แผนพัฒนาหลักสูตร git 5 ปี

Page 1

แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑

หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ๑. ความเป็ นมาของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หลัก สู ต รเทคโนโลยีส ารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ คณะเทคโนโลยีส ารสนเทศ โดยสภา วิช าการ อนุ มตั ิ /เห็ นชอบหลัก สู ตรนี้ ใ นการประชุ ม ครั้ งที่ ๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ เดื อน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๒ และสภามหาวิทยาลัย อนุ มตั ิ / เห็นชอบหลักสู ตรในการประชุ ม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ และได้ผา่ นการอนุ มตั ิหลักสู ตร จากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และได้เปิ ด สอนในภาคการศึกษาที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ ด้วยเหตุผลและความจาเป็ นดังต่อไปนี้ ๑.๑ ความจาเป็ นในด้ านภารกิจของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ มหาสารคาม เป็ นหลักสู ตรด้า นการพัฒนาทางคอมพิ วเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศ ภูมิศาสตร์ เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและประเทศชาติ กล่าวคือ หลักสู ตรฯเป็ นไป ตามภารกิ จในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ คือ การเสริ มสร้างพลังปั ญญา ของแผ่นดิ น ฟื้ นฟูพลังการเรี ยนรู ้ เชิ ดชู ปัญญาของท้องถิ่ น สร้ างสรรค์ศิลปวิทยา เพื่อความ เจริ ญก้าวหน้าอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนของปวงชน มีส่วนร่ วมในการจัดการ การบารุ งรั กษาและใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างสมดุ ลและยัง่ ยืน โดยให้การศึกษา ส่ งเสริ ม วิชาการและวิชาชี พขั้นสู ง ด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั การให้บริ การวิชาการแก่สังคม พร้อม ทั้งปรับปรุ ง ถ่ายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี การทานุ บารุ งศิลปวัฒนธรรม ทั้งผูท้ ี่อยู่ในสาย ครู และนอกสายครู จากภารกิ จดังกล่ า ว จะเห็ นได้ว่าหลัก สู ตรเทคโนโลยีส ารสนเทศภูมิ ศาสตร์ คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มุ่งเน้นการพัฒนาท้องถิ่นและประเทศชาติมีความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืน ในทุ กด้าน ทั้งการนาเทคโนโลยีที่ ทนั สมัยมาบู รณาการร่ วมกับภู มิ ปั ญญาท้องถิ่ นเพื่ อให้เกิ ด ประโยชน์ต่อการพัฒนาด้านต่างๆ และ/หรื อเป็ นการยกระดับการปฏิ บตั ิงานให้มีประสิ ทธิ ภาพ มากยิ่งขึ้ น ตลอดจนการเป็ นศูนย์กลางในการผลิ ต เผยแพร่ ความรู ้ และทักษะ การบริ การด้าน วิชาการแก่ ท ้องถิ่ นโดยเฉพาะอย่า งยิ่ง องค์ก รปกครองส่ วนท้องถิ่ น หน่ วยงานราชการ และ ภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้อง


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒

๑.๒ ความจาเป็ นในการเร่ งรัดผลิตบัณฑิตด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็ นหลักสู ตรประยุกต์วิทยาการจากหลาย ด้านมาบูรณาการร่ วมกัน เพื่อการวางแผน และการจัดการองค์ความรู ้ เกี่ ยวกับปั ญหาวิกฤติ การ แก้ปัญหา การป้ องกัน มาตรการปกป้ องสังคม สิ่ งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ งส่ งผลกระทบ ต่อท้องถิ่ นและสังคม โดยเฉพาะบู รณาการร่ วมกับวิทยาการทางด้านวิศวกรรมการสื่ อสารและ โทรคมนาคม วิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร์ วิ ท ยาการด้านเทคโนโลยี ด าวเที ย ม และวิ ท ยาการ คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ ทั้งที่เป็ นซอฟต์แวร์ และฮาร์ ดแวร์ นามาบูรณาการให้เกิดประโยชน์ สู งสุ ด เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพให้กบั องค์กร หน่วยงานราชการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครอง ส่ วนท้องถิ่ น และด้านการเรี ยนการสอน ดังจะเห็ นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีความ จาเป็ นต่อการพัฒนาท้องถิ่นและประเทศชาติ โดยเน้นการพัฒนาคนให้มีความรู้ ความสามารถใน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคล้องกับความจาเป็ น และตรง ตามต้องการของท้องถิ่น อันเป็ นไปตามแผนพัฒนาของคณะฯ และมหาวิทยาลัย ดัง นั้น หลัก สู ต รเทคโนโลยีส ารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ เป็ นการบู ร ณาการร่ ว ม ระหว่างสาขาคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ กับสาขาภูมิศาสตร์ ในด้านการจัดการเรี ยนการสอน การค้นคว้าและวิจยั ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อเป็ นศูนย์กลางการบริ การวิชาการ เพื่ อ สนับ สนุ น ภาครั ฐ และเอกชนให้ ส ามารถพัฒ นาบุ ค ลากร และพัฒ นาระบบงานด้า น เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตลอดจนประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การสื่ อสารและสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ที่กา้ วหน้า ได้แก่ ระบบจีพีเอส ภาพดาวเทียมระบบต่างๆ การเชื่ อมต่อเครื อข่ายไร้ สาย ระบบการสื่ อสารแบบพกพา เป็ นต้น เพื่อการจัดการ บริ หารองค์กรหรื อหน่วยงานได้อย่าง มีประสิ ทธิภาพและมีประสิ ทธิผล ๑.๓ ความจาเป็ นในการเป็ นศู นย์ กลางการบริ การเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ จากการที่ ม หาวิท ยาลัย เป็ นหน่ ว ยงานที่ ก าลัง ก้า วหน้า ไปสู่ ก ารปรั บ เปลี่ ย น โครงสร้างการจัดการและการพัฒนาการเรี ยนการสอนให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ต่างจาก สมัยก่อนซึ่ งเน้นการผลิตครู และการอบรมให้ใบประกอบวิชาชี พครู มาเป็ นเวลานาน กระทั้งใน ปั จจุบนั ทางมหาวิทยาลัย ได้ต้ งั คณะเทคโนโลยีสารสนเทศขึ้ น โดยได้รับการจัดตั้งจากสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๑โดยเฉพาะอย่างยิง่ การปรับตัว ไปสู่ สาขาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ซึ่ งเป็ นสาขาวิชาที่มีจาเป็ นต่อการพัฒนาประเทศ และตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓

และฉบับ ที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๕ -๒๕๕๙ ได้ก ล่ า วถึ ง การเผชิ ญ หน้าและความท้าทายด้านการ เปลี่ยนแปลงและแรงบีบเค้นจากวิกฤติสิ่งแวดล้อมและความร่ อยหรอของทรัพยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ความขาดแคลนอาหารและพื้นที่การเกษตร รวมไปถึ ง วิกฤติดา้ นสังคม เศรษฐกิ จ การเมือง ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่มีความ ใกล้ชิ ดกับ ตัวบุ คคลมากยิ่งขึ้ น ดังนั้นบุ คลากรที่ สาเร็ จการศึ กษาต้องสามารถนาเทคโนโลยี สารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ ม าประยุก ต์ใ ช้ ใ นด้า นต่ า งๆได้อ ย่า งสอดคล้อ งกับ สภาพแวดล้อ มที่ เปลี่ ยนแปลงไป รวมถึ งการให้บริ การวิชาการซึ่ งเป็ นภารกิ จที่ สาคัญทั้งหลักสู ตรและคณะที่ จะต้องดาเนิ นการให้มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล สอดคล้องกับความต้องการของชุ มชน และท้องถิ่ น จากการสารวจข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น บุคลากรในชุ มชนและท้องถิ่ น ยังมีความ ต้อ งการและมุ่ ง หวัง ให้ท างมหาวิท ยาลัย เป็ นแหล่ ง บริ ก ารวิ ช าการแก่ ท ้อ งถิ่ น โดยการน า คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาพัฒนาด้านการบริ หารการจัดการพื้นที่ ติดตามการเปลี่ ยนแปลงพื้นที่ ทางการเกษตร และการจัดการเรี ยนการสอน การอบรมให้แก่ บุคลากรในท้องถิ่น นอกจากนี้ แล้วทางหลักสู ตร ภายใต้การบริ หารของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ยัง แสวงหาความร่ วมมือกับหน่ วยงานภายนอกโดยการสร้างเครื อข่ายระหว่างหน่ วยงานทั้งภาครั ฐ และเอกชน เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้แก่ชุมชนและท้องถิ่น ให้เข้าถึงข้อมูลองค์ความรู ้ต่าง ๆ ทา ให้ก ารพัฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาด าเนิ น ไปอย่า งเป็ นระบบมากยิ่ ง ขึ้ น อี ก ทั้ง ยัง สามารถใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อการจัดการในด้านอื่นๆ ตลอดจนมีเจต คติ ที่ดีต่อการนาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้ในการเสริ มสร้ างความเข้มแข็งของ ชุมชนและท้องถิ่นได้อย่างเต็มศักยภาพ ๑.๔ ความจาเป็ นตามความต้ องการตามกรอบนโยบายการพัฒนากิจการอวกาศ แห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๙ ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ในปั จจุ บ นั เทคโนโลยีอ วกาศได้เข้า มามี บ ทบาทส าคัญต่ อ ชี วิตประจาวันและการ พัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ อาทิ ด้า นการสื่ อ สารโทรคมนาคม ด้า นการเฝ้ า ระวัง การพยากรณ์อากาศ ด้านการเกษตรและการสารวจพื้นพิภพ ด้านความมัน่ คง รวมทั้งการ วิจยั พัฒนา การประยุกต์ใช้งานด้า นต่างๆ เป็ นต้น กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสาร ในฐานะที่เป็ นหน่วยงานรับผิดชอบหลักได้เห็นความสาคัญในการพัฒนากิจการอวกาศ ของประเทศไทย จึงได้จดั ทากรอบนโยบายการพัฒนากิ จการอวกาศ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๙ ขึ้น เพื่อใช้เป็ นแนวนโยบายการนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางด้านการสื่ อสารและประสาน


