นวัตกรรมทางการศึกษา

Page 1

นวัตกรรมทางการศึกษา จัดทำาโดย ำ สายแวว นางสาวน้าฝน 544148129 ำ ง มังคลาทัศน์ 544148109 นางสาวน้าแป้ นางสาวสิ ริวรรณ ทาระการ

544148118

นายบพิตร ตันสูงเนิน 544148110 เอกวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป ปี 2 หมู่ 1 เสนอ อาจารย์ สุ จิตตรา จันทร์ลอย รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารสำาหรับครู รหัสวิชา PC 54504 ภาคเรี ยนที่ 2 /2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง


คำำนำำ รายงานเรื่ องนวัตกรรมทางการศึกษานี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารสำาหรับครู (รหัสวิชา PC 54504) มีจุดประสงค์เพื่อให้ผทู ้ ี่สนใจจะศึกษาค้นคว้าหาความรู ้เกี่ยวกับ นวัตกรรมทางการศึกษา ได้ศึกษาค้นคว้า ซึ่งรายงานนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของนวัตกรรมทางการ ศึกษาความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมกับเทคโนโลยี กระบวนการ ของนวัตกรรม ลักษณะของนวัตกรรม เป้ าหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา สาเหตุการเกิดนวัตกรรม ทางการศึกษา หลักเกณฑ์ในการพิจารณานวัตกรรม นวัตกรรมทางการศึกษาในประเทศไทย และการนำา นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการเรี ยนการสอน คณะผูจ้ ดั ทำาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่สนใจจะศึกษา ค้นคว้าหาความ รู ้ ได้เป็ นอย่างดียิง่ หากมีขอ้ ผิดพลาดหรื อบกพร่ องประการใดก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดว้ ย คณะผู้จัดทำำ


สำรบัญ เรื่อง

หน้ ำ

ความหมายของนวัตกรรม

1

ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา

2

ความหมายของเทคโนโลยี

3 ความ

สัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมกับเทคโนโลยี

4

กระบวนการของนวัตกรรม

6

การสร้างและพัฒนานวัตกรรม

6

ลักษณะของนวัตกรรม

7

เป้ าหมายของเทคโนโลยีการศึกษา

7

แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา

8

สาเหตุการเกิดนวัตกรรมทางการศึกษา

10

หลักเกณฑ์ในการพิจารณานวัตกรรม

11

การนำานวัตกรรมและเทคโนโลยีทนั สมัยมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน

13

นวัตกรรมการศึกษาที่สาำ คัญของไทยในปัจจุบนั

14

อ้างอิง

16


1

ควำมหมำยของนวัตกรรม นวัตกรรมหมายถึงความคิด การปฏิบตั ิ หรื อสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยงั ไม่เคยมีใช้มาก่อน หรื อเป็ นการ พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยูแ่ ล้ว ให้ทนั สมัยและใช้ได้ผลดียิง่ ขึ้น เมื่อนำา นวัตกรรมมาใช้จะช่วย ให้การทำางานนั้นได้ผลดีมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ ด้วย นวัตกรรม (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทำาสิ่ งใหม่ข้ ึนมา ความ หมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนำาแนวความคิดใหม่หรื อการใช้ประโยชน์จากสิ่ งที่มีอยูแ่ ล้ว มาใช้ในรู ปแบบใหม่ เพื่อทำาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรื อก็คือ ”การทำาในสิ่ งที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็ นโอกาส (Opportunity) และ ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทาำ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐีอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การวิจยั และ พัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนำาไปสู่การได้มาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็ นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรี ยนรู ้และนำา ไปปฏิบตั ิให้เกิดผลได้จริ งอีกด้วย คำาว่า นวัตกรรมเป็ นคำาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คำานี้ เป็ นศัพท์บญั ญัติของคณะ กรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิ การ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำากริ ยา ว่า innovate แปลว่า ทำาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่ งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาำ ว่า “นวกรรม” ต่อมาพบว่าคำา นี้มีความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใช้คาำ ว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กำา) หมายถึงการนำาสิ่ งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิม่ เติมจากวิธีการที่ทาำ อยูเ่ ดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิง่ ขึ้น ดังนั้นไม่วา่ วงการหรื อกิจการใด ๆ ก็ตาม เมื่อมีการนำาเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่อปรับปรุ งงานให้ดีข้ ึนกว่าเดิมก็เรี ยกได้วา่ เป็ น นวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำาเอามาใช้ ก็เรี ยกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สำาหรับผูท้ ี่กระทำา หรื อนำาความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้น้ ี เรี ยกว่าเป็ น “นวัตกร” (Innovator)


2

ทอมัสฮิวช์(Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็ นการนำาวิธีการใหม่ ๆ มา ปฏิบตั ิหลังจากได้ผา่ นการทดลองหรื อได้รับการพัฒนามาเป็ นขั้น ๆ แล้ว เริ่ มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็ นไปในรู ปของ โครงการทดลองปฏิบตั ิก่อน (Pilot Project) แล้วจึง นำาไปปฏิบตั ิจริ ง ซึ่งมีความแตกต่างไปจากการปฏิบตั ิเดิมที่เคยปฏิบตั ิมา มอร์ ตนั (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็ นการทำาให้ใหม่ข้ ึนอีกครั้ง(Renewal) ซึ่ง หมายถึง การปรับปรุ งสิ่ งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรื อองค์การนั้น ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรื อล้มล้างสิ่ งเก่าให้หมดไป แต่เป็ นการ ปรับปรุ งเสริ มแต่งและพัฒนา ไชยยศ เรื องสุวรรณ ได้ให้ความหมาย นวัตกรรมไว้วา่ หมายถึง วิธีการปฏิบตั ิใหม่ๆ ที่แปลกไปจาก เดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมาหรื อมีการปรับปรุ งของเก่าให้เหมาะสมและสิ่ งทั้ง หลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็ นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบตั ิ ทำาให้ระบบก้าวไปสู่จุด หมายปลายทางได้อย่างมีประสิ ทธิภาพขึ้น จรู ญ วงศ์สายัณห์ ได้กล่าวถึงความหมายของ นวัตกรรมไว้วา่ แม้ในภาษาอังกฤษเอง ความหมายก็ ต่างกันเป็ น 2 ระดับ โดยทัว่ ไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็ นผลสำาเร็ จหรื อไม่ มากน้อย เพียงใดก็ตามที่เป็ นไปเพื่อจะนำาสิ่ งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทาำ อยูเ่ ดิมแล้ว กับอีกระดับหนึ่งซึ่ง วงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยูต่ ่อกลุ่ม คนที่เกี่ยวข้อง คำาว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่ งที่ได้นาำ ความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสำาเร็ จและแผ่ กว้างออกไป จนกลายเป็ นการปฏิบตั ิอย่างธรรมดาสามัญ

