

6 GREEN LPN
HEALTHY RESILIENCE
DRIVES BUSINESSES TOWARD SUSTAINABILITY

6 GREEN LPN
L.P.N. DEVELOPMENT
PUBLIC COMPANY LIMITED

• สารจากประธานกรรมการ
• เป้าหมายเพื่่ อความยงย่น
- วส่ยทัศนป 2567-2569 - พื่่ นธกิจต่่อผู้้�มส่วนได้เสีย
• LPN WAY วิถีีองค์กรขับเคลื่่อนส้่ความยงย่น
• ผู้ลื่งานทัีภาคภ้มิใจ
ความยงย่นระด้่บนโยบาย
IN PROCESS
ความร่บผู้ด้ชอบ
ต่่อสิงแวด้ลื่�อมแลื่ะส่ งคม
ในกระบวนการ
• GREEN ENTERPRISE
การด้าเนินธุรกิจทัีให�ความสาค่ญ
ก่บการบริหารจ่ด้การแลื่ะทัุนมนุษย
• GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
การกาหนด้ผู้ลื่ต่อบแทันแลื่ะการเต่ิบโต่
ขัององค์กรให�เหมาะสม
• GREEN DESIGN CONCEPT
การออกแบบผู้ลื่ต่ภ่ณฑ์์
ภายใต่�ความร่บผู้ด้ชอบต่่อสิงแวด้ลื่�อม
• GREEN MARKETING MANAGEMENT
การต่ลื่าด้ทัีเป็นธรรมก่บผู้้�บริโภคแลื่ะค้่แขั่ง
• GREEN CONSTRUCTION PROCESS
การบริหารจ่ด้การผู้ลื่กระทับทัีมผู้ลื่ต่่อ
สิงแวด้ลื่�อมแลื่ะส่งคมในกระบวนการก่อสร�าง
• GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
การด้้แลื่แลื่ะบริหารจ่ด้การคุณภาพื่ชวต่ ขัองผู้้�พื่่ กอาศ่ ยในโครงการหลื่่งส่งมอบ
PROCESS
AS PROCESS
• LPC SOCIAL ENTERPRISE
• LPN ACADEMY : สถีาบ่นแอลื่ พื่ี.เอ็น.
• การพื่่ ฒนาด้านนว่ต่กรรม
• เกียวก่บแอลื่ พื่ี.เอ็น.
• การวิเคราะห์ผู้้�มส่วนได้เสีย
ในห่วงโซ่่คุณค่าธุรกิจ
• เกียวก่บรายงานฉบ่บนี
• ประเด้็นทัีมีสาระสาค่ญต่่อบรษ่ทั
สารจากประธานกรรมการ

ผมขอขอบคุณทุกความทุ่มเทของผู้บริหาร
พนักงานและพันธมิตรทางธุรกิจทีสนับสนุน
การทำางานทีผ่านมา รวมทังความเชือมัน
และความไว้วางใจจากผู้ถือหุ้น
ทุกความสนับสนุนเป็นกำาลังใจสำาคัญ ทีผลักดันให้บริษัทไม่หยุดทีจะพัฒนาสินค้า
และบริการเพื อสร้าง “ความน่าอยู่”
ทีส่งมอบความสุขทีแท้จริงของการอยู่อาศัย ให้กับคนไทยทุกคนอย่างยังยืน
และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและที คาดว่าจะเกิดขึ
ผลกระทบจากการที เศรษฐกิจของโลกเข้าสู่ภาวะถดถอย
ทีเกิดขึน ด้วยการปรับโครงสร้างภายใน เพื
SHAREHOLDERS
บริหารจัดการทรัพยากรทาง การเงิน อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื อเพิ มผลตอบแทนให้แก่ ผู้ถือหุ้น
STAFF
พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เก่ง
และแกร่งด้วยทักษะ ความรู้
และการทำางานอย่างรับผิดชอบ
CUSTOMER
SUPPLY CHAIN (LPN TEAM)
ด้วยความห่วงใยภายใต้ ความเข้าใจ และเคารพใน
ส่งเสริมการเติบโตผ่านการ ร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจทีมี วิสัยทัศน์และเป้าหมายสอดคล้อง กับองค์กร พร้อมทังมีแหล่ง เงินทุนทีเหมาะสมและมุ่งมันต่อ ความสำาเร็จร่วมกัน สร้างสังคมคุณภาพที “น่าอยู่”
NEIGHBORS
RESIDENTS
(Livable Home)”
(Affordable Price)
LABORS
ENVIRONMENT

6 GREEN LPN COMBINED WITH HEALTHY RESILIENCE DRIVES BUSINESSES TOWARD SUSTAINABILITY
LPN WAY
วิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) ประกอบด้วยคุณค่า
นับถือผู้มีส่วนได้เสีย” (Respect to Stakeholders) โดยมีองค์ประกอบค่านิยม
(Continuous Development)
LPN WAY
SUSTAINABLE DEVELOPMENT
COST LEADERSHIP
C-L-A-S-S-I-C สมรรถนะหลักองค์กร
(Core Competency)
COST WITH QUALITY
CONTINUOUS DEVELOPMENT
LPN TEAM DYNAMIC
LATERAL THINKING
ALLIANCE
COST WITH QUALITY
ALLIANCE
LATERAL THINKING



C-L-A-S-S-I-C CORE COMPETENCY

CORPORATE VALUES
SPEED WITH QUALITY SERVICE MINDED C
INTEGRITY

GOVERNANCE
CONTINUOUSDEVELOPMENT RESPECT TOSTAKEHOLDERS
LPN WAY SUSTAINABLE DEVELOPMENT


COLLABORATION

RESPECT TO STAKEHOLDERS
CORPORATE GOVERNANCE
SPEED WITH QUALITY
COLLABORATION












กลยุทธ์องค์กรและแนวทางการดำาเนินงานปี 2568
FINANCIAL
Ensure profitability and sustainability.
CUSTOMER
Create Value for our customers: to exceed their needs expectations through products and services.
Generate Revenue & Backlog and Asset Management
Maintain Financial Performance
Manage Dept and Liabilities
DELIVER QUALITY LIVING AND WELL-BEING FOR CUSTOMERS AND COMMUNITIES
Offer Value for Money, Quality, Safety and Well-being
Enhance Brand Experience
Deliver a Quality Living Society
INTERNAL REVITALIZE DEVELOPMENT PROCESS FOR BUSINESS RESILIENCE AND SUSTAINABILITY
Embed continuous improvement and ESG into operating process.
ORGANIZATIONAL CAPABILITIES
Our staff are proficient, capable, compassionate and committed to delivery the best result.
Our organizational structure and system enable responsive to change and outstanding outcome.
Marketing Mgt. Green Marketing Mgt.
Project Development Green Design Concept & Construction Mgt.
HUMAN CAPITAL
Engaged & Efficient Workforce
Develop efficient and accountable workforce
Strengthen staff communication and engagement
Foster a culture of continuous improvement process
Cultivate systematic thinking, result-oriented and collaborative skills
Stakeholders Mgt. CRM and Ecosystem Mgt.
Financial Mgt. Green Financial Mgt.
INFORMATION CAPITAL
Data-driven & Digitization
Promote applying new knowledge and digital technology
Develop IT capability for better accessing, understanding and evaluation of information
Promote knowledge management tool as objective-driven and cost-benefit decision making
Operation Mgt. Efficiency & Agility
ORGANIZATIONAL CAPITAL
Responsive & Livable Organization
Promote team-based organization and objective – driven alignment
Develop expertise in business deliverable procedures across business units and partners
• Strengthen stakeholdercentric collaboration
• Implement Green Enterprise Management
1. เร่งระบายสินค้าคงเหลือที่มีอยู่ประมาณ 9,000 ล้านบาท เพื่อ ลดภาระต้นทุนดอกเบี้ยและภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาโครงการ โดยการเพิ่มผลตอบแทนให้กับพนักงานที่ช่วยเรื่องการขาย
2. บริหารจัดการทรัพย์สินที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อเพิ่ม ผลประกอบการและเสริมสภาพคล่องทางการเงินให้กับบริษัท เพื่อเตรียมขยายการลงทุนในการพัฒนาโครงการในอนาคต
3. ใช้นวัตกรรมและเครื่องมือทางการเงินเพื่อคัดกรองและเตรียม
4. บริหารต้นทุนทางการเงินโดยการบริหารต้นทุนดอกเบี้ยจ่าย ที่เหมาะสมกับสภาพตลาดและความสามารถในการสร้างรายได้
คล่องทางการเงินและนำาเงินทุนมาใช้ในการพัฒนาโครงการในอนาคต
(Agency)
(Members Get Neighbors: MGN)
บริษัทให้ความสำาคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบโจทย์กับความต้องการของลูกค้า (Customer Insight)
และความต้องการของลูกค้าจากฐานข้อมูล และปรับรูปแบบการพัฒนาโครงการให้สามารถตอบโจทย์กับความต้องการของคนรุ่นใหม่
นี้บริษัทมีแผนเปิดตัวโครงการใหม่ทั้งสิ้น 4 โครงการรวมมูลค่าประมาณ
บริษัทให้ความสำาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของพนักงานในทุกระดับให้มีประสิทธิภาพในการทำางาน และมีความมุ่งมั่น (Commitment) ในการดำาเนินงาน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาสินค้าและบริการที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และเป็นกลไกสำาคัญในการขับเคลื่อนองค์กรท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีอย่างในปัจจุบัน โดยการพัฒนาทั้งทักษะการทำางานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมไปถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางาน ของพนักงาน โดยคำานึงถึงการให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับพนักงาน ซึ่งเป็นหัวใจสำาคัญในการขับเคลื่อนองค์กร
แนวทางการทำางานทั้ง 4 มิติมีเป้าหมายสำาคัญเพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้มีความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการให้มีความแข็งแรง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
(Healthy Resilience for Sustainable Growth) โดยการนำาทรัพยากรที่มีอยู่ขององค์กรทั้งทรัพยากรทางการเงิน


PropertyGuru
บรษ่ทัได้�ร่บการจ่ด้อ่นด้่บให�เป็นบรษ่ทั ทัีมีการกำาก่บด้้แลื่กิจการในระด้่บด้ีเลื่ิศ (5 ต่ราส่ ญลื่่กษณ์) จากสมาคมส่งเสริม สถีาบ่นกรรมการบรษ่ทัไทัย (IOD) •

20 ปี โดยได้เพิ่มความเข้มข้นและเป้าหมายการเติบโตที่เหมาะสมในแต่ละรอบวิสัยทัศน์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและขับเคลื่อนองค์กร
รวมทั้งได้กำ า หนดแผนธุรกิจขององค์กร (ฺBusiness
กับพันธกิจที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
สิ่งแวดล้อมและสังคม สำาหรับปี 2567 เป็นปีแรกของรอบวิสัยทัศน์ ซึ่งบริษัทยังคงให้ความสำาคัญสูงสุดกับการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความยั่งยืน อย่างไรก็ตามในปีนี้
อสังหาริมทรัพย์ยังคงเผชิญกับความท้าทายจากหลายปัจจัย ถึงแม้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัสจะคลี่คลายลง แต่การใช้ชีวิต
ของผู้คนในสังคมยังคงต้องระมัดระวัง และเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย
ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มก้าวผ่านวิกฤติได้อย่างปลอดภัย ในส่วนของเป้าหมายหลักในการเติบโตขององค์กร
ค.ศ. 2030 (Sustainable Development Goals: SDGs) ทั้ง
SDGs
แบ่งปันคืนสู่สังคม
ด้วยการสนับสนุน
การดำาเนินงานของ “วิสาหกิจเพื่อสังคม” เพื่อสร้างงาน คุณภาพ ชีวิต และศักดิ์ศรี
ของสตรีด้อยโอกาส
อาชีพแก่สตรีด้อย โอกาสที่ทำางานใน
SDGs
(Business Model Innovation)
ปฏิบัติกับผู้มี
ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างเท่าเทียม
เคารพสิทธิมนุษยชน
และให้ความสำาคัญ
กับการให้โอกาสที่ เท่าเทียมแก่ผู้พิการ พัฒนาโครงการ เพื่อให้ประชากร
SDGs
วางแผนการใช้
ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ส่งเสริมให้มีการ
รีไซเคิลและลดขยะ
ภายในองค์กร
LPN Green Design
Concept
LPN Green Construction Process Standard
บนเส้นทางของการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ LPN
นำาพาองค์กรและมีผู้ส่วนได้เสียทุกกลุ่มสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทจึงได้ยึดถือและน้อมนำาเอาหลักปรัชญา
มิติสิ่งแวดล้อมซึ่งมีหลายกระบวนการในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่อาจสร้างผลกระทบในวงกว้าง เช่น กระบวนการออกแบบ
ก่อสร้าง และกระบวนการการดูแลการอยู่อาศัย
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
ความสำาคัญกับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แนวคิดการออกแบบมาพัฒนาให้เป็นแนวปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมภายใต้แนวคิด 6 GREEN LPN จนเป็นกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมถึงปรับปรุงกระบวนการให้ตอบรับการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน ด้วยการนำาแนวคิดในการออกแบบ
และการก่อสร้างที่อยูู่อาศัยให้เกิดของเสียน้อยที่สุด (Eco-Design & Zero-Waste)
(Carbon Neutral) เส้นทางแห่งการพัฒนาอย่างยังยืนของ
First LPN Signature Green Project 6 GREEN LPN
Green Design Concept and Green Construction Process Standard