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๔

ความร่ วมมือด้านกิ จการอวกาศในระดับภูมิภาค โดยจะนาเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา ให้ค วามเห็ นชอบในล าดับ ต่ อ ไป และได้ก าหนดยุท ธศาสตร์ ใ นแผนแม่ บ ทเทคโนโลยีภู มิ สารสนเทศ พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๖ มียทุ ธศาสตร์ ๗ ด้าน1 ดังต่อไปนี้ ๑. ยุทธศาสตร์ การปรับปรุ งโครงสร้างพื้นฐานทางภูมิสารสนเทศ (NSDI) ๒. ยุทธศาสตร์การจัดทาชุดภูมิสารสนเทศสาธารณะ (Public Domain GI) ๓. ยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒนาระบบนาเสนอและปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ารสนเทศแบบวิ กิ (WIKI-GI) ๔. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเว็บท่าภูมิสารสนเทศ (GI Web Portal) ๕. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบบริ การเชิ งตาแหน่ ง (Location-based Service, LBS) ๖. ยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒ นาระบบภูมิ ส ารสนเทศพาณิ ช ย์อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ (ECommercing GI) ๗. ยุทธศาสตร์ การส่ งเสริ มสนับสนุ นให้ตระหนักถึ งคุ ณค่าและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Outreaching GI) จากความจาเป็ นทั้ง ๔ ด้านดังกล่ าว จึงมี ความสอดคล้องที่ จะผลิ ตบัณฑิ ตที่มีความรู ้ ความสามารถในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อออกไปให้บริ การตามภาคเอกชน และหน่ วยงานของรัฐ ที่ กาลังเติ บโตและเปลี่ ยนแปลงไปสู่ การนาเทคโนโลยีที่กา้ วหน้ามาสู่ ระบบการบริ ห ารจัด การของหน่ ว ยงานดัง กล่ า ว พร้ อมกัน นี้ ทางมหาวิ ท ยาลัย ฯ และคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ เห็นควรอนุมตั ิหลักสู ตรนี้ตามความจาเป็ นดังที่ได้กล่าวมาแล้ว

1

อ้างจาก : http://www.mict.go.th/article_attach/Strategy_06.pdf


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๕

๒. โครงสร้ างการบริหารหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการประจาหลักสูตร คณะ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์

อาจารย์ประจาหลักสูตร

แผนภูมิที่ ๑ โครงสร้างการบริ หารหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๖

๓. บุคลากรของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตารางที่ ๑ บุคลากรด้ านการบริหารหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ชื่อ – สกุล วุฒิการศึกษา ตาแหน่ งทางวิชาการ นางสาวนุชจรี ท้าวไทยชนะ ศศ.บ.(บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) อาจารย์ วท.ม. (ภูมิศาสตร์) นายชนะชัย อวนวัง วท.บ.(เกษตรศาสตร์) อาจารย์ กศ.ม. (ภูมิศาสตร์) นายสิ ทธิพงศ์ พิฆาตไพรี ค.บ. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) อาจารย์ วท.ม (การรับรู ้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์) นางสาวฐาปณี คาชัย บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) อาจารย์ วท.ม (การรับรู ้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์) นางมัชฌิมนต์ มุลศรี สุข วท.บ. (จิตวิทยาสังคม) อาจารย์ ผ.ม. (การวางแผนภาคและเมือง)

ตารางที่ ๒ บุคลากรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ ๑.

ตาแหน่ ง วิชาการ ผศ.

ชื่อ – นามสกุล

๒.

ผศ.

นางวรปภา อารี ราษฎร์

๓.

ผศ.

นายสนิท ตีเมืองซ้าย

๔.

อาจารย์

๕.

ผศ.

นายธรัช อารี ราษฎร์

นายสายชล จินโจ นายทรงศักดิ์ สองสนิท

คุณวุฒิ วท.ม. ปร.ด. วท.ม. ปร.ด. ค.บ. คอ.ม. ปร.ด. วท.ม. ปร.ด. วท.บ. วท.ม. ปร.ด.

สาขาวิชาเอก วิทยาการคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ศึกษา วิทยาการคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ศึกษา คอมพิวเตอร์ศึกษา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ศึกษา วิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ศึกษา


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๗

๖.

อาจารย์

นายวีระพน ภานุรักษ์

๗.

อาจารย์

นายจรัญ เจิมแหล่

๘.

อาจารย์

นายธวัชชัย สหพงษ์

๙.

อาจารย์

นางสาวอภิดา รุ ณวาทย์

๑๐.

อาจารย์

นายบัณฑิต สุวรรณโท

๑๑.

อาจารย์

นางสรัญญา ภักดีสุวรรณ

๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓.

อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์

นายธนัญชัย สิ งห์มาตย์ นางสมสงวน จันทจร นายนุกลู กุดแถลง ภคพล ช่างยันต์ นายสมคิด ภูมิโคกรักษ์ นายศุภชัย สกาวแสง พ.ท. ดร. สุรพงษ์ สุบงกฎ นส.นุชจรี ท้าวไทยชนะ นายชนะชัย อวนวัง นางมัชฌิมนต์ มุลศรี สุข นายสิ ทธิพงศ์ พิฆาตไพรี นางสาวฐาปณี คาชัย

ค.บ. วท.ม. วท.บ. วท.ม. วท.บ. ศษ.ม. วท.บ. ศษ.ม. วท.บ. วท.ม. ศศ.บ. ศ.ม. บธ.ม. ปร.ด. ปร.ด. วศ.ม. ปร.ด. วท.ม. ปร.ด. วท.ม. กศ.ม. ผ.ม. วท.ม. วท.ม.

คอมพิวเตอร์ศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศศาสตร์ เทคโนโลยีการศึกษา ฟิ สิ กส์ เทคโนโลยีการศึกษา วิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่ อนฤมิต ออกแบบนิเทศศิลป์ สื่ อศิลปและการออกแบบสื่ อ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ชีววิทยาสภาวะแวดล้อม ชีววิทยาสิ่ งแวดล้อม วิศวกรรมศาสตร์ (โยธา) สิ่ งแวดล้อมศึกษา เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม วนศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ การวางแผนภาคและเมือง การรับรู ้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การรับรู ้จากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๘

๔. บุคลากรและแผนพัฒนาบุคลากรของหลักสู ตร เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตารางที่ ๓ แผนการพัฒนาบุคลากรหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ บุคลากร/หลักสู ตร เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (GIT)

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก - ๒ - ๓ - ๕ - ๕ ๑ ๕ ๑ -

ตารางที่ ๔ แผนความต้องการบุคลากรของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ บุคลากร/หลักสู ตร เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (GIT)

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก - ๑ - ๑ - ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑

ตารางที่ ๕ แผนพัฒนาตาแหน่งทางวิชาการของบุคลากรหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

บุคลากร/หลักสู ตร เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (GIT)

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ผศ. รศ. ผศ รศ. ผศ. รศ. ผศ. รศ. ผศ. รศ. ผศ. รศ. . - - - ๒ - ๒ -

ตารางที่ ๖ แผนรับนักศึกษาของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๙

เป้าหมายการดาเนินการ ๑. นั ก ศึ กษาระ ดั บ ปริ ญญาตรี สาขาวิชาสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIT) ๖.๑ นักศึกษาใหม่ ๖.๒ นักศึกษาคงอยู่ ๖.๓ นักศึกษาที่สาเร็ จการศึกษา

หน่ วย นับ คน

ปี ทีด่ าเนินการ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗

๑๐ ๗ -

๒๓ ๒๒ -

๑๙ ๑๗ -

๕๐ ๕๐ ๗

๕๐ ๕๐ ๒๒


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๐

แผนพัฒนา หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ๕ ปี พ.ศ.หลัก๒๕๕๓ - ๒๕๕๗ สู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม โดยสภาวิชาการ อนุ มตั ิ/เห็ นชอบหลักสู ตรนี้ ในการประชุ ม ครั้ งที่ ๕/ ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๒ และสภามหาวิทยาลัย อนุมตั ิ / เห็นชอบ หลักสู ตรในการประชุ ม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ และได้ เปิ ดสอนในภาคการศึกษาที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ ถื อว่าเป็ นหลักสู ตรแรกที่ ได้พฒั นาตาม กรอบมาตรฐาน TQF: HEd ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เพื่อดาเนินการจัดการเรี ยน การสอนตามมาตรฐานวิชาชี พ วิจยั และบริ การวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่ งเสริ ม ความเข้มแข็งของสังคมและชุมชน ยุทธศาสตร์ ของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในระยะ ๕ ปี (ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๖) เป็ นยุทธศาสตร์ ที่อยูบ่ นพื้นฐานภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย ภารกิจในการ เร่ งรัดผลิ ตบัณฑิ ตเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สอดคล้องกับภารกิ จในการเป็ นศูนย์กลางการ บริ การคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศให้แก่ชุมชนและท้องถิ่ นของคณะฯ โดยเน้นให้ หลักสู ตรนี้ เป็ นหลัก สู ต รที่มีคุ ณ ภาพมาตรฐาน ตามระเบี ย บสานัก งานข้า ราชการพลเรื อ น (กพ.) และเป็ นไปตามมาตรฐานวิชาชี พด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ และสาขาที่ เกี่ ยวข้อง ตามองค์กรวิชาชี พซึ่ งกาลังดาเนิ นการผ่านสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื่อรอการมติอนุ ม ตั ิ ต่อ ไป ทั้ ง นี้ ท างหลัก สู ต รฯได้ด าเนิ น การตามภารกิ จ อย่า งอย่า งครบถ้ว นสมบูร ณ์ มี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล และได้รับความร่ วมมือจากทุกภาคส่ วนที่เกี่ยวข้องเป็ นอย่างดี

