UBIS: Annual Report 2018 TH

Page 1


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ภาพรวมการดําเนินธุรกิจ ภาพรวมของธุรกิจอาหารกระป๋องส่งออกของ ประเทศไทยในปี 2561 เติบ โตขึนร้อ ยละ 1.3 ในแง่ ปริม าณเมือเทีย บกับ ปี 2560 สร้า งเม็ด เงิน ถึง 1.07 แสนล้านบาทกลับเข้าประเทศไทย ถึงแม้จะเป็ น การ เติบ โตทีไม่ ม าก แต่ เ ป็ น แนวโน้ ม ทีดีห ลัง จากทีการ ส่งออกอาหารกระป๋องหดตัวลงถึง 16.5% ในปี 2560 อย่ า งไรก็ดีก ลุ่ ม ปลาทู น่ า และ อาหารทะเลกระป๋ อง เ ติ บ โ ต ขึ น ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 9 ซึ ง ส อ ด รั บ กั บ ข่ า ว ดี ท ี คณะกรรมาธิ ก ารสหภาพยุ โ รปได้ พ ิ จ ารณาปลด ใบเหลือ งประมงไอยู ยู ข องประเทศไทยเมือเดื อ น มกราคม 2562 ทีผ่ า นมา ซึงน่ า จะทํา ให้ก ารส่ งออก สินค้าอาหารทะเลจากไทยกลับมาขยายตัวได้อกี ครัง สําหรับยอดรายได้ของบริษทั ฯในปี 2561 อยู่ ที 929 ล้ า นบาท เติ บ โตร้ อ ยละ 11 เมือเทีย บกับ ปี 2560 นับเป็ นยอดขายทีสูงทีสุดตังแต่ดาํ เนินกิจการมา โดยยอดขายเติ บ โตในทุ ก ๆส่ ว น ไม่ ว่ า จะเป็ น ใน ประเทศ ยอดขายประเทศจีน และยอดขายต่างประเทศ อืนๆ เป็ นผลจากการผลักดันการขายสินค้าใหม่ให้ก บั ลูกค้าเดิม และการขยายการขายในตลาดต่างประเทศ ใหม่ๆ โดยบริษัท ฯมีส ดั ส่ วนการขายต่างประเทศต่อ การขายในประเทศ 60:40 โดยในปี 2561 บริษทั ฯสามารถสร้างกําไรสุทธิ อยู่ท ี 129 ล้านบาท เพิมขึนร้อยละ 53% เมือเทียบกับปี 2560 ทีมีกาํ ไรสุทธิอยู่ท ี 84 ล้านบาท ทังนีบริษทั ยังต้องเผชิญความผันผวนจากราคาวัตถุดบิ และค่าเงิน ทังเงินบาทต่อเงินดอลลาร์ และเงินบาทต่อเงินหยวน ทีแข็งค่า ขึนมากพอสมควร กระทบต่อต้นทุน และยอดขายของบริษทั ฯ ในรอบปีทผ่ี านมา บริษทั ฯได้ดาํ เนินการยกระดับการดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส โดยบริษทั ฯได้ผ่านการพิจารณาตรวจประเมิน และได้รบั การรับรองด้านการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน โดยได้รบั ประกาศนียบัตรรับรองการเป็ นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) หลังจากทีบริษทั ฯได้ประกาศเจตนารมย์ไปก่อนหน้าใน ปี 2560 และนอกจากนี บริษทั ฯได้รบั เลือกเข้ารับรางวัล “องค์กรนวัตกรรมยอดเยียมปี 2561” จากสํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การ มหาชน) ร่วมกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2562 บริษทั ฯได้ตงเป ั ้ าหมายการเติบโตเพิมมากขึนทังจากตลาดในประเทศผ่านสินค้าใหม่ และการเพิมสัดส่วนการขายในตลาด ต่างประเทศจากลูกค้าตรง และตัวแทนจําหน่ ายรายใหม่ หลังจากทีได้มกี ารทําการตลาดในตลาดต่างประเทศใหม่ๆ มาแล้วระยะหนึงซึงเริม มีคาํ สังซือมาต่อเนืองเช่น บราซิล เปรู อีกทังการดําเนินการให้บริษทั เจ้าของสินค้าข้ามชาติ (brand owner) อนุ มตั ใิ ห้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ บริษทั ฯได้ ซึงจําเป็ นต้องใช้เวลา และ การติดตามความคืบหน้าอย่างต่อเนือง

นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา กรรมการผูจ้ ดั การ

1


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

เหตุการณ์ สาํ คัญประจําปี 2561 ขยายตลาด ต่างประเทศ หน่ วยการผลิตที ประเทศจีน

ได้ทํ า การขยายตลาดต่ า งประเทศเพิมมากขึน โดยมีก ารแต่ ง ตัง ตัวแทนจําหน่ายในตลาดต่างประเทศเพิมขึน อีกทังยังมีการเปิ ดตลาด ใหม่ในกลุ่มทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกาเหนือ และ ทวีปยุโรป

ปจั จุบนั บริษทั ฯ ดําเนินการผลิตสินค้า Compound ในประเทศจีนมา ต่อเนืองเป็ นปี ที 2 ซึงตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าเป็ นอย่างดี

 ผ่ า นการรั บ รองการ Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC  ได้รบั รางวัล “องค์กรนวัตกรรมยอดเยียม ประจําปี 2561  ขยายฐานตลาดไปยัง อเมริก าใต้ เม็ก ซิโ ก ชิลี และยุ โ รป (อิตาลี) เพิมขึน

2


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

สารบัญ ส่วนที 1 การประกอบธุรกิ จ นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ (หน้า 5-6) ลักษณะการประกอบธุรกิจ (หน้า 7-14) ปจั จัยความเสียง (หน้า 15-16) ข้อมูลทัวไปและข้อมูลสําคัญอืน (หน้า 17-18)

ส่วนที 2 การจัดการและการกํากับดูแลกิ จการ ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ อื หุน้ (หน้า 20) โครงสร้างการจัดการ (หน้า 21-33) การกํากับดูแลกิจการ (หน้า 34-49) ความรับผิดชอบต่อสังคมสู่ความยังยืน (หน้า 50-55) การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสียง (หน้า 56-57) รายการระหว่างกัน (หน้า 58)

ส่วนที 3 ฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงาน ข้อมูลทางการเงินทีสําคัญ (หน้า 60) การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝา่ ยจัดการ (หน้า 61-62)

เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 เอกสารแนบ 2 เอกสารแนบ 3

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ต่อรายงานทางการเงิน งบการเงินประจําปี 2561

ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษทั ทีออกหลักทรัพย์เพิมเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) ของบริษทั แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษทั www.ubisasia.com

3


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ส่วนที 1 การประกอบธุรกิ จ

4


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) มีทุนจดทะเบียน 228,000,000 บาท และทุนทีออกและเรียกชําระแล้ว 227,999,991 บาท (จํานวนหุน้ 227,999,991 หุน้ มุลค่าหุน้ ละ 1.00 บาท) โดยมีผลิตภัณฑ์หลักคือ ยางยาแนวฝากระป๋อง (Water Base Lining Compound, Sealant) และแลคเกอร์เคลือบกระป๋อง (Can Coating, Lacquer) เพือใช้ในอุตสาหกรรมผลิตกระป๋องโลหะเพือบรรจุอาหารและเครืองดืม รวมถึงบรรจุผลิตภัณฑ์อนๆ ื มีโรงงานตังอยู่ทนิี คมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร บริษทั ดําเนินธุรกิจเป็ นผูค้ ดิ ค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มคี วามหลากหลายในผลิตภัณฑ์ และการรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่าง ต่อเนือง เพือการตอบสนองความต้องการของลูกค้าในด้านต่างๆ เช่น การตอบสนองด้านเทคโนโลยีการผลิตทีลูกค้ามีการพัฒนาด้าน เครืองจักรการผลิตทีมีเทคโนโลยีดขี นึ การตอบสนองด้านการใช้งานกับผลิตภัณฑ์ใหม่ๆทีเพิมขึน เป็ นต้น กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่ทงในประเทศ ั และต่างประเทศ เป็ นผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมผลิตกระป๋องโลหะ เพือใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุอาหารและเครืองดืม รวมถึงกระป๋อง โลหะทีใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ต่างๆทัวไป นโยบายในการดําเนิ นงานของบริ ษทั วิ สยั ทัศน์ ของบริ ษทั “หุน้ ส่วนระดับสากลทีเชียวชาญพร้อมนวัตกรรมอันเป็ นเลิศ” พันธกิ จสําคัญของบริ ษทั  เพิมศักยภาพการจัดการภายในองค์กรเพือสร้างการยอมรับ และสร้างมูลค่าเพิมให้กบั ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย  ตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า ด้วยผลิตภัณฑ์ทมี​ี คุณภาพสูงและบริการทีดีเยียม  เป็ นหุน้ ส่วนกับลูกค้า เพือสร้างนวัตกรรมโดยมุง่ เน้นค้นคว้าวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์  เพิมศักยภาพกระบวนการผลิตทีเป็ นมิตรกับสิงแวดล้อม ด้วยเทคโนโลยีทมี​ี ประสิทธิภาพ  จัดสรรสภาพแวดล้อมในการทํางาน และส่งเสริมศักยภาพของพนักงาน โดยการพัฒนาองค์ความรูท้ กั ษะ และความเชียวชาญอย่างต่อเนือง  สร้างเสริมธรรมาภิบาล การบริหารความเสียง ตลอดจนความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียและสังคม เพือความยังยืนขององค์กรทีมีคุณภาพ  ไม่ยอมรับการคอร์รปั ชันทุกรูปแบบ โครงสร้างและการถือหุ้นของกลุ่มบริ ษทั

บริ ษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

(100 %)

(99.99%)

บริ ษทั ไวต้า อิ นเตอร์เนชันแนล เทรดดิ ง (กว่างโจว) จํากัด

บริ ษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด

5


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

โครงสร้างการดําเนิ นธุรกิ จของกลุ่ม บริ ษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วย บริ ษทั ย่อย 2 บริ ษทั ดังนี บริ ษทั ไวต้า อิ นเตอร์เนชันแนล เทรดดิ ง (กว่างโจว) จํากัด บริษั ท ไวต้ า อิ น เตอร์ เ นชันแนล เทรดดิง (กว่ า งโจว) จํ า กัด (“ไวต้ า อิ น เตอร์”) ได้ จ ดทะเบีย นตังบริษั ท กับ Guangzhou Government and Guangzhou Industry & Economic Bureau สาธารณรัฐ ประชาชนจีน เมือวัน ที 26 มกราคม 2543 ปจั จุบนั มีทุ น จด ทะเบียน 1.40 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือประมาณ 38.03 ล้านบาท) บริษทั ถือหุน้ ในไวต้า อินเตอร์ ร้อยละ 100 บริษทั ตังอยู่ท ี ห้อง 806, เลขที 836 อาคารตงจุนพลาซ่า ถนนตงเฟงตะวันออก เขตเยียซิว เมืองกว่างโจว มณฑลกว่างตง รหัสไปรษณีย์ 510060 สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีจุดประสงค์เพือเป็ นตัวแทนจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ยาง ยาแนวฝากระป๋อง และแลคเกอร์เคลือบกระป๋องให้กบั บริษทั โดยมุ่งเน้นการขาย ให้กบั อุตสาหกรรมกระป๋องบรรจุอาหาร-เครืองดืม และอุตสาหกรรมภาชนะโลหะอืนๆ ในประเทศจีน มีผบู้ ริหารและพนักงานรวม 10 คน การบริหารงานของบริษทั จะอยู่ภายใต้นโยบายของ บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) โดยบริษทั จัดส่งตัวแทน 1 ท่าน ไปดํารง ตําแหน่ งเป็ นกรรมการและผูบ้ ริหารของ ไวต้า อินเตอร์ และมีผบู้ ริหารจากบริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) เดินทางไปประชุมและ ติดตามงานกับผูบ้ ริหารของ ไวต้า อยู่เป็ นประจํา บริ ษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด บริษทั ยูบสิ พรีมาเทค จํากัด (“ยูบสิ พรีมาเทค”) ได้จดทะเบียนตังบริษทั เมือ 30 พฤษภาคม 55 มีทุนจดทะเบียน 160 ล้านบาท โดยเรียกชําระทุนเต็มมูลค่าแล้ว บริษทั ถือหุน้ ใน ยูบสิ พรีมาเทค ร้อยละ 99.99 บริษทั ตังอยู่เลขที 807/1 ชันที 6 ถนนพระราม แขวงบาง โพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 บริษทั ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) โดยมี วัตถุ ประสงค์เพือการผลิต และจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ย างยาแนวฝากระป๋องให้ก บั อุตสาหกรรมผลิตภาชนะโลหะสําหรับบรรจุอ าหารและ เครืองดืม และอุตสาหกรรมภาชนะโลหะอืนๆ รวมถึงฝาปิดประเภทต่างๆ เช่น ฝาขวดแยม ฝาเกลียว เป็ นต้น การบริหารงานของบริษทั จะมีคณะกรรมการบริษทั จํานวน 4 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน และผูบ้ ริหาร 1 ท่าน มาจาก บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) การดําเนินงานของยูบสิ พรีมาเทค จะอยู่ภายใต้นโบายการบริหารของบริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) เนืองด้วยทังสองบริษทั ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยมีความแตกต่างด้านผลิตภัณฑ์จงึ เป็ นการทําธุรกิจทีเกือหนุ นกัน

6


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท ยูบิส (เอเชีย ) จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจเป็ น ผู้ผลิตและจําหน่ ายผลิตภัณฑ์เคมีคุณภาพสูงชนิดพิเศษ ซึงใช้เป็ น ส่วนประกอบในการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์โลหะ เช่น กระป๋องโลหะบรรจุอาหาร กระป๋องโลหะบรรจุเครืองดืม ถังโลหะบรรจุอาหาร ภาชนะโลหะ บรรจุสารเคมีทงขนาดเล็ ั ก 0.5 ลิตร จนถึงขนาด 200 ลิตร เช่น กระป๋องสเปรย์ นอกจากนียังรวมถึงหลอดอลูมเิ นียมบรรจุเวชภัณฑ์หรือ เครืองสําอาง โดยทุกผลิตภัณฑ์ของบริษทั ได้รบั การผลิต คิดค้นและพัฒนาภายใต้สูตรและเทคโนโลยีกระบวนการผลิตของบริษทั ในการ ดําเนินธุรกิจของบริษทั จะเน้นการติดต่อประสานงานกับลูกค้าอย่างใกล้ชดิ ทุกรายอย่างเสมอภาค เพือรับทราบความต้องการหรือปญั หาของ การใช้ ผ ลิต ภัณ ฑ์ ด้ ว ยทีม งานขายทีมีป ระสบการณ์ (Technical Sales Team) และบริษั ท มีท ีม งานด้ า นวิจ ัย และพัฒ นาผลิต ภัณ ฑ์ (Technology & Development) ทีมีประสบการณ์ในการพัฒนาคุณสมบัตแิ ละคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของบริษทั จึงมันใจในการนําเสนอและ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ทังด้านงานบริการและคุณภาพของสินค้า เพือให้ลูกค้าสามารถใช้งานได้สอดคล้องกับกระบวนการ ผลิตผลิตภัณฑ์ของลูกค้าได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สําหรับผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋อง ด้วยสิทธิ ประโยชน์ในการยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ คุ คลเป็ นระยะเวลา 8 ปี และได้มกี ารเริมใช้สทิ ธิทางภาษีเมือวันที 1 ตุลาคม 2557 เป็ นต้นมา ลักษณะผลิ ตภัณฑ์หรือการบริ การ ตลอดระยะเวลาทีผ่านมาบริษทั ดําเนินการผลิตด้วยนโยบายการรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (Quality of Product) และการพัฒนา ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือง (Continuous Improvement) ภายใต้ระบบบริหารคุณภาพ ISO และกําลังดําเนินการยกระดับสู่ ISO เพือครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลสิงแวดล้อม บริษทั มีการปรับโครงสร้างสายงานด้านการวิจยั และพัฒนาให้ขนตรงต่ ึ อ กรรมการผูจ้ ดั การ เพือความคล่องตัว และการดําเนินงานตามกลยุทธ์ของบริษทั โดยมีผเู้ ชียวชาญชาวต่างชาติมาเป็ นทีปรึกษาให้คาํ แนะนํา ในด้านการบริหารและการพัฒนาหน่ วยงานให้สามารถเป็ นหน่ วยงานวิจยั และพัฒนาเทีย บเคีย งกับหน่ วยงานวิจยั สากลอืนๆ มุ่งสู่การ สร้างสรรผลิตภัณฑ์ใหม่ ตลอดจนพัฒนากระบวนการผลิตให้ม ี Business Model ทีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ การรักษาความสัมพันธ์และความร่วมมือกับลูกค้าอย่างใกล้ชดิ (Close Customer Relationship) ให้เสมือนว่าลูกค้าเป็ นหุน้ ส่วน ของบริษทั จึงมีความสําคัญอย่างยิงไม่เพียงเพือการตอบสนองการเปลียนแปลงความต้องการของลูกค้าอย่างรวดเร็ว (Fast Respond) หรือ การบริหารการส่งมอบสินค้าให้ทนั การใช้งาน และการบริการหลังการขายทังด้านผลิตภัณฑ์และด้านเทคนิค แต่อกี สิงหนึงคือการดึงลูกค้าให้ มีส่วนร่วมในงานวิจยั และพัฒนาในผลิตภัณฑ์ร่วมกัน เพือประโยชน์ของลูกค้าอย่างเต็มที สินค้าของบริษทั เป็ นเคมีภณ ั ฑ์ทเป็ ี นส่วนประกอบสําคัญในอุตสาหกรรมการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์โลหะทีเกียวเนืองกับสินค้าอุปโภค บริโภค ประกอบกับสินค้าของบริษทั เป็ นสินค้าทีขายให้กบั โรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Products) โดยตรง ไม่ใช่การขายไปยังผูบ้ ริโภค (Consumer Products) ดังนันนโยบายการตลาดของบริษัทจึงมุ่งเน้ นในการรักษาคุณภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการสร้าง ความสัมพันธ์และความร่วมมือ เพือการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าเป็ นสําคัญเพือการเติบโตในระยะยาว การสร้างแบรนด์ให้เป็ นทียอมรับในระดับสากล เป็ นกลยุทธ์ในการสร้างสินค้าให้เป็ นทียอมรับในตลาดโลก บริษทั จึงได้สร้างระบบ พันธมิตรการค้าทังในรูปแบบตัวแทนจําหน่ ายทีมีความรูแ้ ละความเข้าใจของอุตสาหกรรม มาร่วมกันบริหารจัดการการจําหน่ ายในบางพืนที บริษทั จะเป็ นผูส้ นับสนุ นด้านเทคนิคให้กบั ลูกค้าผูใ้ ช้สนิ ค้าโดยตรง บริษทั คาดว่าจะสามารถขยายช่องทางการจําหน่ ายในตลาดต่างประเทศ ได้มากขึน นอกจากนันบริษทั ยังต้องดําเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานและข้อกําหนดขององค์กรอาหารสากลต่างๆ เช่น US-FDA, HALAL และ EU Directives เป็ นต้น เพือเป็ นการสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปตามข้อกําหนดของสากล ผลิตภัณฑ์หลักของบริษทั สามารถแบ่ง ออก เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ ดังนี 1. ผลิ ตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋อง (Sealing Compounds) ผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋องเป็ นสารป้องกันการรัวซึมทีใช้กบั บรรจุภณ ั ฑ์โลหะ โดยมีคุณสมบัตสิ าํ คัญในการป้องกันรอยรัว ตามแนวตะเข็บระหว่างตัวภาชนะกับฝาภาชนะทังฝาล่างและฝาบนทีเกิดขึนในระหว่างการผลิตตัวภาชนะ และการปิ ดฝาภาชนะภายหลัง การบรรจุอาหารหรือสินค้าลงในภาชนะแล้ว เพือป้องกัน มิให้สงปนเปื ิ อนจากภายนอกเข้าสู่ภายในภาชนะเป็ นการยืดอายุการเก็บรักษาของ ผลิตภัณฑ์ทบรรจุ ี ภายในภาชนะ นอกจากนียังต้องทนต่อกระบวนการฆ่าเชือเพือถนอมอาหารทีบรรจุภายในตามกระบวนการผลิตของ ลูกค้า บริษทั มีผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋อง 2 ประเภท คือ

7


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

1.1 ยางยาแนวฝากระป๋ องสู ต ร Water Base (Water Base Sealing Compound) ซึ งเป็ นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ี ผลิ ต ขึ นตาม มาตรฐานสากลโดยเน้ นการผลิต สําหรับผลิตภัณฑ์ท ีใช้ก บั ภาชนะบรรจุอาหารและเครืองดืม (Water Base Food and Beverage Can Sealing Compound) เป็ นหลัก และยังมีผลิตภัณฑ์อนอี ื ก เช่น ผลิตภัณฑ์ Aerosal หรือกระป๋องสเปรย์ 1.2 ยางยาแนวฝาบรรจุภณ ั ฑ์สูตร PVC (PVC Plastisol) ซึงเป็ นผลิตภัณฑ์ทพั ี ฒนาขึนมาเพือใช้กบั ฝาปิ ดของบรรจุภณ ั ฑ์ ต่ างๆ (Other Packaging Closure) เช่ น ผลิต ภัณฑ์ท ีใช้ก บั ฝาปิ ดภาชนะทีมิใช่โลหะ เช่ น ฝาจีบ (Crown Cap) จําพวกฝานํ าอัดลม ฝา เกลียว (RO) หรือฝาเกลียวบิดขาด (ROPP) จําพวกฝาขวดเครืองดืมชูกาํ ลัง และฝาเขียว (Lug Cap) หรือ (Twist Off) จําพวกฝาขวดแยม และหลอดยาต่างๆ (Collapsible Tube) รูปภาพแสดงการใช้งานของผลิตภัณฑ์ แสดงภาพตัดขวางของตะเข็บฝากระป๋อง (Double Seam) ซึงเป็ นการซ้อนทับของขอ ตัวกระป๋อง (Body Hook) และขอฝา (End Hook) โดยมียางยาแนวฝากระป๋องอยู่ภายใน (Lining Compound)

CAN

แหล่งทีมาของภาพ : เว็ปไซด์ของ โครงการวิจยั เพือพัฒนาหนังสือและโฮมเพจ ชุดพัฒนาสังคมตามแนวพระราชดําริ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เรืองอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม

รูปภาพแสดงภาพตัดขวางของฝากระป๋อง – รูป ก. แสดงภาพแผ่นโลหะทีผ่านการเคลือบแล้ว ตัดและขึนรูปเป็ นฝาและทําโค้ง ทีมุมฝาแล้ว – รูป ข. และรูป ค. แสดงภาพการหยอดยางยาแนวฝากระป๋องตามร่องโค้งด้านในเพือประโยชน์ ในการปิ ดสนิทระหว่างฝาและ ตัวกระป๋อง ป้องกันการรัวซึมของสินค้าทีบรรจุภายใน และป้องกันสิงแปลกปลอมเข้าไปภายในกระป๋อง

รูป ก. รูป ข. รูป ค. ฝาควํา (บน) และฝาหงาย (ล่าง) หยอดยาแนวในร่อง (ภาพสมมติ) ฝาหงายทีหยอดยาแนวแล้ว (ศรชี) ทีมา : www.cancentral.com และ Visypak Beverage Packaging “Beverage Manufacturing Processes”

2. ผลิ ตภัณฑ์แลคเกอร์เคลือบกระป๋อง (Lacquers) แลคเกอร์เคลือบกระป๋องของบริษทั เป็ นผลิตภัณฑ์ประเภท Solvent Base (Solvent Base Lacquers) ซึงใช้เคลือบผิวกระป๋อง และฝากระป๋อง โดยใช้เคลือบผิวทังด้านในและด้านนอก แลคเกอร์เคลือบผิวกระป๋องด้านในต้องมีคุณสมบัตใิ นการทนต่อสภาพความเป็ น กรดด่างของสินค้าทีบรรจุ โดยเฉพาะสินค้าประเภทอาหารทีมีความเป็ นกรดด่างทีแตกต่างกัน ซึงจะป้องกันไม่ให้อาหารทีบรรจุทาํ ปฏิกริ ยิ า กับตัวบรรจุภณ ั ฑ์จนทําให้เกิดการเปลียนแปลงเรืองกลิน สี และรสของอาหารในกระป๋อง จึงเป็ นการรักษาอายุของสินค้าให้ยาวนาน ส่วน แลคเกอร์เคลือบผิวกระป๋องด้านนอกมีคุณสมบัตปิ ้ องกันพืนผิวด้านนอกกระป๋องจากการเกิดสนิม การขีดข่วน การกัดกร่อน และเป็ นสาร เคลือบรองพืนสําหรับก่อนการตกแต่งภายนอกกระป๋องด้วยหมึกพิมพ์และสารเคลือบเงาด้านนอก (Outside Printing & Vanishing) เพือให้ ภาชนะบรรจุภณ ั ฑ์ดสู วยงาม จึงต้องมีคุณสมบัตใิ นเรืองการยืดหยุ่นทีสูงบริษทั มีนโยบายทําตลาดให้ครอบคลุมทุกส่วนการตลาด โดยมีกลุ่ม ลูกค้าหลักคือ กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครืองดืม และกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม บริษัทเริมนํ าผลิตภัณฑ์ใหม่เพือความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์ให้กบั ลูกค้าเป็ นทางเลือก และให้สามารถรองรับความต้องการใหม่ๆของลูกค้าในแต่ละ Segment บริษัทพัตนาระบบการจัด จําหน่ ายผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมทุกส่วนตลาดในประเทศ (Full Segmentation Coverage) ซึงบริษทั ได้แบ่งประเภทของบรรจุภณ ั ฑ์ ดังนี 2.1 กลุ่มผลิตภัณฑ์ทใช้ ี บรรจุภณ ั ฑ์อาหารกระป๋อง (Food and Beverage Can) บริษทั ผลิตสินค้าทีใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร มากทีสุด โดยสินค้าของบริษทั เป็ นทีรูจ้ กั และแพร่หลายในกลุ่มผูผ้ ลิตกระป๋องบรรจุอาหารมากทีสุด เนืองจากตลาดอุตสาหกรรมกระป๋องใน

8


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ประเทศไทยมีขนาดใหญ่และบริษทั มีประสบการณ์ยาวนานในการผลิตสินค้าสําหรับกลุ่มดังกล่าว และให้ความสําคัญในการพัฒนาและผลิต ผลิตภัณฑ์ ในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารมาอย่างต่อเนือง ในกลุ่มสินค้านีจะจัดแบ่งย่อยได้อกี 2 ประเภท ดังนี 2.1.1 ผลิตภัณฑ์สําหรับกระป๋องบรรจุอาหาร (Food Can) ใช้กบั กระป๋องอาหารทีหลากหลาย เช่น กระป๋องปลาซาร์ดนี กระป๋องปลาทูน่า กระป๋องนมผง และกระป๋องบรรจุอาหารอืนๆ

. . ผลิตภัณฑ์สาํ หรับกระป๋องบรรจุเครืองดืม (Beer & Beverage Can) ผลิตภัณฑ์สาํ หรับกระป๋องเครืองดืมนําผลไม้กระป๋อง (Fruit Juice) กาแฟกระป๋อง เครืองดืมชูกาํ ลังกระป๋อง และเครืองดืมอืนๆ รวมถึงผลิตภัณฑ์สาํ หรับกลุ่มเครืองดืมนําอัดลมและเครืองดืมประเภทเบียร์ ทีมี แรงดันก๊าซทีบรรจุอยู่ภายใน

2.2 กลุ่มผลิตภัณฑ์ทใช้ ี กบั บรรจุภณ ั ฑ์ทวไป ั (Non-Food Can) ใช้สําหรับบรรจุสนิ ค้าทัวไปทีไม่ใช่อาหารเพือการบริโภค แต่ก็ ยังคงมีวตั ถุประสงค์เพือการเก็บรักษาคุณภาพสินค้า รวมถึงเพือความสวยงาม และการขนส่งสินค้า โดยสามารถแบ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์เป็ น 2 กลุ่มย่อยคือ 2.2.1 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สํ า หรั บ กระป๋ องสเปรย์ (Aerosol Can) ผลิตภัณฑ์กลุ่มนีใช้สาํ หรับบรรจุภณ ั ฑ์ทต้ี องทนต่อแรงดันในกระป๋องสูงเพราะ ต้ อ งบรรจุ ก๊ า ซในกระป๋ องเพือให้เ กิดแรงดัน ในการฉี ด สเปรย์อ อกมา เช่ น กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสเปรย์แต่งผม เป็ นต้น

. .2 ผลิ ต ภัณ ฑ์ สํ า หรับ กระป๋ องทัวไป (General Can) ผลิต ภัณ ฑ์ ก ลุ่ ม นี ใช้สํา หรับ บรรจุ ภ ัณ ฑ์ท ีใช้บ รรจุ ส ิน ค้า ทัวไปซึงจะมีค วาม หลากหลาย สิน ค้าบางประเภทจะมีส่วนผสมของนํ ามันหรือเคมีภณ ั ฑ์ เช่น ๋ กระปองสี ถังนํ ามัน ถังบรรจุเคมี หรือ ถังต่างๆ (ไม่รวมถังปิ บบรรจุหน่ อไม้ท ี เป็ นกลุ่มอาหาร)

