นวัตกรรมการศึกษา

Page 1



จัดทำำโดย



นวัตกรรม หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่ งประดิษฐ์ ใหม่ ๆ ทีย่ งั ไม่ เคยมีใช้ มาก่อน หรือเป็ นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมทีม่ อี ยู่แล้ว ให้ ทนั สมัย และใช้ ได้ ผลดียงิ่ ขึน้ เมือ่ นำา นวัตกรรมมาใช้ จะช่ วยให้ การทำางานนั้นได้ ผลดีมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลสู งกว่าเดิม ทั้งยังช่ วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ ด้ วย


คำาว่ า นวัตกรรม เป็ นคำาทีค่ ่อนข้ างจะใหม่ ในวงการศึกษาของไทย คำานี้ เป็ นศัพท์ บัญญัติของคณะกรรมการพิจารณาศัพท์ วชิ าการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำากริยาว่ า innovate แปลว่ า ทำาใหม่ เปลีย่ นแปลงให้ เกิดสิ่ งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้ คาำ ว่า “นวกรรม” ต่ อมาพบว่ า คำานีม้ คี วามหมายคลาดเคลือ่ น จึงเปลีย่ นมาใช้ คาำ ว่า นวัตกรรม (อ่านว่ า นะ วัด ตะ กำา) ซึ้งได้ มผี ู้ให้ ความหมายไว้หลากหลายความหมายดังนี้


ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ ให้ ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็ นการนำาวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัตหิ ลังจากได้ ผ่ านการทดลองหรือได้ รับการพัฒนามาเป็ นขั้น ๆ แล้ ว เริ่มตั้งแต่ การคิดค้ น (Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็ นไปในรู ปของ โครงการทดลองปฏิบัตกิ ่ อน (Pilot Project) แล้ว จึงนำาไปปฏิบัตจิ ริง ซึ่งมีความแตกต่ างไปจาก การปฏิบัตเิ ดิมทีเ่ คยปฏิบัตมิ า


มอร์ ตนั (Morton,J.A.) ให้ ความหมาย “นวัตกรรม” ว่ าเป็ นการ ทำาให้ ใหม่ ขนึ้ อีกครั้ง(Renewal) ซึ่งหมาย ถึง การปรับปรุ งสิ่ งเก่ าและพัฒนา ศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่ วย งาน หรือองค์ การนั้น ๆ นวัตกรรม ไม่ ใช่ การขจัดหรือล้ มล้ างสิ่ งเก่ าให้ หมดไป แต่ เป็ นการ ปรับปรุ งเสริมแต่ งและพัฒนา


ไชยยศ เรืองสุ วรรณ ได้ ให้ ความหมาย นวัตกรรม ไว้ ว่าหมายถึง วิธีการปฏิบัตใิ หม่ ๆ ที่ แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้ มาจากการคิดค้น พบวิธีการใหม่ ๆ ขึน้ มาหรือมีการปรับปรุ งของ เก่าให้ เหมาะสมและสิ่ งทั้งหลายเหล่านีไ้ ด้ รับการ ทดลอง พัฒนาจนเป็ นทีเ่ ชื่อถือได้ แล้วว่าได้ ผลดี ในทางปฏิบัติ ทำาให้ ระบบก้าวไปสู่ จุดหมาย ปลายทางได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพขึน้


จรู ญ วงศ์ สายัณห์ ได้ กล่าวถึงความหมายของ นวัตกรรม ไว้ ว่า แม้ ในภาษาอังกฤษเอง ความหมายก็ต่างกันเป็ น 2 ระดับ โดยทัว่ ไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็ นผลสำ าเร็จหรือไม่ มากน้ อย เพียงใดก็ตามทีเ่ ป็ นไปเพือ่ จะนำาสิ่ งใหม่ ๆ เข้ ามาเปลีย่ นแปลงวิธีการทีท่ าำ อยู่ เดิมแล้ว กับอีกระดับหนึ่งซึ่งวงการวิทยาศาสตร์ แห่ งพฤติกรรม ได้ พยายามศึกษาถึงทีม่ า ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบทีม่ ีอยู่ต่อกลุ่มคนที่ เกีย่ วข้ อง คำาว่ า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่ งทีไ่ ด้ นำาความเปลีย่ นแปลง ใหม่ เข้ ามาใช้ ได้ ผลสำ าเร็จและแผ่ กว้ างออกไป จนกลายเป็ นการปฏิบัตอิ ย่ าง ธรรมดาสามัญ


นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation ) หมายถึง นวัตกรรมทีจ่ ะ ช่ วยให้ การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิ ทธิภาพดียงิ่ ขึน้ ผู้เรียนสามารถเกิด การเรียนรู้ อย่างรวดเร็วมีประสิ ทธิผลสู งกว่ าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้ วย นวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้ อกี ด้ วย ในปัจจุบันมีการใช้ นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่ าง ซึ่งมีท้งั นวัตกรรมทีใ่ ช้ กนั อย่ างแพร่ หลาย แล้ ว และประเภททีก่ าำ ลังเผยแพร่ เช่ น การเรียนการสอนทีใ่ ช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้ แผ่ นวีดที ศั น์ เชิงโต้ ตอบ (Interactive Video) สื่ อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์ เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็ นต้ น


ตัวอย่างนวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )

คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Aids Instruction)

สื่ อหลายมิติ ( Hypermedia )

อินเทอร์ เน็ต [Internet]


เทคโนโลยี หมายถึงการใช้ เครื่องมือให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ ในการแก้ ปัญหา ผู้ทนี่ ำาเอาเทคโนโลยีมาใช้ เรียกว่านักเทคโนโลยี (Technologist) เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรู ปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี (วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ ทวี่ ่าด้ วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำาวิธีการ มาปรับปรุงประสิ ทธิภาพของการศึกษาให้ สูงขึน้ เทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และ วิธีการ


ซึ่งอาจจะพิจารณาจาก ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยี ได้ เป็ น 2 ประการ คือ

1. ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์ กายภาพ ตามความคิดรวบยอดนี้ เทคโนโลยี ทางการศึกษาหมายถึง การประยุกต์ วทิ ยาศาสตร์ กายภาพ ในรู ปของสิ่ งประดิษฐ์ เช่ น เครื่องฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้ สำาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็ น ส่ วนใหญ่ การใช้ เครื่องมือเหล่านี้ มักคำานึงถึงเฉพาะการควบคุมให้ เครื่องทำางาน มัก ไม่ คาำ นึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่ างระหว่ างบุคคล และ การเลือกสื่ อให้ ตรงกับเนือ้ หาวิชา


2. ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็ นการนำาวิธีการทางจิตวิทยา มนุษย วิทยา กระบวนการกลุ่ม ภาษา การสื่ อความหมาย การบริหาร เครื่องยนต์ กลไก การ รับรู้ มาใช้ ควบคู่กบั ผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม เพือ่ ให้ ผู้เรียน เปลีย่ น พฤติกรรมการเรียนรู้อย่ างมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึน้ มิใช่ เพียงการใช้ เครื่องมืออุปกรณ์ เท่ านั้น แต่ รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เข้ าไปด้ วย มิใช่ วสั ดุ หรืออุปกรณ์ แต่ เพียง อย่ างเดียว


ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงนวัตกรรมกับเทคโนโลยี เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็ นคำาทีม่ ักจะใช้ ควบคู่กนั เสมอ ๆ เช่ น ใช้ คาำ ว่ า นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือ เทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือแม้ แต่ คาำ ว่ า นวัตกรรม เทคโนโลยี (ไม่ มคี าำ ว่ า“และ”)หรือในรูปรวมกันเป็ นคำาเดียวในลักษณะย่ นย่ อเกิดเป็ น คำาศัพท์ ใหม่ ใภาษาอังกฤษ เช่ น Technology and Innovation หรือ Innovation and Technology หรือ Innotech (ชื่อหน่ วยงาน) เป็ นต้ น แสดงให้ เห็นว่ าทั้ง 2 คำามีความ ข้ องสั มพันธ์ กนั อย่ างใกล้ ชิด ดังทีม่ ผี ู้เปรียบเทียบว่า “นวัตกรรมเป็ นเสมือนหน่ อไม้ ส่ วนเทคโนโลยีเทียบได้ กบั ลำาไม้ ไผ่ หรือกอไผ่ ” อธิบาย ได้ ว่า เทคโนโลยีต้องผ่ านขั้น ตอนการเป็ นนวัตกรรมมาก่ อน ในทางกลับกันถ้ าไม่ มลี าำ ไม้ ไผ่ หรือกอไผ่ (เทคโนโลยี) ก็ไม่ มโี อกาสจะมีหน่ อไม้ (นวัตกรรม) ได้ ด้วยเช่ นกัน ดังนั้น เทคโนโลยี และนวัตกรรมจึงเกีย่ วข้ องกันในลักษณะ “วงวัฏจักรของการพัฒนา” ทีไ่ ม่ มกี ารสิ้น สุ ด


ภาพที่ 1 แสดงการเปลีย่ นแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี


ภาพที่ 2 แสดงความสั มพันธ์ ระหว่างนวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีการศึกษา


กระบวนกำรของนวัตกรรม การทำางานใด ๆ ก็ตามถ้ ามีการกระทำาเป็ นปกติวสิ ั ย หรือ เป็ นที่ ยอมรับและใช้ กนั โดยทัว่ ไปแล้ว ยังไม่ ถอื ว่ าเป็ นนวัตกรรม แต่ นวัตกรรมจะ เกิดขึน้ เมื่อไหร่ น้ันจะมีกระบวนการของนวัตกรรม ซึ่งมีนักการศึกษานัก วิชาการ ทั้งในและต่ างประเทศได้ กล่าวไว้ พอสรุ ปได้ แบ่ งออกได้ เป็ น 3 ระยะ คือ


ระยะที่ 1 การประดิษฐ์ คดิ ค้ น (Invention) เป็ นระยะทีม่ ีการคิดสร้ างสรรค์ แนวคิดใหม่ วิธีการใหม่ หรือสิ่ งใหม่ หรือเป็ นการพัฒนา ปรับปรุ งเปลีย่ นแปลงหรือ เพิม่ เติม แนวคิดเดิม วิธีการเดิมหรือสิ่ งเดิม เพือ่ ให้ เหมาะสมกับสภาพงาน ทันสมัย ตลอดจนเพิม่ ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของการทำางานให้ สู งขึน้


ระยะที่ 2 การพัฒนา (Development) เป็ นระยะทีน่ ำาสิ่ งทีค่ ดิ ขึน้ ในระยะ ที่ 1 มาทำาการทดลองใช้ เพือ่ ทีจ่ ะดูว่าสิ่ งทีค่ ดิ ขึน้ นั้น มีประสิ ทธิภาพจริงและน่ าเชื่อ ถือแค่ ไหน และอาจจะปรับปรุ งพัฒนาจนกว่าจะมีประสิ ทธิภาพทีน่ ่ าเชื่อถือซึ่งการ ทดลองบางลักษณะอาจจะอยู่ในรู ปโครงการทดลองปฏิบัติก่อน หรือทีเ่ รียกกันทัว่ ไป ว่ า โครงการนำาร่ อง (Pilot Project)


ระยะที่ 3 การนำาไปใช้ (Implementation) เป็ นระยะทีส่ ื บเนื่องจากระยะ ที่ 2 เมื่อมีการทดลอง และพัฒนาจนมีประสิ ทธิภาพทีน่ ่ าเชื่อถือ ก็นำาสิ่ งใหม่ นีไ้ ปใช้ ในสภาพการณ์ จริง ในระบบงานจริงซึ่งไม่ เคยปฏิบัติมาก่อนถ้ าระบบกระบวนการ ของนวัตกรรมดำาเนินมาถึงระยะที่ 3 แล้วจริงจะถือว่าเป็ นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์