ควำมหมำยของนวัตกรรมกำรศึกษำ นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation ) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการ เรี ยนการสอนมีประสิ ทธิภาพดียิง่ ขึ้น ผูเ้ รี ยนสามารถเกิดการเรี ยนรู ้อย่างรวดเร็ วมีประสิ ทธิ ผลสูงกว่าเดิม เกิด แรงจูงใจในการเรี ยนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรี ยนได้อีกด้วย ในปั จจุบนั มีการใช้ นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีท้ งั นวัตกรรมที่ใช้กนั อย่างแพร่ หลายแล้ว และประเภทที่กาำ ลัง เผยแพร่ เช่น การเรี ยนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวีดีทศั น์ เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่ อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์ เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็ นต้น


3

นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การนำาเอาสิ่ งใหม่ซ่ ึงอาจจะอยูใ่ นรู ป ของความคิดหรื อการกระทำา รวมทั้งสิ่ งประดิษฐ์กต็ ามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะ เปลี่ยนแปลงสิ่ งที่มีอยูเ่ ดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น ทำาให้ผเู ้ รี ยนสามารถเกิดการเรี ยนรู ้ ได้อย่างรวดเร็ วเกิดแรงจูงใจในการเรี ยน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรี ยน เช่น การสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน การใช้วีดีทศั น์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สื่ อหลายมิติ (Hypermedia) และ อินเตอร์ เน็ต เหล่านี้เป็ นต้น

ควำมหมำยของเทคโนโลยี ความเจริ ญในด้านต่างๆ ที่ปรากฏให้เห็นอยูใ่ นปั จจุบนั เป็ นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง ประดิษฐ์คิดค้นสิ่ งต่างๆ โดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นาำ ออกเผยแพร่ ใช้ในกิจการด้านต่างๆ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาคุณภาพ และประสิ ทธิ ภาพในกิจการ ต่างๆ เหล่านั้น และวิชาการที่วา่ ด้วยการนำาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่างๆ จึงเรี ยกกันว่า วิทยาศาสตร์ ประยุกต์หรื อนิยมเรี ยกกันทัว่ ไปว่า เทคโนโลยี เทคโนโลยี หมายถึงการใช้เครื่ องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผูท้ ี่นาำ เอา เทคโนโลยีมาใช้ เรี ยกว่านักเทคโนโลยี (Technologist) เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรู ปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ที่วา่ ด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำาวิธีการ มาปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพของ การศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คาำ จำากัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่า เป็ นการพัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนำามาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างเสริ มกระบวนการเรี ยนรู้ของคนให้ดียิง่ ขึ้น ดร.เปรื่ อง กุมุท ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาว่า เป็ นการขยายขอบข่ายของการใช้ สื่ อการสอน ให้กว้างขวางขึ้นทั้งในด้านบุคคล วัสดุเครื่ องมือ สถานที่ และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการ เรี ยนการสอน Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่เครื่ องมือ แต่เป็ นแผนการหรื อวิธีการทำางาน อย่างเป็ นระบบ ให้บรรลุผลตามแผนการ


4

นอกจากนี้เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็ นการขยายแนวคิดเกี่ยวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากโสตทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดังนั้นอุปกรณ์ในสมัยก่อนมัก เน้นการใช้ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็ นหลัก จึงใช้คาำ ว่าโสตทัศนอุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการ ศึกษา มีความหมายที่กว้างกว่า ซึ่งอำจจะพิจำรณำจำก ควำมคิดรวบยอดของเทคโนโลยีได้ เป็ น 2 ประกำร คือ 1.ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคิดรวบยอดนี้ เทคโนโลยีทางการศึกษาหมายถึง การ ประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรู ปของสิ่ งประดิษฐ์ เช่น เครื่ องฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้สาำ หรับ การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนเป็ นส่วนใหญ่ การใช้เครื่ องมือเหล่านี้ มักคำานึงถึงเฉพาะการควบคุมให้เครื่ องทำางาน มักไม่คาำ นึงถึงจิตวิทยาการเรี ยนรู้ โดยเฉพาะเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคล และการเลือกสื่ อให้ตรงกับ เนื้อหาวิชาความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามความคิดรวบยอดนี้ ทำาให้บทบาทของเทคโนโลยี ทางการศึกษาแคบลงไป คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่านั้น ไม่รวมวิธีการ หรื อปฏิกิริยาสัมพันธ์อื่น ๆ เข้าไปด้วย ซึ่งตามความหมายนี้ กค็ ือ โสตทัศนศึกษานัน่ เอง 2. ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็ นการนำาวิธีการทางจิตวิทยา มนุษยวิทยา กระบวนการกลุ่ม ภาษา การสื่ อความหมาย การบริ หาร เครื่ องยนต์กลไก การรับรู ้มาใช้ควบคู่กบั ผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม เพื่อให้ผเู้ รี ยน เปลี่ยนพฤติกรรมการเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้นมิใช่เพียงการใช้เครื่ อง มืออุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เข้าไปด้วย มิใช่วสั ดุ หรื ออุปกรณ์ แต่เพียงอย่างเดียว