9


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

2.2.3. กลุ่มผลิตภัณฑ์ทใช้ ี กบั บรรจุภณ ั ฑ์ประเภทอืนๆ ทีไม่ใช่กระป๋อง บรรจุภณ ั ฑ์กลุ่มนีจะมีความหลากหลายในการ นํ าไปใช้สาํ หรับวัสดุสนิ ค้าประเภทต่างๆ ขึนอยู่กบั การใช้งานของแต่ละรายในการบรรจุสนิ ค้าทีจําหน่ าย โดยสามารถจําแนกผลิตภัณฑ์ตาม ลักษณะของบรรจุภณ ั ฑ์ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี 2.2.3.1 ผลิตภัณฑ์สําหรับหลอดอลูมเิ นียมและโมโนบล็อค (Collapsible Tube & Monobloc) ผลิตภัณฑ์กลุ่มนีจะใช้ สําหรับบรรจุภณ ั ฑ์ทมี​ี รปู ทรงและมีลกั ษณะเฉพาะ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สาํ หรับบรรจุภณ ั ฑ์ชนิดหลอดโลหะ (Collapsible Tube) เป็ นผลิตภัณฑ์ท ี ใช้ก บั บรรจุภ ณ ั ฑ์สําหรับสิน ค้ากลุ่ มเวชภัณฑ์ (ยาครีม ยาเจล) สิน ค้ากลุ่ มเคมี (กาวหลอด) ซึงจะใช้ย างยาแนวในบริเวณปลายหลอด อลูมเิ นียม และผลิตภัณฑ์สําหรับบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทโมโนบล็อค (Monobloc) บรรจุภณ ั ฑ์โมโนบล็อคจะมีลกั ษณะการผลิตทีพิเศษ คือ จะ เป็ นการผลิตโดยการขึนรูปกระป๋องด้วยการรีดชินโลหะจากก้นกระป๋องถึงคอกระป๋องจนเป็ นรูปทรงกระป๋อง สินค้าทีใช้บรรจุภณ ั ฑ์ประเภทนี ได้แก่ กระป๋องโฟมโกนหนวด กระป๋องมูสแต่งผม เป็ นต้น 2.2.3.2 ผลิตภัณฑ์สําหรับฝาต่างๆ (Closure) ผลิตภัณฑ์กลุ่มนีจะมีความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ของบริษทั ประเภท อืนๆ ข้างต้น เพราะจะเป็ นการใช้ฝาปิ ดทีเป็ นโลหะกับตัวบรรจุภณ ั ฑ์ทมิี ใช่โลหะ ในกลุ่มนีสามารถแบ่งย่อยเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ ฝาจีบ (Crown Cap) ใช้กบั ฝาเครืองดืมนํ าอัดลมบรรจุขวดแก้ว เช่น ฝาขวดแก้วเครืองดืมนํ าอัลม และฝาขวดแก้วเครืองดืมเบียร์ เป็ นต้น และฝา เกลียวบิดขาด (ROPP) ลักษณะของฝาเปิ ดเป็ นแบบเกลียวใช้การหมุนเพือแยกวงแหวนทีรัดอยู่ให้ขาดจากกัน ได้แก่ ฝาขวดเครืองดืมชู กําลัง และฝาขวดเครืองดืมอัดคาร์บอเนตขวดใหญ่ ชนิดขวดแก้ว เป็ นต้น และฝาเขียว (Lug Cap) เป็ นผลิตภัณฑ์ทใช้ ี ในฝาเปิ ดชนิดหมุน สําหรับเครืองปรุงรสทีไม่ได้ใช้ครังเดียวหมด เช่น ฝาขวดแยม ฝาขวดซอสมะเขือเทศ และฝาขวดมายองเนส เป็ นต้น สามารถเปิ ดปิ ดได้ หลายครังเพือถนอมอาหารได้นาน

นอกจากผลิตภัณฑ์ในกลุ่มยางยาแนวฝากระป๋องและแลคเกอร์เคลือบกระป๋องแล้ว บริษัทยังเป็ นตัวแทนจําหน่ ายผลิตภัณฑ์จาก ต่างประเทศอีก 3 ชนิด เพือเพิมและเสริมรายได้หลักของบริษัท ได้แก่ 1) ผลิตภัณฑ์นํามันหล่อลืนสําหรับขึนรูปกระป๋อง บริษัทได้เป็ น ตัวแทนจําหน่ ายสินค้าของบริษทั Quaker Chemical แห่งสหรัฐอเมริกาแต่เพียงผูเ้ ดียวในประเทศไทย ลักษณะการใช้งานของนํ ามันหล่อลืน ดังกล่าว จะใช้ในอุตสาหกรรมผลิตกระป๋อง ในขันตอนการปมั และ ขึนรูปกระป๋อง 2) ผลิตภัณฑ์หมึกพิมพ์ บริษทั ได้เป็ นตัวแทนจําหน่ าย สินค้าในตลาดประเทศไทย ของบริษทั GGMD ลักษณะการใช้งานเป็ นหมึกทีใช้ในการพิมพ์บนผิวภาชนะกระป๋อง 3) กลุ่มผลิตภัณฑ์สฝี ่นุ เคลือบแนวตะเข็บกระป๋อง (Power Side Stripe) ซึงเป็ นกลุ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ทบริ ี ษทั ได้รบั การแต่งตังจาก Salchi Metalcoat Srl จากประเทศ อิตาลี เมือปลายปี 2560 สําหรับนโยบายการดูแลลูกค้ากลุ่มลูกค้าเป้าหมายในประเทศ บริษทั มีนโยบายทําตลาดให้ครอบคลุมทุกส่วนการตลาด โดยมีกลุ่ม ลูกค้าหลักคือ กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครืองดืม และกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม บริษทั เริมนําเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่เพือความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์ให้กบั ลูกค้าเป็ นทางเลือก และให้สามารถรองรับความต้องการใหม่ๆของลูกค้าในแต่ละ Segment บริษัทพัตนาระบบการจัด จําหน่ ายผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมทุกส่วนตลาดในประเทศ (Full Segmentation Coverage) และกลุ่มลูกค้าเป้าหมายต่างประเทศ บริษทั มี ฐานลูกค้ากระจายไปในหลายทวีปทัวโลก ซึงแบ่งกลุ่มลูกค้าได้ 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มลูกค้าเป้าหมายในตลาดประเทศจีน บริษทั ดําเนินธุรกรรม 2 ด้าน  จําหน่ ายสินค้าโดยตรงสู่ลกู ค้ารายใหญ่ เพือการตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้โดยตรงและรวดเร็ว  บริษทั ย่อยทีประเทศจีน ซึงเป็ นผูจ้ ําหน่ ายแก่ลูกค้าทีประสงค์จะซือสินค้าในประเทศ และลูกค้าขนาดกลางทีมีศกั ยภาพ โดยบริษัท จะสนับสนุ นทางเทคนิค ด้วยการจัดส่ งทีมเทคนิค เข้าเยียมลูกค้าพร้อมทีมงานขายอย่ างต่อ เนือง เน้ น การ ให้บริการหลังการขาย และขณะนีบริษทั ย่อยได้จดั ตังหน่ วยการผลิตสินค้ายางยาแนวเพือตอบสนองต่อความต้องการของ ลูกค้าได้ดยี งขึ ิ น

10


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

2. กลุ่มลูกค้าเป้าหมายในตลาดต่างประเทศอืน  ทวีปเอเชี ย ประกอบด้วย พม่า ฟิ ลปิ ปิ นส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ ไต้หวัน เกาหลีใต้ ฮ่องกง มัลดีฟส์ บังคลาเทศ ศรีลงั กา ปากีสถาน ตุรกี อินเดีย  ทวีปออสเตรเลีย ประกอบด้วย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์  ทวีปตะวันออกกลาง ประกอบด้วย อิหร่าน ซาอุดอิ ารเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  ทวีปแอฟริ กา ประกอบด้วย อียปิ ต์  ทวีปยุโรป ประกอบด้วย อิตาลี  ทวีปอเมริ กา ประกอบด้วย เม็กซิโก  ทวีปอเมริ กาใต้ ประกอบด้วย บราซิล เปรู เอกวาดอร์ ชิล ี บริษทั ได้ดาํ เนินสร้างระบบพันธมิตรเครือข่ายโดยการแต่งตังตัวแทนจําหน่ ายหรือทีปรึกษาบริษทั ทีสามารถให้บริการแก่ลูกค้าใน ประเทศนันๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การสนับสนุ นด้านเทคนิคจากบริษทั ให้กบั ตัวแทนและลูกค้าในประเทศนันๆ กลุ่มเป้าหมายจะ เป็ นผูผ้ ลิตกระป๋องบรรจุอาหาร เครืองดืม และภาชนะอุตสาหกรรมอืนๆ อนึง ในการทําตลาดในแต่ละประเทศ บริษทั จะต้องทําการวิเคราะห์ ปจั จัยทีมีผลต่อการขาย เช่น จํานวนคู่แข่ง การผูกขาด ขนาดตลาดและอัตราการเติบโตของตลาดในแต่ละกลุ่มลูกค้าในแต่ละประเทศ ก่อนทีจะเลือกเน้นกลุ่มเป้าหมายในการทําตลาด การตลาดต่ างประเทศ มุ่งเน้ น ส่ งเสริมให้มกี ารนํ าเสนอผลิต ภัณฑ์แ ก่ ลูก ค้าเพือการทดลองผลิต ภัณฑ์ในระยะเวลาทีรวดเร็ว ตลอดจนการเยียมลูกค้าอย่างสมําเสมอโดยมีการวางแผนการเยียมลูกค้าทังปีเป็ นการล่วงหน้า เพือแลกเปลียนความคิดเห็น ข้อแนะนําด้าน ั ั ธุรกิจและปญหาของแต่ ละพืนที และการรับฟงั ปญหาเพื อหาข้อมูลในการนํามาปรับปรุงการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษทั ได้วางนโยบาย ในการเข้าร่ว มการออกงาน Exhibition ต่ างๆในระดับโลกและในระดับภูมภิ าคอย่ างต่อเนือง โดยบริษัทได้เข้าร่วมงานแสดงสินค้าให้ ครอบคลุมในแต่ละพืนที ได้แก่ 1) Euro CanTech 2018, จัดขึนระหว่างวันที 19-21 มีนาคม 2561 ณ เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี 2) Cannex 2018, จัดขึนระหว่างวันที 14-17 พฤษภาคม 2561 ณ เมืองกวางโจว ประเทศจีน 3) Asia Cantech 2018, จัดขึนระหว่างวันที 29-31 ตุลาคม 2561 ณ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 4) ลงโฆษณาใน The CanMaker Magazine สําหรับยอดขายบริษทั ในปี 2561 อยู่ท ี 929 ล้านบาท เพิมขึนร้อยละ 11.00 เมือเทียบกับปี 2560 โดยตลาดในประเทศเพิมขึนร้อย ละ 15.21 และตลาดต่างประเทศมีอตั ราการเติบโตเพิมขึนร้อยละ 8.24 ส่งผลให้สดั ส่วนของรายได้รวมของบริษทั เปลียนแปลงโดยแบ่งเป็ น ขายในประเทศร้อยละ 40.65 ขายต่างประเทศร้อยละ 58.51 และรายได้อนร้ ื อยละ 0.83 เป็ นไปตามเป้าหมายในการขยายฐานการตลาดทัง ในประเทศ และต่างประเทศตามนโยบายและแผนงานทีบริษทั วางไว้ ดังรายละเอียดโครงสร้างรายได้ของบริษทั ดังนี โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั 2561

หน่ วย : พันบาท รายได้จากการขาย  ในประเทศ (1)  ต่างประเทศ รวมรายได้จากการขาย รายได้อนๆ ื (2) รายได้รวมทังหมด หมายเหตุ :

2560

2559

รายได้ ร้อยละ รายได้ ร้อยละ รายได้ ร้อยละ 380,983

40.65

330,676

39.10

326,703

38.26

548,371

58.51

506,632

59.90

522,117

61.14

929,354

99.17

837,308

99.00

848,820

99.40

7,819 937,173

0.83 100.00

8,445 845,753

1.00 100.00

5,150 853,970

0.60 100.00

(1) รายได้จากการขายภายในประเทศ รวมถึงรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ทบริ ี ษทั เป็ นตัวแทนจําหน่าย (ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ Quaker หมึกพิมพ์และ powder side stripe) (2) รายได้อนื ประกอบด้วย ค่านายหน้า ค่าบริการอืน ขายเศษวัสดุ ดอกเบียรับ กําไรจากอัตราแลกเปลียน (ถ้ามี) และเงินชดเชยการส่งออก

11


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

การตลาดและการแข่ ง ขัน การทําการตลาดของผลิตภัณฑ์ บริษทั มีเป้าหมายการเป็ นหุน้ ส่วนระดับสากลทีเชียวชาญพร้อมนวัตกรรมอันเป็ นเลิศ จึงได้มกี าร ค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋องและแลคเกอร์เคลือบกระป๋อง เพือให้มคี ุณภาพทีดี พร้อมด้วยการส่งมอบบริการในระดับ ทีสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าสูงสุด ภายใต้แบรนด์ UBIS เพือผลักดันให้ผลิตภัณฑ์ของ UBIS เป็ นทียอมรับในประเทศ ในภูมภิ าคเอเชีย และในภูมภิ าคอืนๆทัวโลก นโยบายการตลาดในปี 2561 บริษัท ให้ค วามสําคัญและมุ่งเน้ น การขยายตลาดไปยังต่ า งประเทศ ซึงส่ งผลให้อ ัต ราการขาย ต่างประเทศเติบโตร้อยละ 8.24 ส่งผลให้ปีนีบริษทั มีสดั ส่วนการขายต่างประเทศต่อการขายในประเทศ คือ 59:41 ซึงเป็ นความท้าทายของ บริษทั ในการแข่งขันกับผูผ้ ลิตรายอืนทีเป็ นบริษทั ข้ามชาติและมีการจําหน่ ายทัวโลก สําหรับตลาดในประเทศบริษทั มุ่งเน้นส่งเสริมความ ร่วมมือกับลูกค้าเพือให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพสินค้าและความหลากหลายของสินค้าเพิมขึน ตลอดจนการให้บริการทีดี สมําเสมอ เป็ นการรักษาฐานการตลาดและการเติบโต โดยปี นีตลาดในประเทศมีอตั ราการเพิมขึนถึงร้อยละ 15.21 ในขณะทีการส่งออก สินค้าอุตสาหกรรมอาหารทะเลกระป๋องและผักผลไม้กระป๋องของประเทศไทยปีนีเพิมขึนเพียงร้อยละ 1.30 (ปริมาณนําหนัก) ภาวะอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง จากข้อมูลการส่งออกอาหารกระป๋องของกระทรวงพาณิชย์ ในปี 2561 ประเทศไทยมีมลู ค่าการ ส่งออกอาหารกระป๋อง 107,751 ล้านบาท ซึงใกล้เคียงกับปีก่อน และมีปริมาณการส่งออก ,070,178 ตัน ซึงเพิมขึนจากปีก่อนร้อยละ 1.30 ข้อมูลการส่งออกอาหารกระป๋องของประเทศไทย มูลค่า (ล้านบาท) 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 -

Canned Tuna & Seafood

2014

2015

2016

2017

2018

85,847

78,566

80,105

88,877

93,773

Canned Fruit

24,264

26,948

29,460

18,533

13,977

Total Canned Food

110,111

105,514

109,565

107,410

107,751

ข้อมูลการส่งออกอาหารกระป๋องของประเทศไทย นําหนัก (ตัน) 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 -

Canned Tuna & Seafood Canned Fruit Total Canned Food

2014

2015

2016

2017

2018

669,682

640,649

623,258

602,167

655,788

677,233

563,866

641,553

454,378

414,391

1,346,915

1,204,515

1,264,811

1,056,545

1,070,178

**ทีมา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร สํานักงนปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

ในส่วนสภาพการแข่งขันอุตสาหกรรมต่อเนืองจากอุตสาหกรรมผลิตกระป๋องในประเทศไทย จะนํากระป๋องไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิต อาหารและเครืองดืมกระป๋อง อุ ต สาหกรรมผลิต เคมีส เปรย์ และอุ ต สาหกรรมผลิต สารเคมี โดยอุ ต สาหกรรมทีใช้ก ระป๋องสูงสุ ด คือ อุตสาหกรรมอาหารกระป๋องและเครืองดืมกระป๋อง

12


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

อุตสาหกรรมผลิตอาหาร และเครืองดืมกระป๋อง

อุตสาหกรรมผลิต เหล็กเคลือบดีบุก

อุตสาหกรรมผลิต เหล็กปราศจากดีบุก

อุตสาหกรรม อาหารกระป๋ อง

อุตสาหกรรม ผลิตกระป๋อง

อุตสาหกรรม เครืองดืมอัดลม อุตสาหกรรม เครืองดืมกระป๋อง

อุตสาหกรรมผลิต แผ่นอลูมเิ นียม

อุตสาหกรรมเบียร์ อุตสาหกรรมนํ าผลไม้ อุตสาหกรรมเคมีภณ ั ฑ์ ชนิดสเปรย์ อุตสาหกรรมเคมีภณ ั ฑ์ ชนิดอืนๆ

อุตสาหกรรม เคมีภณ ั ฑ์

อุตสาหกรรมผลิต ยางยาแนวฝากระป๋องและ แลคเกอร์เคลือบกระป๋อง

วัตถุดิบและสารเคลือบผิ ว

อุตสาหกรรม ปลาทูน่ากระป๋อง อุตสาหกรรม อาหารกระป๋อง อุตสาหกรรม ผักและผลไม้กระป๋อง

กระป๋องสําเร็จรูป

ผลิ ตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง

ภาพแสดงความเกียวเนืองของอุตสาหกรรมผลิตยางยาแนวฝากระป๋องและแลคเกอร์เคลือบกระป๋องกับอุตสาหกรรมอืน

ตลาดยางยาแนวฝากระป๋อง ในส่วนตลาดยางยาแนวฝากระป๋องนี จะมีผผู้ ลิตและขายสินค้าในประเทศเพียง 2 ราย คือ UBIS และ บริษทั คู่แข่งอีก 1 รายเท่านัน การแข่งขันจึงขึนอยู่กบั การยอมรับของเทคโนโลยีการผลิตและความเชือถือในด้านคุณภาพ และการบริการ เทคนิคของผู้ผลิต ดังนันหากพิจารณาถึงสภาพการแข่งขันจึงอาจกล่าวได้ว่า ตลาดยางยาแนวฝากระป๋องมีการแข่งขันอยู่เพียงน้อยราย เท่านัน โดยมีสดั ส่วนการขายใกล้เคียงกัน ขณะทีในตลาดต่างประเทศคู่แข่งเป็ นบริษัทข้ามชาติรายใหญ่ จึงมีความได้เปรียบกว่า ฉะนัน บริษทั จึงมุ่งเน้นด้านการวิจยั และพัฒนา ผลิตภัณฑ์ คุณภาพ กระบวนการผลิต และระบบการบริหาร เพือรองรับความต้องการของผูใ้ ช้และ ให้เป็ นทียอมรับในอุตสาหกรรมอย่างเท่าเทียมกัน ตลาดแลคเกอร์เคลือ บกระป๋อง ในอุ ต สาหกรรมผลิตแลคเกอร์เคลือ บกระป๋อง บริษัท ถือ เป็ น ผู้ผ ลิตไทยรายเดีย วทีมีส่ วนแบ่ง การตลาดอยู่ในกลุ่มห้าอันดับแรกของตลาดในประเทศใกล้เคียงกับผูผ้ ลิตแลคเกอร์ต่างประเทศ โดยสัดส่วนการตลาดจะเฉลียใกล้เคียงกัน ทังนีสภาพการแข่งขันในตลาดแลคเกอร์เคลือบกระป๋องอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง เนืองจากคู่แข่งในตลาดแต่ละรายมีความเชียวชาญเฉพาะด้าน ของผลิตภัณฑ์ อีกทังมีฐานลูกค้าเป็ นของตนเอง ทําให้ไม่มรี ายใดเป็ นผูก้ ําหนดทิศทางการตลาดอย่างชัดเจน อีกทังลักษณะจําเพาะของ ธุรกิจและเทคโนโลยีของอุตสาหกรรม ทําให้ไม่ค่อยมีผผู้ ลิตรายใหม่เข้ามาในธุรกิจนีมากนัก การจัด หาผลิ ต ภัณ ฑ์ ห รือ การบริ ก าร ลักษณะการจัดให้ได้มาซึงผลิตภัณฑ์ของบริษัท โรงงานบริษัทฯตังอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร เป็ นโรงงานทีได้มกี าร ออกแบบให้มกี ระบวนการผลิตทีมีความทันสมัยเป็ นระบบกึงอัตโนมัตคิ วบคุมกระบวนการผลิตด้วยโปรแกรมการทํางานอัตโนมัติ ทําให้ สามารถเพิมผลผลิต ได้มากขึน และควบคุ มคุ ณภาพได้อ ย่ างสมําเสมอ และสามารถส่ งสิน ค้าได้ท นั ตามกําหนดเวลา บริษัท ได้แ ยก กระบวนการการผลิตออกเป็ นสองส่วน คือ การผลิตยางยาแนวฝากระป๋อง และการผลิตแลคเกอร์เคลือบกระป๋อง โดยแต่ละกระบวนการ ผลิตจะอยู่คนละอาคาร เพือรักษาคุณภาพสินค้าระหว่างการผลิตไม่ให้เกิดการปนกัน ตามมาตรฐานระบบการบริหารคุณภาพ ISO9001 และกําลังพัฒนาสู่ระบบการจัดการด้านสิงแวดล้อม ISO14001 และ ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO45001 ต่อไป นอกจากระบบบริหารคุณภาพแล้ว บริษทั ยังได้รบั การรับรองจากสํานักงานอิสลามกลางแห่งประเทศไทย (CICOT) ว่าสินค้ายางยา แนวและสารเคลือบกระป๋องของบริษทั ผ่านหลักเกณฑ์ ให้สามารถใช้เครืองหมาย HALAL กับผลิตภัณฑ์ของบริษทั เพือส่งจําหน่ ายให้กบั ประเทศในกลุ่มมุสลิมได้ กําลังการผลิ ตรวมของบริ ษทั

(หน่ วย : เมตริกตัน) ยางยาแนวฝากระป๋อง แลคเกอร์เคลือบกระป๋อง รวมอัตรากําลังการผลิ ต อัตรากําลังการผลิตสูงสูดของเครืองจักรทีสามารถผลิตได้

2561 9,000*** 6,000 15,000 19,000

2560

2559

9,000*** 6,000 15,000 19,000

8,000 6,000 14,000 1 ,000

หมายเหตุ : *** รวมกําลังผลิตในประเทศจีน

บริษทั มีนโยบายการผลิตทีสําคัญ คือ เน้นการผลิตสินค้าทีมีคุณภาพตรงกับความต้องการของลูกค้าและสามารถส่งสินค้าได้ตรง ตามระยะเวลาทีกําหนด ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพือให้รองรับเทคโนโลยีและข้อกําหนดใหม่ๆ ทีมีการเปลียนแปลง ทังนีเพือ

13


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

มุ่งเน้นการสร้างความเชือมันให้กบั ลูกค้าและการส่งเสริมให้เกิดความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ของบริษทั อย่างต่อเนือง ผลิตภัณฑ์ทผลิ ี ตเพือ การส่งออกและการขายในประเทศมีกระบวนการผลิตและใช้วตั ถุดบิ มาตรฐานเดียวกัน ภายใต้การบริหารการผลิตทีเป็ นระบบ และการ จัดลําดับคําสังซือให้เหมาะสม ทําให้สามารถผลิตได้ตามแผนการผลิตและการจัดส่งได้ตามทีกําหนดไว้ การจัดหาวัตถุดบิ วัตถุดบิ หลักทีใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ทงสองของบริ ั ษทั ส่วนใหญ่เป็ นสารเคมีทได้ ี มาจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เช่น เรซิน โพลีเมอร์ ตัวทําละลายและสารเคมีอนๆ ื ซึงบริษทั สามารถสังซือจากผูผ้ ลิตในประเทศ ตัวแทนจําหน่ายในประเทศหรือนําเข้าจาก ต่างประเทศโดยตรง แต่ทงนี ั ราคาของวัตถุดบิ อาจมีความผันผวนตามกลไกตลาด ทําให้บริษทั ต้องมีการวางแผนการผลิตและการจัดซือให้ สอดคล้องเหมาะสมทังปริมาณ เวลาการจัดส่ง รวมถึงราคาวัตถุดบิ เพือการควบคุมประสิทธิภาพการผลิต การบริหารคลังสินค้า และต้นทุน การผลิต สําหรับวัตถุดบิ อีกประเภทหนึงเป็ นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ได้แก่ นํ ายางธรรมชาติ เป็ นต้น ทังนีราคาของวัตถุดบิ อาจมีความผัน ผวนเป็ นไปตามกลไกของตลาดเช่นกัน ซึงผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวบริษทั จัดหาได้ง่ายจากผูผ้ ลิตในประเทศ โดยประเทศไทยเป็ นแหล่งผลิตนํา ยางธรรมชาติชนนํ ั าของโลก แต่ราคาตลาดเป็ นไปตามกลไกราคาตลาดโลก โดยมีสดั ส่วนการจัดหาวัตถุดบิ ในประเทศต่อการจัดหาวัตถุดบิ ต่างประเทศ คือ 70 : 30 นอกจากนี บริษทั ต้องปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน ISO โดยในการติดต่อสังซือวัตถุดบิ บริษทั ต้องควบคุมและคัดเลือกคู่คา้ โดยพิจารณาคุณสมบัติ ดังนี 1) ความสามารถในการส่งมอบ 2) ความน่ าเชือถือของผูข้ าย 3) การบริการสนับสนุ นการขาย ทังนี การ พิจารณาเลือกคู่คา้ นอกจากจะดําเนินการโดยวิธดี งั กล่าวข้างต้นแล้ว บริษทั ยังคงพิจารณาถึงคุณภาพสินค้าเป็ นประเด็นหลัก ราคาทีคู่คา้ ใน แต่ ล ะรายเสนอขาย และความสามารถของคู่ค้าในการตอบสนองความต้อ งการของบริษัท ได้ รวมถึงการให้บริก ารหลังการขายทีมี ประสิทธิภาพ ผลกระทบต่อสิงแวดล้อม บริษทั คํานึงถึงผลกระทบต่อสิงแวดล้อมทีอาจเกิดขึนจากกระบวนการผลิต จึงได้พฒ ั นากระบวนการผลิต ทีเป็ น มิต รต่ อสิงแวดล้อม โดยบริษัท ได้ขอการรับรอง Green Industry Level 2 จากกระทรวงอุต สาหกรรม และ กรมโรงงาน และให้ ความสําคัญในการจัดเก็บวัต ถุ ดิบสําคัญและวัต ถุ ดิบทีติดไฟได้ง่ายไว้เป็ น สัดส่ ว นด้ว ยการแยกประเภทวัต ถุ ดิบ และสิน ค้าสําเร็จรูป นอกจากนี บริษัทมีค ณะกรรมการความปลอดภัย ทีมีห น้ าทีกําหนดมาตรการความปลอดภัยในการทํางาน ระบบการเตือนภัย ทําให้ พนักงานทราบถึงมาตรฐานความปลอดภัยในการทํางานและความรูเ้ กียวกับการทํางานกับวัตถุไวไฟ ตลอดจนการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารใน เรืองการจัดการและรักษาความปลอดภัยของอัคคีภยั

14


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ปัจจัยความเสียง ปจั จัยความเสียงในการประกอบธุรกิจของบริษทั ทีอาจมีผลกระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ และแนวทางใน ้ การปองกันความเสียง สามารถสรุปได้ดงั นี ความเสียงต่อการดําเนิ นธุรกิ จของบริ ษทั ความเสียงด้านการพึงพาผูจ้ าํ หน่ ายวัตถุดบิ หลัก วัตถุดบิ หลักในการผลิตของบริษัท เป็ นวัตถุดบิ ทีมีลกั ษณะความพิเศษทีจะต้องสามารถสัมผัสอาหารและเป็ นไปตามข้อกําหนด สําหรับอุตสาหกรรม โดยถือปฏิบตั ติ ามข้อกําหนดของหน่ วยงานรัฐของแต่ละประเทศทีมีหน้าทีดูแลด้านความปลอดภัยของอาหาร (FDA approved raw material) แม้ว่าวัตถุ ดบิ เหล่านีบริษัทสามารถจัดหาได้จากผู้จดั จําหน่ ายทัวไป แต่วตั ถุ ดบิ บางชนิดจะมีบริษัทผู้ผลิตและ จําหน่ ายน้อยราย จึงอาจทําให้บริษทั มีความเสียงจากผูจ้ าํ หน่ ายวัตถุดบิ อาจไม่สามารถจัดส่งวัตถุดบิ ได้ตรงตามเวลาและตามความต้องการ ซึงจะส่งผลต่อการผลิตได้ อย่างไรก็ตามบริษทั ได้กาํ หนดมาตรการควบคุมต่างๆได้แก่ นโยบายการบริหารการจัดเก็บวัตถุดบิ สํารองให้พอเพียง กําหนดให้ม ี การประชุมทบทวนความต้องการ คําสังซืออย่างต่อเนืองและใกล้ชดิ กําหนดนโยบายการจัดหาวัตถุดบิ จากผูผ้ ลิตรายอืนทังในประเทศและ ต่างประเทศเพิมเติมและต่อเนือง และมีการนํ า Safety Stock ของวัตถุ ดบิ หลักมาจัดทําเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้ หน้าทีความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง ฝา่ ยจัดซือ ฝา่ ยวางแผนการผลิต และฝา่ ยงานวิจยั และพัฒนา ความเสียงด้านลูกค้ารายใหญ่ ลูกค้ารายใหญ่ในแต่ละประเทศจะมีจาํ นวนมากน้อยแตกต่างกันไป ปจั จุบนั ลูกค้าบริษทั รายใหญ่ ราย มียอดขายประมาณร้อย ละ ของยอดขายรวมทังบริษทั เนืองจากลูกค้ารายใหญ่มคี วามต้องการในสินค้าทีหลายชนิดทีบริษทั สามารถตอบสนองได้มากกว่าลูกค้า รายเล็ก การเข้าถึงลูกค้ารายเล็กจําเป็ นต้องใช้บุคคลากรมากกว่าในการเข้าถึง แต่อย่างไรก็ตามบริษทั ไม่มลี กู ค้ารายใหญ่รายใดทีมียอดขาย มากกว่าร้อยละ 0 ของยอดขายรวม ผลกระทบต่อยอดขายจึงอาจส่งผลไม่มากนัก บริษทั มีมาตรการควบคุมดูแล ดังนี จัดทํามาตรการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าทังด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์และด้านบริการของ บริษทั เน้นการส่งเสริมเพือสร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้า การให้บริหารทางเทคนิค เพือเป็ นการรักษาฐานลูกค้า รวมถึงการจัดการต่างๆเพือ สร้างความมันใจให้ลูกค้า และการนํ าเสนอสินค้าใหม่เพือเป็ นการเพิมยอดขายอีกทาง รวมถึงนโยบายการแต่งตังตัวแทนจําหน่ ายและที ปรึกษาเพือการเข้าถึงลูกค้าอย่างใกล้ชดิ ทําให้ทราบปญั หาและการตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว นโยบายการขยายฐานลูกค้าสูล่ กู ค้ารายกลาง ถึงรายเล็กเพือขยายฐานและลดผลกระทบ โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้หน้าทีความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง ฝ่ายขาย ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝา่ ยงานวิจยั และพัฒนา และฝา่ ยบริหารฯ ความเสียงด้านการเปลียนแปลงเทคโนโลยีบรรจุภณ ั ฑ์ สินค้าของบริษทั ใช้อยู่ในกลุ่มบรรจุภณ ั ฑ์ททํี าจากโลหะ หากบรรจุภณ ั ฑ์มกี ารเปลียนแปลงวัสดุไปเป็ นวัสดุชนิดอืน ก็อาจส่งผลกระ ั ทบต่อธุรกิจของบริษทั ได้ แต่อย่างไรก็ตามปจจุบนั เทคโนโลยีบรรจุภณ ั ฑ์อนๆยั ื งไม่สามารถตอบสนองต่อการเก็บรักษาคุณภาพสินค้าทีมี ระยะเวลาในการจัดเก็บได้นานเท่ากับบรรจุภณ ั ฑ์โลหะ รวมถึงความปลอดภัยในการจัดส่ง ดังนันอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์โลหะยังคงเป็ นที นิยมในการบรรจุอาหารและเครืองดืม บริษทั ไม่ได้หยุดนิงเพราะได้มกี ารวางแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเพือใช้กบั วัสดุใหม่ๆใน อนาคต ความเสียงด้านสิงแวดล้อม บริษทั ประกอบธุรกิจในการผลิตแลคเกอร์เคลือบกระป๋องและยางยาแนวฝากระป๋องซึงเป็ นเคมีภณ ั ฑ์ ดังนันกระบวนการผลิตอาจ ก่อให้เกิดมลภาวะได้ ในลักษณะของเสียง กลิน และการปนเปื อนของเสียในนํา เนืองมาจากการไม่ปฎิบตั ติ ามข้อกําหนดทางกฎหมายและ ข้อกําหนดของการนิคมอุตสาหกรรมฯ รวมถึงการขาดความรูค้ วามเข้าใจของบุคลากร บริษทั จึงได้พฒ ั นากระบวนการผลิตใหม่เป็ นระบบ ปิดทีมีการจัดการและควบคุมมลภาวะได้อย่างดี รวมถึงระบบบําบัดนําเสียให้สอดคล้องกับกฎหมายและข้อกําหนดด้านสิงแวดล้อมของการ นิคมอุตสาหกรรมฯ โดยกําหนดมาตรการดูแลควบคุมดังนี กําหนดแผนงานประจําปี ดําเนินการและควบคุมให้เป็ นไปตามมาตรฐานด้วยนโยบายการ ปฎิบตั อิ ย่างเคร่งครัด ให้เป็ นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายทุกประการ พร้อมทังให้มกี ารตรวจรับรองจากหน่ วยงานอิสระภายนอก ด้วย รายงานผลการตรวจสอบและแนวทางในการแก้ไข และกําหนดนโยบายปรับปรุงระบบการบริหารคุณภาพ ด้วยการกําหนดยกระดับระบบ

