ประวัติการวาดอาคาร 3 มิติ

Page 1

1

ประวัตกิ ารวาดอาคาร 3 มิติ เรียบเรียงโดย กนกลดา ท้าวไทยชนะ ปัจจุบันนี้โมเดล 3 มิติได้ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวางตั้งแต่วงการแพทย์ ไปจนถึงงานทางด้านวิศวกรรม ความเกี่ยวข้องทางวิศวกรรมทางโดยเฉพาะด้าน Geometics engineering (พิชคณิตทางวิศวกรรม) ที่ทาโมเดล 3 มิติในเชิงพื้นที่โดยใช้ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) บนแผนที่และได้กลายมาเป็นแผนที่ดิจิทัลและโมเดล เชิงพื้นที่ที่ได้รับความนิยมอย่างหลากหลาย การแสดงผลโมเดล 3 มิติได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการทางานร่วมกับการแสดงผลแบบเคลื่อนไหวหรือ Animations ซึ่งกราฟิกคอมพิวเตอร์ช่วงแรกนั้นสร้างขึ้นใน รูปแบบเวกเตอร์ (Vector graphics) ร่วมกับเส้น (Lines) แต่การทากราฟิกสมัยใหม่นี้จะใช้รู ปแบบราสเตอร์ (Raster) ซึ่งอยู่ในรูปพิกเซล (Raster) โดยการสร้างโมเดลรูปแบบ 3 มิติเชิงพื้นที่นี้ปรากฎครั้งแรกในงานทางด้าน GIS นั่นเอง หรือที่รู้จักในเรื่องการทาโมเดล TIN (triangulated irregular network) ซึ่งเขียนขึ้นโดย รานดอล์บห์ แฟรงกลิน (Randolph Franklin) แห่งมหาวิทยาลัยไซมอน ฟราสเตอร์ (Simon Frasser University) ในปี 1973 ถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญแล้วนาไปสู่การสร้างแบบจาลองเหมือนจริง (Simulation realism) ขึ้นเป็นครั้งแรกใน ปี 1975 โดย ดร. เบอร์นัวท์ มองเดอโบรท์ (Dr. Benoit Mandelbrot) อาจารย์ด้านคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ซึ่วได้ ตีพิมพ์ผลงงานในชื่อว่า A Theory of Franctal Sets และ 20 ปีให้หลัง ผลงานของดร. เบอร์นัวท์ ได้รับการวิจัย และค้นพบสิ่งใหม่ๆ เพิ่มขึ้น แล้วทาให้เปลี่ยนชื่อมาเป็นทฤษฎี Fractal Geometry นั่นเอง ในราวปี 1980 การประชุม SIGGRAPH ได้มีการนาเสนอภาพะคลื่อนไหวเรื่อง Vol Libre เป็นการ น าเสนอรู ป แบบกราฟิ ก ที่ ใ ช้ ค วามเร็ ว จนกท าให้ เ ห็ น การเคลื่ อ นไหวของภู เ ขาได้ ภายใต้ ก ารท างานของนั ก โปรแกรมเมอร์คือ ลอเรน คาร์เพนเตอร์ (Loren Carpenter) จากบริษัทโบอิง เมืองซีแอทเทิล รัฐวอชิงตัน ได้ ทาการศึกษาวิธีการของ ดร. มองเดอร์โบรท์ และได้ดัดแปลงการสร้างโมเดลเหมือนจริงของภูเขาให้สมจริงยิ่งขึ้น นั่นเอง

ความจาเป็นในการสร้างโมเดล 3 มิติ ความก้าวหน้าทางด้านการได้มาซึ่งข้อมูล (Acquisition) และการแสดงผลข้อมูล (Representation) เชิง พื้ น ที่ ร่ ว มกั บ เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ โดยการน าแนวคิ ด ทางด้ า นพิ ช คณิ ต เชิ ง วิ ศ วกรรม ( Geometrics Engineering) มาใช้เพื่อยกระดับงานเชิงพื้นที่ขึ้น ทาให้ผู้ใช้และผู้สร้างงานได้ร่วมกันสร้างแผนที่ที่อยู่ในโลกดิจิทัล ไดสมจริงและมีปฏิสัมพันธ์กันได้มากขึ้น ทาให้ผู้ใช้สามารถสร้างแผนที่ได้หลากหลายมากขึ้นที่ดี กว่าแผนที่ 2 มิติ แนวคิดนี้นาไปสู่การสร้างแผนที่ที่มีความหลากหลายและมีปฏิสัมพันธ์กัน ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์มากขึ้น ที่มี การสร้างโมเดลบนตาแหน่งสัมพันธ์มากขึ้น จึงเป็นที่มาที่นาไปสู่ผลิตโมเดลเหมือนจิรงในรูปแบบ 3 มิติที่นาไปใช้ ร่วมกับระบบ GIS ตั้งแต่ในงานสถาปัตยกรรมไปจนถึงการวางผังเมือง จากการทหารไปถึงการจัดการมหันตภัย เป็นต้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.