ควำมสั มพันธ์ ระหว่ ำงนวัตกรรมกับเทคโนโลยี จากความรู้เรื่ องเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่กล่าวมาแล้ว และหากทำาการศึกษาในเอกสารตำาราต่าง ๆ จะพบว่า เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็ นคำาที่มกั จะใช้ควบคู่กนั เสมอ ๆ เช่น ใช้คาำ ว่า นวัตกรรมและ เทคโนโลยี หรื อ เทคโนโลยีและนวัตกรรม หรื อแม้แต่คาำ ว่า นวัตกรรมเทคโนโลยี (ไม่มีคาำ ว่า“และ”)หรื อใน รู ปรวมกันเป็ นคำาเดียวในลักษณะย่นย่อเกิดเป็ นคำาศัพท์ใหม่ใภาษาอังกฤษ เช่น Technology and Innovation หรื อ Innovation and Technology หรื อ Innotech (ชื่อหน่วยงาน) เป็ นต้น แสดงให้เห็นว่าทั้ง 2 คำามีความข้อง สัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชิด ดังที่มีผเู้ ปรี ยบเทียบว่า “นวัตกรรมเป็ นเสมือนหน่อไม้ ส่ วนเทคโนโลยีเทียบได้กบั ลำาไม้ไผ่หรื อกอไผ่” อธิบาย ได้วา่ เทคโนโลยีตอ้ งผ่านขั้นตอนการเป็ นนวัตกรรมมาก่อน ในทางกลับกันถ้า ไม่มีลาำ ไม้ไผ่ หรื อกอไผ่ (เทคโนโลยี) ก็ไม่มีโอกาสจะมีหน่อไม้ (นวัตกรรม) ได้ดว้ ยเช่นกัน ดังนั้น เทคโนโลยีและนวัตกรรมจึงเกี่ยวข้องกันในลักษณะวงวัฏจักรของการพัฒนา” ที่ไม่มีการสิ้ นสุ ด


5

อนึ่งเทคโนโลยีใด ๆ ที่ใช้ไปเป็ นระยะเวลานานหรื อภายใต้สภาวการณ์แวดล้อมที่เปลี่ยนไปตลอด เวลา ย่อมเกิดการ “ล้าสมัย” ขึ้นจึงไม่เหมาะที่จะนำามาใช้อีกต่อไป เว้นแต่จะได้รับการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง หรื อพัฒนาให้เหมาะสม และนำาไปทดลองใช้หรื อเผยแพร่ เพื่อให้เกิดการยอมรับต่อไป ในช่วงนี้เอง เทคโนโลยียงั อยูใ่ นสภาพนวัตกรรมจนกว่าจะได้รับการยอมรับ และนำาไปใช้ในระบบปกติอย่างกว้างขวาง หรื อแพร่ หลาย จึงจะถือได้วา่ เป็ นเทคโนโลยีที่สมบูรณ์และต้องการการพัฒนาเพื่อมิให้เกิดการล้าสมัยอย่าง ต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด

ภาพที่ 1 แสดงการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่มา: (http://www.baanjomyut.com., 2012) ในทำานองเดียวกันหากเทคโนโลยีดงั กล่าว เป็ น “เทคโนโลยีการศึกษา” และ “นวัตกรรมการศึกษา” ก็จะมี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึ่งกันและกันในทำานองเดียวกันดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีการศึกษา ที่มา: (http://www.baanjomyut.com., 2012)


6

กระบวนกำรของนวัตกรรม การทำางานใด ๆ ก็ตามถ้ามีการกระทำาเป็ นปกติวิสยั หรื อ เป็ นที่ยอมรับและใช้กนั โดยทัว่ ไปแล้ว ยัง ไม่ถือว่าเป็ นนวัตกรรม แต่นวัตกรรมจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ น้ นั จะมีกระบวนการของนวัตกรรม ซึ่งมีนกั การ ศึกษานักวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศได้กล่าวไว้ พอสรุ ปได้แบ่งออกได้เป็ น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การประดิษฐ์คิดค้น (Invention) เป็ นระยะที่มีการคิดสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ วิธีการใหม่ หรื อสิ่ งใหม่ หรื อเป็ นการพัฒนา ปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงหรื อเพิม่ เติม แนวคิดเดิม วิธีการเดิมหรื อสิ่ งเดิม เพื่อ ให้เหมาะสมกับสภาพงาน ทันสมัย ตลอดจนเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของการทำางานให้สูงขึ้น ระยะที่ 2 การพัฒนา (Development) เป็ นระยะที่นาำ สิ่ งที่คิดขึ้นในระยะที่ 1 มาทำาการทดลองใช้ เพื่อที่จะดูวา่ สิ่ งที่คิดขึ้นนั้น มีประสิ ทธิภาพจริ งและน่าเชื่อถือแค่ไหน และอาจจะปรับปรุ งพัฒนาจนกว่าจะมี ประสิ ทธิ ภาพที่น่าเชื่อถือซึ่งการทดลองบางลักษณะอาจจะอยูใ่ นรู ปโครงการทดลองปฏิบตั ิก ่อน หรื อที่เรี ยก กันทัว่ ไปว่า โครงการนำาร่ อง (Pilot Project) ระยะที่ 3 การนำาไปใช้ (Implementation) เป็ นระยะที่สืบเนื่องจากระยะที่ 2 เมื่อมีการทดลอง และพัฒนาจนมี ประสิ ทธิ ภาพที่น่าเชื่อถือ ก็นาำ สิ่ งใหม่น้ ีไปใช้ในสภาพการณ์จริ ง ในระบบงานจริ งซึ่งไม่เคยปฏิบตั ิมาก่อนถ้า ระบบกระบวนการของนวัตกรรมดำาเนินมาถึงระยะที่ 3 แล้วจริ งจะถือว่าเป็ นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์