การสร้ างและพัฒนานวัตกรรม ไม่ ว่าจะเป็ นนวัตกรรม หรือเทคโนโลยี ต่ างก็ใช้ วธิ ีระบบ (system approach) ในการพัฒนาซึ่งประกอบไปด้ วย ปัจจัย (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และข้ อมูลป้ อนกลับ (feedback) ซึ่งอาจวิเคราะห์ ให้ เข้ ากับบริบทของการจัดการศึกษา ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ (analyze) 2) การออกแบบ (design) 3) การพัฒนา (develop) 4) การนำาไปใช้ (implement) 5) การประเมินผลและปรับปรุ ง (evaluate and improve)


มีข้นั ตอนทีส่ ำ าคัญประกอบด้ วย 1. กำาหนดจุดประสงค์ การเรียนรู้ ของกระบวนการเรียนรู้ 3. สร้ างต้ นแบบนวัตกรรม 4. หาและพิสูจน์ ประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม 5. ทดลองใช้ นวัตกรรม 6. เผยแพร่ นวัตกรรม

2. กำาหนดกรอบแนวคิด


1. 2. 3. 4.

นำาเอาวิธีเก่ าจากทีอ่ นื่ มาทดลองใช้ ดัดแปลง ปรับปรุงของเก่ าให้ เหมาะกับสถานการณ์ ฟื้ นฟูสิ่งทีเ่ คยปฏิบัตมิ าแต่ ก่อน การคิดสิ่ งใหม่ ทไี่ ม่ เคยปรากฏมาก่อน


1. การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้ กล่าวคือ แหล่ งทรัพยากร การเรียนรู้ มิได้ หมายถึงแต่ เพียงตำารา ครู และอุปกรณ์ การสอน ทีโ่ รงเรียน มีอยู่เท่ านั้น แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ต้ องการให้ ผ้ เู รียนมี โอกาสเรียนจากแหล่ งความรู้ ทกี่ ว้างขวางออกไปอีก แหล่ งทรัพยากรการ เรียนรู้ ครอบคลุมถึงเรื่องต่ างๆ เช่ น


1.1 คน คนเป็ นแหล่ งทรัพยากรการเรียนรู้ ทสี่ ำ าคัญซึ่งได้ แก่ ครู และวิทยากร อืน่ ซึ่งอยู่นอกโรงเรียน เช่ น เกษตรกร ตำารวจ บุรุษไปรษณีย์ เป็ นต้ น


1.2 วัสดุและเครื่องมือ ได้ แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ ต่าง ๆ เช่ น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่องวิดโี อเทป ของจริงของจำาลองสิ่ งพิมพ์ รวมไปถึงการ ใช้ สื่อมวลชนต่ างๆ


1.3 เทคนิค-วิธีการ ควร เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูเรียนได้ ศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง ได้ มากทีส่ ุ ด ครู เป็ นเพียง ผู้วางแผนแนะแนวทางเท่ านั้น


1.4 สถานที่ อันได้ แก่ โรงเรียน ห้ องปฏิบัตกิ ารทดลอง โรงฝึ กงาน ไร่ นา ฟาร์ ม ทีท่ าำ การรัฐบาล ภูเขา แม่ น้ำา ทะเล หรือสถานทีใ่ ด ๆ ทีช่ ่ วยเพิม่ ประสบการณ์ ทดี่ แี ก่ ผ้ เู รียนได้


2. การเน้ นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้ พยายามคิด หาวิธีนำาเอาระบบการเรียนแบบตัวต่ อตัวมาใช้ แต่ แทนทีจ่ ะใช้ ครูสอน นักเรียนทีละคน เขาก็คดิ ‘แบบเรียนโปรแกรม’ ซึ่งทำาหน้ าทีส่ อน ซึ่งเหมือนกับครู มาสอน นักเรียนจะเรียนด้ วยตนเอง จากแบบเรียนด้ วยตนเองในรู ปแบบเรียนเป็ น เล่ม หรือเครื่องสอนหรือสื่ อประสมหลายๆ อย่ าง จะเรียนช้ าหรือเร็วก็ทาำ ได้ ตาม ความสามารถของผู้เรียนแต่ ละคน


