสบการณ์ลูกค้าผ่าน Touch Point การสร้างประสบการณ์ลูกค้า
บริษัทได้กาหนดแนวทางในการสร้างประสบการณ์ลูกค้า
Touch Point
29. รปภ. นิติฯ
28. ชางอาคาร
27.

(Product Value)
(Service Value)
- LPN V Care, Website, Call Center, Line, Facebook
เช่น pantip.com
ส่งต่อเรืองร้องเรียน หรือโทรแจ้งฝ่ายที่เกี่ยวข้องภายใน 1 วัน
และบันทึกในระบบร้องเรียน
ดำาเนินการแก้ไข และบันทึก
ผลการแก้ไขในระบบและโทรแจ้ง
แนวทางการแก้ปัญหากับลูกค้า
ฝ่ายทีเกียวข้องรายงานผลการแก้ไข
กับฝ่ายบริหารประสบการณ์ลูกค้า
และผู้บริหาร
สรุปรายงานประจำาเดือน
(Knowledge Sharing)
Service Evaluation ยังคงเป็นระบบที่ใช้ในการประเมินความพึงพอใจการให้บริการและระดับการเป็นผู้สนับสนุนองค์กร (NPS : Net Promotor Score) ในปีนี้ โดยทุกการให้บริการลูกค้าจะถูกวัดความพึงพอใจหลังให้บริการทันทีและระบบจะมีการแจ้งเมื่อผลประเมินลูกค้าไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
• ความพึงพอใจการให้บริการ 94%
ปี 2566 ผลคะแนนความพึงพอใจของลูกค้าต่อการใช้บริการโดยรวม
เท่ากับ 94% มากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (85%) การวัดผลความพึง
พอใจจะวัดโดยตรงจากลูกค้า ผ่านระบบ Service Evaluation และ
• ระดับการเป็นผู้สนับสนุนองค์กร (Net Promoter Score: NPS) 99%
• ข้อร้องเรียนเรืองผลกระทบด้านสิ งแวดล้อม
แนวทางป้องกันและบริหารข้อร้องเรียนเพื
นอกจากการบริหารจัดการข้อร้องเรียนหรือเสียงสะท้อนจากลูกค้าที่เกิดขึ้นแล้ว บริษัทยังหาแนวทางป้องกันไม่ให้ข้อร้องเรียนเดิมๆ
Sustainable Development Goals
GREEN CONSTRUCTION PROCESS











ที่พัฒนา บริษัทจึงตั้งใจที่จะพัฒนากระบวนการก่อสร้างสีเขียวสำาหรับ LPN โดยเฉพาะขึ้น
ด้วยการนำาเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากมาตรฐานการป้องกันมลภาวะที่เกิดจากการก่อสร้างในมาตรฐานอาคารเขียวระดับนานาชาติ มาพัฒนาควบคู่ ไปกับการดำาเนินการภายใต้กลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P
Quality of Product Safety of Workers and Participants
Cost Control and Management
ควบคุมและบริหารต้นทุนทั้งทางตรงและทางอ้อมให้
Speed of Delivery
ควบคุมความเร็วในการก่อสร้างและกระบวนการ
ทำ า งานให้เป็นไปตามที่กำ า หนด รวมถึงวางแผน ป้องกันเพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดที่อาจทำ
Environmental Responsibility
People Management
บริหารจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้เสีย
ได้แก่ ให้ความเป็นธรรมด้านสิทธิแรงงานและคุณภาพ ชีวิตของแรงงานก่อสร้าง การดูแลรับผิดชอบ
ผลกระทบต่อเพื่อนบ้านข้างเคียง การพัฒนาและ เติบโตร่วมกันกับปิยมิตรหรือคู่ค้าของบริษัท

GREEN CONSTRUCTION PROCESS OPERATION
• การศึกษา สำารวจอาคารข้างเคียง
• งานก่อสร้างถนน
• การก่อสร้างบ้านตัวอย่างและอาคารส่วนกลาง
•
โดยมีกำาหนดเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในปี 2566
การป้องกันมลภาวะทีเกิดจากการก่อสร้าง (Construction Pollution Prevention)
ทุกกิจกรรมการก่อสร้างที่เกิดขึ้นภายในโครงการของบริษัท จะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการก่อสร้างที่กำ
(Total Dissolved Solids: TDS)
Kjeldahl Nitrogen: TKN)
(Total Suspended Solids: TSS)
(Suspended Solids: SS)
(Biochemical Oxygen Demand: BOD)
(Oil & Grease: O&G)
(Fecal Coliform Bacteria: FCB)
(Total
2. 3. 4.
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซต์
(Total Suspended Particulate: TSP) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM-10)
ความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตของผู้ปฏิบัติงาน (Safety and Living Quality of Construction Workers)
นอกเหนือไปจากกิจกรรมการก่อสร้าง LPN ยังให้ความสำาคัญเป็นอย่างยิ่งกับความปลอดภัย
และสวัสดิภาพของผู้ปฏิบัติงานทั้งภายในและภายนอกโครงการก่อสร้าง
ความปลอดภัยประจำาโครงการโดยเฉพาะ รวมถึงจัดการอบรมด้านความปลอดภัยในการทำางาน ให้สอดคล้องกับงานที่รับผิดชอบอยู่เสมอ
บริษัทยังให้ความสำาคัญกับการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนงานทุกคน
ส่วนบุคคลด้วยการจัดทำาโครงการต่างๆ ได้แก่