๑. ปณิธาน ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ เพื่ อ ให้ ห ลัก สู ต รเทคโนโลยี ส ารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ ด าเนิ น การให้ เ ป็ นไปตาม วัตถุประสงค์ของหลักสู ตรฯและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงได้กาหนด ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ ดังนี้  ปณิธาน พัฒนาคน ส่ งเสริ มการวิจยั บริ การสังคมด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๑

 ปรัชญา พัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ อย่างมีคุณค่า เพื่อส่ งเสริ มการศึกษา การเรี ยนการสอน และการพัฒนาท้องถิ่น  วิสัยทัศน์ พัฒนาสู่ องค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ มุ่งสู่ การผลิ ตบัณฑิ ตที่มีความรู ้ คู่คุณธรรม เป็ นผูน้ า ด้า นบริ ก ารวิ ช าการ สร้ า งงานวิ จยั อย่า งมี คุ ณค่ า พัฒ นาชุ ม ชนและท้องถิ่ น ด้า นเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์  พันธกิจ ๑. ผลิตบัณฑิตด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตามมาตรฐานวิชาชีพ ๒. พัฒนางานวิจยั ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๓. เสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ๔. ส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อการบริ หารจัดการ ด้าน ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ๕. ประสานความร่ วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ  วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้มีความรู ้ คู่คุณธรรม ตาม มาตรฐานวิชาชีพ ๒. เพื่อพัฒนางานวิจยั ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน ๓. เพือ่ เสริ มสร้างความเข้มแข็งของสังคมและชุมชนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพ ๔. เพื่อส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดา้ นการบริ หารจัดการ ด้าน ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน ๕. เพื่อประสานความร่ วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาชุมชนและ ท้องถิ่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๒

๒. นโยบายการบริหารหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดาเนิ นการเป็ นไปตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิ จ และวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ จึงมีนโยบายการบริ หารหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ดังนี้ ๑. ด้ านการบริหาร ๑.๑. เน้น การมี ส่ วนร่ วมของบุ ค ลากร เนื่ อ งจากหลัก สู ต รเทคโนโลยีส ารสนเทศ ภูมิ ศ าสตร์ เป็ นหลักสู ตรใหม่ข องคณะเทคโนโลยี สารสนเทศ ดังนั้นการดาเนิ นงานของ หลักสู ตรในช่ วงแรกจะต้องประกอบด้วยบุค ลากร งบประมาณ หลักสู ตร นักศึกษา อุ ปกรณ์ และเครื่ องมือ แต่ดว้ ยข้อจากัดของสิ่ งที่มีอยู่ ดังนั้นทุกคนในหน่ วยงานจึงมีส่วนร่ วมในการ บริ หารจัดการร่ วมกับคณะอย่างเต็มความสามารถ โดยบุ คลากรทุกคนได้ร่วมคิด ร่ วมทา ร่ วม ติดตามประเมินผล และปรับปรุ งงานให้มีคุณภาพ มีประสิ ทธิภาพและมีประสิ ทธิผล ๑.๒ ร่ วมมื อกับหน่ วยงานภายในและภายนอกเพื่อแบ่งปั นการใช้ทรัพยากรร่ วมกัน เพื่อการบริ หารจัดการ ได้แก่ ๑) การจัด การเรี ย นการสอนในหน่ วยงานที่ มี ค วามพร้ อม (โดยการย้า ย สถานที่ เรี ยน) เพื่อตอบสนองความต้องการของชุ มชนและท้องถิ่ นเพื่อการจัดการศึกษาและ พัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพร่ วมกับชุมชนและดึงทรัพยากรซึ่ งสามารถใช้ร่วมกันได้มาแบ่งปั น ซึ่ งกันและกันด้วยความเต็มใจพร้อมที่จะพัฒนาไปด้วยกัน ๒) การเชิ ญวิทยากรในท้องถิ่นที่มีความรู ้ความสามารถและมีประสบการณ์ ร่ วมในการบริ หารและการจัดการเรี ยนการสอนทั้งที่เป็ นภูมิปัญญาของท้องถิ่ นและบุ คลากร ภายในมหาวิทยาลัยที่มีความรู ้ ความสามารถในด้านที่เกี่ยวข้องได้เกิดการทางานข้ามพรมแดน วิช าการระหว่า งกัน แสวงหาจุ ดร่ ว มของความรู ้ ค วามสามารถแล้วน ามาพัฒนาเพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่ าย ๓) ร่ วมเป็ นวิท ยากรในชุ มชนและท้องถิ่ น เพื่อบริ ก ารวิช าการ ให้เป็ นที่ ยอมรับของสังคมและท้องถิ่น ๔) จัดการเรี ยนการสอนในหลักสู ตรที่ร่วมกับสาขาวิชาอื่นหรื อคณะต่าง ๆ ในมหาวิ ท ยาลั ย ที่ เ น้ น วิ ช าด้ า นเทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ แ ละสารสนเทศ ภู มิ ศ าสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การสารวจ ฟิ สิ กส์ เป็ นต้น เพื่อสร้างความแข็งแกร่ งทางวิชาการ อี กทั้งยัง ประหยัดงบประมาณในการบริ หารจัดการหลักสู ตรไปในตัว


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๓

๑.๓ การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิ บาลในการบริ หาร ให้บุคลากรมี ความมัน่ ใจใน องค์กร เพื่อให้องค์กรมี ความน่ าเชื่ อถื อและได้รับการยอมรั บจากสังคม จะต้องบริ หารแบบ โปร่ งใส เห็นชอบร่ วมกัน สร้างความร่ วมมือให้บุคลากรมีความรับผิดชอบ ตรวจสอบได้ ใช้ ทรัพยากรร่ วมกันอย่างมีคุณค่าและตอบสนองผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ ายได้ทนั การ ๑.๔ ส่ งเสริ มการพัฒนาศักยภาพบุ คลากร ทั้งภายในและภายนอกหน่ วยงาน ให้ตรง ตามสาขาและความต้องการของหน่วยงาน ๑.๕ ส่ งเสริ มการทาวิจยั เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร งานวิชาการและงานวิจยั ให้ ตรงกับคุณภาพมาตรฐานของมหาวิทยาลัยและของชาติ หรื อนานาชาติได้ ๒. ด้ านวิชาการ ๒.๑ พัฒนาหลักสู ตร ระดับปริ ญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้ สอดคล้องกับความต้องการของชุ มชนและท้องถิ่ น โดยเฉพาะหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี เน้น หลักสู ตรฝึ กวิช าชี พและ/หรื อ สหกิ จศึ ก ษา โดยร่ วมมื อกับหน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้อง เพื่อพัฒนา การศึกษา และการเรี ยนรู้ของนักศึกษาเป็ นสาคัญ ๒.๒ พัฒนาศักยภาพของครู และบุคลากร และพัฒนาวิทยฐานะให้สูงขึ้น โดยร่ วมมือ กับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นและชุ มชนจัดทาหลักสู ตรให้ สอดคล้องตรงตามความต้องการในแต่ละวิชาชี พ ทั้งหลักสู ตรการเรี ยนการสอนและหลักสู ตร การอบรม โดยอยู่ บ นพื้ น ฐานการประยุ ก ต์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุ ด ๒.๓ พัฒนาหลักสู ตรร่ วมกับสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น โดย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เช่น หลักสู ตรร่ วมกับสาขาวิชาระหว่างคณะ หลักสู ตรร่ วมระหว่างสาขาวิชา หลักสู ตรร่ วมระหว่างสถาบันการศึกษา หากมีโอกาสเป็ นไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลักสู ตรด้านครุ ศาสตร์ เพื่อเปิ ดโอกาสให้บณ ั ฑิตได้เสริ มความรู ้ดา้ นวิชาชี พ ครู ได้อีก ๑๘ หน่วยกิต เพื่อนาไปใช้ประกอบวิชาชีพได้ ๒.๔ พัฒนาหลักสู ตรต่อเนื่ องด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้ได้รับปริ ญญาที่สูงขึ้นต่อไป ๒.๕ พัฒนาหลักสู ตรฝึ กอบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในชุ มชนและท้องถิ่น เพื่อประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในสาขาวิชาชีพของแต่ละกลุ่มเป้ าหมาย


