Book2015

Page 1



1


DESIGNER OF THE YEAR 2015: ON LIFE AND DESIGN พิมพ์ที่ บริษัท โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส์ จ�ำกัด | O.S. Printing House Co., Ltd. จ�ำนวน 500 เล่ม | 500 Copies ตุลาคม 2558 | October 2015 บทสัมภาษณ์ | INTERVIEW: Studio Dia{ogue ออกแบบและจัดวางรูปเล่ม | GRAPHIC DESIGN: ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี Asst. Prof. Arwin Intrungsi พสุกิตติ์ จันทร์แจ้ง Pasukitt Janjang ประสานงาน | COORDINATOR: มุกดา จิตพรมมา Mukda Jitphromma แปล | TRANSLATOR: ปาณสาร ธรรมแสง Panasarn Tammasaeng ขอขอบคุณ | THANKS: สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ Thailand Institute of Design and Innovation Promotion, Department of International Trade Promotion, Ministry of Commerce สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย Thai Graphic Designers Association สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย Thailand Interior Designers’ Association บริษัท สถาปนิก 49 จ�ำกัด Architect 49 Limited บริษัท โยธกาอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด Yothaka International Co., Ltd มหาวิทยาลัยรังสิต Rangsit University

2


ศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ ประธานคณะกรรมการด�ำเนินงาน โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย PROF. EAKACHART JONEURAIRATANA Chairman Designer of the Year Project Committee

ท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมย่อยอันเชี่ยวกรากหลากหลายที่เวียนว่ายอยู่ในกระแสสังคม บนโลกไร้ พรมแดน จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่นักออกแบบไทยควรจะได้เหลียวหันกลับมามองถึงรากเหง้า ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถี ในการสร้างสรรค์งานดีไซน์ของตนอย่างมีเอกลักษณ์ บนพื้นฐานการเป็นประชาคมอาเซียน ที่ก�ำลังหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน การสร้างอัตลักษณ์ไทยในงานออกแบบ โดยเฉพาะแบรนด์วัฒนธรรม นับเป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ การปลูกจิตส�ำนึกในกระบวนการวางรากฐานทุนทางปัญญาไทยให้มนั่ คง เพือ่ สืบสานต่อยอดองค์ความรูส้ คู่ วาม มั่งคั่ง ในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ให้ก้าวหน้าอย่างยั่งยืนสืบต่อไป โครงการนักออกแบบยอดเยีย่ มแห่งปี ได้ทำ� การสนับสนุน เผยแพร่ชอื่ เสียงของนักออกแบบไทยสูส่ ากล มาอย่างต่อเนือ่ งจนครบวาระปีที่ 12 ข้าพเจ้ารูส้ กึ ภาคภูมใิ จเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมเป็นแรงผลักดันโครงการ นีม้ าตัง้ แต่แรกเริม่ มาโดยตลอด จนกระทัง่ ได้มโี อกาสเห็นดีไซน์เนอร์ไทยในสาขาวิชาชีพต่างๆ ก้าวขึน้ ไปยืนอยู่ บนเวทีระดับแนวหน้าของอาเซียน ขณะทีบ่ างท่านก้าวขึน้ สูบ่ ลั ลังก์งานออกแบบระดับนานาชาติได้อย่างสง่างาม จนมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ กล่าวขาน และจดจ�ำในวงการออกแบบโลกปัจจุบัน ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย สมาคม มัณฑนากรแห่งประเทศไทย เครือข่ายวิชาชีพ สถาบันการศึกษา คุณนิธิ สถาปิตานนท์ (ศิลปินแห่งชาติ) คุณสมชาย จงแสง (ศิลปินศิลปาธร) กรรมการรอบคัดสรร กรรมการรอบตัดสิน เจ้าหน้าทีแ่ ละผูเ้ กีย่ วข้องทุกๆ ท่าน ที่มีส่วนสร้างสรรค์ และเป็นแรงผลักดันวงการออกแบบไทยให้เจริญก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไปในอนาคต Among the tidal waves of various subcultures in this presently borderless world, it is crucial that Thai designers look back at their roots, local knowledge, culture, traditions, and ways to create unique and distinctive designs, on the basis of us being one of the Asean community. To create Thai identity, especially for cultural brands, helps tremendously in expanding local knowledge into tangible prosperity as it is an important drive for sustainable growth of creative economy. “Designer of The Year” project has been promoting the work of Thai designers for wider recognition on an international level for 12 consecutive years. I’m extremely proud to be a part that makes this project happen since the beginning. I have seen many Thai designers standing proudly on the forefront of the Asean community. Some of them stepped up even further and are now widely accepted in the global scene. I would like to take this opportunity to express my gratitude towards the Department of International Trade Promotion, Thai Graphic Designers Association, Thailand Interior Designer Association, network of vocational studies, educational institutions, Mr.Nithi Stapitanonda (National Artist), Mr.Somchai Jongsaeng (Silpathorn Artist), committee board of selection, judges, officials and everyone involved in the project who has been a great help in developing the Thai design industry .

3


มหาวิทยาลัยศิลปากร  ได้ดาํ เนินกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมเพือ่ สนับสนุน นักออกแบบสร้างสรรค์ไทย มาตลอดระยะเวลากว่า 70 ปี ซึ่ง “โครงการนักออกแบบแห่งปี” ซึ่งด�ำเนินการโดยคณะมัณฑนศิลป์นี้ ก็เป็น อีกหนึง่ ในความภาคภูมใิ จ  ทีม่ หาวิทยาลัยได้มสี ว่ นร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนงานออกแบบของไทยให้ได้ มาตรฐานระดับนานาชาติ และเป็นฐานความรูท้ ไี่ ด้แสดงออกถึงวิวฒ ั นาการงานออกแบบ อันจะนําไปสูก่ ารพัฒนา มาตรฐานนักออกแบบไทยสู่ระดับสากลต่อไป มหาวิทยาลัยศิลปากรขอขอบคุณ คณะมัณฑนศิลป์ สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพือ่ การค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย สมาคมมัณฑนากรแห่ง ประเทศไทย เครือข่ายวิชาชีพ สถาบันการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนการจัด “โครงการ นักออกแบบแห่งปี” มาโดยตลอด และขอแสดงความยินดีกบั นักออกแบบทีไ่ ด้รบั รางวัลนักออกแบบแห่งปี 2558 “Designer of the Year 2015” ทุกท่าน ทีม่ โี อกาสการเผยแพร่ผลงานการออกแบบสูส่ าธารณชนผ่านหนังสือ เล่มนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะสร้างแรงจูงใจให้กับนักออกแบบรุ่นใหม่ในการพัฒนาสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ ประจักษ์และได้รับการยอมรับในระดับสากลต่อไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ASST. PROF. CHAICHARN THAVARAVEJ President Silpakorn University

4

Silpakorn University has been conducting art and cultural activities for more than 70 years with the aim to support Thai designers continuously. The “Designer of the Year” Project conducted by the Faculty of Decorative Arts is one of the activities that the University takes pride in. The Project helps promote and support Thai designers and their design works to meet the international standards.We are also proud to be the source of knowledge about the evolution of design which will lead to the international standard of Thai designers’ works. Silpakorn University would like to extend gratitude to the Faculty of Decorative Arts, Thailand Institute of Design and Innovation Promotion, Department of International Trade Promotion, Ministry of Commerce, Thai Graphic Designers Association, Thailand Interior Designers’ Association, design professional networks, educational institutes, and all personnel concerned for their constant support of the “Designer of the Year” Project. Especially, I am sending my congratulations to all of the winners of the Designer of the Year 2015 for their opportunities to publicize their designed works through this book. I strongly hope that all of the winners will be the inspiration to the new generation of designers to create their design works and be well accepted worldwide.


ในขณะทีเ่ ศรษฐกิจการค้าโลกขับเคลือ่ นเข้าสูย่ คุ เศรษฐกิจดิจติ อล การพัฒนาด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อช่วงชิงส่วนแบ่งการตลาดของผู้บริโภคทั่วโลกก็มีความเข้มข้นขึ้น เกิดผู้ประกอบการรายใหม่ขึ้นทุกวัน โดย เฉพาะกลุ่มธุรกิจแบบสตาร์ทอัพ หรือ SME ท�ำให้เวทีการค้าโลกเกิดคู่แข่งในตลาดการค้าเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่ง การแข่งขันนั้นอาศัยความคิดสร้างสรรค์ และการออกแบบมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความโดดเด่นแตกต่าง ให้กับสินค้า ซึ่งนักออกแบบและผู้ประกอบการไทยเองก็ให้ความส�ำคัญกับเรื่องดังกล่าวอย่างมาก มีการสร้าง มูลค่าเพิม่ ให้กบั สินค้าและสร้างแบรนด์อย่างจริงจังมากขึน้ โดยใส่ใจรายละเอียดในด้านการออกแบบสร้างสรรค์ ทั้งรูปลักษณ์ ฟังก์ชั่นการใช้งาน และคุณภาพของสินค้าและบริการ น�ำเสนอความแปลกใหม่สู่ตลาดอย่างน่า สนใจ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการส่งเสริม และผลักดันอย่างต่อเนื่องจากหน่วยงานในภาครัฐ ภาคการศึกษา และ ภาคเอกชนที่ริเริ่มท�ำงานออกแบบอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย Designer of the year มีสว่ นช่วยส่งเสริมนักออกแบบ ไทยให้เป็นทีร่ บั รูใ้ นวงกว้าง ยกย่องเชิดชูเกียรตินกั ออกแบบผูท้ อี่ ยูเ่ บือ้ งหลังความก้าวหน้าของวงการออกแบบไทย เพือ่ ให้เขาเหล่านัน้ สร้างสรรค์ผลงานอย่างไม่หยุดนิง่ รวมถึงการน�ำเสนออัตลักษณ์ความเป็นไทยสูส่ ากล จนถึง ปัจจุบนั มีการมอบรางวัลขยายสาขาครอบคลุมทัง้ สินค้าและบริการด้านการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์มาก ขึน้ ท�ำให้เราเห็นการเชือ่ มโยงความคิดสร้างสรรค์ในหลากหลายสาขาการออกแบบมากขึน้ รวมทัง้ เห็นศักยภาพ หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ และโอกาสการเติบโตของอุตสาหกรรมการออกแบบไทยซึง่ จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ ผู้อ�ำนวยการ สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพือ่ การค้า ในอนาคต ในโอกาสทีป่ นี ี้ ครบรอบ 60 ปี คณะมัณฑนศิลป์ และครบรอบปีที่ 12 ของการด�ำเนินโครงการเส้นทาง กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ สู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ผมขอแสดงความยินดีกับคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมถึง กระทรวงพาณิชย์ นักออกแบบที่ได้รับรางวัลทุกท่าน  ที่มีส่วนช่วยกันพัฒนาวงการออกแบบไทยให้เกิดการรับรู้ในวงกว้าง  และ ให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของนักออกแบบไทย เป็นการช่วยผลักดันผลงานการออกแบบไทยให้เป็นที่ยอมรับ M.L. KATHATHONG THONGYAI ในตลาดโลก  น�ำมาซึ่งการสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศอย่างยั่งยืนและส่งเสริมสินค้าไทยให้ก้าวไกลสู่ความเป็น Director Thailand Institute of Design and Innovation เลิศในเวทีการออกแบบระดับสากล Promotion, Department of International While the world trading economy is moving forward to the digital age, the competitions for Trade Promotion, Ministry of Commerce market shares through the development of innovation and new technologies get higher and higher. The number of new entrepreneurs increases every day, especially in the start-up business lines or SME, leading to the multiplicity of competitors in the world trading arena. The competition essentially relies on creativity and designs used to create product features. Thai designers and entrepreneurs are extremely focusing on these issues. Values have been added to their products significantly, working hard on brand development and paying more attention on product details. Creative designs, product appearances, functions, quality, and services are also emphasized on in order to present the products to the markets in most interesting ways. This is partly the result of the promotional schemes and continuous encouragement made by the government agencies, educational sectors , and private sectors working on design projects in great determination. The “Designer of the Year” Project is the path leading to international class for Thai designers and takes part in promoting Thai designers to be recognized in larger scale . The project is also intended to honor those artists who are working for the advancement of Thailand’s design society, to give them encouragement to create more design works, and to show Thai identities to the international world. Recently, more awards have been granted to cover a variety of design products and services with creative ideas. As a result, the relativity of creative ideas among people in the design fields will be seen more clearly, as well as the potentials and opportunities in the development of Thailand’s design industry. This will contribute to the development of Thai economy consequently. On the occasion of the 60th anniversary of the Faculty of Decorative Arts and the 12th anniversary of the project that leads Thai designers to the international class, I would like to express my appreciation to Silpakorn University Faculty of Decorative Arts and all the designers who won the prizes in this project. With all this effort, I hope that Thailand’s design society and Thai designers will be recognized worldwide and Thai design products will also be well accepted in global markets. 5


ผมรูส้ กึ ยินดีอย่างมาก ทีจ่ ะมีโอกาสได้รว่ มเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 12 ปี ของการจัดท�ำโครงการ Designer of the Year พร้อมกับร่วมฉลองในวาระที่คณะมัณฑนศิลป์ จะครบรอบการก่อตั้ง 60 ปี ในปี พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้ โครงการ Designer of the Year นับได้ว่าเป็นโครงการที่ประสบความส�ำเร็จอย่างดียิ่ง ด้วยเป็นกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมให้นกั ออกแบบไทยในหลายๆ แขนง ได้กา้ วไปสูร่ ะดับสากลและเป็นทีร่ จู้ กั อย่างกว้าง ขวางในสังคมของวงการศึกษาและวงการออกแบบทั้งในประเทศและนานาชาติ ตลอดระยะเวลา 12 ปี ที่โครงการได้ด�ำเนินการมา ได้มีส่วนช่วยพัฒนาสายงานการออกแบบให้เจริญ ก้าวหน้า ทัดเทียมนานาประเทศและมีส่วนเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นให้กับวงการออกแบบและสร้างความ มุ่งมั่นตั้งใจให้กับนักออกแบบรุ่นใหม่ๆ ได้อย่างเอนกอนันต์ ผมต้องขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่านและผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำโครงการที่ได้เสียสละทั้งก�ำลังกาย และเวลา เพื่อช่วยกันจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์อันส�ำคัญนี้ และขอแสดงความยินดี ที่คณะมัณฑนศิลป์ได้ สร้างสรรค์กิจกรรมที่ดีมีคุณค่าแก่สังคม ทั้งยังได้ผลิตนักศึกษาที่ดีมีคุณภาพและเป็นผู้น�ำในสังคมให้กับวงการ ออกแบบต่อเนือ่ งมากว่า 60 ปี ขออวยพรให้คณะฯ มีความเจริญรุง่ เรืองยิง่ ๆ ขึน้ ไป และยังคงรักษาจิตวิญญาณ ของการสร้างบัณฑิตที่เป็นก�ำลังส�ำคัญของประเทศชาติสืบต่อไป นิธิ สถาปิตานนท์ ศิลปินแห่งชาติ NITHI SATHAPITANON National Artist of Thailand

6

I am very delighted to have a chance to celebrate the 12th anniversary of the Designer of the Year Project as well as the 60th anniversary of the establishment of the Faculty of Decorative Arts which will be in this coming 2016. During 12 years of success, The Designer of the Year Project has brought Thai designers to meet international standards in various fields, and has given them greater recognition among domestic and international education and design societies. This Project has also greatly contributed to the evolution of Thai design vocations to meet international standards, the strong unity of the design society, and the inspiration to the new generation of designers. I would like to thank all the Faculty members concerned for their time and determination to run this Project which has been significantly beneficial to the design society. In addition, I would like to show my appreciation to the Faculty for providing the design society with high quality personnel and being the leader of the society along these 60 years. Finally, I hope that the Faculty will continue to flourish and keep the strong faith in producing excellent designers for Thailand.


โอภาส ลิมปิอังคนันต์

นายกสมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย OPAS LIMPI-ANGKANAN President Thai Graphic Designers Association

รู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งและขอขอบคุณที่ให้ผมได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอันทรงเกียรติแห่งปีในครั้งนี้ งานแห่งการยกย่องให้เกียรติต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ และท�ำให้สังคมได้เห็นถึงคุณค่าความส�ำคัญของ “นักออกแบบ” ผู้อยู่เบื้องหลัง “ผลิตผล” ที่เกิดจากการออกแบบที่ดี มีพัฒนาการ สอดรับกับการปรับตัวรับความเปลีย่ นแปลง การพัฒนา และความต้องการของโลกทีเ่ ป็นไปอย่างรวดเร็ว และต่อเนือ่ ง โดยยึดมัน่ คงไว้ซงึ่ จุดยืน ความเชือ่ ตัวตนของนักออกแบบในโลกปัจจุบนั นัน้ ไม่งา่ ย บทพิสจู น์เดียว ในความเป็นนักออกแบบทีย่ งิ่ ใหญ่และได้ถกู เป็นทีย่ อมรับนัน่ คือ “เวลา” เวลาได้ทำ� หน้าทีเ่ ป็นเครือ่ งพิสจู น์ความ เชื่อกับความรักในสิ่งที่นักออกแบบคิด ท�ำ ฝึกฝน เรียนรู้ ด้วยความอดทน มุ่งมั่น เคารพในศักดิ์ศรีของตัวเอง ที่มีต่อวิชาชีพ หนังสือเล่มนี้ส�ำหรับผมเปรียบมันเสมือนสมุดบันทึกประวัติศาสตร์ของวงการออกแบบในประเทศไทย อีกเล่มหนึง่ ทีท่ ำ� หน้าทีท่ งั้ เผยแพร่ และเป็นหลักฐานบันทึกทีส่ ำ� คัญของประเทศไทย หลักฐานแห่งเรือ่ งราวของ นักออกแบบทีม่ คี ณ ุ ค่าทีไ่ ด้ถกู บันทึกและรวบรวมไว้ในช่วงเวลาหนึง่   มันท�ำหน้าทีร่ วบรวมเรือ่ งราวของความเชือ่ กับความรักในสิง่ ทีพ่ วกเขาเชือ่ และท�ำ  รวมถึงบันทึกการเดินทางของนักออกแบบกลุม่ หนึง่ ทีไ่ ด้เข้าสูก่ ระบวนการ การคัดสรรและถูกคัดเลือกให้เป็นกลุม่ นักออกแบบไทยทีไ่ ด้พสิ จู น์ตวั เองผ่านช่วงเวลาทีต่ า่ งๆ กัน นักออกแบบกลุม่ นีท้ ผี่ า่ นกระบวนการคัดเลือกเข้ามาเป็นนักออกแบบทีน่ า่ ศึกษาในเรือ่ งจุดยืนวิธคี ดิ มุมมอง หลักและวิธกี ารใช้ชวี ติ การท�ำงาน แนวทางในการท�ำงานในฐานะผูค้ ิด ผูส้ ร้างงาน เหล่านีล้ ว้ นเป็นปัจจัยส�ำคัญที่มองไม่เห็นและมักไม่ ค่อยได้ถกู พูดถึง ทัง้ ๆ ทีม่ นั คือหัวใจแห่งการได้มาซึง่ “ผลงานทีย่ อดเยีย่ ม” สุดท้ายนีผ้ มขอชืน่ ชมและเป็นก�ำลังใจ ให้กบั นักออกแบบทุกๆ ท่าน ทุกสาขา ทุกรุน่ ทุกเพศวัย ทีม่ งุ่ มัน่ สร้างงานทีม่ คี ณ ุ ค่า เต็มเปีย่ มด้วยพลัง คุณภาพ และที่ส�ำคัญ เป็นผู้ที่ช่วยเติมแต่งให้โลกที่สวยงามใบนี้ เพื่อให้มีการออกแบบที่ดีคงอยู่คู่โลกใบเล็กใบนี้ต่อไป I’m very honored and grateful to be a part of this prestigious event. This award celebrates the accomplishment of our fellow designers. It encourages the general public to realize the importance of “the designer” who is behind the success of a product, which is the result of good design that is well-adjusted to the ever-changing world, while keeping a firm standpoint of the designer’s individuality. The real proof of greatness is “time”. Time is the validator of faith, hard work, determination, perseverance, and the respect one has on his or her profession. To me, this book is a great chronicle of the Thai design industry. It’s an important journal that records stories of talented designers, their beliefs, and their profound love in what they do. It’s about their journey on the path of becoming respectable designers at different times. These designers are carefully screened and chosen, from their unique viewpoints, principles, work ethics, and their approach in thinking and creating. These factors are often overlooked although they’re the keys to “great work”. Lastly, I would like to convey my admiration and support to each and every designer of all genres, generations, genders, and ages who work hard to make the world more pleasant with their quality and powerful creations, with hopes that good design will always prevail for the longest time to come.

7


ในนามของสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย ซึง่ เป็นองค์กรทีม่ สี ว่ นร่วมส่งเสริมเจตนารมณ์ทจี่ ะสร้างสรรค์ พัฒนาการ และนวัตกรรมใหม่ๆ ในวงการวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ขอแสดงความชื่นชม กับคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ได้ด�ำเนินการโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย “Designer of the Year” โดยด�ำเนินการพิจารณาตัดสินผลงานนักออกแบบยอดเยีย่ มแห่งปี ในปีนเี้ ป็นปีที่ 12 โดยทางสถาบันได้คดั สรรผลงานนักออกแบบทีเ่ พียบพร้อมทัง้ องค์ความรูใ้ นด้านวิชาชีพและเป็นการสร้างสรรค์ ศาสตร์และศิลปะ ระหว่างทักษะและความคิดสร้างสรรค์ผลงานจากจินตนาการทีไ่ ด้วเิ คราะห์ออกแบบมาเป็นอย่าง ดีเยี่ยม มาน�ำเสนอผลงานแก่สาธารณชนและประชาชนผู้สนใจ สมาคมฯ  เชื่อว่าการด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องของโครงการนี้ประสบผลส�ำเร็จด้วยดีนับเนื่องจนปัจจุบัน จะมีส่วนส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อศักยภาพในการเพิ่มพูนต่อยอดบูรณาการขององค์ความรู้  ให้ก่อเกิดผลงานที่ เต็มเปีย่ มไปด้วยเจตนารมณ์ทจี่ ะสร้างสรรค์พฒ ั นาการใหม่ในวงการออกแบบของสาขาวิชาชีพ อันมีสว่ นผลักดัน ให้เป็นที่ประจักษ์สู่สายตานักออกแบบในเวทีแนวหน้าของนานาชาติในระดับสากลต่อไป

เมธินี สุวรรณะบุณย์

นายกสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย METHINEE SUWANNABOON President Thailand Interior Designers’ Association

8

On behalf of Thailand Interior Designers’ Association, I would like to extend my appreciation to Silpakorn University Faculty of Decorative Design for conducting the “Designer of the Year” Project which helps promote Thai designers’ work internationally. The Association takes great part in encouraging designers to create innovations and make development in architectural and interior design vocational fields. The Project aims to select the best design works yearly and has been held to the 9th year this year. The Association has selected the works created scientifically and artfully with full design knowledge, skills, creativity, and imagination to be displayed for the interested audience. We firmly believe that the continuous success of this Project will contribute to the multiplicity of design knowledge, the production of design works full of passion to create the new era of design vocational fields, and the promotion of Thai designers’ works worldwide.


สุวรรณ คงขุนเทียน

กรรมการผู้จัดการ บริษัท โยธกาอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด SUWAN KONGKHUNTIAN Managing Director Yothaka International Co., Ltd.

มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นมหาวิทยาลัยทีส่ อนด้านศิลปะและการออกแบบทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ในประเทศ และ ยังเป็นผูร้ เิ ริม่ โครงการ Designer of the year ทีม่ กี ารมอบรางวัลอันทรงเกียรติเป็นจ�ำนวนมากแก่นกั ออกแบบ ไทย เป็นเวลาติดต่อกันเป็นปีที่ 12 จริงอยู่ที่การมอบรางวัลหรือการประกวดการออกแบบ อาจดูเหมือนเป็นความใฝ่ฝันของนักออกแบบที่ ครั้งหนึ่งในชีวิตก็อยากได้รับเกียรตินั้นสักครั้ง แต่ในความเป็นจริงแล้ว ตัวรางวัลไม่ได้เป็นเครื่องพิสูจน์ หรือ เป็นสูตรส�ำเร็จของความก้าวหน้า หรือเป็นความส�ำเร็จในชีวิตการงาน แต่ความมุ่งมั่นต่างหากที่เป็นบทพิสูจน์ อะไรหลายๆ อย่างของการท�ำงาน ส่วนรางวัลนั้น ความจริงน่าจะมีผลทางด้านจิตวิทยาและด้านอารมณ์ความรู้สึกของผู้ที่ได้รับ ซึ่งอาจก่อ ให้เกิดแรงบันดาลใจและเกิดการผลักดันให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ให้แก่วงการการออกแบบ และน่าจะมีประโยชน์ ต่อธุรกิจ การยอมรับว่าประเทศที่เจริญแล้วนั้น สามารถดูและวัดจากพัฒนาการผลงานการออกแบบที่มีอย่าง ต่อเนือ่ ง ดังนัน้ จึงเป็นการดีทกี่ ารมอบรางวัล Designer of the year ได้มกี ารน�ำผลงานต่างๆ ทีเ่ คยได้รบั รางวัล มาจัดแสดงให้สาธารณะชนทัง้ ในและต่างประเทศร่วมชม ซึง่ นับเป็นสิง่ ทีด่ ี ทีช่ ว่ ยให้เกิดความเข้าใจ และยอมรับ ประเทศไทยมากขึ้น และยังเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่วงการการออกแบบอีกด้วย Silpakorn University is Thailand’s oldest design-focused school. It is also here that the Designer of The Year project was originated. Under this endeavor, many Thai designers have been awarded with prestigious honors for the past 12 years. It may not be an overstatement to say that winning an award is the ultimate lifetime goal for most designers. Still, an award can never guarantee professional achievement or career success. Determination is, on the other hand, the real path to the finish line. Nevertheless, an award is undeniably a significant drive psychologically and emotionally to the recipient. It can inspire designers to come up with innovations that excite both the design and commercial worlds. One thing that all civilized societies have in common is a continuous streak of design development. Thus, as a part of the Designer of The Year project, we have put together an exhibition showing award-winning designs from the previous years for the viewing of general public, both in Thailand and across the world. We hope that the exhibition will create a better understanding of Thailand, as well as enhance the image of the country’s design industry amongst the international audience.

9


รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระศาลิน คณบดี คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ASSOC. PROF. PISPRAPAI SARASALIN Dean Faculty of Art and Design, Rangsit University

10

ขอแสดงความยินดีเนื่องในโอกาสครบรอบ 12 ปี ของโครงการ “Designer of the Year” ตามที่คณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สถาบันการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบทีม่ ชี อื่ เสียงและเก่าแก่ทสี่ ดุ ของ ประเทศไทย ได้มีวิสัยทัศน์อันแรงกล้าและมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพงานออกแบบของไทยให้มีมาตรฐานระดับ สากล จึงได้จดั ให้มกี ารมอบรางวัลเพือ่ เชิดชูเกียรติแก่นกั ออกแบบไทยในสาขาต่างๆ เพือ่ เผยแพร่ผลงานให้เป็น ที่รู้จักในระดับชาติและระดับนานาชาติ เป็นประจ�ำทุกปีอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันโครงการ “Designer of the Year” ได้ประสบความส�ำเร็จและมีความก้าวหน้าไปมากจาก วันที่เริ่มต้น อันจะเห็นได้จากจ�ำนวนนักออกแบบสาขาต่างๆ ได้ให้ความส�ำคัญในการส่งผลงานเข้าร่วมมากขึ้น และเป็นผลงานที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นทุกๆ ปีอย่างเห็นได้ชัด ดิฉนั มีความเชือ่ มัน่ ว่าด้วยการสนับสนุนและการอุทศิ ทุม่ เทและพร้อมใจกันในการให้ความร่วมมือขององค์กร และหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ของรัฐและเอกชน เช่น สถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพือ่ การค้า กรมส่ง เสริมการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนสมาคมนักออกแบบ นักวิชาการ และนักวิชาชีพหลากหลายสาขาวิชา จะ ท�ำให้โครงการนีบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ ในการยกระดับมาตรฐานการออกแบบของไทยให้ทดั เทียมระดับสากลอย่าง แน่นอน ดังที่ Henry Ford ได้กล่าวไว้ครั้งหนึ่งว่า “Coming together is a beginning; keeping together is progress; working together is success.” Congratulation that this year we celebrate Designer of the Year’s 12th anniversary. The Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University the oldest and the most prestigious Art and Design school in Thailand has established this project with strong vision to honor, award, and support Thai designers as well as to improve Thai design standards. Supported by various organizations such as Thailand Institute of Design and Innovation Promotion, Department of International Trade Promotion, design organization, educators and professionals, Designer of the Year project has tremendously progressed as we have seen more and more participants joining the project along with the improvement of Thai design quality each year. I believe that through strong commitment and dedication from our team, this project will definitely lift up Thai design to international standard which in the goal of this project. Henry Ford once said “Coming together is a beginning; keeping together is progress; working together is success.


ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๑๘๔๖ / ๒๕๕๗ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๑๑ (Designer of the Year 2015) เพือ่ ให้การด�ำเนินงานโครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย ครัง้ ที่ ๑๑ (Designer of the Year 2015) ซึ่งคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๘ หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป โครงการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม และได้รบั มอบหมายจากมหาวิทยาลัยให้ดำ� เนินโครงการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงาน ประกอบด้วยบุคคลผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง และรายชื่อดังต่อไปนี้.

ที่ปรึกษาโครงการ ๑. ผู้อ�ำนวยการสถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ๒. นายกสมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย ๓. นายกสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย ๔. คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ คณะกรรมการด�ำเนินงาน ๑. ศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ ประธานกรรมการ ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี รองประธาน ๓. รองคณบดีฝ่ายบริหารและพระราชวังสนามจันทร์ กรรมการ ๔. หัวหน้าภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน กรรมการ ๕. หัวหน้าภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ กรรมการ ๖. หัวหน้าภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ กรรมการ ๗. หัวหน้าภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา กรรมการ ๘. หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา กรรมการ ๙. หัวหน้าภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ กรรมการ ๑๐. หัวหน้าภาควิชาการออกแบบเครื่องแต่งกาย กรรมการ ๑๑. เลขานุการคณะมัณฑนศิลป์ กรรมการ ๑๒. หม่อมหลวงภาสกร อาภากร กรรมการ ๑๓. อาจารย์ณัฐรฐนนท์ ทองสุทธิพีรภาส กรรมการ ๑๔. นางมัญธรัตน์ จิตมาลีรัตน์ กรรมการ ๑๕. นางนภาพร ทองทวี กรรมการ ๑๖. นางสาวมุกดา จิตพรมมา กรรมการและเลขานุการ ๑๗. นางสาวนันทนา แซ่ลี กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ ๑๘. นายเปรมชัย จันทร์จ�ำปา กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

หน้าที่ความรับผิดชอบ ก�ำหนดแนวทาง พิจารณากระบวนการคัดสรร และเกณฑ์การตัดสินนักออกแบบผลงานศิลปะและการออกแบบ ประเภทการออกแบบเครือ่ งเรือน (Furniture Design) ประเภทการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ประเภท การออกแบบเครื่องประดับ (Jewelry Design) ประเภทการออกแบบผ้าและเส้นใย (Textile and Fabric Design) ประเภทการออกแบบกราฟิก (Graphic Design) ประเภทการออกแบบภาพประกอบ (Illustration Design) และประเภทการออกแบบอื่นที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับในวงวิชาชีพ ประสานงานการติดต่อนักออกแบบที่มีความ เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ เข้าร่วมโครงการ จัดกิจกรรมการคัดสรรนักออกแบบ และกิจกรรมประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ผลงานสูส่ าธารณะ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ในเครือข่าย รวมถึงการจัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในระดับชาติและ ระดับนานาชาติ

สั่ง ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

11


ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๖๓๖ / ๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินรอบคัดสรร โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๑๑ ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยคณะมัณฑนศิลป์ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อ การค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย และสมาคมมัณฑนา กรแห่งประเทศไทย ก�ำหนดจัดโครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๑๑ (Designer of the Year 2015) เพือ่ เป็นเวทีให้นกั ออกแบบไทยได้พฒ ั นาผลงานการออกแบบสูร่ ะดับสากล และเชิดชูเกียรตินกั ออกแบบ ทีส่ ร้างสรรค์ผลงานทีส่ ะท้อนอัตลักษณ์รว่ มสมัยประจ�ำปี พร้อมทัง้ สร้างเครือข่ายด้านการออกแบบ ฉะนัน้ เพือ่ ให้การ ด�ำเนินการดังกล่าวไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการตัดสินรอบคัดสรร โครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากล ของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๑๑ ประกอบด้วยผู้มีรายชื่อดังต่อไปนี้ ๑. นายสมชาย จงแสง ประธานกรรมการ ๒. นายพฤฒิพงษ์ กิจกัญจนาสน์ กรรมการ ๓. นายปราโมทย์ กิจจ�ำนงค์พันธุ์ กรรมการ ๔. Mr. David Schafer กรรมการ ๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฐวี ศรีโสภา กรรมการ ๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชคอนันต์ บุษราคัมภากร กรรมการ ๗. นายศุภพงศ์ สอนสังข์ กรรมการ ๘. อาจารย์ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์ กรรมการ ๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิญญา บุญประกอบ กรรมการ ๑๐. นางสาวฝนทิพย์ ตั้งวิริยะเมธ กรรมการ ๑๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น�้ำฝน ไล่สัตรูไกล กรรมการ ๑๒. รองศาสตราจารย์(พิเศษ) ระพี ลีละสิริ กรรมการ ๑๓. นายวิวัฒน์ หิรัญพฤกษ์ กรรมการ ๑๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภูวไนย ทรรทรานนท์ กรรมการ ๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยลักษณ์ เบญจดล กรรมการ ๑๖. นายธีรนพ หวังศิลปคุณ กรรมการ ๑๗. อาจารย์ชนิศา ชงัดเวช กรรมการ ๑๘. นายทรงวิทย์ สี่กิตติกุล กรรมการ ๑๙. นายชาคฤษ โนนค�ำ กรรมการ ๒๐. อาจารย์กศิตินทร ชุมวรานนท์ กรรมการ ๒๑. นายธนวัฒน์ สุขัคคานนท์ กรรมการ ๒๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์รณพีร์ ตุลวรรธนะ กรรมการ ๒๓. หม่อมหลวงภาสกร อาภากร กรรมการ ๒๔. นายประธาน ธีระธาดา กรรมการ ๒๕. นายสักกฉัฐ ศิวะบวร กรรมการ ๒๖. นายเจรมัย พิทักษ์วงศ์ กรรมการ ๒๗ นายสมัชชา วิราพร กรรมการ ๒๘. นายไชยยง รัตนอังกูร กรรมการ ๒๙. นายจิรณรงค์ พงษ์สุนทร กรรมการ ๓๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี เลขานุการ ๓๑. อาจารย์ณัฐรฐนนท์ ทองสุทธิพีรภาส ผู้ช่วยเลขานุการ ๓๒. นางสาวมุกดา จิตพรมมา ผู้ช่วยเลขานุการ

12

ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร


ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ ๗๙๓ / ๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินผลงาน (รอบตัดสิน) โครงการเส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๑๑ ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยคณะมัณฑนศิลป์ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย และสมาคมมัณฑนากร แห่งประเทศไทย ก�ำหนดจัดโครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของนักออกแบบไทย ครัง้ ที่ ๑๑ (Designer of the Year 2015) ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ - กันยายน ๒๕๕๘ ณ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเวทีให้นักออกแบบไทยได้พัฒนาผลงานการออกแบบสู่ระดับสากล และเชิดชูเกียรตินัก ออกแบบที่สร้างสรรค์ผลงานที่สะท้อนอัตลักษณ์ร่วมสมัยประจ�ำปี พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายด้านการออกแบบ ฉะนั้น เพือ่ ให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการตัดสินผลงาน (รอบตัดสิน) โครงการ เส้นทางสู่ระดับสากลของนักออกแบบไทย ครั้งที่ ๑๑ ประกอบด้วยผู้มีรายชื่อดังต่อไปนี้ ๑. นายนิธิ สถาปิตานนท์ ประธานกรรมการ ๒. หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ กรรมการ ๓. รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐพันธ์ กรรมการ ๔. รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระสาลิน กรรมการ ๕. นายสุวรรณ คงขุนเทียน กรรมการ ๖. นางสุพัตรา ศรีสุข กรรมการ ๗. นางเมธินี สุวรรณะบุณย์ กรรมการ ๘. นายอภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล กรรมการ ๙. นายโอภาส ลิมปิอังคนันต์ กรรมการ ๑๐. นายบรรณนาท ไชยพาน กรรมการ ๑๑. นายชูเกียรติ ลิขิตปัญญารัตน์ กรรมการ ๑๒. นายดวงฤทธิ์ บุนนาค กรรมการ ๑๓. นายสักกฉัฐ ศิวะบวร กรรมการ ๑๔. นายสุรชัย พุฒิกุลางกูร กรรมการ ๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง กรรมการ ๑๖. นายสมชาย จงแสง กรรมการและเลขานุการ ๑๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี ผู้ช่วยเลขานุการ ๑๘. อาจารย์ณัฐรฐนนท์ ทองสุทธิพีรภาส ผู้ช่วยเลขานุการ ๑๙. นางสาวมุกดา จิตพรมมา ผู้ช่วยเลขานุการ

ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป จนถึงวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘

สั่ง ณ วันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

13


โครงการนักออกแบบแห่งปี มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ดาํ เนินกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมเพือ่ สนับสนุน นักออกแบบสร้างสรรค์ไทย โดยเมื่อปี 2547 ได้ประกาศเกียรติคุณ รางวัล นักออกแบบไทยปี 2547 และดําเนินการมาอย่างต่อเนือ่ งจนถึงปัจจุบนั ซึง่ ทาํ ให้ เกิดผลสะท้อนในการยกระดับด้านมาตรฐานวิชาชีพ และการเผยแพร่ชื่อเสียง ผลงานการออกแบบขึ้นในระดับหนึ่ง เพื่อให้เป็นการดําเนินงานที่ต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงได้มอบ ให้คณะมัณฑนศิลป์ เป็นผูด้ าํ เนินงานสานต่อโครงการเส้นทางสูร่ ะดับสากลของ นักออกแบบไทย โดยได้มีการทําข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบัน ส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้ากรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เพื่อยกระดับการคัดสรรนักออกแบบ เพื่อนําไปสู่ การพัฒนามาตรฐานนักออกแบบไทยสู่ระดับสากลต่อไป วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพือ่ เป็นเวทีให้นกั ออกแบบไทยได้พฒ ั นามาตรฐานผลงานการออกแบบ สู่ระดับสากล 2. เพือ่ เชิดชูเกียรตินกั ออกแบบทีส่ ร้างสรรค์ผลงานทีส่ ะท้อนอัตลักษณ์ ร่วมสมัย 3. เพื่อสร้างเครือข่ายด้านการออกแบบในกลุ่มวิชาชีพ และบูรณาการ ระหว่างนักออกแบบ มหาวิทยาลัย/สถาบัน หน่วยงานทางการออกแบบ และ สังคมภายนอก 4. เพือ่ สนองนโยบายรัฐบาลในการมุง่ ส่งเสริมและสนับสนุนงานทางการ ออกแบบ ของไทยให้ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ และเป็นแหล่งฐานความรู้ที่ แสดงออกถึงวิวัฒนาการงานออกแบบของไทยในระดับสากล ประเภทของการออกแบบที่มอบรางวัล 1. การออกแบบเครื่องเรือน 2. การออกแบบผลิตภัณฑ์ 3. การออกแบบเครื่องประดับ 4. การออกแบบผ้าและเส้นใย 5. การออกแบบกราฟิก 6. การออกแบบภาพประกอบ 7. การออกแบบภายใน ประเภทของรางวัล 1. Honor Awards เป็นรางวัลเชิดชูเกียรติ ที่มอบให้แก่นักออกแบบไทยผู้มีประสบการณ์ ระดับสูง ที่มีผลงานออกแบบอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลามากกว่า 10 ปี และ ประสบความสําเร็จในการประกอบวิชาชีพ เป็นแบบอย่างที่ดี และมีคุณูปการ แก่วงการออกแบบและสังคม 2. Designer of the year Awards เป็นรางวัลทีม่ อบให้แก่นกั ออกแบบไทย ผูม้ ปี ระสบการณ์ทาํ งานมากกว่า 5 ปี มีผลงานออกแบบอย่างต่อเนือ่ งในสาขาวิชาชีพ และมีผลงานชิน้ สําคัญอัน โดดเด่นแห่งปี และเป็นที่ประจักษ์ในเชิงพาณิชย์ 3. Emerging Awards เป็นรางวัลทีม่ อบให้แก่นกั ออกแบบไทยหน้าใหม่ ทีม่ อี ายุไม่ตำ�่ กว่า 20 ปี มีผลงานโดดเด่นในรอบปี  โดยอาจเป็นผลงานออกแบบเชิงพาณิชย์หรือเป็น ผลงานต้นแบบที่มีเอกลักษณ์อันแจ่มชัด ซึ่งนําไปสู่การพัฒนารูปแบบเป็นเชิง พาณิชย์ต่อไปในอนาคตได้ 14

การพิจารณาตัดสินรางวัล แบ่งออกเป็น 2 รอบ ได้แก่ รอบคัดสรร และรอบตัดสิน 1. แนวทางการคัดสรร คณะกรรมการจะคัดสรรนักออกแบบทีส่ มควรได้รบั รางวัลจากการเสนอ ชือ่ จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกแบบ สมาคมวิชาชีพ ทางการออกแบบ สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้อง สถาบันการศึกษาด้านศิลปะและ การออกแบบ นักออกแบบแห่งปีที่เคยได้รับรางวัล และบุคคลทั่วไป 2. หลักเกณฑ์ในการตัดสิน หลักเกณฑ์ในการตัดสิน  จะพิจารณาจากกระบวนการคิดในการออกแบบ และสร้างผลงานของนักออกแบบไทยในภาพรวม ดังนี้ • ประเภทการออกแบบเครื่องเรือน ผลิตภัณฑ์ เครื่องประดับ ผ้าและ เส้นใย เป็นผูส้ ร้างสรรค์ผลงานทีม่ กี ารผสมผสานระหว่าง ความสวยงาม ประโยชน์ ใช้สอย การผลิต แสดงออกซึ่ง “อัตลักษณ์ของตนเอง” หรือ “อัตลักษณ์บน พืน้ ฐานของภูมปิ ญ ั ญาตะวันออก : ใช้ตน้ ทุนทางวัฒนธรรมและทรัพยากรของ ประเทศเป็นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบ” ก่อให้เกิด “กระบวน ทัศน์ใหม่” หรือ “นวัตกรรม” ในการออกแบบ • ประเภทการออกแบบกราฟิก เป็นบุคคลต้นแบบทีม่ กี ระบวนการทางความคิดและกระบวนการท�ำงานที่ ดี สร้างสรรค์ผลงานออกแบบทีแ่ สดงถึงความคิดสร้างสรรค์  ความงาม  ตอบ สนองวัตถุประสงค์ทางการออกแบบได้ดี มีเอกลักษณ์เฉพาะตนอันโดดเด่น หรือ แสดงออกซึง่ อัตลักษณ์ไทย หรือเป็นผลงานทีก่ อ่ ให้เกิดกระบวนทัศน์หรือคุณค่า ใหม่ในวงการออกแบบ • ประเภทการออกแบบภาพประกอบ เป็นบุคคลตัวอย่างทีม่ กี ระบวนการทางความคิดและกระบวนการท�ำงานที่ ดี สร้างสรรค์ผลงานออกแบบทีส่ อื่ สารเรือ่ งราวได้ดี มีความคิดสร้างสรรค์ ความ งาม ตอบสนองวัตถุประสงค์ทางการออกแบบได้ดี มีอตั ลักษณ์เฉพาะตนอันโดด เด่น หรือแสดงออกซึง่ อัตลักษณ์ไทย หรือเป็นผลงานทีก่ อ่ ให้เกิดกระบวนทัศน์ หรือคุณค่าใหม่ในวงการออกแบบ • ประเภทการออกแบบภายใน เป็นบุคคลตัวอย่างทีม่ กี ระบวนการทางความคิดและกระบวนการท�ำงาน ทีด่ ี ทีม่ ผี ลงานออกแบบทีแ่ สดงถึงความคิดสร้างสรรค์ ผสมผสานความงามและ ประโยชน์ใช้สอยทีต่ อบสนองลักษณะการใช้งานได้เป็นอย่างดี มีความถูกต้องตาม หลักวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ มีอตั ลักษณ์เฉพาะตนอันโดด เด่น หรือแสดงออกถึงการใช้ภมู ปิ ญ ั ญาไทยหรือการต่อยอดทางวัฒนธรรมและ ทรัพยากรภายในประเทศในการออกแบบ หรือเป็นผลงานทีก่ อ่ ให้เกิดกระบวน ทัศน์หรือคุณค่าใหม่ในวงการออกแบบ (หมายเหตุ การพิจารณาจัดผลงานให้ได้รับรางวัลใด ให้ถือข้อวินิจฉัย ของคณะกรรมการตัดสินเป็นที่สิ้นสุด) 3. คณะกรรมพิจารณาตัดสินรางวัล ประกอบด้วย ผูเ้ ชีย่ วชาญ ศิลปิน นักออกแบบทีม่ ชี อื่ เสียงของประเทศไทย นักวิชาการด้านการออกแบบ สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ


DESIGNER OF THE YEAR PROJECT Silpakorn University has a policy to promote arts and culture. To encourage Thai designers, the university’s Arts and Culture Division initiated the “Designer of the Year” Project. The first award presentation was organized in 2004. The Faculty of Decorative Arts took over the event in 2005 and continued organizing it for five consecutive years. Concrete outputs from the event are upgraded design career standards and enhanced designers’ reputations at the national level. While organizing this yearly event, the university obtains excellent cooperation from educational institutes, public and private organizations, the media and individuals in the design circle. Major public entity supporters include Thailand Institute of Design and Innovation Promotion, Department of International Trade Promotion, Ministry of Commerce. During project implementation every year, exchange of knowledge and experience among academics, artists, designers and the media in-country and overseas is always observable. This helps to upgrade selection and short-listing, resulting in higher standards among Thai designers who demonstrate excellence and outstanding achievements. AWARD CATEGORIES 1. Furniture Design 2. Product Design 3. Jewelry Design 4. Textile and Fabric Design 5. Graphic Design 6. Illustration Design 7. Interior Design TYPES OF AWARD 1. Honor Awards The Honor Awards is presented to honorary Thai designers with accumulated experience of over 10 years and successful achievements in their careers, being role models and contributors to the design circle and society. 2. Designer of the Year Awards The Designer of the Year Awards is presented to Thai designers with accumulated experience of over five years and regular design achievements with artistic and commercial values. 3. Emerging Awards The Emerging Awards is presented to new Thai designers aged over 20 years who have produced outstanding masterpieces, be they designed for commercial purposes or uniquely pre-commercial originals.

JUDGING CRITERIA The judging process consists of 2 stages: screening and final judging. 1. Screening Process The judges select the designers nominated by government agencies and private sectors, design associations, design-related media, arts and design institutes, former Designer of the Year award winners, and general public. 2. Judging Criteria Selected designers are judged from the criteria in design ideas and working process in following fields: • Furniture Design, Product Design, Jewelry Design, and Textile and Fabric Design The designer has a capability to produce the designs which combine artistry and functionality, as well as “personal identity” or “identity based on local knowledge of the East.” The design also has to be “innovative” contributing to “new visions,” and utilizes local materials and national cultural heritage. • Graphic Design The designer has remarkable design ideas and working process, and produces works with creativity and style to achieve the design purpose. The works must also contain personal uniqueness or Thai identity, or contribute new visions as well as new values to the design society. • Illustration Design The designer has remarkable design ideas and working process, and produces well-articulated illustrations with creativity and style to achieve the design purpose. The works must possess uniqueness or Thai identity, or convey the new visions or new values to the design society. • Interior Design The designer has remarkable design ideas and working process, and produces works which are created with imaginative ideas together with style and practical functions according to the architectural and interior design standards. The works must express distinctive identity or the use of Thai local knowledge or the valueadded Thai culture and materials in the design, or create the new visions or new values in the design society. (Note: The judges’ decision to grant any awards to any entries shall be final.) 3. The judging panel The judging panel consists of specialists, artists, Thailand’s top designers, official design experts, and design-related media.

15


16


คณะกรรมการรอบคัดสรร | SCREENING COMMITTEE

สมชาย จงแสง SOMCHAI JONGSAENG

พฤฒิพงษ์ กิจกัญจนาสน์ PRUTIPONG KIJKANJANAS

ปราโมทย์ กิจจ�ำนงค์พันธุ์ DAVID SCHAFER PRAMOTE KITCHUMNONGPAN

ผศ. ดร. ปฐวี ศรีโสภา ผศ. ดร. โชคอนันต์ บุษราคัมภากร ASST. PROF. PTAVE SRISOPHA ASST. PROF. CHOKEANAND (Ph.D.) BUSSRACUMPAKORN (Ph.D.)

ศุภพงศ์ สอนสังข์ SUPPAPONG SONSANG

อาจารย์ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์ TAWEESAK MOLSAWAT

ผศ. ดร. อภิญญา บุญประกอบ ASST. PROF. APINYA BOONPRAKOB (Ph.D.)

ฝนทิพย์ ตั้งวิริยะเมธ FONTHIP TANGVIRIYAMATE

ผศ. ดร. น�้ำฝน ไล่สัตรูไกล ASST. PROF. NAMFON LAISTROOGLAI (Ph.D.)

รศ. (พิเศษ) ระพี ลีละสิริ ASSOC. PROF. RAPEE LEELASIRI

วิวัฒน์ หิรัญพฤกษ์ WIWAT HIRUNPRUK.

ผศ. ภูวไนย ทรรทรานนท์ ASST. PROF. PUVANAI DARDARANANDA

ผศ. ปิยลักษณ์ เบญจดล ASST. PROF. PIYALUK BENJADOL

ธีรนพ หวังศิลปคุณ TNOP WANGSILLAPAKUN

อาจารย์ชนิศา ชงัดเวช CHANISA CHANGADVECH

ทรงวิทย์ สี่กิตติกุล SONGWIT SEAKITIKUL

ชาคฤษ โนนค�ำ CHAKRIS NONKAM

อาจารย์กศิตินทร ชุมวรานนท์ KASITIN CHUMWARANOND

ธนวัฒน์ สุขัคคานนท์ THANAWAT SUKHUGGANONDHA

ผศ. รณพีร์ ตุลวรรธนะ ASST. PROF. RONNAPEE TULAVADHANA

ม.ล. ภาสกร อาภากร M.L. PASSAKORN APAKORN

ประธาน ธีระธาดา PRATAN TEERATADA

สักกฉัฐ ศิวะบวร SAKKACHAT SIVABOVORN

เจรมัย พิทักษ์วงศ์ JEREMIAH PITAKWONG

สมัชชา วิราพร SAMUTCHA VIRAPORN

ไชยยง รัตนอังกูร CHAIYONG RATANA-ANGKURA

จิรณรงค์ วงษ์สุนทร JIRANARONG WONGSOONTORN

17


18


คณะกรรมการรอบตัดสิน | FINAL ROUND COMMITTEE

นิธิ สถาปิตานนท์ NITHI STHAPITANONDA

ม.ล. คฑาทอง ทองใหญ่ M.L. KATHATHONG THONGYAI

รศ. ดร. ศุภกรณ์ ดิษฐพันธ์ ASSOC. PROF. SUPAKORN DISPAN

รศ. พิศประไพ สาระสาลิน ASSOC. PROF. PISPRAPAI SARASALIN

สุวรรณ คงขุนเทียน SUWAN KONGKHUNTIAN

สุพัตรา ศรีสุข SUPATRA SRISOOK

เมธินี สุวรรณะบุณย์ METHINEE SUWANNABOON

อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล APISIT LAISTROOGLAI

โอภาส ลิมปิอังคนันต์ OPAS LIMPI-ANGKANAN

บรรณนาท ไชยพาน BANNANAT CHAIYAPARN

ชูเกียรติ ลิขิตปัญญารัตน์ CHOOKIAT LIKITPUNYARUT

ดวงฤทธิ์ บุนนาค DUANGRIT BUNNAG

สักกฉัฐ ศิวะบวร SAKKACHAT SIVABOVORN

สุรชัย พุฒิกุลางกูร SURACHAI PUTHIKULANGKURA

ผศ. เอกพงษ์ ตรีตรง ASST. PROF. AEKAPHONG TREETRONG

สมชาย จงแสง SOMCHAI JONGSAENG

19


HONOR AWARDS 2015

ไชยรัตน์ ณ บางช้าง CHAIRAT NA BANGCHANG โอม รัชเวทย์ OHM RACHAVATE สุเมธ พุฒพวง SUMET PUTPUANG กฤษณ์ เย็นสุดใจ KRIS YENSUDCHAI

DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015 ดุลยพล ศรีจันทร์ DOONYAPOL SRICHAN เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา EMSOPHIAN BENJAMETHA ฤดี ตันเจริญ RUDEE TANCHAROEN ศรันรัตน์ พรรจิรเจริญ SARUNRAT PANCHIRACHAROEN สันติ ลอรัชวี SANTI LAWRACHAWEE ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ TERAWAT TEANKAPRASITH วินัย ฉัยรักพงศ์ WINAI CHAIRAKPHONG

20

EMERGING AWARDS 2015

อดา จิระกรานนท์ และ วรพงศ์ มนูพิพัฒน์พงศ์ ADA CHIRAKRANONT AND WORAPONG MANUPIPATPONG ศรุตา เกียรติภาคภูมิ SARUTA KIATPARKPOOM ศศิวิมล ชัยดรุณ SASIVIMOL CHAIDAROON ภราดร เกตุรัตน์ PARADORN KATERAT กนกนุช ศิลปวิศวกุล KANOKNUCH SILLAPAWISAWAKUL ยศนันท์ วุฒิกรสมบัติกุล YOZANUN WUTIGONSOMBUTKUL ภารดี เสนีวงศ์ ณ อยุธยา และ ชินภานุ อภิชาธนบดี PARADIS SENIVONGSE NA AYUDHYA AND SHINPANU ATHICHATHANABADEE


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015 จักรพันธ์ ชรินรัตนา JAKKAPUN CHARINRATTANA ปุริม ไกรยา PURIM KRAIYA PANA OBJECTS หม่อมหลวงปรเมศ วรวรรณ M.L.PORAMATS VARAVARNA จิตรกานต์ บรรเทิงไพบูลย์ JITTRAKARN BUNTERNGPIBOON วินิจ กุศลมโนมัย VINIT KOOSOLMANOMAI นัทธนุช วงศ์พัวพันธ์ NUTTANUCH WONGPUAPAN ปรียาภัสสร์ ด้วงทอง PREEYAAPHAT DOUNGTHONG เอกลักษณ์ เพียรพนาเวช EKALUCK PEANPANAWATE วรทิตย์ เครือวาณิชกิจ VORATHIT KRUAVANICHKIT รักกิจ ควรหาเวช RUKKIT KUANHAWATE สุทธิชาติ ศราภัยวานิช SUTTICHART SARAPAIWANICH วรการ ทิพย์ประภา VARAKAN TIPPRAPA วิชชาธร ประเสริฐสุข WITCHATHORN PRASERTSUK

FINALIST | EMERGING AWARDS 2015

กิตติภูมิ ส่งศิริ KITTIPOOM SONGSIRI นุชจริน หวังพงษ์สวัสดิ์ NUCHARIN WANGPHONGSAWASD จิราภา เจียรรุ่งแสง JIRAPA JIANRUNGSANG ณัฐพงศ์ สารพูนทรัพย์ NATTAPONG SANPOONSUP ไพลิน ศิริพานิช PILYNN SIRIPHANICH ธนิสรา โพธิ์นทีไท TANISARA POENATEETAI สุภาวินี จรุงเกียรติกุล SUPAWINEE CHARUNGKIATTIKUL อภิสรา พงษ์ชมพร APISARA PHONGCHOMPORN มานิตา ส่งเสริม MANITA SONGSERM สุพิชาน โรจน์วณิชย์ SUPICHAN ROJVANICH ชัยชาญ อาจวิชัย CHAICHAN ARTWICHAI ณัฐพงศ์ ดาววิจิตร NUTTAPONG DAOVICHITR กิจธเนศ ขจรรัตนเดช และ ศุภรัตน์ ชินะถาวร KIJTANES KAJORNRATTANADECH AND SUPARAT CHINATHAWORN เจษฎา เตลัมพุสุทธิ์ และ มนัสพงษ์ สงวนวุฒิโรจนา JESSADA TELUMPUSUT AND MANATSPONG SANGUANWUTHIROJANA

21


HONOR AWARDS 2015: Interior Design ไชยรัตน์ ณ บางช้าง CHAIRAT NA BANGCHANG cnbsecret@gmail.com +668 3032 3365 , +662-1850948

ไชยรัตน์ ณ บางช้าง จบการศึกษาจากคณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรราวปี พ.ศ. 2517 จากนัน้ เขาออกมาเรียนรูป้ ระสบการณ์จากการท�ำงาน กับคุณจรูญ อังศวานนท์ มัณฑนากรชั้นครูผู้ได้รับ การยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกวงการออกแบบตกแต่ง ภายในคนหนึง่ ของประเทศไทย ระหว่างนัน้ เขาพัฒนา ตนเองและค้นหาแนวทางที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ประยุกต์ความเป็นไทยน�ำมาใช้ในงานตกแต่ง จาก ประสบการณ์ทำ� งานหลายสิบปี ในการท�ำงานออกแบบ ตกแต่งภายในของไชยรัตน์ ณ บางช้าง ท�ำให้เราได้ เห็นผลงานการออกแบบทีข่ นึ้ ชัน้ ระดับต�ำนานของเขา มากมายหลายต่อหลายชิ้น

22

คุณเริ่มต้นท�ำงานด้านการออกแบบภายในอย่างไร เริ่มจากการที่ผมได้มาเรียนที่คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ตอนนั้นอาจารย์จักร ศิริพานิช เป็นอาจารย์สอนตกแต่งภายใน และหม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ เป็นคณบดี ผมจบปริญญาตรีทนี่ ปี่ ระมาณปี 2516 และรับปริญญาประมาณปี 2517 พอเรียนจบก็เข้าท�ำงานกับคุณจรูญ อังศวานนท์ ซึง่ เป็นบริษทั ทีร่ บั งานตกแต่ง ภายในด้วย ตอนนั้นจ�ำได้ว่าเป็นบริษัทที่ตกแต่งได้ทันสมัยที่สุด ตอนนั้นผมคิดว่าตัวเองเป็นคนหัวโบราณ ก็เลย คิดว่าถ้าเข้ามาท�ำที่นี่เราก็จะได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆ ด้วย และถ้าหากน�ำมาผสมกับสิ่งที่เราเป็นอยู่ มันน่าจะออก มาดี ระหว่างท�ำงานทีน่ นั่ คุณจรูญกับภรรยาก็ชว่ ยกันสอนงานอย่างดี โดยคุณจรูญสอนงานทางด้านการออกแบบ ส่วนภรรยาคุณจรูญสอนเรื่องการใช้สีต่างๆ เพราะตอนนั้นผมยังไม่ค่อยเข้าใจเรื่องการใช้สีมากนัก ถึงแม้ว่าจะ เรียนทฤษฎีสมี าบ้างแล้วก็ตาม แต่ตอนนัน้ ก็ยงั มีความรูส้ กึ ว่า สีเหลืองมันก็นา่ จะเหมือนกันหมด สีแดงก็เหมือน กัน ท�ำไมจะต้องมาแยกแดงอ่อน แดงแก่ พอท�ำงานไปสักพักจึงได้เข้าใจเรือ่ งการใช้สจี ริงๆ มากขึน้ เหมือนกับ ว่าเราเรียนภาคทฤษฎีจากมัณฑนศิลป์ไปแล้วไปเรียนภาคปฏิบัติกับคุณจรูญ 4 ปี หลังจากนั้นผมก็ออกไปท�ำงานเอง เพราะเริ่มมีความรู้สึกว่าอยากจะเอาของไทยต่างๆ เช่น พวกเครื่อง หนังหรือผ้าไหมต่างๆ เอามาปรับปรุงให้มันมีความทันสมัยมากขึ้นและใช้กับงานตกแต่งได้ดี ผมไปตระเวนที่ โรงงานเครื่องหนังแถวเชียงใหม่แล้วก็มาเปิดร้านเล็กๆ ที่ซอยสุขุมวิท 19 ชื่อว่าร้าน Lunigo ครับ เอางาน leather wear มาท�ำเป็นโคมไฟ กรอบรูป กรอบกระจกเพื่อใช้ในการตกแต่งของ เราคิดว่าการมีงานของเรา เองมันคงท�ำให้งานเรามีคาแร็กเตอร์ของเรา นอกจากนั้นเราก็เอาผ้าไหมมาท�ำเป็นผ้าคลุมเตียง สมัยนั้นยังใช้ ผ้าคลุมเตียงอยู่นะครับ (หัวเราะ) สิ่งเหล่านี้ท�ำให้คาแร็กเตอร์ของเราชัดขึ้น พอเราท�ำร้านเราก็มีดิสเพลย์หน้า ร้านท�ำให้ลกู ค้าเดินผ่านมาก็บอกว่าแปลกดี หลายคนก็เริม่ อยากให้เราช่วยไปออกแบบบ้านให้ อันนัน้ ก็ถอื เป็นการ เริ่มต้น


จากนั้นพัฒนาไปอย่างไร หลังจากนัน้ ร้านก็ประสบความส�ำเร็จพอสมควร ครับ มีดีไซเนอร์หลายคนมาให้ช่วยท�ำผ้าคลุมเตียงให้ บ้าง ให้ไปช่วยจัดของที่เป็นพร็อพให้บ้าง จากสุขุมวิท 19 เราก็ยา้ ยไปอยูท่ ตี่ กึ ชาญอิสระ ตอนนัน้ มีความรูส้ กึ ว่าอยากท�ำให้มันครบมากขึ้น จึงเริ่มมีหมดทุกอย่าง เริม่ มีเสือ้ ผ้า มีสนิ ค้าทีท่ ำ� จากผ้าไหมไทย ประกอบกับ สมัยทีเ่ ราเรียนจบใหม่ๆ เราท�ำบ้านของตัวเองก็ได้รจู้ กั กับคุณวรวุฒิ สุอมรรัตนกุล และคุณชูเกียรติ อุทกะ พันธ์ เพราะทัง้ สองท่านนีม้ าขอถ่ายรูปบ้านไปลงหนังสือ จากนั้นมาเมื่อคุณวรวุฒิไปท�ำหนังสือบ้านในฝันและ คุณชูเกียรติไปท�ำหนังสือบ้านและสวนก็ได้เผยแพร่ ผลงานในหนังสือสองเล่มนี้มาตลอด

ด้วยแนวคิดการท�ำงานที่ค่อนข้างจะทันสมัยในยุคนั้น คุณมีวิธีการท�ำงานกับลูกค้าอย่างไร การท�ำงานตกแต่งตั้งแต่ยุคแรกจนถึงปัจจุบัน เราจะมีโจทย์ของลูกค้าเป็นตัวก�ำหนด เราไม่สามารถ ทีจ่ ะลุกขึน้ มาคิดว่า “ผมอยากท�ำนีจ่ งั เลย ผมจะท�ำมัน แล้วล่ะ ผมไม่สนใจคุณหรอก” ไม่ได้ ลูกค้าก็จะเป็น โจทย์ให้เรา แต่ว่าเราสามารถที่จะหยิบยื่นสิ่งที่เราคิด ว่ามันดีให้เขาได้ แต่ลูกค้าจะรับหรือไม่รับก็ข้ึนอยู่กับ เหตุผลของเราว่าเรามีเหตุผลในการน�ำเสนอไหม ถ้า เรามีเหตุผลในการน�ำเสนอและเราให้ความมั่นใจกับ เขาว่าท�ำออกมาแล้วมันจะสวยแน่ๆ เขาก็จะเชื่อและ เราก็จะสามารถท�ำในสิง่ ทีเ่ ราต้องการได้ มันเป็นความ จูงใจอย่างหนึ่ง

การออกแบบของคุณในสมัยนั้นเป็นอย่างไร ในสมัยนั้นการน�ำงานที่มีความเป็นไทยไปใช้ในงาน เป็นงานที่มีความเป็นยุโรปกับตะวันออกผสม ตกแต่งเป็นลักษณะไหน กันครับ เป็นงานลักษณะที่ผมชอบ ถ้าตามเทรนด์ในยุคนั้นจะเป็นลักษณะที่ว่า ตกแต่งโดยไม่สนใจอะไรเลย คือหยิบเอาของ Antique คุณได้แรงบันดาลใจในการออกแบบลักษณะนี้มาจาก หรือ Art Object ไปใส่ในนัน้ เลยสัก 3-4 ชิน้ มันก็จะ ไหน เปลี่ยนคาแร็กเตอร์ของการตกแต่งไปได้เลย แต่ผม จริง ๆ อย่างทีบ่ อกตัง้ แต่แรกแล้วนะครับว่าผม คิดว่างานตกแต่งต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นบ้าน โรงแรม หรือ เป็นคนโบราณ เพราะว่าบ้านที่ผมอยู่ก็มีลักษณะเป็น สถานที่สาธารณะต่างๆ มันก็เหมือนการเขียนรูปน่ะ บ้านทรงปั้นหยาไทยแล้วก็มีพวกข้าวของโบราณเยอะ ครับ มันจะต้องมี composition ทั่วๆ ไป มีองค์ ผมคิดว่าก็คงจะติดมาจากตรงนั้น แต่ขณะเดียวกันก็ ประกอบสี ซึง่ มีสว่ นส�ำคัญในการตัดสินว่างานนัน้ สวย คิดว่าลักษณะความเป็นไทยต้องถูกปรับปรุงให้เข้ากับ หรื อ ไม่ ส วย แต่ ว ่ า มั น เป็ น การเขี ย นภาพที่ ต ้ อ งมี ยุคสมัยโดยทีเ่ ราต้องมีความสะดวกสบายในการใช้งาน ประโยชน์ใช้สอยเข้าไปมีสว่ นร่วม คือเราต้องเข้าไปอยู่ ด้วย งานชิ้นหนึ่งที่รู้สึกว่าชอบก็คือบ้านเรือนไทยของ ตรงนั้น เราต้องใช้มัน คุณเลื่อมประภัสสร นันทขว้าง บ้านหลังนี้เป็นเรือน สมัยนั้นยังไม่มีสไตลิสท์นะครับ เพราะฉะนั้น ไทยจริงๆ เลย แต่พอเราเข้าไปก็รสู้ กึ ว่ามันมืดและอยู่ ผมก็ต้องเป็นคนท�ำทุกอย่าง แต่ปัจจุบันมีคนมาช่วย ไม่สบายมากเท่าไหร่ อาจเป็นเพราะว่าสมัยก่อนผม แล้วก็ดขี นึ้ คือท�ำให้งานมันเป็นอีกคาแร็กเตอร์หนึง่ ไม่ อาจจะเคยอยูบ่ า้ นทีเ่ ป็นแบบนีแ้ ต่ตงั้ อยูก่ ลางทุง่ นาแล้ว ได้เป็นตัวเราจนเกินไปนัก แต่สมัยนั้นในช่วงที่ผมท�ำ มีแสงเยอะๆ นะครับ ท�ำให้ผมรู้สึกว่าบ้านของคุณ ต้องใส่พร็อพเองมันก็จะมีความเป็นผมทัง้ 100% อย่าง เลี่อมประภัสสรอาจจะแสงไม่พอ ผมก็เลยคิดว่าต้อง เช่นงานชิน้ หนึง่ ผมต้องออกแบบ living room ในฐานะ ปรับปรุง แต่จะท�ำอย่างไรดีมนั ถึงจะสว่างขึน้ ผมก็ทาสี ที่ผมเป็นคนชอบท�ำผ้าไหม เราก็เอาผ้าไหมมาท�ำเป็น ขาวให้หมดแล้วก็เอาเครือ่ งเรือนสมัยใหม่เข้าไป ผมมี ที่นั่ง ที่นอน แล้วก็ท�ำเตียงเป็นรูปสระบัวครับ หมอน ความรู้สึกว่า Art Deco กับเรือนไทยอยุธยามันมีเส้น ก็เป็นใบบัว ดอกบัว พรมก็ให้เป็นลายน�้ำ สนุกดีครับ อะไรที่คล้ายๆ กัน คือเป็นเส้นเฉียงๆ 45 องศา พอ เอามาผสมกันก็รู้สึกว่าสวยดี ท�ำให้สมัยใหม่มากขึ้น คุณหลงใหลเสน่ห์ส่วนไหนของผ้าไหม ในฐานะทีเ่ ราเป็นนักออกแบบไทย เราก็ตอ้ งการ เสน่หข์ องไหมไทยคือเรามีความรูส้ กึ ว่ามันเป็น ให้มคี วามรูส้ กึ ทีเ่ ป็นไทยอยูใ่ นงานจึงแสดงออกมา เช่น สิง่ ทีท่ ำ� ด้วยมือ มีใจเข้าไปข้างในด้วยในการทอไปทีละ การน�ำผ้าไหมไทยมาใช้ หรือว่าเครือ่ ง leather wear เส้นๆ ผ้าไหมไทยเรามีคาแร็กเตอร์ไม่เหมือนผ้าอื่นๆ ก็มีความเป็นไทยอย่างหนึ่งที่เราสามารถจับเข้าไปใส่ คือมันไม่เงาซะทีเดียวแล้วมันก็ไม่ดา้ นด้วย มันมีเท็กซ์ ในงานของเราได้ โดยทีท่ ำ� ให้งานของเรามีคาแร็กเตอร์ เจอร์อะไรนิดๆ หน่อยๆ ซึ่งมันสวยงาม ไม่เหมือนงานทีฝ่ รัง่ ท�ำทัว่ ๆ ไป คือเราพยายามออกแบบ ให้ดสู มัยใหม่ ตัดทอนลวดลายต่างๆ ออกไป ให้มนั ได้ คาแร็กเตอร์ของมันอย่างเดียว โดยที่ไม่ใช่ได้ราย ละเอียดทั้งหมดครับ

ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ใน ฐานะนักออกแบบตกแต่งภายใน คุณต้องการอะไรจาก งานชิ้นหนึ่งที่ลงมือท�ำ ผมต้องการให้ลูกค้ามีความสุข เราเหมือนกับ เป็นผูส้ ร้างความฝันของคนคนหนึง่ ให้เป็นความจริง คือ แต่ละคนพอเขาจะสร้างบ้านเขาก็จะมีความฝันของเขา เราก็ต้องพยายามที่จะเจาะเอาความคิดของเขาออก มาว่าคุณต้องการอะไร แล้วเราก็พยายามท�ำความฝัน ของเขาให้เป็นรูปเป็นร่างขึน้ มา แต่วา่ เราก็ตอ้ งพาเขา ไปในแนวทางที่ดี ที่ถูกต้อง สวยงามด้วย ไม่ใช่ว่าเขา อยากได้อะไรที่มันไม่ดีเราก็จะยกให้เขาเลย แล้วงาน ที่ดีผมคิดว่ามันควรจะเป็นงานที่เราย้อนกลับไปดูอีก สิบปีแล้วเราไม่อยากแก้อะไร ไม่วา่ เวลาจะผ่านไปนาน เท่าไหร่ก็ต้องรู้สึกว่ามันสมบูรณ์แล้ว

23


In 1974, after Chairat Na Bangchang had graduated from Silpakorn University Faculty of Decorative Arts, he gained his primary working experiences in the company owned by Mr.Charoon Ansavananda who was considered one of Thailand’s legendary pioneer interior designers. Meanwhile he started to find the identity for his style by applying Thai traditional characteristics to his designs. Countless legendary interior design projects can be observed through decades of his career path.

24

How did you start off the interior design career? I had an opportunity to be a student at Silpakorn University Faculty of Decorative Arts. At that time, Professor Chak Siriphanit was lecturing Interior Design and H.R.H. Yajai Chitrabhongse was the Dean. I graduated in 1973 and the graduation ceremony was in 1974. After that, I joined Mr.Charoon Ansavananda’s company and interior design jobs were also assigned there. This company, in my memory, was decorated with the most modern designs. As I saw myself as a conservative person, I thought that joining this company could help me learn new things, (Laughing) and it could make great combination when added to my own styles. During the time I worked there, Mr.Charoon and his wife taught me a lot. What I learned from him was design skills, while his wife gave me knowledge about color choice. Although I had already studied the color theory in the University, I still didn’t understand it thoroughly. I couldn’t distinguish the different shades of yellow as well as those of red. Why must there be light red and dark red when they all look the same?(Laughing) After working there for some time, I gradually got ideas of color choice. It seems like what I had learned in the University was just theories. The more practical way of learning was acquired in these 4 years of my career in Mr. Charoon’s company. After that, I left to start off my own business as I felt the urge to make use of those traditional Thai materials such as leather and silk, modernize their looks, and use them in fine decorations. I went to several leather factories in Chiang Mai and brought leather goods to sell in my small shop called Lunigo located on Sukhumvit 19 Road. Those leatherwares were crafted into lampshades, picture frames and mirror frames for decoration. In my view, creating my own works probably helped characterize them into my styles. In addition, silk fabric was made into bed covers. People still used bed covers at that time.(Laughing) All these items helped intensify my shop’s character. There was a display

window that drew the customers’ attention and they came over to tell me that the display was cool! Later on, many of them wanted me to decorate their houses. That was the beginning of my interior design career. How did you get on with your career? My business was considered successful. Lots of fashion designers came up to me and asked me to make bed covers for them or find props for their photo shoots. After that, from Sukhumvit 19, I moved my shop to Charnissara Tower. At that time I wanted to make it an all-in-one shop so I started to sell most everything from clothing to Thai silk products. Back when I had just graduated, I decorated my own house. That was when I got to know Mr. Worawut Su-amornrattanakul and Mr. Chukiat Utakapan as they came to take photos of my house to publish in the magazines. Later, Mr. Worawut started up Dream House Magazine and Mr.Chukiat established Baan Lae Suan Magazine. Plenty of my works had been published in those magazines at that time. How would you define your design style back then? I saw my style as a mixture of European and Eastern styles. That’s the way I liked it. What inspired you to come up with this style? As mentioned before, I was a conservative person.(Laughing) I lived in a hip-roof Thai house with a huge collection of antiques. That could have been the reason why I was fond of the traditional Thai style. However, I also believed that traditional Thai houses needed to be adapted to suit the modern way of living and to make the functions more convenient. One of the projects that I liked was the traditional Thai house which belonged to Ms.Luemprapatsorn Nathakwang. It was a pure authentic Thai house all made of wood. However, the interior was too dark and the functions were not so suitable for convenient living. I used to live in this same style of house but it was not dark as it stood right in the


middle of the sunny paddy fields. I felt that there was not enough light in her house so I planned to make it look brighter. In the end, the whole interior was painted in white and a modern set of furniture was installed. In my opinion, Art Deco and Ayudhaya Period Thai houses resemble in the way they used 45 degree diagonal lines in decoration. When mixed together they create a new modern style of beauty. As a Thai designer, I loved to put Thai feelings into my works. Thai silk was one of the items I used to express them. Leatherware which conveyed a sense of Thai was also used to build a strong character that differs from Western styles. In addition, I tried to make my designs look modern by omitting the elaborated details so that their characters stood out vividly.

design is drawing together with function. People live in that drawing and utilize its function. As the stylist career still didn’t exist at that time, I did everything on my own. These days I work with stylists and it’s good because the works won’t express too much of my character. Back then when I selected the props myself, everything was 100% me. As a silk-lover, I once designed a living room with silk benches, silk cushions, a bed that looked like a lotus pond, pillows that were shaped as lotus leaves and flowers, and carpets with wave patterns. That was quite fun.