สร้างความสัมพันธ์ทีดีต่อบ้านข้างเคียง
เข้าพบบ้านข้างเคียง
กำาหนดมาตรการป้องกันมลภาวะทีเกิดจากโครงการ
การสร้างบ้านพักคนงาน ฯลฯ
ตรวจสอบสภาพแวดล้อม และติดตามความคืบหน้า
ตรวจสอบสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการอย่างสม่าเสมอ หากพบปัญหาหรือได้รับข้อร้องเรียนที่ก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนกับบ้านข้างเคียง ให้รีบดำาเนินการแก้ไข
ดำาเนินการแก้ไขปัญหา
เมื่อมีความเดือดร้อนและความเสียหายที่เกิดขึ้นจากโครงการ จะต้องหาทางดำาเนินการแก้ไขให้คลี่คลายโดยทันที
รวบรวมข้อมูล
6.1 ความรู้สึกของบ้านข้างเคียง
6.2 ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา
6.3 สิ่งที่ควรปรับปรุงและผลที่เกิดขึ้นหลังจากการปรับปรุง สรุปประเมินผล



1. Green Construction Process Standard Checklists
ช่วงการก่อสร้างโครงการจะตรวจติดตามการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน

เพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการก่อสร้าง และให้ทุกโครงการมีคุณภาพที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผลตรวจประเมินการดำาเนินงาน
มีรายละเอียดดังนี้
ผลการตรวจวัด Green Construction Process Standard Checklists
168 ราชพฤกษ์
ด้านการพัฒนาทักษะในการใช้ยาสามัญประจำาบ้านอย่างถูกวิธี

2.2 การอบรมและซ้อมดับเพลิงในบ้านพักคนงานก่อสร้าง












บรรยากาศการตรวจสุขภาพและเลียงอาหารกลางวันคนงานก่อสร้าง บรรยากาศหน่วยงานราชการเข้าตรวจเยียมโครงการลุมพินี


การจัดการขยะภายในโครงการก่อสร้าง
ขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่ก่อสร้างสามารถแบ่งออกเป็น
เพื่อลดการสูญเสียของวัสดุตามปัจจัยด้านกายภาพตั้งแต่ต้นกระบวนการ
แต่ก็ยังไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้ไม่เกิดเศษวัสดุหรือขยะจากการก่อสร้างได้
บริษัทจึงมีกระบวนการเฉพาะเพื่อจัดการเศษวัสดุโดยเริ่มตั้งแต่การคัดแยก
บางส่วนนำากลับมาใช้ใหม่ในโครงการถัดไป








Sustainable Development Goals
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัยในโครงการหลังส่งมอบ









ตลอดระยะเวลาของการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์กว่า 35 ปี LPN ยึดมั่นในแนวทางการดูแลคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัยในโครงการหลังการส่งมอบ โดยมีแนวความคิดว่าความรับผิดชอบของผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
(Building Management)
ความสำาคัญกับการสร้างความสุขและสังคมที่ดี
F B L E
Facility Management
Life Quality Management
Budgeting Management
Environment Management


S P Security & Safety Management
People Management
• บุคลากรภายใน
• ผู้อยู่อาศัย
• คณะกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด
GREEN COMMUNITY
MANAGEMENT OPERATION
ผลการดำาเนินงาน
การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัย
ในโครงการหลังส่งมอบ
การบริหารชุมชนภายใต้กลยุทธ์
F-B-L-E-S+P คือ Facility Management, Budgeting Management, Life Quality Management, Environment Management, Security Management และ People Management

1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในงานระบบและพื
(1) โครงการ Lumpini ปริมาณการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ย
พ.ศ. 2566)
2) การลดปริมาณการใช้ไฟฟ้า
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในชุมชนลุมพินี








1) การใช้นาประปา
2) การบำาบัดนาทิงของโครงการ


2,359 กก./วัน 2. ถังคัดแยกได้ 1,572 กก./วัน


ถังขยะประจําชั�น - ขยะเศษอาหาร - ขยะทั�วไป - จัดเก็บวันละ 2 ครั�ง (10.00 น., 16.00 น.)



RECYCLE DAY

Recycle Day

LPP
โดยในปี 2566 LPP จะปรับรูปแบบการบริหารจัดการขยะให้เป็นแบบครบวงจร ตามนโยบายที่ได้เสนอและรับความเห็นชอบจากกรรมการบริษัท โดยจะบริหารจัดการ ขยะตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง และจะเริ่มดำ
กลุ่ม Lumpini
ที่คัดแยกขยะรีไซเคิลทั้งหมด 165 โครงการ
ของโครงการที่มีการคัดแยกขยะทั้งหมด (โครงการ Lumpini คัดแยกขยะรีไซเคิลทั้งหมด ทุกโครงการ) โดยมีการจำาหน่ายขยะเฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือน
ขยะรีไซเคิลรายย่อยประเภทบุคคลธรรมดา (ซาเล้ง) จำานวน 135 โครงการ
ให้กับบริษัทที่ซื้อขายผ่านระบบแอพพลิเคชั่น จำานวน 30 โครงการ
จากการเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาการบริหารจัดการขยะโดยการจำาหน่ายให้กับผู้รับซื้อขยะ รีไซเคิลรายย่อยประเภทบุคคลธรรมดา (ซาเล้ง) พบว่า มีปัญหาเรื่องความเป็นระเบียบ เรียบร้อยและความสะอาดในกระบวนการจัดเก็บและขนส่ง รวมถึงการแต่งกายของผู้ จัดเก็บ อีกทั้งยังขาดราคากลางที่ซื้อขายในแต่ละวัน รวมถึงรายงานการจำาหน่ายยังไม่ สามารถตรวจสอบได้ทันทีอย่างเป็นรูปธรรม