กำรสร้ ำงและพัฒนำนวัตกรรม ไม่วา่ จะเป็ นนวัตกรรม หรื อเทคโนโลยี ต่างก็ใช้วิธีระบบ (system approach) ในการพัฒนาซึ่ง ประกอบไปด้วย ปัจจัย (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และข้อมูลป้ อนกลับ (feedback) ซึ่ง อาจวิเคราะห์ให้เข้ากับบริ บทของการจัดการศึกษา ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ (analyze) 2) การออกแบบ (design) 3) การพัฒนา (develop) 4) การนำาไปใช้ (implement) 5) การประเมินผลและปรับปรุ ง (evaluate and improve)


7

กระบวนกำรสร้ ำงนวัตกรรมทำงกำรศึกษำ มีข้ นั ตอนที่สาำ คัญประกอบด้วย 1. กำาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู้2. กำาหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการเรี ยนรู ้ 3. สร้างต้นแบบนวัตกรรม 4. หาและพิสูจน์ประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม 5. ทดลองใช้นวัตกรรม 6. เผยแพร่ นวัตกรรม

ลักษณะของนวัตกรรม 1. นำาเอาวิธีเก่าจากที่อื่นมาทดลองใช้ 2. ดัดแปลง ปรับปรุ งของเก่าให้เหมาะกับสถานการณ์ 3. ฟื้ นฟูสิ่งที่เคยปฏิบตั ิมาแต่ก่อน 4. การคิดสิ่ งใหม่ที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน

เป้ ำหมำยของเทคโนโลยีกำรศึกษำ 1. การขยายพิสยั ของทรัพยากรของการเรี ยนรู ้ กล่าวคือ แหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ มิได้หมายถึงแต่เพียงตำารา ครู และอุปกรณ์การสอน ที่โรงเรี ยนมีอยูเ่ ท่านั้น แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ต้องการให้ผเู ้ รี ยนมี โอกาสเรี ยนจากแหล่งความรู้ที่กว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ครอบคลุมถึงเรื่ องต่างๆ เช่น 1.1 คน คนเป็ นแหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู้ที่สาำ คัญซึ่งได้แก่ ครู และวิทยากรอื่น ซึ่งอยูน่ อกโรงเรี ยน เช่น เกษตรกร ตำารวจ บุรุษไปรษณีย ์ เป็ นต้น 1.2 วัสดุและเครื่ องมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่ องวิดีโอเทป ของจริ งของจำาลองสิ่ งพิมพ์ รวมไปถึงการใช้สื่อมวลชนต่างๆ 1.3 เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมนั้นการเรี ยนการสอนส่ วนมาก ใช้วธิ ี ให้ครู เป็ นคนบอกเนื้ อหา แก่ผเู ้ รี ยนปั จจุบนั นั้น เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากที่สุด ครู เป็ นเพียง ผูว้ างแผนแนะแนวทางเท่านั้น


8

1.4 สถานที่ อันได้แก่ โรงเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการทดลอง โรงฝึ กงาน ไร่ นา ฟาร์ ม ที่ทาำ การรัฐบาล ภูเขา แม่นา้ ำ ทะเล หรื อสถานที่ใด ๆ ที่ช่วยเพิ่มประสบการณ์ที่ดีแก่ผเู ้ รี ยนได้ 2.การเน้นการเรี ยนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นกั เรี ยนจะล้นชั้น และกระจัดกระจาย ยากแก่การจัดการศึกษา ตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิด หาวิธีนาำ เอาระบบการเรี ยน แบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนที่จะใช้ครู สอนนักเรี ยนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรี ยนโปรแกรม’ ซึ่งทำาหน้าที่สอน ซึ่งเหมือนกับครู มาสอน นักเรี ยนจะเรี ยนด้วยตนเอง จากแบบเรี ยนด้วยตนเองในรู ปแบบเรี ยนเป็ นเล่ม หรื อ เครื่ องสอนหรื อสื่ อประสมหลายๆ อย่าง จะเรี ยนช้าหรื อเร็ วก็ทาำ ได้ตามความสามารถของผูเ้ รี ยนแต่ละคน 3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบตั ิหรื อแก้ปัญหา เป็ นวิธีการที่เป็ น วิทยาศาสตร์ ที่เชื่อถือได้วา่ จะสามารถแก้ปัญหา หรื อช่วยให้งานบรรลุเป้ าหมายได้ เนื่องจากกระบวนการ ของวิธีระบบ เป็ นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรื อของระบบ อย่างมีเหตุผล หาทางให้ส่วนต่าง ๆ ของระบบทำางาน ประสานสัมพันธ์กนั อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4. พัฒนาเครื่ องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา วัสดุและเครื่ องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการศึกษา หรื อการเรี ยนการ สอนปั จจุบนั จะต้องมีการพัฒนา ให้มีศกั ยภาพ หรื อขีดความสามารถในการทำางานให้สูงยิง่ ขึ้นไปอีก

แนวคิดพืน้ ฐำนของนวัตกรรมทำงกำรศึกษำ ปั จจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพื้นฐานทางการศึกษาที่ เปลี่ยนแปลงไป อันมีผลทำาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาำ คัญๆ พอจะสรุ ปได้4 ประการ คือ 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสำาคัญในเรื่ อง ความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้มุ่งจัดการศึกษา ตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็ นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชดั เจนได้แก่ การจัด ระบบห้องเรี ยนโดยใช้อายุเป็ นเกณฑ์บา้ ง ใช้ความสามารถเป็ นเกณฑ์บา้ ง นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อสนองแนว ความคิดพื้นฐานนี้ เช่น - การเรี ยนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School) - แบบเรี ยนสำาเร็ จรู ป (Programmed Text Book) - เครื่ องสอน (Teaching Machine) - การสอนเป็ นคณะ (TeamTeaching) - การจัดโรงเรี ยนในโรงเรี ยน (School within School) - เครื่ องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)