What made you fall in love with silk? Thai silk has its own unique charms as it is crafted by hand. During the process, the weavers put their hearts into each thread. There are some characteristics in Thai silk which differ With the working idea which was considered from other fabrics as it is neither too shiny nor avant-garde at that time, how did you manage too matt, and its special texture also makes it to deal with your customers? so beautiful. From the beginning, interior design work has always been based on the requirements of As an interior designer, what is your goal for the customers. Designers cannot just say “I every work you have put your hands on. want to do this and I’m going to do it whether My goal is to make my customers happy. you like it or not!” That won’t do. Customers Designers are dream makers. Each customer tell us what they want, we provide them with has a dream home in their mind. It is our job good ideas, and their decisions depend on the to point out the things they want and make way you present them your reasons. If your their dreams come true. However, we must presentation is based on acceptable reasons guide them in proper directions to make their and you can make them feel that the results homes look beautiful. We should not let them will be great, they will trust you and let you end up with a bad idea despite the fact that do it your way. That’s how you get your they like it. In my opinion, an ideal piece of customers’ reliance. work should be the one that even if you look at it 10 years later, there is nothing you would How did you use Thai elements in your like to change. You will think it is flawless for decorations? all times. The juxtaposed way of decoration was trendy then. You just placed a couple of antiques or art objects in a room and the character of the room was suddenly changed. However, decorating homes, hotels or other public places, in my view, is like drawing pictures. You have to look at the composition and the color choice to plan your work which will help you define the beauty of it. Interior 25


HONOR AWARDS 2015: Illustration Design โอม รัชเวทย์ OHM RACHAVATE ohmanima@hotmail.com +668 9814 0240 Facebook: โอม รัชเวทย์

เราล้วนเคยติดตามผลงานของ โอม รัชเวทย์ มาแล้วไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง นี่ไม่ใช่ค�ำกล่าวที่เกินเลย ไปแต่อย่างใด เพราะศิลปินระดับครูผู้นี้ท�ำงานมา ยาวนานหลายสิบปี และงานของเขาก็ครอบคลุมหลาก หลายรูปแบบ ผลงานบางชิน้ ของเขาถูกตีพมิ พ์มาแล้ว นับล้านฉบับ ซึ่งนับว่าไม่ใช่เรื่องที่จะเกิดขึ้นได้ทั่วไป ระยะเวลาหลายสิบปี ทีผ่ า่ นมานับตัง้ แต่ที่ โอม รัชเวทย์ เริ่มต้นรู้จักกับเสน่ห์ของงานลายเส้น ชีวิต ของเขาก็แทบไม่เคยห่างจากการวาดรูปอีกเลย เขา ถูกนิยามว่าเป็นทัง้ ศิลปิน เป็นนักวาดการ์ตนู รวมถึง นักเขียนนิยายภาพ แม้ว่าในลักษณะการท�ำงานและ ผลงานทีอ่ อกมาจะมีความคล้ายคลึงกัน แต่ทงั้ หมด ก็มีความแตกต่างกันอยู่ในบางรายละเอียด

26

“จริง ๆ แล้วถ้านิยามตามความชอบของผมเองก็ควรจะเป็นนักเขียนนิยายภาพ” โอม รัชเวทย์ กล่าวเป็น ค�ำแรกพร้อมกับยิ้มอย่างผู้ใหญ่ใจดีเมื่อถามว่า เราควรนิยามตัวเขาว่าอย่างไร “เพราะว่ามันเป็นงานเขียนทีผ่ มใฝ่ฝนั มาตัง้ แต่เด็กๆ ตอนสมัยวัยรุน่ ผมจะไม่คอ่ ยได้ทำ� นิยายภาพเท่าไหร่ จะเขียนการ์ตูนเป็นหลัก เพราะ ณ เวลานั้นการ์ตูนบูมมาก และผมก็เข้าสู่เส้นทางพอดี ผมเองก็ชอบการ์ตูน การ์ตูนมันเป็นงานที่ผลิตขึ้นเพื่อเป็นสิ่งพิมพ์และสิ่งพิมพ์ก็มีอิทธิพลในแง่ของสื่อ แต่มันเป็นความฝันว่าวันหนึ่ง เราจะท�ำงานนิยายภาพให้ได้” นักเขียนนิยายภาพ วัย 59 ปี อธิบายว่า ส�ำหรับเขาแล้วงานด้าน Illustration คือการเขียนภาพประกอบ บทความหรือวรรณกรรม หรืออาจจะกินความหมายกว้างไปถึงงานประเภท Comics ด้วยก็ได้ เพราะนั่นก็คือการ เขียนงาน Illustrate หลายๆ ช่องมารวมกันเป็นเรื่องราว “Illustrate ความหมายโดยตรงของมันก็คือการเขียนประกอบอักษร แต่นิยายภาพเราต้องสร้างอักษร ขึ้นมาก่อน หมายถึงว่าใครก็ตามที่อยากให้เราวาดต้องสร้างอักษรขึ้นมาเพื่อบรรยายเรื่องราวเป็นช่องต่อช่อง คล้ายๆ กับการท�ำ Story Board นั่นก็เลยท�ำให้ Illustrate ของนิยายภาพเป็นงานที่มีจ�ำนวนมาก ต้องใช้ก�ำลัง แรงงานสูง นี่คือลักษณะของนิยายภาพ แต่ค�ำจ�ำกัดความก็แล้วแต่บทบาทที่เราได้แสดง” จุดเริม่ ต้นส�ำคัญในเส้นทางนีข้ องโอม รัชเวทย์ เริม่ ทีก่ ารรักและชอบอ่านการ์ตนู เป็นชีวติ จิตใจ จากการ ชอบอ่านเขาจึงลงมือหัดวาด ฝึกฝนพัฒนาตัวเองเรื่อยมา จนกระทั่งเข้าเรียนที่โรงเรียนเพาะช่าง ในแต่ละช่วง เวลาของการได้สัมผัสกับการวาดรูปเขาได้เรียนรู้แนวคิดที่ส�ำคัญหลายต่อหลายอย่าง “ผมว่าเด็กทุกคนก็รกั การอ่านการ์ตนู นะ เราก็เป็นคนหนึง่ ทีร่ กั การอ่านการ์ตนู เราก็กา้ วไปถึงรักการวาด ด้วย เมือ่ เรารักการวาดเรารูส้ กึ ว่าเราไม่ได้เป็นเพียงผูเ้ สพ แต่เราเป็นผูส้ ร้างมันด้วย ดังนัน้ เมือ่ ไหร่ทเี่ ราเริม่ สร้าง งานการ์ตูน เราก็รู้สึกมีความภาคภูมิใจ การอ่านท�ำให้เราสนุก แต่เมื่อไหร่ที่เราได้สร้าง เราจะมีความสนุกและ ความภูมิใจตามมา เพราะฉะนั้นความภูมิใจนี้มันจะสั่งสมท�ำให้เราวาดมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะเรามีความรู้สึกที่ดี ต่องาน”


“ตั้งแต่เด็กๆ ผมชอบดูภาพ พอชอบดูภาพเรา จึงเขียน พอเขียนออกมาก็มีความรู้สึกว่า เราเขียนได้ แต่มันก็อาจจะได้แบบเด็กๆ อย่างเช่น ตอนเด็กๆ เรา เขียนนิว้ ไม่ได้เลย แต่พอมาวันหนึง่ เราเขียนจนมันมีนวิ้ งอกออกมา เราภูมใิ จมากว่าเราเขียนนิว้ คนได้ มันอาจ จะดูไม่สวยแต่มนั ก็ได้ เพราะฉะนัน้ มันก็เกิดการพัฒนา เราก็เขียนของเราทุกวันๆ การท�ำงานแบบนีต้ อ้ งใช้ทกั ษะ สูง นั่นหมายถึงว่าเราต้องฝึกมากๆ เขียนมากๆ เป็น คนช่างสังเกต แต่วา่ ทัง้ หมดทัง้ มวลมันก็ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั ความรักตัวงานมากที่สุด ถ้าเราไม่มีความรักต่อการ วาด มันก็คงท้อถอย เขียนๆ ไปมันก็ไม่อยากเขียน แต่ นี่เราไม่ เพราะว่าเรารู้สึกว่ามันให้หลายอย่าง อันดับ แรกเลยคือความสุข จากนั้นสิ่งอื่นๆ ก็จะตามมา” “จนต่อมาเมือ่ ผมเข้าเรียนทีเ่ พาะช่าง ก็ได้เรียน ทั้งภาพพิมพ์ เรียนทั้งจิตรกรรม แต่จริงๆ แล้วตอน ก่อนจะเข้าเพาะช่างผมไม่รู้หรอกว่าเพาะช่างคืออะไร รูแ้ ต่วา่ จะได้เรียนเขียนรูปทีน่ ี่ แต่เมือ่ ได้เข้าไปเราก็รสู้ กึ ว่าโลกของการเขียนรูปมันกว้างขวาง มันไม่ใช่การเขียน แบบเรา แล้วเมือ่ เราเขียนงานแบบเราออกไปก็จะรูส้ กึ มีมุมมองของคนจ�ำนวนมากที่มองต่างออกไปจากเรา คือเขาจะมองว่างานศิลปะก็ควรจะท�ำให้มันดูเป็นงาน ศิลปะ ไม่ใช่นยิ ายภาพ ไม่ใช่การ์ตนู แบบทีเ่ ราเขียน ซึง่ ผมก็พยายามคิดคล้อยตาม แต่สุดท้ายเราก็หนีตัวเอง ไม่ได้ เพราะไม่ว่าเราเขียนอย่างไรมันก็เป็นตัวเรา เพราะฉะนั้นเราเรียนศิลปะก็เท่ากับว่าเราเข้าไปใน สถาบันเพือ่ เรียนรูต้ วั ตน การเรียนศิลปะในสถาบันเป็น ประโยชน์ในแง่การเปิดหูเปิดตา แต่นกั เขียนทุกคนจะ

ต้องมีตัวตน มีเป้าหมายของตัวเองที่ชัดเจน ไม่ว่าจะ เรียนวิชาเดียวกัน แต่ตัวตนจะต่างกัน นี่คือบทเรียนที่ สถาบันสอนเรา คือการพยายามอย่าเปลีย่ นแปลงสิง่ ที่ ตัวเองเป็น เรามีตัวตนดีที่สุด” โอม รัชเวทย์ เล่าสิ่งที่ เขาเรียนรู้ ซึง่ นับเป็นประโยชน์ตอ่ ชีวติ และการท�ำงาน ในเวลาต่อมาของเขาอย่างมาก งานของโอม รัชเวทย์ส่วนใหญ่ปรากฏในรูป แบบของการ์ตนู นิทานพืน้ บ้าน การ์ตนู พระราชประวัติ การ์ตูนพุทธประวัติ รวมไปถึงการเป็นทีมนักวาดภาพ ในงานพระราชนิพนธ์ชดุ พระมหาชนกและคุณทองแดง ฯลฯ ซึ่งงานทั้งหมดนี้ได้รับการยอมรับอย่างสูงในแง่ ของการมีลายเส้นที่เป็นเอกลักษณ์ กล่าวคือมีความ อ่อนช้อยและแสดงความเป็นไทยอยู่ในที “ผมอยากจะบอกทุกคนว่าผมไม่ได้ตั้งใจเขียน ให้เป็นไทยนะ ผมไม่ได้ตั้งใจเขียนเป็นไทยเลยแม้แต่ นิดเดียว” เขากล่าวอย่างอารมณ์ดี “ผมเป็นเหมือนกับชาวบ้านที่ทอผ้า ผมก็ทอผ้า แบบนี้ของผมมา ผมทอเสร็จผมก็สนใจที่จะเอามานุ่ง มาใส่ ผมไม่ได้คดิ หรอกว่า เฮ้ย เราทอเพือ่ ตัวตน เพือ่ เอกลักษณ์ของชาติ ผมไม่เคยคิดในสมองเลย เพราะ ในการวาดภาพสมองเราควรจะวางเป็นกลาง เราไม่ เอาสัญลักษณ์ของคนอื่นต่างท้องถิ่นมาใช้ เพราะเรา ไม่สามารถสื่อสารกันเองได้ เช่น เราไม่เอาอิริยาบถ คนญี่ ปุ ่ น ที่ ค นไทยไม่ คุ ้ น เคยมาใส่ ใ นงาน ไม่ ใ ช่ หมายความว่าเรารักความเป็นไทยจนไม่เอานะ แต่ เพราะว่าเรามีความเป็นพื้นบ้าน เราจะสื่อสารกับคน พืน้ บ้านด้วยกัน เราก็ตอ้ งเอาสิง่ ทีเ่ ป็นพืน้ บ้านมาคุยกัน เพราะฉะนัน้ เราเป็นคนไทยถึงเราอยากจะเขียนให้เป็น มังงะมันก็จะไม่เป็น เพราะว่าชีวติ เราในแต่ละวันไม่ได้ อยูท่ ญ ี่ ปี่ นุ่ เราก็อยูอ่ ย่างนี้ คุณก็อาจจะอยูห่ อ้ งแถว อยู่ บ้าน ปลูกต้นไม้ คุณก็ไม่ได้ปลูกต้นซากุระใช่ไหม เพราะ ฉะนั้นยังไงมันก็ไม่หนีความเป็นไทยไปได้ เพียงแต่ว่า เราไปติดรูปแบบของคนอื่นจนถอนตัวไม่ขึ้น” “นักเขียนไทยจึงควรจะตั้งสติว่าเราไม่จ�ำเป็น ต้องก็อปปี้อีกต่อไป เพราะว่าเขียนอย่างไรมันก็เป็น ไทย เพียงแต่ว่ารูปแบบมังงะที่ทุกคนชอบ อย่างเช่น One Piece คุณก็เขียนไปเถอะ ไม่เป็นไร แต่เวลาคุณ เขียน คุณก็ไม่จำ� เป็นต้องไปกางหนังสือเขาเพือ่ เอามา เป็นแบบเขียน คุณก็เขียนไป มันอาจจะมีกลิน่ อายของ One Piece มาก็ไม่เป็นไร แต่เรื่องที่จินตนาการออก มามันต้องเป็นของเรา” อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วว่า โอม รัชเวทย์ ผลิต งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาหลายสิ บ ปี มี จ� ำ นวนผลงาน มากมายนับไม่ถ้วน บางชิ้นอย่างเช่น การ์ตูนพุทธ ประวัติถูกตีพิมพ์กว่า 1 ล้านเล่ม แต่เมื่อถามเขาว่า งานชิ้นใดเป็นชิ้นที่เขาภูมิใจมากที่สุด ศิลปินชั้นครูนิ่ง คิดและบอกว่า  เขาไม่สามารถบอกได้ว่างานชิ้นใด

ส�ำคัญที่สุด เพราะเมื่อลงมือท�ำงานชิ้นหนึ่งจนส�ำเร็จ เขาก็ลงมือท�ำงานชิ้นต่อไป “ถ้าถามเรือ่ งความพึงพอใจในตัวเนือ้ งานคงไม่มี เพราะว่าเราก็ทำ� ของเราไปเรือ่ ยๆ เรายังเป็นนักศึกษา อยู่ เพราะเราไม่เคยคิดว่าเราท�ำส�ำเร็จแล้วและหยุด ความส�ำเร็จไว้แค่นนั้ เรายังต้องศึกษาต่อ ทุกวันนีง้ าน เขียนทิง้ ยังมากกว่างานทีเ่ ขียนจริง หมายถึงว่ากระดาษ ที่เราเขียนเพื่อฝึกแล้วโยนทิ้ง มันยังมากกว่างานที่เรา เขียนจริง เพราะว่าเรายังรักที่จะฝึกอยู่ การฝึกเป็น เรื่องส�ำคัญ พื้นฐานส�ำคัญมาก เราคิดแบบเราว่าถ้า เรามัน่ คงในพืน้ ฐานก็เหมือนกับเราสร้างตึก ถ้าฐานเรา มัน่ คง เวลาเราต่อเติมอะไรขึน้ ไป โครงสร้างเราดี เวลา คุณตกแต่งมันก็จะสวย แต่ถ้าโครงสร้างมันบิดเบี้ยว แต่แรก คุณไปเก็บตกรายละเอียดมันก็ไม่มีประโยชน์ อะไรหรอก เพราะว่ามันผิดตัง้ แต่เริม่ แล้ว เพราะฉะนัน้ พื้นฐานเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด” นอกจากการฝึกฝนแล้ว ความมุ่งมั่นก็เป็นอีก สิ่งหนึ่งที่โอม รัชเวทย์ยึดถือมาตลอดท�ำให้เขายังคง ท�ำงานมาได้อย่างยาวนาน “อย่าเลิก เขียนอย่าเลิก เขียนอย่าหยุด ถ้าคุณ ท�ำธุรกิจการค้า คุณหยุดคือเจ๊ง ถ้าไม่หยุดเครดิตคุณ ยังมี เขียนรูปก็เช่นกันถ้าหยุดก็เท่ากับฝันที่คุณอยาก จะเป็นนักเขียนก็ลม้ เลิกไป คุณอาจจะไปขายก๋วยเตีย๋ ว แต่ถ้าอยากจะประสบความส�ำเร็จในวิชาชีพนี้ต้องไม่ เลิก และคุณก็ต้องฝึก รู้จักแยกแยะ ต้องเป็นคนที่ ละเอียดอ่อนในการแยกแยะ เช่นเราฝึกเขียนผม ไม่ใช่ เขียนผมเป็นสูตรส�ำเร็จ ฝึกครั้งเดียวใช้ได้กับทุกรูป ไม่ใช่ ทุกครั้งที่คุณเขียนผมมันต้องมีความต่าง หมาย ถึงผมทีค่ ณ ุ เขียนครัง้ ใหม่ ๆ มันก็ตอ้ งพัฒนาขึน้ แต่คน ดูอาจจะไม่รู้นะ แต่เราต้องรู้ ใจเราต้องจดจ่ออยู่กับ เส้นผมที่เราวาด แต่บางคนที่เขียนผมเป็นแล้วก็เขียน ไปแบบออโต้ พวกนีอ้ าจจะไม่ประสบความส�ำเร็จเพราะ คุณดูหมิ่นการท�ำงานของตัวเอง” “เมื่อเราพัฒนา มันไม่ใช่แค่พัฒนาตัวเราเอง มันหมายถึงว่าเราก�ำลังพัฒนาวงการเช่นกัน” โอม รัชเวทย์ ศิลปินนักเขียนการ์ตนู และนักเขียนนิยายภาพ กล่าวถึงสิ่งส�ำคัญในฐานะผู้ที่ได้ลงมือท�ำงานมาอย่าง ยาวนาน

27


We might have already seen Ohm Rachavate’s works at least once in our lives. This is probably not an overstatement as this guru artist has been doing his various kinds of work for decades. Some of his works have been published more than a million copies. This phenomenon is exceptional. Ever since he fell in love with drawing, he has never been away from doing it. People call him an artist, a cartoonist, and a graphic novelist. Although all his working methods and the works he has been doing are almost in the same field, there are some different details.

“I would rather be called a graphic novelist according to my preference actually,” he replied with a gentleman’s smile to our question about what he would define himself as. “It was my childhood dream job. When I was younger I mainly worked on comic books as they were a big hit at that time, and I had just started off cartoon writing. I like comic books as they are meant to be published, and as a media, they are quite influential. However, I always dreamed of being a graphic novelist some day.” The 59-year-old graphic novelist explained to us that as for him, illustration is making pictures which are related to articles or written stories. Comics could also be categorized as illustration because they are created by combining a series of illustration into stories. “To illustrate is to add pictures to written stories but to make a graphic novel is to write all you want to present in each box as a storyboard and describe it in sequence with pictures. That’s why illustration of a graphic novel needs more tasks and takes a lot of workload. This is the characteristics of a graphic novel but the definition of it relies on the roles we play.” The main starting point of his profession took root from his love in comics as he had a deep fondness for reading them, then he began to draw and made improvement gradually by the time he entered Poh chang College of Arts & Crafts. Every step along the way of drawing experiences, he had come up with many important ideas. 28

“I think every kid loves to read comics. I was one of them and I happened to love to draw, too. When you love to draw, you are no longer just the reader but you are also the creator of comics. When you create your own cartoons, you feel proud of yourself. Reading is fun but when you draw it yourself, you feel not only fun but also proud of yourself. This feeling of pride will continuously drive you to draw more cartoons because you have positive feelings towards what you do.” “When I was a kid, I liked to look at pictures. That made me want to draw. It felt good to be able to draw, but my drawings were just like those of the other kids. At that time, I couldn’t draw a human’s finger, but then one day I finally made it. I felt very proud to be able to draw a human’s finger. It might not look so good but it was just fine. That’s the way you make progress. Just keep drawing it every day. It takes a lot of skills to work in this field. You have to practice a lot, draw a lot, notice every detail, and all in all, you have to love what you do. If you don’t love it, you might feel you want to give up and don’t want to continue to draw. This is not my case, though, as I think drawing has given me a lot. First thing is happiness, then there come other things.” “When I was in Poh chang College, I had a chance to study printmaking and painting. Actually, before I entered Poh chang College, I had really had no idea what the place was all about. I only knew I would learn how to draw pictures here. When I got in, I came to realize that there were a lot more things in


the world of drawing other than the way I liked to draw. As I drew what I liked, other people seemed to look at it in different aspects. They would think that a piece art should look like the piece of art in their perception, not the graphic novels or the cartoons that I drew. I also tried to convince myself so, but I just couldn’t run from myself. My drawings happened to reflect who I really was. It appeared that art education in the Institute was beneficial for me to be open for new things. However, every artist must have his/her own identity and rigid goals. You study the same subjects but your identities will be different. This is what you learn in the institutes. Do not try to change what you are. It is the best to stay true to yourself.” He told us what he had learned which made great advantage to his life and works later on.” Most of Ohm Rachavate’s works come in forms of folklore comic books, Kings of Thailand’s biographies in cartoon, and Lord Buddha’s legends in cartoon,etc. He was also a member of illustration team for His Majesty the King’s literary masterpieces—Mahajanaka and Khun Thongdaeng. All of his works are highly regarded for his unique techniques of outline drawing which display delicateness together with Thai identity. “I really want to tell everybody that it isn’t my intention to draw pictures to express Thai identity at all,” he said joyfully. “I’m just like country folks who weave their own clothing. This is how I always weave. When I finish it I just wear it. There’s no such thing like weaving for my own identity or weaving for our nation’s

uniqueness in my head. In my opinion, in order to draw a picture, my perception has to be neutral. I don’t use any foreign characteristics in my work because I cannot use them to communicate with Thai audience. For example, Japanese gestures which are not common for Thai people will not be shown in my work. This doesn’t mean that I am so proud to be Thai that other foreign stuff will be omitted. Instead, it is because the characteristics of Thai country folks are within me, so I want to communicate with people like myself. That’s why I have to talk like country folks do. As I am a Thai citizen, even if I wanted my work to resemble a manga, it would never be like one because I am not living in Japan. I live my life like Thai people do. You may live in a row house, staying home, planting a tree—but what you plant is never going to be a sakura tree. This is why you will always possess Thai identity, unless you are so obsessed with foreign styles that you cannot get them out of your head.” “Thai cartoonists should get a grip and tell yourselves that you no longer need to copy foreign styles. No matter how you do your work, it will turn out to be Thai style anyway. If you prefer manga style like One Piece—it is ok to draw in the style that you like—but you don’t have to copy everything. Just draw it as you like it. It is ok if your work has some inspiration from One Piece but the story must be out of your own imagination.” As mentioned above, Ohm Rachavate has continued to produce his works for decades and they are innumerable. A piece of work such as The Legendary Life of the Buddha Series was published in as many as a million copies. However, when we asked him which piece of work he was ultimately proud of—the guru artist paused and answered that he couldn’t tell which of his works was the most significant-for as soon as one was completed, the next one would be in process right away. “I don’t think I have special feelings towards any of my works specifically, as I just keep on working. I learn something new every day. I don’t think that I have already reached

the summit of my career and just stop at that point. I still need to learn. The sketch paper I throw away could probably outnumber the real work paper because I still love to practice. Practice makes perfect. Basics are vital. In my point of view, like a building, if the base is strong enough you can add beautiful decoration to it. On the other hand, if the base is crooked, there is no use to put on all the details as it has been wrong from the beginning. Therefore, basics are most important.” Apart from his frequent practice, his determination is what Ohm Rachavate has always possessed that makes him keep on working up till now. “Never quit. Never stop drawing. Just like running a business, if you stop, you will get bankrupted. If you keep on working, you still have your credits. In the same way, stop drawing means giving up on your dreams of becoming a cartoonist. You might end up doing something else you don’t really like. If you want to be successful in this career, do not quit drawing, practice a lot, and be a very observant person. For example, when you practice on drawing people’s hair, you don’t put the same hairstyle on every character. Every Time you draw hair you have to make the difference. You have to make it better. Other people might not notice it but you have to know it yourself. You have to concentrate on the hair that you draw. If you think you can already draw and just keep on drawing the same hairstyles without thinking, there is a possibility that you will not be a successful cartoonist because you only take your career for granted. When you make progress, it is not just for you but for the drawing society as well,” Ohm Rachavate told us these important ideas from his whole life as the experienced artist, cartoonist and graphic novelist.

29


HONOR AWARDS 2015: Graphic Design สุเมธ พุฒพวง SUMET PUTPUANG sumet.putpuang@gmail.com +668 9167 9367

ตลอดระยะเวลา 29 ปี ทีอ่ าจารย์สเุ มธ พุฒพวง รับราชการอยูใ่ นกรมศิลปากรมาโดยตลอด อาจารย์ สุเมธเติบโตมาในเส้นทางการรับราชการตั้งแต่การ เป็นนายช่างศิลปกรรม 2 เมือ่ ปี พ.ศ. 2526 มาจนถึง นักวิชาการช่างศิลป์ 7 ว. และมาลงท้ายต�ำแหน่ง สุดท้ายในชีวติ การรับราชการด้วยต�ำแหน่งนักวิชาการ ช่างศิลป์ ช�ำนาญการพิเศษ ด้านศิลปประยุกต์ สังกัด กลุ่มศิลปะประยุกต์และเครื่องเคลือบดินเผา ส�ำนัก ช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ตลอด ชีวิตการรับราชการอาจารย์สุเมธรับหน้าที่ออกแบบ ตราสัญลักษณ์ เครือ่ งหมายกรมกอง และอีกมากมาย รวมไปถึงตราพระราชพิธีส�ำคัญต่างๆ จ�ำนวนมาก

ขณะนี้ทราบว่าอาจารย์เกษียณอายุราชการแล้วแต่ยังท�ำงานให้กับกรมศิลปากรอยู่ อาจารย์ท�ำหน้าที่อย่างไร และต�ำแหน่งสุดท้ายของอาจารย์คืออะไร ต�ำแหน่งสุดท้ายคือนักวิชาการช่างศิลป์ ช�ำนาญการพิเศษ ด้านศิลปะประยุกต์ ส่วนตอนนี้ต�ำแหน่งของ ผมคือผู้ช�ำนาญการด้านช่างศิลปะไทยครับ งานที่อาจารย์รับผิดชอบอยู่ตอนนี้มีอะไรบ้าง ตอนนีง้ านทีท่ ำ� ก็จะเป็นการพิจารณาแบบตราเครือ่ งหมายของหน่วยราชการต่างๆ ในการใช้ตราเครือ่ งหมาย ของหน่วยราชการต่างๆ นัน้ เขาจะต้องขอจดทะเบียนลงในราชกิจจานุเบกษา หน้าทีข่ องต�ำแหน่งนีค้ อื การพิจารณา แบบเครื่องหมายตรากรม กอง เข็มต่างๆ ที่หน่วยราชการขอให้พิจารณารูปแบบเพื่อประกาศเป็นเครื่องหมาย ใช้ในราชการ หน่วยงานนัน้ ๆ ก็จะต้องท�ำเรือ่ งขอไปทีส่ ำ� นักนายกรัฐมนตรี จากนัน้ ก็สง่ ให้กรมศิลปากรตรวจว่า มีความสวยงามถูกต้องหรือไม่ โดยเฉพาะทีพ่ จิ ารณามากคือการใช้พระมหาพิชยั มงกุฏ ส่วนก่อนหน้านัน้ ก็คอื ท�ำ หน้าที่ออกแบบตราเครื่องหมายต่างๆ อาจารย์ท�ำงานโดยรวมทั้งหมดในหน่วยงานนี้เป็นเวลาทั้งหมดกี่ปี ทั้งหมด 29 ปีครับ ในระหว่างนี้ออกแบบไปทั้งหมดกี่ตราสัญลักษณ์ จ�ำจ�ำนวนที่แน่นอนไม่ได้ครับ ทราบแต่ว่าเยอะมาก ส่วนใหญ่เป็นตราสัญลักษณ์กรมกองต่างๆ มูลนิธิ หน่วยราชการ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ รวมถึงเครือ่ งแบบ ออกแบบเข็ม ปกหนังสือ โล่ เครือ่ งหมายต่างๆ ตรา สัญลักษณ์พระราชพิธี ในกลุ่มงานศิลปะประยุกต์ก็มีหน้าที่ออกแบบตรงนี้

30


คุณสมบัตทิ นี่ กั ออกแบบในกลุม่ งานศิลปประยุกต์ตอ้ ง มีคืออะไรบ้าง ต้องมีความรูค้ วามช�ำนาญทางด้านการออกแบบ การจัดองค์ประกอบภาพ การใช้สี การใช้เส้น ในการ ที่จะร่างรูปแบบขึ้นมา รวมถึงความรู้ทางด้านศิลปะ ไทยนั้นก็อาจจะต้องมีอยู่บ้าง เพราะว่าหน่วยงานใน สังกัดคือส�ำนักช่างสิบหมู่จะท�ำงานในเรื่องของศิลปะ ไทยเสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งก็ต้องมีความรู้บ้างในด้าน ศิลปะไทย ลายไทยต่างๆ

เครื่องหมายเดียว ใครมีความสามารถ ใครจัดองค์ ประกอบ ใครให้สีดี ก็เหมือนกับที่เขาประกวดโลโก้ ข้างนอกเหมือนกัน

งานชิ้นใดที่อาจารย์มีความภูมิใจเป็นพิเศษ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ พ ระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 80 พรรษา ก็มีความภูมิใจมากที่ได้ ท� ำ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ นี้ เพราะว่ า การออกแบบตรา สัญลักษณ์พระราชพิธีบางครั้งเป็นช่วงคาบเกี่ยวกับ เหตุการณ์บา้ นเมืองด้วย บางทีไปจัดในช่วงทีบ่ า้ นเมือง กระบวนการในการออกแบบ ยกตัวอย่างเช่น ตรา วุ่นวายก็จะเงียบมาก แต่เผอิญช่วงที่ออกแบบตรานี้ เป็ น ช่ ว งที่ บ ้ า นเมื อ งสงบ คนให้ ค วามส� ำ คั ญ มาก สัญลักษณ์ หนึ่งตราเริ่มต้นอย่างไร การออกแบบตราสัญลักษณ์ต่างๆ เริ่มต้นจาก หนังสือพิมพ์แทบทุกฉบับลงภาพตราสัญลักษณ์ ได้ออก การที่หน่วยงานนั้นๆ เขาต้องการมีตราสัญลักษณ์ รายการวิทยุรายการทีวีหลายรายการ เครื่องหมายต่างๆ เขาก็จะต้องท�ำหนังสือขอความ อนุเคราะห์มาที่กรมศิลปากร จากกรมศิลปากรผ่าน ในการท�ำงานออกแบบตราพระราชพิธที มี่ คี วามส�ำคัญ ทางท่านอธิบดีมาตามสายงาน ถ้าเรื่องออกแบบก็จะ มากๆ มีความกดดันอย่างไร มาอยู่ที่กลุ่มศิลปะประยุกต์ ปัจจุบันเป็นกลุ่มศิลปะ ความกดดันไม่มีหรอกครับ เพราะว่าเราอยาก ประยุกต์และเครื่องเคลือบดินเผา ท�ำงานด้านการ ท�ำมากๆ อยู่แล้ว ในงานนั้นมีการออกแบบมาจ�ำนวน ทัง้ หมด 12 ภาพ เผอิญว่าท่านโปรดแบบนีก้ ถ็ อื ว่าเป็น ออกแบบและด้านเครื่องเคลือบดินเผาด้วย ในการออกแบบเราก็ตอ้ งมีขอ้ มูลของหน่วยงาน เกียรติตอ่ ตัวเองและครอบครัวทีไ่ ด้ทำ� งานถวายพระบาท นัน้ ๆ ก่อน บางครัง้ เขาจะส่งมาพร้อมกับเรือ่ งเลย อย่าง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การออกแบบตราของหน่วยงานนัน้ ๆ เขาก็ตอ้ งมีประวัติ ความเป็นมา ภาพตราเดิม เป็นข้อมูลเบือ้ งต้นทีใ่ ห้เรา การออกแบบตราสัญลักษณ์พระราชพิธมี หามงคลเฉลิม มาออกแบบได้ เราก็จะเอามาตีโจทย์แล้วก็ร่างแบบ พระชนมพรรษา 80 พรรษา มีกระบวนการท�ำงานหรือ การร่างแบบก็เป็นไปตามความคิดของเรา เมือ่ ร่างแบบ วิธีคิดที่ต่างจากสัญลักษณ์ของหน่วยงานทั่วไปหรือไม่ เสร็จเรียบร้อยแล้วก็ลงเส้น แล้วก็ลงสี เมื่อลงสีเสร็จ มีความแตกต่างอยู่บ้าง เพราะมีรายละเอียด ขององค์ประกอบภาพมากกว่า ส่วนเครื่องหมายของ ก็เป็นอันจบกระบวนการ แต่ในเครือ่ งหมายทุกเครือ่ งหมายทุกตราเรายัง กรมกองต่างๆ มันเป็นแค่รปู กลมๆ มีภาพอยูต่ รงกลาง ต้องบอกด้วยว่ามีความเป็นมาอย่างไร ซึง่ เราก็จะต้อง มีลายประกอบข้างๆ แล้วก็มีตัวหนังสือชื่อหน่วยงาน มีความหมายก�ำกับไปด้วยว่าออกแบบชิน้ นีม้ คี วามหมาย ล้อมรอบ หรือถ้าไม่กลมจะเป็นทรงอื่นอะไรก็แล้วแต่ อย่างไร และแต่ละส่วนในองค์ประกอบนั้นหมายถึง แต่การท�ำตราเกีย่ วกับพระราชพิธเี ป็นเรือ่ งใหญ่ มีสว่ น อะไร ในภาพทุกภาพก็จะมีความหมายไปด้วยในการน�ำ ประกอบหลายอย่าง เพราะจะต้องเอาเครื่องสูงมาใส่ เสนอ อย่างตราของกระทรวงเกษตรฯ เขาก็ตอ้ งมีพระ เช่น ฉัตร พระมหาพิชัยมงกุฏ การใช้ตรา ภปร. ก็ดี พิรณ ุ ซึง่ เป็นเทพเกีย่ วกับการให้นำ�้ ฝน เราก็ตอ้ งเอามา หรือพระราชลัญจกรก็ดี มีความส�ำคัญทีจ่ ะมาประกอบ เป็นประธานหลัก ถ้าเราออกแบบเป็นวงกลมก็จะต้อง ตรงนี้ มีรายละเอียดเยอะกว่าเพือ่ ให้สมกับพระเกียรติ มีที่ว่าง เราก็แทรกโดยใส่น�้ำหรือใส่ลายไทยเข้าไปใน ของพระองค์ท่าน และการน�ำไปใช้งานก็มีความกว้าง แบบเพื่อให้องค์ประกอบนั้นดูแน่นสมบูรณ์ บางทีบาง ขว้างกว่า หน่วยงานเขาก็ไม่มขี อ้ มูลอย่างนีเ้ ราก็ตอ้ งออกแบบให้ เขา บางครัง้ ก็ปรับหลายครัง้ ส่งกลับไปกลับมา จนกว่า นักออกแบบหลายๆท่านทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ งานเดียวกันแต่ละ ท่านมีเอกลักษณ์ประจ�ำตัวเป็นของตัวเองหรือไม่ เขาจะพอใจ มีครับ ทุกคนเขามีเอกลักษณ์เป็นของเขาเอง กระบวนการท�ำงานภายในกลุ่มแบ่งงานกันอย่างไร ในกลุ ่ ม งานนี้ไ ม่ไ ด้มีคนเดีย ว แต่มีด้ว ยกัน เอกลักษณ์ของอาจารย์สุเมธเป็นอย่างไร ประมาณ 10 กว่าคน ทุกคนก็จะถูกมอบหมายให้ทำ� งาน ผมเองก็บอกไม่ได้เหมือนกันครับ แต่ในกลุม่ ที่ เหมือนกันหมด ฉะนั้นมันก็มีการแข่งขันด้วยว่าใครจะ ท�ำงานด้วยกันเขาก็จะรู้ว่าอันนี้คนนี้ออกแบบ เหมือน ได้รบั เลือก เพราะแต่ละหน่วยงานเขาใช้เพียงดวงเดียว มีสไตล์อยู่ในนั้น เพราะมันก็จะปรากฏผ่านลายเส้น

รูปทรง การใช้ลวดลาย อย่างผมไม่ได้เก่งลายไทย ผม ก็จะเขียนลายไทยเป็นส่วนประกอบเพียงนิดหน่อย ไม่ ได้เขียนออกแบบลายมากมาย แต่พยายามให้ทงั้ หมด กลมกลืน ลงตัว พยายามคุมสีสนั ให้สวยงาม ส่วนบาง ท่านเขาถนัดเขียนลาย เขาก็จะใส่ลายเยอะ เป็นสไตล์ ของแต่ละคน ในแต่ละยุคสมัยแนวคิดในการออกแบบตราสัญลักษณ์ ทางราชการต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง ในสมัยก่อนที่ยังมีการใช้ตราประทับ สมัยนั้น การออกแบบตราก็จะมีเทวดาแล้วก็มีการใส่ลวดลาย เยอะๆ ยุคนี้ก็จะเริ่มใช้ลายน้อยลงแล้วก็มีการเปลี่ยน แปลงโดยการออกแบบโลโก้ซึ่งเน้นแต่ทรวดทรง ไม่ เน้นการออกแบบรายละเอียด มันก็คอ่ นข้างจะมีความ เรียบง่ายมากขึ้น ถูกลดตัดทอนลงไป ความรู้สึกของอาจารย์ในฐานะนักออกแบบที่เห็นงาน ของตัวเองถูกน�ำไปใช้มากมายทัว่ ประเทศมีความรูส้ กึ ภาคภูมิใจอย่างไร ภูมใิ จมากครับ ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งหมายก็ดี เข็ม ก็ดี โลโก้ตา่ งๆ ก็ดี ทีเ่ ราเคยออกแบบ แค่คนเขาน�ำไป ใช้มนั ก็เกิดความภูมใิ จ ไม่วา่ จะไปเห็นทีไ่ หนก็ตอ้ งถ่าย เก็บไว้เป็นอัลบั้มของตัวเองว่าเราเคยท�ำงานนี้ เป็น ความภูมิใจ 31


What are the qualifications of a good applied arts designer? You have to be good at designing, arranging overall composition, usage of colors and lines, and sketching. A good knowledge of Thai arts is also necessary because you have to work under the Office of Traditional Arts. Most of the work you have to come across is What is your job description at the moment? traditional. So it’s important that you have I evaluate and approve government basic knowledge in Thai arts and Thai patterns. marks. When any department has a new mark, they have to register it on the government What is a design process of a mark? gazette. My job is to check these marks in all ​It starts off with an organization in need forms whether they are applicable to be of a mark. The first step is for them to make registered. When a department comes up with an official request to the Fine Arts Department. a new mark, they have to submit an application Then the director-general will assign Applied request to the Prime Minister’s Office. The mark Arts Division to handle the design element. The will then be examined by the Fine Arts division is now called Applied Arts and Ceramics. Department for its aesthetic and authentic Besides design, it also works on pottery and merits. Ones that are most carefully examined ceramics. are those that contain the Royal Crown symbol. T o design a mark, we must have Before the retirement, my job was to design information of the said department. Sometimes they submit it with the application. Initial marks. in formation we need are their history, How long did you work for the department? background, and details of the existing marks. Then we analyze the information and come up 29 years with a sketch. And we complete with the sketch How many marks did you design during that with lines and colors. And that’s the whole process. time? ​I can’t remember how many but I know ​For each design, we will have detailed it was a lot. Most of them were for government meaning descriptions specified. For example, offices, bureaus, charities, private companies, a mark of the Ministry of Agriculture always state enterprises, etc. My work included contains image of the Rain God as the principle uniforms, pins, book covers, trophies, emblems, element. If we make a round design, the space and some royal marks. These are parts of the within will be filled with a symbol of water or a Thai traditional pattern to make it look responsibility of the Applied Arts Division. Although you’re already retired, you still do some work for the Fine Arts Department. What do you do for them now and what was your last position when you retired? My last position was a scholastic artisan specialized in applied arts. And my current position is specialist in traditional arts.