First LEED Certified Project

Dream House Project
Livable Community Model
The Seeds: Idea Suggestion

Green Design Concept and Green Construction Process Standard for Housing
BEC Awards
The Seeds: Idea Suggestion #2
Construction Camp Site - Quality Improvement Project
100% BIM Implementation
LPN Signature Course

(Sustainable Organization)
YEAR OF SHIFT
ISO 14001 and ISO 9001 Kick-off year
Product Development Center
Green Enterprise Standard
Green Marketing Management Standard
Green Financial Management Standard

YEAR OF CHANGE
Lumpini Property
Management Co.,Ltd. achieves ISO 9001: 2015
LPC Social Enterprise Co.,Ltd. achieves ISO 9001: 2015
Lumpini Project Management Service Co.,Ltd. achieves ISO 9001: 2015 and ISO 14001: 2015
LPC Social Enterprise Co.,Ltd. certified as the first group of SE
TREES Certification Anticipated
Green Community Management Standard Service Development Center


YEAR OF EXCELLENCE
LPN Zero Waste Management Project 2022 Kick off
YEAR OF PROFICIENCY
LPN Zero Waste Management Project 2022
LPN Carbon Neutral Organization
YEAR OF EMPOWERMENT
LPN Carbon Neutral Organization
LEED Certification Anticipated (Punn Tower)
YEAR OF BUSINESS TRANSFORMATION
LPN Carbon Neutral Organization
LPN 6 Green Development









CESR PROJECT
CESR PROJECT
ขอบเขตที 1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงขององค์กร



พิธีขอบคุณและมอบประกาศนียบัตรเครืองหมายรับรองคาร์บอนฟุตพรินท์

2566
ผลรวมลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกและเทียบเท่าการปลูกต้นไม้
30,193.66 Kg CO2e
Online / Onsite
7,729.04 Kg CO2e
22,45 Kg CO2e
Care the Wild




Solar Rooftop ในสำ
38,865.27

Solar Rooftop
38,865.27

การบริหารจัดการพลังงานในองค์กร
จากแนวคิดและนโยบายของผู้บริหารระดับสูงเรื่องการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าในองค์กร
และแผนการปฏิบัติงานในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า
2566
กราฟแสด้งปริมาณการใช�ไฟฟ้าใน สาน่กงานใหญ่เปรียบเทัียบระหว่างป 2566 แลื่ะ ป 2567
กราฟแสด้งปริมาณการใช�ไฟฟ้าใน
66 ปี2566
67
กราฟแสด้งปริมาณการใช�นำาประปาในสาน่กงานใหญ่เปรียบเทัียบระหว่างป 2566 แลื่ะ ป 2567
กราฟแสด้งปริมาณการใช�นำาประปาในสาน่กงานขัายเปรียบเทัียบระหว่างป 2566 แลื่ะ ป 2567 หน่วยการใช้น
2566
ปี 2567
67 ค่าเฉลียปี 66
8,207
5,555
2,448 204
12,703
(KgCO2e)
Plearn (Play & Learn)
70.09 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (KgCO2e)



บรรยากาศกิจกรรม Plearn (Play & Learn) : เพาะรักษ์เพื

SUSTAINABLE POLICY
ในการสร้างความยั่งยืนให้กับองค์กร จำ า เป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรทุกระดับจะต้องมีความเข้าใจ
รวมถึงมองเห็นเป้าหมายเดียวกัน หลักคิดในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนจึงได้รับการรวบรวมและ กลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ในองค์กร รวมทั้งใช้เป็นแนวทางให้ทุกภาคส่วนนำาไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
พื นฐานการพัฒนาอย่างยังยืนบนหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง
ผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้องค์กรมีความแข็งแกร่ง ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากร
รักษาการเติบโตให้เป็นไปอย่างเหมาะสม นอกจากนี้
มาปรับใช้เป็นแนวทางการดำาเนินธุรกิจของบริษัทอีกด้วย
มีการประเมินศักยภาพของบริษัทและ ประเมินความเสี่ยงอย่างสม่าเสมอ เพื่อนำา
ไปสู่การกำาหนดอัตราการเติบโตที่เหมาะสม
แสวงหาผลกำาไรที่พอประมาณ ไม่เอารัด
เอาเปรียบ ดำาเนินธุรกิจโดยไม่เบียดเบียน

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในทุกกระบวนการและทุกขั้นตอน เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม พร้อมทั้งดูแลผู้มีส่วนได้เสียอย่างเหมาะสม
ตามแนวทางบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนขององค์กรภายใต้แพลตฟอร์มการดำ า เนินธุรกิจ LPN Platform 3-6-8-10 ที่ได้กลั่นกรองและพัฒนามาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี โดยบริษัทได้นำ า หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Triple Bottom Line) ที่ให้ความสำ า คัญกับองค์ประกอบสำ า คัญของการพัฒนา 3 ประการ คือ
สิ่งแวดล้อม (Planet หรือ Environment) สังคม (People หรือ Social) และธรรมาภิบาล (Profit หรือ Governance) หรือ ESG ซึ่งเป็นแนวทาง
ในการกำาหนดเป้าหมายภายใต้กลยุทธ์ 6 GREEN LPN
Green Enterprise, กลยุทธ์การบริหารการเงินที่มีประสิทธิภาพและคำ า นึงถึงการสร้างความสมดุลในผลตอบแทนที่เหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม หรือ Green Financial Management, มุ่งเน้นการมอบสินค้าตามพันธะสัญญาและข้อตกลงที่ให้ไว้กับลูกค้ากลยุทธ์การทำาการตลาดโดยให้ความสำาคัญกับคุณภาพของสินค้าและจริยธรรมในการทำาธุรกิจ หรือ Green Marketing Management, กลยุทธ์การออกแบบที่ คำานึงถึงสิ่งแวดล้อม หรือ Green Design Concept, กลยุทธ์การก่อสร้างที่ให้ความสำาคัญเรื่องคุณภาพและการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในการ
Green Construction Management,
หรือ Green Community Management
(LPN Development Process)
3P

PLANET ENVIRONMENT
บริษัทให้ความสำ า คัญกับการพัฒนา โครงการโดยคำ า นึงถึงและเคารพต่อการ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยการยก ระดับและปรับปรุงกระบวนการทำ า งาน ในส่วนของการออกแบบแลก่อสร้าง
า งาน (In Process)
อย่างต่อเนื่อง โดยกำาหนดแผนงานเพื่อลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วยการลดและ บริหารจัดการขยะในกระบวนการออกแบบ
และก่อสร้างอย่างครบวงจร รวมไปถึง
การปรับกระบวนการทำางานที่มีเป้าหมาย ในการปรับเปลี่ยนการใช้วัสดุภายใน
โครงการ การใช้พลังงานทางเลือก การใช้
หลอดไฟฟ้าและผลิตภัณฑ์ที่ประหยัด
พลังงาน ในพื้นที่ก่อสร้าง สำานักงานขาย
รวมไปถึงการพัฒนาโครงการในแต่ละ
โครงการ และให้ความสำาคัญกับการเลือก ใช้วัสดุในการก่อสร้างที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อมมากขึ้น โดยมีการตั้งเป้าหมาย
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระยะสั้น
ให้ได้ 35% ในปี พ.ศ. 2578 ระยะกลาง
ให้ได้ 72.5% ในปี พ.ศ. 2593 และมุ่ง
สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี พ.ศ. 2604
PEOPLE SOCIETY
PROFIT GOVERNANCE
(Corporate Governance)
การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในบริษัท ให้มีโอกาสในการเติบโต และพัฒนา ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน รวมถึงความเข้าใจในการดำ า
อย่างยั่งยืน โดยยังคงไว้ซึ่งการเคารพ ต่อความแตกต่าง
ห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ
โดยทั่วไปความรับผิดชอบของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ มักจะสิ้นสุดที่การส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือห้องชุดแก่ลูกค้า แต่ใน ทางกลับกัน
จากการศึกษาวิจัยและพัฒนา
1. เลือกทำาเล
2. กำาหนดแนวทางการพัฒนา
3. การซื้อที่ดิน
4. การออกแบบโครงการ
5. การบริหารการตลาดและการขาย
การบริหารจัดการทางการเงิน
ROAD MAP PLATFORM
GREEN MARKETING MANAGEMENT
GREEN DESIGN CONCEPT
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
GREEN CONSTRUCTION MANAGEMENT
ด้วยความตระหนักถึงการดำาเนินธุรกิจที่ต้องคำานึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างจริงจังในทุกกระบวนการ
เพื่อเป็นหลักปฏิบัติในการสร้างสมดุลอย่างยั่งยืนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
1 4 2 5 3 6
MARKETING MANAGEMENT
CONSTRUCTION PROCESS
COMMUNITY MANAGEMENT
8 STAKEHOLDERS
1 2 3 4
SHAREHOLDERS
7 5 6 8
RESIDENTS
NEIGHBORS
ENVIRONMENT
PROCESS 1
พัฒนาโครงการบนพื้นที่คุณภาพ ที่สามารถตอบสนองต่อการขยายของ ตัวเมืองและความต้องการที่อยู่อาศัย ของประชากร โดยต้องเป็นทำาเล ที่สามารถเข้าถึงแหล่งคมนาคม และแหล่งอำานวยความสะดวกพื้นฐาน ได้โดยง่าย เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสร้าง สังคมเมืองที่น่าอยู่และยั่งยืนต่อไป
10 PROCESSES
PROCESS 2 PROCESS 3
PROCESS 4
ออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม เพื่อตอบสนองความต้องการที่ “พอดี”
ด้วยมาตรฐานการออกแบบอาคาร LPN Green Design Concept Standard ซึ่งบริษัทได้พัฒนาขึ้นโดยใช้เกณฑ์อาคารเขียว ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นต้นแบบ เพื่อยกระดับ ให้ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานและเป็นที่อยู่อาศัยที่ส่งเสริมให้ผู้อยู่อาศัย ประหยัดการใช้ทรัพยากร
PROCESS 5
การบริหารการตลาดและการขาย
การบริหารจัดการ
ทางการเงิน
การเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน มีผลการดำ า เนินงานที่มีกำ า ไรเติบโต
อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
และนำ า ผลตอบแทนนั้นไปกระจายต่อ
ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการ พัฒนาโครงการอย่างสมดุล
โดยการบริหารจัดการอัตราส่วน
ทางการเงินและค่าใช้จ่ายของบริษัท และบริษัทย่อยในสัดส่วนที่เหมาะสม
ตามเป้าหมายรายได้และแผนธุรกิจ
ขององค์กร
มีมาตรฐานการตรวจคุณภาพของห้องชุดและพื้นที่ส่วนกลางให้ สมบูรณ์ก่อนการส่งมอบอย่างเคร่งครัด
การจัดการด้านความยังยืน
ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นอย่างสูง โดยเฉพาะโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ จะเห็นได้ว่าอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีคุณภาพมักสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นอย่างมาก
โดยคำานึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม และได้กำาหนดไว้ในแผนธุรกิจของบริษัทเพื่อนำาไปสู่ความยั่งยืนที่แท้จริง โดยไม่จำากัดเพียง แค่ความรับผิดชอบในกระบวนการ (In Process)
(Out Process)
Care & Share)
IN PROCESS OUT PROCESS AS PROCESS
02
IN PROCESS
ความรบผู้ด้ชอบต่่อสิ่งแวด้ลื่�อมแลื่ะสงคม ในกระบวนการ
1. GREEN ENTERPRISE
การด้าเนินธุรกิจทัีให�ความสาค่ญก่บการบริหารจ่ด้การแลื่ะทัุนมนุษย
2. GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
การกาหนด้ผู้ลื่ต่อบแทันแลื่ะการเต่ิบโต่ขัององค์กรให�เหมาะสม
3. GREEN DESIGN CONCEPT
การออกแบบผู้ลื่ต่ภ่ณฑ์์ ภายใต่�ความร่บผู้ด้ชอบต่่อสิงแวด้ลื่�อม
4. GREEN MARKETING MANAGEMENT
การต่ลื่าด้ทัีเป็นธรรมก่บผู้้�บริโภคแลื่ะค้่แขั่ง
5. GREEN CONSTRUCTION PROCESS
การบริหารจ่ด้การผู้ลื่กระทับทัีมผู้ลื่ต่่อสิงแวด้ลื่�อมแลื่ะส่งคม ในกระบวนการก่อสร�าง
6. GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
การด้้แลื่แลื่ะบริหารจ่ด้การคุณภาพื่ชวต่ขัองผู้้�พื่่ กอาศ่ ย
ในโครงการหลื่่งส่งมอบ
GREEN ENTERPRISE
SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS



จากความตั้งใจของบริษัทที่จะเป็นผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ให้ความสำาคัญกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในทุกกระบวนการ เพื่อป้องกัน และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม บริษัทจึงได้นำาแนวคิดดังกล่าวกำาหนดเป็นนโยบายและการปฏิบัติเพื่อดูแลผู้มีส่วนได้เสียทั้ง
(Corporate Policy) ไปจนถึงมาตรฐานการปฏิบัติงานในทุกภาคส่วน ตลอดจนการบรรเทาและแบ่งเบาภาระ
1. การเต่ิบโต่แลื่ะการสร�างผู้ลื่กาไรอย่างเหมาะสม บ ร ษัทไ ด
2. บ�านทัีสามารถีเป็นเจ�าขัองได้ ด้วยการ ยึด มั่ นในห ลักเศรษฐ กิจพอเ พียง
บรษัท จึงนำมาสู่นโยบายการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่
การใชชวิต ที่นอกจากจะช่วยใหผู้บริโภคสามารถเข้าถึงและเป็นเจ้าของ
3. ด้้แลื่คุณภาพื่ชวต่ภายใต่�ว่ฒนธรรมการอย้่อาศ่
(Togetherness Care & Share)
7. จต่สานึกแลื่ะความร่บผู้ด้ชอบต่่อสิงแวด้ลื่�อม
2. การบริหารจัดการทุนมนุษย์ (Human Capital Management)
1. กำาหนด้ค่านิยมองค์กร (Corporate Value)
SPEED





INTEGRITY

CONTINUOUSDEVELOPMENT RESPECT TOSTAKEHOLDERS LPN WAY SUSTAINABLE DEVELOPMENT

COLLABORATION

COLLABORATION
2. องค์กรน่าอยู่ (Livable Organization)
ส่งเสริมบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ เพื่อนำาไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
(LPN Way) โดย 6
(Real Pleasure of Working)
รักษาและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการจัดกิจกรรมภายในเพื่อสร้าง ความสุขและความสัมพันธ์ที่ดีร่วมกันใน ที่ทำ า งาน รวมทั้งสนับสนุนให้พนักงาน
มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิจกรรม ทั่วไปภายในองค์กร และกิจกรรมเพื่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมภายนอกองค์กร
1. 4. 2. 5. 3. 6.
กำ า หนดผลตอบแทนที่สอดคล้องกับ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำางาน มีการจัดสวัสดิการให้ตามความเหมาะสม อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม ส่งเสริม คุณภาพชีวิตของบุคลากรโดยสนับสนุนให้มี ความสมดุลทั้งในชีวิตและงาน (Work-Life Balance)

3. พัฒนาบุคลากรด้วย A-S-K (Learning & Growth)
Academy
6 GREEN LPN
Green Financial Management, Green Design Concept, Green Marketing Management, Green Construction Process
Green Community Management
เพื่อให้มีมาตรฐานการดำาเนินการที่รัดกุมในการประเมินและระวังความเสี่ยงในมิติต่างๆ
บริษัทตระหนักดีว่าการดำาเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ส่งผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) หลายฝ่าย
ขยายฐานรายได้จากธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่อง
จากการก่อสร้างต่อผู้มีส่วนได้เสีย
นโยบายการบริหารความเสี่ยงของบริษัทเป็นไปตามหลักการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ความเสี่ยง ทำาหน้าที่กำาหนดนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมทุกกระบวนการ และสอบทานนโยบายการบริหารความเสี่ยง อยู่เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดผลกระทบจากสภาพสถานการณ์ใน
ที่มีหลากหลายปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งการระบาดของโรคและสภาพเศรษฐกิจที่ผันผวน โดยบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับต่าซึ่งสามารถยอมรับได้ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบที่เป็นอิสระจากคณะกรรมการบริหาร ซึ่งคณะกรรมการ
อิสระนี้มีหน้าที่เสนอแนวทาง
ที่สำาคัญต่อการกำากับดูแลกิจการที่ดีและมีธรรมาภิบาล การที่บริษัทมีโครงสร้างการบริหารจัดการที่ยุติธรรมและโปร่งใสนั้น จะเอื้อต่อการกำากับดูแลกิจการที่ดีและเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
• ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม
• มุ่งมั่น ทุ่มเทในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ โปร่งใส
ให้กับพนักงานให้สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่
โดยมุ่งเน้นการพิจารณาผลกระทบจากการดำาเนินงานที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร
การกำากับดูแลกิจการ
การกำากับดูแลกิจการถือเป็นหนึ่งในประเด็นความยั่งยืนที่มีนัยสำาคัญที่ผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์กรจะต้องมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โดยบริษัท ได้กำาหนดหลักปฏิบัติภายใต้นโยบายดังกล่าวไว้ดังนี้
• ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ในฐานะผู้นำาองค์กรที่สร้างคุณค่าให้กิจการอย่างยั่งยืน
• กำ า หนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจการที่เป็นไปเพื่อ
• เสริมสร้างคณะกรรมการที่มีประสิทธิผล
• สรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและการบริหารบุคลากร
การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน
บริษัทดำาเนินธุรกิจภายใต้หลักสิทธิมนุษยชน
ผลการดำาเนินงานในการสื่อสารและอบรมความรู้
1) การเรียนร้�แลื่ะทัด้สอบความร
3 มีพนักงานเข้าทบทวนความรู้
2) พื่่ ฒนาแลื่ะผู้ลื่ต่ Clip
3) ต่ ปณ. จริยธรรม (ต่้�ปณ.21)
4) การต่รวจสอบกรณมีเรองสงส่ ยอาจพื่บการกระทัาความผู้ด้ทัางวน่ยร�ายแรงขัองพื่น่กงาน
• การสื อสารและอบรมเกียวกับนโยบายและขันตอนการต่อต้านทุจริต
Onboading
• กำาหนดให้มีการประเมินความเสี
• ทบทวนมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชันอย่างสม
การจ้างงานอย่างเป็นธรรมและความหลากหลายของพนักงาน
• แยกตามเพศ (คน)
(คน)
การสรรหาว่าจ้างและการลาออกของพนักงาน
2) การลาออกของพนักงานสายงานพัฒนาธุรกิจ
การสรรหาว่าจ้างและการลาออกของพนักงานสายงานพัฒนาธุรกิจ ระหว่างปี 2566 และ 2567
3) การสรรหาว่าจ้างพนักงานสายงานบริการ
ปี 2567 มีการรับพนักงานเข้าทำางาน
2567 (คน)
2566 (คน)
1. การดูแลสุขภาพพนักงานทีมีโอกาสหรือความเสี ยงสูง
ต่อการเป็นโรคทีเกิดจากการทำางาน
บริษัทมีการติดตามผลด้านสุขภาพของพนักงานกลุ่มที่เสี่ยงเกิดโรคจากการทำางาน ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปกติ


3. ผลกระทบและการร้องเรียนเรืองการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างไม่เป็นธรรมในปี 2567
ไม่มีข้อร้องเรียน
ต่าราง : อ่ต่ราค่าจางมาต่รฐานขัองบริษ่ทัเปรียบเทัียบระหว่างปี
พนักงาน ระดับ 1 - 4 (ระดับปริญญาตรี)
ต่าราง : อ่ต่ราค่าจางแลื่ะค่าต่อบแทันขัองบริษ่ทัเปรียบเทัียบระหว่างปี
ระดับ 1 - 4
ต่าราง : อ่ต่ราค่าจางแลื่ะค่าต่อบแทันขัองบริษ่ทัเปรียบเทัียบระหว่างปี 2566 แลื่ะ 2567 (สายงานพื่่ฒนาธุรกิจ)
ต่าราง : อ่ต่ราค่าจางแลื่ะค่าต่อบแทันขัองบริษ่ทัเปรียบเทัียบระหว่างปี
• ส่ด้ส่วนขัองฝ่่ายบริหารแลื่ะพื่น่กงานแยกต่ามภ้มิภาค
ถึงแม้ว่าบริษัทต้องเผชิญกับความน่าวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคระบาดและเศรษฐกิจ ที่ส่งผลต่อภาพรวมธุรกิจพัฒนาที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง
แต่บริษัทยังคงให้ความสำ
พนักงาน โดยตระหนักดีถึงความจำาเป็นและความสำาคัญของการคงไว้ซึ่งสวัสดิการหลายด้าน
บริษัทตระหนักและให้ความเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และความเท่าเทียมกันของบุคคลโดยไม่เลือกปฏิบัติ
บริษัทย่อยต้องปฏิบัติต่อกันและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มด้วยความเคารพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน รวมทั้งปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมกับ
บริษัทยังให้ความสำาคัญในด้านแรงงานโดยจะปฏิบัติต่อพนักงานและลูกจ้างตามกฎหมายแรงงาน
กับแรงงานอย่างเป็นธรรมทั้งแรงงานไทยและแรงงานต่างชาติ
ยังไม่ได้รับข้อร้องเรียนใดๆ เกียวกับการปฏิบัติต่อแรงงาน
• จำานวนข้อร้องเรียนเกียวกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน การจัดการปัญหา
ยังไม่ได้รับข้อร้องเรียนใดๆ
บริษัทมีการสื่อสารเรื่องการต่อต้านทุจริตและการส่งเสริมจรรยาบรรณที่ดีในองค์กรเป็นประจำาในช่วง Morning News ของทุกเช้าเวลา
และมีการจัดทำาข้อมูลและความรู้ในรูปแบบ One Page และสื่อสารผ่าน Morning Knowledge
ยังมีการรวบรวมองค์ความรู้เรื่องจรรยาบรรณที่ดีในการดำาเนินธุรกิจเพื่อให้พนักงานสามารถเข้าเรียนรู้และทบทวนจรรยาบรรณได้ ตลอดในช่องทาง Microsoft Office 365 Engage
1) มีการจ่ด้อบรมหลื่่กส้ต่รจรรยาบรรณสาหร่บธุรกิจ
2) สน่บสนุนกระบวนการเรียนร้�แลื่ะสอสาร สาหร่บพื่น่กงานผู้้�พื่ิการด้านการได้�ยิน
3) ส่งเสริมการด้้แลื่รกษาสุขัภาพื่ให�พื่นกงาน