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๔

๒.๖ เป็ นผู ้น าในการพัฒ นา เนื้ อ หา/สาระ ทางด้า นคอมพิ ว เตอร์ แ ละเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนของสถานศึกษา หรื อการฝึ กอบรม โดยร่ วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นศูนย์กลางในการดาเนินงานและพัฒนา ๓. ด้ านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม ๓.๑ ส่ งเสริ มการนาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้ในการวางแผนการทานุ บารุ งศิลปวัฒนธรรมของชุมชนและท้องถิ่น ๓.๒ ส่ ง เสริ ม การพัฒนาสื่ อและนวัตกรรมทางการศึ ก ษาด้า นศิ ล ปวัฒนธรรมและ สิ่ งแวดล้อมของชุมชนและท้องถิ่นโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๓.๒ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้แบบตลอดชีวติ ในด้านศิลปวัฒนธรรมแก่ชุมชนและท้องถิ่น ๔. ด้ านบริการวิชาการ ๔.๑ ร่ วมมือกับภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาการให้บริ การด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ แก่ชุมชนและท้องถิ่น ๔.๒ ร่ วมมื อกับสถาบันการศึ กษาต่างๆ เพื่อพัฒนาสื่ อและนวัตกรรมทางการศึกษาให้มี คุณภาพบนพื้นฐานการใช้ขอ้ มูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๔.๓ ร่ ว มมื อ กับ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น เพื่ อ พัฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๔.๔ ร่ วมมือกับชุมชนและท้องถิ่นเพื่อยกระดับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในระดับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๔.๕ ให้บ ริ ก ารด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ แก่ ชุ ม ชนตามพัน ธกิ จ ของ มหาวิทยาลัยและเป็ นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ ๕. ด้ านการวิจัย ๕.๑ ร่ วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อวิจยั พัฒนาสื่ อและนวัตกรรมทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้มีประสิ ทธิภาพบนฐานการใช้ร่วมกับศาสตร์ อื่นๆ ๕.๒ ร่ วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ระดับชุมชนและท้องถิ่นให้สามารถใช้งานและเข้าถึงข้อมูลได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๕.๓ ร่ วมมือกับภาครัฐและเอกชนเพื่อทาวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕.๔ ร่ วมมือกับท้องถิ่นเพื่อพัฒนางานวิจยั และสร้างงานวิจยั ที่คุณค่าสามารถนาไปใช้ ในเชิงพาณิ ชย์หรื อนาไปใช้เพื่อพัฒนาในท้องถิ่นได้


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๕

๓. การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยใช้ เครื่ องมือ SWOT เป็ นดังนี้ ๑. จุดแข็ง ๑.๑ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็ นหลักสู ตรใหม่ของคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ ประกอบไปด้วยบุ คลากรที่มีคุณวุฒิ มีความมุ่งมัน่ และตั้งใจในการ พัฒนาคณะ พร้อมที่จะร่ วมมือพัฒนาไปพร้อมกัน ๑.๒ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็ นหลักสู ตรที่จดั ตั้งขึ้นตาม นโยบายผูบ้ ริ หารระดับสู งของมหาวิทยาลัย โดยได้กาหนดกรอบและภาระหน้าที่ของคณะไว้ แล้วอย่างชัดเจน ๑.๓ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มีลกั ษณะเฉพาะตัวและสนองความต้องการของท้องถิ่นโดยเฉพาะองค์การบริ หารส่ วนตาบลที่ จาเป็ นต้องใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการจัดการพื้นที่ในด้านต่างๆ ซึ่ งถูกกาหนดมาจาก กระทรวงมหาดไทย ๑.๔ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตั้งอยูบ่ นพื้นที่ที่เป็ นจุด ศูนย์กลางทางการศึ กษา ทาให้สร้ างเครื อข่ายความร่ วมมื อด้านการจัดการศึกษา การบริ การ วิชาการ และการวิจยั เป็ นไปได้ดว้ ยความสะดวก ๒. จุดอ่ อน ๒.๑ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็ นหลักสู ตรใหม่อยูใ่ นระยะ เริ่ มต้น ภายใต้กรอบมาตรฐาน TQF:HEd และกาลังพัฒนาก้าวไปสู่ มาตรฐานวิชาชี พ ภายใต้ ภาคีองค์กรวิชาชี พที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกประเทศ ทาให้ตอ้ งสร้างความเข้มแข็งใน เชิงวิชาการและภาษาต่างประเทศทั้งบัณฑิตและบุคลากร เพื่อเปิ ดตัวสู่ ความเป็ นสากล ๒.๒ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีบุคลากรเชี่ยวชาญเฉพาะ ในด้านนี้ จานวนน้อย ส่ วนการผลิตบัณฑิตตามมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็มีจานวนน้อย แต่กลับเป็ น สาขาขาดแคลนและเป็ นที่ตอ้ งการของตลาดสู ง ทาให้ขาดแคลนบุคลากรสายวิชาการ การสอน และการวิจยั เป็ นอย่างมาก


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๖

๒.๓ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ยงั มีงบประมาณสนับสนุน น้อย จึ งไม่ เพี ยงพอในการดาเนิ นงานเพื่ อจัดเตรี ยมห้อ งปฏิ บตั ิ ก าร อาคารสถานที่ วัส ดุ และ อุ ปกรณ์ ที่จาเป็ นต่อการจัดการเรี ยนการสอนและการให้บริ การที่เพียงพอต่อการปฏิ บตั ิ ตาม ภารกิ จของหน่ วยงานในขั้นเริ่ มต้น ประกอบกับโปรแกรมปฏิ บตั ิ การ วัสดุ อุปกรณ์ ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับสาขานี้ค่อนข้างมีราคาสู ง จึงถือได้วา่ เป็ นการลงทุนสู งตามไปด้วย ๓. โอกาส ๓.๑ จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้บญั ญัติไว้ใน หมวด ๙ ให้มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ทาให้หน่ วยงานการศึ กษา ต้องทาการพัฒนาครู และบุ คลากรทางการศึ ก ษาในท้องถิ่ น ให้มี วิทยฐานะและมีศกั ยภาพที่ สู ง ขึ้ น สามารถใช้เทคโนโลยีม าใช้ใ นการจัดการเรี ยนการสอน ท าให้ หลักสู ตรเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ สามารถสร้ างความร่ วมมือร่ วมกับสถานศึกษาเพื่อจัดการศึกษา หลักสู ตร การฝึ กอบรมทางวิชาการ และงานวิจยั ในด้านนี้มากขึ้นตามไปด้วย ๓.๒ จากแผนการบริ หารราชการแผ่นดินของรัฐบาล พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๔ นโยบาย ที่ ๓ นโยบายสังคมและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการจัดการศึกษาที่กาหนดให้มีการพัฒนา ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีวิทยฐานะสู งขึ้นและให้มีลงทุนทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่ เน้นการพัฒนาเนื้ อหาสาระและบุคลากรให้พร้ อมรองรับและใช้ประโยชน์จาก ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างคุม้ ค่า ๓.๓ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ในฐานะที่เป็ นหน่วยงาน รับผิดชอบหลักได้เห็ นความสาคัญในการพัฒนากิ จการอวกาศของประเทศไทย จึงได้จดั ทา กรอบนโยบายการพัฒนากิ จการอวกาศ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๙ ขึ้น เพื่อใช้เป็ นแนวนโยบายการ นาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางด้านการสื่ อสารและประสานความร่ วมมือด้านกิจการอวกาศ ในระดับ ภู มิ ภาค โดยจะน าเสนอต่ อคณะรั ฐมนตรี เพื่ อพิ จารณาให้ค วามเห็ นชอบในล าดับ ต่อไป และได้กาหนดยุทธศาสตร์ ในแผนแม่บทเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๖ ใน ๗ ด้าน2 ดังต่อไปนี้ ๑. ยุทธศาสตร์ การปรับปรุ งโครงสร้างพื้นฐานทางภูมิสารสนเทศ (NSDI) ๒. ยุทธศาสตร์การจัดทาชุดภูมิสารสนเทศสาธารณะ (Public Domain GI)

2

อ้างจาก : http://www.mict.go.th/article_attach/Strategy_06.pdf


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๗

๓. ยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒนาระบบนาเสนอและปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ารสนเทศแบบวิ กิ (WIKI-GI) ๔. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเว็บท่าภูมิสารสนเทศ (GI Web Portal) ๕. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบบริ การเชิ งตาแหน่ ง (Location-based Service, LBS) ๖. ยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒ นาระบบภูมิ ส ารสนเทศพาณิ ช ย์อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ (ECommercing GI) ๗. ยุทธศาสตร์ การส่ งเสริ มสนับสนุ นให้ตระหนักถึ งคุ ณค่าและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Outreaching GI) ๓.๔ ความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้หลาย หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีนโยบายในการนาคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในการบริ หารจัดการในองค์กร ทาให้หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีโอกาสใน การพัฒนาการจัดการศึกษา การบริ ก ารวิชาการและการวิจยั ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ได้อย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโลก ๓.๕ จากแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ๑๐ และฉบับที่ ๑๑ ในด้านยุทธศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน ได้กล่าวถึงการ พัฒนาระบบฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการจัดองค์ความรู ้ มาประยุกต์ใช้อย่าง เป็ นรู ปธรรม ซึ่งในแผนฯฉบับที่ ๑๑ ได้กล่าวไว้ดงั นี้ -บทที่ ๘ ยุทธศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน ในข้อ ที่ ๕.๑.๒ พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการจัดองค์ความรู้เพื่อใช้เป็ น เครื่ องมือในการวางแผนและพัฒนาประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการ โดยสนับสนุ นให้มีการ จัดทาแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐและการใช้ประโยชน์ในเขตพื้นที่อนุ รักษ์ให้เกิ ดความชัดเจน เพื่ อให้ท ราบถึ ง ข้อเท็จจริ ง และสามารถวางระบบการจัดการแก้ไ ขปั ญหาให้ส อดคล้องกับ สถานการณ์ ปัจจุบนั รวมทั้งสนับสนุ นการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรป่ าไม้ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ทรัพยากรชายฝั่ง ป่ าชายเลน แหล่งน้ า ที่ดิน และทรัพยากรแร่ เผยแพร่ ต่อสาธารณะ อย่างต่อเนื่ องทุกปี ผ่านทางสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ และสื่ ออื่นๆ ปรับปรุ งระบบการจัดทาฐานข้อมูล พื้นที่ ป่ าไม้ และการใช้ป ระโยชน์ที่ ดินในเขตอนุ รัก ษ์ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีอวกาศและ ภาพถ่ า ยดาวเที ย มให้ เ ป็ นมาตรฐานที่ ย อมรั บ ร่ ว มกัน และสามารถติ ด ตามตรวจสอบการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าและการใช้ประโยชน์ที่ดินได้