และต่อยอดกับโครงการที่มีขนาดใกล้เคียง
หลังจากโครงการต้นแบบมีการทดลองแนวทาง ตามกระบวนการแล้ว

โครงการมีการจัดเก็บขยะรีไซเคิล โครงการที่มีบริการทำาความสะอาด

304,940

OUT PROCESS

OUT PROCESS
Blood Donation Project
112%
Project 1.75M เป�าหมาย (cc) 1.96M
IDEO 02
LC-BR
LC-RN
LC-RS
LM-BN
Lpark-NS
Lpark-PK
Lpark-RS RM3
LP-RYT
LP-UP
L-RL
(cc)
L-SK77 LTS-RK1 LUM-T LV-CP LV-LB LV-OP LX-TS PST The Metropolis The Politan Rive




จากฝ่ายบริหารสังคมและสิ่งแวดล้อมเท่านั้น) โดยมีรายการสนับสนุนดังนี้
1. สนับสนุนค่าอุปกรณ์การศึกษาแก่โรงเรียนวัดโพธิ์เรียง
2. งานวันเด็กชุมชนวัดโพธิ์เรียง
4. สนับสนุนการจัดกิจกรรมวันเด็กสำานักงานเขตบางรัก
5. สนับสนุนค่าอุปกรณ์การศึกษาแก่โรงเรียนบ้านแม่หลุย
6. บริจาคมูลนิธิร่วมกตัญญู
7. สนับสนุนเครื่องปั๊มน้าอัตโนมัติแก่สถานีตำารวจนครบาลบางกอกน้อย


AS PROCESS

AS PROCESS




สตรีด้อยโอกาสทางสังคม ในลักษณะของกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
นอกจากการดำาเนินงานในลักษณะของกิจการเพื่อสังคมแล้ว บริษัทยังได้จัดตั้งสถาบันแอล.พี.เอ็น. (LPN Academy) ขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรเป็นการเฉพาะ โดยมีผลการดำาเนินงานต่อเนื่องในปีที่ผ่านมา
LPC Social Enterprise
ซึ่งพนักงานของบริษัทในกลุ่มนี้ประกอบด้วยพนักงานหญิงเป็นส่วนใหญ่ และโดยมากจะเป็นสตรีที่มีรายได้น้อย
LPC Social Enterprise เป็นบริษัทที่ได้รับการออกแบบให้เป็น
หน่วยงานในการช่วยเหลือด้านคุณภาพชีวิตสำ โอกาสทางสังคมในรูปแบบกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
ตั้งแต่ปี 2554 โดยมีแนวคิดที่เปิดโอกาสให้
สังคม”
ศักดิ์ศรี โดยบริษัทได้ให้คำ สังคม” ไว้ดังต่อไปนี้
1. มีการศึกษาน้อย (ไม่รู้หนังสือ - ระดับประถมศึกษา)
2. มีภาระเลี้ยงดูครอบครัวเพียงลำ
3. ถูกนายจ้างเก่าเอารัดเอาเปรียบในการทำ


สัดส่วนการรับพนักงานบริการชุมชนรายไตรมาสเปรียบเทียบกับปี 2565
3. ส่งเสริมการทำาความดีของพนักงาน
พนักงานบริการชุมชนเก็บทรัพย์สินและช่วยเหลือผู้พักอาศัย
จำานวน 141 ครั้ง (เพิ่มขึ้น 42% เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2565)
(ข้อมูลสะสมตั้งแต่เดือนมกราคม - ธันวาคม 2566) บริษัทจะมี
การชื่นชมพนักงานที่ทำาความดีเป็นประจำาทุกเดือน ผ่าน Line
@ LPC Friend เพื่อยกย่องและเกิดความภาคภูมิใจในการ ทำาความดีอีกด้วย


4. ส่งเสริมด้านการศึกษา
4.1 ส่งเสริมการศึกษาของพนักงานบริการชุมชน
: รายละเอียดการส่งเสริมการศึกษาของพนักงานบริการชุมชน ปี 2566 เปรียบเทียบกับปี 2565
1. ก่อนระดับประถมศึกษา
2. ระดับประถมศึกษา
3. ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น
4. ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย
5. ระดับอาชีวศึกษา (ปวส.)
บริษัทมอบทุนการศึกษาให้กับบุตรของพนักงานบริการชุมชน จำ า นวน 630 ทุน (ทุนละ 4,000 บาท) คิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 2,520,000 บาท โดยมีเกณฑ์การมอบ
ทุนให้กับพนักงานบริการชุมชนที่มีอายุงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป และจำากัดไม่เกิน
ลาออก 3 คน
1. เรียนจบและต่อม.ปลาย 3 คน
2. นักเรียนใหม่ 3 คน
3. เรียนจบ แต่ไม่เรียนต่อ 2 คน
1. เรียนจบ 1 คน
2. ไม่เรียนต่อ 1 คน 3. มีนักเรียนใหม่ 3 คน ลาออก 2 คน

5. ส่งเสริมวินัยทางการเงิน


7. การส่งเสริมสร้างรายได้ บรรยากาศการตรวจสุขภาพประจำาปี 2566 บรรยากาศออกบูธนวดผ่อนคลาย