9

2.ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่ มเรี ยนได้กต็ อ้ งมีความพร้อมซึ่งเป็ นพัฒนาการตาม ธรรมชาติ แต่ในปัจจุบนั การวิจยั ทางด้านจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ ชี้ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรี ยนเป็ นสิ่ งที่ สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรี ยน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเชื่อ กันว่ายาก และไม่เหมาะสมสำาหรับเด็กเล็กก็สามารถนำามาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่ตอบสนองแนวความคิด พื้นฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การเรี ยน การจัดโรงเรี ยนในโรงเรี ยน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น - ศูนย์การเรี ยน (Learning Center) - การจัดโรงเรี ยนในโรงเรี ยน (School within School) - การปรับปรุ งการสอนสามชั้น (Instructional Development in 3 Phases) 3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรื อตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัยความ สะดวกเป็ นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็ นชัว่ โมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยงั จัดเวลาเรี ยนเอาไว้ แน่นอนเป็ นภาคเรี ยน เป็ นปี ในปัจจุบนั ได้มีความคิดในการจัดเป็ นหน่วยเวลาสอนให้สมั พันธ์กบั ลักษณะ ของแต่ละวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรี ยนก็ไม่จาำ กัดอยูแ่ ต่ เฉพาะในโรงเรี ยนเท่านั้น นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น - การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน่ (Flexible Scheduling) - มหาวิทยาลัยเปิ ด (Open University) - แบบเรี ยนสำาเร็ จรู ป (Programmed Text Book) - การเรี ยนทางไปรษณีย ์ 4.ประสิ ทธิ ภาพในการเรี ยน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำาให้มีสิ่งต่างๆ ที่คน จะต้องเรี ยนรู ้เพิม่ ขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปั จจุบนั ยังไม่มีประสิ ทธิ ภาพเพียงพอจึงจำาเป็ นต้อง แสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปั จจัยเกี่ยวกับตัวผูเ้ รี ยน และปั จจัยภายนอก นวัตกรรม ในด้านนี้ที่เกิดขึ้น เช่น - มหาวิทยาลัยเปิ ด -การเรี ยนทางวิทยุ การเรี ยนทางโทรทัศน์ - การเรี ยนทางไปรษณีย ์ แบบเรี ยนสำาเร็ จรู ป - ชุดการเรี ยน


10

สำเหตุกำรเกิดนวัตกรรมกำรศึกษำ นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึ้นตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่อไปนี้ 1. การเพิ่มปริ มาณของผูเ้ รี ยนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ทำาให้นกั เทคโนโลยีการศึกษาต้องหานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ เพื่อให้สามารถสอนนักเรี ยนได้มากขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว การเรี ยนการสอนจึงต้องตอบสนองการเรี ยนการ สอนแบบใหม่ ๆ ที่ช่วยให้ผเู้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้เร็ วและเรี ยนรู ้ได้มากในเวลาจำากัดนักเทคโนโลยีการ ศึกษาจึงต้องค้นหานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้เพื่อวัตถุประสงค์น้ี 3. การเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนมีแนวโน้มในการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองมากขึ้ น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยดึ ผูเ้ รี ยนเป็ น ศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาสามารถช่วยตอบสนองการเรี ยนรู ้ตามอัตภาพ ตามความสามารถของแต่ละ คน เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer Assisted Instruction หรื อ CAI การเรี ยนแบบศูนย์การเรี ยน เป็ นต้น 4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ที่ส่วนผลักดันให้มีการใช้ นวัตกรรมการศึกษาเพิ่มมากขึ้น เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทาำ ให้คอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลง แต่มี ประสิ ทธิ ภาพสูงขึ้นมาก เทคโนโลยีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์ เน็ต ทำาให้เกิดการสื่ อสารไร้พรมแดน นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงคิดค้นหาวิธีการใหม่ ๆ ในการประยุกต์ใช้ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นฐานใน การเรี ยนรู ้ ที่เรี ยกว่า “Web-based learning” ทำาให้สามารถเรี ยนรู ้ในทุกที่ทุกเวลาสำาหรับทุกคน การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั เป็ นไปอย่างกว้างขวาง ในวงการศึกษาคอมพิวเตอร์ มิใช่เพียงแต่สิ่งอำานวย ความสะดวกในสำานักงานเท่านั้น แต่ยงั ใช้เป็ นสื่ อหรื อเป็ นเครื่ องมือสร้างสื่ อได้อย่างสวยงามเหมือนจริ ง และรวดเร็ วมากกว่าก่อน นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงศึกษาวิจยั บทบาทของนวัตกรรมทางด้านการผลิตและ การใช้สื่อใหม่ ๆ ตามศักยภาพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ที่เพิ่มมากขึ้นเช่น คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ระบบ มัลติมีเดีย วิดีโอออนดีมานด์ (Video-on-Demand) การประชุมทางไกล (Teleconference) อี-เลินนิ่ง (eLearning) อี-เอ็ดดูเคชัน่ (e-Education) เป็ นต้น