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๘

ในข้อ ๕.๑.๓ ปรับปรุ งการบริ หารจัดการที่ดินทั้งระบบและกระจายการถือครองที่ดิน ให้ เ กิ ด ความเป็ นธรรม โดยให้ มี ก ารจัด ท าสารสนเทศและทะเบี ย นข้อ มู ล ที่ ดิ นและแผนที่ แห่งชาติ แสดงการครอบครองใช้ที่ดินประเภทต่างๆ ในที่ดินของรัฐ ที่ดินเอกชน และที่ดินที่มี การถื อครองโดยไม่มีเอกสารสิ ทธิ์ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลการบริ หารจัดการและป้ องกันการขยาย พื้นที่เกษตรกรรมเข้าไปในเขตอนุ รักษ์ กาหนดมาตรการเพื่อกระจายการถือครองที่ดินให้เป็ น ธรรม เช่น จัดเก็บภาษีที่ดินในอัตราก้าวหน้า ให้มีการใช้ประโยชน์จากพื้นที่รกร้าง และจัดให้มี ระบบและองค์ก รบริ ห ารจัดการที่ ดิ นให้ เป็ นรู ป ธรรมโดยเร็ ว เพื่ อลดความสู ญ เสี ย พื้ น ที่ ที่ เหมาะสมสาหรับการเกษตร และเป็ นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นไป อย่างเหมาะสม ตลอดจนกาหนดมาตรการป้ องกันการสู ญเสี ยกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินของเกษตรกรราย ย่อยเพื่อคุม้ ครองความมัน่ คงและฐานการดารงชีวติ ของเกษตรกรยากจน ๓.๖ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๖) โดยคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ ๕ สิ งหาคม ๒๕๕๒ มีดงั นี้ -บทที่ ๓ สถานภาพการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารของประเทศไทย ในข้อ ๓.๖ ว่าด้วยเรื่ องสถานภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในภาครัฐ ใน ด้านข้อมูลและบริ การอิเล็กทรอนิกส์ พบว่าการเชื่ อมโยงข้อมูลระหว่างกรมยังมีไม่มากนัก การ พัฒนาฐานข้อมูล และมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลอยูใ่ นระยะเริ่ มต้น ภายใต้โครงการพัฒนา ระบบสนับสนุ นการแลกเปลี่ ยนข้อมูลระหว่างระบบสารบรรณอิเลกทรอนิ กส์ ของหน่ วยงาน ภาครั ฐ การจัดทาระบบข้อมู ลสารสนเทศภูมิ ศาสตร์ (GIS) และการพัฒนาโครงสร้ างพื้ น ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) ยังไม่มีการประสาน ข้อมูลหรื อร่ วมกันพัฒนาเพื่อความประหยัดและเป็ นมาตรฐานเดียวกันเท่าที่ควร ๓.๗ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารของกองบัญชาการ กองทัพไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ดังนี้ -ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ ด้านการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศและการสารวจระยะไกล ให้ สามารถใช้ในการบริ หารงาน การวางแผน และการตกลงใจได้อย่างรวดเร็ ว ถู กต้อง และมี ประสิ ทธิภาพ


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๑๙

๔. อุปสรรค ๔.๑ หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็ นหลักสู ตรที่กาหนดตาม โครงสร้ างการพัฒนาหลักสู ตรของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศในเบื้ องต้นและ ได้อ นุ ม ัติ งบประมาณพัฒนาหลักสู ตรจากส่ วนกลาง เพื่อเปิ ดสอนในปี ๒๕๕๒ จึงส่ งผลให้ไม่สามารถ จัดทาคาของบประมาณเพื่อดาเนินการได้ทนั จึงได้งบประมาณจากัด ๔.๒ การดาเนินการเตรี ยมบุคลากรเฉพาะสาขาวิชา มีความยากลาบากเนื่องจาก สายงานด้านนี้ มีความเฉพาะ และการปริ มาณการผลิ ตป้ อนสู่ ตลาดของแต่ละปี มีจานวนน้อยมาก ในขณะที่ตลาดแรงงานสายงานด้านนี้ไม่เพียงพอต่อความต้องการได้เพิ่มสู งขึ้นทุกปี ๔.๓ ที่ทาการของหลักสู ตรฯ อยูภ่ ายใต้คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ งมีบุคลากร จากัด ไม่ว่าจะเป็ นห้องเรี ยน ห้องสื่ อเทคโนโลยี และห้องทางาน ถื อได้ว่าเป็ นอุปสรรคในการ จัดการเรี ยนการสอนเป็ นเบื้องต้นอยูแ่ ล้ว


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๐

๔. เป้ าหมายของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ หลัก สู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีเป้ าหมายที่ มุ่ งไปสู่ รูปแบบการบริ หาร จัดการตามเป้ าหมายของคณะในรู ปแบบ SMART ดังรู ปที่ ๒

รู ปที่ ๒ รู ปแบบ SMART ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยทางหลักสู ตรได้กาหนดเป้ าหมายการดาเนิ นงานภายใต้รูปแบบ SMART เพื่อให้ บรรลุ เป้ าหมายที่ กาหนดไว้ สอดคล้องกับคณะฯที่จะต้องจัดระบบการบริ ห ารจัดการที่ดีตาม หลักธรรมภิบาล รวมทั้งการประกันคุ ณภาพขององค์กร โดยการจัดหาและพัฒนาทรัพยากร ของคณะฯ ให้มีประสิ ทธิ ภาพ การสร้างองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization) และมี ระบบการบริ หารจัดการอย่างเป็ นระบบและมีประสิ ทธิ ภาพ ภายใต้ระบบ e-Faculty เพื่อสร้าง องค์กรแห่ งการเรี ยนรู้แบบ on-line และ off-line รวมทั้งสร้างเครื อข่ายความร่ วมมือกับองค์กร ต่าง ๆ โดยมีส่วนสนับสนุนการดาเนินงานภายใต้ ศูนย์ผลิตสื่ อมัลติมีเดีย คลินิกเทคโนโลยี และ คลินิกวิจยั บนฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อมุ่งสู่ การเป็ น SMART ดังนี้


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๑

ความหมายของ SMART S คือ Service Mind หมายถึง การมีจิตใจพร้อมจะให้บริ การ M คือ Mastery หมายถึง การทางานอย่างมืออาชีพ A คือ Accountability/Transparency หมายถึง การปฏิบตั ิงานด้วยความ ซื่ อสัตย์สุจริ ต โปร่ งใส และรับผิดชอบ R คือ Relationship หมายถึง การมีน้ าใจ ใจเปิ ดกว้าง เป็ นพี่เป็ นน้อง T คือ Teamwork หมายถึง การทางานเป็ นทีม องค์ ประกอบขององค์ กรแห่ งการเรียนรู้ (Learning Organization) ๑. คิดเป็ นอย่างมีระบบครบวงจร (Systems Thinking) ๒. ไฟแรงใฝ่ รู ้ควบคู่ดว้ ย ศักยภาพ (Personal Mastery) ๓. รับรู้ภาพลักษณ์โลกรอบตัว อย่างถูกต้อง (Mental Models) ๔. มองเห็นวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision) ๕. เรี ยนรู้เป็ นทีม (Team Learning)


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๒

๕. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ๑. กรอบประเด็นยุทธศาสตร์ และผลลัพธ์ ตามยุทธศาสตร์ เพื่อให้การดาเนิ นการตามภารกิจของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้ บรรลุเป้ าหมายอย่างมีคุณภาพ มีประสิ ทธิ ภาพและมีประสิ ทธิ ผล คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงได้กาหนดกรอบประเด็นยุทธศาสตร์ และผลลัพธ์ตามยุทธศาสตร์ดงั แสดงในรู ปที่ ๓

รู ปที่ ๓ กรอบประเด็นยุทธศาสตร์และผลลัพธ์ตามยุทธศาสตร์ ๔ ด้าน จากรู ปที่ ๓ กรอบประเด็นยุทธศาสตร์และผลลัพธ์ตามยุทธศาสตร์ แสดงรายละเอียด ในตารางที่ ๖


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๓

ตารางที่ ๗ กรอบประเด็นยุทธศาสตร์และผลลัพธ์ตามยุทธศาสตร์ กรอบประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อผลิต บัณฑิตที่พึงประสงค์