มอบวุฒิบัตรสำาหรับพนักงานบริการชุมชนที่จบการอบรม
9.1 พิธีมอบรางวัล


9.2 กิจกรรม
9.4 โครงการข้าวหม้อเดียวกัน
ขอบคุณพนักงานที่ได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการปฏิบัติงานอย่างเต็ม
กำาลังความสามารถ โดยส่งมอบงานบริการที่มีคุณภาพให้กับลูกค้าจน






แบ่งการประเมินเป็น 6 ด้าน ดังนี้ (1) ด้านการทำางาน : ความเหมาะสมของงานและการทำางานเสร็จทันเวลาในแต่ละวัน (2) ด้านสถานที่ทำางาน : บรรยากาศ
(3) ด้านองค์กร
(4) ด้านผลตอบแทน
(5) ด้านโอกาส
(6) ด้านคนที่เกี่ยวข้อง
(4)
ผลการวัดคุณภาพชีวิตเปรียบเทียบป� 2565-2566







Social Enterprise Standard Checklist of LPN
LPC
Social Enterprise Standard Checklists (จำานวน 22
Social Enterprise Standard Checklist of LPN หมวดที 1 หมวดที 2 คุณสมบัติของ
2. รายได้หลัก (จำานวน 1 ข้อ)
(จำานวน 8 ข้อ)
(จำานวน 3 ข้อ)
หัวข้อ (Checklists)
1. การจ้างงานกลุ่มด้อยโอกาส
2. การยกผลกำาไรหลังหักค่าใช้จ่าย ให้กับองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำาไร
3. ไม่มีการปันผลกำาไรให้กับผู้ถือหุ้น
4. รายได้หลักจะต้องมาจากการ
5. มีการสรรหาพนักงานที่เป็น
สตรีด้อยโอกาสจากชุมชน รอบข้างและภูมิภาค
6. มีการจ่ายค่าแรงสูงกว่ากฎหมาย (ขั้นต่า 388 บ.)
7. มีรายการสวัสดิการสูงกว่า
กฎหมายกำาหนด (สวัสดิการตามกฎหมาย 2 รายการ 1.ค่าแรงขั้นต่า
2.ปกส.,กองทุนเงินทดแทน)
8. มีการให้ความสำาคัญกับความสุข มากกว่าผลประกอบการ
(Checklists)
14. มีการกำาหนดกำาไรอย่างเหมาะสม (ก่อนสวัสดิการส่วนเพิ่ม, โบนัส
15. มีการส่งเสริมการศึกษาให้กับ
ความ พึงพอใจ ≥ 85% กำาไรจากการ
ดำาเนินงาน ≥ 5% 95%
(ข้อมูล ณ ก.ย. 66) 16% (ข้อมูล ณ ธ.ค. 66)
SDGs
16. มีการจัดให้มีแหล่งเงินช่วยเหลือ
(เงินกู้ปลอดดอกเบี้ย)
17. มีการสร้างงานที่เหมาะสมให้กับ กลุ่มผู้สูงวัย หลังเกษียณอายุ
18. มีการจัดหาสินค้า (อุปโภคบริโภค) ราคาถูกให้กับพนักงาน
19. มีแผนดูแล เฝ้าระวังด้านสุขภาพ ของพนักงาน
20. มีการจัดทำาแผนพัฒนา ความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Signature Course)
21. มีการส่งเสริมให้เกิดรายได้เสริม จากแผนพัฒนาอาชีพเสริม
22. มีแผนอบรมพัฒนา
ประถม
คน 3. มัธยม 21 คน 4. ปวส. 7 คน รวม 35 คน 1.7 ล้านบาท 100%
11) 1 ครั้ง (2,858 ชุด) 1 ครั้ง/ปี (20 เม.ย. 66 - 11 พ.ค. 66)



ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอิงกระบวนการ
LPN ยังให้ความสำ า
รวมทั้งต้องการต่อยอดสร้างความเป็น People Excellence
พนักงานได้นำาความรู้ความสามารถมาสร้างคุณค่าให้กับตนเองและ
องค์กร โดยอยู่ในความรับผิดชอบของสถาบันแอล.พี.เอ็น. (LPN Academy) ซึ่งนอกจากจะมีเป้าหมายในการพัฒนาบุคลากรของ
องค์กรแล้ว
ยังมีนโยบายในการแบ่งปันองค์ความรู้และประสบการณ์
สู่ภายนอกองค์กรอีกด้วย หลังจากที่ในปี 2565

