UBIS : Annual Report 2016 TH

Page 1


สารบัญ ข้อมูลทางเงินทีสําคัญ

หน้า 2

สาส์นจากประธานกรรมการ

หน้า 3

สาส์นจากกรรมการผูจ้ ัดการ

หน้า 4

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

หน้า 5

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

หน้า 6

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หน้า 7-8

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หน้า 9-13

ปั จจัยความเสียง

หน้า 14-16

ข้อมูลทัวไปและข้อมูลสําคัญอืน

หน้า 17-18

ผูถ้ อื หุน้

หน้า 19

นโยบายการจ่ายเงินปั นผล

หน้า 20

โครงสร้างการจัดการ

หน้า 21

คณะกรรมการบริษทั

หน้า 22-32

ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร

หน้า 33-34

เหตุการณ์สาํ คัญในรอบปี 2559

หน้า 35

การกํากับดูแลกิจการ

หน้า 36-54

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หน้า 55-60

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสียง

หน้า 61-63

รายการระหว่างกัน

หน้า 64

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หน้า 65-67

รายงานผูส้ อบบัญชีและงบการเงิน

หน้า 68-123

ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษทั ทีออกหลักทรัพย์เพิมเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) ของบริษทั ทีแสดงไว้ใน www.sec.or.th และ www.ubisasia.com

1 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


o°¤¼¨ µ µ¦Á · ¸É­Îµ ´ µ¦Á · Á ¡µ³ ¦·¬´

µ¦Á · ¦ª¤ ­Îµ®¦´ e­·Ê ­» ª´ ¸É 31 ´ ªµ ¤ 2559 o°¤¼¨Á ¸É¥ª ´ ®» o ­µ¤´ ¦µ µ¡µ¦r n°®»o ( µ ) ¤¼¨ nµ µ¤ ´ ¸ n°®»o ( µ ) εŦ n°®»o ( µ )

2559

2558

2557

2559

2558

2557

1.00 2.16 0.50

1.00 1.71 0.48

1.00 1.60 0.36

1.00 2.19 0.82

1.00 1.42 0.28

1.00 1.50 0.22

848,820 853,970 113,408

827,329 840,155 109,937

848,401 856,106 86,725

743,289 899,808 186,890

677,388 733,440 64,440

758,163 770,900 52,790

o°¤¼¨Á ¸É¥ª ´ »¨ (¡´ µ ) ­· ¦´¡¥r¦ª¤ ® ¸Ê­· ¦ª¤ » ¸É°° ¨³Á¦¸¥ ε¦³Â¨oª ­nª ° ¼o º°®»o

1,035,482 543,124 228,000 492,358

864,176 474,016 228,000 390,160

662,210 1,118,731 297,417 119,805 228,000 228,000 362,867 498,925

937,263 614,275 228,000 322,989

705,782 364,276 228,000 341,506

°´ ¦µ­nª µ µ¦Á · ¨ °  n°­nª ¼o º°®»o (%) ผลตอบแทนต่อ°สิ­nนªทรั ¨ °  n ¼พo ย์º°ร®»วมo (%) ¨ °  nอ°สิ­nนªทรั ¼พo ย์º°ถ®»าวร o (%) ผลตอบแทนต่ (%) εŦ ´Ê o (%) εŦ­» · (%)

23.03 16.05 77.01 40.33 13.36

28.18 19.12 62,13 39.21 13.29

19.95 12.02 88.29 26.60 9.51

15.46 10.21 18.02 28.34 6.98

¨ µ¦ εÁ · µ (¡´ µ ) ¦µ¥Å o µ µ¦ µ¥ ¦µ¥Å o¦ª¤ εŦ­» ·

23.90 16.51 47.31 35.47 10.22

2 ¦µ¥ µ ¦³ ε e 2559 [ ¦·¬´ ¥¼ ·­ (Á°Á ¸¥) ε ´ (¤®µ ) ]

37.46 21.36 61.04 28.37 25.14


สาส์นจากประธานกรรมการ ในปี 2559 ภาพรวมของสถานการณ์เศรษฐกิจของโลกและประเทศไทย มีแนวโน้มทีน่าจะปรับตัวขึนP จากปี ทีผ่านมาเพียงเล็ กน้อย โดยพิจารณาได้จากข้อมูลของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารโดยความ ร่วมมือของกรมศุลกากรในธุรกิจกลุ่มส่งออกอาหารทะเลกระป๋ องและอาหารผลไม้กระป๋ องส่งออกของประเทศ ออกของประเ ไทยทีมีการเติบโตจากปี ทีผ่านมาร้อยละ 3.83 สําหรับปี ทีผ่านมา แม้สถานการณ์ต่างๆโดยรวมยังไม่พัฒนาในทางทีดีมากนัก แต่ผลการดําเนินงาน ของบริษทั ก็ยงั คงมีการเติบโตขึนP ทัPงจากการขายภายในประเทศ และการขายต่างประเทศ โดยมาจากความมุ่งมัน ทุ่มเทในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทงในกลุ งัP ในกลุ่มทีเป็ นสินค้าใหม่ และสินค้าเดิมทีมีอยู่เพือเพิมศักยภาพในสินค้าให้รองรับ การแข่งขันของธุรกิจในปั จจุบัน และเพิมโอกาสทางธุรกิจของบริษัทให้มีมากขึนP อีกด้วย รวมถึงการมุ่งเน้นทํา การตลาดในต่างประเทศด้วยการขยายฐานลูกค้าทังP ใหม่และเก่าเพือการเติบโตของธุรกิ รกิจอย่างต่อเนือง ตลอดจน การเร่งเพิมประสิทธิภาพภายในองค์กรทุกด้านเพือสร้างความแข็งแกร่ง ซึงนับเป็ นการเตรียมความพร้อมในทุก มิตขิ องบริษทั ด้วยความมุ่งมันและเจตนารมณ์ในการดําเนินธุรกิจเพือให้เกิดความยังยืนทีจะเติบโตอย่างมันคง ในระยะยาว บริษทั มีอดุ มการณ์ในการดํ ในการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และมีคณ ุ ธรรม โดยยึดมันในความรับผิดชอบต่อ สังคมและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลทีดี และจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายและแนว ปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุ่ม โดยได้เข้าร่วมโครงการ “แนวร่ แนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในก องภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชัน” เพือแสดงเจตนารมณ์และความมุ่งมันในการต่อต้านการคอร์รปั ชันในทุกรูปแบบ ดังนันP บริษัทจึงมีนโยบายให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษัท ดําเนินการปฏิบัติตามกฏหมายอย่าง เคร่งครัด และมีความมุ่งมันในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยตระหนักดีว่าการทุจริตและการคอร์รัปชัน นันP เป็ นภัยร้ายแรงทีทําลายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็ นธรรม รวมทัPงก่อให้เกิดความเสียหายต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในโอกาสนีP ผมในนามของคณะกรรมการ ขอขอบคุณท่านผูถ้ ือหุน้ และนักลงทุนทุกท่านเป็ นอย่างยิงที ได้ให้ความไว้วางใจในการดําเนินงานของบริษัท และขอบคุณผูม้ ีอปุ การะคุณทุกท่าน ทีให้การสนับสนุนบริษทั ด้วยดีตลอดมา และผมเชือมันว่า ธุรกิจของบริษทั จะสามารถสร้างคุณค่าให้แก่ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียในทุกภาคส่วน และสร้างความสําเร็จอย่างต่อเนืองและเติบโตอย่างยังยืนต่อไป

นายฉัฐภูมิ ขันติวิริยะ ประธานกรรมการ

3 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


สาส์นจากกรรมการผู กรรมการผูจ้ ดั การ จากภาพรวมของธุ ภาพรวมของธุรกิจอาหารกระป๋ องส่งออกของประเทศไทยในปี 2559 มีปริมาณลดลงเล็กน้อยเมือ เทียบกับปี 2558 แต่เป็ นการลดลงต่อเนืองนับตังP แต่ปี 2556 โดยในปี 2559 มีปริมาณอาหารกระป๋ องส่งออก อยู่ที 1.26 ล้านตัน เมือเทียบกับ 1.41 ล้านตันในปี 2555 (หรือลดลงกว่าร้อยละ 11) โดยสร้างรายได้ให้กบั ประเทศไทย เป็ นเงินกว่า 1.09 แสนล้านบาท โดยสาเหตุหลักของการส่งออกทีลดลงมาจากภาวะเศรษฐกิจของโลกทียังไม่เ ข้มแข็งจึงทําให้มีการ นําเข้าสิ าสินค้าหลายประเภทลดลงรวมถึงผลิตภัณฑ์กลุ่มอาหารทะเลกระป๋ อาหารทะเล อง ราคาวัตถุดิบ เช่น ปลาทูน่า ทีมี ราคาปรับสูงขึนP กว่า 15% ส่งผลต่อราคาขาย และการบริโภค ในขณะทีกลุ่มผักผลไม้กระป๋ องมีการส่งออกทีดี ในช่วงครึงปี แรก แต่กลับชลอตัวลงอย่างมากในช่วงครึงปี หลัง สําหรับยอดขายบริษทั ในปี 2559 อยูท่ ี 849 ล้านบาท เติบโตขึนP ร้อยละ 3 เมือเทียบกับปี 2558 โดยมี อัตราการเติบโตของตลาดต่างประเทศเพิมขึนP ร้อยละ 5.77 ส่งผลให้ปี นีบP ริษทั มีสัดส่วนการขายต่างประเทศต่อ การขายในประเทศ ในสัดส่วน 62:38 ซึงเป็ นผลลัพธ์จากความพยายามในการผลักดันสินค้าใหม่ และการเปิ ด ตลาดในต่างประเทศเพิมเติม โดยในปี 2559 บริษทั สามารถสร้างกําไรสุทธิ อยู่ที 113 ล้านบาท ซึงเติบโตขึนP จากปี 2558 ร้อยละ 4 โรงงานทีสมุทรสาครได้ดาํ เนินการมาเป็ นระยะเวลา 2 ปี แล้ว พบว่าสามารถเพิมประสิทธิภาพการผลิต ได้ตามความคาดหวัง และทีผ่านมายั านมายังไม่พบปั ญหาจากการผลิตใดๆ ในการส่งมอบสินค้าให้กบั ลูกค้า ในปี 2560 นีPบริษทั ได้ตัPงเป้าหมายการเติบโตเพิมมากขึนP จากทัPงตลาดในประเทศ ผ่านสินค้าใหม่ และ การเพิมสัดส่วนการขายในตลาดต่างประเทศทัPงลูกค้าตรง และ ตัวแทนจําหน่ายรายใหม่ทีได้แต่งตัPงไว้ในปี 2559 และทีจะตังP เพิมเติมในปี 2560

นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา กรรมการผูจ้ ดั การ

4 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


รายงานความรั ายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็ นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และสารสนเทศ ทางการเงินทีปรากฎในรายงานประจําปี งบการเงินดังกล่าวจัดทําขึนP ตามมาตรฐานการบัญชีทีรับรองทัวไปใน ประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายทีเหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่างสมําเสมอ และใช้ดลุ ยพินิจอย่างระมัดระวัง และ ประมาณการทีดีทีสุดในการจัดทํา รวมทัPงมีการเปิ ดเผยข้อมู อมูล สําคัญ อย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน นอกจากนีP คณะกรรมการได้จัดให้มีและดํารงรัก ษาไว้ซึงระบบควบคุมภายในทีมีประสิทธิผล เพือให้ มันใจได้อ ย่างมีเ หตุผลว่า การบันทึ กข้อ มูล ทางบัญ ชีมีค วามถูก ต้อ ง ครบถ้วน และเพี ยงพอที จะดํา รงไว้ซึง ทรัพย์สิน และเพือให้ทราบจุ บจุดอ่อน เพือป้องกันไม่ให้เกิดทุจริตหรือการดําเนินการทีผิดปกติอย่างมีสาระสําคัญ ในการนีคP ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตังP คณะกรรมการบริหาร ซึงประกอบด้วยกรรมการอิสระทีไม่ เป็ นผูบ้ ริหาร เป็ นผูด้ แู ลรับผิด ชอบเกียวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุม ภายใน รวมทัPง ให้ค วามเห็ นถึ งรายงานที เกี ยวโยง หรื อมี ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กัน ให้มีความถูกต้องและ ครบถ้ว น ความเห็ น ของคณะกรรมการตรวจสอบ เกียวกับเรื องนีPป รากฎในรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึงแสดงไว้ในรายงานประจําปี นีแP ล้ว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่าระบบการควบคุ ระบบการควบคุมภายในของบริษทั และบริษทั ย่อยโดยรวมอยู่ใน ระดับทีน่าพอใจและสามารถสร้างความเชือมันอย่างมีเหตุผลต่อความเชือถือได้ของงบการเงินของบริษทั ฯและ บริษทั ย่อย ณ วันที 31 ธันวาคม 2559

(นายฉั นายฉัฐภูมิ ขันติวิริยะะ) ประธานกรรมการ

5 รายงานประจําปี

(นายณวรรธน์ นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา นา) กรรมการผูจ้ ดั การ

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วยคณะกรรมการทีเป็ น อิสระจากการบริห ารงานของบริษัทจํา นวน 3 ท่า น โดยมี นายภักดี กาญจนาวลัย เป็ นประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายพงษ์ศกั ดิa เลียP งศิริ และนายสุ และนาย ธีร์ เพชรโลหะกุล เป็ นกรรมการตรวจสอบ โดยกรรมการทุกท่านใน คณะกรรมการตรวจสอบมีคณ ุ สมบัตติ ามทีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฎิบตั ิงานภายใ านภายใต้ ต้ขอบเขตหน้าทีและความรับผิดชอบ ตามกฎ บัตรคณะกรรมการตรวจสอบทีได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน รายงานทางการเงิน รายไตรมาสและงบประจําปี โดยได้ร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี หน่วยงานตรวจสอบภายใน ฝ่ ายบัญชี และฝ่ ายบริหาร ก่อนนําเสนอคณะกรรมการบริ เสนอคณะกรรมการบริษทั สอบทานรายงานการตรวจสอบภายในและการ ควบคุม ภายในที มีป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ตรวจทานรายการเกี ยวโยงที อาจมี ค วามขัด แย้ง ทาง ผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามข้อกํา หนดของตลาดหลักทรัพ ย์ ตรวจทานให้มีการปฏิบัติต ามกฎหมายว่ า ด้ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนดของตลาดหลั หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจบริษทั รวมทังP การพิจารณาและนําเสนอการแต่งตังP ผูส้ อบบัญชีอิสระและค่าตอบแทนการสอบบัญชี ต่อคณะกรรมการ บริษทั คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษทั ประจําปี 2559 มีความถูกต้อง ครบถ้วนและเป็ นทีเชือถือได้ อได้ ระบบการควบคุมภายใน และการจัดการในการบริหารความเสียง มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับ ธุร กรรมของบริ ษัท นอกจากนีPยั ง ได้พิ จ ารณาทบทวนการปฏิ บัติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจบริษทั รวมถึ งรายการเกี ายการเกียวโยงและรายการขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึงได้มีการปฏิบัติต ามครบถ้ว นและได้มีก าร เปิ ดเผยข้อมูลครบถ้วน คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ให้เสนอต่อทีประชุมผูถ้ ือหุน้ ให้แต่งตังP นาย ไพบูล ตันกูล ผูส้ อบบัญชีทะเบียนเลขที 4298 หรือ นายพิสิฐ ทางธนกุล ผูส้ อบบัญชีทะเบียนเลขที 4095 หรือ นายชาญชัย ชัยประสิทธิa ผูส้ อบบัญชีทะเบียนเลขที 3760 หรือผูส้ อบบัญชีท่านอืนภายในบริษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด ซึงได้รบั ความเห็ นชอบตามประกาศว่าด้วยการให้ความเห็นชอบผูส้ อบบัญชี เป็ น ผูลงลายชื ล้ งลายชือในรายงานการตรวจสอบและสอบทานของบริษัทประจําปี 2560 โดยมีค่าสอบบัญชีรวมของกลุ่ม บริษทั เป็ นจํานวนเงิน 3,625,000 บาท

นายภักดี กาญจนาวลัย ประธานกรรมการตรวจสอบ

6 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


Ã¥ µ¥Â¨³£µ¡¦ª¤ µ¦ ¦³ ° »¦ · ¦·¬´ ¥¼ ·­ (Á°Á ¸¥) ε ´ (¤®µ ) ¤¸ » ³Á ¸¥ 228,000,000 µ ¨³ » ¸É°° ¨³Á¦¸¥ ε¦³Â¨oª 227,999,991 ¨oµ µ ( ε ª ®»o 227,999,991 ®»o ¤»¨ nµ®»o ¨³ 1.00 µ ) à ¥¤¸ ¨· £´ r®¨´ º° ¥µ ¥µ  ª µ ¦³ l° (Water Base Lining Compound / Sealant) ¨³Â¨ Á °¦rÁ ¨º° ¦³ l° (Can Coating / Lacquer) Á¡ºÉ° Ä oÄ °» ­µ® ¦¦¤ ¨· ¦³ l° 讳Á¡ºÉ° ¦¦ »°µ®µ¦Â¨³Á ¦ºÉ° ºÉ¤ ¦ª¤ ¹ ¦¦ » ¨· £´ r°ºÉ Ç ¤¸Ã¦ µ ´Ê °¥¼n ¸É · ¤ °» ­µ® ¦¦¤­¤» ¦­µ ¦ ´ ®ª´ ­¤» ¦­µ ¦ µ¦ εÁ · »¦ · ¦·¬´ Á } ¼o · o ¨³¡´ µ ¨· £´ r Ä®o¤¸ ªµ¤®¨µ ®¨µ¥Ä ¨· £´ r ¨³ µ¦¦´ ¬µ » £µ¡ ¨· £´ r°¥nµ n°Á ºÉ° Á¡ºÉ° µ¦ ° ­ ° ªµ¤ o° µ¦ ° ¨¼ oµÄ oµ nµ Ç Á n µ¦ ° ­ ° oµ Á à 襸 µ¦ ¨· ¸É¨¼ oµ¤¸ µ¦¡´ µ oµ Á ¦ºÉ° ´ ¦ µ¦ ¨· ¸É¤¸Á à 襸 ¸ ¹Ê µ¦ ° ­ ° oµ µ¦Ä o µ ´ ¨· £´ rÄ®¤nÇ ¸ÉÁ¡·É¤ ¹Ê Á } o ¨»n¤¨¼ oµ­nª Ä® n ´Ê Ä ¦³Á «Â¨³ nµ ¦³Á « Á } ¼o ¦³ ° µ¦Ä °» ­µ® ¦¦¤ ¨· ¦³ l° 讳 Á¡ºÉ°Ä oÄ °» ­µ® ¦¦¤ ¦¦ »°µ®µ¦Â¨³Á ¦ºÉ° ºÉ¤ ¦ª¤ ¹ ¦³ l° 讳 ¸ÉÄ o ¦¦ » ¨· £´ r nµ Ç ´ÉªÅ Ã¥ µ¥Ä µ¦ εÁ · µ ° ¦·¬´ ª·­´¥ ´« r ° ¦·¬´ “®»o ­nª ¦³ ´ ­µ ¨ ¸ÉÁ ¸É¥ª µ ¡¦o°¤ ª´ ¦¦¤°´ Á } Á¨·«” ¡´ ³ · ­Îµ ´ ° ¦·¬´ 1. 2. 3. 4. 5.

Á¡·É¤«´ ¥£µ¡ µ¦ ´ µ¦£µ¥Ä ° r ¦Á¡ºÉ°­¦oµ µ¦¥°¤¦´ ¨³­¦oµ ¤¼¨ nµÁ¡·É¤Ä®o ´ ¼o¤¸­nª Å o­nª Á­¸¥ ° ­ ° ªµ¤ µ ®ª´ ° ¨¼ oµ oª¥ ¨· £´ r ¸É¤¸ » £µ¡­¼ ¨³ ¦· µ¦ ¸É ¸Á¥¸É¥¤ Á } ®»o ­nª ´ ¨¼ oµ Á¡ºÉ°­¦oµ ª´ ¦¦¤Ã ¥¤»n Á o o ªoµª· ´¥Â¨³¡´ µ ¨· £´ r Á¡·É¤«´ ¥£µ¡ ¦³ ª µ¦ ¨· ¸ÉÁ } ¤· ¦ ´ ­·É ª ¨o°¤ oª¥Á à 襸 ¸É¤¸ ¦³­· ·£µ¡ ´ ­¦¦­£µ¡Âª ¨o°¤Ä µ¦ ε µ ¨³­n Á­¦·¤«´ ¥£µ¡ ° ¡ ´ µ à ¥ µ¦¡´ µ° r ªµ¤¦¼o ´ ¬³ ¨³ ªµ¤Á ¸É¥ª µ °¥nµ n°Á ºÉ° 6. ­¦oµ Á­¦·¤ ¦¦¤µ£· µ¨ µ¦ ¦·®µ¦ ªµ¤Á­¸É¥ ¨° ªµ¤¦´ · ° n° ¼o¤¸­nª Å o­nª Á­¸¥Â¨³­´ ¤ Á¡ºÉ° ªµ¤¥´É ¥º ° ° r ¦ ¸É¤¸ » £µ¡ 7. Ťn¥°¤¦´ µ¦ °¦r¦´ ´É » ¦¼  ¦·¬´ ¥¼ ·­ (Á°Á ¸¥) ε ´ (¤®µ )

à ¦ ­¦oµ ° r ¦ 100

¦·¬´ Ū oµ °· Á °¦rÁ ´É  ¨ Á ¦ ·Ê ( ªnµ à ª) ε ´

99.99

¦·¬´ ¥¼ ·­ ¡¦¸¤µÁ ε ´

7 ¦µ¥ µ ¦³ ε e 2559 [ ¦·¬´ ¥¼ ·­ (Á°Á ¸¥) ε ´ (¤®µ ) ]