๒. บริ การวิชาการบนพื้นฐานความต้องการ ของชุมชนและท้องถิ่น ก. พัฒนาคณะให้เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ข. เป็ นศูนย์กลางการบริ การวิชาการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

๓. วิจยั เพื่อพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น

๔. ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม

๕. บริ หารจัดการตามหลักการบริ หารที่ดี

ผลลัพธ์ ตามยุทธศาสตร์ บัณฑิตของคณะมีคุณลักษณะ - มีความรู้และทักษะตามวิชาชีพ - มีคุณธรรมและจริ ยธรรม - มีทกั ษะในการทาวิจยั โดยใช้ไอที ครู บุคลากรทางการศึกษา อบต. มีคุณลักษณะ - มีความรู้ในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ไปพัฒนาในด้านต่างๆได้ - มีความรู้ในการทานวัตกรรมใหม่ๆ - มีความรู้ในการวิจยั คุณลักษณะของผู้รับบริการ และคณะ - มีระบบบริ หารจัดการงานบริ การวิชาการ และบุคลากรที่มีคุณภาพ - ผูเ้ ข้ารับบริ การมีความรู้ ทักษะ เจตคติ สามารถพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้ อย่างมีคุณภาพ บุคลากรของคณะมีคุณลักษณะ - มีระบบบริ หารจัดการงานวิจยั และบุคลากรมี ความรู้และทักษะในการทาวิจยั - บุคลากรผลิตงานวิจยั มีคุณภาพ (มีการเผยแพร่ และการนาไปใช้ประโยชน์ได้) คณะมีคุณลักษณะ - เป็ นแหล่งเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะมีคุณลักษณะ - เป็ นคณะฯในรู ปแบบ SMART


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๔

๖. กลยุทธ์ ของแต่ ละประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. ประเด็นยุทธศาสตร์ : พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ : บัณฑิตมีความรู้คู่คุณธรรม มีมาตรฐานทางวิชาการ และวิชาชีพ สอดคล้องกับความต้องการของสังคม กลยุทธ์ : ๑.๑ ผลิตบัณฑิตที่มีความรู ้คู่คุณธรรม มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพ ๑.๒ แสวงหานักเรี ยน นักศึกษามาเรี ยนในสาขาฯ เพิ่มมากขึ้น ๑.๓ ส่ งเสริ มการพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ๑.๔ ปรับปรุ งและพัฒนาหลักสู ตรให้ได้มาตรฐานและตรงความต้องการของสังคม ๑.๕ ส่ งเสริ มการฝึ กประสบการณ์นกั ศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพ ๒. ประเด็นยุทธศาสตร์ : พัฒนาระบบการบริ การวิชาการบนพื้นฐานความต้องการของ ชุมชนและท้องถิ่น เป้าประสงค์ : ก.เป็ นศูนย์กลางการพัฒนาเครื อข่ายและบุคลากรทางการศึกษา และท้องถิ่น กลยุทธ์ : ๒.๑ ส่ งเสริ มการผลิตและพัฒนาครู รวมทั้งบุคลากรในท้องถิ่นให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ ๒.๒ พัฒนาเครื อข่ายและบุคลากรท้องถิ่นทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ : ข.เป็ นศูนย์กลางการบริ การวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ : ๒.๓ พัฒนาระบบการบริ หารจัดการงานบริ การวิชาการให้มีประสิ ทธิภาพ ๒.๔ เสริ มสร้างศักยภาพของบุคลากรเพื่องานบริ การวิชาการอย่างต่อเนื่ อง ๒.๕ จัดกิจกรรมบริ การวิชาการบนพื้นฐานความต้องการของท้องถิ่น ๒.๖ ส่ งเสริ มและสนับสนุนโครงการศูนย์ทางไกลเพื่อพัฒนาการศึกษาและพัฒนา ชนบทฯ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๕

๓. ประเด็นยุทธศาสตร์ : วิจยั เพื่อพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น เป้าประสงค์ : เป็ นศูนย์กลางการวิจยั ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ : ๓.๑ พัฒนาระบบการบริ หารจัดการงานวิจยั ให้มีประสิ ทธิภาพ ๓.๒ เสริ มสร้างศักยภาพของบุคลากรเพื่องานวิจยั อย่างต่อเนื่ อง ๓.๓ ส่ งเสริ มการวิจยั และพัฒนาท้องถิ่นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ๔. ประเด็นยุทธศาสตร์ : ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม เป้าประสงค์ : ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ : ๔.๑ ส่ งเสริ ม รวบรวม และเผยแพร่ การทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม ด้วยระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ๕. ประเด็นยุทธศาสตร์ : บริ หารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ : เป็ นองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ กลยุทธ์ : ๕.๑ พัฒนาระบบบริ หารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้มีประสิ ทธิภาพ ๕.๒ พัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรให้มีคุณภาพ ประสิ ทธิภาพ และเกิดความคุม้ ค่า ๕.๓ ส่ งเสริ มการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ ๕.๔ พัฒนาระบบประกันคุณภาพอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ๕.๕ ประสานความร่ วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ ๕.๖ จัดหารายได้เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยงาน


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๖

๗. การบริหารและการติดตามประเมินผล หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้จดั ทาแผนกลยุทธ์ และถ่ายทอดแผนสู่ การปฏิ บ ตั ิ ไ ปยัง /บุ ค ลากร/หน่ ว ยงานและสาขาวิชา หลัง จากนั้นได้ท าแผนปฏิ บ ัติราชการ ประจาปี ซึ่ งประกอบด้วยกิจกรรม/โครงการ ตัวชี้ วดั เป้ าหมาย งบประมาณ และระยะเวลาการ ดาเนินงาน เพื่อติดตามและประเมินผลการดาเนิ นงาน ภายใต้การติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ โดยเครื่ องมือ PART : และจัดทารายงานผลการดาเนิ นงานต่อมหาวิทยาลัยและชุ มชนเป็ นระยะ เพื่อนาผลที่ได้มาปรับปรุ งและพัฒนาแผนการดาเนินงานของคณะฯ ต่อไป

๘. การวิเคราะห์ ความเสี่ ยงการดาเนินการของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ตารางที่ ๘ การวิเคราะห์ความเสี่ ยง ประเด็นการวิเคราะห์ ๑. ด้ านการเรียนการสอน ๑.๑ การพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ๑.๒ สัดส่ วนอาจารย์ต่อผูเ้ รี ยน ๑.๓ ตาราและเอกสารในการจัดการ เรี ยนการสอน ๑.๔ ห้องเรี ยนและอุปกรณ์ โสตทัศนูปกรณ์ ๑.๕ การพัฒนากระบวนการเรี ยนการ สอนอย่างต่อเนื่อง ๒. ด้ านการวิจยั ๒.๑ ทุนสนับสนุนการวิจยั จาก ภายใน/ภายนอก

การเงิน

ประเภทความเสี่ยง ระดับ การ กฎ/ระเบียบ/ ความเสี่ยง นโยบาย ปฏิบัตงิ าน ข้ อบังคับ

ขาด งบประมาณ ขาด งบประมาณ -

-

-

-

การ ตอบสนอง

สูง

ร่ วมจัดการ

-

ขาดแคลน บุคลากร -

สูง

จัดจ้าง

-

-

-

-

-

ขาด งบประมาณ

-

-

สูง

-

-

-

ตาม มาตรฐาน วิชาชีพ ตาม มาตรฐาน วิชาชีพ

สูง

มหาวิทยา ลัยจัดหา (ลิขสิ ทธิ์) จัดจ้าง

ขาด งบประมาณ

-

-

-

ปานกลาง

ร่ วมจัดการ


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๗

ประเด็นการวิเคราะห์

การเงิน

ประเภทความเสี่ยง ระดับ การ กฎ/ระเบียบ/ ความเสี่ยง นโยบาย ปฏิบัตงิ าน ข้ อบังคับ สูง

การ ตอบสนอง

๒.๒ แหล่งข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการวิจยั

-

๒.๓ ความสนใจในการทาวิจยั ของ อาจารย์ ๒.๔ ความต่อเนื่องของการวิจยั

-

-

-

-

ปานกลาง

Open sources -

ขาด งบประมาณ

-

-

-

น้อย

ยอมรับได้

-

-

-

-

ปานกลาง

ร่ วมจัดการ

ขาด งบประมาณ

-

-

-

ปานกลาง ปานกลาง น้อย

เก็บค่า อบรม

-

-

-

-

-

-

ขาด งบประมาณ ขาด งบประมาณ ขาด งบประมาณ

-

-

ปานกลาง

ร่ วมจัดการ

-

-

ปานกลาง

ร่ วมจัดการ

-

-

ปานกลาง

ร่ วมจัดการ

ขาด งบประมาณ

-

-

ขาดแคลน บุคลากร หน่วยงาน จัดตั้ง มรม. จานวน ห้องเรี ยน ต่อนศ. -

ปานกลาง

ร่ วมจัดการ

๓. ด้ านบริการวิชาการ ๓.๑ จานวนหลักสูตร/รู ปแบบการ จัดการอบรม ๓.๒ จานวนผูเ้ ข้ารับการอบรม ๓.๓ วิทยากร ๓.๔ งบประมาณ ๔. ด้ านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ๔.๑ บุคลากรให้ความสนใจส่งเสริ ม/ สนับสนุนศิลปวัฒนธรรม ๕. ด้ านการบริหารจัดการ ๕.๑ จานวนบุคลากร ๕.๒ งบประมาณ ๕.๓ อาคารสถานที่

๕.๔ การบริ หารจัดการ


ตามมาตรฐานของ สกอ., สมศ. และ มรม.