11

หลักเกณฑ์ ในกำรพิจำรณำนวัตกรรม นวัตกรรมเป็ นสิ่ งที่สร้างขึ้นใหม่หรื อพัฒนา ปรับปรุ ง เพิ่มเติมจากสิ่ งเดิมแล้วนำามาทดลองจนมี ประสิ ทธิ ภาพที่น่าเชื่อถือ และนำาไปใช้ในสภาพงานที่จริ งในที่สุด แต่เมื่อใช้นวัตกรรมจนเป็ นที่แพร่ หลาย และยอมรับเป็ นส่วนหนึ่งของงานแล้ว ก็จะ ถือได้วา่ นวัตกรรมนั้นได้ปรับเปลี่ยนเป็ นเทคโนโลยี แต่กย็ งั มี ความไม่แน่ใจอยูอ่ ีกว่า ถ้าเทคโนโลยีสภาพแวดล้อมหนึ่ง ซึ่งใช้เป็ นที่แพร่ หลายแล้ว แต่ในอีกสภาพ แวดล้อมหนึ่งยังถือว่าเป็ นสิ่ งใหม่ เพราะยังไม่เคยนำาไปปฏิบตั ิ จะถือว่าเป็ นเทคโนโลยีหรื อนวัตกรรมดังนั้น จึงมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณานวัตกรรมพอสรุ ปได้ดงั นี้ 1. เป็ นแนวคิดใหม่ วิธีการใหม่หรื อสิ่ งใหม่ที่ไม่เคยใช้มาก่อน 2. เป็ นแนวคิดเดิมวิธีการเดิมหรื อสิ่ งเดิมจากที่อื่น แล้วนำามาใช่กบั สภาพการณ์ใหม่ 3. เป็ นแนวคิดเดิมวิธีเดิม หรื อสิ่ งเดิม ที่ถูกพัฒนาปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลงหรื อเพิม่ เติมให้มี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น แล้วใช้ในสภาพการณ์เดิม หรื อนำาไปใช้สภาพการณ์ใหม่ 4. เป็ นแนวคิด วิธีการ หรื อสิ่ งที่ยงั ไม่ได้เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบงานในปั จจุบนั ถ้าใช้จนกลายเป็ นส่ วน หนึ่งของระบบงานในปัจจุบนั จะไม่ถือว่าเป็ นนวัตกรรม แต่เปลี่ยนเป็ นเทคโนโลยี 5. เป็ นแนวคิด วิธีการ หรื อสิ่ งที่อยูใ่ นระหว่างการวิจยั หรื อพิสูจน์ดว้ ยการวิจยั แล้วว่าช่วยให้การทำางาน มีประสิ ทธิ ภาพสูงขึ้น ถึงแม้วา่ นวัตกรรมนั้นมีประสิ ทธิภาพเป็ นที่น่าเชื่อถือ และใช้เป็ นที่แพร่ หลายในสภาพแวดล้อม และสังคมหนึ่งแล้วนั้น มิได้หมายความว่าจะใช้ได้ดีและมีประสิ ทธิ ภาพในสภาพแวดล้อมและสังคมอื่น เสมอไป เนื่องจากในแต่ละสภาพแวดล้อม และสังคมจะมีความแตกต่างกัน เช่น วัฒนธรรม บุคลากร สถาน ที่ บรรยากาศ เป็ นต้น ดังนั้นในการนำานวัตกรรมจากสภาพแวดล้อม และสิ่ งอื่นมาใช่กค็ วรที่จะต้องทดลอง ใช้กบั สภาพแวดล้อและสังคมใหม่เพื่อรับประกันว่าในสภาพแวดล้อม และสังคมใหม่น้ ีนวัตกรรมที่นาำ มาใช้ มีความเหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพสูงกว่าจริ ง หรื อมีการวิจยั ที่ยนื ยันว่านวัตกรรมที่นาำ มาใช้น้ี สามารถนำา ไปใช้ได้ดีและมีประสิ ทธิภาพในสภาพแวดล้อมและสังคมที่มีลกั ษณะใกล้เคียงหรื อเหมือนกันนี้


12

นวัตกรรมกำรศึกษำในประเทศไทย จะเห็นได้วา่ นวัตกรรมนั้นจะขึ้นอยูก่ บั เกณฑ์ในการพิจารณาซึ่งนวัตกรรมในสภาพแวดล้อมหนึ่ง อาจจะเป็ นเทคโนโลยีในอีกสภาพแวดล้อมหนึ่งไปแล้ว อย่างเช่น การใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ใน สหรัฐอเมริ กาจะเป็ นเทคโนโลยีไปแล้ว แต่ในประเทศไทยอาจจะเป็ นนวัตกรรมอยู่ แต่ถา้ มองให้แคบลงใน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจจะถือว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นเทคโนโลยีไป แล้ว ดังนั้นการที่จะกล่าวลงไปว่าอะไรเป็ นนวัตกรรมอะไรเป็ นเทคโนโลยีกข็ ้ึนอยูก่ บั ว่าจะเอากรอบอะไรมา เป็ นตัวจับ กรอบนั้นมีขอบเขตกว้างหรื อแคบแค่ไหน ในที่น้ ีจะขอใช้กรอบในประเทศไทย โดยรวมเป็ นหลัก ไม่เฉพาะเจาะจงไปในมหาวิทยาลัยใด หรื อกระทรวง กรม กอง สถาบันการศึกษาเป็ นหลัก โดยจะแบ่ง นวัตกรรมการศึกษาในประเทศไทยออกเป็ นหมวดหมู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ นวัตกรรมวิธีการหรื อ กระบวนการ (Technique of Process) นวัตกรรมที่ประสมวิธีการหรื อกระบวนการและการผลผลิต (Process and Product) และคอมพิวเตอร์ที่นาำ มาใช้ในการศึกษา (Computer-Based Education) ซึ่งแยกออกมาจาก นวัตกรรมที่ประสมวิธีการหรื อกระบวนการ และ ผลผลิต เนื่องจากเห็นว่าคอมพิวเตอร์ มีบทบาทมากใน ปั จจุบนั และแนวโน้มคอมพิวเตอร์กจ็ ะเป็ นส่ วนหนึ่งของชีวิตประจำาวันของผูค้ น ส่ วนนวัตกรรมที่เป็ น ผลผลิตอย่างเดียวได้นาำ ไปกล่าวไว้ในเทคโนโลยีประเภทอุปกรณ์แล้ว ตัวอย่ ำงนวัตกรรมกำรศึกษำ 1.

ศูนย์การเรี ยน

2.

การสอนแบบโปรแกรมและบทเรี ยนสำาเร็ จรู ป

3.

ชุดการเรี ยนการสอน

4.

การเรี ยนการสอนระบบเปิ ด

5.

การสอนเป็ นคณะ

6.

การจัดโรงเรี ยนไม่แบ่งชั้น

7.

การจัดโรงเรี ยนในโรงเรี ยนและการเรี ยนการสอนทางไกล

8.

แบบฝึ กหัดปฏิบตั ิเฉพาะกิจ

9.