40

¦·¬´ ¢¤·¨¸ °¦r °Á¦ ´É ε ´ ¨»n¤Á ¦ºÉ° ª·¦·¥³Â¨³ ¼o ¦·®µ¦ 60%


โครงสร้างการดําเนินินธ ุรกิจของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม 1. บริษทั ไวต้า อินเตอร์เนชันแนล เทรดดิ9 ง (กว่างโจว) จํากัด บริษทั ไวต้า อินเตอร์เนชันแนล เทรดดิงP (กว่างโจว) จํากัด (“ไวต้ ไวต้า อินเตอร์”) ได้จดทะเบียน ตังP บริษทั กับ Guangzhou Government and Guangzhou Industry & Economic Bureau สาธารณรัฐประชาชนจีน เมือ วันที 26 มกราคม 2543 ปั จจุบันมีทนุ จดทะเบียน 1.40 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรื หรือประมาณ 38.03 ล้านบาท) บริษัทถือหุน้ ในไวต้า อินเตอร์ ร้อยละ 100 บริษทั ตังP อยู่ที ห้อง 508 เลขที 486 อาคารกว่างเหลียงพลาซา ถนนฮวัน ซื อตะวั น ออก เขตเยี ยซิ ว เมืองกว่ า งโจว มณฑลกว่ างตง รหั สไปรษณี ย์ 510075 สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน โดยมีจดุ ประสงค์เพือเป็ นตัวแทนจําหน่ายผลิตภัณฑ์ยาง ยาแนวฝากระป๋ อง และแลคเกอร์เคลือบ กระป๋ องให้กบั บริษทั โดยมุ่งเน้นการขายให้กบั อุตสาหกรรมกระป๋ องบรรจุอาหาร-เครื าหาร เครืองดืม และอุตสาหกรรม ภาชนะโลหะอืนๆ ในประเทศจีน มีผบู้ ริหารและพนักงานรวม 11 คน การบริหารงานของบริษัทจะอยู่ภายใต้ นโยบายของ บริษัท ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) โดยบริษัทจัดส่งตัวแทน 2 ท่าน ไปดํารงตําแหน่งเป็ น กรรมการและผูบ้ ริหารของ ไวต้า อินเตอร์ 2. บริริษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด บริษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด (“ยูบิส พรีมาเทค”) ได้จดทะเบียนตังP บริษทั เมือ 30 พฤษภาคม 2555 มีทนุ จดทะเบียน 160 ล้านบาท โดยเรียกชําระทุนเต็มมูลค่าแล้ว บริษทั ถือหุน้ ใน ยูบิส พรีมาเทค ร้อยละ 99.99 บริษทั ตังP อยู่เลขที 807/1 807 ชันP ที6 ถนนพระราม3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ เ 10120 บริษทั ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) โดยมีวัตถุประสงค์เพือ การผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋ องให้กบั อุตสาหกรรมผลิตภาชนะโลหะสําหรับบรรจุอาหาร และเครื องดืม และอุต สาหกรรมภาชนะโลหะอื นๆ มีคณะกรรมการบริษัท จํานวน 5 ท่า น ประกอบด้ว ย กรรมการ 3 ท่าน และผูบ้ ริหาร 2 ท่าน มาจากบริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน มหาชน) การดําเนินงานของยูบิส พรีมาเทค จะอยู่ภายใต้นโบายการบริหารของบริษัท ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน มหาชน) เนืองด้วยทัPงสองบริษัท ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดี กรรมเดียวกัน โดยมีความแตกต่างด้านผลิตภัณฑ์ จึงเป็ นการทําธุรกิจทีเกือP หนุนกัน 3. บริษทั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด (“แฟมิลี”) ได้จดทะเบียนตัPงบริษทั เมือ 5 กรกฎาคม 2550 มีทนุ จดทะเบียน 200 ล้านบาท โดยเรียก ชําระทุนเต็มมูลค่าแล้ว บริษัทถือหุน้ ใน แฟมิลี ร้อยละ 40 บริษทั ตังP อยู่เลขที 134/22 ชัPนที 2 หมู่ที 1 ถนน เทพารัก ษ์ ตําบลบางเสาธง อําเภอบางเสาธง จัง หวัดสมุทรปราการ โดยมีวัต ถุประสงค์เ พื อการผลิต และ จําหน่ายผลิตภัณฑ์เครืองใช้ไฟฟ้า เช่น โทรทัศน์ พัดลม ผลิตภัณฑ์พลาสติก กล่อง Set Top Box และธุรกิจรับ ดํา เนินการด้า นระบบเครือข่าย WIFI ประกอบด้วยกรรมการ 5 ท่าน มาจากบริ ษัท ยูบิส (เอเชีย) จํา กัด (มหาชน) จํานวน 2 ท่าน (โดยเป็ โดยเป็ นกรรมการบริษทั 1 ท่าน และผูบ้ ริหาร 1 ท่าน) การดําเนินงานของแฟมิลี จะ ดําเนินงานโดยอิสระภายใต้นโยบายการดําเนินงานของผูบ้ ริหารบริษทั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด

8 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจเป็ นผูผ้ ลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์เคมีคณ ุ ภาพพสูง ชนิดพิเศษ ซึงใช้เป็ นส่วนประกอบในการผลิตกระป๋ องอาหาร กระป๋ องเครืองดืม กระป๋ องโลหะทัวไป และฝาขวด ต่างๆ โดยแบ่งผลิตภัณฑ์ออก เป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ คือ ผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป กระป๋อง (Sealing Compounds) ผลิตภัณฑ์ยางยาแนวฝากระป๋ องเป็ นสารป้ องกันการรัวซึมทีใช้กับบรรจุภณ ั ฑ์โลหะ โดยมีคณ ุ สมบัติ สํา คัญ ในการป้ องกันรอยรัวตามแนวตะเข็บระหว่า งตัว ภาชนะกับฝาภาชนะทัPงฝาล่างและฝาบนทีเกิดขึPน ใน ระหว่างการผลิตตัวภาชนะ และการปิ ดฝาภาชนะภายหลังการบรรจุ งการบรรจุอาหารหรือสินค้าลงในภาชนะแล้ว เพือ ป้องกัน มิให้สิงปนเปืP อนจากภายนอกเข้าสู่ภายในภาชนะเป็ นการยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ทีบรรจุ ภายในภาชนะ นอกจากนียP งั ต้องทนต่อกระบวนการฆ่าเชืPอเพือถนอมอาหารทีบรรจุภายในตามกระบวนการผลิต ของลูกค้า

แหล่งทีมาของภาพ: เว็ปไซด์ของ โครงการวิจยั เพือพัฒนาหนังสือและโฮมเพจ ชุดพัฒนาสังคมตามแนวพระราชดําริ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เรืองอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม

รูป ก. ฝาควํา (บน) และฝาหงาย (ล่าง)

รูป ข. รูป ค. หยอดยาแนวในร่อง (ภาพสมมติ) ฝาหงายทีหยอดยาแนวแล้ว (ศรชี)P

ทีมา : www.cancentral.com และ Visypak Beverage Packaging “Beverage Manufacturing Processes”

9 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ผลิตภัณฑ์แลคเกอร์เคลือบกระป๋อง (Lacquers) แลคเกอร์เคลือบกระป๋ องของบริษทั เป็ นผลิตภัณฑ์ประเภท Solvent Base (Solvent Base Lacquers) ซึงใช้เคลือบผิวกระป๋ อง และฝากระป๋ อง โดยใช้เคลือบผิวทังP ด้านในและด้านนอก แลคเกอร์เคลือบผิวกระป๋ องด้าน ในต้องมีคณ ุ สมบัติในการทนต่อสภาพความเป็ นกรดด่างของสินค้าทีบรรจุ โดยเฉพาะสิ โดยเฉพาะสินค้าประเภทอาหารทีมี ความเป็ นกรดด่างทีแตกต่างกัน ซึงจะป้องกันไม่ให้อาหารทีบรรจุทาํ ปฏิกิริยากับตัวบรรจุภณ ั ฑ์จนทําให้เกิดการ เปลียนแปลงเรืองกลิน สี และรสของอาหารในกระป๋ อง จึงเป็ นการรักษาอายุของสินค้าให้ยาวนาน ส่วนแลคเกอร์ เคลือบผิวกระป๋ องด้านนอกมีคณ ุ สมบัติป้องกันพืPนผิวด้านนอกกระป๋ องจากการเกิดสนิม การขีดข่วน การกัด กร่อน และเป็ นสารเคลือบรองพืPนสําหรับก่อนการตกแต่งภายนอกกระป๋ องด้วยหมึกพิมพ์และสารเคลือบเงาด้าน นอก (Outside Outside Printing & Vanishing) เพือให้ภาชนะบรรจุภณ ั ฑ์ดสู วยงาม จึงต้องมีคณ ุ สมบัติในเรืองการยืดหยุ่น ทีสูงบริษัทมีนโยบายทําตลาดให้ครอบคลุมทุกส่วนการตลาด โดยมีกลุ่มลูกค้าหลักคือ กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหาร และเครืองดืม และกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม บริษทั เริมนําผลิตภัณฑ์ใหม่เพือความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ให้กบั ลูกค้าเป็ นทางเลือก และให้สามารถรองรับความต้องการใหม่ๆของลู ๆของลูกค้าในแต่ละ Segment บริษัทพัตนา ระบบการจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมทุกส่วนตลาดในประเทศ (Full Segmentation Coverage) กลมุ่ ล ูกค้าเป้าหมายต่างประเทศ 1. กลุม่ ลูกค้าเป้ าหมายตลาดประเทศจีน บริษทั ดําเนินธุรกรรม 2 ด้าน คือ 1) จําหน่ายสินค้าโดยตรงสู่ลกู ค้ารายใหญ่ เพือการตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ โดยตรงและรวดเร็ว 2) บริษัทย่อยทีประเทศจีนซึงเป็ นผูจ้ ําหน่ายแก่ลกู ค้าทีประสงค์จะซืPอในประเทศ และลูกค้า ขนาดกลางทีมีศักยภาพ โดยบริษัทจะสนับสนุนทางเทคนิคด้วยการจัดส่งทีมเทคนิคเข้า เยียมลูกค้าพร้อมทีมงานขายอย่างต่อเนือง เน้นการให้บริการหลังการขาย 2. กลุม่ ลูกค้าเป้ าหมายตลาดต่างประเทศอืน เช่น 1) ลูกค้าเอเชีย ได้แก่ ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย เวียดนาม ไต้หวัน เกาหลี เ ใต้ 2) เอเชียตะวันออกกลาง ได้แก่ ซาอุดอิ ารเบีย ดูไบ 3) เอเชียใต้ ได้แก่ อินเดีย บังคลาเทศ ศรีลงั กา 4) อเมริกาใต้ ได้แก่ บราซิล เปรู และเม็กซิโก 5) ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ 6) แอฟริกา ได้แก่ อียิปต์ บริษทั ได้ดาํ เนินสร้างระบบพันธมิตรเครือข่ายโดยการแต่งตังP ตัวแทนจําหน่ายหรือทีปรึกษาบริษทั ทีสามารถให้บริการแก่ลกู ค้าในประเทศนันP ๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การสนับสนุนด้านเทคนิคจากบริษทั ให้กับตัวแทนและลูกค้าในประเทศนันP ๆ กลุ่มเป้าหมายจะเป็ นผูผ้ ลิตกระป๋ องบร องบรรจุ รจุอาหาร เครืองดืม และภาชนะ อุตสาหกรรมอืนๆ อนึงในการทําตลาดในแต่ละประเทศ บริษทั จะต้องทําการวิเคราะห์ปัจจัยทีมีผลต่อการขาย เช่น จํานวนคู่แข่ง การผูกขาด ขนาดตลาดและอัตราการเติบโตของตลาดในแต่ละกลุ่มลูกค้าในแต่ละประเทศ ก่อนทีจะเลือกเน้นกลุ่มเป้าหมายในการทําตลาด ตล การตลาดต่ างประเทศ มุ่ง เน้น ส่ งเสริ มให้มีก ารนํา เสนอผลิ ต ภัณ ฑ์แก่ ลกู ค้า เพื อการทดรอง ผลิตภัณฑ์ในระยะเวลาทีรวมดเร็ว ตลอดจนการเยียมลูกค้าอย่างสมําเสมอโดยมีการวางแผนการเยียมลูกค้าทังP