15


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

บริห ารคุ ณภาพจาก ISO 9001-2015 เป็ น ISO14000 และ ISO45001 เพือให้ค รอบคลุมถึงการจัดการด้านสิงแวดล้อ มและชีว อนามัย ภายในปี 2562 โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของฝา่ ยระบบคุณภาพ และฝา่ ยผลิต ความเสียงด้านการผลิต ั แม้ว่าบริษทั จะใช้กระบวนการผลิตระบบอัตโนมัตใิ นการควบคุมการผลิตนัน อาจเกิดปญหาด้ านการดูแลการผลิตหากระบบควบคุม การผลิตเกิดการขัดข้อง อย่างไรก็ตามปญั หานีได้รบั การออกแบบระบบการทํางานให้สามารถควบคุมด้วยบุคคลในขันตอนการผลิตเพือให้ สามารถดําเนินการผลิตได้อย่างต่อเนือง โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการผลิต ความเสียงด้านคุณภาพสินค้า ั ลูกค้าอาจพบปญหาการใช้ สนิ ค้าของบริษทั ในขันตอนการใช้งานทีโรงงานของลูกค้า หรือเกิดขึนทีลูกค้าปลายทางหลังจากทีมีการ บรรจุสนิ ค้า อย่างไรก็ตามบริษทั ได้จดั ทําประกันความเสียงด้านผลิตภัณฑ์ Product Liability Insurance เพือป้องกันความเสียหายทีมาจาก การเรียกร้องของลูกค้าในทุกภูมภิ าคทีบริษทั จําหน่ าย และได้กําหนดมาตรการควบคุมดูแลควบคุมความเสียงด้วยมาตรการดูแลลูก ค้าที โรงงานลูกค้า โดยกําหนดให้ทมี บริการเทคนิคและทีมงานขายเข้าร่วมตรวจสอบและประเมินความเสียง พร้อมทังหาวิธกี ารเพือเข้าปรึกษา ร่วมกับลูกค้าในการจัดการปญั หาทีเกิดขึนโดยรวดเร็ว โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของฝ่ายเทคนิคบริการ ฝ่ายวิจยั และ พัฒนา ฝา่ ยขาย ฝา่ ยระบบคุณภาพ และฝา่ ยผลิต ความเสียงด้านความผันผวนของราคาวัตถุดบิ วัต ถุ ดิบหลัก ในการผลิต แลคเกอร์เคลือบกระป๋องและยางยาแนวฝากระป๋องของบริษัท เป็ น เคมีภ ณ ั ฑ์ คิดเป็ น สัดส่วนต้นทุน ประมาณร้อยละ 70 ของต้นทุนการผลิตทังหมด ซึงราคาวัตถุดบิ จะผันผวนตามกลไกของตลาดด้านอุปสงค์และอุปทาน จึงส่งผลให้ต้นทุน การผลิตของบริษทั มีความผันผวนตามไปด้วย ทังนีจะส่งผลกระทบต่อผูป้ ระกอบการทุกรายในอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน อย่างไรก็ตาม บริษัทได้กําหนดมาตรการควบคุม ดังนี นโยบายทบทวนคําสังซือและการทบทวนปริมาณสินค้าคงคลัง เพือการพิจารณาการสังซือให้ เหมาะสม และนโยบายการทําสัญญาซือวัตถุ ดบิ ล่วงหน้ าตามสถานการณ์ ด้วยการติดตามราคานํ ามัน ราคาวัตถุดบิ อย่างใกล้ชดิ สร้าง ความสัมพันธ์ทดี​ี กบั ผูจ้ ดั จําหน่ ายเพือความยืดหยุ่นในการกําหนดราคา รวมถึงการจัดทํา Sales Forecast เพือเป็ นการวางแผนระยะยาว โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของฝา่ ยจัดซือ ฝา่ ยขาย ฝา่ ยวางแผน และฝา่ ยคลังสินค้า ความเสียงด้านการเงิน ความเสียงด้านอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ บริษทั มีธุรกรรมการส่งออกมากกว่าร้อยละ และมีการนําเข้าวัตถุดบิ แต่ใน สัดส่วนทีน้ อยกว่า ดังนันความผันผวนของอัตราแลกเปลียนการเงินอาจส่งผลกระทบต่อกําไรของบริษัทได้ บริษัทจึงกําหนดมาตรการ ควบคุมความเสียงดังนี นโยบายการบริหารการเงินด้วย Natural Hedging นโยบายการทําสัญญาซือขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า (Forward Contract) กับสถาบันการเงินในประเทศ และนโยบายการใช้บญ ั ชี FCD การใช้นโยบายต่างๆจะพิจารณาตามสถานการณ์ ของ ค่าเงินบาททีเกิดขึน ความเสียงต่อการลงทุนของผูถ้ ือหุ้นหลักทรัพย์ ความเสียงจากการทีบริษทั มีกลุ่มผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูถ้ อื หุน้ บริษทั ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนพักการโอนหุน้ วันที 28 ธันวาคม 2561 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 10 รายแรก ถือหุน้ รวมกันร้อยละ 77.90 ของจํานวนหุ้นทีจําหน่ ายได้แ ล้วทังหมดของบริษัท โดยได้ร วมกลุ่มตระกูลทังวัฒโนทัย ถือ หุ้น ร้อยละ 27.47 ของจํานวนหุ้นที จําหน่ ายได้แล้วทังหมดของบริษทั อาจมีความเสียงทีทําให้กลุ่มผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่สามารถครอบงําและควบคุมเสียงในทีประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ เกือบทังหมด สําหรับการขอมติในเรืองต่างๆทีใช้เสียงส่วนใหญ่ ของทีประชุมผู้ถอื หุ้นในการลงมติ ยกเว้นเรืองทีกฎหมายหรือข้อบังคับ บริษทั กําหนดให้ตอ้ งได้รบั เสียง 3 ใน 4 ของทีประชุมผูถ้ อื หุน้ ความเสี ยงต่อการทุจริ ตคอร์รปั ชัน ความเสียงจากการทุจริตคอร์รปั ชัน บริษทั ไม่ยอมรับการทุจริตคอร์รปั ชันใดๆทังสิน โดยครอบคลุมถึงธุรกิจและรายการทังหมดในทุกประเทศและทุกหน่ วยงาน ด้วย การกระทําเพือแสวงหาผลประโยชน์ทมิี ชอบด้วยหน้าทีหรือด้วยกฏหมาย เพือเอือประโยชน์ให้แก่ตนเอง พวกพ้องและหรือผูอ้ นื บริษทั จึง ได้กาํ หนดนโยบายและแนวปฏิบตั เิ รืองการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ติ ามนโยบาย นีโดยทัวกัน

16


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ข้อมูลทัวไปและข้อมูลสําคัญอืน ข้อมูลบริ ษทั ชือ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีตังสํานักงานใหญ่ ทีตังโรงงาน เว็บไซต์ ทุนจดทะเบียน ทุนทีออกและชําระแล้ว ปีทก่ี อตัง ติดต่อหน่ วยงานนักลงทุนสัมพันธ์

บริ ษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ผลิตและจําหน่ ายแลคเกอร์เคลือบกระป๋องและยางยาแนวฝากระป๋องให้กบั ผูผ้ ลิตกระป๋องโลหะ ทังในประเทศและต่างประเทศ 0107547000826 807/1 ชันที 6 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-6 โทรสาร 02-2 นิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร 1/83, 1/84 หมูท่ ี 2 ตําบลท่าทราย อําเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โทรศัพท์ 03 -446516 โทรสาร 034-446518 www.ubisasia.com 228,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 228,000,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) 227,999,991 บาท (หุน้ สามัญ 227,999,991 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) 17 มิถุนายน 2540 นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา โทรศัพท์ 02-6 โทรสาร 2-2 Email: nawat@ubisasia.com

ข้อมูลบริ ษทั ย่อย ชือบริ ษทั ย่อย 1 ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีตังสํานักงานใหญ่ ทีตังโรงงาน ทุนจดทะเบียน ทุนเรียกชําระ สัดส่วนการลงทุน ปีทก่ี อตัง ชือบริ ษทั ย่อย 2 ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีตังสํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระ สัดส่วนการลงทุน

บริ ษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด ผลิตและจําหน่ ายยางยาแนวฝากระป๋องให้กบั ผูผ้ ลิตกระป๋องโลหะทังในประเทศและ ต่างประเทศ 0105555077962 807/1 ชันที 6 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-6 โทรสาร 02-2 นิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร 1/83 หมูท่ ี 2 ตําบลท่าทราย อําเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โทรศัพท์ 03 -446516 โทรสาร 034-446518 160,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 16,000,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท) 160,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 16,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ทีเรียกเก็บหุน้ ละ 10 บาท) ร้อยละ 99.99 30 พฤษภาคม 2555 บริ ษทั ไวต้า อิ นเตอร์เนชันแนล (กว่างโจว) จํากัด (ตังอยู่ทประเทศจี ี น, จังหวัดกว่างโจว) ๋ ๋ นํ าเข้าและจําหน่ ายแลคเกอร์เคลือบกระปองและยางยาแนวฝากระปองให้กบั ผูผ้ ลิตกระป๋อง โลหะในประเทศจีน 440101400001952 ห้อง 806, เลขที 836 อาคารตงจุนพลาซ่า ถนนตงเฟงตะวันออก เขตเยียซิว เมืองกว่างโจว มณฑลกว่างตง รหัสไปรษณีย์ 510060 สาธารณรัฐประชาชนจีน โทรศัพท์ (8620) 87006481-2 โทรสาร (8620) 87006484 1.40 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือประมาณ 38.03 ล้านบาท) ร้อยละ 100

17


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ข้อมูลบุคคลอ้างอิ ง ผูส้ อบบัญชี

ทีปรึกษากฎหมาย ทีปรึกษาทางการเงิน นายทะเบียน

ข้อมูลสําคัญอืน

นายไพบูล ตันกูล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาต เลขทะเบียน 4298 บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด ชัน15 อาคารบางกอกซิตทาวเวอร์ ี เลขที 179/74-80 ถนนสาธรใต้ กรุงเทพฯ 10 20 โทรศัพท์ 02-884-1000 โทรสาร 02-286-5050 -ไม่ม-ี -ไม่ม-ี บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 93 ชัน 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-009 9000 โทรสาร 02-009 9992 -ไม่ม-ี

18


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ส่วนที 2 การจัดการและการกํากับดูแลกิ จการ

19


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ ือหุ้น ณ วันที 28 ธันวาคม 2561 บริษทั มีทุนจดทะเบียน 228,000,000 บาท ทุนทีออกและเรียกชําระแล้ว 227,999,991 บาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญ 227,999,991 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท เป็ นหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) รายชือผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ 10 รายแรก ตามทีปรากฏในสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ณ วันที 28 ธันวาคม 2561 ลําดับที 1.

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชือผู้ถือหุ้น กลุ่มครอบครัวทังวัฒโนทัย

จํานวนหุ้นทีถือ 62,636,060

สัดส่วนการถือหุ้น 27.47%

15,747,575 2,366,725 7,650,000 8,723,635 7,200,000 7,200,000 5,796,475 4,035,725 3,915,725 200 42,378,300 18,423,700 12,663,900 8,532,130 8,509,200 8,503,999 6,110,438 5,030,000 4,636,363 50,575,901 227,999,991

6.91% 1.04% 3.36% 3.83% 3.16% 3.16% 2.54% 1.77% 1.72% 0.00% 18.59% 8.08% 5.55% 3.74% 3.73% 3.73% 2.68% 2.21% 2.03% 22.18% 100.00%

นายสวัสดิ ทังวัฒโนทัย นายสวง ทังวัฒโนทัย นางสาวภัทรา ทังวัฒโนทัย นายแสวง ทังวัฒโนทัย นางสาวพิมทอง ทังวัฒโนทัย นายสกรรจ์ ทังวัฒโนทัย นายสว่าง ทังวัฒโนทัย นางสาวมยุรี ทังวัฒโนทัย นางสาวรัชนี ทังวัฒโนทัย นางสุวรรณา ทังวัฒโนทัย นายนันท์ กฤตยานุตกุลท์ นายพิชยั สถาวรมณี นายภาณุสณ ั ฑ์ เปรืองวิรยิ ะ นางสาวสุดคะนึง ปญั ญะธารา นายธีรยุทธ เหรียญชัยยุทธ นางสาวรัตนิตา กฤตยานุตกุลท์ นายศิรศิ กั ดิ ปิ ยทัสสีกุล นายคมสัน เตชะไมตรีจติ ต์ นางสาวอัยลดา ชินวัฒน์ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อยอืนๆ รวม

ข้อจํากัดการถือหุ้นของชาวต่างชาติ ทีเป็ นชาวต่างชาติสามารถถือครองหุ้นของบริษัท รวมกันได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของจํานวนหุ้นทีออกและชําระแล้ว ณ วันที 2 ธันวาคม 2561 หุน้ ของบริษทั ทีถือโดยชาวต่างชาติมจี าํ นวนร้อยละ 0.36 รายชือผูถ้ อื หุน้ ทีเป็ นกรรมการ และ/หรือ ผูบ้ ริหาร ตามทีปรากฏในสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ณ วันที 2 ธันวาคม 256 ลําดับที 1 2 3 4

รายชือผูถ้ อื หุน้ นายสว่าง ทังวัฒโนทัย นายวิโรจน์ ทังพิทกั ษ์ไพศาล นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา นางสาวพวงเงิน กาญจน์รกั ษ์ รวม

จํานวนหุน้ ทีถือ 5,796,475 1,202,400 1,110,000 91,000 8,199,875

สัดส่วนการถือหุน้ 2.54% 0.53% 0.49% 0.04% 3.60%

นโยบายการจ่ายเงิ นปันผลของบริ ษทั ในกรณีปกติทบริ ี ษทั ไม่มคี วามจําเป็ นต้องใช้เงินเพือการลงทุนเพิมหรือขยายงาน และมีกระแสเงินสดเพียงพอ บริษทั มีนโยบาย ั จ่ายเงินปนผลไม่ตํากว่าร้อยละ 4 ของกําไรสุทธิจากผลการดําเนิน งานหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลและเงินสํารองตามกฎหมายแล้ว อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษทั อาจจะกําหนดให้บริษทั จ่ายเงินปนั ผลแตกต่างไปจากนโยบายดังกล่าวได้ตามความเหมาะสมและตาม ความจําเป็ นของบริษทั เช่น กรณีทบริ ี ษทั มีความจําเป็ นต้องใช้เงินเพือการลงทุนหรือการขยายกิจการ หรือกรณีทมี​ี การเปลียนแปลงภาวะ ทางเศรษฐกิจหรือสภาพตลาดหรือมีเหตุการณ์อนใดที ื มีผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินของบริษทั เป็ นต้น

20


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

โครงสร้างการจัดการ

นโยบายการจ่ายเงิ นปันผลของบริ ษทั ย่อย ั บริษทั ย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปนผลตามผลประกอบการของบริ ษทั โดยมิได้กาํ หนดอัตราการจ่ายเงินปนั ผลทีแน่ นอน แต่ขนอยู ึ ่ กับแผนการลงทุนในอนาคตของบริษทั ย่อย

21


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริ ษทั (ข้อมูล ณ วันที 31 ธันวาคม 256 ) ประกอบด้วย

นายภักดี กาญจนาวลัย ตําแหน่ ง

ประธานกรรมการตรวจสอบ รองประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ อายุ ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 1 สิงหาคม 2547 จํานวนปี ทีดํารงตําแหน่ ง 1 ปี 4 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ 14/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2547-ปจั จุบนั ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน รองประธานกรรมการบริษทั กรรมการอิสระ บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในบริ ษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่ งในกิ จการทีไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน 2511-ปจั จุบนั ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต สํานักงานภาญจนกิจ (ตรวจสอบบัญชี) การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั (%) -ไม่ม-ี

นายฉัฐภูมิ ขันติ วิริยะ ตําแหน่ ง กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง อายุ 5 ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 27 กุมภาพันธ์ 2558 จํานวนปี ที ดํารงตําแหน่ ง ปี 10 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตรเลขานุการบริษทั สมาคมส่งเสิรมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตรบทบาทกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตรกรรมการตรวจสอบ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2558-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั , กรรมการบริหารความเสียง บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) 2558กรรมการบริษทั ยูบสิ พรีมาเทค จํากัด ตําแหน่ งในบริ ษทั จดทะเบียนอืน 2556-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั ดีเอ็นเอ 2002 จํากัด (มหาชน) 2557-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั คอมมิวนิเคชัน แอนด์ ซิสเต็มส์ โซลูชนั จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในกิ จการทีไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน -ปจั จุบนั กรรมการบริษทั เอ็น บี ไอ โฟร บิส จํากัด - ปจั จุบนั กรรมการบริษทั พัสดุภณ ั ฑ์ไทย จํากัด การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั (%) -ไม่ม-ี

22


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

นายณวรรธน์ ตริ ยพงศ์พฒ ั นา ตําแหน่ ง

กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง กรรมการผูจ้ ดั การ (มีอํานาจลงนามผูกพัน) อายุ 47 ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 14 พฤษภาคม 2558 จํานวนปี ที ดํารงตําแหน่ ง 3 ปี 7 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การอบรม หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ 216/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2558-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) 2558-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั และกรรมการบริหาร บริษทั ยูบสิ พรีมาเทค จํากัด (บ.ย่อย) 2555-ปจั จุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในบริ ษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่ งในกิ จการทีไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน -ไม่ม-ี การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั (%) 0.49%

นายสว่าง ทังวัฒโนทัย ตําแหน่ ง กรรมการบริษทั (มีอํานาจลงนามผูกพัน) อายุ 6 ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 1 สิงหาคม 2547 จํานวนปี ทีดํารงตําแหน่ ง 1 ปี 4 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (เคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Oklahoma State University, USA การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ 18/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2547-ปจั จุบนั กรรมการผูม้ อี ํานาจลงนามผูกพันตามหนังสือรับรองบริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) 2547-2558 ผูอ้ ํานวยการสายปฏิบตั กิ าร บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในบริ ษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่ งในกิ จการทีไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน -ไม่ม-ี การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั (%) 2.54%

23


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

นางสาวโสภา นาจันหอม ตําแหน่ ง กรรมการบริษทั เลขานุการบริษทั (มีอํานาจลงนามผูกพัน) อายุ 4 ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 14 พฤษภาคม 2558 จํานวนปี ที ดํารงตําแหน่ ง ปี 7 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาโท ด้านการบริหารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม ผ่านการทดสอบหลักสูตร Director Diploma Examination รุน่ 62/2018 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ 248/2017 หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุน่ 81/2017 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ 121/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตร Strategic CFO in Capital Markets Program (SCFO) รุน่ 4/2017 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2558-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั และกรรมการบริหาร บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) 2560-ปจั จุบนั รองกรรมการผูจ้ ดั การฯ และเลขานุการบริษทั บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในบริ ษทั จดทะเบียนอืน 2557-2558 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ.ไมด้า ลิสซิง 2560-2561 กรรมการบริษทั ทาพาโก้ จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในกิ จการทีไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน 2558-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั บริษทั ยูบสิ พรีมาเทค จํากัด 2560กรรมการบริษทั ทาพาโก้ โมลด์ จํากัด 2545-ปจั จุบนั ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต สํานักบัญชีอสิ ระ การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั (%) -ไม่ม-ี

นางสาวฐิ ติภรณ์ ศิ ลปรัศมี ตําแหน่ ง กรรมการบริษทั กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 6 ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 7 มกราคม 2559 จํานวนปี ทีดํารงตําแหน่ ง 2 ปี 11 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปริญญาโท สาขาธุรกิจ SME มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ 124/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2559-ปจั จุบนั กรรมการบริษทั กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในบริ ษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่ งในกิ จการทีไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน 2553-ปจั จุบนั ประธานเจ้าหน้าทีบริหาร บริษทั แสงรุง่ ถาวร จํากัด 2553-ปจั จุบนั ทีปรึกษา บริษทั เทเลอร์ อินดัสตรี จํากัด 2553-ปจั จุบนั ทีปรึกษา บริษทั ศิรวัฒน์ แลนด์ จํากัด การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั (%) -ไม่ม-ี

หมายเหตุ นางสาวฐิ ตภรณ์ ศิ ลปะรัศมี ได้ลาออกจากตําแหน่ งกรรมการตังแต่ วนั ที 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

24


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

นายอนันต์ สิ ริแสงทักษิ ณ ตําแหน่ ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสียง อายุ 6 ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 28 เมษายน 2560 จํานวนปี ทีดํารงตําแหน่ ง ปี 9 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ, Eastern New Mexico University การอบรม หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง (วตท 13) สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (วปอ 2546) มหาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร Advanced Audit Committee Program หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2560-ปจั จุบนั กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร ความเสียง บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั จดทะเบียนอืน 2559-ปจั จุบนั กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ บริษทั เชียงใหม่รมิ ริมดอย จํากัด (มหาชน) 2558-ปจั จุบนั กรรมการ บริษทั อาเซียนโปแตชชัยภูม ิ จํากัด (มหาชน) 2558-ปจั จุบนั กรรมการ บริษทั ไอร่าแคปปิตอล จํากัด (มหาชน) 2555-ปจั จุบนั กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ บริษทั นิปปอนแพ็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั (%) -ไม่ม-ี

นายกวิ น เฉลิ มโรจน์ ตําแหน่ ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ, กรรมการบริหารความเสียง อายุ 42 ปี วันทีได้รบั แต่งตังเป็ นกรรมการ 21 มิถุนายน 2560 จํานวนปี ทีดํารงตําแหน่ ง ปี 6 เดือน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิศวอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสริ นิ ธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมการจัดการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่ งปัจจุบนั ในบริ ษทั และประสบการณ์ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2560-ปจั จุบัน กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ บริษัท ยู บิส (เอเชีย ) จํากัด (มหาชน) กรรมการบริหารความเสียง ตําแหน่ งในบริ ษทั จดทะเบียนอืน 2556-ปจั จุบนั ผูช้ ว่ ยประธานกรรมการและกรรมการ บริษทั ยูไนเต็ด เพาเวอร์ ออฟ เอเชีย จํากัด (มหาชน) ตําแหน่ งในกิ จการทีไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน 2556-ปจั จุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โดม แลนด์ เอสเตท จํากัด 2552กรรมการบริหาร บริษทั ฮาท แอนด์ มายด์ แอพพาเรล จํากัด การดํารงตําแหน่ งในกิ จการทีอาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียในบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริ หาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหุ้นในบริ ษทั (%) -ไม่ม-ี

25


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

คณะกรรมการบริ ษทั ข้อมูล ณ วันที 31 ธันวาคม 256 บริษทั มีกรรมการบริษทั จํานวน ท่าน ประกอบด้วย ชือ-สกุล ตําแหน่ ง รองประธานกรรมการบริษทั / 1. นายภักดี กาญจนาวลัย ประธานกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสว่าง ทังวัฒโนทัย

กรรมการบริษทั

3. นายฉัฐภูม ิ ขันติวริ ยิ ะ

กรรมการบริษทั

4. นางฐิตภิ รณ์ ศิลปรัศมี

กรรมการบริษทั

5. นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา

กรรมการบริษทั

6. นางสาวโสภา นาจันหอม

กรรมการบริษทั

7. นายกวิน เฉลิมโรจน์

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

8. นายอนันต์ สิรแิ สงทักษิณ

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษทั มีวาระการดํารงตําแหน่ งคราวละ 3 ปี หมายเหตุ : ณ วันที ธันวาคม ได้มหี นังสือจากส่วนจดทะเบียนบริษทั มหาชน และธุรกิจพิเศษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ไม่รบั จดทะเบียนนายแสวง ทังวัฒโนทัย เนืองจากได้รบั คะแนนเสียงเห็นด้วยน้อยกว่าคะแนนเสียงไม่เห็นด้วย จึงไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ คะแนนเสียงทีบริษทั กําหนดไว้ตามข้อบังคับ ข้อที ดังนันนายแสวง ทังวัฒโนทัย จึงไม่ใช่ผทู้ ได้ ี รบั การเลือกตังให้เป็ นกรรมการ ต่อมา นายแสวงได้ยนอุ ื ทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์มคี ําวินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์ และยืนตาม คําสังนายทะเบียนทีไม่รบั จดทะเบียนนายแสวง ทัววัฒโนทัยเข้าเป็ นกรรมการ ขอบเขตอํานาจหน้าทีของคณะกรรมการบริษทั 1. พิจารณาให้ความเห็นชอบในเรืองทีสําคัญเกียวกับการดําเนินงานของบริษทั เช่น วิสยั ทัศน์ และภารกิจกลยุทธ์ เป้าหมายทาง การเงิน ความเสียง มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน รวมถึงแผนงาน และงบประมาณ เป็ นประจําทุกปี โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของผู้ มีส่วนได้เสียทุกฝา่ ย ติดตามและดูแลให้ฝา่ ยจัดการดําเนินงานตามนโยบาย และแผนทีกําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. จัดการบริษัท ให้เป็ น ไปตามกฎหมาย วัต ถุ ประสงค์ และข้อ บังคับของบริษัท ตลอดจนมติข องทีประชุมผู้ถือหุ้นทีชอบด้วย กฎหมายด้วยความซือสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั 3. ควบคุมกํากับดูแลการบริหารและการจัดการของคณะกรรมการบริหารให้เป็ นไปตามนโยบายทีได้รบั มอบหมาย เว้นแต่ในเรือง ดังต่อไปนี คณะกรรมการต้องได้รบั มติอนุ มตั ขิ องทีประชุมผูถ้ ือหุ้นก่อนการดําเนินการอันได้แก่ เรืองทีกฎหมายกําหนดให้ต้องได้รบั มติ อนุ มตั ขิ องทีประชุมผูถ้ อื หุน้ เช่น การเพิมทุน การลดทุน การออกหุน้ กู้ การขายหรือโอนกิจการของบริษทั ทังหมดหรือบางส่วนทีสําคัญให้แก่ บุคคลอืน หรือการซือหรือรับโอนกิจการของบริษทั อืนมาเป็ นของบริษทั การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ เป็ นต้น 4. คณะกรรมการอาจแต่ งตังกรรมการจํานวนหนึงตามทีเห็นสมควร ให้เป็ น คณะกรรมการบริห ารเพือปฏิบตั ิงานตามทีได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และให้คณะกรรมการตังกรรมการบริหารคนหนึง เป็ นประธานกรรมการบริหาร ทังนี กรรมการบริหารมี สิทธิได้รบั ค่าตอบแทนและบําเหน็จตามทีทีประชุมคณะกรรมการบริษทั กําหนด โดยไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของกรรมการบริหารในอันที จะได้รบั ค่าตอบแทนและผลประโยชน์อย่างอืนในฐานะทีเป็ นกรรมการหรือพนักงานของบริษทั 5. คณะกรรมการอาจแต่งตังบุคคลอืนใดให้ดําเนินกิจการของบริษัทภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการหรืออาจมอบอํานาจ เพือให้บุคคลดังกล่าวมีอํานาจตามทีคณะกรรมการเห็นสมควรและภายในเวลาทีคณะกรรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลียนแปลงหรือแก้ไขอํานาจนันๆ ก็ได้ 6. ห้ามมิให้กรรมการประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั หรือเข้าเป็ นหุน้ ส่วนในห้าง หุน้ ส่วนสามัญ หรือเป็ นหุน้ ส่วนไม่จาํ กัดความรับผิดในห้างหุน้ ส่วนจํากัด หรือเป็ นกรรมการของบริษทั อืน ทีประกอบกิจการอันมีสภาพอย่าง เดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ไม่ว่าจะทําเพือประโยชน์ของตนเองหรือประโยชน์ของผูอ้ นื เว้นแต่กรรมการผูน้ นจะได้ ั แจ้ง ให้ทประชุ ี มผูถ้ อื หุน้ ทราบก่อนทีจะมีมติแต่งตังตนเป็ นกรรมการ 7. การจ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาล 8. การว่าจ้างหรือแต่งตังกรรมการผูจ้ ดั การ

26


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

9. การแต่งตังกรรมการในบริษทั ย่อย ทังนี ในกรณีทการดํ ี าเนินการเรืองใดทีกรรมการท่านใดหรือบุคคลทีอาจมีความขัดแย้ง (ตามประกาศสํานักงาน กลต. และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) มีส่วนได้เสียหรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.) มีส่วนได้เสียหรือมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษทั หรือบริษทั ย่อย โดยคณะกรรมการบริษทั จะต้องงดการออกเสียงลงคะแนน และ/หรือนํ าเสนอเรือง ดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษทั และ/หรือทีประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือให้พจิ ารณาและอนุ มตั ริ ายการดังกล่าวภายใต้ขอ้ บังคับหรือประกาศหรือ กฎหมายทีเกียวข้อง คณะกรรมการชุดย่อย โครงสร้างการจัดการประกอบด้วยคณะกรรมการชุดย่อยทังหมด 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสียง โดยมีรายละเอียดดังนี คณะกรรมการตรวจสอบ ชือ-สกุล ตําแหน่ ง 1. นายภักดี กาญจนาวลัย ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายอนันต์ สิรแิ สงทักษิณ กรรมการตรวจสอบ 3. นายกวิน เฉลิมโรจน์ กรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการตรวจสอบ  สอบทานให้บริษท ั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ  สอบทานระบบการกํากับดูแลกิจการ การควบคุมภายใน การบริหารความเสียง และกระบวนการทีเกียวข้องกับ มาตรการการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ของบริษทั ให้เป็ นไปตามแนวทางทีเป็ นทียอมรับของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  สอบทานให้บริษท ั ฯ มีหน่ วยงานตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ พิจารณาความ เป็ น อิส ระของหน่ วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ค วามเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง โยกย้าย เลิก จ้าง หัวหน้าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน  สอบทานให้บริษท ั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ  พิจ ารณาคัด เลือ กเสนอแต่ ง ตังบุ ค คลซึงมีค วามเป็ น อิส ระเพือทํ า หน้ า ทีเป็ น ผู้ส อบบัญ ชีข องบริษ ัท ฯและเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่าง น้อยปีละ 1 ครัง  พิจ ารณารายการเกียวโยงกัน หรือ รายการทีอาจมีค วามขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ ให้เ ป็ น ไปตามกฎหมายและ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทังนีเพือให้มนใจว่ ั ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั  จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปีของบริษท ั ฯ ซึงรายงานดังกล่าวต้องลง นามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี ความเห็นเกียวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นทีเชือถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ความเห็นเกียวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ ความเห็นเกียวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ขอ้ กําหนดของตลาด หลักทรัพย์หรือกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ ความเห็นเกียวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี ความเห็นเกียวกับรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จํานวนการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่าน ความเห็น หรือ ข้อ สัง เกตโดยรวมทีคณะกรรมการตรวจสอบได้ร บั จากการปฏิบ ัติห น้ า ทีตามกฎบัต ร (Charter) รายการอืนทีเห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัวไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าทีและความรับผิดชอบทีได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