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI ) และการนำาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการเรี ยนการสอน


13

กำรนำำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทนั สมัยมำใช้ ในกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอน วิธีการจัดการศึกษา สามารถแบ่งเป็ นหัวข้อต่าง ๆ ได้ดงั นี้ เช่น การศึกษารายบุคคล การศึกษาเป็ นก ลุ่ม การศึกษามวลชน การศึกษาทางไกล การศึกษาระบบเปิ ด การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาผูใ้ หญ่ เป็ นต้น การจัดการเรี ยนการสอนปัจจุบนั ได้นาำ ทฤษฎีการเรี ยนรู ้และหลักการแนวคิดทางเทคโนโลยีการ ศึกษาในทัศนะต่างๆมาใช้ร่วมกันอย่างผสมผสานเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพของการสอนเทคโนโลยีทางการ ศึกษาการใช้วสั ดุอุปกรณ์เข้าช่วยในการจัดการเรี ยนการสอนได้มีบทบาทอย่างมากในการประยุกต์ใช้ทฤษฎี การเรี ยนรู ้เพื่อส่งเสริ มสนับสนุนการสอน ให้การจัดการเรี ยนการสอนบรรลุจุดประสงค์ทาำ ให้เกิดสภาพ การณ์ที่มนั่ ใจได้วา่ จะก่อให้เกิดการเรี ยนรู้ได้ตามจุดประสงค์ของบทเรี ยนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4 ประการ คือ 1. ให้ผเู ้ รี ยนได้มีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้อย่างแข็งขัน ด้วยความพึงพอใจและเต็มใจที่จะเรี ยนรู ้ 2. ให้ผเู ้ รี ยนได้รับข้อมูลย้อนกลับอย่างฉับพลัน ช่วยกระตุน้ ผูเ้ รี ยนต้องการจะเรี ยนรู ้ต่อไป 3. ให้ผเู ้ รี ยนได้รับการเสริ มแรงด้วยการให้ประสบการณ์แห่ งความสำาเร็ จเรี ยนรู ้ดว้ ยความพอใจ 4. ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู้เป็ นขั้นตอนทีละน้อย ไม่เกิดความดับข้องใจ เรี ยนด้วยความสนใจ พอใจ และไม่ เบื่อหน่าย จากหลักการและแนวคิดข้างต้นจะเห็นว่าการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาเป็ นสิ ่ ง จำาเป็ นในการจัดการเรี ยนการสอนในปัจจุบนั การจัดทำาแผนภาพแผนภูมิหาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการ เรี ยนการสอนซึ่งไม่เคยใช้มาก่อนเป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดให้มีการสร้างจัดหาวัสดุอุปกรณ์ ประกอบการสอนเป็ นสิ่ งจำาเป็ นในการจัดการเรี ยนการสอนการจัดให้ครู ทาำ บันทึกการสอนตามลำาดับขั้น ตอนการสอนของกิจกรรมการเรี ยนการสอนซึ่งครู ไม่เคยทำาการบันทึกมาก่อนเป็ นนวัตกรรมทางการ ศึกษาการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยสร้างบทเรี ยนสำาเร็ จรู ปใช้ในการเรี ยนการสอนอย่างนี้ เป็ นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาขอเสนอแนวดำาเนินการการจัดทำาบทเรี ยนสำาเร็ จรู ป และบทเรี ยนโปรแกรม เพื่อใช้ในการเรี ยนการสอน


14

นวัตกรรมทำงกำรศึกษำทีส่ ำ ำคัญของไทยในปัจจุบัน นวัตกรรม เป็ นความคิดหรื อการกระทำาใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมี การคิดและทำาสิ่ งใหม่อยูเ่ สมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นใหม่ได้เรื่ อยๆ สิ่ งใดที่คิดและทำามานาน แล้ว ก็ถือว่าหมดความเป็ นนวัตกรรมไป โดยจะมีสิ่งใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบนั มีสิ่งที่เรี ยกว่านวัตกรรมทางการศึกษา หรื อนวัตกรรมการเรี ยนการสอน อยู่ เป็ นจำานวนมาก บางอย่างเกิดขึ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิ บปี แล้ว แต่กย็ งั คงถือว่าเป็ น นวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเหล่านั้นยังไม่แพร่ หลายเป็ นที่รู้จกั ทัว่ ไป ในวงการศึกษา นวัตกรรมทำงกำรศึกษำต่ ำงๆ ทีก่ ล่ ำวถึงกันมำกในปัจจุบัน E-learning ความหมาย e-Learning เป็ นคำาที่ใช้เรี ยกเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยงั ไม่มีชื่อภาษาไทยที่ แน่ชดั และมีผนู้ ิยามความหมายไว้หลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เหลาจรัสแสง ให้คาำ นิยาม E-Learning หรื อ Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรี ยนผ่านทางสื่ ออิเลคทรอนิกส์ซ่ ึ งใช้การ นำาเสนอเนื้อหาทาง คอมพิวเตอร์ ในรู ปของสื่ อมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิ ก วิดีโอ ภาพ เคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ”เช่นเดียวกับ คุณธิ ดาทิตย์จนั คนา ที่ให้ความ หมายของ e-learning หมายถึงการ ศึกษาที่เรี ยนรู้ผา่ นเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตโดยผูเ้ รี ยนรู ้จะเรี ยนรู ้ ด้วยตัวเอง การเรี ยนรู ้จะเป็ นไปตามปั จจัยภาย ใต้ทฤษฎีแห่ งการเรี ยนรู้สองประการคือ เรี ยนตามความรู ้ความสามารถของผูเ้ รี ยนเอง และ การตอบสนองใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล(เวลาที่แต่ละบุคคลใช้ในการเรี ยนรู ้)การเรี ยนจะกระทำาผ่านสื่ อบนเครื อข่าย อินเตอร์ เน็ต โดยผูส้ อนจะนำาเสนอข้อมูลความรู ้ให้ผเู ้ รี ยนได้ทาำ การศึกษาผ่านบริ การ World Wide Web หรื อ เว็บไซด์ โดยอาจให้มีปฏิสมั พันธ์ (สนทนา โต้ตอบ ส่ งข่าวสาร) ระหว่างกัน จะที่มีการ เรี ยนรู ้ ในสามรู ป แบบคือ ผูส้ อนกับ ผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยนอีกคนหนึ่ง หรื อผูเ้ รี ยนหนึ่งคนกับกลุ่มของผูเ้ รี ยน ปฏิสมั พันธ์น้ ี สามารถ กระทำา ผ่านเครื่ องมือสองลักษณะคือ 1)แบบ Real-time ได้แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ขอ้ ความแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน หรื อ ส่ งใน ลักษณะของเสี ยง จากบริ การของ Chat room 2)แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผ่านทางบริ การ อิเล็กทรอนิกเมล์ WebBoard News-group เป็ นต้น