10 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ปี เป็ นการล่วงหน้า เพือแลกเปลียนความคิดเห็ น ข้อแนะนําด้านธุรกิจและปั ญหาข หาของแต่ องแต่ละพืPนที และการรับฟั ง ปั ญหาเพือหาข้อมูลในการนํามาปรับปรุงการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษทั ได้วางนโยบายในการเข้าร่วมการ ออกงาน Exhibition ต่างๆในระดับโลกและในระดับภูมิภาคอย่างต่อเนือง โดยบริษทั ได้กาํ หนดการเข้าร่วมงาน แสดงสินค้าให้ครอบคลุมในแต่ละพืPนที ได้แก่ 1) Asia CanTech 2016, จัดขึนP ระหว่างวันที 7-9 พฤศจิกายน 2559 ณ เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย 2) The 9th AOSD International Conference, จัดขึนP ระหว่างวันที 29-30 พฤศจิกายน 2559 ณ เมือง มุมไบ ประเทศอินเดีย 3) ลงโฆษณาใน The CanMaker Magazine โครงสร้างรายได้ของบริษทั หน่วย : พันบาท รายได้จากการขาย - ภายในประเทศ (1) - ต่างประเทศ รวมรายได้จากการขาย รายได้อืนๆ (2) รายได้รวม

รายได้

2559 ร้อยละ

326,703 522,117 848,820 5,150 853,970

38.26 61.14 99.40 0.60 100.00

รายได้

2558 ร้อยละ

333,673 493,656 827,329 12,826 840,155

39.70 58.80 98.50 1.50 100.00

รายได้

2557 ร้อยละ

410,152 438,249 848,401 7,705 856,106

47.90 51.20 99.10 0.90 100.00

หมายเหตุ : (1) รายได้จากการขายภายในประเทศ รวมถึงรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ทีบริษทั เป็ นตัวแทนจําหน่าย (ประกอบด้ ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ Quaker และหมึกพิมพ์) (2) รายได้อืน ประกอบด้วย ค่านายหน้า ค่าบริการอืน ขายเศษวัสดุ ดอกเบีPยรับ กําไรจากอัตราแลกเปลียน (ถ้ามี) และเงินชดเชยการส่งออก

สําหรับยอดขายบริษทั ในปี 2559 อยู่ที 849 ล้านบาท เติบโตขึนP ร้อยละ 3 เมือเทียบกับปี 2558 โดย ตลาดในประเทศลดลงร้อยละ 2.08 และตลาดต่างประเทศมีมีอตั ราการเติบโตเพิมขึนP ร้อยละ 5.77 ส่งผลให้สัดส่วน ของรายได้รวมของบริษทั เปลียนแปลงโดยแบ่งเป็ นขายในประเทศร้อยละ 38.26 ขายต่างประเทศร้อยละ 61.14 และรายได้อืนร้อยละ 0.60 เป็ นไปตามเป้ าหมายในการขยายฐานการตลาดออกต่างประเทศตามนโยบายและ แผนงานทีบริษทั วางไว้ ภาวะอ ุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง ข้อมูลการส่งออกอาหารกระป๋ องของประเทศไทย มูลค่า (ล้านบาท)

11 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ข้อมูลการส่งออกอาหารกระป๋ องของประเทศไทย นําP หนัก (ตัน)

จากข้อมูลการส่ง ออกอาหารกระป๋ องของกระทรวงพาณิชย์ ในปี 25599 ประเทศไทยมีมลู ค่าการ ส่งออกอาหารกระป๋ อง 109,5 ,565 ล้านบาท เพิมขึนP จากปี ก่อนร้อยละ 4 โดยมีปริมาณการส่งออก 1,264,811 ตัน เพิมขึนP จากปี ก่อนร้อยละ 5 ซึงนับเป็ นการเพิมขึนP หลังจากทีการส่งออกลดลงมาต่อเนืองตังP แต่ปี 2555 สินค้าของบริษัทเป็ นเคมีภณ ั ฑ์ทีเป็ นส่วนประกอบสําคัญในอุตสาหกรรมการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์โลหะที เกียวเนืองกับสิ นค้า อุปโภคบริโ ภค ประกอบกับสิน ค้าของบริ ษัทเป็ นสินค้าทีขายให้กับโรงงานอุต สาหกรรม (Industrial Products) โดยตรง ไม่ใช่การขายไปยังผูบ้ ริโภค (Consumer Products) ดังนันP นโยบายการตลาดของ บริษัทจึ งมุ่งเน้นในการรักษาคุณภาพและการพัฒ นาผลิต ภัณฑ์ ตลอดจนการสร้างความสั งค ม พันธ์และความ ร่วมมือ เพือการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าเป็ นสําคัญเพือการเติบโตในระยะยาว ตลอดระยะเวลทีผ่านมาบริษทั ดําเนินการผลิตด้วยนโยบายการรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (Quality of Product) และการพั การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือง (Continuous Improvement) ภายใต้ ยใต้ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 ทีใช้มานาน บริษัทเล็ งเห็ นความสําคัญ ต่อนโยบายการรักษาคุณภาพเป็ นอย่างมากจึงได้กําหนดแนว ทางการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพขึนP สู่ระบบบริหารคุณภาพ ISO14000 เพือยกระดับการรักษาคุณภาพการ ผลิตให้ได้มาตรฐานระดับสากล ให้ครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลสิงแวดล้อม ตลอดทัPงมุ่งเน้นส่งเสริม และพัฒนาบุคลากรในด้านต่างๆเพือรองรับระบบ ISO14000 โดยเฉพาะทีมงานด้านการวิจัยและพัฒนา บริษทั ได้ยกระดับให้หน่วยงานให้เป็ นอีกสายงานทีรายงานตรงต่อกรรมการผูจ้ ัดการ โดยมีผเู้ ชียวชาญชาวต่างชาติมา เป็ นทีปรึกษาให้คาํ แนะนํ นะนําในด้านการบริหารและการพัฒนาหน่วยงานให้สามารถเป็ นหน่วยงานวิจัยและพัฒนา เทียบเคียงกับหน่วยงานวิจยั สากลอืนๆ มุง่ สู่การสร้างสรรผลิตภัณฑ์ใหม่ ตลอดจนพัฒนากระบวนการผลิตให้มี Business Model ทีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ การรักษาความสัมพันธ์และความร่วมมือกับลูกค้าอย่างใกล้ชิด (Close Customer Relationship) ให้ เสมือนว่าลูกค้าเป็ นหุน้ ส่วนของบริษัท จึงมีความสําคัญอย่างยิงไม่เพียงเพือการตอบสนองการเปลียนแปลง ความต้องการของลูกค้าอย่างรวดเร็ว (Fast Respond) หรือการบริหารการส่งมอบสิ มอบ นค้าให้ทันการใช้งาน และ การบริการหลังการขายทังP ด้านผลิตภัณฑ์และด้านเทคนิค แต่อกี สิงหนึงคือการดึงลูกค้าให้มีส่วนร่วมในงานวิจัย และพัฒนาในผลิตภัณฑ์ร่วมกัน เพือประโยชน์ของลูกค้าอย่างเต็มที การสร้า งแบรนด์ใ ห้เป็ นที ยอมรับในระดับ สากล เป็ นกลยุทธ์ใ นการสร้า งสินค้าให้เ ป็ นที ยอมรับ ใน ตลาดโลก บริษทั จึงได้สร้างระบบพันธมิตรการค้าทังP ในรูปแบบตัวแทนจําหน่ายทีมีความรูแ้ ละความเข้าใจของ

12 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


อุตสาหกรรม มาร่วมกันบริหารจัดการการจําหน่ายในบางพืPนที บริษทั จะเป็ นผูส้ นับสนุนด้านเทคนิคให้กบั ลูกค้า ผูใ้ ช้สนิ ค้าโดยตรง บริษทั คาดว่าจะสามารถขยายช่ จะสามารถขยายช่องทางการจําหน่ายในตลาดต่างประเทศได้มากขึนP

กําลังการผลิต กําลังการผลิต (หน่วย : เมตริกตัน)

2559

2558

2557

ยางยาแนวฝากระป๋ อง แลคเกอร์เคลือบกระป๋ อง กําลังการผลิตรวม

8,000 6,000 18,000

8,000 6,000 18,000

4,000 4,000 8,000

การลงทุนในโรงงานทีนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาครด้วยการเพิมเครืองจักรและกระบวนการผลิตใหม่ ทําให้บริษทั สามารถขยายกําลังการผลิตและเพิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าทัPงสองผลิต ภัณฑ์ สําหรับการ รองรับการขยายตัวของธุรกิจ แต่ดว้ ยผลกระทบทางเศรษฐกิจทัPงภายในประเทศและภายนอกประเทศตลอดปี ภายในประเทศและภายนอกประเ 2559 ส่งผลต่อการดําเนินงานในปี 2559 ของบริษทั มียอดขายรวมเพิมขึPนร้อยละ 2.66 จึงยังคงส่งผลต่อ อัตราการผลิตในปี นีมP อี ตั ราการผลิตรวมร้อยละ 50 ของกําลังการผลิตรวม นโยบายการผลิต ทีสําคัญ คือ เน้นการผลิต สินค้าทีมีคณ ุ ภาพตรงกับ ความต้องการของลูกค้าและ สามารถส่งสินค้าได้ตรงตามระยะเวลาทีกําหนด ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพือให้รองรับเทคโนโลยีและ ข้อกําหนดใหม่ๆ ทีมีการเปลียนแปลง ทังP นีเP พือมุ่งเน้นการสร้างความเชือมันให้กบั ลูกค้าและการส่งเสริมให้เกิด ความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ของบริษทั อย่างต่อเนือง ผลิตภัณฑ์ทีผลิตเพือการส่งออกและการขายในประเทศ มี กระบวนการผลิต และใช้วัตถุดิบมาตรฐานเดียวกัน ภายใต้การบริหารการผลิตทีเป็ นระบบ และการจัดลําดับ คําสังซืPอให้เหมาะสม ทําให้สามารถผลิตได้ตามแผนการผลิตและการจัดส่งได้ตามที ตามทีกําหนดไว้