27


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

      

รายงานประจําปี 256

ดําเนินการตรวจสอบเรืองทีได้รบั แจ้งจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ในกรณีพบพฤติกรรมอันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้ จ ัด การ หรื อ บุ ค คลซึ งรับ ผิด ชอบในการดํ า เนิ น งานของบริษั ท ฯ ได้ ก ระทํ า ความผิด ตามทีกํ า หนดไว้ ใ น พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที 4) พ.ศ. 2551 และรายงานผลการตรวจสอบในเบืองต้น ให้แก่สาํ นักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ และผูส้ อบบัญชีทราบภายในสามสิบวันนับแต่ วันทีได้รบั แจ้งจากผูส้ อบบัญชี พิจารณาให้ความเห็นเกียวกับแผนงาน ผลการปฏิบตั ิงาน งบประมาณและอัตรากําลังของสํานัก งานตรวจสอบ ภายใน สอบทานและอนุ มตั กิ ฎบัตรของการตรวจสอบภายใน จัดทํารายงานการปฏิบตั งิ านเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครัง ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครัง คณะกรรมการตรวจสอบสามารถเชิญฝ่ายจัดการหรือ หัวหน้ างานเข้าร่วมประชุ มเพือชีแจงหรือให้ส่งเอกสารที เกียวข้องได้ตามขอบเขตอํานาจหน้าที คณะกรรมการตรวจสอบสามารถรับคําปรึกษาจากผูเ้ ชียวชาญอิสระตามความเหมาะสมด้วยค่าใช้จ่ายของบริษทั ฯ ตามขอบเขตงานทีรับผิดชอบ ปฏิบตั ิก ารอืนใดตามทีคณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมายด้ว ยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ กําหนดให้กรรมการตรวจสอบดํารงตําแหน่ งเป็ นเวลา 3 ปี โดยให้ครบวาระตามวาระการเป็ นกรรมการบริษทั ของ กรรมการแต่ละท่าน

คณะกรรมการบริ หาร ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการบริ หาร  วางแผน ดําเนินกิจการและควบคุมกิจการของบริษท ั ให้เป็ นไปตามนโยบายทีใด้รบั อนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั และดําเนินกิจการใดๆ เพือสนับสนุ นการดําเนินงานภายใต้ระเบียบบริษทั ฯ นโยบายของคณะกรรมการบริษทั และ นโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน รวมทังกําหนดหน้าทีให้พนักงานและลูกจ้างบริษทั ฯ ระดับต่างๆ ปฏิบตั ติ าม  กําหนดกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษท ั  กําหนดแผน และแนวทางเกียวกับการลงทุนตามนโยบายของบริษท ั  มีอํานาจพิจารณาอนุ มตั กิ ารกู้ หรือการขอสินเชือใด ๆ เพือธุรกรรมตามปกติของบริษท ั รวมถึงเป็ นผูค้ าประกั ํ นหรือ การชําระเงินหรือการชําระหนีเพือการดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษทั ในวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท  กําหนดโครงสร้างองค์กร และการบริหาร รวมถึงมีอํานาจจ้าง แต่งตัง ปลดออก ให้ออก ไล่ออก กําหนดอัตราค่าจ้าง ให้บาํ เหน็จรางวัล ปรับขึนเงินเดือน ค่าตอบแทน โบนัส สําหรับพนักงานระดับผูอ้ ํานวยการฝา่ ยขึนไป  มีอํานาจพิจารณากําหนดสวัสดิการพนักงานให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ ประเพณี และสอดคล้องกับกฎหมายที บังคับใช้อยู่  มีอํานาจอนุ มตั ริ ายการค่าใช้จ่ายทางการค้าทีเป็ นปกติของธุรกิจ และการซือวัตถุดบ ิ เพือการผลิต หรือการซือสินค้า เพือจําหน่ าย รวมถึงการทําสัญญาทีมีภาระผูกพันของบริษทั ในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท  มีอํานาจอนุ มตั ริ ายการซือ-ขายทรัพย์สน ิ หรือการจัดซือ-จัดจ้าง หรือการก่อสร้าง หรือการเช่า เพือใช้ประกอบธุรกิจ หลักปกติตามวัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ และการให้เช่าทรัพย์สนิ เพือหารายได้ ให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของบริษทั ในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท  ควบคุมดูแลการดําเนินงานของบริษท ั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติท ี ประชุมผูถ้ อื หุน้  ปฏิบตั ห ิ น้าทีอืนๆ ตามทีได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ในแต่ละคราว ทังนี การมอบหมายอํานาจหน้าทีและความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้างต้นนัน จะไม่รวมถึงอํานาจ และ/หรือ การมอบอํานาจช่วงในการอนุ มตั ริ ายการใดทีตน หรือผู้รบั มอบอํานาจช่วง หรือบุคคลทีอาจมีความขัดแย้ง (ตามทีนิยามไว้ในประกาศ คณะกรรมการ ก.ล.ต.) มีส่วนได้เสียหรือผลประโยชน์ในลักษณะอืนใดขัดแย้งกับบริษทั หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ซึงการอนุ มตั ริ ายการใน ลักษณะดังกล่าวจะต้องเสนอต่อทีประชุมคณะกรรมการ และ/หรือทีประชุมผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) เพือพิจารณาอนุ มตั ริ ายการดังกล่าว ตามทีข้อบังคับของบริษทั หรือกฎหมายทีเกียวข้องกําหนด

28


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่าตอบแทน ชือ-สกุล 1. นายภักดี กาญจนาวลัย 2. นางฐิตภิ รณ์ ศิลปรัศมี 3. นายกวิน เฉลิมโรจน์

ตําแหน่ ง ประธานกรรมการสรรหาฯ กรรมการสรรหาฯ กรรมการสรรหาฯ

ขอบเขตอํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่าตอบแทน  การปฏิบตั งิ านด้านการสรรหา - พิจารณาองค์ประกอบ คุ ณสมบัติข องคณะกรรมการบริษัท โดยรวม และรายบุค คล ทีเหมาะสมกับขนาด ประเภท และความซับ ซ้ อ นของธุ ร กิจ ของบริษัท ฯ ทังในด้ า นการศึก ษา ความรู้ ความชํ า นาญ ทัก ษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านทีเกียวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ความเป็ นอิสระตามหลักเกณฑ์ท ี บริษทั ฯ กําหนด - พิจารณาคุณสมบัตขิ องผูบ้ ริหารสูงสุดทีเหมาะสมกับการบริหารจัดการธุรกิจของบริษทั ฯ เพือให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ ทีกําหนดไว้ โดยให้ค รอบคลุ มทังในด้านการศึก ษา ประสบการณ์ ความรู้ ความเชียวชาญ และนํ าปจั จัย สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทีสําคัญและเกียวข้อง เช่น สภาพและแนวโน้มเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจน การแข่งขันทางธุรกิจมาประกอบการพิจารณาด้วย - กําหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์ในการสรรหาบุคคล ให้สอดคล้องกับโครงสร้างและคุณสมบัตติ ามทีกําหนด ไว้ขา้ งต้น ทังนี โดยยึดมันในหลักการกํากับดูแลกิจการทีดี - กํากับดูแลให้บริษทั ฯ จัดให้มกี ารปฐมนิเทศ และมอบเอกสารทีเป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั หิ น้าทีให้แก่กรรมการ ทีได้รบั การแต่งตังใหม่ - จัดทําและทบทวนแผนการสืบทอดตําแหน่ ง (Succession Plan) ของผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ เพือเตรียม ความพร้อมเป็ นแผนต่อเนืองให้มผี สู้ บื ทอดงานเพือให้การบริหารงานของบริษทั ฯสามารถดําเนินไปได้อย่าง ต่อเนือง - คัดเลือ กกรรมการบริษัท ทีมีคุ ณสมบัติเหมาะสมเป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่ อย เพือนํ าเสนอต่อที ประชุมคณะกรรมการบริษทั พิจารณาแต่งตังเมือมีตําแหน่ งว่างลง  การปฏิบตั งิ านด้านการพิจารณาค่าตอบแทน - ทบทวนและเสนอรูปแบบ ตลอดจนหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับหน้าทีความรับผิดชอบ ของกรรมการ โดยเชือมโยงค่าตอบแทนกับผลการดําเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ เพือให้สามารถจูงใจและ รักษากรรมการทีมีความสามารถ มีคุณภาพ และศักยภาพ ทังนี ให้คณะกรรมการบริษทั เป็ นผูพ้ จิ ารณาเพือให้ ความเห็นชอบก่อนนําเสนอเพือขออนุ มตั ติ ่อทีประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจําปี - ประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี และพิจารณาปรับอัตราค่าตอบแทนทีเหมาะสมให้แก่ผู้บริหารสูงสุดของ บริษทั ฯ เพือเสนอขออนุ มตั ติ ่อคณะกรรมการบริษทั  พิจารณาทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน อย่างน้อยปีละ ครัง  รับผิดชอบต่อการอืนใดทีคณะกรรมการบริษทั มอบหมาย คณะกรรมการบริ หารความเสียง 1. 2. 3. 4.

ชือ-สกุล นายอนันต์ สิรแิ สงทักษิณ นายกวิน เฉลิมโรจน์ นายฉัฐภูม ิ ขันติวริ ยิ ะ นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา

ตําแหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง

ขอบเขต อํานาจ หน้ าที ของคณะกรรมการบริ หารความเสียง  คณะกรรมการบริหารความเสียงมีอํานาจให้หน่ วยงานต่างๆ ในองค์กร ชีแจงข้อมูลเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรือเชิญ ให้ผบู้ ริหารและเจ้าหน้าทีทีเกียวข้องเข้าร่วมการประชุมกับคณะกรรมการบริหารความเสียงเพือชีแจงหรือให้ขอ้ มูล

29


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

  

 

รายงานประจําปี 256

ด้วยวาจา สําหรับความเสียงและการปฏิบตั ิหน้ าทีตามความรับผิดชอบ ตามทีคณะกรรมการบริหารความเสียง เห็นสมควร คณะกรรมการบริหารความเสียงมีอํานาจในการให้หน่ วยงานต่างๆในองค์กรดําเนินการ หรือปฏิบตั กิ ารอย่างหนึง อย่างใดเท่าทีจําเป็ น เพือให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีตามความรับผิดชอบทีกําหนดในกฏบัตรฯ หรือหน้าทีพิเศษอืนใด ตามทีคณะกรรมการบริษทั จะมอบหมายให้ปฏิบตั เิ พิมเติมเป็ นกรณีพเิ ศษ พิจารณากลันกรองเรืองการควบคุมภายในและการบริหารความเสียงขององค์กร การกํากับดูแล ให้คําปรึกษา คําแนะนํ า ข้อเสนอแนะในเรืองการควบคุมภายในและการบริหารความเสียงทีเป็ น ประเด็นสําคัญขององค์กร แต่งตังคณะทํางานบริหารความเสียงเพือให้เป็ นไปตามแนวทางปฎิบตั ใิ นการบริหารความเสียง ตามหลักเกณฑ์และ แนวทางการกํากับดูแลกิจการทีดี โดยการมอบหมายอํานาจหน้ าทีให้หน่ วยงานในองค์กรอย่างชัดเจนทําหน้าที ตรวจสอบดูแลการบริหารความเสียงโดยตรง ดูแลสนับสนุ นให้มกี ารสอบทาน และทบทวนนโยบาย และกรอบการบริหารความเสียงขององค์กรเป็ นประจําอย่าง น้อยทุกปี เพือให้แน่ ใจว่านโยบาย และกรอบบริหารความเสียงดังกล่าว ยังคงสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพการ ดําเนินธุรกิจในภาพรวม และกิจกรรมการบริหารความเสียงขององค์กร รายงานผลการบริหารความเสียงทีสําคัญให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบ พิจารณาเรืองอืนๆ ตามทีคณะกรรมการบริษทั มอบหมาย

ผูบ้ ริ หาร ข้อมูล ณ วันที 31 ธันวาคม 2561 บริษทั มีผบู้ ริหาร จํานวน 6 ท่าน ประกอบด้วย ชือ-สกุล ตําแหน่ ง 1. นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา กรรมการผูจ้ ดั การ 2. นางสาวโสภา นาจันหอม รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการเงิน-บัญชี และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. นายวิโรจน์ ทังพิทกั ษ์ไพศาล รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการขายและการตลาด 4. นายฉัตรชัย ดาวเรือง รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการผลิต 5. นางสาวพวงเงิน กาญจน์รกั ษ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานบุคคล 6. นายดัก ราสิก รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานเทคโนโลยีและพัฒนา กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริ ษทั ฯ กรรมการผูม้ อี ํานาจลงนาม ประกอบด้วย นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา นางสาวโสภา นาจันหอม และนายสว่าง ทังวัฒโนทัย โดย กรรมการสองในสามคนนี ลงลายมือชือร่วมกันพร้อมประทับตราสําคัญบริษทั ขอบเขต อํานาจ หน้ าทีของกรรมการผูจ้ ดั การ 1. กําหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ ทิศทาง กลยุทธ์ต่างๆของบริษทั และบริหารให้เป็ นไปตามเป้าหมายรวมทีบริษทั กําหนดไว้ 2. ดูแล กํากับ การดําเนินกิจกรรมต่างๆให้บรรลุวตั ถุประสงค์ และถูกต้องตามข้อกําหนดทางกฏหมาย และระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ 3. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการต่างๆให้มปี ระสิทธิภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนืองยังยืน 4. กํ า หนดนโยบายและบริห ารงาน ด้า นคุ ณ ภาพ สวัส ดิก าร สุ ข ภาพ และความปลอดภัย รวมถึง ด้า นผลกระทบ สิงแวดล้อม 5. ส่งเสริม และสนับสนุ นให้บุคคลากรอันทรงค่าขององค์กร มีความซือสัตย์ รักและสามัคคี มีการพัฒนาการตนเองอย่าง ต่อเนือง 6. สือสารนโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ต่างๆของบริษทั ข้อมูลทางธุรกิจทีจําเป็ นตามความเหมาะสมอย่าง สมําเสมอให้บุคคลากรในองค์กร 7. สือสารข้อมูลทางธุรกิจทีจําเป็ นให้บุคคลภายนอกองค์กรอย่างถูกต้อง เหมาะสมและทันการณ์ 8. ดําเนินกิจการใดๆเพือสนับสนุ นการดําเนินงานภายใต้ระเบียบของบริษทั นโยบายของคณะกรรมการบริษทั นโยบาย และมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน รวมทังกําหนดหน้าทีความรับผิดชอบให้พนักงานของบริษัทระดับต่ างๆ ปฏิบตั ิ

30


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ทังนี การใช้อํานาจหน้าทีของกรรมการผูจ้ ดั การไม่รวมถึง (ต้องไม่ขดั แย้งกับกฎเกณฑ์ของ ก.ล.ต.) อํานาจในการอนุ มตั ริ ายการที ทําให้กรรมการผูจ้ ดั การหรือบุคคลทีอาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอืนใดกับบริษทั และ บริษทั ย่อย รวมทังรายการทีกําหนดให้ขอความเห็นชอบจากทีประชุมคณะกรรมการบริษทั หรือทีประชุมผูถ้ อื หุน้ เช่น รายการทีเกียวโยง หรือการได้มาหรือจําหน่ ายไป ซึงสินทรัพย์ของบริษทั และบริษทั ย่อย เป็ นต้น เลขานุการบริ ษทั นางสาวโสภา นาจันหอม ดํารงตําแหน่ งเป็ นเลขานุ การบริษทั ตังแต่วนั ที 21 มิถุนายน 2560 โดยคุณสมบัตขิ องผูด้ าํ รงตําแหน่ งเป็ น เลขานุ การบริษทั จะต้องปฏิบตั หิ น้าทีตามทีกําหนดในมาตรา 89/15 และมาตรา 89/16 ของพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซือสัตย์สุจริต รวมทังต้องปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับบริษทั มติ คณะกรรมการ ตลอดจนมติทประชุ ี มผูถ้ อื หุน้ ขอบเขต อํานาจ และหน้ าที ของเลขานุการบริ ษทั (1) จัดทําและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี  ทะเบียนกรรมการ  หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจําปีบริษทั  หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ (2) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียทีรายงานโดยกรรมการหรือผูบ้ ริหาร และจัดส่งสําเนารายงานการมีส่วนได้เสียตาม มาตรา 89/14 ให้ประธานคณะกรรมการ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทําการนับแต่วนั ทีบริษทั ได้รบั รายงาน (3) ดําเนินการอืนๆ ตามทีคณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด นอกจากนีเลขานุ การบริษทั ยังมีหน้าทีอืนตามที บริษทั (หรือคณะกรรมการบริษทั ) มอบหมาย ดังนี  ให้คําแนะนําด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆทีเกียวข้อง และข้อพึงปฏิบตั ดิ า้ นการกํากับดูแลในการดําเนิน กิจกรรมของคณะกรรมการให้เป็ นไปตามกฎหมาย  ทําหน้าทีในการดําเนินการจัดประชุมคณะกรรมการบริษทั และการประชุมผูถ้ อื หุน้  ติดต่อประสานงานกับหน่ วยงานทีกํากับดูแล เช่น สํานักงาน ตลาดหลักทรัพย์ฯ และดูแลการเปิ ดเผยข้อมูล และรายงานสารสนเทศต่อหน่ วยงานทีกํากับดูแลและสาธารณชน ให้ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมาย  จัดให้มกี ารปฐมนิเทศ ให้คาํ แนะนําแก่กรรมการทีได้รบั การแต่งตังใหม่  หน้าทีอืนๆ ตามทีได้รบั มอบหมายจากบริษทั โดยในช่วงปีทผ่ี านมาบริษทั ฯมีการจัดประชุมคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย เพือให้ผลการดําเนินการเป็ นไปตาม หลัก การกํากับกิจการทีดี บริษัท ฯจึงทําการรวบรวมสถิติก ารเข้าประชุมของคณะกรรมการแต่ ละชุ ดในปี 2561 ทีผ่ านมา ณ วัน ที 31 ธันวาคม 2561 โดยมีรายละเอียดดังนี สรุปการประชุมคณะกรรมการ สําหรับปี

ชือ-สกุล

นายฉัฐภูมิ ขันติ วิริยะ นายภักดี กาญจนาวลัย

นายณวรรธน์ ตริ ยพงศ์พฒ ั นา นางสาวโสภา นาจันหอม

ตําแหน่ ง

กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง รองประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริษทั

จํานวนครังทีเข้าร่วมประชุม / การประชุมปี 2561 คณะกรรมการ บริ ษทั ตรวจสอบ สรรหาและ บริ หารความ พิ จารณา เสียง กําหนด ค่าตอบแทน / 2/2 8/8

/

/

-

/

-

-

2/2

/

-

/

-

31


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ชือ-สกุล

นายสว่าง ทังวัฒโนทัย นางฐิ ติภรณ์ ศิ ลปรัศมี นายอนันต์ สิ ริแสงทักษิ ณ

นายกวิ น เฉลิ มโรจน์

กรรมการทีลาออก นายศิ ริศกั ดิ ปิ ยทัสสีกลุ ( ) กรรมการทีเข้าใหม่ นายแสวง ทังวัฒโนทัย ( )

ตําแหน่ ง

กรรมการบริษทั กรรมการบริษทั กรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสียง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสียง

จํานวนครังทีเข้าร่วมประชุม / การประชุมปี 2561 คณะกรรมการ บริ ษทั ตรวจสอบ สรรหาและ บริ หารความ พิ จารณา เสียง กําหนด ค่าตอบแทน / / / /

/

-

/2

/

/

-

/2

กรรมการบริษทั

/

-

/

หมายเหตุ ( ) นายแสวง ทังวัฒโนทัย ได้รบั การแต่งตังเมือวันที 2 เมษายน 256 แทนนายศิ ริศกั ดิ ปิ ยทัสสีกลุ ทีลาออกจากการดํารงตําแหน่ง ตามมติทประชุ ี มสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 256

ค่าตอบแทนที เป็ นตัวเงิ น ค่าตอบแทนกรรมการ ชือ-สกุล

นายฉัฐภูมิ ขันติ วิริยะ นายภักดี กาญจนาวลัย

นายณวรรธน์ ตริ ยพงศ์พฒ ั นา นางสาวโสภา นาจันหอม นายสว่าง ทังวัฒโนทัย นางฐิ ติภรณ์ ศิ ลปรัศมี นายอนันต์ สิ ริแสงทักษิ ณ

นายกวิ น เฉลิ มโรจน์

กรรมการทีลาออก นายศิ ริศกั ดิ ปิ ยทัสสีกลุ ( )

ตําแหน่ ง

บริ ษทั

กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง รองประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริษทั กรรมการบริษทั กรรมการบริษทั กรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสียง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสียง

5 6,92

ค่าตอบแทนกรรมการปี 256 คณะกรรมการ ความเสียง ตรวจสอบ สรรหาและ พิ จารณา กําหนด ค่าตอบแทน , -

530,000

4 0,000

,

4 0,000 4 0,000 4 0,000

รวม

546,92

40,000

10,000

580,000

-

-

4 0,000

-

10,000

4 0,000 4 0,000 4 0,000

0,000

,

0,000

-

4 0,000

0,000

,

0,000

-

0,000

กรรมการบริษทั

,

-

,

,

-

,

-

-

120,000

30,000

กรรมการทีเข้าใหม่ นายแสวง ทังวัฒโนทัย ( ),( )

รวมเป็ นจํานวนเงิ นค่าตอบแทนกรรมการในปี 256 ทังสิ น

,

,

,

, ,

,

32


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

หมายเหตุ (1) นายแสวง ทังวัฒโนทัย ได้รบั การแต่งตังเมือวันที เมษายน 256 แทนนายศิรศิ กั ดิ ปิยทัสสึกลุ ทีลาออกจากตําแหน่ง เมือวันที เมษายน ( ) ณ วันที ธันวาคม ได้มหี นังสือจากส่วนจดทะเบียนบริษทั มหาชน และธุรกิจพิเศษ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ไม่รบั จดทะเบียนนายแสวง ทังวัฒโนทัย เนืองจาก ได้รบั คะแนนเสียงเห็นด้วยน้อยกว่าคะแนนเสียงไม่เห็นด้วย จึงไม่เป็ นไปตามเกณฑ์คะแนนเสียงทีบริษทั กําหนดไว้ตามข้อบังคับข้อที ดังนันนายแสวง ทังวัฒโนทัย จึงไม่ใช่ผทู้ ได้ ี รบั การเลือกตังให้เป็ นกรรมการกรรมการ ต่อมานายแสวงได้ยนอุ ื ทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์มคี าํ วินจิ ฉัยให้ยกอุทธรณ์ และยืนตามคําสังนายทะเบียนทีไม่รบั จดทะเบียนนายแสวง ทัววัฒโนทัยเข้าเป็ นกรรมการ

ค่าตอบแทนรวมของผูบ้ ริ หาร ในปี 256 บริษทั ได้จ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริหารประกอบด้วยค่าตอบแทนเงินเดือน โบนัส ให้กบั ผูบ้ ริหารจํานวน 6 ราย รวม เป็ นจํานวนเงิน 27.18 ล้านบาท (ปี เท่ากับ 28.03 ล้านบาท) ค่าตอบแทนอืน ค่าตอบแทนอืนของกรรมการ -ไม่ม-ี ค่าตอบแทนอืนของผูบ้ ริหาร เงินกองทุนสํารองเลียงชีพ บริษัทได้จดั ให้มกี องทุนสํารองเลียงชีพ โดยบริษัทได้สมทบในอัตราส่วนร้อยละ 2-3 ของ เงินเดือน ขึนอยู่กบั อายุการทํางาน โดยในปี 2561 บริษทั ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสํารองเลียงชีพสําหรับผูบ้ ริหาร 6 ราย รวมเป็ นจํานวน เงิน 0.45 ล้านบาท (ปี 2560 เท่ากับ 0.41 ล้านบาท)

33


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

การกํากับดูแลกิจการ นโยบายการกํากับดูแลกิ จการ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความมุ่งมันทีจะบริหารงานโดยยึดหลักการกํากับกิจการทีดี ข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี​ี สาํ หรับกรรมการบริษทั จด ทะเบียน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบตั ทิ เกี ี ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และมีความมุง่ มันทีจะพัฒนายกระดับการกํากับดูแลกิจการของบริษทั สู่แนวปฏิบตั ทิ เป็ ี นสากล นโยบายการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ของบริษทั ฯนีเป็ นหลักการทีมุ่งเน้นให้บริษัทมีระบบทีจัดให้ม ี โครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผูถ้ อื หุน้ เพือความสามารถในการแข่งขัน นํ าไปสู่ ความเจริญเติบโตและเพิมมูลค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ให้มหี ลักการทีดีในการกํากับกิจการโดยให้มคี วาม สอดคล้องกับหลักการพืนฐานในการใช้ความรูอ้ ย่างรอบคอบ ระมัดระวัง และคํานึงถึงคุณธรรม และแสดงให้เห็นถึงการมีระบบบริหาร จัดการทีมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ อันเป็ นการสร้างความเชือมันและความมันใจต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน ผูม้ สี ่วนได้เสีย และผูท้ ี เกียวข้องทุกฝา่ ย เพือให้การกํากับดูแลทีดีเป็ นเครืองมือในการเพิมมูลค่าและส่งเสริมการเติบโตอย่างยังยืนของบริษทั ฯ ทังนี คณะกรรมการเข้าใจบทบาท หน้าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการทีมีต่อบริษัท และผูถ้ อื หุน้ และได้ศกึ ษาแนว ทางการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดี สําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนทีเป็ นไปตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เพือนํ ามาปรับปรุงวิธกี ารดําเนินงานของบริษทั เพือสร้างความโปร่งใสในการทํางาน การดําเนินการให้มจี ริยธรรมทางธุรกิจ การจัดทําระบบควบคุมภายในต่างๆ รวมถึงการให้ความสําคัญของความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และการรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ เป็ นสําคัญ สิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ้น ในปี 256 นอกเหนือจากสิทธิขนพื ั นฐานของผูถ้ อื หุน้ เช่น สิทธิการโอนหุน้ ของผูถ้ อื หุน้ สามารถดําเนินการโอนหุน้ ได้โดยไม่ม ี ข้อกําหนดทางกฎหมายใดๆทังสินแล้ว บริษทั ยังได้ดาํ เนินการในเรืองต่างๆ ทีเป็ นการส่งเสริมการใช้สทิ ธิของผูถ้ อื หุน้ ดังนี 1. บริษทั ได้ให้ความสําคัญและเคารพสิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ทกฎหมายกํ ี าหนด และตามนโยบาย การกํากับดูแลกิจการ บริษทั ได้จดั ประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจําปี 2561 ในวันที 2 เมษายน 256 โดยมีกรรมการเข้าร่วมประชุม ท่าน นอกจากนียังมีผบู้ ริหารระดับสูง ผูแ้ ทนผูส้ อบบัญชี จากบริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด และบริษทั โอเจ อินเตอร์ เนชันแนล จํากัด เป็ นผูด้ ําเนินการลงทะเบียนและตรวจสอบผลการนับคะแนนในการลงคะแนนในแต่ละวาระ และได้มอบหมายให้ นาย พัชรพล สัลเลขวิทย์ เป็ นทีปรึกษากฏหมายและเป็ นเลขานุ การ เข้าร่วมประชุมและผูด้ าํ เนินการประชุมในครังนี 2. บริ ษั ท ได้ เ ผยแพร่ ห นั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทังภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษไว้ ท ี เว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ที www.ubisasia.com และได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันที 26 มีนาคม 2561 เพือให้ ผูถ้ อื หุน้ ได้ศกึ ษาข้อมูลก่อนวันประชุม และได้เผยแพร่รายงานข้อมูลบริษทั และรายงานประจําปี ณ วันที 26 มีนาคม 2561 3. บริษทั ได้แจ้งหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ พร้อมทังข้อมูลสําหรับแต่ละวาระการประชุมอย่าง เพียงพอต่อการตัดสินใจ ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบในหนังสือเชิญประชุม 4. บริษทั ได้จดั เตรียมข้อมูลทางเอกสารในการประกอบการมอบอํานาจ และเตรียมหนังสือมอบอํานาจ แบบ ข. และ แบบ ค. พร้อมเสนอชือกรรมการอิสระให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณา รวมถึงจัดเตรียมอากรแสตมป์เพืออํานวยความสะดวกโดยไม่คดิ มูลค่า 5. บริษทั ได้เผยแพร่รายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 256 ทางเว็บไซต์ของบริษทั ที www.ubisasia.com การปฏิ บตั ิ ต่อผูถ้ ือหุ้นอย่างเท่าเที ยมกัน คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายทีจะปฏิบตั ติ ่อผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อย นักลงทุน สถาบัน หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ เพือให้เกิดความเท่าเทียมกันอย่างแท้จริง . เมือวันที 16 ตุลาคม 2560 บริษัทเปิ ดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้เสนอเรืองเพือบรรจุเป็ นวาระการประชุม และเสนอชือ บุคคลเพือรับการเลือกตังเป็ นกรรมการบริษทั เป็ นการล่วงหน้า สําหรับการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2561 โดยกําหนดช่วงเวลาเสนอ ตังแต่วนั ที 16 ตุลาคม 2560 ถึงวันที 31 มกราคม 2561 โดยมีการแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย พร้อมทังเผยแพร่หลักเกณฑ์และขันตอนของเรืองดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ที www.ubisasia.com . เมือวันที 1 กุมภาพันธ์ 2561 บริษทั ได้แจ้งผลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ไม่มผี ถู้ อื หุน้ ท่านใดเสนอวาระ การประชุมหรือรายชือบุคคลเพือรับการเลือกตังเป็ นกรรมการบริษทั เป็ นการล่วงหน้า