องค์กรแห่ งการเรียนรู้

บริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล

1. พัฒนามาตรฐานตามองค์ ประกอบ และตัวชีวัด ที่สอดคล้ องกับ มาตรฐานของ สกอ. , สมศ, และ มรม.

3. ส่ งเสริมการเรียนรู้ ร่วมกันในองค์ กรให้ มีคุณภาพ 4. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพอย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง 5. ประสานความร่ วมมือกับหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งในและ ต่ าง ดหารายได้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของคณะฯ 6. จัประเทศ

ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม

1. พัฒนาระบบบริ หารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้ มีประสิ ทธิภาพ 2. พัฒนาระบบการจัดการทรั พยากรให้ มีคุณภาพ

ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ

เป็ นศูนย์ กลางการวิจัย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

วิจัยเพือ่ พัฒนาชุ มชนและ ท้ องถิ่น

1. ส่ งเสริม การเผยแพร่ การทานุบารุงและเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ด้ วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

เป็ นศูนย์ กลางการพัฒนา นักวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิ สารสนเทศ ครูและบุคลากร ด้านอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง

=>วิสัยทัศน์

3. ส่ งเสริมการวิจัยและพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

พัฒนาระบบการบริการวิชาการบนพืน้ ฐานความ ต้ องการของชุ มชนและท้ องถิ่น เป็ นศูนย์ กลางการบริการวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

พัฒนาระบบการจัดการศึกษา เพือ่ ผลิตบัณฑิตที่พงึ ประสงค์

1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการงานวิจัยให้ มีประสิ ทธิภาพ 2. เสริมสร้ างศักยภาพของบุคลากรเพือ่ งานวิจัยอย่ างต่ อเนื่อง

4. ส่ งเสริ มและสนับสนุนโครงการศู นย์ ทางไกลเพื่อพัฒนาการศึกษาและ พัฒนา ชนบทฯ ด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิสารสนเทศ

3. จัดกิจกรรมบริการวิชาการบนพืน้ ฐานความต้ องการของท้ องถิ่น

1. พัฒนาระบบการบริ หารจัดการงานบริการวิชาการให้ มีประสิ ทธิภาพ 2. เสริมสร้ างศักยภาพของบุคลากรเพือ่ งานบริการวิชาการ อย่างต่ อเนื่อง

2. พัฒนาเครือข่ ายบุคลากรทางการศึ กษาด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

1. ส่ งเสริมการผลิตและพัฒนานักวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิสารสนเทศ ครู รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษา และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้ องให้ มี มาตรฐานวิชาชีพและวิทยฐานะสู งขึน้

4. พัฒนาแหล่ งเรียนรู้ และสื่ อนวัตกรรมทางการศึ กษา 5. ปรับปรุงและพัฒนาหลักสู ตรให้ ได้ มาตรฐานและตรงความ ต้ องการ คม ฒนานักศึกษาให้ มีประสิ ทธิภาพ งเสริมงงานพั 6. ส่ของสั

3. ส่ งเสริ มการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ

=>เป้ าประสงค์

บัณฑิตมีความรู้ ค่ คู ณ ุ ธรรม มีมาตรฐานทางวิชาการ และ วิชาชีพ สอดคล้องกับความ ต้ องการของสังคม

=>กลยุทธ์

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ คู่คุณธรรม มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาการ และวิชาชีพ 2. แสวงหานักเรียน นักศึกษา มาเรียนในคณะ เพิม่ มากขึ้น

แผนพัฒนาการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗) แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๘

พัฒนาสู่ องค์ กรแห่ งการเรียนรู้ มุ่งสู่ การผลิตบัณฑิตทีม่ คี วามรู้ คู่คณ ุ ธรรม เป็ นผู้นาด้ านบริการวิชาการ สร้ างงานวิจยั อย่ างมีคุณค่ า พัฒนาชุมชนและท้ องถิน่ ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์

=>พันธกิจสารสนเทศ

จัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานวิชาชีพ วิจัยและบริการวิชาการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพือ่ ส่ งเสริ มความเข้ มแข็งของสั งคมและชุ มชนอย่ างต่ อเนื่อง และยัง่ ยืน =>ประเด็นยุทธศาสตร์ ด้ านประกันคุณภาพ


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๒๙

แผนพัฒนาบุคลากร (Human Resource Development Plan) หน่ วยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐ จัดทาเมือ่ วันที่ ๑๔ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ส่ วนที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไป ๑.๑ อานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ๑.๒ วิสัยทัศน์ ๑.๓ พันธกิจ ๑.๔ ยุทธศาสตร์ ๑.๕ โครงสร้างส่ วนราชการ / หน่วยงาน และกรอบอัตรากาลังปั จจุบนั (กาลังคนจริ ง / ตาแหน่งว่าง) คาชี้แจง ในส่ วนที่ ๑ นี้ แผนพัฒนาบุคลากรของสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีความ สอดคล้องตามแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาบุ คลากรและการเพิ่มอัตรากาลัง บุคลากรสายวิชาการด้านคุณวุฒิทางการศึกษาที่สูงขึ้นโดยการสนับสนุ นทุนการศึกษาต่อทั้งใน และต่างประเทศตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙ แล้วนั้น ทางสาขาวิชาฯยังมี ความจ าเป็ นต้อ งพัฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามสอดคล้อ งต่ อ การเปิ ดประเทศข้า สู่ ป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC) ในปี ๒๕๕๘ นี้ เพราะเป็ นสาขาวิชาที่จดั อยูใ่ นกลุ่ม ๘ วิชาชีพแรกที่ จะออกสู่ อาเซี ยน ที่ ตอ้ งเตรี ยมความพร้ อมในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้านการเรี ย นการสอน หลักสู ตรปกติท้ งั ปริ ญญาตรี -โท-เอก และหลักสู ตรอบรมต่างๆ เพื่อให้บริ การวิชาการทั้งในและ ต่างประเทศ อย่างเป็ นมาตรฐานสากล ดังนั้นจึงมีความจาเป็ นต้องวางแผนพัฒนาบุคลากรใน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ใน ปี ๒๕๕๖-๒๕๖๐ นี้ ให้มีศกั ยภาพและมีความ เป็ นวิชาชีพตรงตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านคุณวุฒิและการก้าวไปสู่ ตาแหน่ง ทางวิชาการที่สูงขึ้นเพื่อเตรี ยมการเปิ ดหลักสู ตรระดับ ป.โท-เอก ในอีก ๕ ปี ข้างหน้าอย่างเป็ น รู ปธรรม


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๐

ส่ วนที่ ๒ ภูมิศาสตร์

การทบทวนบทบาทภารกิจและกาลังคนในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒.๑ บทบาทภารกิจปั จจุบนั ของสาขาวิชา ๒.๒ บทบาทภารกิจในอนาคต ๕-๑๐ ปี ข้างหน้า ๒.๓ องค์ความรู ้ที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั ๒.๔ องค์ความรู ้ที่ตอ้ งมีเพื่อรองรับบทบาทภารกิจในอนาคต ๒.๕ ตารางเปรี ยบเทียบองค์ความรู ้และอัตรากาลังคนที่ตอ้ งการกับองค์ ความรู ้และอัตรากาลังคนที่มีอยูห่ รื อจะมีในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงภารกิจ

คาชี้แจง ในส่ วนที่ ๒ เป็ นการสรุ ปสถานภาพกาลังคนที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั และแนวทางการ พัฒนาบุคลากรสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ในอีก ๕-๑๐ ปี ข้างหน้าดังนี้ บทบาทภารกิจในอนาคต ๕-๑๐ ปี ข้ างหน้ า (๑) พัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสน เทศภูมิศาสตร์ เพื่อเปิ ดสอนในหลักสู ตร ระดับปริ ญญาโท-เอก

องค์ ความรู้ และอัตรากาลังคน ทีต่ ้ องการ ตาแหน่ ง อาจารย์ สาขาวิชา ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ และ การรับรู้ ระยะไกล จานวน ๓ อัตราระดับ ป.เอก ระยะเวลา ภายใน ๑-๕ ปี ศึกษา ในหรื อต่างประเทศ

องค์ ความรู้ และอัตรา กาลังคนทีม่ ีอยู่ในปัจจุบัน ตาแหน่ ง อาจารย์ สาขาวิชา ภูมิศาสตร์ และ ภูมิสารสนเทศ จานวน ๓ คน คุณวุฒิ ปริ ญญาโท-เอก

สรุ ปความต้ องการ กาลังคนในอนาคต ขาดแคลน ๓ คน (วุฒิ ป.เอก)


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๑

บทบาทภารกิจในอนาคต ๕-๑๐ ปี ข้ างหน้ า (๒) จัดตั้งศูนย์การเรี ยนรู ้ และบริ การวิชาการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนา ท้องถิ่นและอาเซี ยน

องค์ ความรู้ และอัตรากาลังคน องค์ ความรู้ และอัตรา ทีต่ ้ องการ กาลังคนทีม่ ีอยู่ในปัจจุบัน ตาแหน่ ง ผูบ้ ริ หารภูมิสารสนเทศ ไม่มี ขั้นสู ง นักวิชาการข้อมูล ระยะไกล นักวิจยั นักวิเคราะห์ ระบบฐานข้อมูลขั้นสู ง