15

ความหมายของ e-Learning ที่มีปรากฏอยูใ่ นส่ วนคำาถามที่ถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ) ในเว็บ www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ Technology-based Learning นั้นคือการศึกษาที่อาศัยเทคโนโลยีมาเป็ นส่ วนประกอบที่ สำาคัญ ความหมาย ของ e-Learning ครอบคลุมกว้างรวมไปถึงระบบโปรแกรม และขบวนการที่ ดำาเนินการ ตลอดจนถึงการ ศึกษาที่ใช้ คอมพิวเตอร์เป็ นหลักการศึกษาที่อาศัย Web เป็ นเครื่ องมือหลักการศึกษาจากห้องเรี ยนเสมือน จริ ง และการศึกษาที่ใช้ การทำางานร่ วมกันของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่านี้ มา จากลักษณะของการส่งเนื้ อหาของบทเรี ยนผ่านทาง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมทั้งจากในระบบ อินเตอร์ เน็ต ระบบเครื อข่ายภายใน (Intranets) การ ถ่ายทอดผ่านสัญญาณทีวี และการใช้ซีดีรอม อย่างไร ก็ตาม e-Learning จะมีความหมายในขอบเขต ที่แคบกว่าการศึกษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซึ่งจะรวมการเรี ยนโดยอาศัยการส่ง ข้อความหรื อเอกสารระหว่างกันและชั้นเรี ยนจะเกิดขึ้นในขณะที่มีการ เขียนข้อความส่งถึงกัน การนิยามความหมายแก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี ความแตกต่างกัน ตามแต่องค์กร บุคคลและกลุ่มบุคคลแต่ละแห่ งจะให้ความหมาย และคาด กันว่าคำาว่า e-Learning ที่มีการใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 ในที่สุดก็จะเปลี่ยนไปเป็ น e-Learning เหมือนอย่าง กับที่มีเปลี่ยนแปลงคำาเรี ยกของ e-Business เมื่อกล่าวถึงการเรี ยนแบบ Online Learning หรื อ Web-based Learning ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่ง ของ Technology-based Learning ที่มีการเรี ยนการสอนผ่านระบบอินเตอร์ เน็ต อินทราเน็ต และ เอ็กทรา เน็ต(Extranet) พบว่าจะมีระดับ การจัดการที่แตกต่างกันออกไป Online Learning ปกติจะ ประกอบด้วยบท เรี ยนที่มีขอ้ ความและรู ปภาพ แบบฝึ กหัดแบบทดสอบ และบันทึกการเรี ยน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ(test score) และบันทึกความก้าวหน้าของการเรี ยน(bookmarks) แต่ถา้ เป็ น Online Learning ที่สูงขึ้นอีกระดับ หนึ่ง โปรแกรมของการเรี ยนจะประกอบด้วยภาพเคลื่อนไหว แบบ จำาลอง สื่ อที่เป็ นเสี ยง ภาพจากวิดีโอ กลุ่มสนทนาทั้งในระดับเดียวกันหรื อในระดับผูร้ ู ้ ผูม้ ีประสบการณ์ ที่ปรึ กษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จุดเชื่อมโยงไปยังเอกสารอ้างอิงที่มีอยู่ ในบริ การของเว็บ และการสื่ อสารกับระบบที่บนั ทึกผล การเรี ยน เป็ นต้น การเรี ยนรู้แบบออนไลน์หรื อ e-learning การศึกษาเรี ยนรู ้ผา่ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ต(Internet) หรื ออินทราเน็ต(Intranet) เป็ นการเรี ยนรู ้ดว้ ยตัวเอง ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนตาม ความ สามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรี ยนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รู ปภาพเสี ยง วิดีโอและ มัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผูเ้ รี ยนผ่าน Web Browser โดยผูเ้ รี ยน ผูส้ อน และ เพื่อนร่ วมชั้นเรี ยนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึ กษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับ การเรี ยนในชั้นเรี ยนปกติ


16

อ้ ำงอิง กิดานันท์มะลิทอง.(2540) . เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.กรุ งเทพฯ:ชวนพิมพ์.สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556 จาก http://senarak.tripod.com/indexsimple.htm บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5).กรุ งเทพฯ: SR Printing.สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556 จาก http://www.nong.i-p.com ศูนย์วตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษา.(2551).นวัตกรรมการศึกษา. นครราชสี มา:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุ รนารี . สื บค้นเมื่อ 3 มกราคม 2556 จาก http://ceit.sut.ac.th/km/wordpress/?p=138 เลิศชาย ปานมุข. (2551). นวัตกรรมทางการศึกษา. พระนครศรี อยุธยา: สถานที่แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. สื บค้นเมื่อ วันที่ 5 มกราคม 2556 จาก http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=40.0 เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตร การพัฒนานวัตกรรม ( ด้านที่ 3 ). (2554). กรุ งเทพ ฯ:สถาบันพัฒนา ความก้าวหน้า. สื บค้นเมื่อ วันที่ 3 มกราคม 2556 จาก http://www.slideshare.net/veerasit/ss6887963


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.