During 29 years that Sumet Putpuang worked at the Fine Arts Department, he started off as a fine arts craftsman 2 in 1983, then moved up to a scholastic artisan 7. His latest position when he re tired was a scholastic artisan specialized in applied arts under the Applied Arts and Ceramic Division, Office of Traditional Arts, Fine Arts Department, Ministry of Culture. During his long years of work, he designed countless logos, department emblems, and many marks for important royal events.

32


complete. Sometimes we have to work without the information from the department. And the design has to be revised many times before reaching an agreement. How do you allocate work within the division? ​The division doesn’t have only one staff but more than 10. Everyone has to work on the same project. It’s basically a competition between the staff because the end result needs only one mark. So the chosen one is the best design with the best composition and color scheme, just the same as any logo competition anywhere else. Which design are you most proud of? ​The mark for the King’s 80th birthday celebration. It’s the work that I’m very proud of. The ambience or mood of the country at the time also plays a big part in the success of a design. If the celebration takes place while the country is in strife, the event can be easily overlooked. But when I designed this mark, the country was well-harmonized. People paid a lot of attention to this event. The mark was shown in every newspaper and became big news on many radio shows and TV programs.

Designing this royal mark, did you have to apply a different thinking or working process from your normal work? ​It was slightly different because there were more elements and details. Normal government marks are just round-shaped, with patterns on the sides, surrounded by names of the department. Sometimes they could even be other shapes. But the mark for a royal ceremony is a big deal. There are so many more elements to be considered, especially the usage of revered symbols like the royal umbrella, the royal crown, the King’s personal mark, or the royal seal. The design is more complicated and more exquisite in honor of the King. And it is also used in wider scope. Does each designer in your division have his own distinctiveness? Yes, each of them has their own style.

How has designing government marks been changing through time? In the old days when seals were still used, marks had more patterns and the use of god or goddess symbol was very popular. But now there’s less patterns. The focus has been shifted to the shape of the logo, not ornamental details. It is simpler now. How do you feel as a designer to see your work used all over the country? Do you feel proud? I am so proud. Every design that I’ve worked on, be it pins, logos, just to see them used makes me proud. Whenever I come across them being used, I would take pictures and keep them in my albums. I feel very proud.

What is your style? I can’t really pinpoint. But within the division, we can tell who designs which mark. The style is apparent in the design through lines, shapes and patterns. I’m not that good at traditional patterns so I usually use them as decorative element. But I try to keep the whole Was there a lot of pressure to design a mark design and color scheme well-balanced. Other for such an important royal event? designers who are good at traditional patterns ​ No, I didn’t feel any pressure because I tend to use them more. Each one has their wanted to do it so badly. I came up with 12 own style. designs in total. And this one was the King’s favorite. It was such an honor for me and my family to be of service to His Majesty the King.

33


HONOR AWARDS 2015: Textile & Fabric Design กฤษณ์ เย็นสุดใจ KRIS YENSUDCHAI kris_yen@hotmail.com +668 1811 5934 Facebook: Kris Yensudchai

ปัจจุบัน กฤษณ์ เย็นสุดใจ เป็นนักออกแบบ อยูท่ มี่ ลู นิธแิ ม่ฟา้ หลวง ในพระบรมราชูปถัมป์ นอกจาก ท�ำหน้าที่ดูแลการออกแบบแล้ว เขายังดูแลภาพรวม ของงานแฟชั่น เสื้อผ้า และงานสิ่งทอทั้งหมดด้วย กฤษณ์ท�ำงานที่มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงมาแล้วทั้งสิ้น 14 ปี​ี เป็นการท�ำงานที่แรกและที่เดียวของเขาที่เมืองไทย หลังจากกลับจากไปเรียนและท�ำงานอยูท่ ตี่ า่ งประเทศ ร่วม 10 ปี กฤษณ์จบการศึกษาระดับปริญญาตรีดา้ นการ ออกแบบตกแต่งภายในจาก Design Institute of San Diego สหรัฐอเมริกา ปริญญาโทด้านแฟชั่น ดีไซน์จากสถาบัน Marangoni อิตาลี และก�ำลัง ศึกษาระดับปริญญาเอกที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขาเคยผ่านการท�ำงานกับ ห้องเสื้อชั้นน�ำระดับโลก เช่น Prada และ Isabelle Marant

34

แม้วา่ โปรไฟล์ในการเรียนระดับปริญญาตรีจะไม่ตรงกันนักกับโปรไฟล์ในการท�ำงานในปัจจุบนั แต่กฤษณ์ บอกว่าเขาสนใจด้านแฟชั่นมาตั้งแต่เด็ก แต่ขณะเดียวกันก็สนใจงานด้านสถาปัตยกรรมด้วย แต่เมื่อต้องเลือก เขาตัดสินใจเรียนด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ก่อน และหลังจากเรียนจบเขาท�ำงานด้านนั้นอยู่อีกหลายปี เขา ท�ำงานมาหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง รวมถึงท�ำงานออกแบบเฟอร์นิเจอร์ด้วย จนกระทั่งถึงช่วง เวลาหนึ่งที่คิดว่าเหมาะสม เขาตัดสินใจเรียนต่ออีกครั้ง ในเบื้องต้นกฤษณ์ตัดสินใจเรียนต่อด้านการออกแบบ ผลิตภัณฑ์เพื่อต่อยอดการท�ำงานของเขา เขาบอกว่าก�ำลังจะถึงขั้นตอนในการจ่ายค่าเล่าเรียนอยู่แล้ว แต่เขา เกิดเปลี่ยนใจและคิดว่าเมื่อโอกาสมาถึงแล้วท�ำไมเขาจึงไม่ไปเรียนด้านแฟชั่นดูสักครั้ง และนั่นก็เป็นจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญจุดหนึ่งในชีวิตของเขา “ไม่ง่ายอย่างที่คิดเลยครับ” กฤษณ์บอกเมื่อถามถึงความแตกต่างระหว่างฐานความรู้เดิมและฐานความ รู้ใหม่ของเขาในวันนั้น “เพราะวิธีคิดของเด็กสถาปัตย์ หรือคนที่ท�ำงานอินทีเรียร์ หรือคนท�ำงานออกแบบ อุตสาหกรรมจะค่อนข้างยึดติดกับหลักการมาก เพราะทุกอย่างเป็นเรื่องของความปลอดภัย งานส่วนใหญ่จึง ออกมาเรียบง่าย แต่งานแฟชัน่ จะมีความแตกต่างออกไป ทีส่ ำ� คัญคือการเรียนแฟชัน่ สอนผมว่าไม่ควรจะยึดติด กับอะไรเลย เพราะทุกอย่างที่เราลงมือท�ำนั้นขึ้นอยู่กับสังคมและวัฒนธรรม ในช่วงแรกของการเรียนค่อนข้าง จะล�ำบากเพราะเรายังยึดติดกับวิธีการท�ำงานแบบเดิม แต่ผมก็มั่นใจว่าแฟชั่นจะท�ำให้ผมเปลี่ยนแนวความคิด ทั้งหมดเกี่ยวกับการท�ำงานออกแบบได้ ซึ่งสุดท้ายก็เป็นอย่างนั้นจริงๆ” เขาบอกถึงรายละเอียดในการท�ำงานของศาสตร์แฟชั่นเพิ่มเติมอีกว่า “แฟชั่นจะเป็นงานที่เก็บรวบรวม ความเคลื่อนไหวของงานหลายๆ อย่าง ไม่ว่าจะเป็นงานสถาปัตย์ งานกราฟิก ฯลฯ ที่เกิดขึ้นทุกๆ 6 เดือน แล้ว จึงประมวลออกมาเป็นงานออกแบบเสื้อผ้า โดยมีเวทีคืองาน Fashion week แต่ละรอบ เพราะฉะนั้นทุกๆ สิ่ง จะเกิดขึน้ เร็วมากท�ำให้เราต้องกระตือรือร้นทีจ่ ะรวบรวมข้อมูล นีค่ อื ข้อแตกต่างทีส่ ำ� คัญกับงานสถาปัตย์ เพราะ เวลาทีเ่ ราท�ำงานออกแบบเก้าอีส้ กั ชิน้ หนึง่ เราใช้เวลาราว 5-6 เดือน มีงานเก้าอีช้ นิ้ หนึง่ ทีผ่ มเคยท�ำสมัยยังท�ำงาน อยู่ที่อเมริกา ผมใช้เวลาในการออกแบบเก้าอี้ตัวนี้เกือบ 1 ปี และจนถึงตอนนี้เก้าอี้ตัวนี้ก็ยังผลิตอยู่ คือคิดที เดียวแล้วจบไปเลย เป็นวัฒนธรรมในรูปแบบเดิม ต่างจากแฟชัน่ ทีเ่ ป็นการท�ำแล้วทิง้ ผมชอบทีแ่ ฟชัน่ สอนว่าเรา ต้องพยายามท�ำให้ตัวเองกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา”


กฤษณ์ใช้เวลาอยูท่ ตี่ า่ งประเทศยาวนาน เขาไป เรียนปริญญาตรีที่อเมริกา มาต่อปริญญาโทที่อิตาลี ได้งานทีม่ ลิ าน จากนัน้ ย้ายไปท�ำงานฝรัง่ เศส ซึง่ แน่นอน ว่าเขาได้เรียนรูว้ ธิ กี ารท�ำงานของคนแต่ละชาติมาอย่าง เต็มที่ เขาบอกว่า ชาวอิตาลีท�ำงานเป็นระบบระเบียบ แต่ขณะเดียวกันก็มีความเป็นศิลปินทนแรงกดดันไม่ ค่อยได้ ส่วนชาวฝรั่งเศสท�ำงานจริงจัง สมาธิดี ตรง เวลา ถึงเวลาท�ำงานก็ไม่ว่อกแว่ก แต่เมื่อถึงเวลาเลิก งานก็โยนทุกอย่างทิง้ ทันที ซึง่ นัน่ ก็สะท้อนออกมาทาง ผลงานของพวกเขา “คุณจะเห็นว่ากระเป๋าอิตาเลี่ยนกับกระเป๋า ฝรั่งเศสไม่เหมือนกัน กระเป๋าอิตาเลี่ยนดีที่สุดในโลก ฝรั่งเศสก็ดีที่สุดในโลกเหมือนกัน แต่ราคาของอิตา เลีย่ นถึงจะแพงแต่กไ็ ม่แพงสุดๆ ฝรัง่ เศสจะท�ำน้อยกว่า แต่แพงมาก กระเป๋า Prada ไม่มีทาง catch up ขึ้น มาถึง Hermes หรือว่า Chanel ที่ราคาใบละ 4-5 ล้าน ได้ ซึ่งเขาก็ทราบและก็จะท�ำกระเป๋าที่ประมาณ แค่ใบละ 1-2 แสน ไม่มากกว่านี้ เพราะเขาไม่สามารถ ไปนั่งเย็บกระเป๋าทีละเดือนหรือสองเดือนได้” หลังจากเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ต่างประเทศ พอสมควร กฤษณ์ตัดสินใจกลับบ้านเมื่อปี 2544 เมื่อ กลับมาเขาตัดสินใจยื่นใบสมัครเข้าท�ำงานเพียงแห่ง เดียว นัน่ คือทีม่ ลู นิธแิ ม่ฟา้ หลวง ในพระบรมราชูปถัมป์ กฤษณ์บอกว่า ทีแ่ ปลกอย่างหนึง่ ก็คอื เขาตัง้ ใจ ที่จะมาสมัครงานที่มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงตั้งแต่ก่อนที่เขา จะไปเรียนปริญญาตรี โดยทีเ่ วลานัน้ เขายังไม่ได้เรียน

แฟชัน่ เลยด้วยซ�ำ้ นัน่ ก็เพราะว่ามีอยูว่ นั หนึง่ เขามีโอกาส ได้เข้าไปที่ร้านแม้ฟ้าหลวงและได้สัมผัสกับเสน่ห์ของ ผ้าไทยทีเ่ ขาคิดว่ามีความแตกต่างจากผ้าไทยจากแหล่ง อื่นที่เขาเคยเห็นมา “ก่อนไปเรียนไม่กี่เดือนผมได้เข้าไปในร้านแม่ ฟ้าหลวงก็ตกใจนิดหนึง่ ว่าท�ำไมผ้าไทยทีน่ ถี่ งึ มีลกั ษณะ แบบนี้ แล้วก็มาทราบภายหลังว่าผ้าไทยที่นี่เขาใช้วิธี การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เรียกได้ว่าอิน เตอร์ฯ ในวิธีของการดีไซน์ ซึ่งจนเดี๋ยวนี้ก็ยังใช้วิธีนี้ อยู”่ นักออกแบบแห่งมูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวงบอกว่า ผ้าไทย นั้นมีด้วยกันสองสาย คือผ้าทอมือสายดั้งเดิมและผ้า ทอมือสายร่วมสมัย ซึ่งในสายร่วมสมัยนี้มีอยู่ที่มูลนิธิ แม่ฟ้าหลวงเพียงแห่งเดียวเท่านั้น ตลอดระยะเวลาการท�ำงานหลายปีที่ผ่านมา เขาเป็นนักออกแบบทีม่ ชี อื่ เสียงในเรือ่ งการใช้วสั ดุอย่าง มาก เขามักทดลองน�ำวัสดุแปลกใหม่มาใช้ในการ ออกแบบเสื้อผ้าเสมอ เมื่อเอ่ยชื่อเขาขึ้นมาหลายครั้ง ต้องได้ยนิ ถึงเรือ่ งการน�ำวัสดุทเี่ รียกว่า แผ่นเซลลูโลส ชีวภาพ ซึง่ เป็นวัสดุทเี่ กิดจากการถักทอขึน้ ของจุลนิ ทรีย์ ทีถ่ กู คิดค้นขึน้ มาเพือ่ ใช้ในการสมานบาดแผลและรักษา ความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนัง มาตัดเย็บเป็นเสื้อผ้าและ กระเป๋า โดยงานนี้เป็นงานที่เขาร่วมมือกับสมบัติ รุ่งศิลป์ ผู้คิดค้นวัสดุไบโอเซลลูโลสแบบแห้ง “ถ้าถามว่า ผมเป็นดีไซเนอร์แบบไหน ผมคิดว่า ผมเป็นดีไซเนอร์แบบ materialism อยู่แล้ว ซึ่งก็โชค ดีที่รู้ตัวเองว่าเป็นคนแบบนั้น ผมถึงได้เลือกไปเรียน

มิลาน เพราะตอนตัดสินใจไปเรียนแฟชั่นผมก็ท�ำการ บ้านค่อนข้างเยอะและผมก็พบว่า คนทีจ่ ะไปลอนดอน จะต้องเป็นคนที่มีความครีเอทีฟสูงมากในเรื่องของ ฟอร์ม เรื่องสี เรื่องจินตนาการที่มันก้าวล�้ำไป ถ้ารัก ผูห้ ญิง สนใจเรือ่ ง feminine เรือ่ ง styling ปารีสเป็น ศูนย์กลางของโลกด้านนี้อยู่แล้ว อะไรที่จะเกิดขึ้นบน โลกใน 10 ปี หรือ 5 ปี ข้างหน้ามันก็จะเกิดที่ปารีส ก่อนเสมอ ถ้าคุณชอบแพทเทิร์นหรือโครงสร้างให้ไป เยอรมันครับ ถ้าหากชอบแนวคิดคล้ายๆ ยุโรปแต่มี ความเป็นญี่ปุ่นก็ต้องไปสแกนดิเนเวีย ส่วนอิตาลีไม่ ค่อยเน้นแนวคิดครับ เน้นเรื่อง material มาก่อน ถ้า material ไม่ดีหรือหา material ไม่เจอก็จะไม่มีการ ออกแบบอะไรทั้งสิ้น ส่วนตัวผมก็มีเค้าโครงของการ เรียนสถาปัตย์อยู่แล้วก็คิดว่ายังไงวัสดุก็ต้องมาก่อน ซึ่งตรงกันกับที่มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงซึ่งก็จะใช้ material น�ำดีไซน์ก่อนเสมอเช่นกัน” กฤษณ์กล่าว อย่างไรก็ดี กฤษณ์ เย็นสุดใจ บอกว่า อีกระยะ หนึง่ เขาอาจจะหวนกลับไปนับหนึง่ ใหม่กบั ตัวเองอีกครัง้ หนึ่ง ตรงกับจังหวะชีวิตของเขาที่ว่าครบสิบปีเขาก็จะ คิดใหม่อีกครั้ง เช่นเดียวกับครั้งที่เขาท�ำงานสถาปัตย์ ครบ 10 ปี จึงเปลี่ยนมาท�ำงานแฟชั่น และช่วงหลังนี้ เขาก็ท�ำงานแฟชั่นมากว่าสิบปีแล้ว ซึ่งก็ถึงเวลาที่เขา ควรจะกลับไปจุดเริ่มต้นอีกครั้งหนึ่ง น่าสนใจเป็นอย่างยิง่ ว่า จุดเริม่ ต้นต่อไปของเขา จะน่าตื่นเต้นแค่ไหน

35


Kris Yensudchai works at Mae Fah Luang Foundation under royal patronage, as a designer. He also supervises the organization’s overall fashion, clothing and textile products. He has been with Mae Fah Luang Foundation for 14 years, ever since he came back from abroad after over a decade of studying and working overseas. Kris graduated with a bachelor degree in interior design from the Design Institute of San Diego, USA. Then he furthered his education in master degree in fashion design from Marangoni Institute in Italy. Currently he’s working on a PHD at the Fine Arts Faculty of Chulalongkorn University. His past work resume includes prestigious global brands like Prada and Isabelle Marant.

Although he didn’t study fashion directly from the beginning, Kris has been a fashion aficionado since he was a little boy. However, the interest in architecture took over and he chose to go into that field first, in which he worked for many years after graduation. He had done it all from being a contractor to furniture designs. When the time was appropriate for him to continue his academic journey, he felt that product design would be a great help professionally. But right before paying for the course, he suddenly changed his mind and decided to study something he had always been passionate about…fashion design. And that is an important changing point in his life. “It was not easy as I thought”, Kris talked about the difference in interior design and fashion design. “In architecture, interior design, or industrial design, rules and principles are very important because safety has to come first. So most designs are very simple. But it’s different for fashion. In fashion studies, we are taught to not to be bound by any rules. But let society and culture guide us where we should go instead. In the beginning, it was very difficult for me because I was used to the old way of thinking. But I had faith that fashion could change my approach to design and it did.” Kris explained further on fashion design that “fashion depicts trends and movements in everything such as architecture and graphic designs, then translates them into clothing and display them on the industry’s most important stage -- Fashion Week. The event takes place every 6 months which is very fast. So we have to be on our toes at all times. This is one big difference from architecture which may take 5-6 months for one design. When I was working in the US, it took me almost a year to design one chair. This chair is still produced today. It’s one-time work that lasts for a long time. The format stays the same. On the other hand, fashion’s life cycle is very short. What I like about fashion is that it keeps me on my toes.” Kris spent a lot of time living overseas. He finished his B.A in the US, M.A in Italy, got a job in Milan, then moved to France. He has first-hand knowledge on how the work is done in each country. He told us that the Italians are very organized but cannot tolerate a lot of pressure. The French are very focused, on time, hardly distracted while working, but would stop everything when it’s past work time. And that reflects through their work.

36


“Italian and French bags are different. Italian bags are the best in the world. So are French bags. Italian bags are expensive, but not over-the-top expensive. The French make less bags, but their bags are much more expensive. Prada bags will never be as expensive as Hermes or Chanel that are 4-5 million baht. And Prada is aware of that. They make bags that are no more than 100,000-200,000 baht because they can’t spend 1-2 months on one bag.” After gaining a good amount of experience, Kris decided to return to his homeland in 2001. And he decided that there’s only one place where he wanted to work. Kris said that he wanted to apply for a job at Mae Fah Luang Foundation before going to pursue his B.A. He never even studied fashion at the time. But he was very inspired by the charms of Thai textile one day that he had a chance to visit the Mae Fah Luang shop. “A few months before going to study, I had a chance to go into a Mae Fa Luang shop. I never knew that Thai textile could be so chic. I learned later on that they designed all the fabrics with computer. It was so advanced.

And they’re still using this method today.” The designer explained that there are 2 types of Thai textile; traditional hand-woven textile, and contemporary hand-woven textile which is available only at Mae Fah Luang. All through the years, Kris is widely famous for his creative choice of materials. He likes to experiment with new materials in his designs. His outstanding achievement is using biocellulose in making clothes and bags. Biocellulose is thin fiber synthesized through bacteria, and used as artificial skin to heal wounds and keep the skin moisturized. This innovative use of material is the corporation b etween Kris and Sombat Rungsilp, the discoverer of dried biocellulose. “What kind of designer am I? I think I’m a materialism-prone designer. And I’m very lucky to realize that early on. That’s why I chose to go to Milan for my studies. When I decided that I wanted to pursue fashion, I did a lot of research. I found out that to study fashion in London, you need to be extremely creative in terms of forms, colors, and avantgarde imagination. If your interest is feminine

styling, Paris is the center of the world in this genre. Every trend that is going to come about in 5-10 years from now, it’s going to happen in Paris first. If you’re into pattern and structure, go to Germany. If you like European concept with a hint of Japanese flavor, Scandinavia is the place. Meanwhile, Italy doesn’t focus much on concept. Material comes first and foremost for the Italians. If they can’t find the right material, they won’t even bother with the design. I myself come from architectural background. So I feel that material is the most important thing. This is also the same philosophy as Mae Fah Luang where material always comes before design,” said Kris. Despite his success in fashion, Kris said he might decide to start his life over again, which is something he plans to do every ten years. He has done it once in his 10th year of being an Architect. And now that he’s been working in fashion for over a decade, it might be about time for him to reset the clock once again. And we can’t wait to see how exciting the new chapter in his life is going to be.

37


DESIGNERS OF THE YEAR AWARDS 2015: Furniture Design ดุลยพล ศรีจันทร์ DOONYAPOL SRICHAN doonya7@gmail.com +668 9956 5914 www.doonyapol.com Facebook: Doonyapol Srichan

9 ปี ในเส้นทางการเป็นเฟอร์นิเจอร์ดีไซเนอร์ ของดุลยพล ศรีจันทร์ เป็น 9 ปี ที่ท�ำให้เขาได้เรียนรู้ ศาสตร์การออกแบบแขนงต่างๆ มีโอกาสได้พาตัวเอง ไปใช้ชีวิตอยู่ในเมืองที่ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม เริ่ม ตั้งแต่เมื่อเรียนจบสาขาศิลปอุตสาหกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เขาได้รับทุนไปเรียนต่อ ปริญญาโทที่ Aalto University School of Arts, Design and Architecture เฮลซิงกิ ประเทศ ฟินแลนด์ หลังเรียนจบเขามีโอกาสได้ไปท�ำงานที่ สตูดิโอออกแบบที่มิวนิก ช่วงสั้นๆ ก่อนจะไปท�ำงาน ทีอ่ อสโล ประเทศนอร์เวย์อกี หนึง่ ปี และกลับเมืองไทย มาเป็นอาจารย์สอนทีพ่ ระจอมเกล้าฯ ลาดกระบัง และ ท�ำงานร่วมกันกับแบรนด์หลายๆ แบรนด์ทั้งในฐานะ นักออกแบบและที่ปรึกษาด้านการออกแบบไม่ว่าจะ เป็น Kenkoon, Yothaka, PDM Brand และอีก หลายแบรนด์ในหลายประเทศ

38

นิยามที่คุณมีต่อเฟอร์นิเจอร์ดีไซน์คืออะไร ผมเรียนศิลปอุตสาหกรรมมา และก็เชือ่ ว่าทุกอย่างเกีย่ วข้องกันหมด ไม่วา่ จะเป็นงานเซรามิก เท็กซ์ไทล์ พลาสติก แต่สว่ นตัวแล้วชอบงานเฟอร์นเิ จอร์มากทีส่ ดุ เพราะรูส้ กึ ว่ามันเป็นงานสถาปัตยกรรมขนาดเล็กทีม่ สี ว่ น ประกอบที่เหมือนกันกับเฟอร์นิเจอร์คือโครงสร้าง พื้นที่ สัดส่วน และวัสดุ อีกอย่างคือรู้สึกว่าเฟอร์นิเจอร์เป็น สินค้าทางวัฒนธรรมที่สามารถบ่งบอกได้ว่าคุณเป็นใครมาจากไหน ส�ำหรับประเทศที่พัฒนาแล้ว อุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์สามารถสร้างการเติบโตของประเทศได้จริงๆ มันสร้าง GDP ของประเทศ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ รายได้ของประเทศได้ เพราะสินค้าเฟอร์นิเจอร์ค่อนข้างจะมีเอกลักษณ์ และมันเป็นของชิ้นใหญ่ที่พอท�ำดีไซน์ แล้วเห็นเป็นรูปธรรม งานออกแบบเฟอร์นิเจอร์ต้องการความเข้าใจเฉพาะทางในแง่ใดบ้าง เวลาคุณจะออกแบบของสักชิน้ ผมคิดว่าความสวยงามเป็นแค่จดุ เล็กๆ ในงานดีไซน์เท่านัน้ ผมคิดว่าแก่น ในการออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ สิง่ ทีไ่ ม่ตอ้ งพูดถึงเลยก็คอื มันจะต้องนัง่ ได้เป็นส�ำคัญ ต้องแข็งแรง และคุณจะต้อง ไม่ลืมสัจจะของวัสดุ อย่าพยายามพลิกสิ่งที่มันเป็นอยู่ให้มันเป็นอย่างอื่นจนกระทั่งสูญเสียบริบทของตัวมันเอง ไป ถึงแม้ว่ามันจะมีวิธีพลิกแพลงวัสดุได้หลากหลาย แต่ถ้าคุณพลิกสิ่งเหล่านั้นให้ห่างไปจากประสบการณ์ มัน จะมาเร็วไปเร็ว คุณต้องเชือ่ ในความเงียบนะ แล้วโปรดักส์ของคุณจะอยูน่ าน และมากกว่านัน้ คือถ้ามันสามารถ remind ถึงวิธีการที่คุณเลือกใช้วัสดุหรือสามารถแสดงถึงการใช้พลังงานในการผลิตที่น้อย รวมถึงการผลิตที่ ง่ายแต่กลับดูน่าสนใจได้ นี่แหละคือความยากในขั้นตอนของการท�ำดีไซน์ ถ้าลองสังเกตจะเห็นว่าดีไซเนอร์ที่ อายุเยอะๆ มาก ท�ำงานมาทั้งชีวิต กระบวนการท�ำงานของเขาจะสั้นมาก แต่มันจะคมมากสามารถตอบโจทย์ ทุกบริบทของงานดีไซน์


“คุณต้องเชื่อในความเงียบนะ แล้วโปรดักส์ของคุณจะอยู่นาน” ความเงียบที่คุณหมายถึงคือความหมายเดียวกันกับ ความมินิมอลหรือเปล่า งานของเยอรมันก็จะมีส�ำเนียงอย่างหนึ่ง งาน ของสแกนดิเนเวียก็มีส�ำเนียงอีกอย่าง เวลาเอางาน ออกแบบมาเรียงกันก็จะรู้เลยว่าดีไซน์มันจะมาจาก เอกลักษณ์ที่แตกต่างกันตามแต่ละประเทศ ซึ่งผมก็ มองว่าถ้าเราหยิบวิธกี ารคิดของเขามาผสมกับสิง่ ทีเ่ รา มี มันก็จะท�ำให้งานน่าสนใจมากขึ้น ถ้าพูดถึงความ เรียบง่าย ความเรียบง่ายมันไม่ใช่วิถีไทยนะ เป็นสิ่งที่ ห่างจากความเป็นไทยมากๆ ความเป็นไทยคือความ เยอะ อย่างลายกนกหรือไฟสีชมพูสดที่ใช้ตกแต่งร้าน อาหารริมทาง ตรงนั้นคือความเยอะในมิติของงาน ดีไซน์ แต่คนละมิติกันในแง่ของวัฒนธรรม เคยมีคน พูดเหมือนกันว่างานของผมเหมือนฝรั่ง ผมก็ยอมรับ นะ เพราะเข้าใจว่าความเรียบง่ายมันไม่ใช่วัฒนธรรม ของเรา แต่เราก็มคี วามเชือ่ ว่าความเรียบง่ายมันท�ำให้ งานอยูน่ าน ส�ำหรับคนไทยถ้าออกแบบของปีนี้ ปีหน้า ลูกค้าก็อาจจะอยากได้ของใหม่แล้ว แต่ประเทศทีพ่ ฒ ั นา แล้ว งานที่ออกแบบปีนี้ อีก 7 ปี 10 ปี มันก็ยังขาย อยู่ และผมสนใจงานในบริบทและพยายามท�ำให้มิติ แบบนั้นมันเกิดขึ้นในงานของผม อย่างงาน THE DOOR ทีค่ ณ ุ ใช้เวลาเกือบ 2 ปี ในการ พัฒนามันหรือเปล่า ผมให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาวัสดุ เทคโนโลยี ทางด้านการผลิต ทัง้ ในแง่กระบวนการทีผ่ า่ นเครือ่ งจักร และงานช่างฝีมือ อย่างThe Door เป็น Outdoor Shower ที่น�ำบริบทมาใช้ในงานดีไซน์ ปกติแล้วเวลา เรานึกถึงฝักบัว ก็จะเป็นฝักบัวโดยปกติ แต่สงิ่ ทีผ่ มคิด กับ The Door คือเหมือนเราอยูใ่ นบ้าน แล้วเปิดประตู ออกไป สิ่งที่มันกั้นเราอยู่ระหว่างความแห้งกับความ เปียก็คือวงกบประตู ถ้าคุณเลยออกไปคุณก็เปียก ก็ เลยเอาไอเดียนั้นมาท�ำเป็น Shower เหมือนฝนตกลง มาจากขอบวงกบประตู จริงๆ แล้วไอเดียแรกใช้เวลา ไม่นานก็เห็นภาพ แต่วา่ งานชิน้ นีใ้ ช้เวลาเกือบ 2 ปี ใน การพัฒนาทั้งโครงสร้างเชิงวิศวกรรม และช่างฝีมือที่ เชีย่ วชาญเรือ่ งสแตนเลสก็ตอ้ งออกแบบระบบทางเดิน น�้ำใหม่ทั้งหมดเพื่อให้น�้ำที่ตกลงมามีดีไซน์ตามที่เรา ต้องการ และมันก็สามารถพับลงไปได้ ใส่กล่องขนาด เท่าประตู และมีลูกบิดเปิดปิดเป็น Accent ของงาน ด้วย ท�ำให้มนั สามารถสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กบั ผู้บริโภค

ต้นทางของไอเดียในการดีไซน์ของคุณมาจากไหนบ้าง ผมสนใจเรื่องบริบท สนใจ context ของการ ใช้งานมากกว่าการดึงเอา inspiration มาออกแบบ เพราะฉะนั้นงานจะไม่ค่อยได้รับแรงบันดาลใจมาจาก ใบไม้ ห รื อ สั ต ว์ อะไรท� ำ นองนั้ น อย่ า งผลงานชื่ อ Morgan ผมได้แรงบันดาลใจมาจากตอนทีผ่ มไปด�ำน�ำ้ ที่เกาะสุรินทร์แล้วได้ไปเจอหมู่บ้านมอร์แกน ก็คิดว่า มันเจ๋งดี คนที่นั่นเขาใช้ชีวิตอยู่ในพื้นที่เดียวเลย กิน นอน ร้องร�ำท�ำเพลง ก็เลยนึกถึงเพลตฟอร์มอะไรสัก อย่างทีท่ ำ� ให้คนได้มาพักผ่อนริมชายหาด ก็เลยออกแบบ เป็นเพลตฟอร์มขนาด 3 เมตรขึน้ มา เช้าก็นอนเล่นได้ กลางวันกดโต๊ะตรงกลางขึ้นมาเป็นเหมือนไฮโดรลิก พอตอนบ่ายก็มรี ม่ ทีส่ ามารถปรับทิศทางได้ แล้วก็เอา ดีเทลของการแล่นเรือมาใช้ พอกลางคืนก็ถอดร่มออก เสาที่เป็นโครงสร้างของร่มก็กลายเป็น LED taglight เป็น LED ทีใ่ ห้อารมณ์เหมือนปาร์ตี้ งานชิน้ นีส้ ว่ นใหญ่ โรงแรมก็จะซือ้ ไปวางริมชายหาดส�ำหรับให้บริการกับ แขกที่มาพัก มีอกี ชิน้ ทีน่ า่ จะเป็นตัวอย่างได้ดกี ค็ อื เก้าอี้ Samu ผมถูกสอนมาว่าเก้าอีก้ นิ ข้าวนอกจากด้านหน้าต้องสวย ด้านหลังก็ต้องสวยดี เพราะเวลาที่เราดันเก้าอี้เข้าไป ใต้โต๊ะสิ่งที่จะก�ำหนดบรรยากาศในห้องนั้นก็คือด้าน หลังของเก้าอี้ อันนั้นเป็นไอเดียของผม เลยพยายาม จะหาบริบทบางอย่างที่เกี่ยวข้องกันว่าอะไรคือความ สวยจากด้านหลัง พอดีผมเห็นแม่กำ� ลังดูละครเรือ่ งกล กิโมโนก็เลยคิดว่าเวลาเห็นชุดกิโมโนข้างหลังก็จะเป็น โบว์ มันคือความสวยงามจากด้านหลัง ซึง่ กว่าเก้าอีต้ วั นีจ้ ะส�ำเร็จก็ตอ้ งผ่านกระบวนการมากมาย ต้องใช้ชา่ ง ฝีมอื ขัน้ สูง ผมคิดว่านีแ่ หละคือความขีเ้ ล่นทีม่ อี ยูใ่ นงาน ออกแบบของไทย คุณมีหลักคิดและข้อค�ำนึงในการท�ำงานอยู่หลายข้อ ข้อไหนทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ในการท�ำงานของคุณมากทีส่ ดุ ถ้าจะพูดว่าเป็นเอกลักษณ์ก็คงไม่ถูกนักเพราะ ว่าผมไม่ใช่ศิลปิน แต่ผมเป็นคนสนใจเรื่องโปรดักชั่น และแมทีเรียลมากๆ เวลาท�ำดีไซน์กจ็ ะพยายามดูวา่ สิง่ ทีเ่ ราพูดถึงมันสัมพันธ์กบั อะไรบ้างอย่างสตู Paperi ที่ เป็นภาษาฟินนิชแปลว่ากระดาษผมก็ออกแบบโดยใช้ ขนาดของเหล็กเป็นตัวก�ำหนดไซส์ของสตู เพราะฉะนัน้ หนึ่งแผ่นจะสามารถตัดเก้าอี้ได้ทั้งหมด 7 ตัว โดยไม่ เหลือเศษวัสดุเลย กลายเป็นว่าดีไซน์มันก็ก�ำหนดวัสดุ ในขณะทีว่ สั ดุกก็ ำ� หนดดีไซน์ดว้ ยเช่นกัน ผมเรียนรูแ้ ละ พัฒนางานแต่ละชิ้นอย่างต่อเนื่อง ในแต่ละปีคุณอาจ จะไม่ได้เห็นงานใหม่ของผม แต่คุณอาจจะได้เห็นงาน เก่าที่ผมเอามาพัฒนาเพิ่มเติมขึ้นเพื่อให้มันเกิดอีก มิติหนึ่ง

39


9 years of working as a furniture designer, Doonyapol Srichan has learned various aspects of design careers and traveled to different countries. After he had graduated from Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, KMITL, he went on a masters postgraduate scholarship to study at Aalto University School of Arts, Design and Architecture in Helsinki, Finland. After that he went to work in a design studio in Munich, Germany for a short period of time then moved on to work for one year in Oslo, Norway. Later on, he came back to Thailand and became a lecturer at KMITL while working as a designer and a design consultant with many local design brands such as Kenkoon, Yothaka, PDM Brand, as well as international brands.