13 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ปั จจัยความเสียง ปั จจัยความเสียงในการประกอบธุรกิจของบริษทั ทีอาจมีผลกระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุนอย่าง มีนยั สําคัญ และแนวทางในการป้องกันความเสียง สามารถสรุปได้ดงั นีP (1) ความเสียงต่อการดําเนินธุรกิจของบริษทั ความเสียงด้านการพึงพาผูจ้ าํ หน่ายวัตถุดบิ หลัก วัตถุดิบหลักในการผลิตของบริษทั เป็ นวัตถุดิบทีมีลักษณะความพิเศษทีจะต้องสามารถสัมผัสอาหาร และเป็ นไปตามข้อกําหนดสําหรับอุตสาหกรรม โดยถือปฏิบตั ติ ามข้อกําหนดของหน่วยงานรัฐของแต่ละประเทศที มีหน้าทีดูแลด้านความปลอดภัยของอาหาร ข (FDA approved raw material) แม้ว่าวัตถุดิบเหล่านีบP ริษทั สามารถ จัดหาได้จากผูจ้ ัดจําหน่ายทัวไป แต่วตั ถุดบิ บางชนิดจะมีบริษทั ผูผ้ ลิตและจําหน่ายน้อยราย จึงอาจทําให้บริษทั มี ความเสียงจากผูจ้ ําหน่ายวัตถุดิบอาจไม่สามารถจัดส่งวัตถุดิบได้ตรงตามเวลาและตามความต้องการ ซึงจะ ส่งผลต่อการผลิตได้ อย่างไรก็ตามบริษัทได้กาํ หนดมาตรการควบคุมต่างๆได้แก่ นโยบายการบริหารการจัดเก็บวัตถุดิบ สํารองให้พอเพี ยง กําหนดให้มีการประชุมทบทวนความต้องการ คําสังซืPออย่างต่อเนืองและใกล้ชิด กําหนด นโยบายการจัดหาวัตถุดิบจากผูผ้ ลิต รายอืนทัPงในประเทศและต่ ในประเทศและต่างประเทศเพิมเติมและต่อเนือง และมีการนํา Safety Stock ของวัตถุดิบหลักมาจัดทําเป็ นลายลักษณ์อักษร โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้หน้าทีความรับผิดชอบ ร่วมกันระหว่าง ฝ่ ายจัดซืPอ ฝ่ ายวางแผนการผลิต และฝ่ ายงานวิจยั และพัฒนา ความเสียงด้านลูกค้ารายใหญ่ ลูกค้ารายใหญ่ในแต่ละประเทศจะมีจํานวนมากน้อยแตกต่างกันไป ปั จจุบันลูกค้าบริษัทรายใหญ่ 15 ราย มียอดขายประมาณร้อยละ 50 ของยอดขายรวมทัPงบริษัท เนืองจากลูกค้ารายใหญ่มีความต้องการใน สินค้าทีหลายชนิดทีบริษัทสามารถตอบสนองได้มากกว่าลูกค้ารายเล็ก การเข้าถึงลูกค้าราย รายเล็กจําเป็ นต้องใช้ บุคคลากรมากกว่าในการเข้าถึง แต่อย่างไรก็ตามบริษทั ไม่มีลกู ค้ารายใหญ่รายใดทีมียอดขายมากกว่าร้อยละ 10 ของยอดขายรวม ผลกระทบต่อยอดขายจึงอาจส่งผลไม่มากนัก บริษทั มีมาตรการควบคุมดูแล ดังนีP จัดทํามาตรการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าทัPงด้านคุณภาพ ผลิตภั ตภัณฑ์และด้านบริการของบริษทั เน้นการส่งเสริมเพือสร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้า การให้บริหารทางเทคนิค เพือเป็ นการรักษาฐานลูกค้า รวมถึงการจัดการต่างๆเพือสร้างความมันใจให้ลกู ค้า และการนําเสนอสินค้าใหม่ เพือเป็ นการเพิมยอดขายอีกทาง รวมถึงนโยบายการแต่งตัPงตัวแทนจํ แทนจําหน่ายและทีปรึกษาเพือการเข้าถึงลูกค้า อย่างใกล้ชดิ ทําให้ทราบปั ญหาและการตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว นโยบายการขยายฐานลูกค้าสู่ลกุ ค้ารายกลาง ถึงรายเล็กเพือขยายฐานและลดผลกระทบ โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้หน้าทีความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง ฝ่ าย ขาย ฝ่ ายวางแผนการผลิต ฝ่ ายงานวิ ายง จยั และพัฒนา และฝ่ ายบริหารฯ ความเสียงด้านการเปลียนแปลงเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ สินค้าของบริษทั ใช้อยู่ในกลุ่มบรรจุภณ ั ฑ์ทีทําจากโลหะ หากบรรจุภณ ั ฑ์มีการเปลียนแปลงวัสดุไปเป็ น วัสดุชนิดอืน ก็อาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจของบริษทั ได้ แต่อย่างไรก็ตามปั จจุบนั เทคโนโลยีบรรจุ ร ภณ ั ฑ์อืนๆยังไม่ สามารถตอบสนองต่อการเก็บรักษาคุณภาพสินค้าทีมีระยะเวลาในการจัดเก็บได้นานเท่ากับบรรจุภณ ั ฑ์โลหะ รวมถึงความปลอดภัยในการจัดส่ง ดังนันP อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์โลหะยังคงเป็ นทีนิยมในการบรรจุอาหาร

14 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


และเครืองดืม บริษทั ไม่ได้หยุดนิงเพราะได้มกี ารวางแนวทางในการพั ารวางแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเพือใช้กบั วัสดุใหม่ๆใน อนาคต ความเสียงด้านสิงแวดล้อม บริษัทประกอบธุรกิจในการผลิตแลคเกอร์เคลือบกระป๋ องและยางยาแนวฝากระป๋ องซึงเป็ นเคมีภัณฑ์ ดังนัPนกระบวนการผลิ ต อาจก่อให้เกิดมลภาวะได้ ในลัก ษณะของเสียง กลิน และการปนเปืP อนของเสี อนของ ยในนํPา เนืองมาจากการไม่ปฎิบัติตามข้อกําหนดทางกฎหมายและข้อกําหนดของการนิคมอุตสาหกรรมฯ รวมถึงการ ขาดความรูค้ วามเข้าใจของบุคลากร บริษัทจึงได้พัฒนากระบวนการผลิตใหม่เป็ นระบบปิ ดทีมีการจัดการและ ควบคุมมลภาวะได้อย่างดี รวมถึงระบบบําบัดนําP เสียให้สอดคล้องกับกฎหมายและข้ กฎหมายและข้อกําหนดด้านสิงแวดล้อม ของการนิคมอุตสาหกรรมฯ โดยกําหนดมาตรการดูแลควบคุมดังนีP กําหนดแผนงานประจําปี ดําเนินการและควบคุมให้เป็ นไปตาม มาตรฐานด้วยนโยบายการปฎิบตั อิ ย่างเคร่งครัด ให้เป็ นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายทุกประการ พร้อมทัPงให้ มีการตรวจรับรองจากหน่วยงานอิสระภายนอก ระภายนอก ด้วยรายงานผลการตรวจสอบและแนวทางในการแก้ไข และ กํา หนดนโยบายปรั บ ปรุง ระบบการบริ ห ารคุณ ภาพ ด้ว ยการกํา หนดยกระดับ ระบบบริ ห ารคุณ ภาพจาก ISO9001 เป็ น ISO14000 เพือให้ครอบคลุมถึงการจัดการด้านสิงแวดล้อมภายในปี 2560 โดยกําหนดให้อยู่ ภายใต้การควบคุมดูแลของฝ่ ายระบบคุณภาพ และฝ่ ายผลิต ความเสียงด้านการผลิต แม้ว่าบริษัทจะใช้กระบวนการผลิตระบบอัตโนมัติในการควบคุมการผลิตนันP อาจเกิดปั ญหาด้านการ ดูแลการผลิต หากระบบควบคุมการผลิตเกิดการขัดข้อง อย่างไรก็ตามปั ญหานีไP ด้รับการออกแบบระบบการ ทํางานให้สามารถควบคุมด้วยบุคคลในขันP ตอนการผลิตเพือให้สามารถดําเนินการผลิตได้อย่างต่อเนือง โดยไม่ ส่งผลกระทบต่อการผลิต ความเสียงด้านคุณภาพสินค้า ลูกค้าอาจพบปั ญหาการใช้สินค้าของบริษัท ในขันP ตอนการใช้งานทีโรงงานของลูกค้า หรือเกิดขึPนที ลูกค้าปลายทางหลังจากทีมีการบรรจุสินค้า อย่างไรก็ ตามบริษัทได้จัดทําประกันความเสี นความเสียงด้านผลิต ภัณฑ์ Product Liability Insurance เพือป้องกันความเสียหายทีมาจากการเรียกร้องของลูกค้าในทุกภูมิภาคทีบริษัท จําหน่าย และได้กาํ หนดมาตรการควบคุมดูแลควบคุมความเสียงด้วยมาตรการดูแลลูกค้าทีโรงงานลูกค้า โดย กําหนดให้ทีมบริการเทคนิคและทีมงานขายเข้าร่ าร่วมตรวจสอบและประเมินความเสียง พร้อมทังP หาวิธีการเพือเข้า ปรึรึกษาร่วมกับลูกค้าในการจัดการปั ญหาทีเกิดขึนP โดยรวดเร็ว โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของ ฝ่ ายเทคนิคบริการ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนา ฝ่ ายขาย ฝ่ ายระบบคุณภาพ และฝ่ ายผลิต ความเสียงด้านความผันผวนของราคาวั ผวนของร ตถุดบิ วัตถุดิบหลักในการผลิตแลคเกอร์เคลือบกระป๋ องและยางยาแนวฝากระป๋ องของบริษัท เป็ นเคมีภณ ั ฑ์ คิดเป็ น สัดส่วนต้นทุนประมาณร้อยละ 80 ของต้นทุนการผลิตทัPงหมด ซึงราคาวัตถุดิบจะผันผวนตามกลไกของตลาด ด้านอุปสงค์และอุปทาน จึงส่งผลให้ตน้ ทุนการผลิตของบริษทั มีความผันผวนตามไปด้วย ทัPงนีPจะส่งผลกระทบ ต่อผูป้ ระกอบการทุกรายในอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน อย่างไรก็ตามบริษทั ได้กาํ หนดมาตรการควบคุม ดังนีP นโยบายทบทวนคํ บายทบทวนคําสังซืPอและการทบทวนปริมาณสินค้าคงคลัง เพือการพิจารณาการสังซืPอให้เหมาะสม และ นโยบายการทําสัญญาซืPอวัตถุดบิ ล่วงหน้าตามสถานการณ์ ด้วยการติดตามราคานําP มัน ราคาวัตถุดบิ อย่าง

