สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

Page 1

⌫⌫  ⌫   



สาส์นอวยพรโอกาสพระคริสตสมภพและสวัสดีปใี หม่ 2009 ของ

พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู พระกุมารเยซูเจ้าเป็นความรอดและความหวังของเรา ทุกวันของเรา มีพระสัญญา ทุกเวลาของเรา มีความหวัง ทุกยามเช้าของเรา มีแสงสว่าง ตลอดการเดินทางของเรา มีความช่วยเหลือเกือ้ กูล การบังเกิดมาของพระองค์ท่ามกลางความหนาวเหน็บในถ้ำเลี้ยงสัตว์ และใน ท่ามกลางอันตรายจากผูป้ องร้าย ได้สอนให้เราเข้าใจว่า แม้ในท่ามกลางความลำบากสับสน หนทาง มืดมน ยังมีพระเมตตาของพระเจ้าสำหรับชีวติ ของเราเสมอ ขอพระพรแห่งพระคริสตสมภพ หลั่งไหลลงมายังพี่น้องที่รักทุกท่าน เป็นแรงบันดาลใจให้ ปีใหม่ 2009 เป็นปีแห่งความก้าวหน้า ก้าวไปสูค่ วามรัก ความเมตตา ต่อกันและกัน ขออำนวยพร พระคาร์ดนิ ลั (ม. มีชยั กิจบุญชู) พระอัครสังฆราชแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สัมภาษณ์

เจาะลึกพิเศษ

บทความ

เกร็ดความรูค้ ำสอน

ครอบครัวพระสงฆ์ใหม่ เปาโล ศวง วิจติ รวงศ์ (น.2)

ถ้ำพระกุมาร ปี 2008 (น.4)

เด็กน้อยเอ๋ย..เจ้าจะเดิน ไปทางไหน? (น.6)

ปฏิทินคาทอลิก (น.8)


สัมภาษณ์

⌫

“การเรียนรูท้ จ่ี ะทำหน้าทีส่ งฆ์ทด่ี ี ทำหน้าทีใ่ นงานอภิบาล ทำให้ดที ส่ี ดุ ” เปาโล ศวง วิจิตรวงศ์ อุปนิสัยส่วนตัว เป็นคนเงียบๆ เคร่งครัดกับระเบียบวินยั สมัยเป็นครูเณร (มีคนบอกไว้อย่างนัน้ ) อยู่ในบ้านเณร เพื่อนๆ ให้ฉายาว่า “เสือเงียบ” ชีวิตเรียบง่าย ไปตามจังหวะเวลา ตามปีการศึกษา แต่มีช่วงเวลาเปลี่ยนฟ้า ที่พบเจอมรสุมเช่นกัน คือช่วงปีที่แล้วเพื่อนๆ ได้บวช แต่ผู้ใหญ่ ก็ให้รอเวลาเพื่อความพร้อมที่ดีที่สุด ซึ่งนับเป็นการเก็บเกี่ยว ประสบการณ์ ช ี ว ิ ต ในงานอภิบาลสำหรับผมจริงๆ มาในปีนี้ ผมต้องขอบคุณประสบการณ์อันพิเศษนี้ ที่ทำให้ชีวิตผมเข้มข้น ในการทำหน้าที่พระสงฆ์ ตามคติท ี่ผมใช้ดำเนินชีว ิตเสมอ “ในพระองค์ ขอพระองค์ทรงนำทาง” และสิ่งที่ผมมีความสุข ในชีวิตอีกสิ่งหนึ่งก็คือ “การบันทึกเรื่องราวชีวิตของผู้คนที่ผม ได้สัมผัส พบเจอผ่านทางถ่ายภาพ ผมวาดรูปไม่เป็น และสิ่งที่ ผมจะสามารถถ่ายทอดให้คนอื่นๆ เห็นพระในมุมมองที่ผมเห็น จึงเป็นที่มาของคนที่ถามผมว่า “ทำไมผมจึงชอบถ่ายรูป” วัยเด็กได้รับแรงบันดาลใจจากการไปช่วยมิสซาที่วัด บ่อยๆ ทีบ่ า้ นผมก็ปลูกฝังในเรือ่ งของความศรัทธา ตอนเด็ก ๆ จำได้ว่าต้องสวดสายประคำก่อนนอน เตี่ยกับแม่ก็เรียกลูกๆ มาสวดทุกคน ประกอบกับที่บ้าน พี่ชายเข้าบ้านเณรก่อนแล้ว พออายุ 11 ขวบพี่ชายชักชวนให้เข้าบ้านเณร จึงตัดสินใจไป สิง่ ทีป่ ระทับใจเมือ่ อยูบ่ า้ นเณรแล้วคือ “มิตรภาพของความเป็น เพื่อน” ผมมาอยู่บ้านเณรตั้งแต่เด็กๆ มีหลายสิ่งที่ต้องพัฒนา เพื่อนมีส่วนทำให้พัฒนาแล้วก้าวหน้าขึ้น ในแต่ละปีจะมีการ ทบทวนในเรือ่ งกระแสเรียกในแต่ละชัน้ ปี จะมีพระสงฆ์ให้คำแนะนำ และเติบโตก้าวหน้าต่อไป เวลา 7 ปี ที่ผมอยู่บ้านเณรใหญ่ สิ่งที่ได้รับคือ ความรับผิดชอบ และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น เป็นช่วงของการเตรียมตัวอย่างจริงจัง ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเรื่อง การเรียน งานอภิบาล เป็นการเรียนรู้ ก่อนทีเ่ ราจะบวชเป็นพระสงฆ์ แล้วอย่างน้อยทำให้เราคุ้นเคยกับสิ่งที่เราจะทำในอนาคต ปรั ช ญาในการดำเนิ น ชี ว ิ ต ของผมคื อ “ดำเนิ น ชี ว ิ ต อย่างดีที่สุด ตั้งใจในสิ่งที่เรากำลังทำอยู่ และทำอย่าง สุดความสามารถ อย่างทุ่มเท” แต่หากเกินกำลัง ก็ยอมรับ   ⌫⌫  ⌫   