4) ส่งเสริมศกยภาพื่พื่นกงานผู้้�พื่ิการในด้�านต่่างๆ ได้�แก่

1) ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
Sharing Business Knowledge, Sharing Department Knowledge
Sharing Employee’s Portfolio
1) คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติให้ปรับเงินเดือนพนักงาน
2567
2) การปรับระดับพนักงาน ประจำาปี 2567
2567
5) มอบทุนการศึกษาให้กับบุตรพนักงาน
8) มอบทุนการศึกษาให้กับบุตรพนักงาน
1)
2)
2567
ปี 2567
3) การปรับพนักงานสัญญาจ้างเป็นพนักงานประจำา
5)
รายละเอียดงานตามความรับผิดชอบ (Job Description)
(Organization Chart)
เปลี่ยนแปลงการเบิกค่าพาหนะตามสิทธิ์เป็นวิธีการทำาจ่ายค่าพาหนะตามสิทธิ์ผ่านเงินเดือน โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม
6) มอบทุนการศึกษาให้กับบุตรพนักงาน
7) มีการปรับปรุงโครงสร้างระดับฝ่ายประจำาปี
9) จัดให้มีการตรวจสุขภาพประจำาปี
10) จัดให้มีการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
11) มีการจัดทำา
12) จัดให้มีการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
13) บริษัทมอบเงินช่วยเหลือพนักงานที
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
บริษัทมั่นใจเป็นอย่างยิ่งว่าการที่บริษัทมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้า
ยังคงสามารถดำาเนินธุรกิจในสังคมได้อย่างต่อเนื่องนั้น เป็นสิ่งที่บ่งชี้ว่าการดำาเนินธุรกิจขององค์กรสามารถ
สร้างความยั่งยืนในสังคมได้อย่างแท้จริง อันจะเห็นได้จากการที่บริษัทเผชิญกับวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 และสามารถผ่านพ้นสถานการณ์
ดังกล่าวมาได้
เหตุการณ์วิกฤติเศรษฐกิจในครั้งนั้น นอกจากความมุ่งมั่นในการดำ
แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาธุรกิจและเติบโตร่วมกัน มีระบบการทำางานที่เปรียบเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน ทำาให้ทุกกระบวนการทำางานตลอด แนวห่วงโซ่อุปทานของบริษัท
COMMIT
ASSESS
(Two-way Communication)
• รับทราบแผนงานและกำาหนดเป้าหมายร่วมกัน
• รับฟังความคิดเห็นและความคาดหวังของกันและกัน
• ระบุและพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดระหว่างการทำางานร่วมกัน
• วางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
การมีส่วนร่วมของ
IMPLEMENT
ENGAGE MEASURE
LPN และ LPN Team
FINANCIAL MANAGEMENT
Green Financial Management
ที่มีกำาไรเติบโตอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
การกำาหนดผลตอบแทนและการเติบโต
ขององค์กรให้เหมาะสม
SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS



โดยการบริหารจัดการอัตราส่วนทางการเงินและค่าใช้จ่ายของบริษัทและบริษัทย่อยในสัดส่วนที่เหมาะสม
Accountability Financial Statement
ตามหลักการของ Accountability Financial Statement อันได้แก่
1. ความโปร่งใส (Transparency)
บริษัทมีนโยบายการจัดการด้านการเงินอย่างโปร่งใสภายใต้หลักการ กำ า กับดูแลกิจการที่ดี โดยจัดให้มีระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม
และมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ า นวน 4 ท่าน โดยมี
กรรมการตรวจสอบจำ า นวน 3 ท่าน ที่มีความรู้และประสบการณ์ใน
ด้านบัญชี-การเงิน ทำาหน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชีและตรวจสอบ คุณภาพของรายงานทางการเงิน รวมทั้งระบบการควบคุมภายใน
ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบจะปรากฏในแบบแสดงข้อมูล ประจำาปีและรายงานประจำาปี
2. การต่รวจสอบอย่างสมำาเสมอ (Auditability) คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อกำ า กับ ดูแลและตรวจสอบการดำาเนินงาน รวมถึงสอบทานแผนการตรวจสอบ
3. การเปิด้เผู้ย (Disclosure) ไม่มีวาระซ่่อนเรน (Hidden Agenda)
และนักลงทุนในการใช้งบการเงิน
4. สอบว่ด้ได้� (Measurable)
เพื่อการสร้างมาตรฐานของการตรวจสอบให้เกิดความโปร่งใสและ เปิดเผย อันจะเป็นผลต่อความยั่งยืนของบริษัท การรายงานทาง
(Discipline)

GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
STANDARD CHECKLIST OF LPN
มาตรฐานที 1 ด้านเป้าหมาย กาหนด้ผู้ลื่ต่อบแทันแลื่ะการเต่ิบโต่ ขัององค์กรอย่างเหมาะสม
(Management Committee : MC)
1.2 ผลการพิจารณางบประมาณจากคณะกรรมการบริษัท ที่มีความเหมาะสมตามแผนธุรกิจด้านรายได้และรายจ่าย โดยผ่านการศึกษา
(MC)
1.3 กำ า หนดวันทบทวนและปรับแผนธุรกิจด้านผลประกอบการ
ได้เหมาะสมตามสถานการณ์ โดยผ่านการศึกษากลั่นกรอง
1 1 2 2
2.
การดำาเนินกิจการให้เป็นไปตามความเหมาะสม บริหารความเสี่ยงทางการเงินเพื่อการเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคง และสร้างผลกำาไรจากระบบงาน
โดยได้เปิดเผยผลการดำาเนินงานทั้งหมดอย่างละเอียดไว้ในรายงานประจำาปีของบริษัท
การกำาหนดเป้าหมายในการรักษาผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กร
1. อัตราส่วนหนีสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio)
ลดความเสี่ยงที่จะเกิดภาระหนี้เกินตัว
2. กำาไรขันต้น (Gross Profit Margin)
3. อัตราส่วนการจ่ายปันผล (Dividend Payout Ratio)
บริษัทกำ า หนดเป้าหมายของอัตราส่วนเงินปันผลต่อกำ า ไรสุทธิ
50 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม และในขณะเดียวกันบริษัทยังรักษาเงินลงทุน เพื่อการขยายตัวของธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดยคำ า นึงถึงความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรม เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนสืบไป
(Indicators)
1. อ่ต่ราส่วนหนีสินต่่อส่วนขัองผู้้�ถี่อหุ�น (Debt to Equity Ratio)
2. กาไรขั่นต่�น (Gross Profit Margin) คือสัดส่วนของกำไรขั้นต้นกับยอดขายสุทธิของกิจการ
3. อ่ต่ราส่วนเงินปันผู้ลื่ต่่อกาไรสทัธ (Dividend per Net Profit Ratio)
คือสัดส่วนของกำไรสุทธิจากผลการดำเนินงานของบรษัทในแต่ละป
DESIGN CONCEPT
Green Design Concept
SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS










ตั้งแต่แนวคิดการออกแบบและการวางผังโครงการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
1. STRATEGIC LOCATION
2. LPN GREEN DESIGN CONCEPT STANDARD
LEED (Leadership in Energy and Environmental Design)
2558
TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability)
นอกจากนั้น บริษัทยังได้นำามาตรฐานทางสุขภาวะระดับสากลอย่าง WELL (WELL Building Stadard)
SUSTAINABLE SITE DEVELOPMENT
2.1 2.2
ENERGY EFFICIENCY
2.3 2.5
การใช�พื่ลื่่งงานอย่างมีประสทัธิภาพื่
อาคารของ LPN ได้รับการออกแบบโดยคำ า นึงถึง
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคาร มีช่องทำ า ให้
แสงสว่างจากธรรมชาติสามารถส่องผ่านเข้ามายังพื้นที่
ภายใน เพื่อลดการใช้ดวงไฟส่องสว่าง รวมไปถึงมีการใช้
แผ่นฉนวนกันความร้อนและกระจกตัดแสง เพื่อช่วยลด
ความร้อนที่ส่งผ่านจากภายนอก ซึ่งจะช่วยประหยัดไฟ
จากการใช้เครื่องปรับอากาศ
LPN จะต้องผ่านการประเมินตามเกณฑ์การมาตรฐาน ประสิทธิภาพพลังงานของอาคาร (Building Energy Code: BEC) ของกระทรวงพลังงาน
การออกแบบเพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถลดการใช้พลังงานได้
ตามที่กำาหนดไว้จริง
2.4
MATERIAL AND RESOURCE
ว่สดุ้แลื่ะทัร่พื่ยากรประกอบอาคาร
INDOOR ENVIRONMENTAL QUALITY
ส่วนผสมของวัสดุรีไซเคิลเพื่อลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
และมีนโยบายส่งเสริมการใช้ของที่ผลิตในประเทศอีกด้วย
3. REAL PLEASURE OF LIVING



SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS


ที่ได้ให้ไว้กับลูกค้าทั้งก่อนและหลังการส่งมอบ
PROMOTION
PRICE PLACE
กลื่ยทัธ์ด้านราคา
ด้วยการบริหารต้นทุนและค่าใช้จ่ายในทุกกระบวนการ
การขายและโปรโมชั่นให้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย
พร้อมทั้งจัดการบริการทางการเงินเพื่อช่วยให้ลูกค้า
มีความสะดวกในการขอสินเชื่อ ซึ่งเป็นการสร้าง
โอกาสการมีที่อยู่อาศัยให้ง่ายขึ้นอีกด้วย
PEOPLE
บริษัทมีการบริหารประสบการณ์ลูกค้าผ่านจุดสัมผัส หรือ Touch Point และการกำ า หนดมาตรฐาน
การอบรมการบริการของพนักงานตาม LPN Service Culture (S-E-R-V-I-C-E-S) เพื่อสร้างความมั่นใจ
ให้กับลูกค้าว่าจะได้รับการบริการที่เป็นมาตรฐาน สร้างประสบการณ์เชิงบวกให้กับลูกค้า โดยมี การประเมินระดับการเป็นผู้สนับสนุนองค์กร (Net Promoter Score: NPS) หลังกระบวนการขาย รวมทั้งมีช่องทางในการรับข้อเสนอแนะและเรื่อง
PROCESS

GREEN MARKETING MANAGEMENT
STANDARD CHECKLIST OF LPN
หรือ Green Marketing Management
ดำาเนินงานด้านการสื่อสารการตลาดอย่างเป็นธรรมและตอบสนองกลยุทธ์ Green Marketing Management
นับเป็นจรรยาบรรณในเชิงสมัครใจขององค์กรที่ได้กำาหนดขึ้นเอง
Green Marketing Management Standard Checklist มจานวนทั่งสิน 7 ขั�อ ด้่งนี
(Product)
• การส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์ตรงตามที่สื่อสารไว้
• การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ก่อนส่งมอบลูกค้าทุกครั้ง
• การรับประกันและให้การดูแลหลังส่งมอบผลิตภัณฑ์
(Price)
• ราคาและเงื่อนไขการชำาระเงินเหมาะสมตรงตามกลุ่มเป้าหมาย
• กำาไรที่เหมาะสมตรงตามกลุ่มเป้าหมาย
(Place)
• สำานักงานขายพร้อมให้บริการกับลูกค้าตามข้อกำาหนด ปี 2567 มีผู้ลื่การด้าเนินงานต่ามมาต่รฐาน Green Marketing Management Standard Checklists
(Promotion)
(Human Touch Point)
(Process)
• กาหนดรายละเอียดเงื่อนไขการซื้อขายให้เป็นไปตามข้อกาหนด ของสำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)
• เอกสารประกอบการขายทุกประเภทต้องชัดเจนโปร่งใส ไม่คลุมเครือ ไม่มีวาระซ่อนเร้น ตรวจสอบได้
• อบรมพนักงานขายให้เป็นที่ปรึกษาด้านผลิตภัณฑ์และการเงิน
• ให้ความเป็นธรรมแก่ลูกค้ากรณีถูกปฏิเสธสินเชื่อ หรือมี ความจ าเป็นบางประการในการยกเลิกการซื้อ
Evidence)
(Customer Experience)
(Customer Life Cycle)
(Brand Loyalty)
บริษัทได้กาหนดแนวทางในการสร้างประสบการณ์ลูกค้า
23. สิ�งอำนวยความสะดวก
24. ทรัพยสวนกลาง 25. หองชุด
26. ผูจัดการชุมชน 27. เจาหนาที่ธุรการนิติฯ
28. ชางอาคาร
Human และ Non-Human ผ่าน Touch Point
โดยมีการกาหนด Touch Point ขององค์กรดังนี้ 1.
29. รปภ. นิติฯ
30. แมบานนิติฯ
31. รปภ.สัมพันธ
32. เจาหนาที่ซอมหลังโอน
33. เจาหนาที่ธุรกิจนายหนา
34. แจวคอนโด
TOUCH POINT WHEEL