15 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ใกล้ชิด สร้างความสัมพันธ์ทีดีกบั ผูจ้ ัดจําหน่ายเพือความยืดหยุ่นในการกําหนดราคา หนดรา รวมถึงการจัดทํา Sales Forecast เพือเป็ นการวางแผนระยะยาว โดยกําหนดให้อยู่ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของฝ่ ายจัดซืPอ ฝ่ ายขาย ฝ่ าย วางแผน และฝ่ ายคลังสินค้า ความเสียงด้านการเงิน ความเสียงด้านอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ บริษทั มีธรุ กรรมการส่งออกมากกว่าร้อยล ยละ 60 และมีการนําเข้าวัตถุดิบแต่ในสัดส่วนทีน้อยกว่า ดังนันP ความผันผวนของอัตราแลกเปลียนการเงินอาจส่งผล กระทบต่อกําไรของบริษัทได้ บริษัทจึง กําหนดมาตรการควบคุมความเสียงดัง นีP นโยบายการบริห ารแบบ การเงินด้วย Natural Hedging นโยบายการ ทําสัญญาซืPอขายเงินตราต่างประเทศล่ งประเท วงหน้า (Forward Contract) กับสถาบันการเงินในประเทศ และ นโยบายการใช้บญ ั ชี FCD การใช้นโยบายต่างๆจะพิจารณาตามสถานการณ์ของค่าเงินบาททีเกิดขึนP ในปี 2559 บริษัทมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศจํานวน 7 ล้านบาท โดยเป็ นขาดทุนจากกิจกรรม ของบริษทั ย่อยทีจีนจํานวน 3..7 ล้านบาทและขาดทุนในประเทศจํานวน 3.3 ล้านบาท ความเสียงด้านเงินกู้ บริษทั มีเงินกูร้ ะยะยาว ณ วันที 31 ธันวาคม 25599 จํานวน 116.6 ล้านบาท จากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ยังคงรักษาอัตราส่วนทีเป็ นไปตามข้อตกลงใน สัญญาเงินกู้ และยังคงมีความสามารถในการชําระคืนเงินกูแ้ ละดอกเบียP (2) ความเสียงต่อการลงทุนของผูถ้ อื หุน้ หลักทรัพย์ ความเสียงจากการทีบริษัทมีกลุ่มผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ ผูถ้ ือหุน้ บริษทั ณ วันปิ ดสมุดวันที 17 กุมภาพันธ์ 2559 ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ 10 รายแรก ถือหุน้ รวมกัน ร้อยละ 68.83 ของจํานวนหุน้ ทีจําหน่ายได้แล้วทังP หมดของบริษทั โดยได้รวมกลุ่มตระกูลทังวัฒ โนทัย ถือหุน้ ร้อยละ 27.24 ของจํานวนหุน้ ทีจําหน่ายได้แล้วทังP หมดของบริษทั อาจมีความเสียงทีทําให้กลุ่มผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ สามารถครอบงํ อบงําและควบคุมเสียงในทีประชุมผูถ้ ือหุน้ ได้เกือบทัPงหมด สําหรับการขอมติในเรืองต่างๆทีใช้เสียง ส่วนใหญ่ของทีประชุมผูถ้ ือหุน้ ในการลงมติ ยกเว้นเรืองทีกฎหมายหรือข้อบังคับบริษทั กําหนดให้ตอ้ งได้รับเสียง 3 ใน 4 ของทีประชุมผูถ้ ือหุน้ (3) ความเสียงต่อการทุจริตคอร์รปั ชัน ความเสียงจากการทุจริตคอร์รัปชัน บริษัทไม่ยอมรับการทุจริตคอร์รัปชันใดๆทัPงสิPน โดยครอบคลุมถึงธุรกิจและรายการทัPงหมดในทุก ประเทศและทุกหน่วยงาน ด้วยการกระทําเพือแสวงหาผลประโยชน์ทีมิชอบด้วยหน้าทีหรือด้วยกฏหมาย เพือเอืPอ ประโยชน์ให้แก่ตนเอง พวกพ้องงและ/หรื หรือผูอ้ ืน บริษทั จึงได้กาํ หนดนโยบายและแนวปฏิบตั ิเรืองการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รปั ชัน โดยกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ติ ามนโยบายนีโP ดยทัวกัน

16 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ข้อมูลทัวไป และข้อมูลสําคัญอืน 1) ข้อมูลบริษทั ชือ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีตังP สํานักงานใหญ่ ทีตังP โรงงาน เว็บไซต์ ทุนจดทะเบียน

บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ผลิตและจําหน่ายแลคเกอร์เคลือบกระป๋ องและยางยาแนวฝากระป๋ อง ให้กบั ผูผ้ ลิตกระป๋ องโลหะทังP ในประเทศและต่างประเทศ 0107547000826 807/1 ชันP ที 6 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-683 0008 โทรสาร 02-294 94 2013 นิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร 1/83, 1/84 หมูท่ ี 2 ตําบลท่าทราย อําเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โทรศัพท์ 034-446516 โทรสาร 034-446518 446518

www.ubisasia.com

228,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 228,000,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หนุ้ ละ 1 บาท) ทุนทีออกและชําระแล้ว 227,999,991 บาท (หุน้ สามัญ 227,999,991 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หนุ้ ละ 1 บาท) ปี ทีก่อตังP 17 มิถนุ ายน 2540 ติดต่อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา และนายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa โทรศัพท์ 02-638 0008 โทรสาร 02-294 94 2013 Email: nawat@ubisasia.com 2) ข้อมูลบริษทั ย่อย ชือบริษทั ย่อย 1 ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีตังP สํานักงานใหญ่ ทีตังP โรงงาน ทุนจดทะเบียน ทุนเรียกชําระ สัดส่วนการลงทุน ปี ทีก่อตังP

17 รายงานประจําปี

บริษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด ผลิตและจําหน่ายยางยาแนวฝากระป๋ อง ให้กบั ผูผ้ ลิตกระป๋ องโลหะทังP ใน ประเทศ และต่างประเทศ 0105555077962 807/1 ชันP ที 6 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-683 0008 โทรสาร 02-294 94 2013 นิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร 1/83 หมูท่ ี 2 ตําบลท่าทราย อําเภอเมือง สมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โทรศัพท์ 034-446516 โทรสาร 034-446518 446518 160,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 16,000,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หนุ้ ละ 10 บาท) 160,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 16,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ทีเรียกเก็บหุน้ ละ 10 บาท) ร้อยละ 99.99 30 พฤษภาคม 2555

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ชือบริษทั ย่อย 2 ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีตังP สํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระ สัดส่วนการลงทุน ชือบริษทั ร่วม ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีตังP สํานักงานใหญ่ ทีตังP สํานักงานกรุงเทพฯ ทุนจดทะเบียน ทุนเรียกชําระ สัดส่วนการลงทุน 3) ข้อมูลบุคคลอ้างอิง ผูส้ อบบัญชี

ทีปรึกษากฎหมาย ทีปรึกษาทางการเงิน นายทะเบียน

ข้อมูลสําคัญอืน

18 รายงานประจําปี

บริษทั ไวต้า อินเตอร์เนชันแนล (กว่างโจว) จํากัด (ตังP อยู่ทประเทศจี ี น, จังหวัดกว่างโจว) นําเข้าและจําหน่ายแลคเกอร์เคลือบกระป๋ องและยางยาแนวฝากระป๋ อง ให้กบั ผูผ้ ลิตกระป๋ องโลหะในประเทศจีน 440101400001952 ห้อง 508 เลขที 486 อาคารกว่างเหลียงพลาซา ถนนฮวันซือ ตะวันออก เขตเยียซิว เมืองกว่างโจว มณฑลกว่างตง รหัสไปรษณีย์ 510075 สาธารณรัฐประชาชนจีน โทรศัพท์ (8620) 87675791 โทรสาร (8620) 87677386 1.40 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือประมาณ 38.03 ล้านบาท) ร้อยละ 100 บริษทั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์เครืองใช้ไฟฟ้า เช่น โทรทัศน์ พัดลม เป็ นต้น ผลิตภัณฑ์ SET TOP BOX และผลิตภัณฑ์พลาสติก และธุรกิจรับ ดําเนินการด้านระบบเครือข่าย WIFI 0105550070153 134/22 ชันP ที 2 หมูท่ ี 1 ถนนเทพารักษ์ ตําบลบางเสาธง อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 949 ชันP 2 ซอยวานิช 2 ถนนเจริญกรุง แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100 โทรศัพท์ 022355630 โทรสาร 022355636 200,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 2,000,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หนุ้ ละ 100 บาท) 200,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 2,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ทีเรียกเก็บหุน้ ละ 100 บาท) ร้อยละ 40

นายชาญชัย ชัยประสิทธิa ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3760 บริษทั ไพร้สว์ อเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ เอบีเอเอส จํากัด ชันP 15 อาคารบางกอกซิตทีP าวเวอร์ เลขที 179//74-80 ถนนสาธรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-344 1000 โทรสาร 02-286 5050 -ไม่ม-ี -ไม่ม-ี บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 93 ชันP 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-009 9000 โทรสาร 022-009 9992 -ไม่ม-ี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ผูถ้ ือหุน้ (1) รายชือผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ 10 รายแรก ตามทีปรากฏในสมุดทะเบียนผูถ้ ือหุน้ ณ วันที 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. พ 2560 ลําดับที

รายชือผูถ้ ือหน้ ุ 1. กลุ่มครอบครัวทังวัฒโนทัย นายสวัสดิa ทังวัฒโนทัย นายชนะ ทังวัฒโนทัย นางสาวภัทรา ทังวัฒโนทัย นายแสวง ทังวัฒโนทัย นางสาวพิมทอง ทังวัฒโนทัย นายสกรรจ์ ทังวัฒโนทัย นายสว่าง ทังวัฒโนทัย นางสาวมยุรี ทังวัฒโนทัย นางสาวรัชนี ทังวัฒโนทัย นางสุวรรณา ทังวัฒโนทัย 2. นายพิชยั สถาวรมณี 3. นายศิริศักดิa ปิ ยทัสสีกลุ 4. นายธีรยุทธ เหรียญชัยยุทธ 5. นางวิไล กล่อมจิตเจริญ 6. นายวีระพงษ์ รัตนประภาต 7. นางสาวปุณฑรีก์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 8. นายอมฤทธิa กล่อมจิตเจริญ 9. นายไพศาล เปรืองวิริยะ 10. นางสาวสุดคนึง ปั ญญะธารา ผูถ้ ือหุน้ รายย่อยอืนๆ รวม

จํานวนหน้ ุ ที ถือ 62,098,260 ,260 14,130,850 9,400,350 7,650,000 7,469,110 7,200,000 7,200,000 4,229,750 2,469,000 2,349,000 200 00 17,363,700 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 9,990,000 9,744,950 8,878,700 ,878,700 8,855,130 71,069,251 227,999,991

สัดส่วนการถือหน้ ุ 27.24 % 6.20 % 4.12 % 3.36 % 3.27 % 3.16 % 3.16 % 1.86 % 1.08 % 1.03 % 0.00 % 7.61 % 4.39 % 4.39 % 4.39 % 4.39 % 4.38 % 4.27 % 3.89 % 3.88 % 31.17 % 100.00 %