34


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

. บริษทั ได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมแนบหนังสือมอบฉันทะ แบบ ข. และแบบ ค. ซึงเป็ นแบบทีผูถ้ อื หุน้ สามารถ กําหนดการลงคะแนนเสียงได้เองในแต่ละวาระ เพือให้ผถู้ อื หุน้ ทีไม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองสามารถมอบอํานาจให้บุคคลอืน หรือ กรรมการอิสระเพือเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน ผูถ้ อื หุน้ สามารถ download หนังสือ มอบฉันทะได้อกี ทาง ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั . บริษทั ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการลงทะเบียน และการตรวจนับคะแนนเสียง รวมทังการใช้บตั รลงคะแนนเพืออํานวย ความสะดวกให้ผถู้ อื หุ้น โดยเฉพาะวาระการเลือกตังกรรมการบัตรลงคะแนนจะเป็ นแบบลงคะแนนเลือกกรรมการเป็ นรายบุคคล และ บริษทั ได้ทาํ การเก็บบัตรลงคะแนนหลังจบวาระจากผูถ้ อื หุน้ ทุกท่านทีเข้าร่วมการประชุม . บริษัทไม่ได้เพิมวาระการประชุม หรือเปลียนแปลงข้อมูลสําคัญ โดยไม่ได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบล่วงหน้าในการ ประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจําปี 256 . บริษทั เปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้มกี ารแสดงความเห็นและตังคําถามในทีประชุมจนได้ขอ้ มูลครบถ้วน ก่อนการลงมติ ใดๆในแต่ละวาระการประชุม . คณะกรรมการบริษทั กําหนดข้อห้ามการใช้ขอ้ มูลภายใน ในฐานะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทีเกียวข้อง ใน การแสวงหาประโยชน์ ในการซือขายหุน้ ของบริษทั ให้บุคคลอืนเพือประโยชน์ในการซือขายหุน้ บริษทั ทังนีกรรมการ และผูบ้ ริหารจะต้อง ทํารายงานการการถือหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551 . คณะกรรมการบริษทั กําหนดให้กรรมการบริษทั และผู้บริหาร รายงานการมีส่วนได้เสียของตนเองและบุคคลทีมี ความเกียวข้อง ตามมาตรา 89/14 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551 ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี หรือ รายงานทันทีเมือมีเหตุการณ์เกิดขึน การคํานึ งถึงบทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสีย บริษทั ดําเนินธุรกิจการค้าโดยคํานึงถึงสิทธิและความเป็ นธรรมต่อผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายใน บริษทั อาทิเช่น พนักงานและผูบ้ ริหารของบริษทั หรือผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายนอกบริษทั อาทิเช่น คู่แข่ง คู่คา้ และลูกค้า เป็ นต้น ตามแนว ปฏิบตั ทิ ได้ ี กาํ หนดไว้ในคู่มอื จรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษทั โดยบริษทั ตระหนักว่าการสนับสนุ นและข้อเสนอแนะจากผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย ทุกกลุ่มจะเป็ นประโยชน์ ในการดําเนินงานและการพัฒนาธุรกิจของบริษทั ดังนัน จึงได้ดําเนินการดูแลและติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ าม กฏหมายและข้อกําหนดทีเกียวข้อง ให้ครอบคลุมถึงผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่มโดยมีรายละเอียด ดังนี . พนักงาน บริษทั ให้ความสําคัญต่อพนักงาน โดยตระหนักว่าพนักงานถือเป็ นทรัพยากรทีสําคัญทีจะนํ าพาองค์กรให้ ประสบความสําเร็จ บริษทั จึงมุง่ เน้นให้มกี ารพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนือง ด้วยการกําหนดแผนการอบรมประจําปี ทังทีเป็ น การจัดขึนเองภายในองค์กร หรือภายนอกองค์กรก็ตาม รวมถึงการดูแลใส่ใจสภาพแวดล้อมในทีทํางานให้มคี วามเหมาะสม และปลอดภัย ต่อการทํางานมากทีสุด พร้อมทังปฏิบตั ิต่อพนักงานอย่างเป็ นธรรม ให้ได้รบั ผลตอบแทนและสวัสดิการทีเหมาะสม ด้วยการจัดให้ม ี สวัสดิการพนักงานเพือส่งเสริมคุณภาพชีวติ ทีดี เช่น กองทุนสํารองเลียงชีพ เบียขยัน ห้องพยาบาล การตรวจสุขภาพประจําปี ประกัน อุบตั เิ หตุและประกันสุขภาพ เครืองแบบพนักงาน รวมถึงการจัดให้มกี ารท่องเทียวประจําปี และการจัดการแข่งขันกีฬาระหว่างสํานักงาน ใหญ่และโรงงาน ทังนี บริษทั ยังกําหนดนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานทีเป็ นรูปธรรม และทํา การแต่งตังคณะกรรมการความปลอดภัยเพือดูแลการทํางานให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด ตลอดจนมีการติดตังป้ายแสดงสถิติการเกิด อุบตั เิ หตุจากการทํางาน และจัดให้มกี ารฝึ กอบรมหลักสูตรด้านความปลอดภัย พร้อมทังได้เตรียมแผนป้องกันและระงับอัคคีภยั เส้นทาง หนีไฟ การตรวจสอบอุปกรณ์ดบั เพลิงและสัญญาณแจ้งเหตุ เพือให้พนักงานมีสภาพแวดล้อมในการทํางานทีปลอดภัย . ลูกค้า บริษทั ยึดมันการผลิตสินค้าและการบริการทีได้มาตรฐาน พร้อมมุง่ เน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าอย่างต่อเนือง การกําหนดราคาขายทีเหมาะสมและยุตธิ รรม เพือตอบสนองความต้องการของลูกค้า รวมถึงการให้สําคัญต่อการบริการหลังการขายทีมี ประสิทธิภาพ ให้ลูกค้าเกิดความเข้าใจและสามารถใช้งานสินค้าได้อย่างถูกต้อง เป็ นการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า โดยบริษทั จัดให้ม ี ช่องทางแสดงความคิดเห็นหรือข้อร้องเรียนต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั โดยจะส่งตรงไปยังผูบ้ ริหารของบริษทั อีกทังยังเปิ ดให้ ลูกค้าสามารถเข้าเยียมชมกระบวนการผลิต หรือสอบทานกระบวนการการผลิตตามมาตรฐานระบบการบริหารคุณภาพทีกําหนดได้ . ผู้ถือหุ้น บริษทั เคารพต่อสิทธิขันพืนฐานตามทีกฏหมายกําหนดไว้ ข้อบังคับและจริยธรรมของบริษทั มีการควบคุม การทํารายการระหว่างกัน มีมาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการป้องกันการนําข้อมูลภายในไปใช้เพือประโยชน์ส่วน ตน และบริษทั ดําเนินงานด้วยการสร้างผลตอบแทนทีเหมาะสมให้แก่ผถู้ อื หุน้ นอกจากนีในการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี บริษทั คํานึงถึงสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนของผูถ้ อื หุน้ และให้ผถู้ อื หุน้ ซักถามและแสดงความเห็นอย่างเป็ นอิสระ โดยคณะกรรมการบริษทั และคณะผูบ้ ริหารของบริษทั จะตอบข้อซักถามและให้ขอ้ มูลอย่างครบถ้วน . คู่แข่ง บริษทั มีนโยบายในการปฏิบตั ติ ่อคู่แข่งอย่างสุจริตและเป็ นธรรม ตามจริยธรรมทางการค้าและภายใต้กรอบ กฏหมายอย่างเคร่งครัด จึงมีขอ้ กําหนดในการปฏิบตั งิ านตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน

35


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

. คู่ค้า บริษทั มีนโยบายปฏิบตั ติ ่อคู่คา้ ด้วยความเป็ นธรรม เสมอภาคและปฏิบตั ติ ่อคู่คา้ ตามสัญญา และ/หรือข้อตกลงที ทําร่วมกันภายใต้เงือนไขทางการค้า โดยบริษทั ได้กําหนดระเบียบการจัดซือจัดจ้างให้มคี วามสอดคล้องกับระบบคุณภาพ ISO9001 และ คัดเลือกคู่คา้ ทีดําเนินธุรกิจไม่ขดั ต่อข้อกฏหมายและมีแนวปฏิบตั ติ ามมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ตลอดจนคู่คา้ ทีตระหนัก ถึงการดําเนินธุรกิจด้วยความเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม . สิ งแวดล้อม บริษทั กําหนดแนวทางในการดําเนินธุรกิจภายใต้กรอบความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อม ชุมชน และ สังคม โดยเน้ นระบบการผลิตทีเป็ นมิตรต่อชุมชนด้วยการควบคุมการผลิตให้เป็ นไปตามกระบวนการผลิตทีดีตามข้อกําหนดของนิคม อุตสาหกรรมฯ พร้อมทังมีนโยบายในการตรวจสอบคุณภาพพสิงแวดล้อมจากผูเ้ ชียวชาญภายนอก ทังนีบริษทั ไม่เคยมีขอ้ พิพาทกับชุมชน หรือพนักงาน ส่วนด้านการสนับสนุ นกิจกรรมทีเกียวข้องกับชุมชน บริษทั ก็ให้ความสําคัญ เช่น โครงการเชิญชวนพนักงานร่วมบริจาค แบ่งปนั ให้แก่ผไู้ ด้รบั ผลกระทบจากอุทกภัยทางภาคใต้ของประเทศ เป็ นต้น . เจ้าหนี การค้า/สถาบันการเงิ น บริษทั มีการปฏิบตั ติ ่อเจ้าหน้ าทีตามเงือนไขหรือข้อตกลงทางการค้า รวมถึงการ ปฏิบตั ิตามเงือนไขในสัญญาทีจัดทําขึนระหว่างบริษัทและธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินด้วยดีมาตลอด โดยบริษัทไม่เคยมีขอ้ ขัดแย้งตลอดระยะเวลาทีผ่านมา และสําหรับเจ้าหนีการค้าบริษทั มีขอ้ กําหนดทีปฏิบตั ติ าม ISO 9001 เพือให้เกิดความเป็ นธรรมแก่เจ้าหนี การค้าทุกราย และยังคงรักษาความสัมพันธ์อนั ดี กอปรกับสามารถสร้างความเชือมันและความน่ าเชือถือให้บริษทั ได้เสมอมา . ทรัพย์สินทางปัญญา/ลิ ขสิ ทธิ บริษทั ไม่สนับสนุ นกิจกรรมทีเกียวข้องกับการล่วงละเมิดทรัพย์สนิ ทางปญั ญาด้วย การลอกเลียนแบบ หรือนํ าทรัพย์สนิ ทางปญั ญาของผูอ้ นมาใช้ ื ในธุรกิจโดยไม่ได้รบั อนุ ญาต ทังนีในปี 256 บริษทั ไม่มกี ารเกียวข้องกับ ั การล่วงละเมิดทรัพย์สนิ ทางปญญาหรือลิขสิทธิแต่อย่างใด . การทุจริ ตคอร์รปั ชัน บริษทั กําหนดแนวปฏิบตั เิ กียวกับการกํากับดูแลและควบคุมดูแลเพือป้องกันและติดตามความ เสียงจากการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยจัดให้มกี ารเผยแพร่นโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน  ช่องทางการมีส่วนร่วมของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย บริษทั กําหนดช่องทางการแจ้งเบาะแสการกระทําความผิด (Whistle Blowing) เพือให้ผแู้ จ้งเรืองร้องเรียนกับบริษทั ได้รบั ความคุม้ ครองอย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม ตลอดจนได้รบั การป้องกันการ ถู ก กลันแกล้ง อัน เนื องมาจากการร้อ งเรีย นดัง กล่ า ว โดยหากผู้ใ ดมีเ บาะแสเกียวกับ การทุ จริต คอร์ ร ปั ชัน การกระทํา ผิดกฏหมาย จรรยาบรรณธุรกิจหรือพบเห็นระบบการควบคุมภายในทีบกพร่องของบริษทั ซึงอาจเป็ นเหตุให้เกิดความเสียง/ความเสียหายต่อการดําเนิน ธุรกิจ โดยสามารถแจ้งผ่านช่องทางดังนี 

ส่งจดหมายทางไปรษณียม์ าทีบริษทั เลขที 807/1 ชัน 6 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10120

ส่งจดหมายอีเล็กโทรนิกส์มาทีประธานกรรมการบริหาร

E-MAIL : D2B@ubisasia.com

ส่งผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั www.ubisasia.com/contactus

 ในกรณีรอ้ งเรียนพนักงาน ข้อร้องเรียนจะส่งตรงไปถึงประธานกรรมการบริหาร ตามทีถูกตังค่าไว้ในระบบ บนเว็บไซต์ของบริษทั  ในกรณีร้องเรียนผู้บริหาร ข้อร้องเรียนจะส่งตรงไปถึงประธานกรรมการตรวจสอบ ตามทีถูกตังค่าไว้ใน ระบบบนเว็บไซต์ของบริษทั ทังนี บริษัทได้ทําการเปิ ดเผยถึงกระบวนการทีชัดเจนในการจัดการกับเรืองทีมีการร้องเรียน โดยการระบุไว้ในคู่มอื นโยบายและแนวปฏิบตั ิ เรือง การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน และในปี 256 บริษทั ไม่ได้รบั ข้อร้องเรียนจากผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียแต่อย่าง ใด การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษทั ตระหนักถึงการเปิ ดเผยสารสนเทศทีมีความสําคัญของบริษทั ทังข้อมูลการเงินและข้อมูลสําคัญอืนซึงถือเป็ นนโยบายใน การกํากับดูแลกิจการของบริษทั ได้อย่างครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส เป็ นไปตามเกณฑ์ทสํี านักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ทราบข้อมูลอย่างถูกต้องเท่าเทียมกันผ่านช่องทางต่างๆ เช่น รายงานประจําปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) ระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แ ห่งประเทศไทย รวมทัง เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั (www.ubisasia.com) ซึงปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปจั จุบนั อยู่เสมอ โดยบริษทั ได้เปิดเผยข้อมูลเพือแสดงความ โปร่งใสในการดําเนินธุรกิจ ดังนี

36


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

 บริษทั ได้มกี ารกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจทีบริษทั ต้องปฏิบตั ติ ่อสังคม และรับผิดชอบต่อสิงแวดล้อม  บริษทั ได้ดําเนินการแต่งตังคณะกรรมการบริหารความเสียงชุดใหม่ ตามมติทประชุ ี มคณะกรรมการบริษัท ครังที 7/2560 เมือวันที 11 สิงหาคม 2560 ได้มมี ติพจิ ารณาอนุ มตั แิ ต่งตังคณะกรรมการบริหารความเสียงชุดใหม่ เพือให้การกํากับดูแลด้านการ บริหารความเสียงมีประสิทธิภาพ สอดรับกับคู่มอื การบริหารความเสียงชุดใหม่ และให้เป็ นระบบครอบคลุมทุกด้านอย่างเหมาะสม พร้อม ทังกําหนดนโยบายการบริหารความเสียง เป็ นการส่งเสริมการบริหารงานและการดําเนินงานภายใต้การดูแลจัดการบริหารความเสียงและ การป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน  บริษทั มีการเปิ ดเผยรายชือกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงบทบาทหน้าที ขอบเขตอํานาจ และ วาระการดํารงตําแหน่ งบทบาทหน้ าทีของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย จํานวนครังทีจัดการประชุม จํานวนครังที กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมตลอดปี 256  คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความเห็นต่อ งบการเงิน ถูกต้อง ครบถ้วน มีความน่ าเชือถือ และการเปิ ดเผยข้อ มูล ครบถ้วนและเพียงพอ เพือให้นักลงทุนใช้ประกอบการตัดสินใจ จึงจัดทํารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทาง การเงินไว้ในรายงานประจําปี 256 และนํ าส่งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์  บริษทั อํานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ านต่อผูส้ อบบัญชีอสิ ระ และให้ความร่วมมือในการเปิ ดเผยข้อมูลต่างๆ ที ถูกต้องและโปร่งใส เพือให้ผสู้ อบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และอย่างอิสระ เพือให้ผถู้ อื หุน้ และ นักลงทุนสามารถเชือถือในข้อมูลของบริษทั ได้อย่างมันใจ  บริษัท เปิ ด เผยนโยบายการจ่ า ยค่ า ตอบแทนกรรมการและผู้บ ริห าร โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจ ารณา ค่าตอบแทนจะเป็ นผู้กําหนดโครงสร้างค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร โดยพิจารณาจากการเปรียบเทียบกับระดับทีปฏิบตั ิอยู่ใน อุตสาหกรรมเดียวกัน จากข้อมูลทีสํารวจโดยหน่ วยงานทีน่ าเชือถือ เช่น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย เป็ นต้น และพิจารณาร่วมกับผลประกอบการของบริษทั และหน้าทีความรับผิดชอบของกรรมการ โดยนํ าเสนอให้ท ี ประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นผูอ้ นุ มตั ิ ยกเว้นส่วนของกรรมการผูจ้ ดั การจะให้คณะกรรมการบริษทั เป็ นผูอ้ นุ มตั ิ  คณะกรรมการตรวจสอบได้จดั ทํารายงานคณะกรรมการตรวจสอบเพือให้ความเห็นต่อระบบการควบคุมภายใน และ การเสนอรายชือผูส้ อบบัญชี ไว้ในรายงานประจําปี 256  คณะกรรมการบริษทั กําหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริหารต้องรายงานให้บริษทั รับทราบถึงการมีส่วนได้ส่วน เสียของตนเองและบุคคลทีมีความเกียวข้องนับแต่วนั ทีได้รบั การแต่งตัง ซึงเลขานุ การบริษัทเป็ นผู้จดั ทําเอกสารการมีส่วนได้ส่วนเสีย รายงานให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบ โดยในปี 256 กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารไม่มสี ่วนได้ส่วนเสียแต่อย่างใด และหากมีกรรมการ บริษทั หรือผูบ้ ริหารมีส่วนได้ส่วนเสียในเรืองใด กรรมการทีมีส่วนได้เสียจะไม่มสี ่วนร่วมในการตัดสินใจในวาระนันๆ โดยบริษทั จะแจ้งมติท ี ประชุมผ่านระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพือให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ทราบทัวกัน  คณะกรรมการบริษทั กําหนดให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนในกรณีทเกิ ี ดรายการ ระหว่างกันขึน โดยบริษทั จะนําเสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนทีจะเสนอต่อทีประชุมคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุ มตั ิต ามลําดับ ซึงทําให้ค ณะกรรมการบริษัท ได้ร บั ทราบรายละเอีย ดการทํารายการก่ อ นทีจะมีก ารแจ้งข้อ มูล ต่ อ ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  บริษทั จัดให้มผี รู้ บั ผิดชอบงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพือเป็ นตัวแทนในการสือสารกับผูล้ งทุนประเภทสถาบัน ผูถ้ อื หุน้ รวมทังนักวิเคราะห์ทวไป ั และภาครัฐ ทังนีบริษทั ได้กาํ หนดให้นายณวรรธน์ ตริยพงษ์พฒ ั นา กรรมการผูจ้ ดั การ เป็ นผูแ้ ทนผูบ้ ริหารในการ ให้ขอ้ มูลข่าวสาร ร่วมกับนักลงทุนสัมพันธ์ ผ่านทาง nawat@ubisasia.com และ/หรือ หมายเลขโทรศัพท์ 02-683 0008 โดยในปี 256 บริษัทได้เข้าร่วมกิจกรรม Opportunity Day บริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน ประจําไตรมาสที 2/2561 เมือวันที 30 สิงหาคม 2561 ณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา กรรมการผูจ้ ดั การ และนางสาวโสภา นาจันหอม เลขานุ การบริษทั / รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการเงิน-บัญชีและเทคโนโลยีสารสนเทศ ั  คณะกรรมการได้กาํ หนดและจัดให้มชี ่องทางทีผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถติดต่อร้องเรียนในเรืองทีอาจมีปญหา (Whistle Blowing) กับกรรมการโดยตรงผ่านทาง email address ของกรรมการ และช่องทางในการติดต่อกับกรรมการอิสระได้โดยตรง ทังนีคณะกรรมการบริษทั ได้กาํ หนดมาตรการรักษาความลับของผูร้ อ้ งเรียนไว้เป็ นความลับ  บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองเป็ นสมาชิกของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน (Collective Anti-Corruption : CAC) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย จากมติทประชุ ี มคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ฯิ ครัง ที 4/2560 เมือวันที 12 กุมภาพันธ์ 2561 โดยใบรับรองดังกล่าวจะมีอายุ 3 ปี นับจากวันทีมีมติให้การรับรอง

37


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยบุคคลทีมีความรู้ ทักษะ และความเชียวชาญทีหลากหลาย และมีภาวะผูน้ ํ าซึงเป็ นทียอมรับ โดยคณะกรรมการบริษทั จะมีส่วนร่วมในการกําหนดวิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ นโยบายแนวทางในการประกอบธุรกิจ และกํากับดูแลการ ปฏิบตั งิ านของบริษทั ให้เป็ นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของทีประชุมผูถ้ อื หุน้ และเพือการกํากับดูแลกิจการทีดี บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการและแนวทางทีตลาดหลักทรพัยแ์ ห่งประเทศไทยกําหนดดังนี นโยบายเกียวกับการกํากับดูแล คณะกรรมการของบริษทั คํานึงถึงความสําคัญของนโยบายเกียวกับการกํากับดูแลกิจการทีดี (The Principles of Good Corporate Governance) โดยกําหนดเป็ นนโยบายเพือให้การดําเนินธุรกิจบริษทั มีการกํากับดูแลกิจการทีโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ และเพิมความเชือมันให้แก่ผลู้ งทุน บริษทั จะเปิดเผยข้อมูลให้กบั สาธารณะและผูถ้ อื หุน้ อย่างสมําเสมอ นอกจากนีบริษทั ยังให้ความสําคัญ ต่อระบบการควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน ส่วนการบริหารความเสียงบริษทั พยายามควบคุมและบริหารความเสียงอย่างใกล้ชดิ โดยคํานึงถึงเรืองจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจเป็ นสําคัญ และดํารงไว้ซงความเป็ ึ นธรรมต่อคู่คา้ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ภาวะผูน้ ําและวิ สยั ทัศน์ คณะกรรมการบริษทั มีบทบาทเพือให้เป็ นไปตามมาตรฐานการกํากับดูแลกิจการทีดี ดังนี  กําหนดวิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย และแผนธุรกิจและจัดทํางบประมาณของบริษทั  กํากับดูแลและติดตามผลการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหารอย่างสมําเสมอให้เป็ นไปตามแผนงานเพือบรรลุเป้าหมาย ทีวางไว้  ดูแลให้มรี ะบบควบคุมภายในทีเพียงพอและติดตามอย่างสมําเสมอ โดยบริษทั ตรวจสอบภายในธรรมนิติ จํากัด ซึงเป็ นผูเ้ ป็ นทําการตรวจสอบประเมินและทบทวนระบบการควบคุมภายในของบริษทั ในการตรวจสอบภายใน ประจําปี  ดูแลให้มมี าตรการบริหารความเสียงทีเหมาะสม และติดตามอย่างสมําเสมอ เพือให้บริษทั ได้รบั ประโยชน์สงู สุด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพือป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการได้ดแู ลอย่างรอบคอบ เมือเกิดรายการทีอาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ โดยกําหนดนโยบายและวิธกี ารดูแลไม่ให้ผบู้ ริหารและผูม้ ที เกี ี ยวข้องนํ าข้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพือผลประโยชน์ส่วน ตน โดยในการทํารายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จะต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบจะต้องเห็นชอบด้วยกับรายการระหว่างกันนัน ทังนี การอนุ มตั กิ ารเข้าทํารายการระหว่างกันจะคํานึงถึงประโยชน์ สูงสุดของ บริษทั ความยุตธิ รรม ความสมเหตุสมผลของรายการและเป็ นไปตามราคาตลาด นอกจากนี ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียหรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ในรายการดังกล่าวจะไม่สามารถมีส่วนร่วมในการอนุ มตั ริ ายการระหว่างกันในลักษณะดังกล่าวได้ เพือความเป็ นธรรม และ เพือผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั และหากเป็ นรายการระหว่างกันทีเข้าข่ายตามข้อบังคับ ประกาศ คําสัง หรือกฏเกณฑ์ บริษทั จะปฏิบตั ิ ตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนีบริษทั ยังกําหนดแนวทางในการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษัท โดยกําหนดให้เฉพาะบุคคลทีได้รบั มอบหมายเท่านัน ทีจะสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้เท่านัน โดยทังนีกรรมการและผูบ้ ริหารของ บริษัท ทุ ก คนทราบถึงภาระหน้ าที และความรับผิดชอบต่ อ ข้อ มูล ภายใน และไม่นํ ามาใช้ประโยชน์ ส่ ว นตน รวมทังเพือการซือขาย หลักทรัพย์ และบริษทั ได้กาํ หนดบทลงโทษทางวินยั ไว้หากมีการฝา่ ฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ าม จริ ยธรรมทางธุรกิ จ บริษัทได้ตระหนักถึงความสําคัญของการสร้างค่านิยมเกียวกับจริยธรรมเพือให้เป็ นวัฒนธรรมขององค์กรจึงได้จดั ทํา จรรยาบรรณทางธุรกิจเป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึน เพือส่งเสริมพฤติกรรมทีแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อหน้าทีการงาน ผูถ้ อื หุน้ เพือน ร่วมงาน ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย และสังคม รวมถึงการหลีกเลียงพฤติกรรมใดๆทีอาจเสียงต่อการขัดจริยธรรม และอาจเป็ นเหตุให้เป็ นการขัด ต่อกฏหมายด้วย โดยได้กําหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจไว้ 10 ประการ ประกอบด้วย 1) ความซือสัตย์ 2) ความไว้วางใจ 3) การรักษา ความลับ 4) ความยึดมันในวิชาชีพ 5) บุคคลากร 6) ความเป็ นผูน้ ํา 7) ความเป็ นเจ้าของ 8) หลักธรรมมาภิบาล 9) การต่อต้านการคอร์รปั ชัน 10) การรายงานการละเมิดจรรยาบรรณของพนักงาน การถ่วงดุลของกรรมการที ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร บริษทั มีคณะกรรมการตรวจสอบซึงเป็ นกรรมการตรวจสอบทีมีความเป็ นอิสระจํานวน 3 คน และยังมีกรรมการทีเป็ น กรรมการอิสระอีก 1 คน บริษัทจึงมีกรรมการอิสระทังหมด 4 คน จากจํานวนกรรมการบริษัททังหมด 9 คน ซึงมากกว่า 1 ใน 3 ของ กรรมการทังคณะ และมีกรรมการบริษทั ทีไม่เป็ นกรรมการบริหารจํานวน 6 ท่าน ซึงจะช่วยถ่วงดุลอํานาจของกรรมการบริหาร

38


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร บริษัท กําหนดค่ าตอบแทนแก่ ก รรมการบริษัท อยู่ในระดับเดีย วกับอุ ตสาหกรรม และเหมาะสมกับหน้ าทีและความ รับผิดชอบทีได้รบั มอบหมาย รวมทังอยู่ในระดับทีสูงเพียงพอทีจะจูงใจและรักษากรรมการทีมีคุณสมบัตติ ามทีบริษทั ต้องการได้ สําหรับ ค่าตอบแทนผูบ้ ริหารเป็ นไปตามหลักการและนโยบายทีคณะกรรมการบริษทั กําหนด โดยเชือมโยงกับผลการดําเนินงานของบริษทั และผล การดําเนินงานของผูบ้ ริหารแต่ละคน การประชุมคณะกรรมการ บริษัทได้กําหนดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างน้ อย 3 เดือน/ครัง และมีการประชุมพิเศษเพิมตามความ จําเป็ น โดยมีการกําหนดวาระชัดเจนล่วงหน้า และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเป็ นประจํา ในการจัดประชุมคณะกรรมการ บริษทั ตามทีกําหนดวันประชุมแบบรายปี จะมีการจัดทําหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบก่อนการประชุมเป็ นระยะเวลาล่วงหน้า 7 วันก่อนการประชุม เพือให้คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม ระบบการควบคุมภายใน บริษทั ได้ให้ความสําคัญต่อระบบควบคุมภายในทังระดับบริหาร และระดับพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านเพือให้มปี ระสิทธิภาพจึง ได้กําหนดภาระหน้าที อํานาจการดําเนินการของผูป้ ฏิบตั ิงาน ผูบ้ ริหาร ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใช้ ทรัพย์สนิ ของบริษทั ให้เกิดประโยชน์ และมีการแบ่งแยกหน้าทีผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูต้ ดิ ตาม ควบคุมและประเมินผลออกจากกันเพือให้เกิดการ ถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม นอกจากนียังมีการควบคุมภายในทีเกียวกับระบบการเงิน โดยบริษทั ได้กําหนดอํานาจ อนุ มตั ขิ องกรรมการ ซึงมีการกําหนดวงเงินผูม้ อี ํานาจอนุ มตั ิ โดยทําการกําหนดวงเงินตามรายการทีขออนุ มตั ิ อาทิเช่น รายการค่าใช้จ่าย ทางการค้าทีเป็ นปกติของธุรกิจ และการซือวัตถุดบิ เพือการผลิตหรือการซือสินค้าเพือจําหน่ าย รวมถึงการทําสัญญาทีมีภาระผูกพัน และ รายการซือขายทรัพย์สนิ หรือการจัดซือจัดจ้าง หรือการก่อสร้างหรือการเช่าเพือใช้ประกอบธุรกิจหลักปกติตามวัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ และการให้เช่าทรัพย์สนิ เพือหารายได้ โดยคํานึงความเหมาะสมและเพือให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ และสอดคล้องกับการ ั บนั ของบริษทั เป็ นหลัก พร้อมทังกําหนดเงือนไขต่างๆ เพิมเติม ดังนี 1) ผูม้ อี ํานาจอนุ มตั ไิ ม่สามารถอนุ มตั ใิ ห้ตนเองได้ 2) ดําเนินธุรกิจปจจุ การปฏิบตั ติ ามขอบเขตวงเงินอนุ มตั ทิ กํี าหนดต้องอยู่ภายใต้กฏระเบียบ ประกาศ ข้อกําหนดและคู่มอื ปฏิบตั ติ ่างๆ ของบริษทั สํานักงาน คณะกรรมการกํากับตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) อํานาจของคณะกรรมการบริษทั ย่อย ทีได้รบั การแต่งตังจากบริษทั ให้คณะกรรมการบริหารเป็ นผูก้ ําหนดแต่ไม่เกินไปกว่าอํานาจอนุ มตั ขิ องคณะกรรมการบริหาร ถ้าเกินให้ขอ อนุ มตั ิจากคณะกรรมการบริษัท อีกทังยังดูแลให้มรี ะบบควบคุมภายในอืนๆ ทีเพียงพอ และมีการติดตามอย่างสมําเสมอ โดยบริษัท ตรวจสอบภายในธรรมนิติ จํากัด ซึงเป็ นผูเ้ ป็ นทําการตรวจสอบประเมินและทบทวนระบบการควบคุมภายในของบริษทั ในการตรวจสอบ ภายในประจําปี รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบต่อการดําเนินธุรกิจทีสําคัญและการกํากับดูแลกิจการ งบการเงินรวมของบริษัท และบริษทั ย่อย และสารสนเทศทางการเงินทีปรากฏต่อสาธารณะชนในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี และรายงานประจําปี โดยการ จัดทํางบการเงินดังกล่าวให้เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีทรัี บรองทัวไปในประเทศไทย โดยเลือกนโยบายบัญชีทเหมาะสมและถื ี อปฏิบตั ิ อย่างสมําเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการทีดีทสุี ดในการจัดทํา รวมทังมีการเปิดเผยข้อมูลสําคัญอย่างเพียงพอใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน การประกอบกิ จการด้วยความเป็ นธรรม และการต่อต้านการทุจริ ตคอร์รปั ชัน บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) หรือ “UBIS” มีอุดมการณ์ในการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และมีคุณธรรม โดยยึด มันในความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลทีดี และจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายและแนว ปฏิบตั ติ ่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆของบริษทั บริษทั ได้เข้าร่วมโครงการ “แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน” โดยได้รบั การรับรอง เป็ นสมาชิกของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน (Collective Anti-Corruption : CAC) ของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย จากมติทประชุ ี มคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ฯิ ครังที / เมือวันที กุมภาพันธ์ โดยใบรับรองดังกล่าวจะมีอายุ ปี นับจากวันทีมีมติให้การรับรอง เพือแสดงเจตนารมณ์และความมุ่งมันในการต่อต้านการคอร์รปั ชันใน ทุกรูปแบบ ดังนัน บริษทั จึงมีนโยบายให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ดําเนินการปฏิบตั ติ ามกฏหมายอย่างเคร่งครัด และมีความมุง่ มันในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยตระหนักดีว่าการทุจริตและการคอร์รปั ชันนันเป็ นภัยร้ายแรงทีทําลายการแข่งขัน อย่างเสรีและเป็ นธรรม รวมทังก่อให้เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยบริษทั มีนโยบายการกําหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิบตั ิ และข้อกําหนดในการดําเนินการทีเหมาะสม เพือป้องกัน การคอร์รปั ชันกับทุกกิจกรรมทางธุรกิจของบริษทั และเพือให้การตัดสินใจการดําเนินการทางธุรกิจทีอาจมีความเสียงด้านการทุจริตคอร์