3. การใช้ วธิ ีวเิ คราะห์ ระบบในการศึกษา การใช้ วธิ ีระบบ ในการปฏิบัติหรือ แก้ปัญหา เป็ นวิธีการทีเ่ ป็ นวิทยาศาสตร์ ทีเ่ ชื่อถือได้ ว่าจะสามารถแก้ปัญหา หรือช่ วย ให้ งานบรรลุเป้าหมายได้ เนื่องจากกระบวนการของวิธีระบบ เป็ นการวิเคราะห์ องค์ ประกอบของงานหรือของระบบ อย่ างมีเหตุผล หาทางให้ ส่วนต่ าง ๆ ของระบบ ทำางาน ประสานสั มพันธ์ กนั อย่ างมีประสิ ทธิภาพ


4. พัฒนาเครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์ ทางการศึกษา วัสดุและ เครื่องมือต่ าง ๆ ทีใ่ ช้ ในการศึกษา หรือการเรียนการสอนปัจจุบันจะ ต้ องมีการพัฒนา ให้ มศี ักยภาพ หรือขีดความสามารถในการทำางาน ให้ สูงยิง่ ขึน้ ไปอีก


1. ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษา ของไทยได้ ให้ ความสำ าคัญในเรื่องความแตกต่ างระหว่ างบุคคลเอาไว้ อย่ าง ชัดเจนซึ่งจะเห็นได้ จากแผนการศึกษาของชาติ ให้ ม่ ุงจัดการศึกษาตาม ความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ ละคนเป็ นเกณฑ์ ตัวอย่ าง ทีเ่ ห็นได้ ชัดเจนได้ แก่ การจัดระบบห้ องเรียนโดยใช้ อายุเป็ นเกณฑ์ บ้าง ใช้ ความสามารถเป็ นเกณฑ์ บ้าง นวัตกรรมทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ สนองแนวความคิด พืน้ ฐานนี้


2. ความพร้ อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่ า เด็กจะเริ่มเรียน ได้ กต็ ้ องมีความพร้ อมซึ่งเป็ นพัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ ในปัจจุบันการ วิจัยทางด้ านจิตวิทยาการเรียนรู้ ชี้ให้ เห็นว่าความพร้ อมในการเรียนเป็ นสิ่ ง ทีส่ ร้ างขึน้ ได้ ถ้ าหากสามารถจัดบทเรียน ให้ พอเหมาะกับระดับความ สามารถของเด็กแต่ ละคน วิชาทีเ่ คยเชื่อกันว่ายาก และไม่ เหมาะสมสำ าหรับ เด็กเล็กก็สามารถนำามาให้ ศึกษาได้ นวัตกรรมทีต่ อบสนองแนวความคิดพืน้ ฐานนีไ้ ด้ แก่ ศูนย์ การเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมทีส่ นอง แนวความคิดพืน้ ฐานด้ านนี้


3. การใช้ เวลาเพือ่ การศึกษา แต่ เดิมมาการจัดเวลาเพือ่ การสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัยความสะดวกเป็ นเกณฑ์ เช่ น ถือหน่ วย เวลาเป็ นชั่วโมง เท่ ากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยงั จัดเวลาเรียนเอาไว้ แน่ นอนเป็ นภาคเรียน เป็ นปี ในปัจจุบันได้ มีความคิดในการจัดเป็ นหน่ วย เวลาสอนให้ สัมพันธ์ กบั ลักษณะของแต่ ละวิชาซึ่งจะใช้ เวลาไม่ เท่ ากัน บาง วิชาอาจใช้ ช่วงสั้ นๆ แต่ สอนบ่ อยครั้ง การเรียนก็ไม่ จำากัดอยู่แต่ เฉพาะใน โรงเรียนเท่ านั้น นวัตกรรมทีส่ นองแนวความคิดพืน้ ฐานด้ านนี้


4. ประสิ ทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการ เปลีย่ นแปลงของสั งคม ทำาให้ มีสิ่งต่ างๆ ทีค่ นจะต้ องเรียนรู้ เพิม่ ขึน้ มาก แต่ การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่ มีประสิ ทธิภาพเพียงพอจึงจำาเป็ น ต้ องแสวงหาวิธีการใหม่ ทมี่ ีประสิ ทธิภาพสู งขึน้ ทั้งในด้ านปัจจัยเกีย่ วกับ ตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมในด้ านนีท้ เี่ กิดขึน้


สาเหตุการเกิดนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึน้ ตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่ อไปนี้ 1. การเพิม่ ปริมาณของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเป็ นไปอย่ าง รวดเร็ว ทำาให้ นักเทคโนโลยีการศึกษาต้ องหานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ เพือ่ ให้ สามารถ สอนนักเรียนได้ มากขึน้


2. การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีเป็ นไปอย่ างรวดเร็ว การเรียนการสอนจึง ต้ องตอบสนองการเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ ทีช่ ่ วยให้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ได้ เร็ว และเรียนรู้ ได้ มากในเวลาจำากัดนักเทคโนโลยีการศึกษาจึงต้ องค้ นหานวัตกรรมมา ประยุกต์ ใช้ เพือ่ วัตถุประสงค์ นี้


3. การเรียนรู้ ของผู้เรียนมีแนวโน้ มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึน้ ตาม แนวปรัชญาสมัยใหม่ ทยี่ ดึ ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง นวัตกรรมการศึกษาสามารถช่ วย ตอบสนองการเรียนรู้ตามอัตภาพ ตามความสามารถของแต่ ละคน เช่ นการใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน Computer Assisted Instruction หรือ CAI การเรียนแบบ ศูนย์ การเรียน เป็ นต้ น


4. ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ที่ ส่ วนผลักดันให้ มีการใช้ นวัตกรรมการศึกษาเพิม่ มากขึน้ เช่ น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทำาให้ คอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลง แต่ มปี ระสิ ทธิภาพสู งขึน้ มาก เทคโนโลยีเครือข่ าย คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์ เน็ต ทำาให้ เกิดการสื่ อสารไร้ พรมแดน นักเทคโนโลยีการ ศึกษาจึงคิดค้ นหาวิธีการใหม่ ๆ ในการประยุกต์ ใช้ ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เป็ น ฐานในการเรียนรู้ ทีเ่ รียกว่ า “Web-based learning” ทำาให้ สามารถเรียนรู้ ในทุกที่ ทุกเวลาสำ าหรับทุกคน


1. เป็ นแนวคิดใหม่ วิธีการใหม่ หรือสิ่ งใหม่ ทไี่ ม่ เคยใช้ มาก่อน 2. เป็ นแนวคิดเดิม วิธีการเดิม หรือสิ่ งเดิมจากทีอ่ นื่ แล้วนำามาใช่ กบั สภาพการณ์ ใหม่ 3. เป็ นแนวคิดเดิม วิธีเดิม หรือสิ่ งเดิม ทีถ่ ูกพัฒนาปรับปรุงเปลีย่ นแปลงหรืเพิม่ เติม ให้ มปี ระสิ ทธิภาพมากขึน้ แล้วใช้ ในสภาพการณ์ เดิม หรือนำาไปใช้ สภาพการณ์ ใหม่ 4. เป็ นแนวคิด วิธีการ หรือสิ่ งทีย่ งั ไม่ ได้ เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน ถ้ าใช้ จนกลายเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบันจะไม่ ถอื ว่าเป็ นนวัตกรรม แต่ เปลีย่ น เป็ นเทคโนโลยี 5. เป็ นแนวคิด วิธีการ หรือสิ่ งทีอ่ ยู่ในระหว่างการวิจยั หรือพิสูจน์ ด้วยการวิจยั แล้ วว่ า ช่ วยให้ การทำางานมีประสิ ทธิภาพสู งขึน้