“ผมไม่ใช่คนที่เก่งทุกเรื่อง และทำได้ประสบความสำเร็จ ในทุกเรื่อง” ผมยอมรับ และพร้อมแก้ไขปรับปรุงตัวเองเสมอ ผมคิดว่าผมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคนอื่นหรือเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมได้ สิง่ ทีผ่ มทำได้คอื เปลีย่ นแปลงตัวเองให้สามารถ ยอมรับและพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นไป ช่วงชีวิตที่ประทับใจของผม เป็นเรื่องของ “การอบรม ในการหล่อหลอมให้ผมเป็นพระสงฆ์ในอนาคต” ถามผมว่า คิดอย่างไรกับกระแสเรียกพิเศษนี้ ผมก็ตอบได้ว่ากระแสเรียก พระสงฆ์ เป็นกระแสเรียกเฉพาะ และพิเศษกับบุคคลหนึง่ กระแสเรียกนีต้ อ้ งได้รบั การหล่อหลอม เริม่ ตัง้ แต่การเรียน การอบรม ใช้ความพยายามอย่างเต็มความสามารถ หลายคน ยกมือไหว้พระสงฆ์ ผมคิดว่า พวกท่าน ไหว้กเ็ พราะท่านเหล่านัน้ เป็นคนของพระ เหมือนไหว้พระสงฆ์ แล้วก็ไหว้พระด้วย เพราะ พระสงฆ์เป็นผูแ้ ทนของพระ คงไม่ได้ไหว้เพราะเป็นตัวของเราเอง ความรูส้ กึ แรกเมือ่ รูว้ า่ จะได้รบั การบวชเป็นพระสงฆ์ “รูส้ กึ ตื่นเต้น” และในปีนักบุญเปาโลซึ่งตรงกับชื่อศาสนนามของผม สิง่ ทีผ่ มเห็นคือ การกลับใจของท่านนักบุญเปาโล และผมเองก็ได้ แบบอย่างคือการกลับใจของท่าน “ผมเองไม่ใช่คนเก่ง คนที่ดี พร้อมทุกอย่าง มีข้อบกพร่อง มีสิ่งที่ผิดพลาดในสิ่งที่ผ่านๆ มา” ผมนำข้อคิด และแบบอย่างของท่านนักบุญเปาโล มาใช้กับชีวติ ของผม และพัฒนาตัวผม ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิต และพัฒนาให้ตวั เองก้าวหน้ามีชวี ติ ทีส่ นิทสัมพันธ์กบั พระมากยิง่ ขึน้ ความตั้งใจแรก หลังจากรับศีลบวชคือ “การเรี ย นรู ้ จะทำหน้าที่ของการเป็นสงฆ์ที่ดี ทำหน้าที่ต่างๆ ที่ได้รับ มอบหมาย เป็นต้นในเรือ่ งงานอภิบาล ทำให้ดที ส่ี ดุ ” คำพูดที่ผมอยากบอกเตี่ย กับแม่ และครอบครัวก็คือ “ผมรู้สึกรัก และขอบคุณท่านที่ได้เลี้ยงดูมาอย่างดี และ พยายามจะอบรมสั่งสอนให้ผมเติบโตมาจนถึงทุกวันนี้ ขอบคุณในความรักและความทุม่ เททีม่ ใี ห้ ทำให้รสู้ กึ อบอุน่ ใจ และมีกำลังใจในชีวติ ต่อไป” อยากบอกว่า “รูส้ กึ ขอบคุณ และ รักเตีย่ กับแม่มากๆ ครับ”