2.
3. www.lpn.co.th 4. หองตัวอยาง 5. กิจกรรมงานขาย
35. พนักงานขับรถตู 6. Call Center 7. เจาหนาที่ขาย 8. แมบานสำนักงานขาย 9.
10. กิจกรรมงาน
11. สำนักงานโอนฯ
12. สำนักงานนิติฯ
13. LPN Payment Card
14. ระบบติดตามคางวด
15. Mobile App.
16.
เพิ่มความสะดวกสบายให้กับลูกค้าในการเลือกช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับไลฟ์สไตล์ของตนเอง


(Product Value)
ร่บเรองร�องเรียนจากช่องทัางต่่างๆ
- LPN V Care, Website, Call Center, Line, Facebook - สายตรงถึงพนักงาน
- เว็บไซต์ภายนอก เช่น pantip.com
- ผู้บริหาร
ส่งต่่อเรองร�องเรียน หรือโทรแจ้งฝ่ายที่เกี่ยวข้องภายใน 1 วัน
และบันทึกในระบบร้องเรียน
ฝ่่ายทัีเกียวขั�องร่บเรองร�องเรียน
ด้าเนินการแก�ไขั แลื่ะบ่นทัึก ผลการแก้ไขในระบบและโทรแจ้ง แนวทางการแกปัญหากับลูกค้า
ฝ่่ายทัีเกียวขั�องรายงานผู้ลื่การแก�ไขั กับฝ่ายบริหารประสบการณลูกค้า และผู้บริหาร
ต่ด้ต่่อลื่้กค�าเพื่่ อสอบถีาม
ผู้ลื่การแก�ไขัปัญหา
สรุปรายงานประจาเด้่อน ส่งผู้บริหารและฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
จ่ด้เก็บรายงาน
พร้อมนำกรณที่น่าสนใจ แบ่งปันและศึกษา
เพื่อเป็นองค์ความรู้ (Knowledge Sharing)
• ความพื่ึงพื่อใจการให�บริการ 96%
ปี 2567 ผลคะแนนความพึงพอใจของลูกค้าต่อการใช้บริการโดยรวม เท่ากับ 96% มากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (85%) การวัดผลความพึง
พอใจจะวัดโดยตรงจากลูกค้า ผ่านระบบ Service Evaluation และ
• ระด้่บการเป็นผู้้�สน่บสนุนองค์กร
(Net Promoter Score: NPS) 97%
• ขั�อร�องเรียนเรองผู้ลื่กระทับด้านสิงแวด้ลื่�อม
แต่ไม่พบความผิดปกติ โดยบริษัทได้ดำาเนินงานตามกระบวนการบริหารเรื่องร้องเรียนครบถ้วน และไม่ได้รับเรื่องร้องเรียนเพิ่มเติมในกรณีนี้
ด้วยการนำาข้อร้องเรียนมาใช้เป็นกรณีตัวอย่างให้พนักงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยมีหลักการต่อเนื่องจากการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS











โดย LPN จะส่งผลกระทบทางลบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
กลยุทธ์การบริหารจัดการการก่อสร้างของ
S C +P S E
Quality of Product Safety of Workers and Participants
บริหารและดำาเนินการก่อสร้างโดยคำานึงถึงคุณภาพ
Cost Control and Management
ควบคุมและบริหารต้นทุนทั้งทางตรงและทางอ้อมให้
Speed of Delivery
Environmental Responsibility

People Management
• การศึกษา สำารวจอาคารข้างเคียง
• งานก่อสร้างถนน
• การก่อสร้างบ้านตัวอย่างและอาคารส่วนกลาง
โดยมีกำาหนดเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในปี 2566
การป้องกันมลภาวะทีเกิดจากการก่อสร้าง (Construction Pollution Prevention)
ทุกกิจกรรมการก่อสร้างที่เกิดขึ้นภายในโครงการของบริษัท จะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการก่อสร้างที่กำ
(Total Dissolved Solids: TDS)
(Total Suspended Solids: TSS)
(Suspended Solids: SS)
(Biochemical Oxygen Demand: BOD)
(Oil & Grease: O&G)
(Total Kjeldahl Nitrogen: TKN)
(Fecal Coliform Bacteria: FCB)
2. มลื่ภาวะทัางอากาศ
3. มลื่ภาวะทัางเสียงแลื่ะแรงสนสะเทั่อน
4. มลื่ภาวะจากขัยะทัีเกด้จากการก่อสร�าง

ความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตของผู้ปฏิบัติงาน (Safety and Living Quality of Construction Workers)
โดยบริษัทจะเข้าประสานงานและดำาเนินการให้กับชุมชนเพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน
สารวจสภาพื่แวด้ลื่�อมรอบโครงการ
นธทัีด้ีต่่อบ�านขั�างเคียง
สอบถามผลกระทบ
กาหนด้มาต่รการป้องก่นมลื่ภาวะทัีเกด้จากโครงการ ขึงผ้าใบกันฝุ่น ป้องกันเสียงดัง การกวาดขยะ
การสร้างบ้านพักคนงาน ฯลฯ
ต่รวจสอบสภาพื่แวด้ลื่�อม แลื่ะต่ด้ต่ามความค่บหน�า
ตรวจสอบสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการอย่างสมำ่าเสมอ หากพบปัญหาหรือไดรับข้อร้องเรียนที่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนกับบ้านข้างเคียง
ด้าเนินการแก�ไขัปัญหา
เมื่อมีความเดือดร้อนและความเสียหายที่เกิดขึ้นจากโครงการ จะต้องหาทางดำเนินการแก้ไขให้คลี่คลายโดยทันท
6.2 ปัญหาและแนวทางการแกปัญหา
6.3 สิ่งที่ควรปรับปรุงและผลที่เกิดขึ้นหลังจากการปรับปรุง สรุปประเมินผู้ลื่

GREEN MARKETING MANAGEMENT
STANDARD CHECKLIST OF LPN
2567 มีผู้ลื่การด้าเนินงานต่ามมาต่รฐาน Green Marketing Management Standard Checklists
1. Green Construction Process Standard Checklists
ช่วงการก่อสร้างโครงการจะตรวจติดตามการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน Green Construction Process Standard Checklists
เพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการก่อสร้าง
ผู้ลื่การต่รวจว่ด้ Green Construction Process Standard Checklists
24
24 เวสต์เกต
ทาวน์
โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างทุกโครงการมีการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านอากาศและฝุ่นละออง ด้านเสียงและความสั่นสะเทือน





การล้างล้อรถก่อนออกจากพื



การเช็คอุปกรณ์และเครืองมือให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์และพร้อมใช้งาน

และเศษดินออกสู่ภายนอก จัดพื นทีเก็บเครืองมือและอุปกรณ์แยกเป็นสัดส่วน


สร้างความตระหนักถึงโทษและอันตรายของสารเสพติดแก่คนงานก่อสร้าง



4. กิจกรรม Morning Talk บรรยากาศการตรวจสารเสพติดของโครงการเพลส


บรรยากาศกิจกรรม Morning Talk
Modular System
ปัจจัยด้านกายภาพตั้งแต่ต้นกระบวนการ
บางส่วนนำากลับมาใช้ใหม่ในโครงการถัดไป


SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS









สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตให้กับผู้อยู่อาศัยและชุมชนโดยรอบโครงการที่อาจได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ด้วยกลยุทธ์
FACILITY MANAGEMENT
LIFE QUALITY MANAGEMENT
การระบาดของ COVID-19
ที่เป็นงานสถาปัตยกรรม
BUDGETING MANAGEMENT
ENVIRONMENT MANAGEMENT

Facility Management, Budgeting Management, Life Quality Management, Environment Management, Security Management และ People Management

6,552,124 566,511






9,058,634.58

ระบบการจัดการขยะภายในโครงการ
OUT PROCESS
ความร่บผู้ด้ชอบต่่อสิ
OUT PROCESS
Blood Donation Project
(cc)
(cc) 1.95M
Project 2M
IDEO
LC-BR
LC-RN
LC-RS
LM-BN
Lpark-NS
Lpark-PK
Lpark-RS RM3
LP-RYT
LP-UP
L-RL
L-SK77
LTS-RK1
LUM-T
LV-CP
LV-LB
LV-OP
LV-PNS
LX-TS PST The Metropolis The Politan Rive
Carbon Neutral Event
เป็นการจัดงานอีเว้นท์ที่มีการรับผิดชอบการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้น ด้วยการทา กิจกรรมชดเชยคาร์บอน โดยการจัดหาคาร์บอนเครดิตจากโครงการลดก๊าซเรือนกระจก ในประเทศไทยมาชดเชยก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากกิจกรรมในงานอีเว้นท์ เพื่อท า ให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับศูนย์ (Carbon Neutral) และขอการรับรองจาก
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.)
การจัดกิจกรรมบริจาคโลหิต
พ.ศ. 2567 ซึ่งมีการปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจก
เทียบเท่า (tonCO 2 e) ทั้งนี้
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tonCO2e) จากโครงการ PSTC




27 สิงหาคม 2567
การสนับสนุนกิจกรรมด้านสังคมและสิ งแวดล้อม
บริษัทสนับสนุนกิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมแก่หน่วยงานภายนอก
2567 บริษัทสนับสนุนกิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม

1. สนับสนุนค่าปรับปรุงภูมิทัศน์
3. สนับสนุนกิจกรรมวันเด็กแก่โรงเรียนวัดโพธิ์เรียง
4. สนับสนุนกิจกรรมวันปีใหม่และวันเด็กชุมชน



AS PROCESS
1. LPC SOCIAL ENTERPRISE
2. LPN ACADEMY
AS PROCESS
ความรับผิดชอบต่อสิ งแวดล้อมและสังคมอิงกระบวนการ
SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS





ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอิงกระบวนการ
สิ่งแวดล้อมและสังคมโดยเฉพาะ ซึ่งบริษัทได้ดำาเนินงานภายใต้ชื่อ

LPC SOCIAL ENTERPRISE
ด้วยธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของ
Social Enterprise
(Social Enterprise)
1. มีการศึกษาน้อย (ไม่รู้หนังสือ
2. มีภาระเลี้ยงดูครอบครัวเพียงลำาพัง
3. ถูกนายจ้างเก่าเอารัดเอาเปรียบในการทำางาน
4. ผู้สูงอายุ (เกษียณอายุ)
5. ผู้พิการ (มีบัตรผู้พิการ)

พนักงานบริการชุมชนเก็บทรัพย์สินและช่วยเหลือผู้พักอาศัย
128 ครั้ง (ลดลง 9% เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566) (ข้อมูล สะสมตั้งแต่เดือนมกราคม - ธันวาคม 2567) บริษัทจะมีการชื่นชม
พนักงานที่ทำาความดีเป็นประจำาทุกเดือน ผ่าน Line @ LPC Friend เพื่อเป็นการชื่นชมและสร้างความภาคภูมิใจในการทำาความดีอีกด้วย นอกเหนือจากการทำาความดีในการเก็บทรัพย์สินและช่วยเหลือผู้พักอาศัยแล้วนั้น


(Beyond Expectation)