What is your definition of furniture design? I studied Industrial Design and believe that all products like ceramics, textiles, or plastics are totally related. But personally I like furniture product the most as I think it is an architecture in a smaller scale. All the components are the same, e.g. structures, spaces, proportions, and materials. Moreover, furniture is a cultural-related product which can define who you are. In developed countries, furniture industry can really boost the growth of GDP and hence the higher national incomes as the products can be considered exclusive. Plus furniture products are large enough in size to make the designs more concrete.

What are the specifications in furniture design? When you design a product, beauty is just a small element. Undoubtedly, the core of furniture design is its function, strength and truth to materials. Don’t try to over-modify the originality until it loses its context. As a matter of fact, there are numerous ways to play with the materials. However,if you distort them way too far from their original usage, your product could be a hit for a while and fade over time. You must believe in stillness. That way your product will live timelessly. Moreover, if it reveals how you choose your materials, how the production process consumes less power, or how its simple look catches the eye—that truly shows the complexity in the making of the design. If you look at the older designers who have been working continuously all their lives, you will see that their working process is very short but the products will be so smart that they fit all the design contexts perfectly. Does Stillness in your point of view has the same meaning as Minimalism? German designs have their own accent. The same way goes to those of Scandinavian. You will clearly notice their uniqueness according to the characteristic of each country. If we combine what we have with their ways of thinking, we could create more interesting works. Simplicity is basically not the Thai way. On the contrary, it is very far from the Thai way which is more about the details. Elaborate

40


Thai decorative patterns or shocking pink neon lights at the roadside food parlors are the details in design dimension; the cultural dimension is another story. I’ve heard some people said my works looked somewhat western. I have to admit it. Simplicity is not our culture but I believe its effect will make the design last longer. In Thailand, this design is for this year only, next year the customers might want to buy something new. In the more developed countries, their designs will still be able to sell after so many years. I am interested in the contexts of their works and I also try to create that dimension in my own designs. Do you consider THE DOOR which took you 2 years to create as the example? I put a lot of emphasis on the improvement of materials as well as production technologies both by machines and by hands. THE DOOR is the outdoor shower to which the context is applied in the design process. Normally, a shower we know will be a typical shower head. But the idea of THE DOOR is like you are inside the house while it’s raining. When you open the door, you can see that the frame is in the middle of dryness and wetness. If you step out of it you will get wet. That idea was made into the shower which releases water from the door frame like rain. Actually, it took me not so long to get the idea, but I spent 2 years to develop the engineering structures. The specialized mechanics in stainless also had to redesign the whole water pipes to make the water drop in the way we had designed. This product can be folded and put in a door size box. There is a door knob as the design accent as well. The consumers will have a chance to experience a new way of shower with this product. How did you come up with the sources of your design ideas? As a designer, I am interested in contexts of functions more than the inspiration. Therefore, most of my works will not be inspired by nature—like leaves or animals. The project called MORGAN, for instance, got its idea from

a village of the Morgan Tribe I visited during the dive trip in Surin Isles. The villagers used a single space for living—dining, sleeping, singing, dancing, all in one place and I thought it was cool. It gave me the idea of a platform where people could rest on when they go to the beach. Then I designed a 3-meter-diameter multipurpose platform where you can lie down in the morning, raise the central pop-up table for lunch, and rest under the adjustable sunshade in the afternoon. The details of sailing were adopted. At night, the shade will be removed, and each pole will be transformed into an LED tag light which creates a party mood. These platforms are mostly purchased by hotels for their guests to use on the beaches. Another good example is SAMU chair. I was taught that a dining chair must look fine on both sides, back and front, as when you push the chairs under the table, the back of the chairs will have the duty to enhance the atmosphere in the room. For that reason, I tried to find the context of the beauty from behind. One day I saw my mother watching a TV drama in which the Japanese ladies wore Kimonos with big ribbons on their backs—that was the beauty from behind. However, finishing this SAMU chair took a long, complicated process and high skills of craftsmanship. I think this is an example of the humor in Thai design as well. Which of your working ideas or concepts can best define your identity? I would’t call it my identity as I am not an artist. However, I have the interest more in productions and materials. When I work on a design, I will try to find its context. The Paperi stool, which has its name from Finnish language meaning paper, was designed by using the size of the aluminum sheet to define the size of it. As a result, one sheet will be cut into exactly 7 stools without any leftover. It happened to be that the design defines the materials and vice versa. I have been studying and modifying my works constantly. My new

products may not be released every year but you might see my previous products with new adjustments to add another dimension to their existence.

41


DESIGNERS OF THE YEAR AWARDS 2015: Product Design เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา EMSOPHIAN BENJAMETHA emsophian@gmail.com +668 5098 9221 www.benjametha.com Facebook: Emsophian Benjametha

หลังจากส�ำเร็จการศึกษาด้านการออกแบบ เฟอร์นิเจอร์จากปารีส เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา เริ่ม ต้นชีวิตการท�ำงานของตนเองในฐานะนักออกแบบ อิสระที่ planet 2001 บริษัทออกแบบเครื่องเรือน จากวัสดุธรรมชาติของ อุดม อุดมศรีอนันต์ ทีท่ ที่ ำ� ให้ เขาได้มโี อกาสสัมผัสกับเสน่ห์ และความละเอียดอ่อน ของศาสตร์งานปั้นเซรามิกสองปี หลังจากนั้นเขา ตัดสินใจหันหลังให้กับวงการออกแบบเครื่องเรือน เดินทางกลับบ้านเกิดที่จังหวัดปัตตานี เพื่อก่อตั้ง บริษัทและโรงงานผลิตเซรามิคแห่งแรกในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ในชื่อที่มาจากนามสกุลของ เขา “เบญจเมธา”

42

งานเซรามิคของเบญจเมธาดูนิ่งสงบและเรียบง่าย แต่ขณะเดียวกันก็เปี่ยมไปด้วยรายละเอียดที่สะท้อน ให้เห็นแก่นผ่านชิ้นงานที่คมคาย ลึกซึ้ง โดยเฉพาะหลักคิดที่สัมพันธ์กับปรัชญาธรรมชาติและความศรัทธาใน ฐานะชาวมุสลิม “ผมยึดมัน่ ความคิดว่า ‘มาจากดิน อยูก่ บั ดิน และกลับสูด่ นิ ’ และไม่ได้คดิ ว่า ‘ดิน’ เป็นเพียงแค่ วัสดุหลักในการปั้นเซรามิกเท่านั้น แต่ยังเป็นทั้งจุดเริ่มต้น ตัวตน และเป็นแรงผลักดันในการสร้างงานของผม อีกด้วย และผมก็ใช้แนวทางนี้เองเป็นตัวก�ำหนดทิศทางการออกแบบตั้งแต่แนวความคิดจวบจนถึงกระบวนการ การผลิตในขั้นตอนสุดท้าย อย่างดินที่ผมใช้ปั้นก็จะเป็นดินที่มีในท้องถิ่นที่มีคุณลักษณะที่เหมาะสม เช่น ดินด�ำ ปัตตานี ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ลดต้นทุนและสร้างความยัง่ ยืนในกับธุรกิจและผูป้ ระกอบการในท้องถิน่ ผมเชือ่ ว่างานออกแบบ ที่ยั่งยืนจะน�ำพาผู้ใช้ไปสู่ความพอดี ไม่ใช่น�ำพาไปสู่ความฟุ้งเฟ้อ ซึ่งความพอดีก็จะน�ำพาจิตใจของมนุษย์ไปสู่ ความสงบสุขโดยง่าย” เขานิยามค�ำว่า ‘ดิน’ ตามความหมายของเขาและอธิบายความตัง้ ใจทีแ่ ฝงอยูใ่ นผลิตภัณฑ์ เหล่านั้น


ธรรมชาติของงานเซรามิกคืองานที่ต้องอาศัย ทักษะ สมาธิ และความละเอียดอ่อนเพื่อรักษาความ สมมาตรซึ่งเป็นหัวใจหลักของงานสามมิติเอาไว้ แต่ เขากลับไม่พยายามจะเดินตามเส้นทางความงามที่ สมบูรณ์แบบนั้น และเลือกที่จะถ่ายทอดรูปทรงและ ความสวยงามตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นนอกเหนือจาก การควบคุมของศิลปิน ซึง่ การปฏิเสธความงามสมบูรณ์ แบบนี้ ก็ ก ลายเป็ น เอกลั ก ษณ์ อั น โดดเด่ น ที่ ท� ำ ให้ เบญจเมธาเซรามิกมีชีวิตชีวาและแตกต่างจากงาน เซรามิกในแบรนด์อื่น “ไม่มีอะไรจะสมบูรณ์แบบที่สุด ในโลกใบนี้ บางครัง้ สิง่ ต่างๆ ทีถ่ กู สร้างขึน้ ถูกออกแบบ ไว้ เ พื่ อ พึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น รอยแตกบนตั ว ผลิตภัณฑ์ หลายๆ คนอาจจะคิดว่าเป็นของเสีย มีตำ� หนิ แต่ผมกลับมองว่านัน้ คือความงามจากความไม่สมบูรณ์ และความงามในรูปแบบนี้สะท้อนแนวคิดเชิงปรัชญา ทางด้านศาสนาที่ผมสนใจได้เป็นอย่างดี”

นอกเหนือจากการให้ความส�ำคัญดินและปรัชญา ทางศาสนาแล้ว สิง่ ทีเ่ ป็นส่วนผสมหลักทางความคิดอีก อย่างของเขาก็คือการค�ำนึงถึงรากเหง้าที่หล่อหลอม ตัวตนของเขาขึน้ มา “เราต้องรูว้ า่ ตัวเองมาจากไหน ตัว ตนทีแ่ ท้จริงคือใคร และก�ำลังจะเดินทางไปไหน ทีต่ อ้ ง ตอบค�ำถามเหล่านี้ก็เพื่อที่เราจะได้ไม่ลืมตัว ที่ส�ำคัญ เมือ่ เราชัดเจนงานของเราจะมีเอกลักษณ์และแตกต่าง จากคนอื่นเองเพราะเราทุกคนล้วนมีพื้นฐานทางความ คิดและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันอยู่แล้ว ผม คิดว่าการท�ำงานก็คอื การเดินทางบนเส้นชีวติ ทุกคนมี โอกาสทีจ่ ะพลัดหลงไประหว่างทางได้ และเมือ่ เราเห็น ว่าใครก�ำลังหลงทางก็ควรบอกให้เขารู้ตัว ยิ่งกับคนที่ ท�ำงานผ่านประสบการณ์มามากก็ควรช่วยกันบอก ที่ ส�ำคัญจงท�ำงานด้วยความซือ่ สัตย์ อย่าลืมว่า ความเท็จ ย่อมหายไปเสมอ และจะหลงเหลือแต่เพียงความจริง เท่านัน้ ” เขาอธิบายถึงแก่นการท�ำงานทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ใน อาชีพการเป็นโปรดักส์ดีไซเนอร์

นอกเหนือจากการสร้างมาตรฐานงานทีค่ งความ เป็นเอกลักษณ์ภายใต้แบรนด์เบญจเมธา จนได้รับ รางวัลพระราชทานรางวัลไทยสร้างสรรค์ ในสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในสาขา งานฝีมอื และหัตถกรรม เมือ่ ปีพทุ ธศักราช 2554 แล้ว เขายังพยายามสร้างสรรค์ภมู ิปญ ั ญาให้เกิดขึน้ ในท้อง ถิ่นโดยการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนผ่านการฝึกสอน ศิลปะเซรามิคอย่างใกล้ชิดให้กับเยาวชนรุ่นใหม่เพื่อ สืบสานองค์ความรูท้ มี่ ตี อ่ ไปให้กบั คนรุน่ หลังด้วย “เด็ก ทีผ่ มรับเข้ามาท�ำงานในตอนนีจ้ ะเห็นว่าแต่ละคนไม่ได้ จบงานออกแบบเซรามิกมาเลย แต่นั่นไม่ใช่ปัญหา เพราะผมเองก็ไม่ได้จบมาด้านนี้โดยตรง แต่ข้อดีก็คือ ทุกคนจะมีอิสระในการขึ้นรูปทรงโดยปราศจากกรอบ แนวคิด โดยมีผมคอยดูอยูห่ า่ งๆ ซึง่ การเริม่ คิดถึงผูอ้ นื่ จะท�ำให้ผมมีความรู้มากขึ้น”

43


After graduated in Furniture Design from Paris, Emsophian Benjametha started out his career as a freelance designer at Planet 2001, the Natural Material Furniture Company owned by Mr. Udom Udomsrianan where he began to feel the charms and delicacy of ceramic art. Two years later, he went back home in Pattani turning his back to the furniture design career, and established his own company and the first ceramic factory in the southern border provinces of Thailand which was named after his surname Benjametha.

44

Bejametha’s ceramic products convey a sense of calmness and simplicity while reflecting their subject matters in smart and profound designs at the same time, especially the Muslim’s faith and nature-related philosophy. “I believe that all lives come from earth, live with earth, and will return to earth. For me, earth not only means the material for ceramic but also plays the important parts as the origin, the identity, and the motivation of my design. This idea compasses the whole process of my design, from the subject matters to the final touch on the products. The clay used in my ceramic works is the local soil such as Pattani Black Soil which has the right quality. Using local material helps reduce the budget and encourage the sustainability of the business and also the local entrepreneurs. I strongly believe that a sustainable design leads to moderation, not extremism; and hence the peace in our mind,” Emsophian defined the meaning of ‘earth’ in his own way and explained about his determination hidden in his works.

Normally, ceramic crafting needs skills, concentration, and perfection to conform to the symmetry which is the heart of 3D works. On the other hand, Emsophian denies such immaculate beauty and chooses to portray forms and beauty influenced by the uncontrollable forces of nature. His antiperfectionism has become the remarkable identity of Benjametha Ceramic which is outstanding in the liveliness of the products. “Nothing is perfect in this whole wide world. I think every creation was designed to complement one another. Some might see the cracks on the products as the defect or flaw. For me, they are beauty in imperfection. The religious philosophy I’m interested in is vividly reflected by this form of beauty.”


Besides the emphasis on earth and religious philosophy, the other major element of his thinking is the awareness of the roots that contributed to his identity. “We have to know who we are, where we come from, and where we are heading to. We have to contemplate on these questions so that our roots will not be forgotten. Most importantly, if our identities are clear, our designs will also be unique and different from others’ as everybody has their own ways of thinking and backgrounds. In my view, working is like traveling on the path of life. Anyone can be distracted along the way. And when someone got lost, we should show him or her the way, especially people who have more experiences than us. The point is to always be honest. Remember that there is no room for something fake; only the truth will survive,” he told us the most important thing in a product designer career.

Emsophian has set the standard of his unique products under the name Benjametha, and as a result, he won the Thai Creative Awards Honor in Handicratf in 2011 and received the trophy of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn. He also puts his effort in relaying the local skills and knowledge to the society by opening ceramic workshops for the youth so that they will pass on the knowledge to the next generation. “None of my workshop students had any degree in ceramic design, but that is not a problem as neither did I. The good thing is that they will have full freedom to shape their works without any restrictions under my supervision. Helping other people helps me gain more knowledge as well.”

45


DESIGNERS OF THE YEAR AWARDS 2015: Jewelry Design ฤดี ตันเจริญ RUDEE TANCHAROEN rtancharoen@gmail.com +668 2326 1309 www.rudeetancharoen.com Facebook: AtelierRudee

หลังจากเรียนจบทีภ่ าควิชาออกแบบอุตสาหกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฤดี ตันเจริญ เดินทางไป ศึกษาต่อ Diploma in Art of Contemporary Jewelry ที่ Alchimia contemporary Jewelry school ในเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี 6 ปี นอก เหนือจากองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ในห้องเรียนที่ เธอได้รับแล้ว ยังเปิดโอกาสให้เธอเป็นที่รู้จักในฐานะ นักออกแบบเครื่องประดับศิลป์ร่วมสมัยในระดับ นานาชาติที่มีผลงานแสดงในนิทรรศการและชนะการ ประกวดในหลายเวทีทั้งที่อเมริกาและยุโรป เมื่อกลับ มาเมืองไทย เธอเปิดสตูดิโอส่วนตัวและตั้งใจสร้าง พื้นที่เพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์กับคนที่ ชอบและสนใจอะไรคล้ายๆ เธอในชือ่ Atelier Rudee แปลว่าสตูดิโอของฤดี

46

กระบวนการท�ำงานหลักๆ ของฤดีแบ่งการท�ำงานออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่งคือการทดลองอิสระ เธอ บอกว่าในส่วนแรกนีเ้ ธอจะทดลองโดยไม่ได้คำ� นึงถึงเนือ้ หา ไม่ได้คำ� นึงว่าจะน�ำไปใช้งานในส่วนไหนของร่างกาย แต่เป็นการทดลองวัสดุเพือ่ ให้เจอเทคนิคใหม่หรือวัสดุทนี่ า่ สนใจ อีกส่วนเป็นการท�ำชิน้ งานจริง ซึง่ จะเริม่ ต้นจาก เนื้อหาที่เธอสนใจอยากถ่ายทอด กลับมาดูการทดลองว่ามีวัสดุหรือเทคนิคไหนที่สามารถเล่าเรื่องได้อย่าง สอดคล้อง ซึง่ จากการสังเกตผลงานการออกแบบเครือ่ งประดับศิลป์รว่ มสมัยของเธอตลอดระยะเวลาร่วม 10 ปี และผลงานนิทรรศการทีจ่ ดั แสดงทัง้ ในประเทศและต่างประเทศหลายต่อหลายครัง้ ก็พบว่าเธอไม่ได้นยิ ามเครือ่ ง ประดับที่เธอออกแบบเป็นเพียง “เครื่อง” ส�ำหรับน�ำมา “ประดับ” ตกแต่งร่างกายเพียงอย่างเดียวแต่เธอให้ นิยามกับมันมากกว่านั้น “ส�ำหรับฤดี เครื่องประดับมันไม่ใช่วัตถุที่สวมใส่บนร่างกายเพียงเพื่อเรื่องของความ สวยงามหรือว่าการบ่งบอกสถานะของผูใ้ ส่ แต่วา่ เครือ่ งประดับเป็นสิง่ ทีค่ นน�ำมาติดตัวเพือ่ เตือนใจ ให้เขาระลึก ถึงอะไรบางอย่าง เพราะถ้าเป็นภาพเขียน งานประติมากรรมก็เป็นงานศิลปะทีอ่ ยูก่ บั ที่ แต่เครือ่ งประดับเป็นสิง่ ทีพ่ วกเขาติดตัวไปไหนมาไหนได้ ดังนัน้ ฤดีกเ็ ลยคิดถึงเรือ่ งว่าท�ำไมคนจะต้องเอาของบางอย่างมาติดกับร่างกาย ถ้าอย่างเราใส่เสือ้ ผ้ามันก็มฟี งั ก์ชนั่ คือการปกปิดอะไรบางอย่าง แต่วา่ เครือ่ งประดับเป็นของทีต่ อ้ งเพิม่ เติมขึน้ มา ค�ำถามคือมันเพิม่ ขึน้ มาเพือ่ อะไร ก็เลยคิดว่า มันน่าจะเป็นสิง่ ทีเ่ อาไว้เตือนใจผูท้ สี่ วมใส่เครือ่ งประดับถึงอะไรบาง อย่างที่ส�ำคัญเพียงพอที่จะท�ำให้เขารู้สึกว่าเขาอยากจะสวมใส่มัน”


เมือ่ ถามถึงเนือ้ หาหรืออิทธิพลทีเ่ ป็นแรงบันดาล ใจส�ำคัญในการสร้างงาน เธออธิบายว่าเริ่มต้นจาก ความสนใจ แต่จะค�ำนึงไม่ให้เป็นเพียงความสนใจหรือ ความต้องการส่วนตัว แต่จะพิจารณาอย่างถีถ่ ว้ นว่าสิง่ นัน้ มีความส�ำคัญมากพอทีจ่ ะสือ่ สารหรือเกิดบทสนทนา ได้หรือเปล่า “สิ่งที่สนใจก็จะเป็นเรื่องทั่วๆ ไปในชีวิต ซึง่ เรามองว่าสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ มีสองอย่างคือเปลือก ทีอ่ ยูข่ า้ งนอก และสิง่ ทีอ่ ยูข่ า้ งใน เราอยากชวนให้เกิด บทสนทนาทีท่ ำ� ให้มองกลับเข้าข้างใน ปัจจุบนั คนเราก็ มักจะใช้วเลาส่วนใหญ่มองออกไปข้างนอก สนใจมอง ภายนอกท�ำให้ไม่มีเวลามองกลับเข้ามาข้างใน อย่าง ชิน้ งานชิน้ หนึง่ ท�ำตอนทีเ่ กิดปัญหาด้านการเมือง บ้าน เมืองแตกแยกรุนแรง คนก็มักจะถกเถียงกันว่าจะแก้ ปัญหายังไง หรือเกิดขึ้นเพราะใคร แต่ส�ำหรับฤดีแล้ว รู้สึกว่าปัญหาทั้งหลายมันเกิดจากข้างในของคน ถ้า หากคนพิจารณากลับเข้ามามองตัวเอง เปิดใจรับฟัง มี การใช้ศีลธรรมที่มากขึ้นก็น่าจะช่วยแก้ปัญหาได้” ผลงานชิน้ ทีเ่ ธอพูดถึงชือ่ “Tales of the truth - นิทานสัจจะ” ซึ่งเป็นผลงานที่เธอท�ำอย่างต่อเนื่อง ตัง้ แต่ปี 2005 ถึงปัจจุบนั แนวความคิดของผลงานชุด นีใ้ ห้นำ�้ หนักส�ำคัญในเรือ่ งของความจริง “ความจริงใน ทีน่ ไี้ ม่ได้เป็นความจริงส�ำหรับทุกคน แต่เป็นความจริง ทีเ่ รารูส้ กึ ว่ามันจริง ผลงานชิน้ หลักของนิทรรศการชุด นี้ที่ท�ำขึ้นในปี 2014 คือ “ชะตากรรม” เป็นผลงานที่ ประกอบด้วยไม้ประดูท่ แี่ กะสลักด้วยมือทัง้ หมด 4 ชัน้ เมื่อเปิดแต่ละชั้นออกก็จะเจอจี้ทองค�ำข้างใน ชั้นแรก คือตัวแทนของชะตากรรม เปิดเข้าไปชั้นข้างในหมาย ถึง พฤติกรรม การกระท�ำ และชัน้ สุดท้ายคือความคิด เลยออกแบบตัวความคิดซึ่งเป็นเมล็ดที่อยู่ข้างในเป็นจี้ ทองค�ำทีส่ ามารถสวมใส่ตดิ ตัวไปได้ เพือ่ ให้จเี้ ป็นเครือ่ ง เตือนใจให้ระลึกถึงความส�ำคัญของความคิด เพราะ ความคิดเป็นสิ่งที่ท�ำให้เราเกิดการกระท�ำ การกระท�ำ เกิดเป็นนิสัย และนิสัยก็ท�ำให้เป็นพฤติกรรมโดยรวม ของเรา ซึง่ สุดท้ายมันก็คอื ชะตากรรมของเราเอง ผลงาน อีกชิ้นในคอนเซ็ปต์เดียวกันก็คือชิ้นที่ชื่อว่า “สหาย” เป็นเข็มกลัดทีม่ กี ระต่ายหูยาวกับนกตาโตขีอ่ ยูบ่ นหลัง เสือที่ไม่มีตา ซึ่งต้องการจะพูดถึงการให้ความส�ำคัญ กับการมีสติในการพูด เพราะว่าค�ำพูดเป็นสิง่ ทีร่ วดเร็ว เมื่อเราปล่อยออกไปแล้ว บางครั้งมีพลังที่รุนแรงอาจ จะสามารถสร้างสรรค์หรืออาจจะท�ำลายก็ได้ ทีส่ ำ� คัญ คือเมื่อปล่อยไปแล้วไม่สามารถดึงกลับมาได้ เลยคิด ว่าไม่ควรจะให้ค�ำพูดไปโดยล�ำพัง ควรจะมีสหายไป ด้วย สหายทีพ่ ดู ถึงก็คอื ปัญญากับเมตตาทีต่ อ้ งใช้การ ฟังและการดูให้มาก”

อีกหนึง่ ผลงานทีเ่ ธอยกตัวอย่างเพิม่ เติมมีชอื่ ว่า “จ�ำเริญ” ซึ่งเป็นผลงานชิ้นล่าสุดที่ท�ำในปีนี้ จ�ำเริญ มีรูปทรงคล้ายหัวใจหรือเมล็ดพืชตามแต่จินตนาการ ของผูพ้ บเห็น ซึง่ เธอเปรียบเทียบหัวใจหรือเมล็ดพืชนัน้ ว่าเป็น “ความคิด” “เราควรระมัดระวังน�้ำที่คุณจะรด ลงบนเมล็ดพืชหรือหัวใจ เพราะสิง่ ทีค่ ณ ุ รดลงไปจะสูบ ฉีดเลือดไปทั่วร่างกายและเจริญอยู่ในสวนหัวใจของ คุณเอง จากนัน้ ร่างกายก็จะท�ำหน้าทีห่ าอาหารเพือ่ ส่ง พลังกลับมาหล่อเลี้ยงหัวใจเราอีกที ซึ่งถึงว่างานชิ้นนี้ จะไม่ได้รับรางวัลจากการประกวดในเวทีไหน แต่ว่า เป็นชิ้นงานที่ท�ำให้เราได้เรียนรู้ระหว่างการท�ำงาน มากมาย เราได้ถามตัวเองว่าเราท�ำเครือ่ งประดับเพราะ ว่าอะไร เครือ่ งประดับส�ำหรับเราคืออะไร และค�ำถาม เหล่านี้ก็ถูกตอบขณะท�ำงานผลงานชิ้นเอง” ตลอดการสนทนา เธอพูดถึงปรัชญาในการ ด�ำเนินชีวิต ความจริงตามธรรมชาติ และสัจธรรมใน ชีวิตมนุษย์ตามหลักศาสนาอยู่หลายครั้งจนเราเกิด ค�ำถามถึงทีม่ าทีไ่ ปของความสนใจเหล่านัน้ “ไม่ได้อยาก จะออกตัวว่าท�ำงานโดยได้แรงบันดาลใจมาจากศาสนา นะคะ เพราะว่าเราก็ไม่ได้เป็นผู้ที่ศึกษาศาสนามาจน ลึกซึง้ แต่ทสี่ นใจก็เป็นเพราะว่ามันเป็นเรือ่ งจริง ไม่ใช่ เรื่องที่ถูกสร้างขึ้น ซึ่งเรื่องที่อยู่รอบๆ ตัวของเราทุก วันนี้มันก็เป็นเรื่องที่เราต้องเรียนรู้ธรรมชาติ หรือถ้า เรามีคำ� ถามต่อสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบตัวก็ตอ้ งตอบค�ำถามให้กบั ตัวเองได้ ฤดีมองว่าร่างกายเป็นเหมือนสถานทีใ่ นการ จัดแสดงงาน เราจะพิจารณารูปทรงของอวัยะแต่ละ ส่วน รวมถึงความหมายของมัน จากนัน้ ก็ออกแบบงาน ชะตากรรม / Fate เพือ่ ให้เหมาะกับสถานทีจ่ ดั วาง ซึง่ ก็คอื ร่างกายของคน” ฤดีนยิ ามความหมายทีม่ ตี อ่ ร่างกายในมุมมอง ของเธอ นอกจากผลงานแต่ละชิน้ ของเธอจะแตกต่างกัน ในแง่ประเด็นทีจ่ ะสือ่ สาร วัสดุและเทคนิคทีใ่ ช้เช่น ลงยา สี งานไม้ งานขึน้ รูปโลหะ งานฉลุ หลายคนคงมีความ เห็นตรงกันว่าคาแร็กเตอร์ของตัวการ์ตนู และกลิน่ อาย ที่แฝงความน่ารักในชิ้นงานคือความโดดเด่นในงาน ออกแบบเครื่องประดับของเธอ แต่เมื่อเข้าไปสัมผัส กับงานก็จะพบว่าเนือ้ หาทีแ่ ฝงอยูข่ ดั แย้งกับภาพลักษณ์ ภายนอกทีเ่ ห็นเป็นอย่างมาก “เป็นความขัดแย้งทีจ่ งใจ อยากออกแบบให้เครื่องประดับมีรูปลักษณ์ที่ดูน่ารัก เพือ่ ให้คนวิง่ เข้าหาแล้วบอกว่าน่ารักจังเลย หลังจากที่ เขาเห็นว่ามันน่ารัก ต่อมาเขาก็จะเริ่มรู้สึกว่ามันน่ารัก แบบแปลกๆ จนเกิดเป็นค�ำถามตามมาว่าท�ำไมเป็นแบบ นั้น ท�ำไมเป็นแบบนี้ล่ะ ซึ่งค�ำถามก็จะเกิดเป็นบท สนทนาของผูท้ ไี่ ด้เห็น รวมถึงเกิดบทสนทนากับตัวฤดี เองซึ่งนั่นก็จะเป็นแนวคิดในการสร้างงานชิ้นถัดไป” เธอทิ้งท้าย

47


Graduated from the Chulalongkorn University Department of Industrial Design, Rudee Tancharoen went abroad to pursue her studies and received Diploma in Art of Contemporary Jewellery from Alchimia Contemporary Jewellery School in Florence, Italy. Spending 6 years there, she not only gained knowledge and experiences from classrooms but also had opportunities to be recognized as one of the international contemporary jewelry designers, who have had series of works displayed at many artistic jewelry festivals and received several major International Awards from the U.S.A. and Europe. When she returned to Thailand she established her own studio, ‘Atelier Rudee,’ which means ‘the studio of Rudee,’with the intention to provide space for sharing knowledge and experiences with people who have same preferences.

สหาย / Companions

48

Rudee’s main work processes can be divided into 2 parts. The first part deals with free experiments. The experiments are conducted without subject matter and no plan for the objects’ functions. Instead, the purposes of experiments are to explore some new interesting materials and techniques. The second part is the making of the real pieces originated from her interested contents that she wants to convey. Getting back to her experiments to see what materials and techniques that can communicate in harmony, for about 10 years on observations of her contemporary jewelry designs and the series of her works displayed at the domestic and overseas exhibitions, Rudee has not been giving the definitions of her product lines just as “the objects” that are used for “decoration” on the human body, but she defines them more than that. “In my point of view, the pieces are not just the items indicating beauty or depicting social status of the person who wear them. On the other hand, ornaments can also be used as keepsakes that remind someone who is wearing them of something. Drawings and sculptures are the static pieces of art whereas the ornaments can be put on the body so we can carry them from one place to another. Somehow it occurred to me that for some reasons, people wanted to have the ornamental objects on their bodies. Clothes have their specific functions in covering body parts but ornaments are something extra. The question is why they have to be used as additional items. So it should be that they are worn to remind people who wear them of

something significant enough to make them worth wearing.” ​As we asked her about the subject matter or influences that inspired her greatly on her works, she explained that it all began with the interest she had in specific subject matters. Trying not to make it too personal, she would carefully analyze each subject matter to find if it is important enough to communicate to others or to contribute to conversations. “Most of them are ordinary things in life. In my opinion, they relate to life externally and internally. I would like to create conversations that bring us back to the insight. These days, people spend most of their time looking outward themselves. They don’t have time to see what lies inside of them. One of my works was made during the political crisis. People in Thailand were greatly shattered into sides. Everyone was busy arguing on how the solution could be made or who had originated the conflicts. For me, all the problems are caused by people’s minds. If we search more inside our thoughts, be more open-minded, and rely more on morals, the problems could be eventually solved.” The piece she was talking about is called “Tales of the Truth,” which has been in the producing process since 2005 until now. The main idea of this project emphasizes on Truth. “The word Truth here doesn’t mean the Universal Truth. It is more likely the subjective one. The major piece of this exhibition made in 2014—”Fate,” is a set of 4 layer hand carved Burmese rosewood blocks, each covering a gold pendant. The first layer portrays Fate, the


second Behaviors, then Actions, and the last one—Thoughts. Thus, the innermost piece was designed as a gold seed pendant which can be worn as jewelry. This pendant is meant to be something that reminds the one who wears it of the importance of his/her own Thoughts, as Thoughts lead to Actions, Actions lead to Behaviors, and Behaviors finally lead to his/her own Fate. Another piece of work in the same concept is “Companions” which is a brooch shaped as a rabbit with long ears and a bigeyed bird sitting on the back of an eyeless tiger. The main idea of this work is to put an emphasis on the significance of Speech. As Speech tends to be a spontaneous action, when words come out of a person’s mouth, they can be very powerful in both creative and destructive ways. Most importantly, when words are spoken, they can never be taken back. Therefore, Speech should not travel alone wi thout Companions like Wisdom and Compassion. One needs to listen carefully and take a closer look before making judgments.” One more piece of ornament she added as an example is “Flourish,” the latest one she made this year. The piece looks like a heart

or a seed depending on an individual’s imagination which symbolizes “Thoughts.” “You should be very careful about the things you use to water your seed or your heart, for what you feed to your heart will spread through your veins all over your body and flourish in your Heart-Garden. Then your body will find more food to nourish your heart as a loop. Although this work of mine didn’t win any prize in any competition, I think the making of it helped me learn a lot all through the process. I had a chance to question myself why I chose to make jewelry, what jewelry meant for me, and these questions were answered while making this piece of work.” During the interview, she often talked about the Philosophy of Life, the Truth of Nature, and the Universal Truth according to some religious beliefs. That made us wonder about the origin of her interest in these subject matters. “I would rather not be recognized as a designer whose works are totally influenced by religious beliefs for I am still in the stages of learning the spiritual way of life. The reason why these subject matters interested me is because they are the truth, not the made-up stories. We have to see through to the nature

of all things surrounding us, or if we have doubts about anything we face, we need to find their answers. I see human body as a venue for an exhibition. Each organ will be contemplated on and the meaning of it will be sought after. Then, the ornament will be designed to match the exhibition area—which is our body.” Rudee expressed on her views of human body to us. Apart from having various subject matters, materials and techniques such as enamel, wood, sheet metal stamping and perforated design, many of her audience also see that the comic characters and cuteness of her works dominate her ornament designs. However, taking a closer look, we will see the hidden messages which totally contrast with the cute images. “This contrast was made by intention. I would like to produce ornaments that look so cute that people want to get closer and praise on their loveliness. After that, they will see something strange mixed in these cute images. Then, they will have questions like “Why is this so? Why did you make it like that?” These questions will create conversations between the audience themselves and me as the maker. Consequently, they will contribute to the further productions of my works,” she finally added.