ก็เลยสนับสนุนเป็นอย่างมาก และได้สวดขอพระให้ นอกจากนัน้ เรายังมีโอกาสได้ไปสัมภาษณ์ ลูกของแม่ได้บวชสำเร็จและเป็นพระสงฆ์ทด่ี ตี อ่ ไป คุ ณ แม่ ข องสั ง ฆานุ ก รศวง คื อ ลู ซ ี อ า ถวิ ล แต่ แ ม่ ก ็ บ อกกั บ บราเดอร์ ว ่ า “ขอให้ ต ั ้ ง ใจดี ๆ วิจติ รวงศ์ คุณแม่ได้เล่าให้ฟงั ว่า “ในครอบครัว แม่มลี กู ทัง้ หมด 11 คน ชาย 7 คน หญิง 4 คน และตัดสินใจเอง เพราะการบวชไม่ใช่เรื่องสบาย ถ้าเป็นก็ต้องเป็นให้ดีด้วย” สังฆานุกรศวงเป็นคนที่ 9 สมัยยังเล็กๆ ที่บ้าน มีอาชีพทำนา พี่น้องทุกคนจะช่วยกันทำงาน” จำได้ว่า หลังจากที่บราเดอร์เข้าบ้านเณร ตั ้ ง แต่ เ ล็ ก ๆ แม่ ค ิ ด ว่ า “เขาเป็ น คนมี ค วาม เขาเขี ย นจดหมายมาบอกกั บ แม่ ว ่ า “ขอบคุ ณ ที ่ ส อนให้ เ ขาซั ก ผ้ า เป็ น เพราะไปอยู ่ บ ้ า นเณร เอาใจใส่ ช่วยเหลืองานทุกอย่าง” ช่วยแม่ ทำงานก่อนไปโรงเรียน โดยไม่บน่ สักคำ (แม่เอง ต้องทำเองทุกอย่าง” เวลามีปญ ั หาอะไร ก็ไม่คอ่ ย รูส้ กึ ประทับใจ) และหลังจากกลับมาจากโรงเรียน เล่าให้แม่ฟังหรอก กลัวแม่คิดมากหรือเปล่าก็ไม่รู้ ก็ชว่ ยทำงานบ้าน ทำกับข้าว เขาไม่เคยทำอะไร คุณแม่ลซู อี า ถวิล วิจติ รวงศ์ เวลาคุยก็ถามทุกข์สขุ ว่าเป็นอย่างไร ก็เล่าสูก่ นั ฟัง ให้รู้สึกหนักใจเลย ในครอบครั ว ลู ก แม่ ก ็ อ ยู ่ ใ นโอวาทพอสมควร ในครอบครัวได้ส่งเสริมเรื่องความเชื่อ แม่ก็ขอบคุณพระนะ แม่มีลูก 11 คน เขาเป็นคน ที่ 9 ก็ช่วยแม่ดูแลน้องๆ เพราะแม่ต้องทำงาน ความศรัทธามาตัง้ แต่สมัยปูย่ า่ ตายาย เนือ่ งจาก เราเกิดมาในครอบครัวคาทอลิก ดิฉันพยายาม คนเดียว สำหรับพ่อเขาเป็นคนขยัน ทำงานหนัก จนเส้นทับกระดูก ป่วยตัง้ แต่เขายังไม่เข้าบ้านเณรเลย เป็นตัวอย่างทีด่ กี บั ลูกๆ จะพาลูกๆ ไปวัดด้วยกัน แต่เวลาพูดถึงบราเดอร์ทีไร พ่อเขาต้องร้องไห้ อย่างสม่ำเสมอ เวลาเข้าวัดก็สงั เกตว่า เขาแก้บาป ทุกครั้ง เหมือนกับภูมิใจในตัวลูกชายคนนี้ แต่ไม่ รับศีลหรือไม่ เมือ่ ไปโรงเรียนก็สนับสนุนให้เรียน สามารถไปร่วมงานบวชได้ คำสอน เมื่อทางวัดมีกิจกรรมก็สนับสนุนเสมอ ในส่ ว นตั ว แล้ ว สิ ่ ง ที ่ แ ม่ ม องเห็ น ในตั ว และก่อนนอนเราก็สวดภาวนาด้วยกัน และคิดว่า พระสงฆ์กค็ อื เป็นผูแ้ ทนของพระ แม่ยงั เคารพ การได้คลุกคลีกบั วัด และการเป็นเด็กช่วยมิสซา รักในกระแสเรียกพระสงฆ์ แม่ว่าพระสงฆ์ ก็ช่วยให้เขาใกล้ชิดกับวัด กับพระมากขึ้น และ คุณพ่อแบรนาโด เขาเสี ย สละหลายอย่ า ง เราต้ อ งสวดให้ เมื่อวันที่มาขอเข้าบ้านเณร แม่เองก็ดีใจและ สนิท วิจติ รวงศ์ พวกเขามากๆ และเวลาใครพู ด ถึ ง พระสงฆ์ สนั บ สนุ น แม่ เ ห็ น ว่ า การเป็ น พระสงฆ์ ห รื อ นักบวชนั้นเป็นผู้ที่ทำงานให้กับพระศาสนจักร ในส่วนลึกของแม่ ในแง่เสียหาย แม่กไ็ ม่อยากฟัง วันนีท้ เ่ี ขาจะได้รบั ศีลบวช แม่กด็ ใี จ แม่ชอบพระสงฆ์ในการถวายมิสซา ชอบในเรื่องการเทศน์สอน ภูมใิ จทีล่ กู เข้มแข็ง อดทน ตัง้ ใจจริง รับผิดชอบ มีความเป็นผูใ้ หญ่ จนครั้งหนึ่งเคยรู้สึกประทับใจกับการเทศน์ของพระสงฆ์องค์หนึ่ง แม่รู้สึกภูมิใจในตัวลูกชายคนนี้มาก ทีม่ าเทศน์ทว่ี ดั ของแม่ คือ คุณพ่อศวง ศุระศรางค์ ชอบบทเทศน์ ดีใจทีเ่ ขาบอกแม่วา่ “เขาไม่เคยท้อถอย ไม่เคยลังเลใจ และท่าทางของท่านมาก ช่วงนั้นประกอบกับกำลังตั้งครรภ์ ในเรื่องกระแสเรียก” ก็จะสวดให้เขาทุกวัน และอยากฝาก คิดในใจว่า “ถ้าได้ลกู ชายจะตัง้ ชือ่ ว่า “ศวง” และอยากให้เป็น ให้ ท ุ ก คนช่ ว ยกั น สนั บ สนุ น กระแสเรี ย กพระสงฆ์ นั ก บวชให้ พระสงฆ์ ด ้ ว ย” แล้ ว ก็ ไ ด้ ส มใจ เมื ่ อ โตขึ ้ น ขอไปเป็ น เณร เพิ่มขึ้นๆ