39


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

รัปชันได้รบั การพิจารณาและปฏิบตั อิ ย่างรอบคอบ จึงได้จดั ทํา “นโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน” เป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึน เพือ เป็ นแนวทางการปฏิบตั ทิ ชัี ดเจนในการดําเนินธุรกิจ และพัฒนาสู่องค์กรแห่งความยังยืน นอกจากนีบริษทั ยังจัดให้มชี ่องทางการแจ้งเบาะแสการกระทําผิดหรือร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน หากผูใ้ ดมีเบาะแส เกียวกับการทุจริตคอร์รปั ชันการกระทําผิดกฎหมาย จรรยาบรรณธุรกิจหรือพบเห็นระบบ การควบคุมภายในทีบกพร่องของบริษทั ซึงอาจ เป็ นเหตุให้เกิดความเสียง/ความเสียหายต่อการดําเนินธุรกิจ สามารถแจ้งเบาะแสมายังบริษัทได้โดยตรงถึงประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ/ หรือกรรมการตรวจสอบทางใดทางหนึง ดังนี  ส่งจดหมายทางไปรษณียม์ าตามทีอยู่บริษทั เลขที 807/1 ชันที 6 ถนนพระราม 3 บางโพงพาง ยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120  ส่งจดหมายอิเล็กโทรนิกส์มาทีประธานกรรมการบริหาร Email : D2B@ubisasia.com  ผ่านทาง Website ของบริษทั www.ubisasia.com/ติดต่อเรา หรือ Contact Us  ในกรณีรอ้ งเรียนพนักงาน ข้อร้องเรียนนันจะส่งไปถึงประธานกรรมการบริหาร  ในกรณีรอ้ งเรียนผูบ้ ริหาร ข้อร้องเรียนนันจะส่งไปถึงประธานกรรมตรวจสอบ ทังนี การแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียนต้องใช้ถ้อยคําสุภาพ และควรมีรายละเอียด ดังนี  ชือสกุล-ของผูถ้ ูกร้องเรียน  ข้อเท็จจริงเกียวกับการกระทําผิดพยานหลักฐานรายละเอียดทีเกียวข้องพร้อมทังแนบหลักฐานต่างๆ (ถ้ามี)  ชือสกุล-ของผูร้ อ้ งเรียน มีการกําหนดมาตรการคุ้มครองผูแ้ จงเบาะแสหรือร้องเรียนไว้ ดังนี  บริษทั จะเก็บข้อมูลเกียวกับผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนเป็ นความลับและเปิดเผยเท่าทีจําเป็ น เพือคํานึงถึงความ ปลอดภัยและป้องกันความเสียหายทีอาจจะเกิดขึนต่อผู้แจ้งเบาะแสหรือ ร้องเรียน (กรณีผู้แจงเบาะแสหรือ ร้องเรียน ไม่เปิ ดเผยชือ-สกุล แต่จะต้องระบุรายละเอียดข้อเท็จจริงหรือหลักฐานทีปรากฎชัดแจ้งเพียงพอที แสดงให้เห็นถึงการกระทําทุจริตคอร์รปั ชัน หรือการกระทําผิดตามทีแจ้ง)  ผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนสามารถร้องขอให้คุม้ ครองได้ตามความจําเป็ นและเหมาะสม  ผูไ้ ด้รบั ความเดือดร้อนเสียหายจะได้รบั การบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการทีเป็ นธรรมและเหมาะสม การดําเนิ นการสอบสวนข้อร้องเรียน มีดงั นี  กรณีผถู้ ูกร้องเรียนเป็ นระดับตังแต่ผจู้ ดั การฝ่ายลงมา ให้ผบู้ งั คับบัญชาและผูอ้ ํานวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล เป็ นผูร้ ่วมสอบสวนข้อร้องเรียน  กรณีทผูี ถ้ ูกร้องเรียนเป็ นระดับตังแต่ผอู้ ํานวยการฝา่ ยขึนไป ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูส้ อบสวน  กรณีทผลการสอบสวนไม่ ี เป็ นทียอมรับของผูถ้ ูกร้องเรียน หรือ ผูร้ อ้ งเรียน สามารถนํ าเรืองเข้าสู่การพิจารณา ของคณะกรรมการตรวจสอบได้ อย่างไรก็ตามบริ ษทั จะไม่รบั เรืองร้องเรียน/การกระทํา ดังต่อไปนี  เรืองทีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท รับ ไว้พ ิจ ารณาหรือ ได้ว ินิ จ ฉัย แล้ว เสร็จ เด็ด ขาดแล้ว และไม่ม ี พยานหลักฐานใหม่ทเป็ ี นสาระสําคัญเพิมเติม  เรืองทีผูร้ อ้ งเรียนพ้นสภาพการเป็ นพนักงานของบริษทั นานเกินห้าปี  เรืองทีไม่ระบุพยานหลักฐานหรือระบุพฤติกรรมการกระทําการทุจริตคอร์รปั ชันทีชัดแจ้งเพียงพอทีจะดําเนินการ สืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงได้ การจัดการเรืองที ได้รบั แจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน มีกาํ หนดการปฏิ บตั ิ ดงั นี เลขานุ การบริษัทจะเป็ นผู้รบั ผิดชอบรวบรวมเอกสารทีได้รบั จากช่องทางดังกล่าว เพือสรุปข้อเสนอแนะและประเด็น ต่างๆ ทังหมด เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือพิจารณาดําเนินการ และบริษทั มีหลักเกณฑ์ในการตังคณะกรรมการสอบสวน เพือให้เกิด กระบวนการยุตธิ รรมในการพิจารณาสอบสวน และการพิจารณาลงโทษผูก้ ระทํา ความผิด แต่กรณีทมี​ี หลักฐานปรากฏชัดแจ้งเพียงพอว่าผู้ แจ้งเบาะแสหรือผูร้ อ้ งเรียนแจ้งเรืองโดยเจตนาไม่สุจริต อาจต้องได้รบั โทษตามแต่ละกรณีดงั นี

40


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

 หากเป็ นพนักงานจะถูกดําเนินการสืบสวนสอบสวนเพือพิจารณาลงโทษ ตามระเบียบข้อบังคับ เกียวกับการ ทํางานของบริษทั  หากเป็ นบุคคลภายนอกและส่งผลให้บริษทั ได้รบั ความเสียหาย บริษทั อาจพิจารณาดําเนินคดี ตามกฎหมายกับ ผูแ้ จ้งเบาะแสหรือผูร้ อ้ งเรียนด้วย กรณีการรักษาความลับในข้อมูลซึงได้มาจากผู้แจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน บริษัทจะเก็บรักษาไว้เป็ นความลับและไม่ เปิ ดเผยใดๆ ทังสินต่อผู้ไม่มสี ่วนเกียวข้อ ง เว้นแต่กรณีทมี​ี ความจําเป็ น ในขันตอนของการสืบสวนหาข้อ เท็จจริง สอบสวน ฟ้องร้อง ดําเนินคดีเป็ นพยาน ให้ถอ้ ยคําหรือให้ความร่วมมือใดๆ ต่อศาลหรือส่วนราชการทีมีอํานาจตามกฎหมาย

หลักการกํากับดูแลกิ จการทีดี สําหรับบริษทั จดทะเบียน คณะกรรมการบริษัทฯ มีความมุ่งมันทีจะบริหารงานโดยยึดหลักการกํากับกิจการทีดีของ ก.ล.ต. ตลอดจนข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี​ี สําหรับกรรมการบริษัท จดทะเบีย น กฎระเบีย บ และแนวทางปฏิบตั ิท ีเกียวข้อ งของตลาดหลัก ทรัพ ย์ แ ห่ งประเทศไทย สํานัก งาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และมีความมุง่ มันทีจะพัฒนายกระดับการกํากับดูแลกิจการของบริษทั สู่แนว ปฏิบตั ทิ เป็ ี นสากล โดยหลักเกณฑ์การกํากับดูแลกิจการทีดี มีดงั นี

ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการในฐานะผูน้ ําองค์กรทีสร้างคุณค่าให้แก่กจิ การอย่างยังยืน . คณะกรรมการบริษทั ฯ เข้าใจในบทบาทและความรับผิดชอบต่อการกํากับดูแลกิจการทีดี เช่น มีการกําหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการ รวมถึงกลยุทธ์ และมาตรการในการดําเนินงาน ติดตามผลงานและเปิดเผยข้อมูลในทุกไตรามาส . คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการสร้างค่านิยมเกียวกับจริยธรรมเพือให้เป็ นวัฒนธรรมขององค์กร จึงได้จดั ทําจรรยาบรรณทางธุรกิจเป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึน เพือส่งเสริมพฤติกรรมทีแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อหน้าทีการงาน ผูถ้ อื หุน้ เพือนร่วมงาน ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย และสังคม รวมถึงการหลีกเลียงพฤติกรรมใดๆ ทีอาจเสียงต่อการขัดจริยธรรม และอาจเป็ นเหตุให้ เป็ นการขัดต่อกฏหมายด้วย โดยได้กาํ หนดจรรยาบรรณทางธุรกิจไว้ 10 ประการ ประกอบด้วย 1) ความซือสัตย์ 2) ความไว้วางใจ 3) การ รักษาความลับ 4) ความยึดมันในวิชาชีพ 5) บุคคลากร 6) ความเป็ นผูน้ ํา 7) ความเป็ นเจ้าของ 8) หลักธรรมมาภิบาล 9) การต่อต้านการ คอร์รปั ชัน 10) การรายงานการละเมิดจรรยาบรรณของพนักงาน

41


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

กําหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการทีเป็ นไปเพือความยังยืน การกําหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายทีเป็ นไปเพือการสร้างคุณค่าอย่างยังยืน มีดงั นี

42


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

เสริมสร้างคณะกรรมการทีมีประสิทธิผล . โครงสร้างของคณะกรรมการบริษัท บริษัทมีคณะกรรมการตรวจสอบซึงเป็ นกรรมการตรวจสอบทีมีความเป็ นอิสระ จํานวน 3 คน จากจํานวนกรรมการบริษัท ทังหมด 9 คน ซึงมากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทังคณะ และมีกรรมการบริษัท ทีไม่ เป็ น กรรมการบริหารจํานวน 6 ท่าน ซึงจะช่วยถ่วงดุลอํานาจของกรรมการบริหาร . การประเมินผลรายบุคคล ตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดีสําหรับบริษัทจดทะเบียน บริษทั ให้คณะกรรมการ มีการ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานด้วยตนเองอย่ างน้ อยปี ละ ครัง เพือให้คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาผลงานและปรับปรุ งแก้ไข โดยการ ประเมินจัดทําทังแบบรายคณะและรายบุคคล เพือเป็ นการส่งเสริมและสนับสนุ นให้บริษทั มีการประเมินคณะกรรมการเป็ นประจําทุกปี อย่าง ต่อเนือง โดยแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี  เอกสารชุดที “แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายคณะ” เพือใช้ประเมินการทํางานของคณะกรรมการใน ภาพรวมขององค์คณะ  เอกสารชุดที “แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายคณะ (แบบย่อ)” เหมาะสําหรับบริษทั จดทะเบียนทีเพิง ริเริมทําการประเมิน  เอกสารชุ ดที “แบบประเมิน ตนเองของคณะกรรมการชุ ดย่ อยแบบรายคณะ” เพือใช้ประเมิน การทํางานของ คณะกรรมการชุดย่อยทีได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ในภาพรวมขององค์คณะ  เอกสารชุดที “แบบประเมินของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยรายบุคคล” เพือใช้ประเมินการทําหน้ าที อย่างเหมาะสมของการเป็ นกรรมการของกรรมการรายบุคคล

43


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

สรรหาและพัฒนาผูบ้ ริหารระดับสูงและการบริหารบุคลากร . คณะกรรมการบริษทั มีหน้ าทีสรรหาและแต่งตังกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ทังนีบุคคลทีได้รบั การแต่งตังให้ดํารง ตําแหน่ งกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ต้องเป็ นบุคคลทีมีคุณสมบัตคิ รบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที ทจ.28/2551 เรือง การขออนุ ญาตและการอนุ ญาตให้เสนอขายหุน้ ทีออกใหม่ ฉบับลง วันที 15 ธันวาคม 2551 และต้องไม่เป็ นบุคคลทีมีลกั ษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่า ด้วยข้อกําหนดเกียวกับผูบ้ ริหารของบริษทั ทีออกหลักทรัพย์ ทังนี กรรมการและผูบ้ ริหารทุกท่านต้องไม่มปี ระวัตกิ ระทําผิดตามกฏหมาย ในระยะ 10 ปี ย้อนหลังก่อนวันยืนคําขออนุ ญาต รวมทังไม่มปี ระวัติถูกพิพากษาถึงทีสุดให้เป็ นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็ นบุคคลทีฝ่าฝื น ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คําสัง มติคณะกรรมการ หรือข้อตกลงการจดทะเบียนหลักทรัพย์ตลอดจนหนังสือเวียนทีตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รวมทังข้อพิพาทหรือการถูกฟ้องร้องทีอยู่ระหว่างการตัดสินพิจารณาคดี . บริษัท กําหนดค่ าตอบแทนแก่ กรรมการบริษัท อยู่ในระดับเดีย วกับอุตสาหกรรม และเหมาะสมกับหน้ าทีและความ รับผิดชอบทีได้รบั มอบหมาย รวมทังอยู่ในระดับทีสูงเพียงพอทีจะจูงใจและรักษากรรมการทีมีคุณสมบัตติ ามทีบริษทั ต้องการได้ สําหรับ ค่าตอบแทนผูบ้ ริหารเป็ นไปตามหลักการและนโยบายทีคณะกรรมการบริษทั กําหนด โดยเชือมโยงกับผลการดําเนินงานของบริษทั และผล การดําเนินงานของผูบ้ ริหารแต่ละคน . บริษทั ได้มกี ารจัดทํา Succession plan โดยคําแนะนําจากคณะกรรมการบริษทั เพือให้บริษทั สามารถรองรับสถานการณ์ การเปลียนแปลงทียากจะคาดเดาตามความผันผวน และสามารถรับมือกับความซับซ้อนในการแข่งขันทางธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพทํา ให้มกี ารประเมินความพร้อมอยู่เสมอว่ามีกําลังคนทีมีคุณสมบัติ (Quality) และความสามารถ (Competency) อยู่เป็ นจํานวนเท่าไร การ ประเมินด้านกําลังคนนีจําเป็ นต้องมีการประเมินทังในด้านปริมาณและคุณภาพ ซึงจะทําให้สามารถวางแผนกลยุทธ์ในอนาคตได้อย่างมี ประสิทธิภาพประสิทธิผลมากยิงขึน ทังยังสามารถวางแผนการฝึ กอบรม เพือพัฒนาพนักงานทีจะมาสืบทอดตําแหน่ งได้ล่วงหน้าแต่เนิน ๆ นอกจากนีการทํา Succession Plan ยังสามารถใช้เป็ นเครืองมือในการจูงใจพนักงานได้เป็ นอย่างดี ซึงบริษทั มีนโยบายส่งเสริมการเลือน ขันพนักงานภายในมากกว่าการสรรหาหรือจัดจ้างจากภายนอกจึงทําให้พนักงานมีขวัญกําลังใจดีขนึ ส่งเสริมนวัตกรรมและการประกอบธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ ั ยสําคัญของความสําเร็จและการเติบโตของบริษทั นวัตกรรมเป็ นปจจั บริษทั จึงได้มงุ่ เน้นและให้ความสําคัญสูงสุดต่อการ คิดค้นวิจยั และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพือให้เกิดประโยชน์สงู สุดและสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยได้กาํ หนดเป็ นกล ยุทธ์การบริหารจัดการนวัตกรรมอย่างชัดเจน เพือให้เกิดการพัฒนาทีมีความหลากหลายทังภายในและภายนอกองค์กร เช่น การขอความ ั บนั บริษทั ได้จดั ตังฝา่ ย ร่วมมือจากสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) ในการวิจยั คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ปจจุ เทคโนโลยีและการพัฒนาเป็ นหน่ วยงานทีรายงานตรงต่อกรรมการผูจ้ ดั การ เพือเพิมความเป็ นอิสระและความคล่องตัวในการทํางานให้ มากขึน

44


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ดูแลให้มรี ะบบการบริหารความเสียงและการควบคุมภายในทีเหมาะสม . ระบบการควบคุมภายในอยู่ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ประชุม เกียวกับระบบการควบคุมภายในทุกไตรมาส โดยมีกรรมการทีเป็ นกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม เพือให้ความเห็นเกียวกับความ เพียงพอ และความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน ซึงคณะกรรมการตรวจสอบได้ชแจงและรายงานผลการประเมิ ี นระบบการ ควบคุมภายใน ให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบทุกไตรมาส นอกจากนีบริษทั ได้ให้ความสําคัญต่อระบบควบคุมภายในทังระดับบริหาร และระดับพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านเพือให้มปี ระสิทธิภาพจึงได้กําหนดภาระหน้าที อํานาจการดําเนินการของผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูบ้ ริหาร ไว้เป็ น ลายลัก ษณ์ อ ัก ษรอย่ างชัดเจน มีก ารควบคุ มดูแลการใช้ท รัพย์สนิ ของบริษัท ให้เกิดประโยชน์ และมีก ารแบ่งแยกหน้ าทีผู้ปฏิบตั ิงาน ผูต้ ดิ ตาม ควบคุมและประเมินผลออกจากกันเพือให้เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม นอกจากนียังมีการควบคุม ภายในทีเกียวกับระบบการเงิน โดยบริษัทได้กําหนดอํานาจอนุ มตั ิของกรรมการ ซึงมีการกําหนดวงเงินผู้มอี ํานาจอนุ มตั ิ โดยทําการ กําหนดวงเงินตามรายการทีขออนุ มตั ิ . การบริหารความเสียงอยู่ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการบริหารความเสียง โดยคณะกรรมการบริหารความเสียงได้ แต่งตังคณะทํางานบริหารความเสียงเพือให้เป็ นไปตามแนวทางปฎิบตั ใิ นการบริหารความเสียง ตามหลักเกณฑ์และแนวทางการกํากับ ดูแลกิจการทีดี โดยการมอบหมายอํานาจหน้าทีให้หน่ วยงานในองค์กรอย่างชัดเจนทําหน้าทีตรวจสอบดูแลการบริหารความเสียงโดยตรง . บริษทั ได้เข้าร่วมโครงการ “แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน” โดยได้รบั การรับรอง เป็ นสมาชิกของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน (Collective Anti-Corruption : CAC) ของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย จากมติทประชุ ี มคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ฯิ ครังที / เมือวันที กุมภาพันธ์ โดยใบรับรองดังกล่าวจะมีอายุ ปี นับจากวันทีมีมติให้การรับรอง เพือแสดงเจตนารมณ์และความมุ่งมันในการต่อต้านการคอร์รปั ชันใน ทุกรูปแบบ ดังนัน บริษทั จึงมีนโยบายให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ดําเนินการปฏิบตั ติ ามกฏหมายอย่างเคร่งครัด และมีความมุง่ มันในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยตระหนักดีว่าการทุจริตและการคอร์รปั ชันนันเป็ นภัยร้ายแรงทีทําลายการแข่งขัน อย่างเสรีและเป็ นธรรม รวมทังก่อให้เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

รักษาความน่ าเชือถือทางการเงินและการเปิดเผยข้อมูล บริษทั ตระหนักถึงการเปิดเผยสารสนเทศทีมีความสําคัญของบริษทั ทังข้อมูลการเงินและข้อมูลสําคัญอืนซึงถือเป็ นนโยบายใน การกํากับดูแลกิจการของบริษทั ได้อย่างครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส เป็ นไปตามเกณฑ์ทสํี านักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ทราบข้อมูลอย่างถูกต้องเท่าเทียมกันผ่านช่องทางต่างๆ เช่น

45


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

รายงานประจําปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) ระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทังเผยแพร่ บนเว็บไซต์ของบริษทั (www.ubisasia.com) ซึงปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปจั จุบนั อยู่เสมอ 8

สนับสนุ นการมีส่วนร่วมและการสือสารกับผูถ้ อื หุน้

บริษทั ฯ ได้ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วม และการสือสารกับผูถ้ อื หุน้ ดังนี . บริษทั ได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ ทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไว้ทเว็ ี บไซต์ของบริษทั ที www.ubisasia.com และได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย . แจ้งหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ พร้อมทังข้อมูลสําหรับแต่ละวาระการประชุมอย่างเพียงพอ ต่อการตัดสินใจ ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบในหนังสือเชิญประชุม . บริษทั ได้เผยแพร่รายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี ทางเว็บไซต์ของบริษทั ที www.ubisasia.com . เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้เสนอเรืองเพือบรรจุเป็ นวาระการประชุม และเสนอชือบุคคลเพือรับการเลือกตังเป็ นกรรมการ บริษทั เป็ นการล่วงหน้า สําหรับการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี . บริษทั ได้เข้าร่วมกิจกรรม Opportunity Day เพือพบผูล้ งทุน อย่างสมําเสมอ . บริษทั ได้เข้าร่วมกิจกรรม mai FORUM ทีจัดโดยตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) และสมาคมบริษทั จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (maiA) เพือพบปะให้ขอ้ มูลโดยตรงแก่ผลู้ งทุนและผูถ้ อื หุน้ เป็ นประจําทุกปี

การสรรหากรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูง คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีสรรหาและแต่งตังกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ทังนีบุคคลทีได้รบั การแต่งตังให้ดํารงตําแหน่ ง กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ต้องเป็ นบุคคลทีมีคุณสมบัตคิ รบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน พ.ศ. 2535 และตาม ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที ทจ.28/2551 เรือง การขออนุ ญาตและการอนุ ญาตให้เสนอขายหุน้ ทีออกใหม่ ฉบับลงวันที 15 ธัน วาคม 2551 และต้องไม่เป็ นบุคคลทีมีลกั ษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลัก ทรัพย์แ ละตลาดหลัก ทรัพย์ว่าด้วย ข้อกําหนดเกียวกับผูบ้ ริหารของบริษทั ทีออกหลักทรัพย์ ทังนี กรรมการและผูบ้ ริหารทุกท่านต้องไม่มปี ระวัตกิ ระทําผิดตามกฏหมายใน ระยะ 10 ปียอ้ นหลังก่อนวันยืนคําขออนุญาต รวมทังไม่มปี ระวัตถิ ูกพิพากษาถึงทีสุดให้เป็ นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็ นบุคคลทีฝา่ ฝื นข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คําสัง มติคณะกรรมการ หรือข้อตกลงการจดทะเบียนหลักทรัพย์ตลอดจนหนังสือเวียนทีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย รวมทังข้อพิพาทหรือการถูกฟ้องร้องทีอยู่ระหว่างการตัดสินพิจารณาคดี

46


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

การกํากับดูแลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ย่อย คณะกรรมการบริษทั มีกลไกในการกํากับดูแลทีทําให้สามารถควบคุมดูแลการจัดการและรับผิดชอบการดําเนินงานของบริษทั ย่อย เพือดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริษทั ดังนี  บริษทั จัดส่งบุคคลเพือเป็ นตัวแทนของบริษทั ไปเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ อี ํานาจควบคุม ในบริษทั ย่อยตาม สัดส่วนการถือหุน้ โดยต้องผ่านการอนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั  บุคคลทีได้รบั การแต่งตังจะมีหน้าทีดําเนินการเพือประโยชน์ทดี​ี ทสุี ดของบริษทั ย่อยนันๆ  ขอบเขต อํานาจ หน้าที ของกรรมการหรือผูบ้ ริหารทีเป็ นตัวแทนของบริษทั ในการกําหนดนโยบายทีสําคัญ เช่น การเพิมทุน การลดทุน ตลอดจนการเปลียนแปลงข้อบังคับบริษทั หรือนโยบายการดําเนินงานต่างๆ เป็ นต้น จะต้อง นําเสนอและได้รบั การอนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ก่อนทีจะไปลงมติ หรือใช้สทิ ธิออกเสียงในระดับเดียวกับทีต้อง ได้รบั อนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั หากเป็ นการดําเนินการโดยบริษทั เอง  ในกรณีเป็ นบริษทั ย่อย บุคคลทีได้รบั การแต่งตังต้องดูแลให้บริษทั ย่อยมีขอ้ บังคับในเรืองการทํารายการเกียวโยง และ/หรือ รายการได้มาและจําหน่ ายไปซึงสินทรัพย์ ให้สอดคล้องกับการปฏิบตั ขิ องบริษทั มีการจัดเก็บข้อมูลและ การบันทึกบัญชีให้เป็ นไปตามนโยบายการบัญชีเหมือนบริษัท เพือจะทําให้บริษทั สามารถตรวจสอบและรวบรวม จัดทํางบการเงินรวมได้ทนั กําหนด  ตัว แทนบริษัท ต้อ งดําเนิ น การให้บริษัท ย่ อ ย มีก ลไกระบบการควบคุ มภายในให้มคี วามเหมาะสมและรัดกุ มที เพียงพอ เช่นเดียวกับบริษทั การดูแลเรืองการใช้ข้อมูลภายใน บริษัท มีน โยบายห้ามกรรมการและผู้บริห าร และพนัก งานทีรับทราบข้อ มูล ภายใน นํ าข้อ มูล ภายในซึงยังไม่ไ ด้เปิ ดเผยต่ อ สาธารณชนไปใช้เพือประโยชน์ของตนเองและผูอ้ นื โดยมีแนวทางปฏิบตั ดิ งั นี  กําหนดให้ กรรมการและผูบ้ ริหาร จัดทําและส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษทั ของตนเอง คู่สมรส และบุตรทียังไม่บรรลุ นิตภิ าวะต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ดังนี  รายงานการถือหลักทรัพย์ครังแรก (แบบ - ) ภายใน วัน นับตังแต่วนั ทีรับตําแหน่ งกรรมการ  รายงานการเปลียนแปลงการถือหลักทรัพย์ (แบบ - ) ภายใน วันทําการนับตังแต่วนั ทีมีการ ซือ ขาย โอนหรือ รับโอนหลักทรัพย์ และให้ส่งสําเนารายงานการถือหลักทรัพย์ดงั กล่าวให้แก่เลขานุ การบริษทั ภายในวันทีส่งรายงาน ดังกล่าว เพือจัดทําบันทึกการเปลียนแปลงและสรุปจํานวนหลักทรัพย์ของกรรมการและผูบ้ ริหารเป็ นรายบุคคล เพือ นําเสนอให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบในการประชุมครังถัดไป  ประกาศให้ท ราบทัวกัน ว่ า กรรมการ ผู้บ ริห าร และพนั ก งาน ทีรับ ทราบข้อ มูล ภายในทีมีนัย สํา คัญ ทีอ าจส่ ง ผลต่ อ การ เปลียนแปลงของราคาซือขายหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซือหรือขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ในช่วง เดือนก่อนทีบริษทั จะมีการประกาศ ผลการดําเนินงาน (กําหนดเวลาในการประกาศผลการดําเนินงาน คือ วันนับจากวันสินไตรมาส และ วันนับจากวันสินงวดบัญชี) หรือจนกว่าข้อมูลภายในนัน จะเปิดเผยต่อสาธารณชน กําหนดมาตรการการลงโทษ ดังนี บริษัทได้กําหนดโทษสําหรับกรณีทมี​ี การฝ่าฝื นในการนํ าข้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพือประโยชนส่วนตัวไว้ในระเบียบของ บริษทั โดยมีโทษขันสูงสุดตามกฎหมาย บุคคลากร บริษทั มีพนักงานทังสินจํานวน 120 คน โดยอยู่ประจําทีสํานักงานใหญ่ จํานวน 23 คน และประจําทีโรงงานทีนิคมอุตสาหกรรม สมุทรสาคร จํานวน 97 คน ซึงสามารถแบ่งตามสายงานต่างๆ มีรายละเอียดดังนี

47


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

สายงานหลัก . . . . . . 7.