จ�ำเริญ / Flourish

49


DESIGNERS OF THE YEAR AWARDS 2015: Textile and Fabric Design ศรันรัตน์ พรรจิรเจริญ SARUNRAT PANCHIRACHAROEN icejew_210@hotmail.com +668 5429 4554 Facebook: Ice’o

บางครั้งสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวมากๆ กลับกลายเป็น สิ่ งที่หลายคนมองข้าม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแวดวง การนักออกแบบที่มักออกไปแสวงหาแรงบันดาลใจ จากสิ่งที่อยู่ไกลตัวออกไป แต่ส�ำหรับ ศรันรัตน์ พรรจิรเจริญ นักออกแบบไทยสายเลือดใหม่ กลับ หลงใหลความเป็นพื้นถิ่นดั้งเดิมของผ้าและวัสดุใน ประเทศไทย จนน�ำสิง่ ทีอ่ ยูใ่ กล้ตวั พัฒนาให้กลายเป็น ผลงานที่มีเอกลักษณ์ได้อย่างน่าชื่นชม

ศรันรัตน์จบการศึกษาจากคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เริ่มต้นอาชีพนักออกแบบด้วยการ เป็นแฟชัน่ ดีไซเนอร์ทสี่ งิ คโปร์ ก่อนจะกลับมาบุกเบิกแบรนด์ Workshop ให้เป็นทีร่ จู้ กั ในกว้าง และยังเป็นส่วน หนึ่งของแบรนด์ไทยระดับโลกอย่าง Disaya ในต�ำแหน่งนักออกแบบอาวุโส ด้านรางวัล ศรันรัตน์ชนะการ ประกวดรายการทอฟ้าผ้าไทย ออกอากาศทางช่อง 9 ได้รบั เลือกจากนิตยสาร Modern Weekly ของประเทศ จีน ให้เป็น 5 นักออกแบบเอเชียทีน่ า่ จับตามอง และนิตยสาร ELLE Thailand ก็ได้เลือกให้เป็น 1 ใน 20 บุคคล ทีน่ า่ จับตามองในสาขาแฟชัน่ ดีไซน์ ปัจจุบนั ศรันรัตน์ยงั เป็นอาจารย์พเิ ศษด้านแฟชัน่ ดีไซน์ทมี่ หาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ไปพร้อมๆ กับการเป็นนักออกแบบอิสระที่ก�ำลังปลุกปั้นแบรนด์ของตัวเอง เป็นทีน่ า่ สนใจว่า ความตัง้ ใจของศรันรัตน์ไม่ใช่การท�ำให้แฟชัน่ เป็นสัญลักษณ์ของความหรูหรา แต่แฟชัน่ ต้องเป็นปัจจัย 4 ที่สามารถหวนคืนกลับมาให้สังคมได้ด้วย ความสนใจในการน�ำสิ่งใกล้ตัวอย่างผ้าและวัสดุในประเทศไทยมาประยุกต์ใช้ในงานแฟชั่น เริ่มต้นได้อย่างไร สมัยเรียนจบใหม่ๆ จะท�ำงานแบบคิดละเอียดและซับซ้อน จะมีความหวือหวาในการออกแบบ รายละเอียด หรื อวิธีคิดจะเอาความเป็นฝรั่งมาใช้ค่อนข้างเยอะ เป็นลัทธิแบบบ้ายุโรป เราจะคิดถึงแค่ความฝัน ความสนุก ความฟู่ฟ่าในการท�ำงานแฟชั่น ในช่วงเวลาที่เราเริ่มโตขึ้น ย่างเข้าสู่วัยสามสิบแล้ว เรากลับรู้สึกว่าแฟชั่นเป็น ปัจ จัย 4 ที่ควรจะกลับมาสู่สังคมได้ จริงๆ แล้วพื้นถิ่นของประเทศเรามีความน่าสนใจในหลายๆ มิติ อย่างใน งานวัสดุนา่ สนใจมาก เราจึงเริม่ ต้นคิดว่า จะท�ำอย่างไรให้เมืองและชนบทไปด้วยกันได้ จะผสมยังไงให้ดกู ลมกล่อม และสามารถน�ำมาบูรณาการกับคนในประเทศเราได้

50


ท�ำไมถึงให้อยากให้แฟชัน่ เป็นสิง่ ทีค่ นื กลับไปสูส่ งั คมได้ เรารูส้ กึ ว่าการเป็นนักออกแบบทีด่ ี ต้องมีความ รับผิดชอบต่อสังคมแล้วก็ชว่ ยพัฒนาสังคมไปด้วย ตอน นี้เ ราก�ำลังท�ำโครงการไปช่วยเหลือชาวบ้าน โดยการ ต่อยอดความรู้ที่มีอยู่เพื่อสร้างอาชีพให้เขามีรายได้ โดยบูรณาการการท�ำงานกับการใช้ชีวิตของพวกเขา โดยทัง้ หมดอยูบ่ นพืน้ ฐานการออกแบบอย่างยัง่ ยืน เท่า ที่การเป็นนักออกแบบหนึ่งคนสามารถจะช่วยส่งเสริม ตรงนัน้ ได้ โดยไม่ให้วชิ าชีพมันตายไปกับตัวเราเอง เรา ไปให้ความรู้ เขาก็สามารถพัฒนาต่อและสามารถหายใจ ต่ อ ได้ เรามี ไอดอลเป็นสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ ท่านเสด็จเข้าไปในพืน้ ทีท่ รุ กันดาร จนได้ทอดพระเนตรแบบการทอผ้าพื้นถิ่นในภูมิภาค ต่างๆ ท่านจึงมีพระราชด�ำริในการก่อตัง้ มูลนิธสิ ง่ เสริม ศิลปาชีพขึ้นมา เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาให้เกิดรายได้ ให้ช าวบ้านได้รู้สึกว่าการท�ำงานแบบนี้ไม่ใช่แค่ท�ำใน ครัว เรือน แต่เป็นงานศิลปะที่มีทั้งศาสตร์และศิลป์ ท�ำให้ชาวบ้านมีอาชีพจนทุกวันนี้ ตรงนีเ้ ป็นแรงบันดาล ใจส�ำคัญเลย

เท่าทีล่ งพืน้ ที่ อะไรเป็นสิง่ ทีช่ าวบ้านยังขาดอยู่ และได้ เข้าไปช่วยเหลืออย่างไรบ้าง เราเข้าไปแนะแนวกระบวนการทางความคิด สร้างสรรค์ โดยการหาแรงบันดาลใจจากสิง่ ใกล้ตวั คือ สอนให้เขาวิเคราะห์อย่างง่ายๆ แล้วก็ให้เข้าใจด้านทฤษฎี ศิลปะมากขึ้น อย่างทฤษฎีสี วิธีการใช้คู่สี ให้เขาเข้าใจ เพื่อเป็นตัวอย่าง ยกตัวอย่างโปรเจกต์ของกระทรวง วัฒนธรรม ที่ให้เราไปลงพื้นที่ในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ในพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยทีย่ ะลา กลุม่ ทีเ่ ราไปหาคือ กลุม่ เก๋บาติค เขามีงานมาให้ดู ถ้าเราเห็นว่ามันซ�้ำกับบาติค ทั่วไปที่มีอยู่ เราก็พยายามคุยว่าพี่มีเทคนิคอะไรพิเศษ อีกไหม คือให้หยิบมาทุกอย่างเรียงดูกนั แล้วเราก็สอน วิธีการคิดงาน เราก็มองว่าอะไรที่ใกล้ตัวเขาที่สุด คือ อยากให้นึกถึงแรงบันดาลใจใกล้ๆ เพราะถ้ามองไกล ปุ๊ป การท�ำงานจะไม่มาจากอินเนอร์ของพวกเขา และ ท�ำยังไงก็ได้ให้มคี วามร่วมสมัยอยูใ่ นงานด้วย เพราะว่า วัสดุอะไรเขามีพร้อมทุกอย่าง แต่วา่ เขายังขาดการพัฒนา เราเลยเอามาบูรณาการใหม่ทงั้ หมดและเลือกพัฒนาต่อ จริงๆ แล้วนักออกแบบไม่จ�ำเป็นต้องไปสอน คือนัก ออกแบบที่ดีในความรู้สึกเราคือต้องช่วยคนที่มีเทคนิค อยูแ่ ล้วท�ำให้เกิดสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ เหมือนชาวบ้านได้รบั ความ รู้ใหม่จากเรา เราก็ได้รับความรู้ใหม่จากเขา

ในการท�ำแบรนด์ของตัวเอง ได้นำ� ประสบการณ์ทผี่ า่ น มาเหล่านี้มาปรับใช้อย่างไร เรารูส้ กึ ว่าการทีเ่ ราท�ำงานในแบรนด์ใหญ่กเ็ ป็น ความภูมใิ จแค่ในช่วงระยะเวลาหนึง่ แต่จริงๆ แล้วเรา ก็อยากท�ำ งานในวิธีคิดของเรา เราเลยเลือกที่จะมา ท�ำงานที่พัฒนาเกี่ยวกับผ้าและวัสดุ คิดว่าคอนเซปต์ น่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเอาวัสดุไทยมาใช้ โดยไอเดีย มาจากที่เราลงไปพัฒนาที่สามจังหวัดภาคใต้ เป็น โปรเจกต์ที่ก�ำลังสร้างกันอยู่กับทางทีมดีไซน์ เพราะ เราเข้าไปลุยแล้วเราก็ต้องต่อยอดมันให้ได้ เพื่อสร้าง อาชีพให้ชาวบ้าน โดยการน�ำภูมปิ ญ ั ญาตะวันออกหรือ ต้นทุนทางวัฒนธรรมมาใช้ ซึง่ ความงามทางวัฒนธรรม ในแถบนีค้ อ่ นข้างมีความหลากหลายทีม่ ากอยูแ่ ล้ว แต่ คนรุ่นใหม่ มักจะมองแค่ว่ามันสวยแล้วไม่ท�ำอะไรต่อ สิง่ ทีก่ ลัวคือมันจะกลายเป็นแค่แบบงานทีอ่ ยูใ่ นมิวเซียม ตลอดไป เพราะเราเชื่อว่าสิ่งที่จะท�ำให้งานออกแบบ คงอยู่ได้ นักออกแบบต้องช่วยกันพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นสิ่งที่นักออกแบบต้องรับผิดชอบต่อไป

51


The grass is always greener on the other side of the fence—this could refer especially to designers who always find their inspirations from something far away from themselves. On the other hand, a new gen Thai designer, Sarunrat Panchiracharoen finds his affection for the original folk charms in Thai textile and materials and impressively revamp them into uniquely stylish products. After his graduation from Silpakorn University, Faculty of Decorative Arts, Sarunrat started off his career as a fashion designer in Singapore before returning to Thailand and helped the newly opened fashion brand Workshop gain huge acclamation, and worked for the internationally renowned Thai brand Disaya as a senior designer. Apart from winning the first prize in the Tor Fah Pah Thai contest broadcast on Channel 9, he was selected by Modern Weekly Magazine in China as one of the 5 most remarkable designers in Asia, and by ELLE Magazine Thailand as one of the 20 most remarkable people in fashion design category. At the present time, he gives lectures about Fashion Design as a special instructor at Silpakorn University and Bangkok University, and works as a freelance designer for his own fashion brand. Significantly, he doesn’t intend to make fashion the symbol of luxury. Instead, fashion must be able to give back to the society. 52

What was your inspiration in integrating Thai textiles and materials in fashion design? Earlier after graduation, I created my designs through very elaborate and complicated thinking process. The designs had to be extravagant. The details or ideas were mainly influenced by western fashion. Those were the days when I was crazy about European styles. My fashion designs then were totally based on fantasy, fun and luxury. When I was about to reach the age of 30, I came to realize that fashion could also give back to the society through its original function as one of the 4 basic needs. Actually, Thailand up country provinces have lots of interesting things in various dimensions. Materials, for example, extremely capture my interest. Then I began to look for the ways to help blend urban and rural elements together perfectly and smoothly so that Thai people could make use of it.


Why do you think that fashion should give back to the society? I think to be a good designer you must have social responsibility with a will to make the society better. I’m currently working on a project that helps local people get more job opportunities using my abilities in fashion design in order to increase their income. Sustainable designs are utilized to combine their working and living schemes together. All my effort as a designer has been put into this plan. As I don’t want to keep my knowledge only to myself, they can take it from me and make it better to live on their own. I have H.M. Queen Sirikit of Thailand as my idol. The Queen went through the remote areas in Thailand countryside and saw rural people weaving their ethnic textile. Then the Foundation of the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques of Her Majesty Queen Sirikit of Thailand, namely SUPPORT, was founded in order to equip rural people with crafting skills and know-hows, enabling them to find sources of income. This way of support helps the people see that their works are not just for the common household use, but they are made of artful skills which can be a real occupation for them. It is very inspirational for me.

After visiting the sites, what did you think the rural people still lacked and how did you help them? I went to encourage them with creativity boosting programs which allow them to find inspiration from surrounding objects. Basic analysis and art theories were then introduced to them—color theory and color matching, for instance. Once I had to visit the site in the area of the southern border provinces on the Ministry of Culture’s project. In the risk-prone area of Yala Province, I went to meet with the Kay Batik group. They put all their products on display and I then guided them how to create their own unique styles from different techniques and how to generate creative ideas from the things around them. I wanted them to look for the inspiration from something not far from themselves so that the ideas would arise from their inner thoughts directly and to make their works look more contemporary as well. They were so well-equipped with good materials but still lacked the proper ways to make use of them. Therefore, the integration was made and I chose to give them further assistance. Actually, it’s not necessary for designers to teach them everything. In my view, a good designer just needs to guide them how to utilize their own techniques for best results. It’s more like exchanging the knowledge.

How did you apply the aspects in your experiences with your own brand? Although for a certain period of time, I felt very honored to be a part of the big brands, the truth is I still wanted to work the way I like it. That’s why I chose to work on the integration of textiles and materials. As for the project I’m currently doing with my design team, the concept would be about turning Thai materials to account and the idea was derived from visiting the southern border provinces. After getting started, I think I’d like to go all the way to help the rural people make a living by making use of the folk wisdom or the cultural heritage they already possess. Thailand has a variety of cultural authenticity but the new generation would just admire it and do nothing. It will be a shame if those beautiful works are meant to be seen only in museums. For that reason, I strongly believe that it is the designers’ responsibility to contribute to the sustainability of the design.

53


DESIGNERS OF THE YEAR AWARDS 2015: Graphic Design สันติ ลอรัชวี SANTI LAWRACHAWEE santivithee@gmail.com +668 9177 1971 www.santivithee.org Facebook: practical.studio

สันติ ลอรัชวี ผูร้ ว่ มก่อตัง้ บริษทั PRACTICAL Design Studio สตูดิโอออกแบบที่เปิดท�ำการมา แล้วเป็นเวลา 11 ปี สันติจบการศึกษาสาขาออกแบบ นิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย กรุงเทพ หลังพ้นจากรัว้ มหาวิทยาลัย เขาแสวงหาค�ำตอบ ว่าควรใช้ชวี ติ เป็นนักออกแบบแบบไหน แต่คำ� ตอบนัน้ ก็ไม่ได้ถูกตอบจนกระทั่งเขากลับเข้าสู่มหาวิทยาลัย อีกครั้งในสถานะความเป็นอาจารย์ “อาจารย์ตกิ๊ ” เป็นค�ำติดปากทีเ่ ขาถูกคนอืน่ ๆ เรียกอยูเ่ สมอ ถึงแม้วา่ ผูเ้ รียกจะไม่ได้เป็นลูกศิษย์ของ เขาโดยตรงก็ตาม ซึ่งนั่นอาจจะเป็นเพราะแนวคิดใน การท�ำงานทีเ่ ขาเชือ่ และผลงานทีเ่ ขาท�ำมักจะถูกถ่ายทอด ออกไปกว้างเกินขอบเขตของห้องเรียนเสมอมา

แก่นที่คุณให้ความส�ำคัญที่สุดในการท�ำงานคืออะไร ตอบแบบตรงไปตรงมา สิ่งที่ผมให้ความส�ำคัญมากคือตัวผมเอง คือความคิดและความรู้สึกของผม ผม พยามยามจะซื่อตรงกับตัวเอง ถ้าบางงานเราท�ำแล้วไม่ค่อยมีความสุข เราก็จะมาพิจารณาว่าท�ำไมเราถึงไม่มี ความสุข แล้วท�ำยังไงที่จะไม่เจอสิ่งเหล่านี้ อีกเรื่องที่ให้ความส�ำคัญมากก็คือความเป็นมืออาชีพ ความหมาย ส�ำหรับค�ำนี้ของผมก็คือเมื่อมีคนเดินมาหาเรา ผมจะเชื่อเสมอว่าเขาจะมาพร้อมกับความต้องการหรือปัญหา อะไรสักที่เขาต้องการให้ใครสักคนช่วยคิด ช่วยแก้ เพราะฉะนั้นผมจะตั้งหลักจากปัญหาก่อน แล้วพยายามให้ เขาบรรลุถงึ ความต้องการโดยเหลือพืน้ ทีท่ จี่ ะเป็นตัวเองในบางส่วน เช่นเราเคยฝันว่าอยากจะท�ำงานแบบนี้ เคย ตั้งใจหรือเคยอยากได้ท�ำงานที่ดูน่าสนใจเหมือนอย่างที่เราเคยเห็น เป็นต้น แบบนี้คือพื้นที่ว่างที่เหลือ ทุกครั้ง ที่ท�ำงาน ผมจึงพยายามจะปิดความต้องการของคนที่เข้ามาหาเพื่อให้เกิดช่องว่างของเรา อันนี้ถือเป็นแนวทาง ในการท�ำงานเลย เราจะไม่เอาแนวทางของเราตั้งขึ้นมาก่อนแล้วค่อยตอบความต้องการของลูกค้า เพราะผม เชื่อว่า เมื่อคุณเอาของที่เขาต้องการใส่มือเขาแล้ว ถ้ามือเขาเต็ม เขาจะวานให้คุณช่วยถือเอง เหมือนกับคนที่ เขามาหาเราเมื่อเขาพอใจแล้ว การเจรจาที่จะใช้งานดีไซน์ที่เราคิดว่ามันจะช่วยให้งานของเขาดีขึ้นมันก็จะ ง่ายขึ้น วิธกี ารท�ำความเข้าใจลูกค้าและแนวทางในการท�ำงาน รวมถึงสภาพแวดล้อมในออฟฟิศดูเป็นกระบวนการทีผ่ า่ น การคิดทบทวนมาอย่างดี ในเชิงรายละเอียดแล้ว PRACTICAL มีลักษณะเฉพาะตัวอย่างไร เมื่อประมาณปี 2010 เราได้มาท�ำนิทรรศการที่ชั้น 4 หอศิลปแห่งกรุงเทพฯ เราต้องคุยกันเพื่อท�ำงาน Installation ขึน้ มาหนึง่ ชิน้ และต้องคุยกันเยอะมาก วันนัน้ เป็นวันทีเ่ ราได้คำ� ตอบว่า Design is Relation ซึง่ ต่อ มามันกลายเป็นชือ่ ชิน้ งานชิน้ นัน้ และเราก็ได้พบ philosophy บางอย่างของเรา เราเชือ่ ว่าความสัมพันธ์มนั ท�ำให้ เกิดงาน ความสัมพันธ์ในที่นี้เหมายถึงสเปซที่เราอยู่ร่วมกัน ว่าเราอยู่ร่วมกันที่ออฟฟิศอย่างไร มันอาจจะเป็น เรือ่ งรายละเอียด เช่น เราไม่มแี ม่บา้ น ซึง่ การไม่มแี ม่บา้ นมันก็กลายเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมชนิดหนึง่ เช่น ถ้าคุณมีแม่บ้าน แม่บ้านก็มีเวลาท�ำงานของเขา เมื่อเขากลับ ก็ไม่มีใครล้างแก้ว เพราะมันไม่ใช่หน้าที่ แต่การ

54


ไม่มีแม่บ้านหมายความว่าเราจะจัดการสิ่งที่เราใช้ใน ทันที มันจะไม่มแี ก้วทีถ่ กู วางทิง้ ไว้ในซิงค์ลา้ งจาน แล้ว ทุกคนก็เข้าใจเข้าใจว่ามันไม่ใช่กติกา แต่มนั คือวิถชี วี ติ ที่เรียบง่ายและจะไม่เกิดภาระตามมา กลับมาที่ตัวงาน ผมก็จะคุยกันในทีมว่า ค�ำว่า Responsibility มันคือการตอบสนองระหว่างเรากับสิง่ แวดล้อม ไม่ได้มีความหมายว่าความรับผิดชอบที่คุณ ได้รบั มอบหมายเท่านัน้ เพราะถ้าคุณท�ำแต่สงิ่ ทีค่ ณ ุ ได้ รับมอบหมายก็จะเท่ากับว่าคุณไม่ต้องท�ำสิ่งอื่น ถึง แม้ว่ามันควรจะท�ำก็ตาม เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ในออฟฟิศ แต่ถา้ คุณเห็นว่าออฟฟิศเริม่ สกปรก คุณก็ลุกขึ้นมาท�ำได้โดยไม่มีว่าวันนี้เวรใคร และเรื่อง การท�ำความสะอาดออฟฟิศ ล้างแก้ว ล้างจาน หรือ แม้แต่ทำ� ความสะอาดห้องน�ำ้ มันจะย้อนกลับมาตอนที่ เราท�ำงานดีไซน์ อย่างตัวผมเองเป็นคนทีไ่ ม่ชอบท�ำงาน คนเดียว ชอบท�ำงานกับคนอื่นเพราะเชื่อว่าตัวเองไม่ ได้เก่งทั้งหมดทุกอย่าง เพราะฉะนั้นงานที่ Practical ก็จะไม่แยกเลยว่างานชิ้นนี้เป็นของคนนี้ คนอื่นๆ ก็จะ สามารถเข้ามาร่วมแจม เสนอไอเดียได้ตลอดเวลา เพียงแต่มเี จ้าภาพงานเท่านัน้ ลักษณะเดียวกันกับเวลา ทีค่ ณ ุ หยิบเครือ่ งดูดฝุน่ อีกคนหยิบฟ็อกกีม้ าเช็ดกระจก Flow งานมันจะมีลักษณะเป็นแบบนี้ ผมคิดว่ามันเป็น เรื่องเดียวกัน การมี Philosophy แบบนี้ส่งผลต่อรูปแบบของงานที่ PRACTICAL จะเลือกท�ำด้วยหรือเปล่า เช่น งานที่เกิด ประโยชน์กบั คนอืน่ เป็นงานทีค่ ณุ สนใจท�ำเป็นอันดับแรกๆ ผมพูดออกตัวเสมอว่าสิ่งที่เราท�ำอยู่ เราไม่ได้ คิดถึงคนอื่นหรอกครับ นั่นมันดูดีเกินไป เราคิดถึงตัว เองมากกว่าว่าเราอยากอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบไหน อยากอยูใ่ นสังคมแบบไหน อยากอยูใ่ นวงการออกแบบ อย่างไร แล้วเราก็เริ่มลงมือท�ำในสิ่งที่เรารู้สึกว่าพอ ท�ำได้โดยไม่หวังสูงเกินไป ใครติดตามผลงานเรา จะ รู้ว่าเราไม่ได้เป็นเพอร์เฟ็กชั่นนิสต์ ถ้ามีเงินเท่าไหร่ก็ ท�ำเท่านั้น ส่วนเรื่องคอนเนกชั่น งานที่เราท�ำก็จะไป สัมพันธ์กบั คนอืน่ อยูแ่ ล้ว ยิง่ ท�ำบ่อยๆ ก็ยงิ่ เชือ่ ว่าความ สัมพันธ์เป็นเรื่องที่จ�ำเป็น หลายต่อหลายครั้งที่เราท�ำ

กิจกรรม เราก็ทำ� ส�ำเร็จได้เพราะความสัมพันธ์ทงั้ ภายใน และภายนอกทีค่ นมีให้เรา ผมไม่เคยลืมความช่วยเหลือ ความร่วมมือทีม่ ใี ห้ ทัง้ พี่ เพือ่ น หรือน้องๆ ในวงการ เพราะฉะนั้นงานหลายๆ ครั้งจะเกิดจากการลงมือท�ำ จากโอกาสที่เรามี จากการตัง้ ค�ำถามของ PRACTICAL ว่าเราอยูใ่ นสังคม ออกแบบอย่างไร และอยากให้สังคมออกแบบเป็น อย่างไร มันพอมีค�ำตอบคร่าวๆ บ้างหรือเปล่า ยกตัวอย่างนะครับ อย่างโปรเจ็กต์ I am Thai Graphic Designer ที่ท�ำในปี 2009 เรื่องมันก็ไม่มี อะไรซับซ้อนมากไปกว่าเรามักจะได้รบั โจทย์จากลูกค้า ทีค่ อ่ นข้างส�ำเร็จรูป ก็เลยเกิดการตัง้ ค�ำถามกลับไปว่า ท�ำไมตัง้ โจทย์แบบนี้ ถ้าเป็นโจทย์ เป็นข้อก�ำหนดอะไร สักอย่างขึ้นมา แต่ในกลุ่มคนที่ร่างไม่มีใครที่ท�ำอาชีพ นี้อยู่เลย เช่นถ้าเป็น TOR ในการท�ำหนังสือสักหนึ่ง เล่ม แล้วในนัน้ ระบุวา่ หนังสือต้องขนาดเท่านี้ กระดาษ ความหนาเท่านี้ิ ค�ำถามก็คอื เขารูไ้ ด้ยงั ไง แล้วเขารูห้ รือ เปล่าว่ามีอาชีพอย่างเรา ถ้าเขารู้ท�ำไมเขาไม่ชวนใคร สักคนเข้าไปคุยเรื่อง TOR ว่ามันควรจะเป็นอย่างไร ตอนแรกก็เป็นเรื่องที่คุยกันในออฟฟิศ ว่าตกลงเขารู้ หรือเปล่าว่ามีอาชีพนี้ เอ๊ะ หรือไม่รู้ ถ้าเขาไม่รู้ เรา บอกเขาดีมยั้ หรือถ้ามีคนสัก 300 - 400 คน ออกมา ประท้วงว่ามีอาชีพนี้ เขาก็น่าจะรู้เนอะ มันก็เริ่มจาก แค่ตรงนี้ แต่คิดว่าที่โปรเจ็กต์นั้นมันส�ำเร็จก็เพราะว่า มันเป็นช่วงทีเ่ ข้าสูย่ คุ โซเชียลมีเดียพอดี จากเล่นกันใน กลุ่มเพื่อนก็กระจายออกไป จาก 5-6 คน เป็น 200300 คน พอถึง 600-700 คน ก็เริม่ มีสปอนเซอร์ทำ� ให้ มันเป็นจุดที่ใหญ่โตขึ้น ผมเชื่อเรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างภายในกับภายนอก เมือ่ คุณท�ำอะไรบางอย่าง ภายในแล้วคุณมีปฏิสัมพันธ์กับภายนอกมันก็จะส่งผล ซึ่งกันและกันไปเรื่อยๆ พอมันกว้างขึ้นมันก็เป็นสังคม ออกแบบทีเ่ ราอยากให้เป็นคือทุกคนเชือ่ มโยงกัน ช่วย เหลือซึ่งกันและกัน แลกเปลี่ยนกัน งานนั้นท�ำให้ผม รู้จักคนมากมาย กลายเป็นค�ำตอบว่านี่ไงเราอยากอยู่ แบบนี้ อยากเป็นแบบนี้ เราไม่อยากท�ำแต่งาน ไม่รจู้ กั ใคร ซึ่งมันก็เป็นเรื่องจากข้างในไปข้างนอก

จากออฟฟิศ PRACTICAL ไปสู่วงการออกแบบระดับ ประเทศ หลังๆ สังเกตเห็นว่า Practical ท�ำงานกับ ต่างประเทศมากขึ้น พอเราท�ำข้างในออกไปข้างนอกก็หมายถึงท�ำ จาก PRACTICAL ไปยังสังคมออกในไทย และพอท�ำ ไปเรื่อยๆ ก็จะกลายเป็นสังคมออกแบบในเอเชีย พอ สิ่งที่เราท�ำมันขยายออกไปก็รู้สึกว่าสังคมออกแบบที่ เราเดินอยู่มันก็น่าจะดีขึ้นเช่นกัน จากเพื่อนที่รู้จักกัน ตอนที่ท�ำ I am Thai Graphic ในปี 2009 ก็เริ่มมี เพื่อนในประเทศอื่นๆ เชิญให้ไปพูดบ้างว่าโปรเจ็กต์ที่ ท�ำเกิดขึน้ ได้อย่างไร อยากให้มที โี่ อซาก้าบ้าง มาเลเซีย บ้าง เพื่อให้ทุกคนได้แลกเปลี่ยนกัน ท�ำให้ผมได้รู้ว่า กราฟิกดีไซเนอร์ประเทศอืน่ เขาด�ำรงชีวติ กันแบบไหน เขาสบายแบบทีเ่ ราคิดไหม เขาเลิศหรูแบบทีเ่ ราคิดหรือ ว่าจริงๆ แล้วเขาก็เหนื่อยเหมือนเรา อดหลับอดนอน เหมือนกัน ทัง้ หมดมันก็จะเป็นพลังให้กบั เรา ให้เราหัน กลับมามองประเทศของเรา แบบเข้าใจ ไม่ได้มองแบบ บ่นว่าท�ำไมมันห่วยจัง ซึง่ จริงๆ แล้วบางประเทศทีเ่ จริญ มาก ดีไซเนอร์ก็เหนื่อยมากขึ้น เพราะว่าต้องแข่งขัน ในการท�ำงาน ทุกอย่างก็มีอยู่แล้ว ไม่เหมือนประเทศ เราที่ยังไม่ค่อยมีอะไรมากท�ำให้เปิดโอกาสให้ใคร หลายๆ คนได้ลงมือท�ำ บวกกับเราอยู่ในบรรยากาศที่ ต่างคนสนับสนุนซึ่งกันและกัน ซึ่งน่าจะใช้บรรยากาศ แบบนี้ให้เป็นประโยชน์ นอกเหนือจากงานของลูกค้า โปรเจ็กต์ที่ริเร่มจาก PRACTICAL เองแล้ว คุณก็ยังท�ำผลงานส่วนตัวอยู่ เรื่อยๆ คิดกับมันว่าอย่างไร ผมไม่ เ คยคิ ด ว่ า จะเป็ น ศิ ล ปิ น มี ค นบอกว่ า ผลงานส่วนตัวของผมดูไม่รู้เรื่องเลย ผมคิดว่าการ ท�ำงานส่วนตัวเป็นเหมือนการเยียวยาตัวผมเองมากกว่า มันเป็นการปลดปล่อยและไม่มีระเบียบวิธีมากนัก สามารถทดลองนัน่ ทดลองนีไ่ ด้ตามอ�ำเภอใจ อีกเหตุผล คือเมื่อเราต้องท�ำงานให้กับลูกค้าการตอบโจทย์ของ เขาเป็นเรือ่ งส�ำคัญ การได้ทำ� งานส่วนตัวก็เหมือนเป็น งานอดิเรกทีท่ ำ� ให้ผมมีชวี ติ ชีวาและเกิดบาลานซ์ทดี่ กี บั ชีวิตการท�ำงานเป็นที่อยู่

55


Santi Lawrachawee is the co-founder of PRACTICAL Design Studio established 11 years ago. After receiving a bachelor degree in Graphic Design from Bangkok University Faculty of Fine Arts, he had been contemplating on what kind of designer he would like to become. The question had not been answered until he returned to the University as a lecturer. “Ajahn Tik” is what people always call him although they are not his students— probably because his working ideas and projects have been observed widely outside as well as in his classrooms.

What is the most important thing in your work? To be honest, I put most emphasis on my thoughts and feelings. I try to be true to myself. If I work on something and I don’t feel happy with it, I will try to find out the reasons and how to avoid them. Another crucial thing is professionalism. In my view, when a client comes to my office, I always believe there must be some need or some problem that he or she wants someone to help with. Therefore, I will cope with the problem first. I will try to fulfill the need of my client and leave some space to add my own idea. There might be some projects you used to dream about or plan to do, or some interesting works you used to see—you can put them in that space. For that reason, I will attempt to meet the requirements of clients first to make room for mine. This is the way I work. Clients’ fulfillment is my priority. In my opinion, when they already have the things they want in their hands, they will let you hold the other things for them. If we satisfy the clients in the first place, it will be easier for us to offer them the ideas to make their projects even better. Obviously, customer relations, working methods, and working atmosphere in the office have been created through a very smart process. What uniqueness do you think PRACTICAL has in terms of details. In 2010 we had a chance to hold the exhibition on the 4th floor of Bangkok Art and Culture Centre and had a long discussion on making one installation art. That was when we 56

came to realize that Design is Relation, and hence the name of that installation art. The philosophy we found is that relation has the impact on us in doing something. This relation could mean the space we share and the way we live together in the office. It could be some small details. For example, as we don’t hire a housekeeper, a certain living condition occurs. If you have a housekeeper, when he or she is off duty no one is going to wash your drinking glass as it is not their duty. Therefore, no housekeeper means you have to wash it yourself and there will be any used glass left in the sink. Everybody knows that it is not the rule but it is a simple way of life which creates no further complication. Regarding work, we have our own definition of the word Responsibility—it means how we react to everything around us—not just the assigned work. If you do only the work you are assigned, all the other things will be left untouched although they are also meant to be done. This is just a small issue in the office. You may feel like cleaning up the place if you see some dirty spots anytime as there is no housekeeping schedule for anyone. These actions of office tidying, washing the glasses, doing the dishes, or even cleaning the toilets are also related to our design process. As for myself, I don’t like to work alone. I prefer working as a team because I don’t think I have expertise in all areas of work. Therefore, working at Practical is not about going solo. Someone might be a host and anyone can offer ideas anytime. It is like when you grab a vacuum


cleaner, another will get a window spray. This kind of flow happens to our work. I think there is the relation among all these things. Does this philosophy of work effect on the decision or preference of Practical to choose a certain kind of job such as social enterprise? I usually say that I am not doing it for other people. That would sound too philanthropic. Instead, I ask myself what kind of environment, society, or design world I would rather live in—then I start to make it happen without setting my goals too high. People who have seen Practical’s works will know that we are not perfectionists. Our work also depends on the budget amount. Besides, to complete our jobs we often have to coordinate with others—and thus we think that connections are essential. Our projects wouldn’t be successful without the links we have among ourselves and other people. I never forget how our friends in the design society have helped and supported us. Many of our projects happened from the opportunity we had. In PRACTICAL’s point of view, what is the nature of our design society and how would you like it to be? In 2009 we raised the I am Thai Graphic Designer Project. It all began when we had noticed that graphic designers usually get the same stereotyped briefs from clients and that made us wonder why we let a group of people who are not graphic designers tell us how to do our job? For example, when we receive the TOR in making a book with the fixed requirements on the size of the book or the thickness of the paper—it makes us wonder how the clients got their ideas. Do they know graphic designer career does exist? If they knew, why didn’t they consult with us? At first we were just discussing this issue in our office and then we thought we might have to tell them—or maybe if 300-400 designers got on the move to demonstrate their existence, it could turn some heads.