ขอร่วมเป็นกำลังใจ และภาวนาเพื่อกระแสเรียกที่มั่นคง ให้กับพระสงฆ์ใหม่ของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และขอ เชิญชวนทุกท่านไปร่วมพิธบี วชพระสงฆ์ เปาโล ศวง วิจติ รวงศ์ วันเสาร์ท่ี 24 มกราคม ค.ศ. 2009 เวลา 10.30 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธาน ณ วัดนักบุญเปาโล บ้านนา จ.นครนายก  ⌫⌫  ⌫    




บทความ

 

ณ วินาทีนั้นที่เด็กตัวน้อยๆ ค่อยๆ เกร็งมือชันเข่าขึ้น เดิ น ได้ เ ป็ น ก้ า วแรก เป็ น วิ น าที แ ห่ ง ความปี ต ิ ส ุ ข สำหรั บ คุณพ่อคุณแม่ และใครต่อใครอีกหลายคน ที่ปักสายตาจ้อง ลุ้นอยู่ ต่อจากนี้ไปทุกก้าวย่างที่เด็กน้อยผู้นี้เคลื่อนไหว เดินออกไปร่วมชีวิตกับผู้คน ตัวตนของเขาก็จะค่อยๆ เผย แสดงออกและพัฒนาขึน้ ปรากฏต่อสายตาของผูค้ นทัง้ หลาย ผูค้ นรอบข้างจะไม่ปรบมือชืน่ ชมให้กบั เขาเหมือนเมือ่ ครัง้ แรก ที่เริ่มต้นเดินได้อีกแล้ว แต่จะปรบมือให้หรือไม่ขึ้นอยู่ที่ว่า ชีวติ ของเขาได้เติบโตขึน้ บรรลุถงึ เป้าหมายของชีวติ ทีพ่ ระเจ้า ทรงจัดเตรียมไว้ให้กับเขาหรือไม่ ตลอดเส้นทางชีวิตที่เขา ก้าวเดินอยู่ สำหรับเราคริสตชนทีไ่ ด้รบั ศีลล้างบาปเป็นลูกของ พระ “ธรรมชาติ” ชีวิตของเราก็คือการเป็น “ธรรมทูต ผูเ้ ผยแผ่ธรรม” หมายความว่า ทุกสิง่ ทีเ่ รา “มี” ทุกสิง่ ทีเ่ รา “เป็น” นับตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้รบั ศีลล้างบาปเป็นต้นไป จะถูก ปรับเปลีย่ นให้มไี ว้และเป็นอยูเ่ พือ่ ทำหน้าทีเ่ ป็นสะพาน เชือ่ มชีวติ ของพระเจ้าและพระธรรมคำสอนของพระองค์ เข้ามาสู่ชีวิตของเราอย่างต่อเนื่อง และในขณะเดียวกัน ก็เป็นสะพานเชือ่ มชีวติ ของเรากับเพือ่ นพีน่ อ้ งรอบข้าง ทำให้ ชีวติ ของพระเจ้าและพระธรรมคำสอนของพระองค์ถา่ ยเทผ่าน จากชีวิตของเราเข้าสู่ชีวิตของเพื่อนพี่น้องรอบข้างเหล่านั้น วิถีชีวิตเช่นนี้ต้องจัดให้มีอยู่ และพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องใน ชีวติ ของเด็กๆ ลูกหลานของเราทีไ่ ด้รบั ศีลล้างบาปแล้วทุกคน ตั้งแต่วัยเด็ก โดยไม่รีรอจนชีวิตของเขาผ่านวัยเด็กไปอย่าง น่าเสียดาย ต้องช่วยส่งเสริมให้พวกเขากลายเป็น “ธรรมทูต เด็ก” เมื่อยังอยู่ในวัยเด็ก และพัฒนาขึ้นเป็น “ธรรมทูต หนุม่ สาว” เมือ่ ก้าวย่างเข้าสูว่ ยั รุน่ เพือ่ จะได้ตอบรับพระเจ้าเป็น ธรรมทูตให้กบั พระองค์ในกระแสเรียกรูปแบบต่างๆ ต่อไปอีก เมือ่ พวกเขาก้าวเข้าสูว่ ยั ผูใ้ หญ่ พัฒนาการชีวิตธรรมทูตเริ่มต้นด้วยการทำให้เด็กๆ ของเรามีสายตาเป็น “สายตาธรรมทูต” เป็นสายตาทีใ่ ส่ใจมอง   ⌫⌫  ⌫   