พนักงานประจํา ปี 2561 ปี 2560 3 3 14 14 9 9 71 75 17 18 6 6 120 125

สํานักผูบ้ ริหาร สายการเงิน-บัญชี และเทคโนโลยีสารสนเทศ สายการขายและการตลาด สายการผลิต (โรงงาน) สายงานเทคโนโลยีและพัฒนา สายงานทรัพยากรบุคคล สํานักตรวจสอบภายใน (ไม่ม)ี รวม

ผลตอบแทนรวมของบริษทั สําหรับ ปี 2561 และ ปี 2560 เป็ นดังนี ประเภทผลตอบแทน เงินเดือนรวม โบนัสรวม เงินสมทบกองทุนสํารองเลียงชีพ รวม

ปี 2561 65,202,628 10,936,657 1,431,005 77,570,290

ปี 2560 61,176,875 9,440,933 1,236,435 71,854,243

บริษัทให้ความสําคัญกับการยกระดับความรู้ความเชียวชาญของพนักงานโดยกําหนดให้มรี ะบบการจัดการทรัพยากรบุคคลที คํานึงถึงความเหมาะสมของความสามารถของบุคลากรทีปฏิบตั งิ านในแต่ละกิจกรรมเพือประสิทธิภาพสูงสุด และมีการประเมินผลงานในแต่ ละปี โดยใช้ดชั นีวดั ผลงาน (KPI) และแบบประเมินผลงานเพือกําหนดผลตอบแทน และดําเนินการฝึ กอบรมเพิมเติม เพือเพิมศักยภาพการ ทํางาน และสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนียังมีการวางแผนอัตรากําลังให้เหมาะสมกับปริมาณงานและสรรหาบุคลากรล่วงหน้า ทังนีบริษทั ไม่มสี หภาพแรงงาน แต่ ได้มคี ณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการเพือสํารวจความต้องการทางด้านสวัสดิการของพนัก งาน และนํ าเสนอต่อผู้บริหาร ระดับสูงเพือพัฒนาปรับปรุงสิทธิประโยชน์ ต่างๆ ของพนักงาน อีกทังยังอํานวยความสะดวกช่องทางในการนํ าเสนอความคิดเห็นของ พนักงานได้อย่างอิสระด้วยตนเอง ผ่านช่องทางทีบริษทั กําหนดไว้ อาทิเช่น กล่องรับความคิดเห็น E-mail ถึงผูบ้ ริหารระดับสูงโดยตรง หรือ ผ่านทางเว็บไซด์ของบริษทั โดยพนักงานสามารถส่งข้อเสนอแนะมายังผูบ้ ริหารเพือการพิจารณาได้โดยตรง หรือผ่านระบบร้องเรียนทีมี ความปลอดภัยและเป็ นความลับสูงสุด โดยบริษทั ฯตระหนักว่าเป็ นการพัฒนาบริษทั ร่วมกัน ข้อพิ พาทด้านแรงงาน ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 บริษทั ถูกฟ้องร้องจากอดีตกรรมการบริหารของบริษทั ท่านหนึง เรืองการเลิกจ้างไม่เป็ นธรรม ซึงเมือ วันที 7 มีนาคม 2562 โจทก์ได้ถอนฟ้องในคดีดงั กล่าวทีศาลแรงงานกลางแล้ว ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) ชือบริ ษทั ผูจ้ ่าย บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

บริษทั ยูบสิ พรีมาเทค จํากัด

Vita International Trading (Guangzhou) Co.,Ltd.

ชือผูส้ อบบัญชี ปี 2561 นายไพบูล ตันกูล บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด นายไพบูล ตันกูล บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด Mr.Yingzhang Xue GuangDong Zhongsui Certified Public Accountants

ค่าสอบบัญชี ปี 2561 (บาท) 3,695,000

130,000

200,000 (RMB 40,000)

ชือผูส้ อบบัญชี ปี 25 นายไพบูล ตันกูล บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด นายไพบูล ตันกูล บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด Mr.Jinsheng Zhang Guangzhou Zhisheng Certified Public Accountants

ค่าสอบบัญชี ปี 25 (บาท) 3,650,000

130,000

200,000 (RMB 40,000)

48


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ค่าบริ การอืน -ไม่ม-ี ทังนี นายไพบู ล ตัน กู ล และบริษั ท ไพร้ ซ วอเตอร์ เ ฮาส์ คู เ ปอร์ ส เอบีเ อเอส จํ า กัด , Mr. Yingzhang Xue และสํ า นั ก งาน Guangzhou Zhisheng Certified Public Accountants ไม่มคี วามสัมพันธ์ และไม่มสี ่วนได้เสียกับบริษทั /บริษทั ย่อย/ผูบ้ ริหาร/ผูถ้ อื หุน้ ราย ใหญ่หรือผูท้ เกี ี ยวกับบุคคลดังกล่าว นายไพบูล ตันกูล เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 256 นายไพบูล ตันกูล เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 2560 นายชาญชัย ชาญประสิทธิ เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 2559 นายอุดม ธนูรตั น์พงศ์ เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 2558 นายไกรสิทธิ ศิลปะมงคลกุล เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 2557 Mr. Yingzhang Xue เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ไวต้า อินเตอร์ฯ ปี 2561 Mr. Jinsheng Zhang เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ไวต้า อินเตอร์ฯ ปี 2560 Mr. Zhang Dong Liang เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ไวต้า อินเตอร์ฯ ปี 2557 – 2559 การนําหลักการกํากับดูแลกิ จการที ดีไปปรับใช้ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความมุ่งมันทีจะบริหารงานโดยยึดหลักการกํากับกิจการทีดี ข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี​ี สาํ หรับกรรมการบริษทั จด ทะเบียน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบตั ทิ เกี ี ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และมีความมุ่งมันทีจะพัฒนายกระดับการกํากับดูแลกิจการของบริษทั สู่แนวปฏิบตั ทิ เป็ ี นสากล นโยบายการกํากับดูแล ่ กิจการได้จดั ทําขึนเพือให้คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารฝายจัดการตลอดจนพนักงาน ได้ใช้เป็ นแนวทางในการกํากับดูแลบริษทั และ การปฏิบตั งิ าน คณะกรรมการบริษทั ฯ จะส่งเสริมและดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายทีกําหนดไว้เพือให้บริษทั ได้บรรลุเป้าหมายในการสร้าง ความมันคงและยังยืนให้กบั องค์กรและผูถ้ อื หุน้ ทังนี คณะกรรมการเข้าใจบทบาท หน้าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการทีมีต่อ บริษทั และผูถ้ อื หุน้ และได้ศกึ ษาแนวทางการปฏิบตั ติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดี สําหรับกรรมการบริษทั จดทะเบียนทีเป็ นไปตาม แนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือนํ ามาปรับปรุงวิธกี ารดําเนินงานของบริษทั เพือสร้างความโปร่งใสในการทํางาน การ ดําเนินการให้มจี ริยธรรมทางธุรกิจ การจัดทําระบบควบคุมภายในต่างๆ รวมถึงการให้ความสําคัญของความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และ การรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ เป็ นสําคัญ ทังนี “คณะกรรมการบริ ษทั ได้ทาํ การพิ จารณาและทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิ จการ ที ได้ปรับตามบริ บททางธุรกิ จ ของบริ ษัทประจําปี 2560 ต่ อที ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครังที 1/2561 เมือวันที 20 กุมภาพันธ์ 2561 และรายงานผลการ ปฏิ บตั ิ งานไว้ในแบบ 56-1/ข้อ 9. การกํากับดูแลกิ จการ/ข้อ 9.1.1-ข้อ 9.1.5”

49


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ความรับผิดชอบต่อสังคมสู่ความยังยืน บริษทั มุ่งเน้นพัฒนาการดําเนินธุรกิจบนพืนฐานของความยังยืนโดยดําเนินกิจการด้วยความโปร่งใส มีความรับผิดชอบต่อสังคม และสิงแวดล้อม ตลอดจนตระหนักถึงผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างเหมาะสม นโยบายภาพรวม นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ได้ถูกกําหนดไว้เป็ นแนวทางการดําเนินการความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ โดยไม่ ส่งเสริมหรือสนับสนุ นการกระทําใดๆทีจะเป็ นการกระทําทีก่อให้เกิดการคอร์รปั ชันทังในส่วนราชการและเอกชน สําหรับการดําเนินงาน บริษทั ก็ได้มกี ารกําหนดความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการทํางาน โดยคํานึงถึงผูท้ มี​ี ส่วนเกียวข้องและสิงแวดล้อมภายในองค์กร (CSR-in-process) โดยรวมเข้ากับระบบการปฏิบตั งิ านปกติและทีกําหนดไว้ใน ISO รวมถึงคู่มอื การปฏิบตั งิ านต่างๆ นอกจากนี บริษทั ดําเนินการจัดทํานโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม และแนวทางทีบริษทั ได้วางกรอบไว้สาํ หรับการดําเนินธุรกิจ ของบริษทั และบริษทั ย่อย ให้เป็ นไปตามความรับผิดชอบต่อสังคม สิงแวดล้อม และผูม้ สี ่วนได้เสีย ตามหลักการ 8 ข้อ ดังนี การประกอบกิ จการด้วยความเที ยงธรรม และการต่อต้านการทุจริ ตคอร์รปั ชัน บริษทั ดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส น่ าเชือถือและตรวจสอบได้ภายใต้หลักการกํากับดูแลกิจการทีดีและจรรยาบรรณธุรกิจ ซึง คณะกรรมการบริหารและพนักงานทุกคนในองค์กรต้องปฏิบตั ติ ามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดีของบริษทั อย่างเคร่งครัด บริษทั สนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันทุกรูปแบบซึงครอบคลุมการรับและจ่ายสินบน โดยได้รบั การรับรองเป็ นสมาชิก ของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน (Collective Anti-Corruption : CAC) ของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย จากมติทประชุ ี มคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ฯิ ครังที / เมือวันที กุมภาพันธ์ โดยใบรับรอง ดังกล่าวจะมีอายุ ปี นับจากวันทีมีมติให้การรับรอง จึงได้จดั ทํามาตรการต่อต้านคอร์รปั ชันเพือเป็ นหลักปฏิบตั ทิ ชัี ดเจนในการดําเนิน ธุรกิจอย่างโปร่งใส อันจะนําไปสู่การพัฒนาองค์กรและประเทศไทยอย่างยังยืน และได้ประกาศใช้มาตรการดังกล่าวทัวทังองค์กรของบริษทั และบริษทั ย่อย โดยกําหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ต้องปฏิบตั ติ ามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน นอกจากนี ยังได้จดั ให้มกี ระบวนการและแนวทางการปฏิบตั ิ การกํากับดูแล การติดตามการประเมินผล รวมทังการเผยแพร่เพือให้ความรูแ้ ก่พนักงาน ตลอดจนช่องทางในการร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสทังสําหรับพนักงานและบุคคลภายนอก (รายละเอียดเพิมเติมแสดงไว้ทข้ี อ 9.1 นโยบาย กํากับดูแลกิจการ/ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ/การประกอบกิจการด้วยความเป็ นธรรมและการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน) โดยใน ปี 256 บริษทั ไม่พบการทุจริตหรือข้อร้องเรียนของการกระทําทีขัดต่อจรรยาบรรณทางธุรกิจ การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรบุคคล บริษทั กําหนดกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ และนโยบายของบริษทั โดยตระหนักถึงความสําคัญของ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลในทุกระดับให้มปี ระสิทธิภาพ และควรค่าแก่การได้รบั การยอมรับและพัฒนาศักยภาพการทํางาน จึงได้มกี าร กําหนดแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลรายปี ครอบคลุมทุกส่วนงาน การปฎิ บตั ิ ต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม บริษทั มุง่ เน้นการดําเนินธุรกิจภายใต้การบริหารจัดการทีมีประสิทธิภาพ โดยตระหนักถึงความสําคัญความปลอดภัย และชีวอนา มัยของพนักงาน จึงได้ทาํ การแต่งตัง คณะกรรมการความปลอดภัยและชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน พร้อมกําหนดนโยบาย ทางด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานของพนักงานเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิ ดังนี  สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน ด้วยการบูรณาการให้เกิดพัฒนา ปรับปรุง ประสิทธิภาพในทุกกิจกรรม ที ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสียงต่อพนักงาน อาทิเช่น การจัดซ้อมหนีไฟและดับเพลิงอย่างต่อเนืองสมําเสมอ ตลอดจนมีการจัด สถานทีทํางาน และระบบโครงสร้างพืนฐานต่างๆ อุปกรณ์ความปลอดภัยให้เพียงพอต่อการทํางาน รวมถึงการจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพ ประจําปีให้กบั พนักงาน โดยมีรายการตรวจทีเหมาะสมสอดคล้องกับวัยของพนักงาน  ส่งเสริมให้พนักงานมีจติ สํานึกทีดีต่อการดําเนินงาน เพือให้ได้ผลิตภัณฑ์ทมี​ี คุณภาพ น่ าเชือถือ และส่งเสริมการ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยให้แก่พนักงานทุกคนเพือการทํางานอย่างปลอดภัยผ่าน Morning Talk ในทุกเช้าก่อนเริมปฏิบตั งิ าน พร้อม ทังการสนับสนุ น ให้มกี ารจัดฝึ ก อบรมให้เพีย งพอและเหมาะสม อาทิเช่ น การจัดฝึ ก อบรมด้านความปลอดภัย ให้พ นัก งานในระดับ ปฏิบตั กิ าร เพือสร้างความรูค้ วามเข้าใจในขันตอนการทํางานและดูแลให้ปฏิบตั หิ น้าทีได้อย่างปลอดภัย นอกจากนียังรณรงค์ลดอุบตั เิ หตุ จากการทํางานให้เป็ นศูนย์ โดยมีการติดตามวัดผลการดําเนินงานเป็ นประจําสมําเสมอ

50


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

 การสร้างสภาพแวดล้อมในการทํางานให้เอืออํานวยต่อการทํางานอย่ างมีประสิทธิภ าพ เป็ นอีกปจั จัยทีมีผลต่ อ สุขอนามัยของพนักงาน บริษทั จึงจัดให้มกี ารตรวจและประเมินระบบจัดการสภาพแวดล้อม 5 ส (สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และ สร้างนิสยั ) เป็ นประจํา ตลอดจนจัดให้ม ี Big Cleaning Day ในบริษทั อย่างสมําเสมอ คุณภาพบริ การ และความรับผิ ดชอบต่อลูกค้าและคู่ค้า บริษทั มุ่งมันพัฒนาคุณภาพการบริการอย่างต่อเนือง เพือสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า รวมถึงการให้ความสําคัญและ ความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียในกลุ่มธุรกิจ อาทิเช่น  ติดต่อประสานงานกับลูกค้าด้วยความสุภาพและเป็ นทีไว้วางใจ ตลอดจนกําหนดมาตรการวัดผลความพึงพอใจของ ลูกค้าทังต่อสินค้าและบริการ  ให้ขอ้ มูลทีถูกต้อง เพียงพอและทันต่อสถานการณ์ของลูกค้า เพือไม่ให้เกิดความเข้าใจทีคลาดเคลือนในสินค้าและ บริการ  ให้ความสําคัญต่องานบริการหลังการขายทีเน้นความรวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์ของลูกค้า  เก็บรักษาความลับของลูกค้า และไม่นําไปใช้เพือประโยชน์ของตนหรือผูอ้ นโดยมิ ื ชอบ  ให้คาํ แนะนําเกียวกับการใช้งานสินค้าของบริษทั อย่างมีประสิทธิภาพเพือประโยชน์สงู สุดของลูกค้า  การเปิดให้ลกู ค้าได้เข้าเยียมชมกิจการและตรวจสอบคุณภาพการดําเนินงานของบริษทั  สนับสนุ นการจัดทําแนวทางการสรรหาวัตถุดบิ ตามคุณลักษณะทีกําหนดแหล่งผลิตทีดีและเป็ นทียอมรับ  จัดทําแนวทางปฏิบตั เิ พือการทบทวนและพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เพือให้บริษทั สามารถส่งมอบสินค้าทีมี มาตรฐานและความปลอดภัยอย่างต่อเนือง  ระบบบริห ารการจัด การด้ า นคุ ณ ภาพ ISO9001:2015 โดยได้ ร ับ การรับ รองจาก Bureau Veritas Certficaton Thailand ซึงเน้นการดําเนินงานแบบ Process approach เพือให้บริษทั มีความสามารถในการผลิตผลิตภัณฑ์แ ละ บริการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ข้อกําหนดทีเกียวข้อง และข้อกฎหมาย รวมทังมุ่งมันทีจะยกระดับ ความพึงพอใจของลูกค้า  ดําเนินการตามกรรมวิธอี ย่างถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม จึงได้รบั การอนุ ญาตให้ใช้เครืองหมายรับรอง “HALAL” หรือ “ฮาลาล” จากสํานักงานกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย (CICOT)  เพิมประสิท ธิภ าพของกระบวนการและการควบคุ ม ด้า นอาชีว อนามัย และความปลอดภัย โดยนํ า มาตรฐาน ISO45001:2018 Occupational health and safety management systems มาประยุกต์ใช้  บริษทั จัดให้มชี ่องทางเพือให้ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มแจ้งเบาะแสและเรืองร้องเรียนการประพฤติทมิี ชอบ ผ่านทาง เว็บไซต์ของบริษทั ทางโทรศัพท์ และทางอีเมล์ ส่งตรงถึงคณะผูบ้ ริหารและประธานกรรมการตรวจสอบของบริษทั ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ งแวดล้อม บริษทั มุ่งมันในการสนับสนุ นพัฒนาสังคมและสิงแวดล้อม ด้วยการนํ าระบบบริหารจัดการด้านสิงแวดล้อม ISO14001:2015 มา ประยุกต์ใช้ มีการกําหนดนโยบายด้านการป้องกันและดูแลสิงแวดล้อมไว้อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็ นการส่งเสริมการลดมลพิษด้วย 3Rs (Reduce/Reuse/Recycle) มีการทบทวนและดูแลความเสียงจากผลกระทบต่อสิงแวดล้อมทีอาจเกิดขึนจากกระบวนการผลิต ทังระหว่าง การผลิต และหลัง กระบวนการผลิต ตลอดจนการกํา จัด ของเสีย จากการผลิต โดยว่ า จ้า งบริษัท ทีดํ า เนิ น การในการกํ า จัด ของเสีย อุตสาหกรรมโดยเฉพาะมาดูแลรับผิดชอบ ทีผ่านมาบริษทั ได้ดําเนินการตรวจวัดสภาพแวดล้อมภายในโรงงานเป็ นประจําทุกปี และใน พืนทีการผลิตอย่างสมําเสมอ เพือเฝ้าระวังและหามาตรการป้องกันแก้ไขทันที พร้อมกันนียังสนับสนุ นกิจกรรมทางสังคมเพือสิงแวดล้อม อย่างต่อเนือง ไม่ว่าจะเป็ นการเข้าร่วมโครงการต่างๆ ของการนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร ด้วยการเน้นร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม เป็ น ต้น ซึงบริษัทเล็งเห็นถึงความสําคัญในการอยู่ร่วมและพัฒนาชุมชน ทังนีบริษัทจะดําเนินการกําหนดนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม ให้มคี วามสอดคล้องกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษทั ต่อไป การเคารพสิ ทธิ มนุษยชน บริษทั ดําเนินธุรกิจโดยให้ความเคารพสิทธิทีมนุ ษย์ทุกคนสมควรได้รบั ในฐานะที เป็ นส่วนหนึงของสังคมตลอดจนความมีเสรีภาพ และศักดิศรีของความเป็ นมนุ ษย์ ให้ความเสมอภาคปราศจากการเลือกปฏิบตั ิ เคารพเท่าเทียมกันภายใต้กฏหมาย มีการปฏิบตั ิทเป็ ี น รูปธรรมอย่างชัดเจน โดยให้สทิ ธิและส่งเสริมให้ทํางานตรงตามความสามารถและศักยภาพ รวมทังดําเนินโยบายค่าตอบแทนรายได้ตาม

51


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ความรู้ค วามสามารถ ทังนี บริษัท ได้ประกาศใช้นโยบายเกียวกับจรรยาบรรณของพนักงาน (Code of Conduct) ซึงมีส าระสําคัญที ครอบคลุมองค์ประกอบด้านสิทธิมนุ ษยชน อาทิเช่น การเลือกปฏิบตั ิ สิทธิแรงงาน การปกป้องข้อมูลลูกค้า เป็ นต้น พฤติ กรรมการแข่งขัน บริษัท มุ่งเน้ น การแข่งขันอย่ างเสรีและเป็ น ธรรม ด้ว ยการดําเนิ น ธุร กิจอย่างโปร่ งใส และมีค วามชอบธรรมโดยการยึดหลัก จรรยาบรรณการกํากับดูแลกิจการทีดี ภายใต้กฏหมายการแข่งขันทางการค้า รวมถึงกฏเกณฑ์ขอ้ กําหนดทีเกียวข้องของประเทศไทยและ สากล ทังนีจากการประกาศใช้นโยบายเกียวกับจรรยาบรรณของพนักงาน (Code of Conduct) ทีมีเนือหาสาระครอบคลุมแนวปฏิบตั ิดา้ น การแข่งขันอย่างเป็ นธรรม และการแข่งขันทางการค้า เพือป้องกันพฤติกรรมการแข่งขันทีไม่เป็ นธรรมได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั จัดให้ม ี ช่องทางเพือให้ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มแจ้งเบาะแสและเรืองร้องเรียนการประพฤติทมิี ชอบ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั ทางโทรศัพท์ และทางอีเมล์ ส่งตรงถึงคณะผูบ้ ริหารและประธานกรรมการตรวจสอบของบริษทั การพัฒนานวัตกรรม นวัตกรรมเป็ นปจั จัยสําคัญของความสําเร็จและการเติบโตของบริษทั บริษทั จึงได้มุ่งเน้นและให้ความสําคัญสูงสุดต่อการคิดค้น วิจยั และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพือให้เกิดประโยชน์สงู สุดและสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยได้กาํ หนดเป็ นกลยุทธ์การ บริหารจัดการนวัตกรรมอย่างชัดเจน เพือให้เกิดการพัฒนาทีมีความหลากหลายทังภายในและภายนอกองค์กร เช่น การขอความร่วมมือ จากสํานัก งานพัฒนาวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีแ ห่ งชาติ (สวทช) ในการวิจยั คิดค้น นวัต กรรมใหม่ๆ ปจั จุบนั บริษัท ได้จดั ตังฝ่าย เทคโนโลยีและการพัฒนาเป็ นหน่ วยงานทีรายงานตรงต่อกรรมการผูจ้ ดั การ เพือเพิมความเป็ นอิสระและความคล่องตัวในการทํางานให้ มากขึน การดําเนิ นงานและการจัดทํารายงาน บริษทั ได้ดําเนินงานให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ พร้อมทังมีการประเมิน การกําหนดแนวทางปฏิบตั ิ การสือสารกับพนักงาน การ ตรวจสอบการปฏิบตั อิ ย่างสมําเสมอ และมีการจัดทํารายงานผลโดยส่วนงานทีเกียวข้องและรับผิดชอบ การดําเนิ นที มีผลกระทบต่อความรับผิ ดชอบต่อสังคม บริษทั และบริษทั ย่อยไม่มปี ญั หาผลกระทบ การถูกกล่าวหา หรือถูกตรวจสอบจากหน่ วยงานใด และไม่เคยฝา่ ฝื นกฏหมายในเรือง เกียวกับหลักการความรับผิดชอบต่อสังคมทัง 8 ข้ออย่างมีนยั สําคัญ กิ จกรรมเพือประโยชน์ ต่อสังคมและสิ งแวดล้อม (After Process) บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ดําเนินธุรกิจด้วยการกํากับดูแลภายใต้หลักธรรมาภิบาล เติบโตเคียงคู่สงั คมไทยมากว่า ปี โดยประกอบธุรกิจ ผลิต และจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋อง และแลคเกอร์เคลือบกระป๋อง เพือใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต กระป๋องโลหะ และฝาจุกขวดในการบรรจุอาหาร และเครืองดืม และผลิตภัณฑ์อนๆ ื ตลอดระยะเวลาทีผ่านมา บริษทั ได้คดิ ค้น และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มคี วามหลากหลาย และรักษาคุณภาพทีดีอย่างต่อเนือง เพือ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีต่างกัน และหนึงในปณิธานทีบริษทั ยึดมัน คือการดําเนินธุรกิจทีสอดผสานไปกับการตอบแทนกลับสู่ สังคมในรูปแบบต่างๆ ผ่านกิจกรรมทีแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR (Corporate Social Responsibility) ทีหลากหลาย อย่างต่อเนือง ตลอดจนรณรงค์ให้ทุกภาคส่วนภายในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ “ยูบสิ จิตอาสา” หนึงในความภาคภูมใิ จของเรา ด้วย จิตสํานึกแห่งการแบ่งปนั ทีแทรกซึมสูห่ วั ใจพนักงาน ไม่ว่าจะเป็ นในรูปแบบของกําลังทรัพย์ แรงกาย แรงใจ และรอยยิมสู่สงั คมไทยในทุก เมือทีสังคมต้องการ บริษทั ได้ดาํ เนินการกิจกรรม CSR มาโดยตลอด และต่อเนือง ทังในภายใน และภายนอกองค์กร ซึงกิจกรรมของเราในปี อาทิ มอบสี และอุปกรณ์ทาสีอาคาร ให้กบั โรงเรียนบ้านชายทะเล บาง กระเจ้า จ. สมุทรสาคร มอบอุปกรณ์การเรียน และของขวัญในวันเด็ก แห่งชาติ ให้กบั โรงเรียนในย่านใกล้เคียงโรงงาน

52


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

กิจกรรมปลูกปา่ ชายเลน โดยพนักงาน และผูบ้ ริหาร ร่วมกิจกรรมปลูกปา่ ชายเลนกับการนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร เพือการ อนุ รกั ษ์และรักษาปา่ ชายเลนให้คงความอุดมสมบูรณ์

กิจ กรรมบริจ าคโลหิต โดยพนั ก งาน และ ผู้บ ริห าร ร่ ว มบริจ าคโลหิต ทีการนิ ค มอุ ต สาหกรม สมุทรสาคร เนืองในโอกาสวันสําคัญต่างๆ เพือร่วม เป็ นส่วนหนึงในการสร้างกุศล ช่วยเหลือต่อชีวติ เพือน มนุ ษย์

โครงการ NLP for KIDS NLP : Neuro Linquistic Programming เป็ นโครงการทีจัดขึนทีโรงเรียนบ้านชายทะเล บางกระเจ้า อ. เมือง จ. สมุทรสาคร โดยวัตถุประสงค์เพือให้นักเรียนระดับประถมศึกษาทีเข้าร่วมโครงการเรียนรูก้ ระบวนการเข้าใจตัวเอง การกําหนด พฤติกรรม และการกระทําเพือมุ่งสู่เป้าหมายทีวางไว้ เช่น เป้าหมายด้านการเรียน การออกกําลังกาย กีฬา ฯลฯ และมอบทุนการศึกษา ให้กบั นักเรียน

โครงการสร้างอาคารเรียนคอมพิวเตอร์ และปลูกปา่ สาธารณประโยชน์ให้กบั โรงเรียน และชุมชน บริษทั ฯ ร่วมกับพนักงานทีมีจติ อาสาออกค่าย เพือสร้างอาคารเรียนคอมพิวเตอร์ และส่งมอบให้กบั โรงเรียนบ้านคลองไทร สาขาบ้านใหม่ แม่เรวา รวมถึงกิจกรรมปลูกปา่ สาธารณะประโยชน์ให้กบั ทางโรงเรียน และบริเวณทีว่าการ อําเภอแม่วงก์ จ. นครสวรรค์

53


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

การป้ องกันการมีส่วนเกียวข้องกับการคอร์รปั ชัน บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) หรือ “UBIS” มีอุดมการณ์ในการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และมีคุณธรรม โดยยึดมันใน ความรับผิดชอบต่อสังคมและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลทีดี และจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายและแนวปฏิบตั ติ ่อ ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆของบริษทั บริษทั ได้รบั การรับรองเป็ นสมาชิกโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน (Collective AntiCorruption : CAC) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย จากมติทประชุ ี มคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ฯิ ครังที / เมือ วันที กุมภาพันธ์ โดยใบรับรองดังกล่าวจะมีอายุ ปี นับจากวันทีมีมติให้การรับรอง เพือแสดงเจตนารมณ์และความมุ่งมันใน การต่อต้านการคอร์รปั ชันในทุกรูปแบบ ดังนัน บริษทั จึงมีนโยบายให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ดําเนินการปฏิบตั ิ ตามกฏหมายอย่างเคร่งครัด และมีความมุง่ มันในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยตระหนักดีว่าการทุจริตและการคอร์รปั ชันนันเป็ นภัย ร้ายแรงทีทําลายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็ นธรรม รวมทังก่อให้เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยบริษทั มีนโยบายการกําหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิบตั ิ และข้อกําหนดในการดําเนินการทีเหมาะสม เพือป้องกันการคอร์รปั ชันกับทุกกิจกรรมทางธุรกิจของบริษทั และเพือให้การตัดสินใจและการดําเนินการทางธุรกิจทีอาจมีความเสียงด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ได้รบั การพิจารณาและปฏิบตั อิ ย่างรอบคอบ จึงได้จดั ทํา “นโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน” เป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึน เพือเป็ นแนว ทางการปฏิบตั ทิ ชัี ดเจนในการดําเนินธุรกิจ และพัฒนาสู่องค์กรแห่งความยังยืน

นอกจากนีบริษทั ยังจัดให้มชี ่องทางการแจ้งเบาะแสการกระทําผิดหรือร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน หากผูใ้ ดมีเบาะแสเกียวกับ การทุจริตคอร์รปั ชันการกระทําผิดกฎหมาย จรรยาบรรณธุรกิจหรือพบเห็นระบบ การควบคุมภายในทีบกพร่องของบริษทั ซึงอาจเป็ นเหตุ ให้เกิดความเสียง/ความเสียหายต่อการดําเนินธุรกิจ สามารถแจ้งเบาะแสมายังบริษัทได้โดยตรงถึงประธานกรรมการบริษทั ประธาน กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ/ หรือกรรมการตรวจสอบทางใดทางหนึง ดังนี  ส่งจดหมายทางไปรษณียม์ าตามทีอยู่บริษทั เลขที 807/1 ชันที 6 ถนนพระราม 3 บางโพงพาง ยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