นวัตกรรมการศึกษาในประเทศไทยออกเป็ นหมวดหมู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ นวัตกรรมวิธีการหรือกระบวนการ (Technique of Process) นวัตกรรมทีป่ ระสมวิธี การหรือกระบวนการและการผลผลิต (Process and Product) และคอมพิวเตอร์ ทนี่ ำา มาใช้ ในการศึกษา (Computer-Based Education) ซึ่งแยกออกมาจากนวัตกรรมที่ ประสมวิธีการหรือกระบวนการ และ ผลผลิต เนื่องจากเห็นว่าคอมพิวเตอร์ มบี ทบาท มากในปัจจุบันและแนวโน้ มคอมพิวเตอร์ กจ็ ะเป็ นส่ วนหนึ่งของชีวติ ประจำาวันของ ผู้คน ส่ วนนวัตกรรมทีเ่ ป็ นผลผลิตอย่างเดียวได้ นำาไปกล่าวไว้ ในเทคโนโลยีประเภท อุปกรณ์ แล้ว


1. ศูนย์ การเรียน 2. การสอนแบบโปรแกรมและบทเรียนสำ าเร็จรู ป 3. ชุ ดการเรียนการสอน 4. การเรียนการสอนระบบเปิ ด 5. การสอนเป็ นคณะ 6. การจัดโรงเรียนไม่ แบ่ งชั้น 7. การจัดโรงเรียนในโรงเรียนและการเรียนการสอนทางไกล 8. แบบฝึ กหัดปฏิบัติเฉพาะกิจ 9. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ( CAI ) และการนำาคอมพิวเตอร์ มาใช้ ในการเรียนการ สอน


การนำานวัตกรรมและเทคโนโลยีทนั สมัยมาใช้ ในการ พัฒนาการเรียนการสอน วิธีการจัดการศึกษา สามารถแบ่ งเป็ นหัวข้ อต่ าง ๆ ได้ ดงั นี้ เช่ น การศึกษา รายบุคคล การศึกษาเป็ นกลุ่ม การศึกษามวลชน การศึกษาทางไกล การศึกษา ระบบเปิ ด การศึกษาต่ อเนื่อง การศึกษาผู้ใหญ่ เป็ นต้ น ให้ การจัดการเรียนการสอนบรรลุจุดประสงค์ ทาำ ให้ เกิดสภาพการณ์ ทมี่ นั่ ใจได้ ว่าจะ ก่ อให้ เกิดการเรียนรู้ ได้ ตามจุดประสงค์ ของบทเรียนอย่างมีประสิ ทธิภาพ 4 ประการ คือ


1.ให้ ผู้เรียนได้ มสี ่ วนร่ วมในการเรียนรู้ อย่ างแข็งขัน ด้ วยความพึงพอใจและเต็มใจที่ จะเรียนรู้ 2.ให้ ผู้เรียนได้ รับข้ อมูลย้ อนกลับอย่ างฉับพลัน ช่ วยกระตุ้นผู้เรียนต้ องการจะเรียน รู้ต่อไป 3.ให้ ผู้เรียนได้ รับการเสริมแรงด้ วยการให้ ประสบการณ์ แห่ งความสำ าเร็จเรียนรู้ ด้วย ความพอใจ 4.ให้ ผู้เรียนได้ เรียนรู้ เป็ นขั้นตอนทีละน้ อย ไม่ เกิดความดับข้ องใจ เรียนด้ วยความ สนใจ พอใจ และไม่ เบื่อหน่ าย


นวัต กรรมทางการศึก ษาที่ส ำา คัญ ของ ไทยในปัจ จุบ ัน

· E-learning หมายถึงการศึกษาทีเ่ รียนรู้ผ่านเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ตโดยผู้เรียนรู้จะ เรียนรู้ ด้ วยตัวเอง การเรียนรู้ จะเป็ นไปตามปัจจัยภายใต้ ทฤษฎีแห่ งการเรียนรู้สอง ประการคือ เรียนตามความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเอง และ การตอบสนองใน ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล(เวลาทีแ่ ต่ ละบุคคลใช้ ในการเรียนรู้ )การเรียนจะกระทำา ผ่ านสื่ อบนเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต โดยผู้สอนจะนำาเสนอข้ อมูลความรู้ให้ ผู้เรียนได้ ทำาการศึกษาผ่ านบริการ World Wide Web หรือเว็บไซด์ โดยอาจให้ มปี ฏิสัมพันธ์ (สนทนา โต้ ตอบ ส่ งข่ าวสาร) ระหว่ างกัน



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.