Anyway, I think the successful outcome of the Project was the result of the growing social media era. The idea was originally shared among 5-6 friends and then it spread to 200-300 people. By the time it reached 600-700 participants, the sponsors came and made it even bigger. As I believe in the links between the inside and the outside, when you start something within a small group of people and interact with larger circles, it will continue to expand. Finally, the ideal design society where everybody is connected, helping each other and sharing good things will become reality. That Project made me know a lot more people and gave me the idea of the design world I want to live in. I don’t want to be a shut-in and occupy myself with work only. This is how it goes from the inside to the outside. From PRACTICAL’s office, let’s move to the international design societies. Apparently, Practical has coordinated more works with foreign agencies recently. As what we practice in the office has already been introduced to the Thai design society, we hope it will go further towards Asia’s design society as well. It could make our design world more pleasant. After the I am Thai Graphic

Designer Project in 2009, our foreign friends invited us to join conferences in their countries and talk about the Project. They want to have it in Osaka, or in Malaysia, for examples, so that everyone can exchanges ideas. This made me look at graphic designers’ lives both in Thailand and other countries in a more understanding way with compassion. In some developed countries, designers have to work very hard as the competition is so high comparing to Thailand where the career is quite new and there are still more things to explore. Our advantage is that we are in a very supportive society and this can be quite useful. Apart from clients’ projects and PRACTICAL originated projects, what is your opinion towards your own projects which have been constantly produced? I don’t mean to act like an artist though some people say that my personal works look way too abstract. I think that those works are more like a therapy for me to free my mind and juxtapose it. I can make whatever experiments I please. Again, working for clients I need to meet their demands while creating my personal works as a hobby makes me feel refreshed and hence the good balance between my private life and work life. 57


DESIGNERS OF THE YEAR AWARDS 2015: Illustration Design ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ TERAWAT TEANKAPRASITH oterawat51@gmail.com +668 1694 6993 Facebook: terawat.teankaprasith

หลังจากเรียนจบที่คณะมัณฑนศิลป์ ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ เป็นนักวาดภาพประกอบทีม่ ชี อื่ เสียง ต่อเนื่องยาวนานมากว่า 15 ปี งานของเขาปรากฏ อยูใ่ นวงกว้าง ทัง้ ในหน้านิตยสาร หน้าปกพ็อกเก็ตบุก๊ แพ็กเกจจิ้ง โมชั่นกราฟิก หรือแม้แต่ลายผ้า ที่เขา ออกแบบให้กับแบรนด์ sretsis และ painkiller จ�ำนวนปี ทีถ่ งึ แม้จะเป็นเพียงตัวเลข แต่มนั ก็พสิ จู น์ถงึ ความเชี่ยวชาญและความเป็นตัวจริงแบบที่ไม่ต้องมี ค�ำถามใดๆ

58

คุณมีมุมมองต่อการเป็นนักวาดภาพประกอบของคุณว่าอย่างไรบ้าง เรารู้ตัวว่าชอบวาดรูป เลยเริ่มจากการวาดการ์ตูน แล้วก็ค่อยๆ เสพอย่างอื่นเพิ่ม เช่นงานภาพประกอบ หรืองานกราฟิก ซึ่งการที่เปิดรับอะไรใหม่ๆ ก็ท�ำให้งานของเราสามารถกระจายไปในสื่อต่างๆ ได้ และวาง position ของตัวเองให้วาดได้ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งพิมพ์ เสื้อผ้า แฟชั่น โมชั่นกราฟิก งานสามมิติหรือว่า งานโฆษณา เราเคยถามตัวเองว่าท�ำไมถึงไม่คิดจะท�ำงานที่มีสไตล์เดียวเพื่อสร้างให้เป็นเอกลักษณ์แต่เรามอง ว่า มันเป็นข้อได้เปรียบของเรามากกว่า ทีท่ ำ� ให้เราวาดอะไรก็ได้ แล้วมันจะไปปรากฏในสิง่ ไหนก็ได้ สิง่ ทีเ่ ราได้ มาคือความสนุก และเราก็รักในสิ่งที่เราวาดอยู่เสมอ นอกเหนือจากการเปิดรับอะไรใหม่ๆ แล้ว การต้องรับมือกับโจทย์ที่แตกต่างกันต้องการความเข้าใจที่ต่างกัน ด้วยหรือเปล่า ถ้าเป็นนิตยสาร เราว่าต้องการความชัดเจนในเรื่องของสไตล์ ซึ่งสไตล์ในแต่ละเล่ม แต่ละหัวนิตยสารก็ แตกต่างกันอยู่ดี บางเล่มอาจจะต้องดูแฟชั่นมาก ไม่จ�ำเป็นต้องเล่าเรื่องเท่าไหร่ บางเล่มอาจจะต้องการการ เล่าเรื่องอย่างหนักหน่วง ถ้าเป็นพ็อคเก็ตบุ๊คเนี่ย จะต้องใช้การเล่าเรื่องเต็มๆ เลย ถ้าเป็นปกซีดีหรือเสื้อยืด ก็ ต้องท�ำยังไงก็ได้ให้มันโดดเด่นจากแผงและให้เขาหยิบ หรือถ้าเป็นแฟชั่น ปลายทางมันคือการสวมใส่ ก็ต้อง มองแบบเข้าใจผู้สวมใส่เสื้อผ้า ว่าในกรณีที่เราออกแบบลวดลายบนเสื้อผ้า ลายพิมพ์ผ้า หรือลายเสื้อยืด เราก็ ต้องดูวา่ ท�ำอย่างไรให้ลกู ค้ากล้าใส่ และอยากทีจ่ ะใส่มนั ซึง่ ข้อดีคอื ของเราท�ำได้หลายๆ อย่าง ก็จะดึงเอาความ เป็นกราฟิกมาใช้ในการ์ตูน หรือดึงเอาความเป็นการ์ตูนแบบแฟรี่เทลมาใช้ในงานภาพประกอบ บางทีมันก็ข้าม กันไปมา ซึ่งสิ่งที่เราวาดมาทั้งหมดกลั่นเป็นสิ่งที่เราชอบ เปรียบเป็นเหมือนน�้ำหนึ่งแก้วที่เราก็ไม่รู้ว่ามันสีอะไร รสชาติแบบไหน แต่เป็นน�้ำที่ปรับตัวตามภาชนะได้


การออกแบบลายผ้าให้กับแบรนด์ Painkiller ถือ เป็นการขยับไปสูพ่ นื้ ทีใ่ หม่ การดูแลอาร์ตไดเร็กชัน่ และ การออกแบบลายผ้าให้อะไรกับคุณในแง่ไหนบ้าง Painkiller ท�ำแบรนด์เสือ้ ผ้าทีท่ ำ� กับพีน่ อ้ งครับ เป็นแบรนด์เสื้อผ้าบุรุษที่อยู่ใน Bangkok Fashion Society ตอนแรกทีท่ ำ� Painkiller ก็สงสัยว่าจะมีอะไร ให้ท�ำบ้าง เพราะว่าเราไม่ได้ออกแบบเสื้อผ้า แต่ถ้า ลองดูดีๆ จะพบว่าทุกแบรนด์แฟชั่นต้องการภาพเพื่อ พรีเซนต์เรือ่ งราวหรือบอกมูด้ แอนด์โทนของคอลเลกชัน่ นั้นๆ สิ่งที่เราท�ำให้กับ painkiller ก็คือ สิ่งพิมพ์ ลาย พิมพ์ผา้ เสือ้ ยืด หรือโลโก้ ท�ำให้ได้เรียนรูว้ า่ ปลายทาง ของการท�ำภาพประกอบมันคือการสวมใส่ ถ้าเรามอง ภาพประกอบในคอมพิวเตอร์มันจะเป็นแบบหนึ่ง แต่ พอมันมาอยู่บนเสื้อผ้า ที่มีการสวมใส่ เดินโชว์ในงาน ELLE Fashion Week แล้วมันเป็นข้อสรุปของงานที่ มันไปไกลกว่าที่คิดมาก

ถึงจะวาดในหลายๆ สือ่ ภาพประกอบเหล่านัน้ มีจดุ ร่วม จุดไหนที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของคุณ มีน้องคนหนึ่งพูดขึ้นมาว่ารู้สึกว่างานของเรา กลมกล่อม มีฟอร์มทีด่ นู วลเนียนทีท่ ำ� ให้เขารูว้ า่ เราวาด แต่ถ้าให้เราพูดถึงตัวเอง ก็รู้สึกว่างานของเรามีความ เป็นช่างศิลป์ มีความเป็นช่างวาดรูป เราไม่ได้เอาสไตล์ น�ำ แต่เอาองค์ประกอบศิลป์ เส้น สัดส่วนทองทีส่ วยงาม เป็นตัวน�ำ ซึ่งเราคิดว่าสไตล์มันคือสิ่งที่ครอบ เนื้อแท้ จริงๆ แล้วคือสัดส่วนและเส้นที่งดงาม

ซึง่ เป็นหมาในบทประพันธ์ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สิ่ ง ที่ เ ราเอามาตี ค วามต่ อ เป็ น ลายพิ ม พ์ ภ าพคื อ สถาปัตยกรรมแบบไทย รัว้ ระเบียง คิว้ บัว เอามาท�ำ เป็นลายทาง แล้วก็ซ่อนดีเทลของหมามอมเอาไว้อยู่ ตามที่ต่างๆ ให้โผล่มาที่ร้ัวหรือหน้าต่าง อีกตัวอย่าง คือ “เพลงผลไม้” ทีเ่ อาผลไม้ทงั้ หมดในเพลงมาท�ำเป็น ไอค่อน แล้วก็ฟอร์มของผลไม้นั้นมาเรียงเป็นรูปโน้ต ดนตรีเพื่อให้ผลไม้ในรูปแบบผ้าพันคอมีทั้งความเป็น ไทยและความเป็นสากล

หลายๆ คอลเลกชัน่ ของ Painkiller น�ำเสนอเรือ่ งราว ความเป็นไทยในแง่มุมที่น่าสนใจ คุณน�ำบริบทความ เป็นไทยมาคลุกเคล้ากับงานภาพประกอบอย่างไร เราเกิดที่นี่ เราอยู่ที่นี่ การน�ำมาใช้มันคงเป็น อะไรที่ ม ากกว่ า เอกลั ก ษณ์ ชั ด เจนโดยทั่ ว ไปที่ ค น ตะวันตกมาท�ำงานตะวันออก เช่น อาจจะมากไปกว่าลาย ไทยแต่หาความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจความเป็นไทย มากขึน้ โดยไม่องิ อยูก่ บั หนังสืออย่างเดียว คอลเลกชัน่ ของ painkiller คอลเลกชัน่ หนึง่ พูดเกีย่ วกับเรือ่ งมอม

15 ปี ทีผ่ า่ นมา อะไรทีท่ ำ� ให้ยงั รักษาแรงบันดาลใจใน การท�ำงาน และพัฒนาตัวเองขึ้นไปเรื่อยๆ เวลาทีเ่ รารับโจทย์มา สิง่ ทีเ่ ห็นจากโจทย์คอื งาน ทีเ่ สร็จแล้ว แล้วมันสวยงาม เรารูส้ กึ ว่าโมเมนต์ ท�ำให้ เราตื่นเต้นกับการท�ำงานทุกชิ้น หน้าที่ของเราคือหา ทางเพื่อจะไปอยู่ตรงนั้นให้ได้ เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะ เป็นการไปเทีย่ ว การเปิดหนังสือ มันไม่ได้ให้แรงบันดาล ใจกับเราเท่ากับการที่เราได้รับโจทย์มาแล้วเห็นปลาย ทางแล้วว่ามันต้องสวยแน่ๆ

59


Along 15 years after graduation from Silpakorn University Faculty of Decorative Arts, Terawat Teankaprasith has been continuously renowned as one of Thailand’s famous illustrators. His works are immensely in presence on mediamagazines, pocket book covers, packaging, motion graphics or even print patterns which he designed for fashion brands like Sretsis and Painkiller. Although we could care less about the number of years of his profession, they unquestionably are a solid proof of his expertise and authenticity.

60

What are your aspects of your illustrator career? I loved to draw, so it all began with cartoon drawing. Then my liking expanded to other works such as illustration and graphic design. All the exploration enabled my works to appear widely in various kinds of media. As a result, I position myself as a multi-purpose artist. I make pictures for most everything— printed media, clothing, fashion shows, motion graphics, 3D computer graphics or commercials. I used to ask myself why I didn’t go for just one thing to make it my signature. Anyway, it appeared that being able to work on just about anything has become my advantage. My works could pop up anywhere. That way I will have more fun and I will always have passion in my works.”

worn. Therefore, I have to understand people who will wear them. For fashion designer. However, when looked closely—each fashion brand needs to use illustrations to present textile designs, prints or T-shirt screens, I have to make the customers feel good and want to wear them. Since my strong point is the ability to do many kinds of design, I would apply graphic design to my cartoons, or use fairytale style cartoons in my illustration. Sometimes they just cross over one another. All my works have finally become my passion. It’s just like a glass of drink—I can’t exactly define its Apart from exploring new things, do you have color or taste, but I know it always transforms to deal with the interpretations to work on itself to fit the shapes of its containers. different kinds of tasks? For magazine illustrations, I think the Designing prints for Painkiller brand can be style of each issue and publishing company seen as a step forward to another of your must be clear-cut. Some may need to be very positioning. What have you learned in terms fashionable without much of story telling. Some of art direction and textile design? may need to be tremendously narrative. Pocket Painkiller is a menswear brand which I book illustrations particularly need to tell their coordinate with my brother and sister as a stories. For CD covers or T-shirts, I try to make member of Bangkok Fashion Society. Earlier them stand out most vividly to persuade the when it had started, I was wondering what I customers to pick them. As for fashion items, could do with it as I was not a contexts or their mission is accomplished when they are moods and tones of each collection. What I


do for Painkiller is printed matters, print designs, T-shirt screens and logos. Working here made me realize that illustration is meant to be worn. What I see on a computer screen looks different when worn by models on ELLE Fashion Week’s catwalk. It is the conclusion of my work which goes beyond my estimation.

Thai motifs but I would do a research to have more understanding by digging deep to their roots and not relying on only text. One collection of Painkiller got its theme from “Mom,” a dog in the classic novel written by M.R. Kukrit Pramoj From this novel, further interpretation on Thai classical architecture was turned into prints. Fences, patios, and other parts of the house were adapted into stripes with details in images of Mom popped up in places like behind the fence or at the window. Another example is “Song of the Fruits.” All kinds of fruit that appear in this Thai children’s song are designed into icons arranged as the notes in the scale of the song. This way the fruit prints on the scarf contain Thai elements as well as international details.

Being displayed in several kinds of media, do you think if there is something in common among your works that defines your uniqueness? One of my audience once said that my works brought out a sense of mildness—by the form that looks soft and delicate he could distinguish my works from others’. Anyway, talking about my creations, I see them as artistic and full of craftsmanship. Style doesn’t take the lead. Instead, composition and golden ratio do. In my opinion, style is superficial— Having been in the design career for 15 years, while the true essence is about the perfect what keeps you inspired and motivated? proportion and beautiful lines. As soon as I get a work assignment from each customer, a completed piece of work is Several collections of Painkiller have portrayed pictured in my mind—and it looks sensational. Thai characteristics in interesting aspects. How That moment always excites me. My mission do you mix Thai elements with your illustrations? is to find that moment. Therefore, other things I was born here and Thailand is my home. like traveling or reading give me much less Thai elements used in my works are of course inspiration than that moment when I have a deeper than the typical Thai symbols used by vision of my design and I know it’s going to westerners in their works. It could be traditional be wonderful.

61


DESIGNERS OF THE YEAR AWARDS 2015: Interior Design วินัย ฉัยรักพงศ์ WINAI CHAIRAKPHONG winaic@bugstudio.co.th +668 1833 6236 www.bugstudio.co.th

เรือ่ งของสไตล์และเอกลักษณ์ดเู หมือนจะเป็นสิง่ ทีท่ ำ� ให้ผคู้ นจดจ�ำผลงานออกแบบชิน้ นัน้ ได้ แต่ในขณะเดียวกันการยึดติดกับสไตล์ของตัวเองมากจนเกินไป ก็ ไม่อาจเกิดผลดีต่อนักออกแบบเอง เพราะขาดความยืดหยุ่นในการพัฒนาต่อ และเป็นการก�ำหนดกรอบความคิดไปโดยไม่รู้ตัว เช่นเดียวกับ วินัย ฉัยรักพงศ์ นักออกแบบภายในที่ให้ความส�ำคัญของเนื้อหามากกว่าสไตล์ วินยั จบปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปริญญาโทสองใบด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม จากมหาวิทยาลัย Illinois Institute of Technology ชิคาโก และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย นิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ก่อนจะกลับมาก่อตั้ง BUG studio บริษัทออกแบบที่เรียกได้ว่าเป็นสหวิทยาการของการ ออกแบบที่ครบวงจร ทั้งออกแบบภายใน สถาปัตยกรรม นิทรรศการ อีเวนต์ พิพิธภัณฑ์ รวมไปถึง Branding ด้วยแนวคิดในการออกแบบที่แตกต่างด้านวิธีคิดของวินัยที่ให้ความส�ำคัญกับความรู้สึกของผู้ใช้งานจริงๆ โดยให้ความส�ำคัญกับสไตล์น้อยกว่า จนกลายเป็น สไตล์การท�ำงานรูปแบบใหม่ในวงการออกแบบที่หลายคนจับตามอง ตั้งแต่ตอนเริ่มต้นท�ำงานออกแบบจนมาถึงปัจจุบัน ความรู้สึกในการท�ำงานเปลี่ยนไปไหม 15 ปีที่แล้วจนมาถึงตอนนี้จริงๆ ก็ไม่ต่างกัน เราก็ยังสนุกกับการท�ำงาน ผมพยายามจะใช้ความรู้สึก เหมือนตอนเราเรียนอยู่ เราสนุกกับการเรียนยังไง ผมจึงพยายามดึงความรู้สึกนั้นให้เกิดขึ้นในการท�ำงาน ผม เชื่อว่าในทุกโปรเจกต์มีมุมมองหรือมีความท้าทายที่แตกต่างกัน ถ้ามองย้อนไปตอนเด็กเราก็จะเห็นมุมมองอีก แบบหนึง่ ซึง่ ตอนเราเป็นนักเรียนอยู่ เราต้องการทีจ่ ะค้นหาสิง่ ใหม่ๆ ต้องการทีจ่ ะสนุกกับงาน สิง่ ทีไ่ ด้คอื คะแนน ตอนนี้เราสนุกกับงานเหมือนเดิม แต่สิ่งที่เราได้เป็นสตางค์ และความสนุกในการออกแบบ ผมพยายามให้มัน คงเส้นคงวาเท่ากัน ไม่อยากให้ความเป็นธุรกิจเข้ามาท�ำลายความสุขของการออกแบบมากนัก

62


มีวิธีคิดในงานออกแบบอย่างไร เราไม่ได้มองว่าหน้าที่คืออะไร แต่เราจะมอง Output ก่อน แล้วสมองจะคิดต่อเอง เวลาได้โจทย์ จากลูกค้ามา เราต้องท�ำตัวให้โง่ทสี่ ดุ ก่อน ไม่วา่ จะเป็น งานมิวเซียมดีไซน์ที่เราไม่ใช่ประเด็นหลักในชีวิตของ คนทีเ่ ข้ามาชมงาน แม้งานทีเ่ ราท�ำคือทีส่ ดุ แล้วของเรา แต่คนที่เข้ามาดูเขาไม่ได้รู้สึกแบบนั้น วิธีการคือท�ำ อย่างไรให้ก้าวแรกที่เขาเข้ามา ครึ่งนาทีแรกเขาต้อง รูส้ กึ ทันทีวา่ เขาพลาดสิง่ นีไ้ ม่ได้ เราจะเล่าเรือ่ งยังไงให้ เขาก้าวเข้ามาแล้วไม่อยากออกไป เนื้อหาอาจจะฟาด เข้ากลางหัวเขาแล้วท�ำให้เขาออกไปไม่ได้แล้ว ต้องมี พาร์ททีข่ นึ้ สุดและทิง้ ลงสุด คือจังหวะทีเ่ ราจะดึงคนจาก จุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งไปเรื่อยๆ จนจบได้ มันคือวิธีการ เล่าเรือ่ ง การดีไซน์จะเป็นเรือ่ งรองแล้ว แม้กระทัง่ งาน ดีไซน์เก้าอี้ ไม่มีใครที่วิ่งเข้าหาเก้าอี้เพราะความนั่ง สบาย มันต้องมาจากความรูส้ กึ แรกที่ Attack เขาก่อน ว่าต้องเดินเข้าไปดู และอย่างอื่นจึงค่อยๆ เพิ่มเข้ามา พอเราท�ำงานไปถึงจุดหนึง่ สไตล์รปู แบบไม่ใช่ประเด็น แต่ประเด็นคือการจับความรูส้ กึ ของงานเราว่าจะสือ่ สาร กับผู้อื่นได้มากน้อยแค่ไหนมากกว่า

ท�ำไมถึงเชื่อในเรื่องเนื้อหามากกว่าสไตล์ ผมเชือ่ ว่างานออกแบบทุกงาน ไม่มงี านออกแบบ ไหนในโลกที่ไม่มีผู้ใช้งาน เพราะฉะนั้นผมจะยึดโดย มองไปที่ ผู ้ ใ ช้ ง านเป็ น หลั ก ผมจะศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ พฤติกรรมของผูใ้ ช้งานก่อน ซึง่ จริงๆ แล้วนักออกแบบ หลายคนก็คงใช้วธิ นี ี้ แต่ผมอาจจะสนใจในเชิงลึกลงไป กว่านั้นอีก ไม่ว่าผลลัพธ์ของการออกแบบจะออกมา เป็นแบบไหน ผมจะชอบเล่นกับอารมณ์ของผู้ที่เข้ามา ใช้งาน ท�ำยังไงให้คนดูรู้สึกเหงา กลัว สนุก หิว ร้อน รัก โลภ โกรธ หลง หรืออยากออกเดท แล้วเมื่อไรที่ เกิดอารมณ์ร่วมตรงนี้ได้ จะท�ำให้เกิดประสบการณ์ ใหม่ เป็นขั้นตอนที่เราลองมาแล้วประสบความส�ำเร็จ บางทีการทีเ่ ราต้องแหกกฎการออกแบบบางอย่าง ท�ำให้ เราไปเจออะไรใหม่ๆ ตลอดเวลา ก็จะเกิด New Design ขึ้น

วิธคี ดิ แบบนีส้ ามารถใช้งานออกแบบทุกประเภทใช่ไหม ใช้ได้กบั ทุกงาน เพราะการดีไซน์ให้สวยไม่ยาก แต่การดีไซน์ที่ท�ำให้รู้สึกยากกว่า เช่น ความสูงของ เตียงทีม่ นั ห่างกันแค่สามสีเ่ ซนต์ ท�ำให้เตียงนัน้ เมือ่ อยู่ กับทีวีแล้ว เขาสามารถนั่งแทนเก้าอี้ได้ ท�ำให้ห้องที่มี พืน้ ทีเ่ ล็กกลายเป็นใหญ่ขนึ้ ได้ เพราะเตียงจะท�ำหน้าที่ ได้มากกว่าเตียง คือการเล่นกับความรูส้ กึ ไม่อย่างนัน้ เราจะเกิด Pattern ทันทีวา่ ทีวตี อ้ งมาคูก่ บั เก้าอีข้ นาด เท่านีๆ้ ซึง่ ในชีวติ จริง เราวาง Pattern ไว้ แต่ไม่มใี คร ไปใช้เก้าอี้ตัวนี้เลย เพราะฉะนั้นตรงนี้คือสิ่งที่บอกว่า สไตล์ไม่ใช่สงิ่ หลักในการท�ำงาน แต่การท�ำงานคือการ เข้าใจว่าวิธีการหรือความรู้สึกของคนที่เข้ามาใช้งาน เป็นอย่างไร ซึ่งพอเราเข้าใจตรงนี้ มันไม่จ�ำกัดอยู่แค่ งานออกแบบภายในแล้ว สามารถเอาไปใช้กบั ทุกอย่าง ได้หมด ตอนนีผ้ มก�ำลังออกแบบห้อง Suite ในโรงแรม คือจะท�ำยังไงให้คนทีเ่ ข้ามารูส้ กึ อยากเปิดมันทุกตู้ อยาก ดูตรงนั้น อยากดูตรงนี้ อยากจะ Enjoy กับทุกอย่าง แม้กระทั่งลูกบิดประตูหรือลิ้นชัก ซึ่งตรงนี้ผมว่าคือ ความสนุกในการเล่นกับอารมณ์ของคนทีเ่ ข้ามาใช้งาน

63


Style and identity could help people remember a certain design product. However, being too attached to your own style could be a disadvantage for a designer as it subconsciously shows a lack of flexibility to evolve and a fixation of ideas. As for interior designer, Winai Chairakpong-content overpowers style. Winai had his bachelor degree from Rangsit University Faculty of Engineering and 2 master degrees in Architectural Designs from Illinois Institute of Technology, Chicago and Columbia University, New York, USA. He returned to Thailand and established BUG Studio, which could be referred to as an all-in-one design company with jobs including interior design, architectural design, museum design, exhibitions, events as well as branding. Distinctively, Winai puts more emphasis on users’ feelings other than style. This new idea of working has consequently become remarkable in the design society.

Is there any change in your feelings towards work along the way of your career from the beginning until now? Actually, my feelings have not changed over these 15 years. I’m still having fun with my work. I try to get the same feelings as when I was a student, so I usually bring back the fun to myself while working. I believe that every project has its own perspective and challenge. When I was young, my perspective was different. As a student, I aimed to explore on new things and to work happily--the grades were given in return. As for now, working still makes me happy just the same but what I get is money plus the fun in designing things. I try to maintain the balance between running business and enjoying myself while making designs.

64

What is your design method? I will look at the output first--not the input, and the result will come out of my brain automatically. When the work is assigned I must clear my brain totally. For example, museum design is not the major interest for museum visitors. No matter how hard you work on the design, they might not get it. The point is how to suddenly make them feel they can’t miss a thing in the first 30 seconds they step in the museum; how to convey the stories so touchingly that they couldn’t leave; how to make the visitors feel so captivated by the content that they wouldn’t want to step out. There must be the climax part as well as the anticlimax part to lead visitors towards the end of the story. Thus, storytelling plays the bigger part than design does. This, too, could apply to making a chair. We wouldn’t be attracted to a chair by its coziness on the first sight. On the contrary, it attacks us with the first impression. When we take a closer look, the other senses will be manifested. If you have been working as a designer to reach one point, you will see that it’s not about the style. It’s the way we communicate with others with the feelings in our works.


What makes you believe in content rather than style? I strongly believe that every design product in the world is made to be used. Therefore, users must be prioritized on. My working process begins with user behavior analysis. Normally most designers would do the same way. However, my interest goes deeper than that. I love to play with users’ feelings through whatever I might design. I’d like to convey the feelings of loneliness, fear, enjoyment, hunger, heat, love, greed, anger, misbelief , or even a mood of going out for a date. If you can create such feelings, your works will introduce the users to the new experiences. This method is already proved to be successful through my experiments. Breaking the rules could bring about new innovation at any moment, and that’s how new designs are created.

Can this method be applied in all design scopes? Certainly. It’s easy to make a gorgeous design, but to convey the feeling through it is much harder. For example, if the height of the bed is adjusted only 3-4cm to suit the eye level when watching TV, the bed could also function as a couch, providing the room with more space. This is how we play with feelings; otherwise there would be a pattern of matching TV with the couch according to the specific heights. This pattern might be brought to use, but in real life probably no one is going to sit on that couch at all. This explains why style doesn’t play the major part. Instead, a good design has to deal with the function and the user’s feeling. When you get this idea, you can implement it in every aspect of work--not just interior design. Now I’m working on the design of a hotel suite which I want to make the guest feel like exploring and enjoying everything in it--or even opening every single door and drawer. That’s how you have fun playing with the user’s feeling in my point of view.

65


EMERGING AWARDS 2015: Furniture Design อดา จิระกรานนท์ และ วรพงศ์ มนูพิพัฒน์พงศ์ ADA CHIRAKRANONT AND WORAPONG MANUPIPATPONG

Atelier2+” is a creative studio based in Bangkok. The studio was founded in 2010. We are interested in many form of creativity from architecture, art, craft and design. We also collaborate with other design studio both locally and internationally. Our work is somewhere between art and design, theoretical and practical. We are not only thinker but also maker. We don’t create only building and object, but rather the contemporary visual culture. ateliertwoplus@gmail.com | +668 5121 2223, +668 5815 7888 www.ateliertwoplus.com | Facebook: Atelier2+

66


EMERGING AWARDS 2015: Product Design ศรุตา เกียรติภาคภูมิ | SARUTA KIATPARKPOOM

Saruta Kiatparkpoom Growing up in a family-owned steel company and holding a Fine Arts degree from Srinakharinwirot University in Bangkok Thailand, Saruta’s primary passion is to recycle worthless steel debris seen everyday life into valuable home decors. To achieve the first stage of her passion, Saruta participated in the Young Designer Project that allowed her to successfully experiment with new ideas and techniques toward her artistic freedom. pinatho@gmail.com | +668 6313 6166 http://pinmetallife.tumblr.com | Facebook: Prinkpreaw’s Metal art

67


EMERGING AWARDS 2015: Jewelry Design ศศิวิมล ชัยดรุณ | SASIVIMOL CHAIDAROON

Thai Jewelry designer, the winner of Thai and International design awards. With strong passion in jewelry design she became an owner of “La-jewellry”, a jewelry brand works on an experimental design and launched the debut collection of glass jewelry with an inspiration from nature in a concept of simplicity since 2013. As a character of La-Jewellry is minimal and nature inspired , we use less material and always think of simply concept with an aim to let the material disclose itself truthfully, together with a simply design concept, we believed that then we can feel the true of aesthetic. sasivimol.a@gmail.com, lajewellry@hotmail.com | +668 9052 1671 www.la-jewellry.com | Facebook: La-jewellry

68


EMERGING AWARDS 2015: Textile and Fabric Design ภราดร เกตุรัตน์ | PARADORN KATERAT

Inspired by the common things in everyday life, Paradorn interprets and tells their stories through his textile and fabrics produced by the experimental process of combining various techniques together which brings the interesting results to his works. paradorn46@gmail.com | +669 0127 4703 Facebook: Paradorn Kate

69


EMERGING AWARDS 2015: Graphic Design กนกนุช ศิลปวิศวกุล | KANOKNUCH SILLAPAWISAWAKUL

Kanoknuch is Design Director and a Co-founder of PRACTICAL Design Studio. Besides, she has been a part-time lecturer for many universities. Over the past 10 years, Kanoknuch has worked for many organisations and company. She also has been invited to join in exhibitions as artist, designer and curator both Thailand, Asia and Europe. She is interested in people, lifestyles and details around her. She has passionate about materials and craftwork that affect through her works. decembell@gmail.com | +668 1989 0404 www.practical-studio.com | Facebook: practicaldesignstudio

70


EMERGING AWARDS 2015: Illustration Design ยศนันท์ วุฒิกรสมบัติกุล | YOZANUN WUTIGONSOMBUTKUL

Yozanun Wutigonsombutkul (Suntur) is famous for his simple outline drawing techniques, clean details, bright colors, and optimistic point of view. He has worked as an illustrator for a great number of Thai and international magazines as well as leading fashion brands. Recently, he held the exhibition “Picnic with Suntur” in Hongkong. illusuntur@gmail.com | +668 9227 9355 Facebook: suntur.studio

71


EMERGING AWARDS 2015: Interior Design ภารดี เสนีวงศ์ ณ อยุธยา และ ชินภานุ อภิชาธนบดี PARADIS SENIVONGSE NA AYUDHYA AND SHINPANU ATHICHATHANABADEE

Our founding members are from difference area of expertise, Trimode Studio’s designs, especially retail and restaurant design, are unique with multidisciplinary perspective. Storytelling is combined with interior elements to reflect the brand’s DNA. In other words, design is not only created for visual impression, but also for offering new experiences and providing business solutions. Trimode Studio’s clients range from global companies to international Thai brands. admin@trimodestudio.com | +669 2252 9961, +668 13760402 www.trimodestudio.com

72


FINALIST

73


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015: Furniture Design

จักรพันธ์ ชรินรัตนา JAKKAPUN CHARINRATTANA golfjc.studio@gmail.com +668 9481 1892 www.golfjc.com Facebook: Golfjc Charinrattana

ปุริม ไกรยา PURIM KRAIYA purim.studio248@gmail.com +668 6029 1292 www.studio248.com Facebook: studio248

74


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015: Product Design

PANA OBJECTS contact@pana-objects.com +668 8499 8090 www.pana-objects.com Facebook: pana.objects

หม่อมหลวงปรเมศ วรวรรณ M.L. PORAMATS VARAVARNA poramats@kiddeedesign.com +668 1857 5262 www.kiddeedesign.com Facebook: Poramats Varavarna

75


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015: Jewelry Design

จิตรกานต์ บรรเทิงไพบูลย์ JITTRAKARN BUNTERNGPIBOON jittrakarn@yahoo.com +668 2796 1841 www.jittrakarn.com Facebook: jittrakarn.jewellery

วินิจ กุศลมโนมัย VINIT KOOSOLMANOMAI lohameka@hotmail.com +668 9493 9750 www.lohameka.com

76


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015: Textile and Fabric Design

นัทธนุช วงศ์พัวพันธ์ NUTTANUCH WONGPUAPAN tuttiwongpuapan@gmail.com +668 1847 0105 www.tuttiandme.com Facebook: tuttiandme

ปรียาภัสสร์ ด้วงทอง PREEYAAPHAT DOUNGTHONG createourlines@hotmail.com +668 9110 8116 Facebook: createourlines

77


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015: Graphic Design

เอกลักษณ์ เพียรพนาเวช EKALUCK PEANPANAWATE ekaluck.typek@gmail.com +668 1818 0367 www.ekaluck.com Facebook: ekaluck.peanpanawate

วรทิตย์ เครือวาณิชกิจ VORATHIT KRUAVANICHKIT vorathit@gmail.com +668 9499 7799 www.farmgroup.co.th Facebook: Tap Kruavanichkit

78


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015: Illustration Design

รักกิจ ควรหาเวช RUKKIT KUANHAWATE rukkit_k@hotmail.com +668 7910 2112 www.rukkit.net Facebook: rukkitworks

สุทธิชาติ ศราภัยวานิช SUTTICHART SARAPAIWANICH sea_cret@hotmail.com +668 1258 8994 www.behance.net/seacret Facebook: suttichart

79


FINALIST | DESIGNER OF THE YEAR AWARDS 2015: Interior Design

วรการ ทิพย์ประภา VARAKAN TIPPRAPA ten@tbt-daf.com +669 0916 6966 www.tbt-daf.com Facebook: tbt-daf

วิชชาธร ประเสริฐสุข WITCHATHORN PRASERTSUK storage_design@yahoo.com +668 4118 6185 www.storage-studio.com

80


FINALIST | EMERGING AWARDS 2015: Furniture Design

กิตติภูมิ ส่งศิริ KITTIPOOM SONGSIRI

นุชจริน หวังพงษ์สวัสดิ์ NUCHARIN WANGPHONGSAWASD

skittipoom@gmail.com | +668 2393 2712 www.behance.net/skittipoom | Facebook: Kittipoom Songsiri

nucharinww@gmail.com | +668 9127 7389 www.nucharinw.com | Facebook: Nucharin Wangphongsawasd

FINALIST | EMERGING AWARDS 2015: Product Design

จิราภา เจียรรุ่งแสง JIRAPA JIANRUNGSANG

j.jirapa457@gmail.com | +668 1868 9942 www.jibjib-design.com | Facebook: Jib Jung

ณัฐพงศ์ สารพูนทรัพย์ NATTAPONG SANPOONSUP

n_sanpoonsup@hotmail.com | +668 5152 1441 Facebook: nik ki 81


FINALIST | EMERGING AWARDS 2015: Jewelry Design

ไพลิน ศิริพานิช PILYNN SIRIPHANICH

pilynn.siri@gmail.com | +669 7079 8198 http://pilynn.weebly.com

ธนิสรา โพธิ์นทีไท TANISARA POENATEETAI

jazztanis@gmail.com | +668 6052 0205 Facebook: Jazz Tanisara

FINALIST | EMERGING AWARDS 2015: Textile and Fabric Design

สุภาวินี จรุงเกียรติกุล SUPAWINEE CHARUNGKIATTIKUL

fon6227@hotmail.com | +668 9445 6742 Facebook: Fon Supawinee Charungkaittikul

อภิสรา พงษ์ชมพร ap.sara@hotmail.com | +666 2565 5926 APISARA PHONGCHOMPORN Facebook: Apisara Yammy 82


FINALIST | EMERGING AWARDS 2015: Graphic Design

มานิตา ส่งเสริม MANITA SONGSERM

manitasong@gmail.com | +668 0150 8282 http://manita-s.tumblr.com | Facebook: Manita Songserm

สุพิชาน โรจน์วณิชย์ SUPICHAN ROJVANICH

odd@hereodd.com | +668 1697 4243 www.hereodd.com | Facebook: Odd Rojvanich

FINALIST | EMERGING AWARDS 2015: Illustration Design

ชัยชาญ อาจวิชัย CHAICHAN ARTWICHAI

tin@mapraw.com | +668 3332 3290 www.tinsart.com | Facebook: Chaichan Artwichai

ณัฐพงศ์ ดาววิจิตร NUTTAPONG DAOVICHITR

nut.daovichitr@gmail.com | +668 4111 0988 http://cargocollective.com/Nutdao | Facebook: Nut Dao 83


FINALIST | EMERGING AWARDS 2015: Interior Design

กิจธเนศ ขจรรัตนเดช kijtanes@me.com, supaaraat@gmail.com | +669 2429 5645, +668 0440 5154 และ ศุภรัตน์ ชินะถาวร www.partyspacedesign.com KIJTANES KAJORNRATTANADECH AND SUPARAT CHINATHAWORN

เจษฎา เตลัมพุสุทธิ์ และ มนัสพงษ์ สงวนวุฒิโรจนา JESSADA TELUMPUSUT AND MANATSPONG SANGUANWUTHIROJANA

84

hypothesis30@gmail.com | +668 1933 6908, +668 1682 6637 Facebook: Hypothesis Design Agency


85


อัตลักษณ์ไทยในงานออกแบบ | THAI DESIGN IDENTITY ศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ | PROFESSOR EAKACHART JONEURAIRATANA ในช่วงระยะเวลา 12 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยได้ฟันฝ่ามรสุมมาอย่างโชกโชนทั้งทางด้านปัญหาสิ่ง แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง แต่มีสิ่งหนึ่งซึ่งปรากฏเห็นอย่างเด่นชัดคือ ภาพลักษณ์ของงานออกแบบ ไทย ได้ฉายแววเปล่งประกายอย่างมีนัยยะส�ำคัญบนเวทีโลกได้อย่างน่าประทับใจ ซึ่งหากพิจารณาลงในราย ละเอียด จะพบเหตุปัจจัยอยู่หลายด้าน In the past 12 years, Thailand has been braving through storms of challenges, from environmental degradation, economic downtrend, social issues, cultural diversities, to political controversies. However, amidst this difficult time, one thing that has been shining bright on the global arenas is the accomplishment of Thai designers, which is the result of many contributing factors.