54


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

 ส่งจดหมายอิเล็กโทรนิกส์มาทีประธานกรรมการบริหาร Email : D2B@ubisasia.com  ผ่านทาง Website ของบริษทั www.ubisasia.com/ติดต่อเรา หรือ Contact Us - ในกรณีรอ้ งเรียนพนักงาน ข้อร้องเรียนนันจะส่งไปถึงประธานกรรมการบริหาร - ในกรณีรอ้ งเรียนผูบ้ ริหาร ข้อร้องเรียนนันจะส่งไปถึงประธานกรรมตรวจสอบ ทังนี การแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียนต้องใช้ถ้อยคําสุภาพ และควรมีรายละเอียด ดังนี  ชือ-สกุลของผูถ้ ูกร้องเรียน  ข้อเท็จจริงเกียวกับการกระทําผิดพยานหลักฐานรายละเอียดทีเกียวข้องพร้อมทังแนบหลักฐานต่างๆ (ถ้ามี)  ชือ-สกุลของผูร้ อ้ งเรียน และมีการกําหนดมาตรการคุ้มครองผูแ้ จงเบาะแสหรือร้องเรียนไว้ ดังนี  บริษัทจะเก็บข้อมูลเกียวกับผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนเป็ นความลับและเปิ ดเผยเท่าทีจําเป็ น เพือคํานึงถึงความ ปลอดภัยและป้องกันความเสียหายทีอาจจะเกิดขึนต่อผูแ้ จ้งเบาะแสหรือ ร้องเรียน (กรณีผแู้ จงเบาะแสหรือร้องเรียน ไม่เปิ ดเผยชือ-สกุล จะต้องระบุรายละเอียดข้อเท็จจริงหรือหลักฐานทีปรากฎชัดแจ้งเพียงพอทีแสดงให้เห็นถึงการ กระทําทุจริตคอร์รปั ชัน หรือการกระทําผิดตามทีแจ้ง)  ผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนสามารถร้องขอให้คุม้ ครองได้ตามความจําเป็ นและเหมาะสม  ผูไ้ ด้รบั ความเดือดร้อนเสียหายจะได้รบั การบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการทีเป็ นธรรมและเหมาะสม การดําเนิ นการสอบสวนข้อร้องเรียน มีดงั นี  กรณีผถู้ ูกร้องเรียนเป็ นระดับตังแต่ผจู้ ดั การฝา่ ยลงมา ให้ผบู้ งั คับบัญชาและผูอ้ ํานวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล เป็ นผู้ ร่วมสอบสวนข้อร้องเรียน  กรณีทผูี ถ้ ูกร้องเรียนเป็ นระดับตังแต่ผอู้ ํานวยการฝา่ ยขึนไป ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูส้ อบสวน  กรณีทผลการสอบสวนไม่ ี เป็ นทียอมรับของผู้ถูกร้องเรียนหรือผู้รอ้ งเรียน สามารถนํ าเรืองเข้าสู่การพิจารณาของ คณะกรรมการตรวจสอบได้ อย่างไรก็ตามบริ ษทั จะไม่รบั เรืองร้องเรียน/การกระทํา ดังต่อไปนี  เรืองทีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษั ท รับ ไว้ พ ิ จ ารณาหรือ ได้ ว ินิ จ ฉั ย แล้ ว เสร็ จ เด็ ด ขาดแล้ ว และไม่ ม ี พยานหลักฐานใหม่ทเป็ ี นสาระสําคัญเพิมเติม  เรืองทีผูร้ อ้ งเรียนพ้นสภาพการเป็ นพนักงานของบริษทั นานเกินห้าปี  เรืองทีไม่ระบุพยานหลักฐานหรือระบุพฤติกรรมการกระทําการทุจริตคอร์รปั ชันทีชัดแจ้งเพียงพอทีจะดําเนินการ สืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงได้ การจัดการเรืองที ได้รบั แจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน มีกาํ หนดการปฏิ บตั ิ ดงั นี เลขานุ การบริษทั จะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบรวบรวมเอกสารทีได้รบั จากช่องทางดังกล่าว เพือสรุปข้อเสนอแนะและประเด็นต่างๆทังหมด เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือพิจารณาดําเนินการ และบริษทั มีหลักเกณฑ์ในการตังคณะกรรมการสอบสวน เพือให้เกิดกระบวนการ ยุตธิ รรมในการพิจารณาสอบสวน และการพิจารณาลงโทษผูก้ ระทําความผิด แต่กรณีทมี​ี หลักฐานปรากฏชัดแจ้งเพียงพอว่าผูแ้ จ้งเบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียนแจ้งเรืองโดยเจตนาไม่สุจริต อาจต้องได้รบั โทษตามแต่ละกรณีดงั นี  หากเป็ นพนักงานจะถูกดําเนินการสืบสวนสอบสวนเพือพิจารณาลงโทษ ตามระเบียบข้อบังคับเกียวกับการทํางาน ของบริษทั  หากเป็ นบุคคลภายนอกและส่งผลให้บริษทั ได้รบั ความเสียหาย บริษทั อาจพิจารณาดําเนินคดี ตามกฎหมายกับผู้ แจ้งเบาะแสหรือผูร้ อ้ งเรียนด้วย กรณีการรักษาความลับในข้อมูลซึงได้มาจากผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียน บริษทั จะเก็บรักษาไว้เป็ นความลับและไม่เปิ ดเผยใดๆ ทังสินต่อ ผู้ไม่มสี ่วนเกียวข้อง เว้นแต่กรณีทมี​ี ความจําเป็ นในขันตอนของการสืบสวนหาข้อเท็จจริง สอบสวน ฟ้องร้อง ดําเนินคดีเป็ น พยาน ให้ถอ้ ยคําหรือให้ความร่วมมือใด ๆ ต่อศาลหรือส่วนราชการทีมีอํานาจตามกฎหมาย โดยบริษทั อยู่ระหว่างการจัดทําแก้ไขแบบประเมินตนเองในเรืองมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน เพือยืนแบบประเมินตนเอง ดังกล่าวต่อคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต

55


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสียง สรุปความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั เกียวกับระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ประชุมเกียวกับระบบการควบคุมภายในทุกไตรมาส โดยมีกรรมการทีเป็ นกรรมการตรวจสอบเข้าร่วม ประชุม เพือให้ความเห็นเกียวกับความเพียงพอ และความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน ซึงคณะกรรมการตรวจสอบได้ชแจงและ ี รายงานผลการประเมินระบบการควบคุมภายในในรอบปี 256 ให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รายงานว่า จากการพิจารณาและสอบทานรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมทังข้อเสนอแนะการ ตรวจสอบภายใน ซึงมุ่งเน้นการตรวจสอบเชิงปฏิบตั กิ ารให้มกี ารพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนือง มีประสิทธิผล รวมทังให้มกี าร ติดตามและดําเนิ น การแก้ไ ขผลการตรวจสอบในประเด็น ทีเป็ น สาระสําคัญ โดยเฉพาะประเด็น สําคัญของปจั จัย ความเสียงทีอาจมี ผลกระทบต่อการปฏิบตั งิ าน รายการทีเกียวโยงซึงอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็ นรายการจริงทางการค้าอันเป็ นธุรกิจ ปกติทวไปอย่ ั างสมเหตุสมผล และเป็ นผลประโยชน์สงู สุดตามนโยบายบริษทั การดูแลทรัพย์สนิ มีระบบป้องกันทีดี คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า ในปี 2561 ไม่พบข้อบ่งชีว่า มีรายการทุจริตหรือการนําทรัพย์สนิ ของบริษทั ไปใช้โดยมิ ชอบ และจากผลการสอบทานทีเป็ นไปตามขันตอนทีกําหนดไว้ ได้สอดคล้องกับข้อกําหนดกฎหมายของภาครัฐและนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการ และจากการหารือกับผูส้ อบบัญชีภายนอก ในประเด็นระบบการควบคุมภายในนัน มีความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน ไม่มขี อ้ บกพร่องทีเป็ นสาระสําคัญทีมีผลต่อระบบการควบคุมภายในและต่อรายงานทางการเงิน นอกจากนีบริษทั ยังได้ปรับปรุงระบบงาน บัญชีให้ดขี นตามคํ ึ าแนะนํ าของผู้สอบบัญชี เพือให้ระบบการจัดเก็บข้อมูลและรายงานทางการเงิน มีความสอดคล้องและเป็ นไปตาม มาตรฐานการบัญชี คณะกรรมการบริษทั ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในจากรายงานผลการประเมินของคณะกรรมการตรวจสอบแล้วสรุปได้ว่า จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสียง การควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศและการสือสารข้อมูล และระบบติดตาม คณะกรรมการเห็นว่าบริษัทมีระบบการควบคุม ภายในอย่างเพียงพอ และเหมาะสมกับธุรกรรมของบริษทั สรุปสาระสําคัญดังนี องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษทั กําหนดเป้าหมายการดําเนินธุรกิจทีชัดเจน เพือให้การปฏิบตั งิ านมีความคล่องตัวเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพธุรกิจที เปลียนแปลง รองรับแผนงานระยะยาว และการขยายงานและกําหนดโครงสร้างการบังคับบัญชาแยกตามสายงานทีสอดคล้องกับกลยุทธ์ การดําเนินธุรกิจและการกํากับดูแลกิจการ โดยมีฝา่ ยตรวจสอบภายในเป็ นหน่ วยงานอิสระรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ การบริ หารความเสียง บริษทั กําหนดนโยบายการบริหารความเสียงเป็ นนโยบายสําคัญ โดยคณะกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารระดับสูง ทําหน้าทีในการ ประเมินปจั จัยเสียงทีมีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของบริษทั และกําหนดผูร้ บั ผิดชอบในหน่ วยงานต่างๆ พร้อมทังมอบหมายให้การ บริหารความเสียงเป็ นความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารทุกคน มีการวางแผนและกําหนดมาตรการบริหารความเสียง มีการประเมินปจั จัย ความเสียงซึงอาจส่งผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจและเป้าหมายของบริษทั จัดให้มกี ารติดตามการบริหารความเสียงของหน่ วยงานต่างๆ ภายในองค์กร รวมทังได้จดั ให้มกี ารอบรม เพือสนับสนุ นให้การทํางานขององค์กรสามารถดําเนินไปได้อย่างต่อเนือง การควบคุมการปฏิ บตั ิ งานของฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทําอํานาจดําเนินการโดยกําหนด (1) ตําแหน่ งผูม้ อี ํานาจอนุ มตั ิ วงเงิน การสังการ การก่อหนี และการ ชําระหนี ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร (2) จัดทําระบบการปฏิบตั ิงานและอํานาจหน้ าทีในการอนุ มตั ิตามระบบงาน (3) บริษัทฯ ได้สํารวจ กฎหมาย หรือข้อบังคับทีเกียวข้องกับบริษทั และได้จดั ทําคู่มอื การควบคุมการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย นอกจากนีคณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาทบทวนและอนุ มตั แิ ผนการตรวจสอบประจําปี เพือให้ครอบคลุมทุกกระบวนการ ปฏิบตั งิ านทีมีความเสียงสูง รวมทังครอบคลุมถึงความคาดหวังของผูท้ มี​ี ส่วนเกียวข้องกับบริษทั ทําให้บริษทั มันใจว่าหน่ วยงานต่างๆมี การควบคุมภายในในการปฏิบตั ิงานทีเพียงพอทีจะตอบสนองความเสียงในการดําเนินงานทุกด้าน ทังด้านการเงิน การปฏิบตั งิ าน การ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ กฎเกณฑ์ต่างๆ รวมถึงได้พจิ ารณาประเด็นสําคัญและปญั หาทีตรวจพบจากการตรวจสอบโดยผู้ ตรวจสอบภายใน และผูต้ รวจสอบภายนอก และติดตามอย่างใกล้ชดิ เพือปรับปรุงแก้ไขและป้องกันปญั หา ระบบสารสนเทศและการสือสารข้อมูล บริษัท ได้จดั ให้มขี ้อ มูล ทีสําคัญเพือใช้ประกอบการตัดสิน ใจของคณะกรรมการบริษัท โดยการจัดทํารายงานเชิงวิเคราะห์ เปรียบเทียบ หลักการและเหตุผล พร้อมเอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมูล เพือศึกษาประกอบการตัดสินใจเป็ นการล่วงหน้า 7 วัน และกําหนดให้มเี ลขานุ การบริษทั เพือให้คําแนะนํ าด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ทีคณะกรรมการบริษทั จะต้องทราบ ดูแลกิจกรรม

56


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ของคณะกรรมการบริษทั ประสานงานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติคณะกรรมการบริษทั เป็ นศูนย์กลางในการจัดทําและจัดเก็บเอกสาร ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษัท รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และ รายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ จัดเก็บรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั รายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ และจัดให้มรี ะบบการจัดเก็บ เอกสารสําคัญทางบัญชีไว้เป็ นหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้ตามระยะเวลาทีกฎหมายกําหนด คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาร่วมกับผูส้ อบบัญชี ฝ่ายตรวจสอบภายใน และผูเ้ กียวข้องเกียวกับการจัดทํางบการเงินของ บริษัท เพือให้มคี วามมันใจว่าบริษัทมีการใช้นโยบายบัญชีตามหลักการบัญชีทรัี บรองทัวไป และเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจของบริษทั รวมทังการเปิดเผยข้อมูลอย่างเหมาะสม ระบบการติ ดตาม บริษทั มีระบบการติดตามการปฏิบตั งิ านเป็ นลําดับชัน ตังแต่คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหาร เพือติดตาม ้ เปาหมาย และกํากับการดําเนินการตามแผนกลยุทธ์ และแผนงาน ทีได้รบั อนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั อย่างสมําเสมอ ตลอดจนการ ติดตามการดําเนินธุรกิจของบริษทั ย่อยด้วย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบที มีความเห็นแตกต่างไปจากความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั -ไม่ม-ี หัวหน้ างานตรวจสอบภายในและหัวหน้ างานกํากับดูแลการปฏิ บตั ิ งานของบริ ษทั บริษทั ได้แต่งตัง บริษทั ตรวจสอบภายในธรรมนิติ จํากัด ทําหน้าทีเป็ นผูต้ รวจสอบภายใน เพือดําเนินการตรวจสอบระบบงาน ของบริษทั ตามแผนงานทีได้นําเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาและอนุ มตั ิ โดยมอบหมายให้ นางสาวโสภา นาจันหอม เป็ นผู้ ประสานงานของคณะกรรมการตรวจสอบ จึงไม่มหี วั หน้ าหน่ วยงานตรวจสอบภายในทังนีการพิจารณาและอนุ มตั ิ แต่งตัง ถอดถอน โยกย้าย บุค คลมาดํารงตํ าแหน่ งหัว หน้ าหน่ ว ยงานตรวจสอบภายในของบริษัท หรือ การแต่ งตังหน่ ว ยงานภายนอกเป็ น หน่ ว ยงาน ตรวจสอบภายใน จะต้องได้รบั ความเห็นชอบและอนุ มตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบทีมีความเห็น แตกต่างไปจากความเห็นของคณะกรรมการบริษทั

57


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

รายการระหว่างกัน นโยบายการทํารายการระหว่างกันกับบริ ษทั ที เกียวข้อง บุคคลที อาจมีความขัดแย้งหรือบุคคลที กรรมการ/ผู้ถือหุ้น ของบริ ษทั มีอาํ นาจควบคุม บริษทั จัดทํานโยบายการทํารายการระหว่างกันฯ เพือการกําหนดมาตรการทีจะคุม้ ครองผูถ้ อื หุน้ โดยกําหนดมาตรการควบคุม การทํารายการระหว่างกันของบริษทั หรือบริษทั ย่อย กับบริษัททีเกียวข้อง บุคคลทีกรรมการ/ผู้ถอื หุน้ ของบริษทั มีอํานาจควบคุม หรือ บุค คลทีอาจมีค วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่ ว นได้ส่ ว นเสีย หรือ อาจมีค วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในอนาคต ให้เป็ น ไปตาม พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึง ประกาศของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยบริษทั จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกียวกับความจําเป็ น ความสมเหตุสมผล และความเหมาะสมด้านราคาของรายการนัน โดยพิจารณาจากเงือนไขต่างๆ ให้เป็ นไปตามลักษณะการดําเนินการค้าปกติในตลาด และมี การเปรียบเทียบราคาทีเกิดขึนกับบุคคลภายนอก ในกรณีทคณะกรรมการตรวจสอบไม่ ี มคี วามชํานาญในการพิจารณารายการระหว่างกัน ทีอาจเกิดขึน บริษทั จะได้ให้บุคคลทีมีความรูค้ วามชํานาญพิเศษ เช่น ผูส้ อบบัญชี ผูป้ ระเมินราคาทรัพย์สนิ เป็ นต้น ทีเป็ นอิสระจากบริษทั และบุ ค คลทีอาจมีค วามขัด แย้ ง เป็ น ผู้ใ ห้ค วามเห็น เกียวกับ รายการระหว่ า งกัน ดัง กล่ า ว เพือนํ า ไปใช้ป ระกอบการตัด สิน ใจของ คณะกรรมการตรวจสอบเพือให้คณะกรรมการตรวจสอบนําเสนอต่อทีประชุมคณะกรรมการหรือผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี นอกจากนี บริษทั มีการกําหนดมาตรการไม่ให้ผบู้ ริหาร หรือผูม้ สี ่วนได้เสียสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุ มตั ริ ายการทีตนเอง มีส่วนได้เสียทังทางตรงหรือทางอ้อม และคณะกรรมการบริษทั จะดูแลให้บริษทั ปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คําสัง หรือข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบตั ติ ามข้อกําหนด เกียวกับการเปิ ดเผยข้อมูลการทํารายการเกียวโยงและการได้มาหรือจําหน่ ายทรัพย์สนิ ทีสําคัญของบริษทั หรือบริษทั ย่อย รวมทังปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานบัญชีทกํี าหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีอย่างเคร่งครัด และจะทําการเปิ ดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินทีได้รบั การตรวจสอบหรือสอบทานโดยผูส้ อบบัญชีของบริษทั และเปิ ดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และ รายงานประจําปี

58


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ส่วนที 3 ฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงาน

59


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

ข้อมูลทางการเงินทีสําคัญ งบการเงิ นเฉพาะบริษทั

งบการเงิ นรวม สําหรับปีสนสุ ิ ด ณ วันที 31 ธันวาคม 2561 ข้อมูลเกียวกับหุ้นสามัญ ราคาพาร์ต่อหุน้ (บาท) มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้ (บาท) กําไรต่อหุน้ (บาท)

2561

2560

2559

2561

2560

2559

1.00 1.72 0.56

1.00 1.15 (1.04)

1.00 2.16 0.50

1.00 1.64 0.50

1.00 1.14 (1.06)

1.00 2.19 0.82

ผลการดําเนิ นงาน (พันบาท) รายได้จากการขาย รายได้รวม กําไรสุทธิ

929,354 937,173 128,745

837,308 845,753 (236,013)

848,820 853,970 113,408

785,686 851,431 114,510

733,856 803,760 (242,232)

743,289 899,808 186,890

ข้อมูลเกียวกับงบดุล (พันบาท) สินทรัพย์รวม หนีสินรวม ทุนทีออกและเรียกชําระแล้ว ส่วนของผูถ้ อื หุน้

702,664 311,376 228,000 391,288

704,211 442,079 228,000 262,132

1,035,482 543,124 228,000 492,358

764,211 389,378 228,000 374,832

840,391 580,068 228,000 260,323

1,118,731 620,007 228,000 498,724

39.41 22.04 84.54 35.03 13.85

(90.04) (23.73) (110.73) 35.02 (28.19)

23.03 16.05 81.42 40.33 13.36

36.06 17.05 87.35 26.62 14.57

(93.05) (22.01) (134.94) 24.95 (33.01)

37.46 21.36 137.08 28.37 25.14

อัตราส่วนทางการเงิ น ผลตอบแทนต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ (%) ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ถาวร (%) กําไรขันต้น (%) กําไรสุทธิ (%)

60


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ การวิ เคราะห์ผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน สําหรับปี ดังนี (หน่ วย : ล้านบาท)

รายได้ขาย กําไรขันต้น ค่าใช้จ่ายขาย ค่าใช้จ่ายบริหาร ต้นทุนการเงิน กําไรสุทธิ

สินสุด ณ วันที

ธันวาคม

ของบริษทั และบริษทั ย่อย โดยมีสาระสําคัญ

ปี 2561

ปี 2560

% ผลต่าง

929 326

837 293 80 93 21 (263)

11.0% 11.0% 9.8% (14.4%) (60.1%) (154.5%)

88

80 8 129

บริษทั มีผลกําไรสุทธิสาํ หรับปี 2561 จํานวน 129 ล้านบาท เพิมขึนจากปี 2560 เป็ นจํานวนเงิน 365 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราร้อยละ 154.5 ( ขาดทุนสุทธิปี 2560 จํานวน 236.0 ล้านบาท) ทังนีบริษทั ขอชีแจงผลการดําเนินงานของบริษทั และบริษทั ย่อยทีเปลียนแปลงอย่างมี สาระสําคัญ ดังนี  รายได้ ในปี บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้เท่ากับ 929 ล้านบาท เพิมขึนจากปี 2560 เป็ นจํานวนเงิน ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 11.0 (โดยแบ่งเป็ นขายในประเทศเพิมขึนร้อยละ 15.2 และขายต่างประเทศเพิมขึนร้อยละ 8.2)  กําไรขันต้น ในปี 2561 บริษทั และบริษทั ย่อยมีกาํ ไรขันต้น 326 ล้านบาท เพิมขึนจากปี เป็ นจํานวน 33 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ . โดยมีอตั รากําไรขันต้นร้อยละ 35.0 (ปี อัตรากําไรขันต้นร้อยละ . ) กําไรขันต้นเพิมขึนเนืองจากบริษทั ผลิตและขายมากขึนทําให้ ต้นทุนต่อหน่ วยลดลง  ค่าใช้จ่ายในการขาย ในปี บริษทั และบริษทั ย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขาย ล้านบาท เพิมขึนจากปี เป็ นจํานวน ล้านบาท คิดเป็ นร้อย ละ . (ปี มีค่าใช้จ่ายในการขาย ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายในการขายทีเพิมขึน เกิดจากค่าขนส่งสินค้าในทังในประเทศและต่างประเทศ เนืองจากมีการขายสินค้ามากขึน  ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ในปี 2561 บริษทั และบริษทั ย่อยมีค่าใช้จ่ายในการบริหาร 80 ล้านบาท ลดลงจากปี 2560 เป็ นจํานวน 13 ล้านบาท คิดเป็ นร้อย ละ 14.4 (ปี 2560 มีค่าใช้จ่ายในการขาย 93 ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายในการบริหารทีลดลง เช่น ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และค่าทีปรึกษา เป็ น ต้น  ต้นทุนทางการเงิ น ในปี 2561 บริษทั และบริษทั ย่อยมีตน้ ทุนทางการเงิน ล้านบาท ลดลงจากปี 2560 เป็ นจํานวน 13 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 60.1 (ปี 2560 มีตน้ ทุนทางการเงิน 21 ล้านบาท) ภาพรวมฐานะทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย ณ วันที 31 ธันวาคม 2561 เปรียบเทียบกับฐานะการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี  สิ นทรัพย์ ณ วันที ธันวาคม บริษัทและบริษทั ย่อยมีสนิ ทรัพย์รวมเท่ากับ . ล้านบาท ลดลงจากวันที ธันวาคม เป็ นเงิน . ล้านบาท โดยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลดลง . ล้านบาท ลูกหนีการค้าเพิมขึน . ล้านบาท สินค้า คงเหลือลดลง . ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนอืนลดลง . ล้านบาท ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทีดิน อาคาร และอุปกรณ์ สุทธิ ลดลง . ล้าน และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืนลดลง . ล้านบาท

61


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําปี 256

 หนี สิ น ณ วันที ธันวาคม บริษทั และบริษทั ย่อยมีหนีสินรวม . ล้านบาท ลดลงจาก ธันวาคม เป็ นจํานวน เงิน . ล้านบาท โดยมีการเบิกเกินบัญชีและเงินกูร้ ะยะสันลดลง . ล้านบาท เจ้าหนีการค้าเพิมขึน . ล้านบาท ส่วนของเงิน กูย้ มื ระยะยาวสถาบันการเงินครบใน ปี ลดลง . ล้านบาท ภาษีเงินได้คา้ งจ่ายเพิมขึน . ล้านบาท หนีสินหมุนเวียนอืนเพิมขึน . ล้านบาท และภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานเพิมขึน . ล้านบาท  ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ณ วันที ธันวาคม บริษทั และบริษทั ย่อยมีส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมเท่ากับ . ล้านบาท เพิมขึนจาก ณ วันที ธันวาคม เป็ นจํานวนเงิน . ล้านบาท สืบเนืองจากบริษทั และบริษทั ย่อยมีกําไรสุทธิจากผลการดําเนินงานรวม ไตรมาส จํานวน . ล้านบาท และอืนๆเพิมขึน . ล้านบาท จากผลประกอบการในปี 2561 บริษทั มีกระแสเงินสด รายละเอียดดังนี  กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงานในปี จํานวน . ล้านบาท เทียบกับปี เพิมขึน . ล้านบาท ผลจากการับชําระหนีเพิมขึน และสินค้าคงเหลือทีลดลงทําให้ในปี มีอตั ราเงินสดเพิมขึน  กระแสเงินสดจากการลงทุนในปี จํานวน . ล้านบาท เมือเทียบกับปี ลดลงจํานวน . ล้านบาท เกิด จากมีการลงทุนในทรัพย์สนิ ถาวรลดลง  กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินในปี จํานวน . ล้านบาท เมือเทียบกับปี ลดลง จํานวน . ล้านบาท เกิดจากการจ่ายชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะสันให้กบั สถาบันการเงิน ปัจจัยหรือเหตุการณ์ ทีอาจส่งผลต่อฐานะการเงิ นหรือการดําเนิ นงานอย่างมีนัยสําคัญในอนาคต บริษทั ฯ ได้กําหนดเป้าการขาย ประมาณร้อยละ จากยอดขายปี ทแล้ ี วซึงอยู่ท ี ล้านบาท โดยให้ความสําคัญทัง ตลาดในประเทศ และต่างประเทศ สําหรับตลาดในประเทศ หลังจากทีกรรมาธิการสหภาพยุโรปได้พจิ ารณาปลดใบเหลืองประมงไอยูยู ของประเทศไทยเมือเดือน มกราคม ทีผ่านมาน่ าจะทําให้การส่งออกสินค้าอาหารทะเลจากไทยกลับมาขยายตัวได้อกี ครัง ั บนั เทียบเป็ นสัดส่วนร้อยละ ของยอดขายทังหมดของบริษทั ฯ ส่วนใหญ่เป็ นกลุ่มลูกค้า สําหรับตลาดส่งออกต่างประเทศ ทีปจจุ เอเชีย แต่กม็ เี พิมกลุ่มตลาดตะวันออกกลาง ตลาดอเมริกาใต้ ตลาดยุโรป และตลาดแอฟริกาเพิมเข้ามา กอปรกับมีการแต่งตังตัวแทน จําหน่ ายต่างประเทศเพิมมากขึน เช่น ประเทศเม็กซิโก ชิล ี บราซิล เปรู อิยปิ ต์ และอีกหลายประเทศทียังอยู่ในระหว่างการเจรจา จึงมอง ว่าบริษทั ฯยังมีศกั ยภาพในการเติบโตในตลาดต่างประเทศได้อกี นโยบายของบริษทั ฯในปี ต้องการรักษาฐานลูกค้าและยอดขายในประเทศไทย ทังปรับกลยุทธ์การขายต่างๆ และพัฒนา สินค้าให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า และขยายฐานลูกค้าในตลาดต่างประเทศให้มากยิงขึน พร้อมทังสร้างการยอมรับต่อสินค้าของ บริษทั ฯจากลูกค้ารายใหญ่ พร้อมกับการควบคุมต้นทุนการผลิต และบริหารอัตราแลกเปลียนให้มปี ระสิทธิภาพ

62


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) เอกสารแนบ 1 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วยคณะกรรมการทีเป็ นอิสระจากการ บริหารงานของบริษัทจํานวน ท่าน โดยมี นายภักดี กาญจนาวลัย เป็ นประธานกรรมการตรวจสอบ นายอนันต์ สิรแิ สง ทักษิณ และนายกวิน เฉลิมโรจน์ เป็ นกรรมการตรวจสอบ โดยกรรมการทุกท่านในคณะกรรมการตรวจสอบมีคุณสมบัติ ตามทีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้ป ฎิบ ัติง านภายใต้ข อบเขตหน้ า ทีและความรับ ผิด ชอบ ตามกฎบัต ร คณะกรรมการตรวจสอบทีได้รบั การอนุ มตั ิจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานทาง การเงิน รายไตรมาสและงบประจําปี โดยได้ร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี หน่ วยงานตรวจสอบภายใน ฝ่ายบัญชี และฝ่าย บริหาร ก่อนนําเสนอคณะกรรมการบริษทั สอบทานรายงานการตรวจสอบภายในและการควบคุมภายในทีมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ตรวจทานรายการเกียวโยงทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามข้อกําหนดของตลาด หลักทรัพย์ ตรวจทานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ฯ และกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจบริษทั รวมทังการพิจารณาและนําเสนอการแต่งตังผูส้ อบบัญชีอสิ ระและค่าตอบแทนการ สอบบัญชี ต่อคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษทั ประจําปี 2561 มีความถูกต้อง ครบถ้วนและ เป็ นทีเชือถือได้ ระบบการควบคุมภายใน และการจัดการในการบริหารความเสียง มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับธุรกรรม ของบริษทั นอกจากนียังได้พจิ ารณาทบทวนการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจบริษทั รวมถึงรายการเกียวโยงและรายการขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึงได้มกี ารปฏิบตั ติ ามครบถ้วนและได้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลครบถ้วน คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือเสนอต่อทีประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้แต่งตังบริษทั ไพร้ซว์ อ เตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด เป็ นผู้สอบบัญชีประจําปี ของบริษัท และให้แต่งตังนายไพบูล ตันกูล ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตเลขที 4298 และ นายพิสฐิ ทางธนกุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที 4095 และ นายชาญชัย ชัยประสิทธิ ผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตเลขที 3760 แห่งบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด เป็ นผู้สอบบัญชีบริษัทฯ ซึงได้รบั ความ เห็นชอบตามประกาศว่าด้วยการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี เป็ นผูล้ งลายชือในรายงานการตรวจสอบและสอบทานของ บริษัทประจําปี 6 โดยมีค่าสอบบัญชีรวมของกลุ่มบริษัทเป็ นจํานวนเงิน 3,825,000 บาทต่อปี และได้แต่งตัง บริษัท ตรวจสอบภายในธรรมนิติ จํากัด เป็ นผูต้ รวจสอบภายในประจําปี ของบริษทั โดยมีค่าตรวจสอบภายในรวมของกลุ่มบริษทั เป็ นจํานวนเงิน , บาทต่อปี

นายภักดี กาญจนาวลัย ประธานกรรมการตรวจสอบ


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) เอกสารแนบ 2 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ต่อรายงานทางการเงิ น


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็ นผู้รบั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินทีปรากฎใน รายงานประจําปี งบการเงินดังกล่าวจัดทําขึนตามมาตรฐานการบัญชีทรัี บรองทัวไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายทีเหมาะสมและถือ ปฏิบตั อิ ย่างสมําเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการทีดีทสุี ดในการจัดทํา รวมทังมีการเปิดเผยข้อมูลสําคัญอย่างเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน นอกจากนี คณะกรรมการได้จดั ให้มแี ละดํารงรักษาไว้ซงระบบควบคุ ึ มภายในทีมีประสิทธิผล เพือให้มนใจได้ ั อย่างมีเหตุผลว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจะดํารงไว้ซึงทรัพย์สนิ และเพือให้ทราบจุดอ่อน เพือ ป้องกันไม่ให้เกิดทุจริตหรือการดําเนินการทีผิดปกติอย่างมีสาระสําคัญ ในการนีคณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตังคณะกรรมการบริหาร ซึงประกอบด้วยกรรมการอิสระทีไม่เป็ นผู้บริหาร เป็ นผู้ดูแ ล รับผิดชอบเกียวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน รวมทังให้ความเห็นถึงรายงานทีเกียวโยง หรือมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ กนั ให้มคี วามถูกต้องและครบถ้วน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกียวกับเรืองนีปรากฎในรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึงแสดงไว้ในรายงานประจําปีนีแล้ว คณะกรรมการบริษัท ฯ มีค วามเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัท และบริษัท ย่อยโดยรวมอยู่ในระดับทีน่ าพอใจและ สามารถสร้างความเชือมันอย่างมีเหตุผลต่อความเชือถือได้ของงบการเงินของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ วันที ธันวาคม

(นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา) กรรมการผูจ้ ดั การ

(นางสาวโสภา นาจันหอม) กรรมการ


บริษทั ยูบสิ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) เอกสารแนบ 3 งบการเงิ นประจําปี 256





































































Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.