การออกแบบแผนที่

Page 1

1

หลักการออกแบบแผนที่ (Cartographic Maps Design) แผนที่หรือ Cartography หมายถึง ศิลปะ ศาสตร์ และเทคโนโลยี สาหรับการทาแผนที่ของโลกหรื อดวงดาวต่างๆ ความซับซ้ อนของงานแผนที่ เกี่ยวข้ องกับประเด็นต่ างๆ ดังนี ้  การลดขนาดพื ้นที่  การคิดในกรอบการมอง  ซอฟต์แวร์ เพื่อการออกแบบ  ซอฟต์แวร์ เพื่อการนาเสนอผลงาน  ทางเลือกอื่นๆ ที่ไม่ใช่ข้อจากัด ได้ แก่ การให้ สี สัญลักษณ์ การปั กหมุด  ส่งาตอบไปยังคาถามเชิงพื ้นที่ได้ (อยากรู้ อะไร ก็สามารถเห็นได้ บนแผนที่) ความเป็ นศิลปะ การออกแบบแผนที่เป็ นงานศิลปะที่อาศัยความรู้ทางด้ านองค์ประกอบทางศิลปะมาใช้ ในการออกแบบเพื่อให้ ดู สวยงาม น่าสนใจ ตรงตามจุดประสงค์การทาแผนที่ชนิดนันๆ ้ ที่นอกเหนือจากความถูกต้ อง แม่นยาทางพื ้นทีแ่ ล้ ว ความเป็ นศาสตร์ ทางแผนที่ ข้ อมูล

ความแม่นยา

ระบบพิกดั การวิเคราะห์

คุณภาพ

โปรเจคชัน่ มาตราส่วน

สารสนเทศ

สัญลักษณ์

ระดับข้ อมูล


2

เทคโนโลยีท่ นี ามาใช้ ในการออกแบบแผนที่ เทคโนโลยีที่นามาใช้ จาแนกได้ 3 ประเภทดังนี ้ 1. สาหรับงานแผนที่ทวั่ ไป (งานอ้ างอิงทางพื ้นที)่ ประกอบด้ วยความหลากหลายของข้ อมูล สัญลักษณ์ที่ใช้ ร่วมกันอย่างเป็ นสากล เป้าหมายหรื อจุดประสงค์การทาแผนที่ ได้ แก่ ตัวอย่างแผนที่แสดงลักษณะภูมิ ประเทศหรื อ Topographic Maps ต้ องมีองค์ประกอบดังนี ้ ลักษณะพื ้นผิวต่างๆ (landforms) เส้ นชัน้ ความสูง (Contour lines) เส้ นถนนหลัก เส้ นทางรถไฟ เส้ นถนนรอง เส้ นทางคมนาคมขนส่งอื่นๆ ระบบ เส้ นท่อส่งน ้า เส้ นระบบไฟฟ้า อาคารต่างๆ พื ้นที่เมือง ขอบเขต สัญลักษณ์สาคัญ ระบบการสารวจการใช้ ที่ดิน เส้ นทางน ้า ทะเลสาบ พื ้นที่ช่มุ น ้า ชนิดพืชพรรณ สิง่ ก่อสร้ างต่างๆ เป็ นต้ น 2. แผนที่เฉพาะ (Thematic Maps) เป็ นแผนที่ที่ทาขึ ้นมาเฉพาะภายใต้ การจากัดข้ อมูล การให้ สญ ั ลักษณ์จะ เน้ นให้ ความสาคัญที่สดุ และที่สาคัญคือการสือ่ สารให้ ถึงผู้ใช้ เฉพาะได้ อย่างถูกต้ อง เช่น แผนที่ดิน แผนที่ ธรณี แผนที่การกระจายประชากร เป็ นต้ น 3. แผนที่เฉพาะ (ระดับย่อย) หรื อแผนที่ระดับการวิเคราะห์ (Analysis Maps) มีลกั ษณะคล้ ายกับแผนที่ เฉพาะ แต่นาเสนอผลที่ได้ จากการวิเคราะห์เฉพาะเรื่ องนันๆ ้ ไปตามจุดประสงค์ของผู้อา่ นแผนที่วิเคราะห์ นัน้ นอกจากนี ้แล้ วยังเป็ นแผนที่ที่สามารถเพิ่มเติมข้ อมูลอื่นๆ เข้ าไปตามความจาเป็ นเพื่อการอธิบาย ความหมายที่ได้ จากการวิเคราะห์นนๆ ั ้ โดยมากมักจะเพิ่มกราฟ ข้ อความอธิบายว่าใช้ การวิเคราะห์ด้วย ฟั งก์ชนั่ ใด บางทีจะเห็นว่ามีไดอะแกรมบอกขันตอนการวิ ้ เคราะห์เชิงพื ้นที่ เช่นการทาโมเดล Model Builder models เป็ นต้ น วิธีการนาแผนที่มาใช้ โดยทัว่ ไปผู้ทาแผนที่อาจจะใช้ ทงั ้ 3 รูปแบบดังกล่าวมาใช้ เพื่อแสดงแผนที่ ได้ แก่ แผนที่อ้างอิงทางพื ้นที่ (แผนที่ฐาน) แผนที่เฉพาะ (จากขันตอนเบื ้ ้องต้ นก่อนการนาไปวิเคราะห์) และแผนที่การวิเคราะห์ (เป็ นแผนที่ของตนเองโดยนาผลที่ได้ นามา แสดงบนแผนที่) เป้ าหมายของการนาเสนอด้ วยแผนที่  เน้ นผลการวิเคราะห์  เน้ นความสัมพันธ์เชิงพื ้นที่  ขนถ่ายข้ อมูลด้ วยวิธีการวิคราะห์ทต ี่ นใช้ ไปสูผ่ ้ อู า่ นแผนที่ได้ อย่างถูกต้ อง  ทาแผนที่ให้ งา่ ยต่อการเข้ าใจ ลดความซับซ้ อนหรื อความสัมพันธ์ หลายๆเหตุการณ์เข้ าด้ วยกัน ทาอย่ างไรจึงจะบรรลุเป้ าหมาย  การนาเสนอด้ วยแผนที่ต้องแสดงความยิง่ ใหญ่ มีการวางแผน และควรออกแบบร่างไว้ ก่อน  กาหนดสัญลักษณ์ที่มีความหมายอย่างตรงไปตรงมา  เลือกสิง่ ที่ต้องการนาเสนอ อย่าใส่ทกุ อย่างลงบนแผนที่ และในแต่ละสิง่ ที่ใส่ลงไปต้ องมีเหตุผลสนับสนุน เสมอ