4.1 ส่งเสริมการศึกษาขัองพื่นกงานบริการชุมชน
2566

4.1
ส่งเสริมการศึกษาขัองบุต่รพื่นกงานบริการชุมชน
จำานวน 600 ทุน (ทุนละ 4,000 บาท) คิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 2,400,000 บาท
มีเกณฑ์การมอบทุนให้กับพนักงานบริการชุมชนที่มีอายุงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป
สำาหรับบุตรพนักงานบริการชุมชนที่มีผลการเรียนดี

94 ทุน แบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


บริษัทได้มีการจัดแคมเปญสร้างแรงจูงใจให้พนักงานบริการชุมชนมีการออมอย่างต่อเนื่องและไม่ถอนเงินออก โดยใช้แนวทางแบบสลาก


5.2 โครงการปลื่ด้หนีนอกระบบสาหร่บพื่น่กงานบริการชุมชน


บรรยากาศการตรวจสุขภาพของพนักงานบริการชุมชน ประจำาปี 2567




8.1 LPC
2567 “LPC Night Party”



8.2 พื่ธีมอบรางว่ลื่ อายุงาน สาหร่บพื่น่กงานบริการชุมชนทัีมีอายุงานครบ 10 ปี, 15 ปี, 20 ป จานวน 72 คน
8.3 โครงการขั�าวหม�อเด้ียวก่น


2)
3)

10. กิจกรรม “LPCSE TEAM SYNERGY 2024” ระดับ หัวหน้าพนักงานบริการชุมชน
รวมถึงสร้างพฤติกรรม ต้นแบบให้พนักงานปฏิบัติได้อย่างภาคภูมิใจ

11. การต้อนรับคณะผู้เยียมชมดูงาน เป็นกิจกรรมต่อยอดการส่งเสริมและพัฒนาค่านิยม LPC 4 ประการ






ภาพตัวอย่างการผลิตนาจุลินทรีย์ตามโครงการต่างๆ

SOCIAL ENTERPRISE
STANDARD CHECKLIST OF LPN
จากการด้าเนินงานขัอง LPC ทัีมุ่งเน�นการช่วยเหลื่่อส่ งคมโด้ยไม่หว่งผู้ลื่กาไร LPC จึงมีการจ่ด้ทัา Social Enterprise Standard Checklists (จานวน 22 ขั�อ)
หมวดที 1
จำานวน 14 ขั�อ
1. การกำาหนดวัตถุประสงค์ทางสังคม (จำานวน 3 ข้อ)
2. รายได้หลัก (จำานวน 1 ข้อ)
3. นโยบายและระบบการจ้างงานที่เป็นธรรม (จำานวน 4 ข้อ)
4. กระบวนการดำาเนินงานที่เป็นมิตรต่อสังคม (จำานวน 3 ข้อ)
5. การจัดการผลกำาไร (จำานวน 3 ข้อ)
หมวดที 2
จำานวน 8 ขั�อ
ความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้เสียของ
คุณภาพชีวิตของพนักงานบริการชุมชน (จำานวน 8 ข้อ)
หวขั�อ (Checklists)
1. การจ้างงานกลุ่มด้อยโอกาส
2. การยกผลกำาไรหลังหักค่าใช้จ่ายให้กับองค์กรที่ไม่แสวงหา ผลกำาไร หรือกิจกรรมเพื่อสังคม
3. ไม่มีการปันผลกำาไรให้กับผู้ถือหุ้น
4. รายได้หลักจะต้องมาจากการ
5. มีการสรรหาพนักงานที่เป็นสตรีด้อยโอกาสจากชุมชน
6. มีการจ่ายค่าแรงสูงกว่ากฎหมาย (ขั้นต่า 388 บ.)
7. มีรายการสวัสดิการสูงกว่ากฎหมายกำาหนด (สวัสดิการตามกฎหมาย 2 รายการ 1.ค่าแรงขั้นต่า
2.ปกส.,กองทุนเงินทดแทน)
8. มีการให้ความสำาคัญกับความสุข มากกว่าผลประกอบการ
9. มีการจัดทำาน้าหมักชีวภาพ
10. มีการจัดการของเสียโดยการคัดแยกขยะในชุมชน
หมวด้ ความร่บผู้ด้ชอบต่่อผู้ลื่กระทับทัีเกด้ขัึนก่บผู้้�มส่วนได้เสีย ขัองวิสาหกิจเพื่่
14. มีการกำาหนดกำาไรอย่างเหมาะสม
15. มีการส่งเสริมการศึกษาให้กับพนักงาน
16. มีการจัดให้มีแหล่งเงินช่วยเหลือ
20. มีการจัดทำาแผนพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Signature Course)
21. มีการส่งเสริมให้เกิดรายได้เสริม

ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายขององค์กรในการนำา Digital Tranformation
มาใช้ โดยมุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self- Learning) ให้พนักงานได้มีช่องทาง
บริษัทยังให้ความสำาคัญกับการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (Competency-Based Development) เพื่อส่งเสริมศักยภาพของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพให้บุคลากรของบริษัทและบริษัทย่อยทั้งหมด
ดังนั้น ในปี 2567 ผลการดำาเนินงานของสถาบันแอล.พี.เอ็น. สามารถจัดอบรมให้แก่พนักงานของบริษัทและบริษัทย่อย
1. การพื่่ฒนาสมรรถีนะขัองบุคลื่ากร (Competency - Based Development)
รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือที่หัวหน้างานใช้ในการวางแผนพัฒนาทีมงานได้อีกด้วย
MANAGERIAL & LEADERSHIP COURSE
CORE COURSE
MANAGERIAL COURSE
FUNCTIONAL COURSE ELECTIVE COURSE
MANAGERIAL & LEADERSHIP COURSE
แผนการอบรมด้านการบริหารและภาวะผู้นำ า (Managerial & Leadership Course)
บริษัทกำ า หนดแผนการพัฒนาและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความรู้
และทักษะ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาความรู้
(Proficiency Level) ที่องค์กรคาดหวัง
โดยแผนการพัฒนาของบริษัทแบ่งหลักสูตรอบรมออกเป็น
2 ประเภท ดังนี้
1. หลักสูตรหลัก (Core Course) มุ่งเน้นการเสริมสร้างทัศนคติ
า งานแบบ LPN
(LPN Way) จรรยาบรรณ (Code of Conduct) LPN SERVICES
2. หลักสูตรด้านบริหารจัดการ (Managerial Course) มุ่งเน้น
เช่น หลักสูตร Growth Mindset in Action
หลักสูตร Innovative way of work หลักสูตร Resilience Mindset
หลักสูตร Design Thinking หลักสูตร Business Thinking
หลักสูตร Effective Coaching & Mentoring หลักสูตร Team Leader Excellence หลักสูตร The 6 CRITICAL PRACTICES FOR LEADING A TEAM เป็นต้น โดยมีแผนการอบรมหลักสูตร
4 ระดับ ดังนี้
- แผนการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง (ระดับ 11 - 13)
- แผนการพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง (ระดับ 8 - 10)
- แผนการพัฒนาหัวหน้างานระดับต้น (ระดับ 5 - 7)
FUNCTIONAL COURSE
- แผนการพัฒนาพนักงานระดับปฏิบัติการ (ระดับ 2 - 4) • แผนอบรมด้านความรู้ในงาน (Functional Course)
แผนการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะตามลักษณะ
ELECTIVE COURSE
(Elective Course)

70 : 20 : 10
70 : 20 : 10 มาปรับใช้ในการวางแผนพัฒนาและฝึกอบรมพนักงาน
(On the Job Training - OJT) และการเรียนรู้ผ่านสังคมรอบข้าง
ON THE JOB TRAINING - OJT
1) การคุยกันยามเชา (Morning Talk)
2) การแบงปนความรูหลังการอบรม (Sharing After Talk) หร�อการแบงปน ความรู ประสบการณ ณ จ�ดปฏิบัติการ โดยผูบร�หาร (Knowledge of Experience Sharing)
3) การสอนงานพนักงานใหมในที่ทำงาน (New Staff OJT)
4) การสอนงานพนักงานในที่ทำงาน
(Job Enrichment)
(Job Enlargement)
(ZOOM, MS Teams)
Self - Learning
2.
COACHING
1) L.8-13 Leader as Coach in Action
2) L.5-7 Manager as Coach in Action
TRAINING 20% 10%
1) หลักสูตรมาตรฐานองคกร
1.1 LPN Way 1.2 RMTC 1.3 SD, CESR, CG และ LPN Green Workshop 1.4 การใหบร�การดวยใจ : SERVICES
2) หลักสูตรดานภาวะผูนำและการบร�หาร 2.1 L.8-13 : Leader as Coach 2.2 L.5-7 : Manager as Coach 2.3 L.2-4 : The Seed Generation 2 3) หลักสูตรดานว�ชาชีพ
3.1 งานขายโอน 3.2 งานบร�หารโครงการ 3.3 งานบร�หารชุมชน 3.4 งานบำรุงรักษา 3.5 งานบร�การชุมชน 3.6 งานธุรกิจนายหนา 4)
4.1 Book Briefing
4.2 Knowledge Sharing
4.3 Learning Delivery
4.4 E-Learning
4.5 Morning Talk
4.6 Mind Map
4.7 Learning from Movie 5)
6) Business Simulation Mobile Technology
โดยส่งเสริมให้พนักงานพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องด้วยการเรียน
2.
3.
(ระดับ 11 - 15)
(ระดับ 8 - 10)
5 - 7) 4.
(ระดับ 1 - 4)
3. การส่งเสริมการพื่่ฒนาวิทัยากรภายในองค์กร
ในปี 2567 สถาบันแอล.พี.เอ็น.
ให้พนักงานได้หมุนเวียนมาสลับกัน
Signature ในแต่ละแขนงงาน อาทิ หลักสูตรการเตรียมความพร้อมสำาหรับพนักงานใหม่ (New Staff) หลักสูตร
ความรู้เบื้องต้นในงานบริหารชุมชนและงานบำารุงรักษา (CM/P&M New Staff) หลักสูตรมาตรฐานการ
บริการ SERVICES Excellence หลักสูตรด้าน Digital Literacy
(CMTC) หลักสูตรกฎหมายอาคารชุมชนในงานบริหารชุมชน หลักสูตรการปฏิบัติงานตามข้อกำาหนด
ISO หลักสูตรความรู้ด้านกฎหมายในงานบริหารชุมชน หลักสูตรพัฒนาพี่เลี้ยง (Effective Mentoring & Coaching) และหลักสูตรพัฒนาตามสายงาน เป็นต้น
4. การส่งเสริมการเรียนร้� Self-Learning ผู้่านระบบออนไลื่น์ (E-Learning)
ในปี 2567 สถาบันแอล.พี.เอ็น. กับสำานักสารสนเทศ ได้ดำาเนินการพัฒนาเว็บไซต์ LPN Academy สำาหรับพนักงานกลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
LPP Academy
ทบทวนความรู้การลงทะเบียนฝึกอบรม รวมถึงเป็นเครื่องมือในการประเมินความรู้ความเข้าใจภายหลังการอบรม นอกจากนั้นบริษัทได้พัฒนาระบบ ออนไลน์ให้สอดรับการบันทึกความรู้และประโยชน์ที่ได้จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) โดยปรับปรุงเครื่องมือส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านเครื่อง มือ Viva Engage อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้พนักงานได้ใช้เป็นช่องทางในการพัฒนาตนเองอีกช่องทางหนึ่งด้วย ตลอดจนมีหลักสูตรด้าน Digital Literacy ให้พนักงานเข้าเรียนรู้ผ่านช่องทางออนไลน์ที่ง่าย และพนักงานสามารถเข้าเรียนรู้ผ่านบนอุปกรณ์ Smartphone
เพื่อเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้และช่วยสนับสนุนให้พนักงานเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้สะดวกขึ้นอีกด้วย
10. วิทยาลัยเทคนิคราษีไศล
1,623,382
สถาบันแอล.พี.พี. (LPP Academy) มุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self Learning) ให้กับพนักงาน
CMTC รุ่น 22 Workshop
Team Download
Design Thinking
Business Thinking
Project Management
Mindset in Action
Innovative way of work
Resilience work at Activities
P&MTC รุ่น 2
Service Excellence
Train the Trainer
Hipo for New Business (Present Project)
Micro BA (Sharing)
Upskill (Present Project)
Executive Coaching (The 6 Critical Practice For Leading Team)
Team Leader Excellence
I-PROP FOR NEW STAFF
Knowledge Sharing
Knowledge Sharing
Law Of Community Management Test
Workshop
I-prop for New Staff
Knowledge Sharing
Knowledge Sharing
การดับเพลิงขั้นต้น
Sharing การบริหาร Non Lumpini
การเตรียมความพร้อมสำาหรับงานติดตั้ง Solar Rooftop
BBD TEAM ACHIEVE ภารกิจพิชิตเป้าหมาย
การทวนสอบเครื่องมือวัดประจำาปี 2567
ความรู้เรื่อง ระบบ Fire Alarm, CCTV และ Access Controls
ปฐมนิเทศพนักงานใหม่
ทบทวนหลักสูตรรักษาความปลอดภัยตาม พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558
ทบทวน หลักสูตรรักษาความปลอดภัย (เตรียมต่อใบอนุญาต)
ทักษะหัวหน้างาน
การดับเพลิงขั้นสูง
ปฐมนิเทศพนักงานบริการความสะอาด
ปฐมนิเทศพนักงานรักษาความสะอาดใหม่
ประเด็นปัญหาของภาษีเงินได้นิติบุคคลและ
Micro MBA
การปรับเงินเดือน
HR Forum
Knowing Deeper in Housing Market
e-learning CFO’s Refresher
การจัดทำาแบบตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
การเลิกจ้าง การลาออก และการทำาเอกสารเกี่ยวกับการเลิกจ้าง
การประหยัดพลังงานในระบบทำาน้าเย็น การออกแบบติดตั้งบำารุงรักษาและตรวจสอบหม้อแปลงไฟฟ้า
ลดประเด็นข้อผิดพลาดทางการบัญชีและภาษีอากร
การบริหารจัดการอาคาร