(Competency-Based Development)
ทัศนคติให้ได้ตามที่องค์กรคาดหวัง
มาใช้ในการวางแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือที่หัวหน้างานสามารถนำ า มาใช้ ในการวางแผนพัฒนาทีมงานได้อีกด้วย ในการพัฒนาสมรรถนะ
อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพให้บุคลากรของบริษัทและบริษัทย่อยทั้งหมด
ดังนั้น ในปี 2566 ผลการดำาเนินงานของสถาบันแอล.พี.เอ็น. สามารถจัดอบรมให้แก่พนักงานของบริษัทและบริษัทย่อย โดยมีบทสรุป
1. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (Competency - Based Development)
สถาบันแอล.พี.เอ็น. มีภารกิจหลักในการพัฒนาสมรรถนะร่วมกับผู้บังคับบัญชา
ของแต่ละบุคคลที่สะท้อนสมรรถนะแต่ละด้านว่าแสดงออกมากน้อยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาช่องว่างและนำามาวางแผนพัฒนาฝึกอบรม
รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือที่หัวหน้างานใช้ในการวางแผนพัฒนาทีมงานได้อีกด้วย นโยบายในการพัฒนาพนักงาน
(Strive for EXCELLENCE) ในทุกงานของพนักงานแต่ละคน 2. การพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำา (Leadership Competency)
3. การพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ในงาน (Functional Competency)
ผลการพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำา เนื่องจากการพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำา มีความสำาคัญยิ่งประการหนึ่งต่อความสำาเร็จขององค์กร
และหัวหน้างานในการพัฒนาทีมงานให้ดำาเนินการจัดทำาแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan) และเปิดโอกาสให้พนักงาน ได้อาสาเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เพิ่มขึ้นของบริษัท
(Self Development)
2.1 การพัฒนาความรู้และทักษะด้วยตนเอง (Self Development)
ทางบริษัทได้เปิดโอกาสให้พนักงานได้เข้าร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
o การเข้าร่วมรับฟังและแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์
o กิจกรรมชมรมพนักงาน ทั้ง 6 ชมรม คือ
- ชมรมถ่ายภาพ (Photo Club)
- ชมรมภาษา (Language Club)
- ชมรม Excel (Excel Club)
- ชมรมรักสุขภาพ (Health Club)
- ชมรมดนตรี (Music Club) และ
- ชมรมอาหาร (Chef Club)
ซึ่งกิจกรรมของทั้ง 6 ชมรม ได้เปิดโอกาสให้พนักงานได้นำาความรู้มาทดลองปรับใช้
ข้อสอบวัดความเฉพาะในงาน - ข้อสอบทบทวนความรู้ด้านจรรยาบรรณ
2.2 หลักสูตรด้านบริหารจัดการโครงการ (Project Management Course)
มุ่งเน้นการพัฒนาความรู้

MANAGERIAL & LEADERSHIP COURSE
Core Course
Managerial Course
FUNCTIONAL COURSE
ELECTIVE COURSE
(Managerial & Leadership Course)
(Core Course) มุ่งเน้นการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีกับมาตรฐานการทำา
(LPN Way) จรรยาบรรณ (Code of Conduct) LPN SERVICES และความรับผิดชอบต่อสังคมและการมีส่วนร่วม
2. หลักสูตรด้านบริหารจัดการ (Managerial Course) มุ่งเน้นการพัฒนาความรู้
หลักสูตร Team Leader Excellence หลักสูตร The 6 CRITICAL PRACTICES FOR LEADING A TEAM หลักสูตร
- แผนการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง (ระดับ 11 - 13)
- แผนการพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง (ระดับ 8 - 10)
- แผนการพัฒนาหัวหน้างานระดับต้น (ระดับ 5 - 7)
- แผนการพัฒนาพนักงานระดับปฏิบัติการ (ระดับ 2 - 4)
• แผนอบรมด้านความรู้ในงาน (Functional Course)
แผนการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะตามลักษณะการทำ
(On the Job Training - OJT)
ON THE JOB TRAINING - OJT
1) การคุยกันยามเชา (Morning Talk)
2) การแบงปนความรูหลังการอบรม (Sharing After Talk) หร�อการแบงปน ความรู ประสบการณ ณ จ�ดปฏิบัติการ โดยผูบร�หาร (Knowledge of Experience Sharing)
3) การสอนงานพนักงานใหมในที่ทำงาน (New Staff OJT)
4) การสอนงานพนักงานในที่ทำงาน เมื่อมีการมอบหมายงานใหม
(Job Enrichment)
หร�อการเพ��มปร�มาณในงาน (Job Enlargement)
70 : 20 : 10
1. ผู้บริหารระดับสูง
2.
COACHING 1) หลักสูตรมาตรฐานองคกร 1.1 LPN Way
1.2 RMTC
1) L.8-13 Leader as Coach in Action
2) L.5-7 Manager as Coach in Action
TRAINING
4) กิจกรรมสงเสร�มความรู
4.1 Book Briefing
4.2 Knowledge Sharing
1.3 SD, CESR, CG และ LPN Green Workshop 1.4 การใหบร�การดวยใจ : SERVICES 2) หลักสูตรดานภาวะผูนำและการบร�หาร
2.1 L.8-13 : Leader as Coach 2.2 L.5-7 : Manager as Coach 2.3 L.2-4 : The Seed Generation 2 3)
3.1 งานขายโอน 3.2 งานบร�หารโครงการ
3.3 งานบร�หารชุมชน 3.4 งานบำรุงรักษา 3.5 งานบร�การชุมชน 3.6 งานธุรกิจนายหนา
4.3 Learning Delivery
4.4 E-Learning
4.5 Morning Talk
4.6 Mind Map 4.7 Learning from Movie
6) Business Simulation Mobile Technology
(ระดับ 11 - 15)
2. ผู้บริหารระดับกลาง (ระดับ 8 - 10)
3. หัวหน้างานระดับต้น (ระดับ 5 - 7)
4. พนักงานระดับปฏิบัติการ (ระดับ 1 - 4)
5. พนักงานบริการความสะอาดชุมชน
3. การส่งเสริมการพัฒนาวิทยากรภายในองค์กร
2566 สถาบันแอล.พี.เอ็น.
หน้าที่การนำาเสนอครอบคลุมในทุกส่วนงาน
ในการเป็นวิทยากรในแต่ละเนื้อหาหัวข้อ
50 คน 35 หลักสูตร โดยจะเป็นหลักสูตรเพื่อให้นำามาพัฒนาใช้ในงานของบริษัทและเป็นการทบทวน
(New Staff) หลักสูตรความรู้
เบื้องต้นในงานบริหารชุมชนและงานบำารุงรักษา (CM/P&M New Staff) หลักสูตรรหัสบริการ LPN SERVICES หลักสูตรด้าน Digital Literacy หลักสูตรการพัฒนาผู้จัดการชุมชน (CMTC) หลักสูตร
กฎหมายอาคารชุมชนในงานบริหารชุมชน หลักสูตรการปฏิบัติงานตามข้อกำาหนด
ความรู้ด้านกฎหมายในงานบริหารชุมชน หลักสูตรพัฒนาพี่เลี้ยง (Mentor)
4. การส่งเสริมการเรียนรู้ Self-Learning
2566 สถาบันแอล.พี.เอ็น.
เป็นช่องทางในการเรียนรู้และอำานวยความสะดวกแก่พนักงานในการทบทวนความรู้ การลงทะเบียนฝึกอบรม
ความรู้ความเข้าใจภายหลังการอบรม นอกจากนั้นบริษัทได้พัฒนาระบบออนไลน์ให้สอดรับการบันทึกความรู้และประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ด้วย
(Self-Learning)
6. การส่งเสริมการศึกษาขันพื นฐาน
8,616,454 บาท
- ค่าใช้จ่ายศูนย์ฝึกอบรม 3,292,069 บาท - ค่าใช้จ่ายในการอบรมภายใน 4,693,387 บาท - ค่าใช้จ่ายในการอบรมภายนอก 630,998 บาท 630,998
(Livable Home) และ Virtual Reality (VR) บริษัทได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกระบวนการทำางาน (Digital Transform)

2. นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์และบริการ
- การออกแบบโครงการตามมาตรฐานอาคารเขียว

- การพัฒนารูปแบบห้องชุดและบ้านพักอาศัยที่ส่งเสริมสุขภาวะของผู้อยู่อาศัย (Well-being)
- การพัฒนาอาคารที่ประหยัดพลังงานโดยการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ ในพื้นที่ส่วนกลางของอาคารชุดพักอาศัย
การประหยัดพลังาน
- การติดตั้ง EV Charger ในโครงการอาคารชุดและบ้านพักอาศัย
ในการประหยัดพลังาน
- การนำาเทคโนโลยีเพื่อการอยู่อาศัยมาใช้พร้อมแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ และบริการของบริษัทสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้สูงสุด โดยบริษัทใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
(Customer Experience)
(Digital Transform)
บน Connect Dashboard
: บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์
ลักษณะกิจการ : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ชือย่อหลักทรัพย์ : LPN
วันทีจดทะเบียน : วันที 21 มิถุนายน พ.ศ. 2532
ทุนจดทะเบียน : 1,454,198,768 บาท
เลขทะเบียนบริษัท : 0107537002303 พื
: ประเทศไทย
: 1168/109 ชัน 36
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์
(Developer)
(มหาชน) (LPN)
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบอาคารชุดพักอาศัย
บริษัท พรสันติ จำากัด (PST)
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบอืนๆ
นอกเหนือจากอาคารชุดพักอาศัย
(Service Provider)
(LPS)
ให้บริการด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร
แอลเอสเอส โซลูชันส์ จำากัด (LSS)
ให้บริการรักษาความปลอดภัยครบวงจร บริษัท แอล พี ซี วิสาหกิจเพื อสังคม จำากัด (LPC)
ให้บริการงานบริการด้านต่างๆ
1. กลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำากัด (มหาชน) (LPN) ประกอบธุรกิจด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย
สำาหรับผู้ที่มีรายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก
และพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่ผู้มีรายได้ระดับกลาง-ล่างถึงบน โดยใช้กลยุทธ์การตลาดในการสร้างความแตกต่างทั้งด้านผลิตภัณฑ์และบริการ (Differentiation Strategy) การพัฒนาโครงการให้เหมาะกับผู้พักอาศัยทุกเพศ
Design ทั้งภายในห้องชุดและพื้นที่ส่วนกลาง
พัฒนางานบริการหลังการขายในรูปแบบการบริหารชุมชนภายใต้กลยุทธ์
บริษัทได้กำาหนดตำาแหน่งของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการรับรู้และครอบคลุมกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัท
(Affordable Price)
(Livable Township)
1.2 โครงการอาคารชุดพักอาศัยตากอากาศ นอกจากการอยู่อาศัยในเขตเมืองซึ่งใกล้แหล่งงานและสิ่งอำานวยความสะดวกที่จำาเป็นต่อการใช้ชีวิตแล้ว บริษัทยังได้ริเริ่มการพัฒนาบ้านหลังที่
การให้บริการที่สนองตอบต่อวิถีชีวิตของคนที่ต้องการมาพักในรูปแบบของรีสอร์ตคอนโด

(LPN Design)
3) "ลุมพินี ทาวน์วิลล์"
แบรนด์บ้านพักอาศัยระดับกลาง
ซึ่งเป็นสถานที่ที่เชื่อมโยงผู้อยู่อาศัยให้มีกิจกรรมร่วมกันในสังคม

Condominium
Housing



บริษัทได้กำ า หนดนโยบายการบริการหลังการขายเพื่อดูแลลูกค้าอย่างต่อเนื่องในทุกโครงการ
ความเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขึ้น