3 

เนื่องจากผู้อา่ นแผนที่มีเวลาจากัด ดังนันต้ ้ องทาให้ แผนที่มีความน่าสนใจและเข้ าใจได้ อย่างรวดเร็ว

สิ่งควรหลีกเลี่ยง 1.

2. 3.

การตกแต่งแผนที่มากเกินไป (ทาให้ ไปลดความสาคัญของแผนที่ลง) หรื อแผนที่มีขนาดเล็กเกินไปจนไม่ น่าสนใจ ไม่มีข้อมูลอธิบายใดๆ เป็ นเพียงแค่ภาพเท่านัน้ ขนาดสัญลักษณ์ใหญ่เกินไป ไม่วา่ จะเป็ นมาตราส่วนไม้ บรรทัด และทิศเหนือ

ควรหลีกเลีย่ ง 4.

หลีกเลีย่ งการใช้ จดุ ประ หรื อ การตีเส้ น ร่วมกับการกาหนดโทนสี เพราะบางทีทาให้ เกิดความสับสนได้ หรื อ เมื่อซูมขยายแผนที่อาจจะเห็นสัญลักษณ์จดุ ที่ใช้ ร่วมกัน จนแยกไม่ออก

ควรหลีกเลีย่ ง

5. 6.

ใช้ ได้

เขียนคาบรรยายในแผนที่มากเกินไป การใช้ สี โดยทัว่ ไปสีที่เข้ าใจร่วม คือ


4

สีแดง สือ่ ถึง อันตราย หยุด ความร้ อน หรื อจานวนมาก b. สีน ้าเงิน สื่อถึงความเย็น ความลึก จานวนน้ อย c. สีเขียว สือ่ ถึง พืช ไป ชันความสู ้ งระดับต่า d. สีน ้าตาล สือ่ ถึงที่ดิน ชันความสู ้ งระดับกลาง นอกจากนี ้ข้ อกาหนดในการใช้ สตี ามลักษณะแผนที่เฉพาะ ได้ แก่ แผนที่ธรณี แผนที่วฏั จักรน ้า ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์นนๆ ั ้ (Hydrological map) 7. คุณภาพของลาดับสี มีความสาคัญคือ a. แสดงความแตกต่างของแต่ละสีจะแสดงความแตกต่างของแต่ละสิง่ เช่น การใช้ ประโยชน์ที่ดิน ชนิดดิน ชนิดสิง่ ปลูกสร้ าง การให้ คา่ บวก-ลบ b. การจัดหมวดหมู่ c. ความเข้ มของสีไม่มีนยั ยะใดๆ เมือ่ เป็ นการให้ ความแตกต่างของแต่ละสีอยูแ่ ล้ ว d. สีตา่ งๆ ควรมีการเข้ ากัน (ดูแล้ วเป็ นไปในโทนเดียวกัน) a.

8.

9.

ปริ มาณจานวนของสี มีความสาคัญคือ a. ความแตกต่างของสีแสดงถึงระดับความแตกต่าง เช่น ความแตกต่างของชันความสู ้ ง ร้ อยละ จานวนของ ปริ มาณของ b. บอกปริ มาณ c. ความเข้ มของสีไม่มีนยั ยะใดๆ d. สีตา่ งๆ ควรทางานร่วมกันได้ (ดูแล้ วมีความสอดคล้ องกัน) สัญลักษณ์ (legends) ไม่ต้องอธิบายด้ วยข้ อความมาก แต่อธิบายด้ วยสัญลักษณ์ที่เข้ าใจง่าย


5

นอกจากนี ้ไม่ควรใช้ ชื่อไฟล์ใส่ใน legend

ควรหลีกเลีย่ ง การตังชื ้ ่อแผนที่ ไม่ควรใช้ คายาวเกินไป ควรมีลกั ษณะดังนี ้ a. ง่าย b. ตรงไปตรงมา c. ไม่ใช้ คาฟุ่ มเฟื อย d. ไม่ควรใช้ คาว่า “ Using GIS to…..” หรื อ “Map of………” นาหน้ าชื่อแผนที่ 11. การวางตาแหน่งของตัวอักษร ตรงสัญลักษณ์จด ุ พิจารณาให้ สอดคล้ องกับแผนที่ กรุงเทพ 10.

กรุงเทพ a.

บนขวา

b.

ล่างขวา

กรุงเทพ กรุงเทพ

บนซ้ าย

c.

d.

ล่างซ้ าย

กรุงเทพ กรุงเทพ f. 12.

บนกลาง

e.

ล่างกลาง

ความสมดุลของการจัดวางหน้ าแผนที่ มีหลักการดังนี ้ a.

การจัดแบบดุยลภาพ จากบนซ้ ายไปขวา หรื อ จากบนซ้ ายไปล่าง

b.

ตาแหน่งการมอง เริ่ มทีต่ วั แผนที่ สายตาจะทอดลง 5 % แล้ วมองขึ ้นไปตรงจุดตัดกึง่ กลางพอดี

c.

ทิ ้งระยะขอบบนเอาไว้ ด้วย (เว้ นช่องว่างสาหรับพักสายตา) จะทาให้ แผนที่ดแู ล้ วไม่แน่นเกินไป


6

การจัดวางแผนที่

13.

ตัวอักษร มีหลักการใช้ ดงั นี ้ a.

กล่องตัวอักษร ควรจัดช่องว่างรอบตัวอักษร อย่าให้ กรอบชิดกับตัวอักษรมากเกินไป

ใช้ ได้ b.

ชนิดตัวอักษร ควรเป็ นมาตรฐาน (ไม่ควรใช้ ชนิดแฟนซี หรื อสีสนั ) ควรง่ายต่อการอ่าน

c.

ขนาดตัวอักษร ควรเป็ นมาตรฐาน ง่ายต่อการอ่าน อย่างน้ อยควรเป็ นฟ้อนท์ขนาด 24 หรื อชื่อแผน ที่ควรเป็ นฟ้อนท์ 36

14.

อย่าลืมพิมพ์แหล่งอ้ างอิง ที่มาของข้ อมูล ผู้จดั ทา

15.

ขนาดแผนที่โปสเตอร์ ควรมีขนาด 34 x 44 นิ ้ว แต่ไม่ควรเล็กเกินไป

ทีมา: http://mappingcenter.esri.com/ http://www.typebrewer.org/ http://colorbrewer2.org/ http://www.brown.edu/Research/Earthlab


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.