การพัฒนาด้านนวัตกรรมเพื อความยังยืน
ความเข้มแข็งและสมดุลในการดำาเนินธุรกิจ (Rebalance)
เครือข่ายสมาชิกเจ้าของร่วมรวมถึงผู้พักอาศัยภายใต้โครงการชวนเพื่อนมาเป็นเพื่อนบ้าน “Members Get Neighbors”
รายได้และระบายสินค้าพร้อมขาย (Rebalance Portfolio)



สิ่งแวดล้อมและสังคมแบบหุ้นส่วนและแบ่งปันจุดแข็งในการดำาเนินงานระหว่างกัน (Mutual Benefit) เช่น การขยายความร่วม มือกับบริษัทขนส่งและจัดการขยะแบบครบวงจรเพื่อบริหารจัดการขยะที่ผ่านการคัดแยกจากชุมชนแล้วไปสู่แหล่งใช้ประโยชน์ เพื่อส่งเสริมการใช้ขยะหมุนเวียนและลดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมในโครงการและสังคมไปพร้อมกัน รวมถึงการขยาย ความร่วมมือกับเครือข่ายธุรกิจในลักษณะการร่วมดำ
2. นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์์และบริการ บริษัทส่งเสริมและบูรณาการนวัตกรรมในการเพิ่มคุณค่าให้ผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดีและความน่าอยู่
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมตามแนวทางการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน เช่น
(Green Design Concept Standards)
(Passive Design)
แนวทางและวิธีในการบริหารจัดการขยะและเศษวัสดุในช่วงการก่อสร้างและช่วงการพักอาศัย - การพัฒนารูปแบบห้องชุดและบ้านพักอาศัยที่ส่งเสริมสุขภาวะของผู้อยู่อาศัย (Wellbeing) ทั้งในพื้นที่ห้องชุดและ
- การนำาเทคโนโลยีเพื่อการอยู่อาศัยมาใช้พร้อมแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development)
(Customer Experience)


(Dashboard)
เกียวกับแอล.พี.เอ็น
ชือบริษัท
: บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำากัด (มหาชน)
ลักษณะกิจการ : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ชือย่อหลักทรัพย์ : LPN
วันทีจดทะเบียน : วันที 21 มิถุนายน พ.ศ. 2532
ทุนจดทะเบียน : 1,454,198,768 บาท
เลขทะเบียนบริษัท : 0107537002303
พื นทีการดำาเนินธุรกิจ : ประเทศไทย
ทีตังสำานักงานใหญ่ : 1168/109 ชัน 36 อาคารลุมพินี
บรษ่ทั แอลื่
พื่ี.เอ็น.ด้ีเวลื่ลื่อปเมนทั จาก่ด้ (มหาชน) (LPN)
พื่่ ฒนาอส่งหาริมทัร่พื่ย์ในร้ปแบบอาคารชด้พื่่ กอาศ่ ย
บรษ่ทั พื่รส่นต่ จาก่ด้ (PST) พื่่ ฒนาอส่งหาริมทัร่พื่ย์ในร้ปแบบอนๆ
นอกเหน่อจากอาคารชด้พื่่ กอาศ่ ย
บรษ่ทั แอลื่ พื่ พื่ พื่รอพื่เพื่อรต่ี มาเนจเมนทั จาก่ด้ (LPP)
ให�บริการบริหารจ่ด้การชุมชนแบบครบวงจร
บรษ่ทั แอลื่ พื่ เอส โปรเจค มาเนจเมนทั จาก่ด้ (LPS)
ให�บริการด้านการพื่่
ฒนาอส่งหาริมทัร่พื่ย์ครบวงจร
บรษ่ทั ร่กษาความปลื่อด้ภ่ย แอลื่เอสเอส โซ่ลื่้ชนส จาก่ด้ (LSS)
ให�บริการร่กษาความปลื่อด้ภ่ยครบวงจร
บรษ่ทั แอลื่ พื่ ซ่ วิสาหกิจเพื่่ อส่งคม จาก่ด้ (LPC)
ให�บริการงานบริการด้านต่่างๆ ในชุมชน
บรษ่ทั แอลื่ ด้่บเบลื่ย้ เอส วิสด้อม แอนด้ โซ่ลื่้ชนส จาก่ด้ (LWS)
ให�บริการวจ่ยแลื่ะพื่่ ฒนาผู้ลื่ต่ภ่ณฑ์์แลื่ะบริการต่่างๆ
บริษัทและบริษัทย่อยดำ
(Differentiation Strategy)
1.1 โครงการอาคารชุด้พื่่กอาศยในเมอง


01 02 03

แบรนด์ระดับพรีเมียมที่ได้รับการพัฒนาขึ้น
เนื่องในโอกาสพิเศษการดำ า เนินธุรกิจครบ
รอบ 24 ปีของบริษัท ตั้งอยู่บนทำ า เลที่มี
ศักยภาพสูงสุดในซอยสุขุมวิท 24 แวดล้อมด้วย
สิ่งอำานวยความสะดวก “เดอะ ลุมพินี” เหมาะสม กับการใช้ชีวิตที่หรูหรา มีระดับ สะท้อน
ความสำาเร็จของชีวิตที่เหนือกว่า เดอะ ลุมพินี
- บน ที่มีการพัฒนาคุณค่า ผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต (Lifestyle) ของกลุ่มเป้าหมายที่มีเอกลักษณ์ในแต่ละ โครงการ โดยเริ่มพัฒนาแบรนด์นี้เป็นแห่งแรก ในทำ า เลตรงข้ามมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ออกแบบพื้นที่ส่วนกลางให้สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของนักศึกษา (Campus Condo) เช่น


04 05 06

แบรนด์ระดับกลาง - บน ที่พัฒนาขึ้นสำาหรับ
กลุ่มเป้าหมายคนวัยทำางาน ทำาเลในการพัฒนา
โครงการดังกล่าวจึงอยู่ในเขตที่มีความหนา
แน่นสูง ติดถนนใหญ่ อาจอยู่ในเขตใจกลาง
หรือรอบศูนย์กลางธุรกิจ (CBD) สะดวกใน
การเดินทางด้วยทำ า เลที่ใกล้ระบบคมนาคม
ขนาดใหญ่ที่ทันสมัย ครบครันด้วยเทคโนโลยี
และสิ่งอำ า นวยความสะดวกที่สมบูรณ์พร้อม ต่อการใช้ชีวิตประจำาวัน โดยแบรนด์ “ลุมพินี เพลส” ถือเป็นโครงการต้นแบบของซิตี้


08
ลุมพินี คอนโดทาวน์
อาศัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับกลุ่มคนวัย เริ่มต้นการทำ า งาน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ
โดยทำ า เลที่ตั้งโครงการจะอยู่ในเขตรอยต่อ ระหว่างใจกลางเมืองกับเขตรอบนอกที่มี ความหนาแน่นสูง ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย ขนาดใหญ่ที่มีความต้องการที่พักอาศัยสูง เพื่อให้เป็นบ้านหลังแรกที่มีคุณภาพ และเป็น จุดเริ่มต้นของครอบครัวที่อบอุ่นสำ า หรับผู้ที่ อยู่ในวัยเริ่มต้นของชีวิตครอบครัว
1.2 โครงการอาคารชุด้พื่่กอาศยต่ากอากาศ
นอกจากการอยู่อาศัยในเขตเมืองซึ่งใกล้แหล่งงานและสิ่งอำานวยความสะดวกที่จำาเป็นต่อการใช้ชีวิตแล้ว บริษัทยังได้ริเริ่มการพัฒนาบ้านหลังที่
ที่เป็นคอนโดตากอากาศ โดยเริ่มขยายการพัฒนาไปที่เขตการปกครองพิเศษพัทยาเป็นที่แรก


ออกแบบให้ห้องชุดทุกห้องสามารถมองเห็นวิวทะเลได้ ในระดับ
ราคาที่จับต้องได้ ด้วยความสำ า เร็จจากการตอบรับที่ดีของลูกค้า
ได้ขยายการพัฒนาโครงการให้ครอบคลุมกับลูกค้าที่ต้องการบ้านพักอาศัยในระดับพรีเมียม



แบรนด์บ้านพักอาศัยระดับพรีเมียม ซึ่งถือ เป็นอีกหนึ่งเรือธงสำาคัญในการพัฒนาโครงการ
ประเภทบ้านเดี่ยวและทาวน์โฮมของบริษัท เน้นความพิถีพิถันตั้งแต่การเลือกที่ดิน โดยโครงการแรกที่พัฒนาอยู่บนถนนพระราม 3
เนื่องจากเป็นทำ า เลที่อยู่ในเมือง แต่มีความ
เป็นส่วนตัว ตอบโจทย์ความต้องการบ้าน
ในเมือง สำ า หรับลูกค้าที่มีกำ
และมีแนวโน้มขยายครอบครัวเพื่อรองรับ การอยู่อาศัยที่รวมคน

การอยู่อาศัยในเมืองด้วยวิถีใหม่อย่างลงตัว ด้วยการออกแบบพื้นที่ส่วนกลางและส่วนตัว ของบ้านได้อย่างเหมาะสมกับการอยู่อาศัย อย่างพอดี คัดสรรวัสดุมีคุณภาพ
CONDOMINIUM



ระบบขนส่งคมนาคมขนาดใหญ่ เน้นการ
ออกแบบการอยู่อาศัยให้สนับสนุนการใช้ชีวิต ของคนเมืองรุ่นใหม่ พร้อมผลักดันชีวิตไป
ข้างหน้า ด้วยการออกแบบฟังก์ชันใหม่ๆ แห่งการอยู่อาศัย โดยใช้เทคโนโลยีให้ชีวิต ง่ายขึ้น พร้อมพื้นที่ที่ตอบสนองการพักผ่อนและ
HOUSING


01 04 02 05 03

อีกระดับของนิยามใหม่ของบ้านพักอาศัย
Residence 168 ที่ใส่ใจ
เพื่อให้ที่นี่สมบูรณ์แบบที่สุดสำาหรับคุณ