1.2 งานบริหารอาคารพักอาศัย
รับผิดชอบในการบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลางและพื้นที่ส่วนกลาง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อตัวอาคาร
รวมถึงบริการ ให้คำาปรึกษาและวิจัยด้าน GREEN หรือ Sustainable Development และ BIM (Building Information Modeling) แก่บริษัทและองค์กรภายนอกทั้งในและต่างประเทศ
ความสำาคัญ โดยได้นำาแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) และกรอบหลักเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard มาประกอบการพิจารณา
SHAREHOLDERS
SUPPLY CHAIN
• เคารพต่อสิทธิ์ขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้นตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท
• ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน
• มีกลไกที่ทำาให้ผู้ถือหุ้นมีความเชื่อมั่นว่า
STAFF
พนักงานแต่ละคนและผลสำาเร็จทางธุรกิจของบริษัท
• จัดให้มีโครงสร้างค่าตอบแทนของพนักงานในระยะสั้น โดยพิจารณาจากผลกำาไรของบริษัทในแต่ละปีที่พนักงานได้มีส่วนร่วม ในผลสำาเร็จขององค์กร
• พิจารณาค่าตอบแทนของพนักงานโดยภาพรวมด้วยการประเมินผลการปฏิบัติงานตามดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพหลัก (KPIs) และอัตราค่าตอบแทนจะต้องสอดคล้องกับอัตราค่าตอบแทนในตลาดแรงงาน โดยคำานึงถึงความรู้ความสามารถ
ประสบการณ์ และผลการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลเป็นสำาคัญ รวมถึงความเท่าเทียมและเป็นธรรมภายในบริษัท และ
นำาข้อมูลเงินเฟ้อ (Inflation) และผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (GDP) เป็นเกณฑ์พิจารณาร่วม
• มีรางวัลตอบแทนการทำางานแก่พนักงานเป็นรายปี โดยพิจารณาจากผลการดำาเนินงานของบริษัทในแต่ละปี
• จัดให้มีสวัสดิการต่างๆ เช่น
การจัดให้มีสถานที่ออกกำาลังกาย (Fitness) เป็นต้น
• สนับสนุนความสมดุลของการทำางานและชีวิตส่วนตัวของพนักงาน (Work-Life Balance) การตรวจสอบความปลอดภัย ของสถานที่ทำางานอย่างสม่าเสมอ
CUSTOMER
(Call Center) โทร (02) 689-6888
ประเด็นข้อกังวลและความคาดหวัง
• สร้างการเติบโตและผลกำาไรอย่างเหมาะสม
• รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
• สร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
• ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล
• บริหารจัดการความเสี่ยง
• ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน
• เคารพในสิทธิ์ของผู้ถือหุ้น
• ดำาเนินนโยบาย 6 GREEN LPN เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
• สร้างความเป็นหนึ่งเดียว
• กำาหนดแผนธุรกิจร่วมกัน
• แบ่งปันองค์ความรู้
• สมดุลของผลตอบแทน
• ให้การสนับสนุนในการพัฒนาองค์กร
• ส่งต่อจิตสำานึกในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อการพัฒนาและเติบโตไปพร้อมกัน
• สร้างสมดุลระหว่างการทำางานและชีวิต
• การเรียนรู้และเติบโตในหน้าที่การงาน
• องค์กรน่าอยู่และความสุขในการทำางาน
• สมรรถนะหลักไปสู่ค่านิยมองค์กร
• ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม
• ความเท่าเทียมและสิทธิ์ขั้นพื้นฐาน
รายงานประจำาปีและรายงานการพัฒนา
• การรายงานความคืบหน้าโครงการ
การประชุม LPN Team ระดับผู้บริหาร
การประชุม LPN Team ระดับปฏิบัติการ • การอบรมและแบ่งปันความรู้
• กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์
• การประเมินความสุขในการทำางาน
• สถาบันแอล.พี.เอ็น.
• กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม
• ทีมงานพนักงานสัมพันธ์
• การประเมินผลการปฏิบัติงาน
• เว็บไซต์และอีเมลภายใน
• การแบ่งปันความรู้จากผู้บริหาร
• คณะกรรมการสวัสดิการ
• WhatsApp / Line OA
• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ มีราคาที่เหมาะสมและเป็นธรรม
• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการและความน่าเชื่อถือของแบรนด์
• สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน
• เคารพในสิทธิ์ของผู้บริโภค
• Call Center
• กิจกรรมต่างๆ •
• Touch Point
• Line OA
RESIDENTS
• ร่วมมีส่วนในการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้อยู่อาศัยผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
LABORS
NEIGHBORS
• การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมในโครงการต่างๆ
• การจัดการน้าทิ้งและการจัดการขยะภายในชุมชนลุมพินี
ENVIRONMENT
• กำาหนดเป็นนโยบายและแนวทางที่ชัดเจนในการสร้างจิตสำานึกของพนักงานภายในบริษัท และถ่ายทอดแนวคิดใน การรับผิดชอบสิ่งแวดล้อมและสังคมให้กับบริษัทคู่ค้า รวมถึงชุมชนที่บริษัทได้เข้าไปบริหารจัดการหลังส่งมอบแล้ว
• จัดตั้งคณะอนุกรรมการกำากับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อติดตาม ควบคุม ดูแล
การดำาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบาย และกำาหนดกฎบัตรที่ชัดเจน
เป็นแนวทาง 3-6-8-10 อันได้แก่ 6 GREEN LPN / 8 Stakeholders / 10 Processes
(CESR In Process) โดย 6 GREEN LPN
1. Green Enterprise
2. Green Design Concept
3. Green Financial Management
4. Green Marketing Management
5. Green Construction Process
6. Green Community Management
6 ประการ ได้แก่
• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ
• สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน
• เคารพในสิทธิ์ของผู้บริโภค
• สร้างวัฒนธรรมการอยู่อาศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”
• สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรม CESR
• ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เยาวชนที่อยู่อาศัยในโครงการ
• เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมกำาหนดแนวทางการบริหารจัดการ
• การประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม
• Mobile Application
• Call Center
• กิจกรรมต่างๆ
• การสำารวจความพึงพอใจ
• เสวนาประธานกรรมการนิติบุคคล
• Touch Point
• การบริหารประสบการณ์ลูกค้า
• การวิจัยทางการตลาด
• www.lpn.co.th
• Line OA
• ความปลอดภัยในการทำางาน
• ดูแลคุณภาพชีวิต
• สิทธิ์และค่าตอบแทนขั้นพื้นฐาน
• การปฏิบัติอย่างเท่าเทียม
• การป้องกันเสียง ฝุ่น และผลกระทบจากการก่อสร้าง
• การรับฟังข้อเสนอแนะและแนวทางการทำางาน
• การปฏิบัติตามรายงานวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
• การออกแบบที่คำานึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่
• QCSES+P
• การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง
• การร่วมรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชนที่บริหารจัดการ
• ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน
• การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
• การออกแบบโครงการเพื่อความยั่งยืน
• สร้างจิตสำานึก CESR แก่ชุมชนที่บริหารจัดการ
• สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดีแก่สตรีด้อยโอกาส
• แบ่งปันองค์ความรู้องค์กรสู่ภายนอกผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น.
• ประชาพิจารณ์
•
• เพิ่มพื้นที่สีเขียว
• ปรับปรุงพื้นที่
• การออกแบบที่คำานึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่
• 6 GREEN LPN
• LPN Green Signature Project
• QCSES+P
เกียวกับรายงานฉบับนี
Global Reporting Initiative Standard (GRI Standard) ในแบบหลัก (Core) พร้อมทั้งได้นำาเสนอความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการดำาเนินงานขององค์กรกับเป้าหมายโลก ด้านการพัฒนา
ปี ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) (Sustainable Development Goals 2030 : SDG2030) บริษัทกำาหนดเนื้อหาและกรอบการรายงานโดยได้คำานึงถึงสาระสำาคัญและประโยชน์ของเนื้อหาเป็นหลัก โดยได้ประเมินประเด็นที่เป็นสาระสำาคัญต่อ
(Material Sustainability Aspect Assessment) ประกอบกับการพิจารณาบริบทด้านความยั่งยืน (Sustainability Context)
(Stakeholder Inclusiveness) และความสมบูรณ์ของเนื้อหา (Completeness)
กระบวนการระบุประเด็นทีสำ
(Defining Material Aspects and Boundary Process)