ออกไปรอบข้าง มองออกไปให้ไกลจากชีวิตของตนที่เป็นอยู่ เพื่อเข้าสัมผัสรับรู้ร่วมอยู่ในชีวิตของผู้คนทั้งหลาย จนเกิด ความรูส้ กึ ภายในจิตใจเหมือนดังที่สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ได้ตรัสไว้วา่ “เราจะมีดวงจิตสงบนิง่ ไม่ได้ เมื่อนึกถึงพี่น้องชายหญิงของเราอีกเป็นจำนวนล้านๆ ที ่ ไ ด้ ร ั บ การไถ่ โ ทษแล้ ว เช่ น กั น ด้ ว ยพระโลหิ ต ของ พระคริสต์ แต่ยังมีชีวิตอยู่ในความไม่รู้ถึงความรักของ พระเจ้า” เมือ่ สายตาธรรมทูตทำให้เกิดความรักต่อเพือ่ นพีน่ อ้ ง ผุดขึ้นภายในหัวใจแล้ว ต้องส่งเสริมให้มือและเท้าของเด็กๆ ได้กลายเป็น “มือและเท้าธรรมทูต” ทีย่ นิ ดีกา้ วเดินออกไปยืน่ มือ ช่วยเหลือผู้คนให้ได้มีโอกาสเข้าสัมผัสความรักของพระเจ้า จนชีวติ ได้รบั การไถ่โทษด้วยพระโลหิตของพระองค์ ผ่านทาง ชีวิตของเด็กๆ ในรูปแบบต่างๆ แบบเด็กๆ ที่เขาเป็นอยู่ และในที่สุดส่งเสริมให้หัวใจของเด็กๆ กลายเป็น “หัวใจ ธรรมทูต” ทีจ่ ะภาวนาให้กบั ผูค้ นรอบข้างอย่างไม่หยุดหย่อน พร้ อ มๆ กั บ การมอบชี ว ิ ต ของตนให้ อ ยู ่ ใ นพระหั ต ถ์ ข อง พระองค์ตลอดไป ในโอกาสที่ปีนี้ ปี ค.ศ. 2009 องค์การสหประชาชาติ ประกาศให้เป็น “ปีเด็ก” พ่อขอเชิญชวนให้พน่ี อ้ งใส่ใจทีจ่ ะ ช่วยพัฒนาชีวติ เด็กๆ ของเราให้เติบโตขึน้ ในธรรมชาติ ที่พวกเขาควรจะเป็น ตามที่พระเจ้าทรงมุ่งหมายไว้ สำหรับพวกเขาแต่ละคน คือให้มีชีวิตเป็นธรรมทูต ตามธรรมชาติชวี ติ คริสตชนของพวกเขา เพือ่ พวกเขาจะได้ ภูมใิ จในความเป็นเด็กของพวกเขาเอง และเราทัง้ หลายก็จะได้ ร่วมภูมใิ จในตัวของพวกเขาไปด้วยพร้อมๆ กัน อันจะส่งผลให้ เกิดเสียงปรบมือชื่นชมสำหรับพวกเด็กๆ ในระหว่างเด็กๆ ด้วยกัน และจากพวกเราที่เป็นผู้ใหญ่ของพวกเขา อย่าหลง เข้ า ใจผิ ด ว่ า ชี ว ิ ต ธรรมทู ต เป็ น ได้ เ ฉพาะผู ้ ใ หญ่ เ ท่ า นั ้ น เพราะแท้ที่จริงแล้วทุกคน ล้วนเป็นธรรมทูตได้เท่าเทียมกัน ตามวัยแห่งชีวติ ในรูปแบบของตน


บอกข่าวเล่าสาร     

ชุมนุมครูคำสอน ครัง้ ที่ 8 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ที่ผ่านมา พระคาร์ดินัล ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานในพิธมี สิ ซาแต่งตัง้ ครูคำสอน และมอบเกียรติบัตรครูคำสอนแบบอย่าง โดยช่วงเช้า มีคณ ุ พ่อชวลิต กิจเจริญ จิตตาภิบาลเขต 5 ให้ข้อคิดเรื่อง ครูคำสอนมืออาชีพ และช่วงบ่าย คุณพ่อชัยยะ กิจสวัสดิ์ ให้ ข้ อ คิ ด เรื ่ อ ง พระวาจา เป็ น ข่ า วดี และพลังชีวติ

ฉลองวัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ และชุมนุมเคารพศีลมหาสนิท เขต 2 วันศุกร์ท่ี 5 ธันวาคม ค.ศ. 2008 พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธาน ในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสฉลองวัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ และชุมนุมเคารพ ศีลมหาสนิท เขต 2 โดยมีคณ ุ พ่อชาญชัย ทิวไผ่งาม หัวหน้าพระสงฆ์เขต 2 คุณพ่อเจ้าอาวาส และผูอ้ ำนวยการสภาภิบาลวัดเขต 2 ต่างร่วมมือร่วมใจ จัดงานกันอย่างพร้อมเพรียง

ชุมนุมบุคลากรอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และฉลอง 72 ปี คุณพ่อจำเนียร กิจเจริญ เมือ่ วันที่ 4-5 ธันวาคม ทีผ่ า่ นมา คุณพ่อจำเนียร กิจเจริญ อุปสังฆราชอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ จัดกิจกรรมวันบุคลากรอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พร้อมด้วยพระสงฆ์ผอู้ ำนวยการ ฝ่ายต่างๆ และเจ้าหน้าทีก่ ว่า 200 คน ร่วมกิจกรรมวันบุคลากร แสวงบุญโอกาสปีนกั บุญเปาโล และฉลอง 72 ปี คุณพ่อจำเนียร กิจเจริญ ณ บ้านผูห้ ว่าน สามพราน วันชุมนุมครอบครัว ประจำปี 2008 แผนกส่งเสริมชีวิตครอบครัว และคณะกรรมการ บริ ห ารงานส่ ง เสริ ม ชี ว ิ ต ครอบครั ว (สชค.) อั ค รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดงาน “วันชุมนุมครอบครัว ประจำปี 2008” ที่วัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ และบ้ า นสวน ย อ แ ซ ฟ สามพราน เมื่อวันที่6 ธั น วาคม มี สมาชิ ก สชค. เข้ า ร่ ว มงาน กว่า 600 คน

ฉลอง 333 ปี วัดคอนเซ็ปชัญ วันอาทิตย์ท่ี 7 ธันวาคม ค.ศ. 2008 เวลา 17.30 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานในพิธี เสกวัดคอนเซ็ปชัญครบรอบ 333 ปี ทีบ่ รู ณะใหม่ โดยมี คุณพ่อกิตติศกั ดิ์ กาญจนธานินทร์ เจ้าอาวาส กล่าวเล่าประวัตขิ องวัด หลังจากพิธจี บ น.อ. ศราวุธ วงค์เงินยวง ผูอ้ ำนวยการสภาภิบาล ได้กล่าวขอบพระคุณ พระคุณเจ้า ฯ ในความกรุณาทีพ่ ระคุณเจ้ามาเป็น ประธาน และได้กรุณาอนุมตั กิ ารบูรณะวัดใหม่ คริสตชนทุกท่านต่างขอบพระคุณ วันผูส้ งู อายุ เขต 3 เมื ่ อ วั น ที ่ 10 ธั น วาคม ค.ศ. 2008 วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ ได้เป็นเจ้าภาพ จัดงานวันผูส้ งู อายุ เขต 3 โดยคุณพ่อสำรวย กิจสำเร็จ เป็นประธานในพิธีงานนี้จัดขึ้น เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ ประสานใจในกลุ่ม ผู ้ ส ู ง อายุ ภ ายในเขต 3 อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ

 ⌫⌫  ⌫    


เกร็ดความรู้คำสอน ⌫ 

ทั น ที ท ี ่ พ ี ่ น ้ อ งแต่ ล ะท่ า นเปิ ด สารอั ค รสังฆมณฑลฯ ฉบับเดือนมกราคม 2009 ขึน้ มา อ่าน ก็นบั ได้วา่ พีน่ อ้ งได้กา้ วข้ามปีเก่าค.ศ. 2008 เข้าสูป่ ใี หม่ ค.ศ. 2009 เรียบร้อยแล้ว ก่อนอืน่ ใดหมด พ่ อ ขอร่ ว มยิ น ดี กับพี่น้องทุกท่านๆ ทีพ่ ระเจ้าทรงพระกรุณาโปรดประทานปีใหม่นี้ ให้กบั พีน่ อ้ ง สวัสดีปใี หม่ครับ ขอให้พระพรแห่ง วันพระคริสตสมภพทีเ่ ราเพิง่ ฉลองกัน เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 2008 ทีผ่ า่ นมา ได้นำพาชีวติ ของพี่น้องท่านผู้อ่านให้อิ่มเอิบในพระพรของ พระกุมารเยซูเจ้าตลอดปีใหม่ ค.ศ. 2009 นีเ้ สมอ ในโอกาสเข้ า สู ่ เ ทศกาลเตรี ย มรั บ เสด็ จ พระคริสตเจ้าเป็นอาทิตย์แรก เมื่อปลายเดือน พฤศจิกายน ทีผ่ า่ นมา สมเด็จพระสันตะปาปา เบเนดิกต์ ที่ 16 ได้ทรงให้ถ้อยคำเกี่ยวกับ เรือ่ งของ “เวลา” ไว้อย่างน่าฟังว่า “ในขณะที่ เรามนุษย์มกั จะบ่นว่า มีเวลาไม่พอ พระเจ้า ผู้ทรงอยู่เหนือกาลเวลา ทรงนำชีวิตของ พระองค์เข้ามาร่วมอยูก่ บั เราในประวัตศิ าสตร์ ชาติมนุษย์และทรงประทานเวลาในชีวติ ของ พระองค์ให้แก่เรา เพื่อทำให้ช่วงเวลาที่ทรง มอบให้กบั เรานัน้ กลายเป็นช่องทางนำเรากลับ เข้าไปร่วมชีวติ เป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ที่อยู่ เหนือกาลเวลาได้ตลอดไปอย่างน่าอัศจรรย์” พระพรแห่งเวลาในปีใหม่ทพ ่ี ระเจ้าทรง พระเมตตาประทานให้กบั เราแต่ละคนนัน้ มี เป้าหมายสุดท้ายก็เพื่อเป็นโอกาสให้เรา สามารถเดินผ่านช่วงเวลาบนโลก ก้าวข้ามไปสู่ ชีวติ ของพระเจ้าทีท่ รงอยูเ่ หนือกาลเวลาบน โลกนีใ้ ห้จงได้ เหมือนทีส่ มเด็จพระสันตะปาปา ได้ตรัสไว้นั้น อย่างไรก็ตามไม่มีใครรู้ได้ว่า พระองค์จะทรงพระเมตตาประทานเวลาแห่ง ปีใหม่นแ้ี ก่เรายาวนานมากน้อยเพียงใด พี ่ น ้ อ งท่ า นผู ้ อ ่ า นที ่ เ คารพ จะดี ไ หม? หากเราจะใช้ เ วลาตั ้ ง แต่ ช ่ ว งต้ น ๆ ของ ปีใหม่น้ี นำชีวติ ของเราเดินก้าวข้ามเรือ่ งราว บนโลกนี้เข้าร่วมชีวิตกับพระเจ้าผู้ทรงอยู่ เหนือกาลเวลาบนโลกนี้กัน ตั้งแต่ต้นปี พ่ อ คิ ด ว่ า เราควรทำคะแนนเต็ ม ในเรื ่ อ งนี ้ กันไว้ตั้งแต่ต้นปีดีกว่าไปดิ้นรนกดดันตัวเอง ให้ต้องทำคะแนนเพิ่มให้เต็ม เพื่อร่วมชีวิต กับพระเจ้าในช่วงท้ายๆ ของปีอย่างหน้าดำ คร่ำเครียดซึ่งก็ไม่รู้ว่าชีวิตจะได้อยู่ดิ้นรนกันถึง ช่วงเวลานัน้ ๆ ได้จริงหรือไม่