24
แบรนด์บ้านเดี่ยวระดับกลาง กับบ้าน
เจนเนเรชั่นใหม่ของวิถีทันสมัย พัฒนาขึ้น สำาหรับครอบครัวเดี่ยวขนาดเล็ก ให้เป็นบ้าน ที่มีความเป็นส่วนตัว ตอบไลฟ์สไตล์ที่เน้น ความสะดวกในการอยู่อาศัยและการทำ า งาน
สามารถปรับเปลี่ยนการใช้งานได้อย่างอิสระ ตอบสนองทุกไลฟ์สไตล์ครอบครัวยุคใหม่

ยังดูแลถึงประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและคุ้มค่า
การจัดฐานข้อมูลและการตรวจสอบ
2. บริษ่ทั แอลื่ พื่
รับผิดชอบงานบริการบริหารโครงการก่อสร้างให้แก่บริษัทและบริษัท ในเครือ โดยได้รับการสนับสนุนจาก LPN Team กว่า 20 บริษัท นอกจากนี้ ในปี 2560 บริษัทยังได้ขยายฐานธุรกิจ
บริการแก่โครงการภายนอกอีกด้วย โดยมุ่งเน้นการบริหารโครงการ
เพื่อการส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้า ได้แก่
การควบคุมและบริหารต้นทุน ความรวดเร็วในการส่งมอบ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
3. บรษ่ทั ร่กษาความปลื่อด้ภ่ย
รับผิดชอบด้านงานรักษาความปลอดภัย
4. บรษ่ทั แอลื่ พื่ ซ่ วิสาหกิจเพื่่
ความสะอาดและการบริการอย่างครบวงจร
จากกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

และบริษัทในเครือ
GREEN
Sustainable Development และ BIM (Building Information Modeling) แก่บริษัทและองค์กรภายนอกทั้งในและต่างประเทศ

การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสียในห่วงโซ่คุณค่าธุรกิจ
บริษัทสามารถระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินงานในกระบวนการต่างๆ
ความสำาคัญ โดยได้นำาแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) และกรอบหลักเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard มาประกอบการพิจารณา และได้ระบุแนวปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม
• เคารพต่อสิทธิ์ขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้นตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท
• ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน
SHAREHOLDERS
• พิจารณาค่าตอบแทนของพนักงานโดยภาพรวมด้วยการประเมินผลการปฏิบัติงานตามดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพหลัก (KPIs) และอัตราค่าตอบแทนจะต้องสอดคล้องกับอัตราค่าตอบแทนในตลาดแรงงาน โดยคำานึงถึงความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และผลการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลเป็นสำาคัญ รวมถึงความเท่าเทียมและเป็นธรรมภายในบริษัท และ
(GDP) เป็นเกณฑ์พิจารณาร่วม
• จัดให้มีสวัสดิการต่างๆ เช่น
(Fitness) เป็นต้น • สนับสนุนความสมดุลของการทำางานและชีวิตส่วนตัวของพนักงาน (Work-Life Balance) การตรวจสอบความปลอดภัย
• ให้ความสำาคัญและรับผิดชอบต่อลูกค้าทุกรายอย่างสม่าเสมอ สร้างความพึงพอใจและความมั่นใจอย่างต่อเนื่องให้กับลูกค้า พัฒนาผลิตภัณฑ์
รับผิดชอบต่อคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ตามที่ได้โฆษณาหรือสัญญาไว้ พัฒนาและปรับปรุงการให้ บริการแก่ลูกค้า
• จัดให้มีหน่วยงานที่ทำาหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนของลูกค้า
ฝ่ายบริหารประสบการณ์ลูกค้า (Call Center) โทร (02) 689-6888
SHAREHOLDERS
• สร้างการเติบโตและผลกำาไรอย่างเหมาะสม
• รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
• สร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
• ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล
• บริหารจัดการความเสี่ยง
• ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน
• เคารพในสิทธิ์ของผู้ถือหุ้น
• ดำาเนินนโยบาย 6 GREEN LPN เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
• สร้างสมดุลระหว่างการทำางานและชีวิต
• การเรียนรู้และเติบโตในหน้าที่การงาน
• องค์กรน่าอยู่และความสุขในการทำางาน
• สมรรถนะหลักไปสู่ค่านิยมองค์กร
• ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม
• ความเท่าเทียมและสิทธิ์ขั้นพื้นฐาน
• รายงานประจำาปีและรายงานการพัฒนา
• การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น
• จดหมายข่าวผู้ถือหุ้น
• เยี่ยมชมโครงการ
• การพบปะนักวิเคราะห์
• การพบปะนักลงทุนและผู้จัดการกองทุน
• การรายงานความคืบหน้าโครงการ
• การประเมินความสุขในการทำางาน
• สถาบันแอล.พี.เอ็น.
• กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม
• ทีมงานพนักงานสัมพันธ์
• การประเมินผลการปฏิบัติงาน
• เว็บไซต์และอีเมลภายใน
• การแบ่งปันความรู้จากผู้บริหาร
• คณะกรรมการสวัสดิการ
• WhatsApp / Line OA
• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ มีราคาที่เหมาะสมและเป็นธรรม
• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการและความน่าเชื่อถือของแบรนด์
• สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน
• เคารพในสิทธิ์ของผู้บริโภค
• สร้างความเป็นหนึ่งเดียว
• กำาหนดแผนธุรกิจร่วมกัน
• แบ่งปันองค์ความรู้
• สมดุลของผลตอบแทน
• ให้การสนับสนุนในการพัฒนาองค์กร
• ส่งต่อจิตสำานึกในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อการพัฒนาและเติบโตไปพร้อมกัน
• Call Center
• กิจกรรมต่างๆ
• การสำารวจความพึงพอใจ
• Touch Point
• การบริหารประสบการณ์ลูกค้า
• การวิจัยทางการตลาด
• www.lpn.co.th
• Line OA
• การประชุม LPN Team ระดับผู้บริหาร • การประชุม LPN Team ระดับปฏิบัติการ
• การอบรมและแบ่งปันความรู้
• กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์
• ร่วมมีส่วนในการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้อยู่อาศัยผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
RESIDENTS
NEIGHBORS
ENVIRONMENT
• การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมในโครงการต่างๆ
• การจัดการน้าทิ้งและการจัดการขยะภายในชุมชนลุมพินี
• กำาหนดเป็นนโยบายและแนวทางที่ชัดเจนในการสร้างจิตสำานึกของพนักงานภายในบริษัท และถ่ายทอดแนวคิดใน การรับผิดชอบสิ่งแวดล้อมและสังคมให้กับบริษัทคู่ค้า รวมถึงชุมชนที่บริษัทได้เข้าไปบริหารจัดการหลังส่งมอบแล้ว • จัดตั้งคณะอนุกรรมการกำากับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อติดตาม ควบคุม ดูแล การดำาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบาย และกำาหนดกฎบัตรที่ชัดเจน โดยมีเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกระบวนการดำาเนินงานที่สำาคัญ
Triple Bottom Line (3P)
3-6-8-10 อันได้แก่ 6 GREEN LPN / 8 Stakeholders / 10 Processes และให้ความสำาคัญต่อ (CESR In Process) โดย 6 GREEN LPN
1. Green Enterprise
2. Green Design Concept
3. Green Financial Management
4. Green Marketing Management
5. Green Construction Process
6. Green Community Management
• จัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CESR Out Process) และได้ดำาเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
6 ประการ
• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ
• สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน
• เคารพในสิทธิ์ของผู้บริโภค
• สร้างวัฒนธรรมการอยู่อาศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”
• สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรม CESR
• ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เยาวชนที่อยู่อาศัยในโครงการ
• เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมกำาหนดแนวทางการบริหารจัดการ
• การประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม
• Mobile Application
• Call Center
• กิจกรรมต่างๆ
• การสำารวจความพึงพอใจ
• เสวนาประธานกรรมการนิติบุคคล
• Touch Point
• การบริหารประสบการณ์ลูกค้า
• การวิจัยทางการตลาด
• www.lpn.co.th
• Line OA
• ความปลอดภัยในการทำางาน
• ดูแลคุณภาพชีวิต
• สิทธิ์และค่าตอบแทนขั้นพื้นฐาน
• การปฏิบัติอย่างเท่าเทียม
• การป้องกันเสียง ฝุ่น และผลกระทบจากการก่อสร้าง
• การรับฟังข้อเสนอแนะและแนวทางการทำางาน
• การปฏิบัติตามรายงานวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
• การออกแบบที่คำานึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่
• การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง
• การร่วมรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชนที่บริหารจัดการ
• ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน
• การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
• การออกแบบโครงการเพื่อความยั่งยืน
• สร้างจิตสำานึก CESR แก่ชุมชนที่บริหารจัดการ
• สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดีแก่สตรีด้อยโอกาส
• แบ่งปันองค์ความรู้องค์กรสู่ภายนอกผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น.
• ประชาพิจารณ์ •
• เพิ่มพื้นที่สีเขียว
• ปรับปรุงพื้นที่
• การออกแบบที่คำานึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่
• กล่องรับเรื่องร้องเรียน • QCSES+P
• 6 GREEN LPN
• LPN Green Signature Project
• QCSES+P
เกียวกับรายงานฉบับนี
Global Reporting Initiative Standard (GRI Standard) ในแบบหลัก (Core) พร้อมทั้งได้นำาเสนอความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการดำาเนินงานขององค์กรกับเป้าหมายโลก ด้านการพัฒนา
ปี ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) (Sustainable Development Goals 2030 : SDG2030) บริษัทกำาหนดเนื้อหาและกรอบการรายงานโดยได้คำานึงถึงสาระสำาคัญและประโยชน์ของเนื้อหาเป็นหลัก โดยได้ประเมินประเด็นที่เป็นสาระสำาคัญต่อ ความยั่งยืน (Material Sustainability Aspect Assessment) ประกอบกับการพิจารณาบริบทด้านความยั่งยืน (Sustainability Context) ความครอบคลุมผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Inclusiveness)
(Completeness)
กระบวนการระบุประเด้็นทัีสาค่ญแลื่ะกรอบการรายงาน (Defining Material Aspects and Boundary Process)










(Identifying Sustainability Topics)

(Prioritizing Material Aspects)

(Influence on Stakeholder Assessments and Decisions)
(Significance of Economic, Environmental, and Social Impacts)
(Materiality)
(Validating Material Aspects)

(Reviewing)

ประเด้็นทัีเป็นผู้ลื่กระทับทัีสาค่ญต่่อเศรษฐกิจ สิงแวด้ลื่�อม แลื่ะส่งคม
การรับข้อร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียที่สำาคัญ
การจ้างงาน การฝึกอบรมแรงงานและความปลอดภัย
ในการทำางาน
ความปลอดภัยของลูกค้า
การดำาเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนภายในห่วงโซ่อุปทาน
การสื่อสารการตลาดและให้ข้อมูลลูกค้า
ผลการดำาเนินงานทางเศรษฐกิจ
การต่อต้านการทุจริต
การดูแลชุมชนท้องถิ่น
ความหลากหลายและโอกาสแห่งความเท่าเทียม
• เว็บไซต์ http://www.lpn.co.th หัวข้อ “นักลงทุนสัมพันธ์” หัวข้อย่อย “การกำากับดูแลกิจการที่ดี” เรื่อง “รายงานการ พัฒนาอย่างยั่งยืน” นางสาวมนพัทธ์ ศุภกิจจานุสันติ์
สายงานบริหารแบรนด์ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำากัด (มหาชน) เลขที่ 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์
4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กทม. 10120
: 02-285-5011-6
: bnd@lpn.co.th
: 02-285-5017



2.3 เนือหาครอบคลุมการดําเนินงานทีสําคัญตามความคาดหวังของท่าน
2.4 เนือหามีความชัดเจน
2.5 เนือหาอ่านเข้าใจง่าย
2.6 เนือหาเป�นประโยชน์
2.7 รูปเล่มสวยงาม
2.8 ความพึงพอใจต่อการรายงานในภาพรวม

3.1
รายงานฉบับนีได้กล่าวถึงเรืองทีอยู่ในความสนใจของท่านหรือไม่