(Sustainability Aspects)
(Identifying Sustainability Topics)
(Prioritizing Material Aspects)
(Influence on Stakeholder Assessments and Decisions) และผลกระทบที่สำาคัญจากการดำาเนินงานขององค์กร
(Significance of Economic, Environmental, and Social Impacts) เพื่อให้ได้มาซึ่งสาระสำาคัญหรือ
(Materiality)
(Validating Material Aspects) ทบทวน (Reviewing)
การใช้ทรัพยากรและการจัดการ
การรับข้อร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียที่สำาคัญ
การจ้างงาน การฝึกอบรมแรงงานและความปลอดภัย
ในการทำางาน
ความปลอดภัยของลูกค้า
การดำาเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนภายในห่วงโซ่อุปทาน
การสื่อสารการตลาดและให้ข้อมูลลูกค้า
ผลการดำาเนินงานทางเศรษฐกิจ
การต่อต้านการทุจริต
การดูแลชุมชนท้องถิ่น
ความหลากหลายและโอกาสแห่งความเท่าเทียม ค่าตอบแทนที่เท่าเทียมระหว่างหญิงและชาย
บทบาทในตลาด ประเด็นทีมีสาระสำ
http://www.lpn.co.th หัวข้อ
1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี
: 02-285-5011-6
: bnd@lpn.co.th
: 02-285-5017
Life Cycle)

ส่วนที 1 : ข้อมูลทั�วไป

1.2 ท่านเคยอ่านรายงานความยั�งยืนของบริษัทมาก่อนหรือไม่

ส่วนที 2 เนือหารายงานและการนําเสนอข้อมูลรายงาน
2.1 ท่านทราบและเข้าใจการดําเนินงานโดยทั�วไปของบริษัทได้มากยิงขึน
2.2 ท่านทราบและเข้าใจการดําเนินงานด้านความรับผิดชอบ
2.3 เนือหาครอบคลุมการดําเนินงานทีสําคัญตามความคาดหวังของท่าน
2.4 เนือหามีความชัดเจน
2.5 เนือหาอ่านเข้าใจง่าย
2.6 เนือหาเป�นประโยชน์
2.7 รูปเล่มสวยงาม
2.8 ความพึงพอใจต่อการรายงานในภาพรวม

ส่วนที 3 การพัฒนาการจัดทํารายงาน
3.1
รายงานฉบับนีได้กล่าวถึงเรืองทีอยู่ในความสนใจของท่านหรือไม่