เสน่ห์ไทย? | THAI CHARMS? ฝีมือ ทักษะ กก ต้นคลุ้ม ใบลาน ความประณีต ละเอียดอ่อนและช่างประดิษฐ์ประดอยนั้น ฝังอยู่ในสายเลือดและจิตวิญญาณของ Reed, ton klum, lan leaves บรรพบุรุษไทยทั้งในแบบพื้นบ้าน และราชส�ำนัก (วัด วัง) มาโดยตลอด งานหัตถกรรม หัตถกรรมพื้นบ้าน ที่แฝงไว้ด้วยชั้นเชิงทางศิลปะ และความคิดสร้างสรรค์ อันหมาย ถึงงานหัตถศิลป์ เช่น จักสาน งานทอ เทคนิคการลงรักปิดทอง ทีม่ ขี อ้ จ�ำกัดในด้านปริมาณการผลิตจ�ำนวนมาก ได้หวนกลับมารับความนิยม ขณะที่กระแสงานอุตสาหกรรมท�ำมือ ที่ก�ำลังได้รับความนิยมอยู่ในหมู่ผู้บริโภคอย่างหลากหลาย ไม่ ว่าจะเป็น เฟอร์นเิ จอร์ แฟชัน่ อาหาร เครือ่ งดืม่ ของแต่งบ้าน มีแนวโน้มทีจ่ ะได้รบั การตอบรับจากกลุม่ ผูบ้ ริโภค ชาวไทย และต่างชาติอย่างต่อเนื่อง กว้างขวาง แนวคิดในการรื้อฟื้น อนุรักษ์ สืบสานต�ำนานงานช่างฝีมือไทยโบราณที่ถูกน�ำมารวบรวมเป็นช่างสิบ หมู่ของไทยในอดีต (ช่างเขียน ช่างแกะ ช่างสลัก ช่างกลึง ช่างหล่อ ช่างปั้น ช่างปูน ช่างรัก ช่างหุ่น ช่างบุ) ที่ เคยสร้างสรรค์อารยธรรมในต�ำนานสยาม เมือ่ ครัง้ ตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 5 นัน้ นับเป็นรากฐานในการเสริมสร้าง ศักยภาพ เศรษฐกิจ และเอกลักษณ์งานออกแบบไทยอย่างยั่งยืนในอนาคต SKILL Thai people have been known to be artists in their blood. The passion for artistry, delicacy, and craftsmanship is rooted deep within their souls, for both folk and royal artisans (whose work includes temples and palaces) Thai folk craft can also be considered a form of art due to its creativity and artful ผักตบชวา ไผ่ หวาย ย่านลิเภา techniques. Many folk crafts like wickerwork, textile weaving, lacquering and gold-gilding work Water hyacinth, bamboo, wicker, lygodium have become popular again despite their limitation to do mass production. Owing to the new-found popularity of industrial handmade products among Thai and international consumers, from furniture, fashion, food and drinks, decorative items, to home accessories, the light of reviving Thai traditional craftsmanship has been rekindled. The ten traditional arts (painting, carving, etching, lathing, casting, sculpturing, plastering, lacquering, model-making, lining) have long been the foundation of the Siamese civilization. During the reign of King Rama V, Thai art was a very important economic drive. And it has been shaping the characteristics of Thai design for the longest time and will continue onto the future. งานลงรักปิดทอง สิ่งทอ Lacquered and gold-gilded work, textile weaving

86


วัสดุ เส้นใยจากธรรมชาติได้ก้าวขึ้นมามีบทบาทส�ำคัญในสถานการณ์ปัจจุบัน ทดแทนเส้นใยสังเคราะห์ หรือเส้นใยแก้วทีต่ อ้ งผ่านกระบวนการ ขัน้ ตอนในการผลิตทีส่ นิ้ เปลืองพลังงาน และปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อันมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ขณะที่เส้นใยธรรมชาติสามารถย่อยสลายหรือน�ำกลับมาใช้ใหม่ ให้ความรู้สึก อบอุ่นคุ้นเคยและเป็นกันเอง ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆดังกล่าว เช่น หนัง ดินเผา วัสดุสิ่งทอ จักสาน ไม้ ยาง โลหะ กระดาษ สุนทรียภาพ Picturesque เป็นลักษณะความงามทีค่ นุ้ ตาในแบบไทยๆ สอดรับไปกับระเบียบภูมทิ ศั น์ทางธรรมชาติ และบริบททางสภาพแวดล้อม ผัสสะแห่งความงามรับรูไ้ ด้จากอายตนะภายในตัวตน โดยทีโ่ สต จักษุ ผ่านเข้าถึงซึง่ รสนิยม อารมณ์ ความรู้สึกของผู้คนได้ประณีตกว่า จมูก ลิ้น กาย ที่ต้องอาศัยกลิ่น รส สัมผัสในการซึมซับ รสนิยมเป็นเรือ่ งความชอบส่วนบุคคล บ่งบอกถึงความแตกต่าง สร้างเอกลักษณ์ความเป็นตัวตนของ ช่างสิบหมู่ (ช่างกลึง ช่างแกะ ช่างเขียน ช่างบุ ช่างปั้น ช่างปูน ช่างรัก ช่าง แต่ละคน ขยายขอบเขตของจินตนาการ และความรู้สู่พรมแดนแห่งสุนทรียภาพได้อย่างมีอรรถรส หล่อ ช่างสลัก ช่างหุ่น) ท่ามกลางการสังเกต เรียนรู้ คลุกคลีอยู่กับสภาพแวดล้อมธรรมชาติ ผสานกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว Ten traditional arts (painting, carving, etching, lathing, casting, กั บ การด� ำ เนิ นชีวิตแบบเรียบง่าย สมถะ สมดุล สร้างสายสัมพันธ์อันดีต่อศิลปวัฒนธรรมประเพณี นับเป็นการ sculpturing, plastering, lacquering, model-making, lining) เข้าถึงซึ่งจิตวิญญาณแห่งความงามในการสร้างสรรค์รสนิยมลงบนงานศิลปะ และงานออกแบบในอีกมิติหนึ่ง MATERIAL Natural fabric now plays a crucial role nowadays as a replacement of artificial fabric and fiber glass fabric whose production not only consumes a huge amount of energy, but also leaves a large carbondioxide footprint. On the other hand, natural fabric is biodegradable. It can be recycled. It gives a warm and intimate feeling. Natural materials widely used are leather, terracotta, natural fabric, wicker, wood, rubber, metal, and paper. AESTHETICS Picturesque quality in Thai art is about exquisiteness that coincides with natural landscape and circumstantial context. Aesthetic beauty can be perceived by senses. Eyes and ears are the two most distinctive senses while nose, tongue and other physical sensations are more subtle, requiring taste and touch to appreciate the beauty. Taste is subjective to each individual. It creates differentiation and expands the beholder’s imagination for tasteful aesthetic appreciation. Learning to live with nature, leading a simple and balanced life, keeping keen observation and learning mind, and appreciating arts and culture; these are the ways to get in touch with the soul of art, as well as elevating taste level for art and design appreciation.

ความเป็นเนื้อแท้ของวัสดุนั้นๆ บ่งบอกถึงสัจจนิยมแห่งผลิตภัณฑ์ The material’s essentialism is the indicator of the product’s realism กระดาษ ดินเผา ไม้ ยาง โลหะ หนัง Paper, terracotta, wood, rubber, metal, leather

87


ขณะทีค่ วามงามและสุนทรียภาพในต้นศตวรรษที่ 21 ได้เริม่ ผสมกลมกลืนไปกับความเนิบช้าของวิถี การด�ำเนินชีวติ อันละเมียดละไมในแบบอย่างชนบท การหวนกลับคืนสูธ่ รรมชาติ ร�ำลึกถึงประสบการณ์ในอดีต และใช้ชวี ติ ตามหลักปรัชญาขัน้ พืน้ ฐานตามหลักพุทธศาสนาทีส่ อนให้ลด ละ เลิก ปล่อยวาง อยูก่ บั ปัจจุบนั ขณะ แฝงไว้ด้วยเนื้อหาสาระ และรายละเอียดในวิถีชีวิตแบบสโลว์ไลฟ์: SLOW LIFE (S-Sustainable, L-Local, O-Organic, W-Wholesome, L-Learning, I-Inspiring, F-Fun, E-Experience) ไปพร้อมๆ กับ 4E (Eat, Exercise, Emotion, Environment) อย่างมีคุณภาพ เอกลักษณ์วัฒนธรรม รากเหง้าทางวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาไทยทีส่ งั่ สมบ่มเพาะมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน เป็นร่องรอย มรดกตกทอดถึงลูกหลานปัจจุบัน ได้รับการอนุรักษ์ สืบทอด สืบสาน และสร้างสรรค์ อย่างมีขั้นตอน และเป็น ระเบียบแบบแผน นับเป็นมรดกที่บ่งบอกเอกลักษณ์ที่สมควรแก่การจดจ�ำบนเวทีระดับนานาชาติ ความเป็นพืน้ บ้านในงานศิลปหัตถกรรมไทย สะท้อนได้ถงึ บุคลิกภาพในความอ่อนน้อมถ่อมตน ความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และความมีน�้ำใจของคนไทย การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม DNA (deoxyribonucleic) ของวัฒนธรรมไทยที่สืบทอดมา อย่างต่อเนื่องยาวนาน ล้วนแทรกอยู่ในความรู้สึกนึกคิดและจิตวิญญาณความเป็นคนไทยมาโดยตลอด การน�ำเอกลักษณ์ของภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ วิถชี วี ติ ชุมชน ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมมาเพิ่มมูลค่าลงในงานออกแบบ ที่ตอบสนองรูปแบบความต้องการ ประโยชน์ใช้สอยของวิถีชีวิตผู้คน ในบริบทสังคมปัจจุบัน โดยผสมผสานเทคโนโลยี และนวัตกรรมการผลิต เท่ากับเป็นการสร้างศักยภาพ คนไทยกับวิถีการด�ำเนินชีวิต Thai people and thai lifestyle อัตลักษณ์ไทยได้อย่างโดดเด่น ขณะทีก่ ระแสบริโภควัฒนธรรมยังคงอบอวลอยูใ่ นสังคมโลกาภิวตั น์ การสร้างสัญญะทางวัฒนธรรม ในผลผลิต นับเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับการแข่งขันบนเวทีเศรษฐกิจโลก People in the 21st century have started to embrace the slower and mellower lifestyle of the country life by resorting to living with nature, reminiscing the old days, and adopting the Buddhist philosophy of living with the present, and letting go. This philosophy is the fundamental basis for a SLOW LIFE (S-Sustainable, L-Local, O-Organic, W-Wholesome, L-Learning, I-Inspiring, F-Fun, E-Experience) and 4E lifestyle (Eat, Exercise, Emotion, Environment). CULTURAL IDENTITY The long root of Thai culture and wisdom is precious heritage that has been preserved, cherished and transferred through ages and times. Such rich legacy is truly worth worldwide recognition. Meanwhile, folksy quality in Thai crafts is the reflection of the Thai characteristics – humility, generosity, and kindness. Cultural inheritance that has been passed on in the DNA is deeply cultivated in the heart and soul of Thai people. By incorporating folk wisdoms, community life knowledge, art and culture, and the use of natural materials, with technology and manufacturing innovations, one can add value to his designs and make them fulfill the needs of the people in the present day. It will also help expanding the potential and competitiveness of the Thai design. With the trend of culture appreciation in full swing at the moment, cultural uniqueness can be a very important differentiating point in the competitive global market.

อาหารการกิน วิถีชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม Food, community lifestyle, folk wisdoms, traditions, art and culture

88


เครื่องมือดักจับสัตว์น�้ำ Fishery tools

เครื่องมือกสิกรรม Agricultural tools

บ้านเรือนไทย เรือนแพ Thai style houses and boathouses

องค์ประกอบบ้านเรือนไทย Components of a Thai style house

ความคิดสร้างสรรค์ ตัง้ แต่สมัยอดีตกาล ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยมักจะผูกติดอยูก่ บั การเรียนรู้ สัมผัส เข้าใจ ความเป็นไปในธรรมชาติอย่างลึกซึง้ แล้วจึงค่อยๆ พัฒนาเป็นองค์ความรู้ และภูมปิ ญ ั ญาโดยน�ำมาปรับปรุง ใช้ในวิถีการด�ำเนินชีวิตที่เรียบง่าย สอดคล้องไปกับสภาพแวดล้อม มักเป็นแนวความคิดสร้างสรรค์แบบ ยั่งยืน เช่น การใช้วสั ดุทหี่ าได้จากธรรมชาติ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกลมกลืน และไม่ขดั แย้งกับวิถี ได้แก่ เครื่องมือกสิกรรม เครื่องดักจับสัตว์น�้ำ การสร้างบ้านปรุงเรือน เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีการเรียนรูถ้ งึ ข้อจ�ำกัดของภัยธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่เอือ้ อ�ำนวย โดย น�ำมาแก้ปญ ั หาตามสัญชาตญาณการเรียนรู้ สร้างภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน ตัวอย่าง เช่น การยกใต้ถุนบ้านสูงเพื่อหนีฤดูน�้ำหลาก การต่อเรือนแพอยู่อาศัยในแม่น�้ำ ล�ำคลอง ฯลฯ ซึ่งนับเป็น มูลเหตุของการสร้างสรรค์ผลงานอันชาญฉลาด ขณะที่เส้นแบ่งขอบเขตระหว่างศิลปะ หัตถกรรม และงานออกแบบที่ไม่จ�ำกัดขอบเขต ส่ง ผลผลิตต่องานดีไซน์ที่อาจมีคุณสมบัติร่วมอยู่ในทั้ง 3 สถานะ นับเป็นการเปิดพรมแดนทัศนคติ มุมมอง และพฤติกรรมต่อผู้บริโภคในสังคมปัจจุบัน นวัตกรรม นวัตกรรมการสร้างสรรค์งานออกแบบไทยในอดีต เกิดขึน้ จากการเฝ้าสังเกต เรียนรู้ ปรับปรุง แก้ไขให้เหมาะสมสอดคล้องกับวิถีการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ผสานฝีมือ ทักษะ ความประณีต และความ เข้าใจในแก่นแท้ของธรรมชาติวัสดุ สินค้าทีผ่ ลิตจ�ำนวนมากจากโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทีเ่ คยเบ่งบาน มัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ มหภาคตลอดมาในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 จ�ำเป็นต้องทยอยลดจ�ำนวนการผลิตลงด้วยความ ซ�้ำซาก จ�ำเจของปริมาณ และเกินความต้องการของผู้บริโภคปัจจุบัน โดยผันตัวไปสู่กระบวนการผลิตใน รูปแบบอุตสาหกรรมเชิงวัฒนธรรม ขณะเดียวกันอีกภาคส่วนหนึง่ ได้ยอ้ นกลับคืนสูอ่ งค์ความรู้ ภูมปิ ญ ั ญา ทักษะ และฝีมือเชิงช่างที่สั่งสมมาตั้งแต่สมัยปู่ ย่า ตา ทวดในงานหัตถกรรม ซึ่งได้ก้าวขึ้นมามีบทบาท โดยผสานพัฒนาการจากนวัตกรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่งผลให้งานศิลปหัตถกรรมก้าวสู่แนวทาง การสร้างสรรค์งานออกแบบเฉพาะกลุ่มความต้องการตลาด ที่สนองตอบรสนิยมความเป็นปัจเจกบุคคล งานนวัตหัตถศิลป์ อีกหนึ่งแนวทางการพัฒนา อันมีรากเหง้าศิลปหัตถกรรมเป็นพื้นฐาน และ ความเป็นช่างฝีมือในการออกแบบสร้างสรรค์กับสุนทรียภาพในงานศิลปะ ที่ผลิตจ�ำนวนจ�ำกัด อย่างมี ประสิทธิภาพ สอดประสานไปกับงานนวัตศิลป์ CREATIVITY Since the old days, the creative process of Thai people is very much related to their deep understanding of nature, which develops into knowledge and wisdom used in their simple yet environmental-friendly lifestyle. Some examples of this sustainable creativity are agricultural and fishery tools and house building, which are the combination of natural materials and technical knowledge that does not conflict with the Thai way of life. Meanwhile, limitations induced by natural adversities and unfavorable environmental context contribute to the discovery of solutions to tackle difficulties in everyday life. For instance, raising up the house to avoid flood in rainy season and living on boathouses in rivers and canals. Arts, crafts, and imaginative designs play an important role in opening up the consumer’s attitude, perspective, and behavior. INNOVATION In the past, Thai crafters created their work from observation, learning, and adjusting their designs to be in line with everyday lives, while also incorporating skills, attention to details, and understanding of materials into the work. Mass production industry that had been a very powerful player in the world’s economy all through 19th to 20th century was forced to decrease production due to repetitious designs and oversupply. The trend has therefore been shifted to cultural industry. 89


Local knowledge and craftsmanship passed on from generations of skillful handicraft artists have become more and more in demand. Combined with modern technology and updated designs, cultural and handicraft products are now produced and marketed to a niche group of consumers who seek individuality. Innovative art and craft is the result from the progress based on art and craft, with skillful craftsmanship, creative design and aesthetic art form. This type of innovative craft is produced in limited quantity. แนวโน้ม บนโลกออนไลน์ ไร้พรมแดน และความเป็นกระแสในสังคมปัจจุบนั ที่หลอมรวมอารยธรรมใหญ่ กลืนกินวัฒนธรรมย่อยอันหลากหลายไว้ด้วยกัน การสร้างอัตลักษณ์ที่แตกต่างบนรากเหง้าของแต่ละชนชาติ จึงมีความส�ำคัญ อย่างมากในการก้าวย่าง สร้างจุดยืนอย่างมัน่ คงเข้มแข็งขึน้ ในอนาคต และเมือ่ เหลียวมองไปยังประเทศผูน้ ำ� ด้านต่างๆจะพบว่า จีนได้ผงาดขึน้ เป็นผูน้ ำ� ทางด้าน ฐานปริมาณการผลิตจ�ำนวนมากของโลก ญี่ปุ่นยังคงรั้งต�ำแหน่งผู้น�ำทางด้าน นวัตกรรมในภูมิภาคเอเซีย สหรัฐอเมริกายังคงพัฒนาความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีขนั้ สูงอยูต่ ลอดเวลา ขณะทีป่ ระเทศในแถบยุโรปส่วนใหญ่ยงั คงรักษา ไว้ซงึ่ ความเป็นผูน้ ำ� ด้านสไตล์การออกแบบ และความเป็นแบรนด์ทเี่ ข้มแข็ง เช่น อิตาลี เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์และอีกหลายประเทศในแถบ สแกนดิเนเวีย แนวทางของผลผลิตทางการออกแบบที่นอกเหนือจากตอบสนอง ความต้องการด้านประโยชน์ใช้สอย ความงาม อารมณ์ และรูปแบบวิถีการ ด�ำเนินชีวติ ทีห่ ลากหลายในสังคมแต่ละยุคสมัยแล้วนัน้ ยังจ�ำเป็นจะต้องส่งเสริม การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สร้างจิตส�ำนึกทีด่ ี เปิดมิตมิ มุ มองใหม่ ให้ความ รู้ ปลูกฝังทัศนคติเชิงบวก ดูแลรักษาระบบนิเวศ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ฯลฯ พร้อมๆ กับยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสังคมให้ดียิ่งขึ้นด้วย เช่นกัน ไทย ในฐานะประเทศทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ พรัง่ พร้อมไปด้วยแหล่งทุนต่างๆ เช่น ทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ประวัติศาสตร์) ทุนทางด้าน ศิลปวัฒนธรรม (ศิลปกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาษา วรรณกรรม นาฏศิลป์ ดนตรี) ทุนทางภูมิปัญญาชาวบ้านและราชส�ำนัก (เกษตรกรรม หัตถกรรม สมุนไพร แพทย์แผนไทย และหัตถศิลป์) ทุนทางวิถี ชุมชน และสังคม (ค่านิยม ความเชือ่ ประเพณี วิธกี ารด�ำเนินชีวติ และศาสนา) รวมถึงองค์ประกอบด้าน ฝีมือ แรงงาน และความหลากหลายทางชีวภาพใน แต่ละภูมิภาค บทบาทของงานออกแบบไทยในเวทีโลก? หากแรงบันดาลใจทีไ่ ด้รบั เป็นมรดกตกทอดจากภูมปิ ญ ั ญาบรรพบุรษุ ผสมผสานฝีมือ ทักษะ ความประณีต เติมจิตวิญญาณความเป็นไทยลงในเนื้อ วัสดุ ถ่ายทอดสุนทรียภาพความงาม ผ่านเอกลักษณ์วฒ ั นธรรม สูก่ ระบวนการ สร้างสรรค์ แต่งแต้มด้วยนวัตกรรมอันบ่งบอกถึงภาษาของงานออกแบบร่วม สมัย บูรณาการลงในงานศิลปหัตถกรรมไทย ในอุตสาหกรรมการผลิตเชิง วัฒนธรรม นับเป็นอีกหนึง่ มิตขิ องการพัฒนาผลงานออกแบบไทยในสาขาต่างๆ ให้ มีมลู ค่า และคุณค่าทางจิตใจ เพือ่ เดินอยูบ่ นถนนสายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หมายถึง อุตสาหกรรมเชิงวัฒนธรรม: มรดกทางวัฒนธรรม ศิลปะ สือ่ ประโยชน์ใช้สอย ได้อย่างมัน่ คง มีอตั ลักษณ์ และภาคภูมใิ จ ควบคูไ่ ปพร้อมๆ กับปรัชญาแนวคิด 90

นวัตศิลป์ Innovative craft

นวัตศิลป์ Innovative craft


เศรษฐกิจพอเพียง อันมีนัยยะถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีระบบ ภูมิคุ้มกัน ที่ทรงพระราชทานสู่ปวงชนชาวไทยจากในหลวง

นวัตหัตถศิลป์ Innovative Art & Craft

TREND In today’s world where online border is non-existent and small sub-cultures are being dominated by bigger civilizations, ethnic and cultural uniqueness has become very crucial in stipulating a strong standpoint for the future. China has risen to be the leader in mass production. Japan still maintains its number one status in innovation in Asia. United States never stops to develop its advanced technology. European nations like Italy, Germany, England, France, Netherlands, and Scandinavian countries all strive to hold on to their leading positions in design and branding. A good design should not only meet the user’s requirements in terms of function, beauty, emotion, and different lifestyles, it needs to be environmental friendly, encouraging for good conscience and positive attitude, educational, and improving quality of life of people in the society. Thailand is blessed with resources, from natural resources to historical, art and culture (fine arts, painting, sculpture, architecture, language, literature, classical dance, and music), local and royal knowledge (agriculture, handicraft, herb, folk medicine, and handicraft), local lifestyle, social codes (social values, core values, tradition, lifestyle, and religion) to human resources of skillful craftsmen with special regional expertise. THE ROLE OF THAI DESIGN ON AN INTERNATIONAL PLATFORM Thai design is inspired by knowledge heritage, skill, mastery, refinement, with a touch of Thai in the materials to create aesthetic beauty through cultural identity, creativity and innovation. And that is the essence of contemporary and integrated Thai design. Cultural industry is the answer of design development to increase market price and add more emotional value to the product. Cultural heritage, art, media, and functional creation will seamlessly combine to create a real and sustainable growth in the Thai design industry, as a part of His Majesty The King’s philosophy of sufficient economy.

อ้างอิง ฝีมือทักษะ Skill: http://thailand.prd.go.th, http://www.thaisilk.cddkorat.com, http://www.trueplookpanya.com, http://banbangpueng.thailandmall.net, http:// kanchanapisek.or.th, http://frynn.com, http://kanchanapisek.or.th, http://www.changsipmu.com, http://www.finearts.go.th, http://www.theauroragems.com วัสดุ Material: http://hamasarun.weebly.com, http://www.sacict.net, http://www.tcdcconnect.com สุนทรียภาพ Aesthetics: http://photoontour.com, http://www.photoontour9.com, http://www.painaidii.com, http://social-agenda.org เอกลักษณ์วัฒนธรรม Cultural Identity: http://www.ipesp.ac.th, http://thai.tourismthailand.org, http://www.sac.or.th, http://www.aksorn.com, http://www.bangkoktourist.com, http://www.laksanathai.com ความคิดสร้างสรรค์ Creativity: http://www.esanguide.com, http://itec.vru.ac.th, http://app1.bedo.or.th, http://www.laksanathai.com, http://www.designboom.com , http://www.wikiwand.com นวัตกรรม Innovation: http://www.dyawards.com

91


DESIGNER OF THE YEAR 2004 - 2013

92


Grand Prizes Award 2004

Grand Prizes Award 2004

สุวรรณ คงขุนเทียน Suwan Kongkhunthian

yothaka@cscoms.com +668 1814 7048

ชเล วุทธานันท์ | จรัมชัย สิงคาลวณิช Chle Wood-Thanan | Jrumchai Singalavanij

อุดม อุดมศรีอนันต์ Udom Udomsrianan

pe@planet2001design.com +668 1826 4742

พรพิไล มีมาลัย Pornpilai Meemalai

คณิต เสตะรุจิ Kanit setaruchi

ofscale@gmail.com +668 1833 1479

Excellent Award 2004

ม.ล. ภาวินี สันติศิริ (สุขสวัสดิ์) M.L.Pawinee Santisiri (Sukhasvasti)

santisirip@yahoo.com +668 9831 1970

จิตริน จินตปรีชา Jitrin Jintaprecha

ยุทธนา บ�ำรุงกิจ Yuthana Bumrungkit

+668 5366 5085

นัษฐพงษ์ เจริญกิติวรากร Nattapong Charoenkitivarakorn

ชนะชัย ส่งวัฒนา Chanachai Songwattana

admin@ar3.co.th +668 0222 7788

สมชาย ธนพลเกียรติ Somchai Thanapolkiat

อนุรักษ์ สุชาติ Anurak Suchart

b@aeathetic-studio.com +668 1817 8942

วรรธนพจน์ บุญกว้างอนันต์ Watanapoj Boongvang-anan

ศศิวรรณ ด�ำรงศิริ Sasiwan Dumrongsiri

chabatik@hotmail.com +662 1294 5301

ชัยยุทธ พลายเพ็ชร์ Chaiyut Plypetch

www.pasaya.com +662 4400 954, +662 2581 940

jidaj@hotmail.com +668 1587 5715

contact@jitrin.com +668 1742 6194

www.yothaka.com

www.propagandaonline.com

93


Excellent Award 2004

Excellent Award 2004

จิรพรรณ กิตติศศิกุลธร Jirapan Kittisasikhunthorn

ableinter@yahoo.com +668 1612 1465

ระพี ลีละสิริ Rapee Leelasiri

sales@rapeeleela.com +668 9891 6616

ประพนธ์ โกสินทร์พาณิชย์ Prapon Gosinpanit

Facebook: prapon.gosinpanit

ดร.อภิญญา บุญประกอบ Apinya Boonprakob

oopinya@msn.com +668 1860 4953

เศรษฐวัฒน์ หาญศิริวัฒนา Sedtawat Harnsiriwattana

Facebook: sedtawat

วินิตา คงประดิษฐ์ Winita Kongpradit

winita@yahoo.com +668 1 343 7824

ศุภพงศ์ สอนสังข์ Suppapong Sonsang

contactredbox@yahoo.com +6608 1493 3710

วรางคณา โตวิวัฒน์ Warangkana Toewiwat

pawana@pawana-design.com

ไพเวช วังบอน Paiwate Wangbon

paiwate@hotmail.com +668 1423 5376

ชัย เจียมอมรรัตน์ Chai Jeamamornrat

Facebook: chai.jeamamornrat

ภัทรอร ณ ระนอง Patraorn Na Ranong

+668 9742 5213

จิตต์สิงห์ สมบุญ Jitsing Somboon

jitsing1962@yahoo.com +668 1870 3503

ศุภพงศ์ สอนสังข์ Suppapong Sonsang

contactredbox@yahoo.com +668 1493 3710

ดร.สุภาวี ศิรินคราภรณ์ Dr.Supavee Sirin-k-raporn

pearvee@yahoo.com +668 9742 5213

เพลินจันทร์ พรสุรัตน์ (วิญญรัตน์) mook@beyond-living.com Ploenchan Phornsurat +668 1875 9899

94

Best Designer of the Year Award 2005


Designer of the Year Award 2005

Designer of the Year Award 2005

สมชาย จงแสง Somchai Jongsaeng

admin@decor-atelier.com +662 279 9285-6

นาถวัฒน์ ธัมพิพิธ Narttawat Thampipat

marketing@vision-nex.com +668 1890 6272

ขวัญชัย ผลชีวิน Kwanchai Phalajivin

+662 719 6815-20

กรกต อารมย์ดี Korakot Aromdee

kappa76110@yahoo.com +668 9698 7963

ภาณรินทร์ มนุญากร Panarin Manuyakorn

panarin@gimdesign.com +668 1856 8622

สมภพ ฉิมม่วง Sompop Chimmung

info@merrylifestyle.com +668 7002 7758

กรกช คุณาลังการ Korakoth Kunalungkarn

korakoth@ia103.com +662 260 0160-7

จุมพล อุทโยภาศ Chumpon Utayophat

sudruke@yahoo.com +668 1590 9808

เอกรัตน์ วงษ์จริต Eggarat Wongcharit

customerservice@crafactor.com

เอกพงศ์ โกษาพงศ์ Ekapong Kosapong

kasapong@yahoo.com +668 1853 4055

จิตริน จินตปรีชา Jitrin Jintaprecha

contact@jitrin.com +668 1742 6194

จารุพัชร อาชวะสมิต Jarupatara Archawasmith

jarupatcha@yahoo.com +668 1649 1996

อัจนา ลีลาวิวัฒน์ Adjana Leelaviwat

adjana@tnc-trading.com +668 1816 6905

กฤษณ์ เย็นสุดใจ Kris Yensudjai

kris_yen@hotmail.com +668 1811 5934

พฤฒิพงษ์ กิจกัญจนาสน์ Prutipong Kijkanjanas

design@estonesteel.com +668 1804 7774

เอกชัย พันธ์อารีวัฒนา Eakachai Panareewattana

pophotharam@yahoo.com +668 6570 0074

95


Designer of the Year Award 2005

Best Designer of the Year Award 2007

ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์ Taweesak Molsawat

tmolsawat@hotmail.com +668 4879 0242

ปภพ ว่องพาณิชย์ Paphop Wongpanich

tripletype@yahoo.com +668 3544 4048

เอมไอ ลีลาศ Aem-Ai Leelas

anunta@tcdc.co.th +668 4111 7532

เมธชนัน สวนศิลป์พงศ์ Metchanun Suensilpong

mark@kenkoon.com +668 9205 9968

อานนท์ ไพโรจน์ Anon Pairot

anon_pirot@hotmail.com +662 526 2839

อานนท์ ไพโรจน์ Anon Pairot

anon_pirot@hotmail.com +662 526 2839

Honor Award 2007

M.L. Pawinee Santisiri (Sukhasvasti) ม.ล. ภาวินี สันติศิริ (สุขสวัสดิ์)

santisirip@yahoo.com +668 9831 1970

เสาวนีย์ บันสิทธิ์ Sauwanee Bannasit

sale@baanraipaigarm.com

Trimode

contact@trimodestudio.com

สมชาย แก้วทอง Somchai Kaewthong

+662 251 0728

กรกต อารมย์ดี Korakot Aromdee

kappa76110@yahoo.com +668 9698 7963

เนื่อง แฝงสีค�ำ Nuang Fangsrikhum

+6632 428 538

มกร เชาวน์วาณิชย์ Makorn Chaovanich

design@studiocerbrum.com

Eggarat Wongcharit เอกรัตน์ วงษ์จริต

customerservice@crafactor.com

สมลักษณ์ ปันติบุญ Somluk pantiboon

doydindg@loxinfo.co.th +668 196 06681

96


Best Designer of the Year Award 2007

Emerging Award 2007

ประพัทธ์ จิวะรังสรรค์ Prapat Jiwarangsan

o-d-a

odaemail@gmail.com +668 1712 9998

วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ wasinburee@hotmail.com Wasinburee Supanichvoraparch +668 1880 3600

สิงห์ อินทรชูโต Singh Intrachooto

singhman@gmail.com +668 9892 2283

วิทวัน จันทร Vitawan Chanthorn

oaddao@yahoo.com +668 9799 7525

ณัฐรบูร ไตรณัฐี Nattaboon Trinathy

nattaboon@yahoo.com +668 1430 9000

บริษัท บ้านช่างทอง จ�ำกัด Bann Chang Thong

wwdzygn@yahoo.com +668 1494 9853

สุภาพร อรรถโกมล Supaporn Attakomon

bigy_pao@hotmail.com +668 6799 2738

leonews22@hotmail.com +668 6988 7713

พิรดา เสนีวงศ์ ณ อยุธยา contact@trimodestudio.com Pirada Senivongse na Ayudhya

สุพจน์ สุวรรณสิงห์ | ปิยวรรณ นอกเมือง Supot Suwannasing | Piyawan Norkmuang

กุลธิรัตน์ มีสายญาติ Kultirat Meesaiyati

gavangthailand@gmail.com

ฝนทิพย์ ตั้งวิริยะเมธ Phonthip Tangviriyameth

นจปรากรณ์ ตันสกุล Nojprakorn Tanskun

yam_design@cox.net +662 877 9383

วิพร ฐิติวงศ์ Viporn Thitivongse

vip.atdesign@gmail.com +668 1496 7878

saprangshoop@yahoo.com +668 1905 6681

araicraft@hotmail.com +668 1620 3809

97


Designer of the Year Award 2008

Honor Award 2008

สุวรรณ คงขุนเทียน Suwan Kongkhunthian

yothaka@cscoms.com +668 1814 7048

ประพัทธ์ จิวะรังสรรค์ Prapat Jiwarangsan

leonews22@hotmail.com +668 6988 7713

สาธิต กาลวันตวานิช Satit Kalawantavanich

pui@pheno.com +668 6770 2766

Trimode

contact@trimodestudio.com

พรพิไล มีมาลัย Pornpilai Meemalai

jidaj@hotmail.com +668 1587 5715

เกศกาญจน์ อาศิรรัตน์ Keskarn Arsirarat

keskarna@yahoo.com +668 9969 2515

ชเล วุทธานันท์ Schle Woodthanan

info@pasaya.com +662 440 0955

ทศพล วชิราดิศัย Tosapol Wachiradisai

todesire@live.com +668 9223 9165

อริสรา แดงประไพ Arisra Daengprapai

d_matoom@yahoo.com +668 9890 8382

Designer of the Year Award 2008

o-d-a

odaemail@gmail.com +668 1712 9998

วิชัย ไลลาวิทมงคล Wichai Lailawitmongkhol

siamcurio.com +668 5249 5514

Trimode

contact@trimodestudio.com

ระพี ลีละสิริ Rapee Leelasiri

sales@rapeeleela.com +668 9891 6616

Korakot Aromdee กรกต อารมย์ดี

kappa76110@yahoo.com +668 9698 7963

98


Emerging Award 2008

Honor Award 2009

ชินพิชญ์ กุสุมวิจิตร Shinpith Kusumwichit

minimarts@hotmail.com +668 5130 6817

พฤฒิพงษ์ กิจกัญจนาสน์ Prutipong Kijkanjanas

Email tel

: design@estonesteel.com : 081-804-77748

ชวกร จิระพิริยะเลิศ Chavakorn Jirapiriyalert

whoohmee@hotmail.com +668 1306 3024

เสริมศักดิ์ นาคบัว Prof. Em. Sermsak Narkbua

Email tel

: sn-narkbua@hotmail.com : 081-936-1085

นพชัย ภู่จิรเกษม Nopchai Phujirakasem

info@lookyangdesign.com +668 3932 7774

ทินนาถ นิสาลักษณ์ Tinnard Nisaluk

tinnart@jimthompson.com +668 9223 3310

วิริยะ วัฑฒนายน Wiriya Wattanayon

wiriyaw@scg.co.th +668 1599 2805

Designer of the Year Award 2009

กฤษณ์ พุฒพิมพ์ Krit Phutpim

kritdesign@hotmail.com +668 4113 4512

จิตริน จินตปรีชา Jitrin Jintaprecha

contact@jitrin.com +668 1742 6194

Yenn Design

yenndesign@yahoo.com +668 9137 6526

อภิรัฐ บุญเรืองถาวร Apirat Boonruangthaworn

contact@apiratbooruangthaworn.com

ศรัณย์ อยู่คงดี Saran Youkongdee

studioek@hotmail.com +668 1644 9702

ศรัณย์ อยู่คงดี Saran Youkongdee

studioek@hotmail.com +668 1644 9702

ชวกร จิระพิริยะเลิศ Chavakorn Jirapiriyalert

whoohmee@hotmail.com +668 1306 3024

เมธชนัน สวนศิลป์พงศ์ Metchanun Suensilpong

mark@kenkoon.com +668 9205 9968

99


Designer of the Year Award 2009

Emerging Award 2009

นุตร์ อารยะวานิชย์ Nutre Arayavanich

mail@nutrejeweller.com +668 3242 1110

จิตรกานต์ บรรเทิงไพบูลย์ Jittrakarn Bunterngpaiboon

jip833@yahoo.com +668 9680 0700

ฐิติพร ฌานวังศะ Thitipon Chanwangsa

t-chanawangsa@hotmail.com

จุฑามาศ คูณตระกูล Juthamas Koontragul

nesahero1@hotmail.com +668 9969 2515

จักกาย ศิริบุตร Jakkai Siributr

jakkaisiributr@yahoo.com +668 1441 7770

Honor Award 2011

อุดม อุดมศรีอนันต์ Udom Udomsrianan

Emerging Award 2009

pe@planet2001design.com +668 1826 4742

การันต์ โรจน์กาญจนรักษ์ Garan Rojkarnjanarak

garan_idj@yahoo.com +668 1722 6815

Designer of the Year Award 2011

พิษณุ น�ำศิริโยธิน Phisanu Numsiriyothin

potterwoodworker@yahoo.com

o-d-a

มารวย ดุษฎีสุนทรสกุล Maruay Dusdisunthornskul

maruaydesign@gmail.com +668 6890 2882

ธีรชัย ศุภเมธีกูลวัฒน์ design@qualydesign.com Teerachai Suppametheekulwat +668 9791 7882

นครินทร์ ค�ำสีลา Nakarin Kamseela

mo_re66@hotmail.com +668 1362 8400

ระพี ลีละสิริ Rapee Leelasiri

100

odaemail@gmail.com +668 1712 9998

sales@rapeeleela.com +668 9891 6616


Emerging Award 2011

Designer of the Year Award 2013

ไชโย โอภาสสมุทรชัย Chaiyo Opassamutchai

Chaiyoyochai@gmail.com +668 6906 8988

ฝนทิพย์ ตั้งวิริยะเมธ Fonthip Tangviriyamate

info@fonthip.com +668 1620 3809

การันต์ โรจน์กาญจนรักษ์ Garan Rojkarnjanarak

garan_idj@yahoo.com +668 1722 6815

ธีรนพ หวังศิลปคุณ Tnop Wangsillapakun

tnop@tnop.com +668 4159 5224

ณัฐพร อังวราวงศ์ Nattaporn Angwarawong

n_anagwara@hotmail.com +668 7024 0564

Emerging Award 2013

Honor Award 2013

จักรพันธ์ ชรินรัตนา Jakkapun Charinrattana

golf.studio248@gmail.com +668 9481 1892

มานพ ศรีสมพร Manop Seisomporn

ชาญฉลาด กาญจนวงศ์ Chanchalad Kanjanawong

+66 8 6891 4171 www.grey-ray.com

Designer of the Year Award 2013

ปัญจพล กุลปภังกร Panjapol Kulpapangkorn

panjaime@hotmail.com +668 0920 2224

รุ้งพลอย ล้อไพฑูรย์ Rungploy Lorpaitoon

rungploy@gmail.com +668 6031 3561, +668 7092 6594

ศิริน กันคล้อย Sirin Gunkloy

hello.sirin@gmail.com +668 4642 8349

เดชา อรรจนานันท์ | พลอยพรรณ ธีรชัย Decha Archjananun | Ploypan Theerachai

ฐิติรัตน์ คัชมาตย์ Tithirat Kutchamuch

thinkkstudio@yahoo.com +662 671 9313

info@tithi.info +668 5946 5669

101


102


103


w w w .a49.com




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.