มนุษย์เรานับกาลเวลาตามวิถีโคจรของดวงจันทร์หรือ ดวงอาทิตย์ แบบใดแบบหนึ่งตามความใกล้ชิด หรือความ เชื่อถือที่มีต่อดวงจันทร์ หรือดวงอาทิตย์ ในที่นี้ขอกล่าวถึง การนับเวลาของสองชาติที่มีความสัมพันธ์กับประวัติและ พิธกี รรมของคริสตศาสนาอย่างใกล้ชดิ คือ ชาวโรมันและชาวยิวเท่านัน้ ชาวโรมันเดิม เริม่ นับปีใหม่ในเดือนมีนาคม ครัน้ ถึงปีท่ี 46 ก่อนคริสตศักราช ได้เริม่ นับวันที่ 1 มกราคม เป็นวันขึน้ ปีใหม่ สำหรับชาวยิวนั้น แต่เดิมนับวันขึ้นปีใหม่ในเดือนที่ชื่อว่า Nisan (ตกในระหว่างเดือน มีนาคม–เมษายน) และถือดังนีเ้ รือ่ ยมาจนถึงสมัย “หลังเนรเทศ” (ปี 539 ก่อนคริสตศักราช) จึงถือ เอาเดือนที่ 7 เป็นวันขึน้ ปีใหม่ เทศกาลฉลองแรกๆ ของคริสตัง คริสตังในศตวรรษแรกๆ ที่อยู่ในกลุ่มพวกยิวเอง ถือปฏิทิน 2 แบบเหมือนกับพวกยิวอืน่ ๆ คือ แบบยิวเดิม ซึ่งแบ่งปีหนึ่งออกเป็น 52 สัปดาห์ และวันฉลองต่างๆ ในรอบสัปดาห์นั้น ตกเป็น วันเดียวกันเสมอไม่มีเปลี่ยนแปลงทุกปีไป เช่น วันสำหรับประกอบพิธีกรรมคือ วันอาทิตย์ พุธ และศุกร์ การถือเช่นนีน้ บั เป็นการถือตามปีสรุ ยิ คติ การถือปฏิทนิ แบบทีส่ อง หรือตามแบบของบ้านเมือง (มีผลทางกฎหมาย) คือ ถือปีหนึง่ ประกอบ ด้วย 12 เดือน และนับตามจันทรคติ การถือแบบนีท้ ำให้วนั ฉลองต่างๆ ในรอบสัปดาห์เปลีย่ นไปทุกปี เช่น วันปัสกา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม คริสตังแรกๆ ยังกำหนดวันสำคัญหรือวันฉลองโดยเฉพาะ ของตนด้วย คือ ฉลองปัสกาแห่งการกลับคืนชีพของพระคริสตเจ้าในทุกสัปดาห์ ซึง่ ตกในวันอาทิตย์ เสมอ ซึง่ พวกเขาเรียกว่า “วันต้นสัปดาห์”(กจ 20:7) หรือ “วันของพระเจ้า” (วว 1:10) สำหรับวันสมโภชปัสกาประจำปีนน้ั นอกจากฉลองในกลุม่ คริสตังยิวแล้ว ในทีอ่ น่ื ๆ เริม่ ฉลองก็ใน ราวครึ่งคริสตศตวรรษที่สองเท่านั้น วันฉลองอื่นๆ เช่น พระคริสตสมภพ ก็ราวคริสตศตวรรษที่ 4 และวันฉลองนักบุญต่างๆ นัน้ ก็นำเข้ามาฉลองเรือ่ ยมา วันฉลองต่างๆ ทีก่ ล่าวมานัน้ เป็นวันฉลองคงที่ คือ ไม่เปลีย่ นไม่วา่ ปีใด ตามแบบการนับวันตามสุรยิ คติของชาวโรมัน ปฏิทินคริสตัง ปฏิทนิ คริสตังเริม่ มีรปู ร่างขึน้ มาตามทีพ่ ระศาสนจักรแต่ละท้องทีใ่ ช้กนั โดยแต่ละแห่งจะเพิม่ วัน ฉลองนักบุญเฉพาะแห่งนัน้ ๆ เข้าไปด้วย ในคริสตศตวรรษที่ 13 คณะนักพรตฟรังซิสกันได้ทำ ปฏิทนิ ทำวัตรและมิสซาของคูเรียโรมัน หรือ ของคณะกรรมการบริหารงานกลางที่กรุงโรมมาใช้ เป็นการพยายามรวบรวมวันฉลองต่างๆ ให้เป็นแบบเดียวกัน ซึ่งการถือปฏิทินวันฉลองตามแบบนี้ได้แพร่หลายไปโดยรวดเร็ว ต่อมามี การเปลี่ยนแปลงวันฉลองบ้างในพระศาสนาจักรแต่ละแห่ง แต่ว่าการมีปฏิทินให้เหมือนกันเป็น สากลทัว่ ไปในพระศาสนจักรนัน้ มีจริงๆ ก็ในสมัยปฏิรปู ของสมเด็จพระสันตะปาปาปีโอ ที่ 5 (ราว ค.ศ.1570) ในครัง้ นัน้ มีวนั ฉลองนักบุญประจำมิสซา 172 องค์ ในอีกสองศตวรรษต่อมาวันฉลองอืน่ ๆ ได้ถกู นำมาไว้ในปฏิทนิ มากมาย จนเกินความพอดี จน สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ท่ี 14 (ค.ศ.1740–1758) ได้ทรงตัง้ คณะกรรมการเพือ่ พิจารณาเรือ่ งนี้ สมัยปฏิรูปของสมเด็จพระสันตะปาปาปีโอ ที่ 10 (ค.ศ.1911) สภาพการณ์ยิ่งหนักลงไปอีก เพราะในมิสซาวันหนึ่งๆ นั้นมีการเพิ่มการฉลองนักบุญมากขึ้น จนไม่มีวันปลอดนักบุญเลย แม้กระทัง่ วันธรรมดาในเทศกาลมหาพรต ในปี ค.ศ.1955 สมเด็จพระสันตะปาปาปีโอ ที่ 12 ได้ประกาศการปฏิรปู ประมวลกฎระเบียบ พิธกี รรม (rubrics) ซึง่ มีลกั ษณะเรียบง่ายกว่าเดิม มาถึงสมัยสมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ที่ 23 ได้ทรงประกาศกฎใหม่ (25 กรกฎาคม ค.ศ.1960) โดยให้วนั อาทิตย์เป็นวันปลอดนักบุญมากขึน้ สมัยสภาสังคายนาวาติกนั ที่ 2 ในสังฆธรรมนูญว่าด้วยพิธกี รรมได้สง่ั ให้มกี ารศึกษาและแก้ไข ปฏิทินคริสตังเสียใหม่ โดยให้พิธีกรรมประจำปีเป็นการฉลองธรรมล้ำลึกแห่งปัสกา ซึ่งไม่ว่า ในรูปใด ธรรมล้ำลึกนี้จะต้องแสดงให้เห็นเด่นชัดเสมอ (เรียบเรียงจากหนังสือพิธกี รรม เล่ม 2 ของคุณพ่อสำราญ วงศ์เสงีย่ ม, วิทยาลัยแสงธรรม 2526, หน้า 1-7)

ปีใหม่นี้ไม่ว่าจะมีปัญหาใด หากเราปฏิบัติตามคำสอนของพระเยซูเจ้า เราจะสามารถกล่าว เหมือนนักบุญเปาโลว่า “พระเจ้าทรงบันดาลให้ทกุ สิง่ กลับเป็นประโยชน์แก่ผทู้ ร่ี กั พระองค์” (โรม 8:28)                  ⌫  ⌫                    ⌫ ⌦  ⌫                      ⌫  ⌫              ⌫          


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.