สรุ ปความต้ องการ กาลังคนในอนาคต ขาดแคลน ๑ คน (วุฒิป.เอก)

สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (๓) คลินิกบริ การทาแผน ภูมิศาสตร์ และการรับรู้ขอ้ มูล ที่เฉพาะกิจ ระยะไกล จานวน ๓ อัตรา ระยะเวลา ภายใน ๑-๕ ปี ศึกษาต่ อ ในหรื อต่างประเทศ ส่ วนที่ ๓ มาตรการในการบริหารและพัฒนากาลังคน ๓.๑ การเกลี่ยกาลังคน ๓.๒ การเตรี ยมความพร้อม o แผนทดแทนอัตรากาลัง o แผนสร้างความต่อเนื่ อง/ทดแทนตาแหน่ง ๓.๓ การพัฒนาบุคลากร (แผนพัฒนาข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย) ๓.๔ การเตรี ยมกาลังคนโดยทุนศึกษาต่อ / ฝึ กอบรม คาชี้แจง ในส่ วนที่ ๓ เป็ นเรื่ องการบริ หารจัดการโดยการกระตุน้ และสนับสนุนให้อาจารย์ใน สาขาวิชาฯได้มีโอกาสศึ กษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และทาผลงานตาแหน่ งทางวิชาการในห้วง เวลา ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐) ให้มีความสอดคล้องและอยูใ่ นแผนพัฒนามหาวิทยาลัยต่อไป


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๒

ส่ วนที่ ๔ แผนพัฒนากาลังคนโดยทุนศึกษา / ฝึ กอบรม ประเภททุน กลุ่มเป้าหมาย ตาแหน่ ง บุคคล ข้ าราชการ พนักงาน ทัว่ ไป วิทยาลัย    การศึกษา อาจารย์ ต่อ ป. เอก (จานวน ๓ ทุน)

ประเภทตาแหน่ งวิชาการ (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐) ผศ. รศ. ศ. ๓ -

ระดับ

สาขาวิชา

ประเทศ

ระบบ สารสนเทศ ภูมิศาสตร์ และการรับรู้ ระยะไกล หรื อสาขาที่ เกี่ยวข้อง

เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย แคนาดา สหรัฐอเมริ กา อินเดีย สวิตเซอร์แลนด์

เปิ ดหลักสู ตร สาขา หมายเหตุ (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐) ป.ตรี ป.โท ป.เอก เทคโนโลยี ปี ๒๕๕๓ ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๖๐ สารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ส่ วนที่ ๕ แผนความต้ องการพัฒนาบุคลากร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปี ๒๕๕๖-๒๕๖๐ หลักสู ตร ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐   วท.บ.เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIT)  วท.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIT) joint degree  วท.ม. เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIT)      การอบรมด้าน GIS/RS (ในกลุ่มอาเซี ยน) รวม ๒ ๒ ๒ ๒ ๑


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๓

แผนความต้องการบุคลากรสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ บุคลากร โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก โท เอก วท.บ.เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๓ ๒ ๔ ๑ ๕ ๑ ๕ ภูมิศาสตร์ (GIT) วท.บ. เทคโนโลยี ๓ ๒ ๒ ๓ ๒ ๔ ๑ ๕ ๑ ๕ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIT) joint degree ๑ ๔ ๒ ๔ ๑ ๕ ๑ ๖ วท.ม. เทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIT) อบรมระยะสั้น (กลุ่ม ๓ ๒ ๓ ๒ ๓ ๓ ๒ ๔ ๑ ๕ ๑ ๕ อาเซียน) รวม ๖ ๔ ๙ ๖ ๙ ๑๓ ๘ ๑๖ ๔ ๒๐ ๔ ๒๑ แผนพัฒนาตาแหน่งทางวิชาการของบุคลากรหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ บุคลากร/หลักสู ตร ผศ. รศ. ผศ รศ. ผศ. รศ. ผศ. รศ. ผศ. รศ. . เทคโนโลยีสารสนเทศ - ๓ - ๓ - ๔ - ๗ ๑ ภูมิศาสตร์ (GIT)


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๔

แผนรับนักศึกษาของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป้าหมายการดาเนินการ ๑. นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาวิชา สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIT) ๑.๑ นักศึกษาใหม่ ๑.๒ นักศึกษาคงอยู่ ๑.๓ นักศึกษาที่สาเร็ จการศึกษา คงเหลือ ๒.วท.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIT) joint degree ๒.๑ นักศึกษาใหม่ ๒.๒ นักศึกษาคงอยู่ ๒.๓ นักศึกษาที่สาเร็ จการศึกษา คงเหลือ ๓. วท.ม.สาขาวิชาสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ (GIT) ๓.๑ นักศึกษาใหม่ ๓.๒ นักศึกษาคงอยู่ ๓.๓ นักศึกษาที่สาเร็ จการศึกษา คงเหลือ

ปี ทีด่ าเนินการ หน่ วย นับ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ คน ๓๐ ๔๔ ๗๔

๖๐ ๔๐ ๔ ๑๐๐

๖๐ ๗๐ ๒๒ ๑๐๘

๖๐ ๓๐ ๑๘ ๑๕๐

๖๐ ๖๐ ๓๐ ๑๘๐

๓๐

๓๐ ๓๐ ๖๐

๓๐ ๓๐ ๖๐

๓๐ ๓๐ ๖๐

๑๐

๑๐ ๑๐ ๒๐

๓๐

๑๐

แผนความร่ วมมือด้านวิชาการในกลุ่มอาเซี ยน สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ความร่ วมมือ (คน) ใน นอก ใน นอก ใน นอก ใน นอก ใน นอก นักศึกษาแลกเปลี่ยน - ๒ - ๒ - ๔ - ๔ - ๖ อาจารย์แลกเปลี่ยน ๒ ๒ ๓ ๓ ๕


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๕

แผนพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษและ/หรื อกลุ่มภาษาอาเซี ยนสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ความร่ วมมือ (คน) ใน นอก ใน นอก ใน นอก ใน นอก ใน นอก นักศึกษา - ๕ - ๕ - ๕ - ๕ - ๑๐ อาจารย์ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๐


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๖

ผู้จัดทา

นางสาวนุชจรี ท้าวไทยชนะ นายชนะชัย อวนวัง นายอานาจ แสงกุดเลาะ

ประธานสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ อาจารย์ประจาสาขาวิชา อาจารย์ประจาสาขาวิชา


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๗

คานา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดตั้งขึ้นโดยสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เมื่อ วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๑ ด้วยเหตุผลและความจาเป็ นในภารกิจของมหาวิทยาลัย เพื่อเป็ น หน่วยงานผลิตบัณฑิตด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริ การวิชาการ การวิจยั พัฒนาศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่นในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแล้วนั้น ทางมหาวิทยาลัยได้ มีมติอนุมตั ิหลักสู ตร เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ขึ้นเป็ นหลักสู ตรใหม่ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยสภาวิชาการ อนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสู ตรนี้ในการประชุ ม ครั้งที่ ๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๒ และสภามหาวิทยาลัย อนุมตั ิ / เห็นชอบหลักสู ตรในการประชุม ใน ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ และได้เปิ ดสอน ภาคการศึกษาที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ เป็ นต้นมา แผนพัฒนาหลักสู ตร เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗) ได้ จัดทาขึ้นโดยการมีส่วนร่ วมของบุคลากรทุกฝ่ าย ทั้งผูบ้ ริ หารของมหาวิทยาลัยฯ คณาจารย์ใน คณะผูท้ รงคุณวุฒิ ตลอดจนผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ในการดาเนิ นการจัดทาแผนฯ นี้ ข้ ึนเพื่อกาหนด ทิ ศ ทางการบริ การจัด การหลัก สู ต ร และเพื่ อ น าองค์ ก รไปสู่ เ ป้ าหมายตามพัน ธกิ จ และ วัตถุ ประสงค์ของคณะฯ มหาวิทยาลัยฯ และประเทศดังที่ ต้ งั ไว้ ดังนั้นกรอบแผนพัฒนาฯจึ ง ประกอบไปด้วยยุทธศาสตร์ ที่อยูบ่ นพื้นฐานภารกิจหลักในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและ มุ่งเน้นให้ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศ าสตร์ เป็ นสาขาที่มีคุ ณ ภาพตรงตามมาตรฐานวิช าชี พ ตาม กรอมมาตรฐาน TQF:HEd ได้อย่างครบถ้วน มี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลสื บไป

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๘

สารบัญ หน้ า คานา หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๑. ความเป็ นมาของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๒. โครงสร้างการบริ หารหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๓. บุคลากรของหลักสู ตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๔. บุคลากรและแผนพัฒนาบุคลากรของหลักสู ตรสาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ แผนพัฒนาหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี ๑. ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ ๒. นโยบายการบริ หารหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๓. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๔. เป้ าหมายของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕. ยุทธศาสตร์การพัฒนาหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๖. กลยุทธ์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ๗. การบริ หารและการติดตามประเมินผล ๘. การวิเคราะห์ความเสี่ ยงการดาเนินการของหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ แผนพัฒนาการศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗) แผนพัฒนาบุคลากร ผูจ้ ดั ทา

๑ ๑ ๕ ๖ ๘ ๑๐ ๑๐ ๑๒ ๑๕ ๒๐ ๒๒ ๒๔ ๒๖ ๒๖ ๒๘ ๒๙


แผนพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ หน้ า ๓๙

แผนพัฒนาหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗)

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Page 1


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.