ข้อจํากัดการถือหน้ ุ ของชาวต่างชาติ ผูถ้ อื หุน้ ทีเป็ นชาวต่างชาติสามารถถือครองหุน้ ของบริษทั รวมกันได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของจํานวนหุน้ ที ออกและชําระแล้ว โดย ณ วันที 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 หุน้ ของบริษทั ทีถือโดยชาวต่างชาติมจี าํ นวนร้อยละ 0.32 (2) รายชือผูถ้ ือหุน้ ทีเป็ นกรรมการ และ/หรื และ อ ผูบ้ ริหาร ตามทีปรากฏในสมุดทะเบียนผูถ้ ือหุน้ ณ วันที 17 กุมภาพันธ์ พพ.ศ. 2560 ลําดับที รายชือผูถ้ ือหุน้ จํานวนหุน้ ทีถือ สัดส่วนการถือหุน้ 1 นายวิโรจน์ ทังพิทกั ษ์ไพศาล 2,002,440 0.88% 2 นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา 1,110,000 0.49% 3 นางสาวพวงเงิน กาญจน์รักษ์ 101,000 0.04% 4 นายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa 13,200 0.01% รวม 3.226,640 1.42%

19 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ในกรณีปกติทีบริษทั ไม่มีความจําเป็ นต้องใช้เงินเพือการลงทุนเพิมหรือขยายงาน และมีกระแสเงินสด เพียงพอ บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลไม่ตากว่ ํ าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิจากผลการดําเนินงานหลังหักภาษี เงินได้นติ ิบคุ คลและเงินสํารองตามกฎหมายแล้ว อย่างไรก็ ตาม คณะกรรมการบริษัทอาจจะกําหนดให้บริษัท จ่ายเงินปั นผลแตกต่างไปจากนโยบายดังกล่าวได้ตามความเหมาะสมและตามความจําเป็ นของบริษทั เช่น กรณีที บริษัทมีความจําเป็ นต้องใช้เงินเพือการลงทุนหรือการขยายกิจการ หรือกรณีทีมีการเปลียนแปลงภาวะทาง เศรษฐกิจหรือสภาพตลาดหรือมีเหตุการณ์อืนใดทีมีผลลกระทบต่ กระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินของบริษทั เป็ นต้น นโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริษทั ย่อย บริษทั ย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลตามผลประกอบการของบริษทั โดยมิได้กาํ หนดอัตราการจ่ายเงินปั นผล ทีแน่นอน แต่ขนึP อยู่กบั แผนการลงทุนในอนาคตของบริษทั ย่อย

20 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


à ¦ ­¦oµ µ¦ ´ µ¦

โครงสร้างการจัดการ

21 รายงานประจําปี

ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ] 2559 [ บริษท


คณะกรรมการบริษทั บริษทั มีคณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย ชือ-สก อ ุล 1. นายฉัฐภูมิ ขันติวิรยิ ะ 2. นายภักดี กาญจนาวลัย 3. นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา 4. นางสาวโสภา นาจันหอม 5. นางฐิตภิ รณ์ ศิลปรัศมี 6. นายสุธีร์ เพชรโลหะกุล 7. นายสว่าง ทังวัฒโนทัย 8. นายพงษ์ศกั ดิa เลีPยงศิริ 9. นายศิริศกั ดิa ปิ ยทัสสีกลุ

ตําแหน่ง ประธานกรรมการบริษทั รองประธานกรรมการบริษทั /กรรมการอิสระ กรรมการบริษทั กรรมการบริษทั กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการบริษทั กรรมการอิสระ กรรมการบริษทั

เลขานุการบริษทั นายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa ดํารงตําแหน่งเป็ นเลขานุการบริษทั ตังP แต่วันที 14 สิงหาคม 2551 โดย คุณสมบัตขิ องผูด้ าํ รงตําแหน่งเป็ นเลขานุการบริษทั สร ุปการประช การประช ุมคณะกรรมการ สําหรับปีปี 2559 ชือ-สกุล

ตําแหน่ง

นายฉัฐภูมิ ขันติวิริยะ

ประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการบริหารความเสียง รองประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริษทั กรรมการสรรหาฯ กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริษทั กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษทั

นายภักดี กาญจนาวลัย

นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พัฒนา นางสาวโสภา นาจันหอม นายสว่าง ทังวัฒโนทัย นางฐิติภรณ์ ศิลปรัศมี นายสุธีร์ เพชรโลหะกุล

1

2

นายพงษ์ศักดิa เลีPยงศิริ นายศิริศักดิa ปิ ยทัสสีกลุ 3

22 รายงานประจําปี

จํานวนครังP ทีเข้าร่วมประชุม / การประชุมปี 2559 คณะกรรมการ บริษทั ตรวจสอบ สรรหาและ บ ริ ห า ร พิ จ า ร ณ า ความเสียง กํ า ห น ด ค่าตอบแทน 6/6 2/2 6/6

4/4

1/1

-

6/6

-

-

2/2

6/6

-

1/1

2/2

6/6 5/6

-

1/1

-

5/6

3/4

-

-

6/6

4/4

-

-

3/6

-

-

-

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


(หมายเหต ุ) 1) นางฐิติภรณ์ ศิลปรัศมี ได้รับการแต่งตัPงวันที 7 ม.ค. 2559 แทน นายสวง ทังวัฒโนทัย ทีดํารงตําแหน่งกรรมการจนถึงวันที 8 มกราคม 2559 ตามวาระทีคงเหลือ 2) นายสุธีร์ เพชรโลหะกุล ได้รับการแต่งตัPงวันที 7 ม.ค. 2559 แทน นายสุรชาติ พงษ์ภัทริ นทร์ ทีดํารงตําแหน่ง กรรมการจนถึงวันที 8 มกราคม 2559 ตามวาระทีคงเหลือและได้รับ การแต่งตังP เป็ นกรรมการตรวจสอบแทนนายวิสทุ ธิa จิราธิยตุ ทีลาออกวันที 20 กุมภาพันธ์ 2559 3) นายศิ ริศักดิa ปิ ยทัสสีกลุ ได้รับ การแต่งตัPงวันที 9 มีนาคม 2559 แทน นายวิ สทุ ธิa จิราธิยตุ ทีดํารงตํา แหน่งกรรมการจนถึงวันที 20 กุมภาพันธ์ 2559 ตามวาระทีคงเหลือ

คณะกรรมการบริหาร มีจาํ นวน 5 ท่าน ดังรายนามต่อไปนีP 1. 2. 3. 4. 5.

ชือ-สก สก ุล นายฉัฐภูมิ ขันติวิริยะ นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา นางสาวโสภา นาจันหอม นายวิโรจน์ ทังพิทกั ษ์ไพศาล นายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa

ตําแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ผูบ้ ริหาร รายชือผูบ้ ริหาร ประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ชือ-สก ุล นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา นายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa นายวิโรจน์ ทังพิทกั ษ์ไพศาล นายฉัตรชัย ดาวเรือง นางสาวพวงเงิน กาญจน์รักษ์ นายดักŠ ราสิก

23 รายงานประจําปี

ตําแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการเงิน-บัญชี และเทคโนโลยีสารสนเทศ รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการขายและการตลาด รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการผลิต รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานบุคคล รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานเทคโนโลยีและพัฒนา

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


คณะกรรมการบริษทั 1. นายฉัฐภ ูมิ ขันติวิริยะ ตําแหน่ง ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการบริ และประธา หาร (มีอาํ นาจลงนามผูกพัน) อาย ุ

56 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 27 กุมภาพันธ์ 2558 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง

1 ปี 10 เดือน

ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตรเลขานุการบริษทั สมาคมส่งเสิรมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตรบทบาทกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตรกรรมการตรวจสอบ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2558-ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการบริหาร บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) 2558-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน 2556-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั ดีเอ็นเอ 2002 จํากัด (มหาชน) 2557-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั คอมมิวนิเคชัน แอนด์ ซิสเต็มส์ โซลูชนั จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน 2557-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั ไพร์มไทม์ โซลูชนั จํากัด 2557-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั บัน จํากัด การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ - ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) -ไม่ม-ี

24 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


2. นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา ตําแหน่ง กรรมการบริษทั และกรรมการผูจ้ ดั การ (มีอาํ นาจลงนามผูกพัน)

อาย ุ

45 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 1 กุมภาพันธ์ 2555 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง

4 ปี 10 เดือน

ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การอบรม หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 216/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2558-ปั จจุบนั 2558-ปั จจุบนั 2558-ปั จจุบนั 2555-ปั จจุบนั

กรรมการบริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) กรรมการบริษทั และกรรมการบริหาร บริษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด (บริษทั ย่อย) กรรมการบริษทั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด (บริษทั ย่อย)) กรรมการบริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ยูบสิ (เอเชี เอเชีย) จํากัด (มหาชน) .

ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน -ไม่ม-ี การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ - ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) 0.49%

25 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


3. นางสาวโสภา นาจันหอม

ตําแหน่ง กรรมการบริษทั และกรรมการบริหาร (มีอาํ นาจลงนามผูกพัน)

อาย ุ

41 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 14 พฤษภาคม 2558 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง 1 ปี 7 เดือน ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริญญาโท สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 121/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2558-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั และกรรมการบริหาร บริษทั ยูบิส (เอเชี เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน 2545-ปั จจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน บริษทั อินเตอร์เฟรท ซิสเท็ม จํากัด 2545-ปั จจุบนั ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต สํานักบัญชีอิสระ การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ - ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษั ษทั (%) -ไม่ม-ี

26 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


4. นายส ุธีร ์ เพชรโลหะก ุล ตําแหน่ง

กรรมการอิสระ

อาย ุ

42 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 7 มกราคม 2559 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง

11 เดือน

ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการบริหารธุรกิจการตลาด Hawaii Pacific University, USA ปริญญาโท สาขาการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 125/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2559-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน 2543-ปั จจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ตังP เซียะปิ งโลหะกิจ จํากัด การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) -ไม่ม-ี

27 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


5. นางสาวฐิติภรณ์ ศิลปรัศมี ตําแหน่ง กรรมการอิสระ อาย ุ 65 ปี วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 7 มกราคม 2559 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง 11 เดือน ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปริญญาโท สาขาธุรกิจ SME มหาวิทยาลัยรามคําแหง การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 124/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2559-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน

-ไม่ม-ี

ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน 2553-ปั จจุบนั ประธานเจ้าหน้าทีบริหาร บริษทั แสงรุง่ ถาวร จํากัด 2553-ปั จจุบนั ทีปรึกษา บริษทั เทเลอร์ อินดัสตรีP จํากัด 2553-ปั จจุบนั ทีปรึกษา บริษทั ศิรวัฒน์ แลนด์ จํากัด การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) -ไม่ม-ี

28 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


6. นายสว่าง ทังวัฒโนทัย ตําแหน่ง

กรรมการบริษทั

อาย ุ

62 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 1 สิงหาคม 2547 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง

12 ปี 4 เดือน

ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (เคมี ( ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Oklahoma State University, USA การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 18/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2547-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) 2547-2558 ผูอ้ าํ นวยการสายปฏิบตั กิ าร บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ( ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน -ไม่ม-ี การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ - ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริ ยในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) 1.24%

29 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


7. นายภักดี กาญจนาวลัย ตําแหน่ง

ประธานกรรมการตรวจสอบ, ประธานกรรมการตรวจสอบ รองประธานกรรมการบริษทั กรรมการอิสระ

อาย ุ

79 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 1 สิงหาคม 2547 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง

12 ปี 4 เดือน

ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 14/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2547-ปั จจุบนั ประธานกรรมการตรวจสอบ และรองประธานกรรมการ บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน

-ไม่ม-ี

ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน 2511-ปั จจุบนั ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต สํานักงานภาญจนกิจ (ตรวจสอบบั ตรวจสอบบัญชี) การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) -ไม่มี-

30 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


8. นายพงษ์ศกั ดิa เลี9ยงศิริ ตําแหน่ง

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

อาย ุ

66 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 1 สิงหาคม 2547 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง

12 ปี 4 เดือน

ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาระบบสารสนเทศ City College of New York, USA ปริญญาโท สาขาระบบสารสนเทศ City College of New York, USA การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 20/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2547-ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ บริษทั ยูบิส (เอเชี เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน -ไม่ม-ี ตําแหน่งในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน -ไม่ม-ี การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ - ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่ม-ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) -ไม่ม-ี

31 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


9. นายศิริศกั ดิa ปิยทัสสีก ุล ตําแหน่ง

กรรมการบริษทั

อาย ุ

45 ปี

วันทีได้รบั แต่งตัง9 เป็นกรรมการ 9 มีนาคม 2559 จํานวนปีทีดํารงตําแหน่ง

9 เดือน

ค ุณว ุฒิการศึกษา ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปริญญาโท บริหารธุรกิจ, Hawaii Pacific University, USA

การอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 124/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั และประสบการณ์ทํางานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2559-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งปัจจ ุบันในบริษทั จดทะเบี ยนอืน 2553-ปั จจุบนั กรรมการบริษทั ดีเอ็นเอ 2002 จํากัด (มหาชน) ตําแหน่งปัจจ ุบันในกิจการทีไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน 2558-ปั จจุบนั 2556-ปั จจุบนั 2554-ปั จจุบนั 2542-ปั จจุบนั

กรรมการบริษทั เสม็ด ยูทิลติ สีP ์ จํากัด กรรมการบริษทั ดีเอ็นเอ เฟรชแอร์ จํากัด กรรมการบริษทั ดีเอ็นเอ เรฟโวลูชนั จํากัด ผูจ้ ดั การทัวไป บริษทั ไทยคอสเม จํากัด

การดํารงตําแหน่งในกิจการทีอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ -ไม่ม-ี การมี/ไม่มี ส่วนได้สว่ นเสียในบริษทั และบริษทั ในเครือ -ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร -ไม่ม-ี สัดส่วนการถือหน้ ุ ในบริษทั (%) -ไม่ม-ี

32 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร 1. ค่าตอบแทนทีเป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนกรรมการ ประกอบด้วยเบียP กรรมการ ดังนีP ชือ-สก ุล

ตําแหน่ง

บริษทั

ค่าตอบแทนกรรมการปี ตอบแทนกรรมการ 2559 คณะกรรมการ ตรวจสอบ สรรหาและ รวม พิจารณา กําหนด ค่าตอบแทน

นายฉัฐภูมิ ขันติวิริยะ นายภักดี กาญจนาวลัย

นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา นางสาวโสภา นาจันหอม นายสว่าง ทังวัฒโนทัย นางฐิตภิ รณ์ ศิลปรัศมี นายสุธรี ์ เพชรโลหะกุล นายพงษ์ศักดิa เลียP งศิริ นายศิริศักดิa ปิ ยทัสสีกลุ *** กรรมการทีลาออก นายวิสทุ ธิa จิราธิยตุ

ประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการบริหารความ เสียง รองประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการบริษทั กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริษทั กรรมการสรรหาฯ กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริษทั กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาฯ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษทั

850,000

-

-

850,000

550,000

40,000

10,000

600,000

400,000

-

-

400,000

400,000

-

10,000

410,000

400,000 400,000

-

10,000

400,000 410,000

400,000

30,000

-

430,000

400,000

40,000

-

440,000

321,667

-

-

321,667

กรรมการอิสระ

63,750

10,000

-

73,750

รวม

4,185,417 120,000

30,000

4,335,417

หมายเหต ุ ***ได้ ได้รบั การแต่งตังP วันที 9 มีนาคม 2559

ค่าตอบแทนรวมของผูบ้ ริหาร ในปี 2559 255 บริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนผุบ้ ริหารประกอบด้วยค่าตอบแทนเงินเดือน โบนัส ให้กบั ผูบ้ ริหารจํานวน 6 ราย รวมเป็ นจํานวนเงิน 26.41 ล้านบาท (ปี 2558 เท่ากับ 18.26 ล้านบาท) 2. ค่าตอบแทนอืน ค่าตอบแทนอืนของกรรมการ -ไม่ม-ี

33 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ค่าตอบแทนอืนของผูบ้ ริหาร เงินกองทุนสํารองเลีPยงชีพ บริษัทได้จดั ให้มีกองทุนสํารองเลีPยงชีพ โดยบริษทั ได้สมทบในอัตราส่วน ร้อยละ 2-3 ของเงินเดือน ขึนP อยู่กับอายุการทํางาน โดยในปี 2559 บริษัทได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสํารอง เลีPยงชีพสําหรับผูบ้ ริหาร 6 ราย รวมเป็ นจํานวนเงิน 0.44 ล้านบาท (ปี 2558 เท่ากับ 0.42 ล้านบาท)

34 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


เหตุการณ์สาํ คัญในรอบปี 2559 ปี 2559

เหตุการณ์สาํ คัญ • ลงทุนในบริษท ั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด เพิมเนืองจาก บริษทั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน ได้มีการ เพิมทุนอีกจํานวน 100 ล้านบาท ดังนันP บริษทั จึงร่วมลงทุนเพือรักษาสัดส่วนการถือหุน้ 40% คิ ด เป็ นจํา นวนหุ้น ทัPง สิP น 400,000 หุ้น (ราคาพาร์ 100 บาท) ด้ว ยมูล ค่ า เงิน จํา นวน 40,000,000 บาท ทําการย้ายทีตังP สํานักงานใหญ่ของ บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน มหาชน) และบริษทั ยูบิส พรี มาเทค จํากัด มายังเลขที 807/1 ชันP ที 6 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 •

บริษทั ฯได้ดาํ เนินการขยายตลาดสู่กลุม่ ประเทศในอเมริกาใต้ อาทิเช่น ประเทศบราซิล ประเทศ เม็กซิโก และประเทศอียิปต์ เพือเป็ นการขยายฐานการตลาดให้เพิมขึนP ตามแผนงานทีได้วางไว้ ล่วงหน้า •

การลงทุนด้านการวิจัยและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยการแยกส่วนงานเทคโนโลยีและพัฒนา และส่วนงานเทคนิคบริการ ออกมาเป็ นหน่วยงานอิสระขึนP ตรงต่อกรรมการผูจ้ ดั การ เพือให้การ ปฏิบตั งิ านมีความคล่องตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพเพิมขึนP อีกทัPงยังส่งเสริมให้มกี ารสร้าง ห้องทดลองใหม่ พร้อมสนับสนุนการลงทุนสําหรับเครืองมืออุปกรณ์ในหน่วยงานใหม่ พร้อม สรรหาบุคคลากรทีมีความเชียวชาญเฉพาะด้านเพิม ด้วยงบประมาณการลงทุน 10 ล้านบาท การลงทุนในส่วนกระบวนการผลิต COMPOUND และ การทํา REPACKING สินค้าในประเทศจีน โดยถือว่าเป็ นการขยายการผลิตและรองรับงานขายทีจะเพิมมากขึนP ในปี 2560 อีกทังP ยังมุง่ เน้น เพือการปรับปรุง คุณ สมบัติข องสินค้าให้เหมาะสมต่องานขายในประเทศจี น รวมถึงช่วยลด ต้นทุนการบริหารจัดการในอนาคต โดยบริษทั ฯคาดการณ์ว่าจะสามารถเริมทําการผลิตภายใน ไตรมาส 2 ของปี 2560 •

35 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


การกํากับดูแลกิจการ นโยบายการกํากับดแู ลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความมุง่ มันทีจะบริหารงานโดยยึดหลักการกํากับกิจการทีดี ข้อพึงปฏิบตั ิที ดีสําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติทีเกียวข้องของตลาดหลักทรัพ ย์แห่ ง ประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และมีความมุ่งมันทีจะพัฒ นา ยกระดับการกํากับดูแลกิจการของบริษทั สู่แนวปฏิบตั ทิ เป็ ี นสากล นโยบายการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ของบริษทั ฯนีเP ป็ นหลักการทีมุ่งเน้นให้ บริษทั มีระบบทีจัดให้มโี ครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ ายจัดการ และผู้ ถือหุ้น เพื อความสามารถในการแข่งขัน นําไปสู่ความเจริญ เติบโตและเพิมมูล ค่าให้กับผูถ้ ื อหุน้ ในระยะยาว คณะกรรมการบริษทั ฯได้จัดให้มีหลักการทีดีในการกํากับกิจการโดยให้มีความสอดคล้องกับหลักการพืPนฐาน ในการใช้ความรูอ้ ย่า งรอบคอบ ระมัดระวัง และคํานึงถึงคุณธรรม แและแสดงให้ ละแสดงให้เ ห้น ถึงการมีระบบบริห าร จัดการทีมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ อันเป็ นการสร้างความเชือมันและความมันใจต่อผูถ้ ือหุน้ ผูล้ งทุน ผูม้ สี ่วนได้เสีย และผูท้ เกี ี ยวข้องทุกฝ่ าย เพือให้การกํากับดูแลทีดีเป็ นเครืองมือในการเพิมมูลค่าและส่งเสริมการ เติบโตอย่ อย่างยังยืนของบริษทั ฯ นโยบายการกํากับดูแลกิจการฉบับปรับปรุงปี 2559 นีไP ด้จดั ทําขึนP เพือให้คณะกรรมการบริษทั และ ผูบ้ ริหารฝ่ ายจัดการ ตลอดจนพนักาน ได้ใช้เป็ นแนวทางในการกํากับดูแลบริษทั และการปฏิบัตงิ าน และได้ผา่ น การอนุมตั จิ ากทีประชุมคณะกรรมการบริหาร ครัPงที 16/2559 วันที 2 กันยายน 2559 โดยคณะกรรมการ บริหารได้รับอํา นาจให้ปรับ ปรุงแก้ไขนโยบายที เกียวข้องในการดํา เนินการยืนแบบประเมินตนเองเกียวกับ มาตรการต่อต้านการคอร์รัปชันจากทีประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัPงที 5/25599 เมือวันที 10 สิงหาคม 2559 คณะกรรมการบริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) จะส่งเสริมและดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิตามนโยบายที กําหนดไว้เพือให้บริษัทได้บรรลุเป้าหมายในการสร้างความมันคงและยังยืนให้กับองค์กรและผูถ้ ือหุน้ ทัPงนีP คณะกรรมการเข้าใจบทบาท หน้าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการทีมีต่อบริษทั และผูถ้ ือหุน้ และได้ ศึกษาแนวทางการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดี สําหรับกรรมการบริษทั จดทะเบียนทีเป็ นไปตาม แนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือนํามาปรับปรุงวิธีการดําเนินงานของบริษทั เพือสร้างความ โปร่งใสในการทํางาน การดําเนินการให้มีจริยธรรมทางธุรกิจ การจัดทําระบบควบคุมภายในต่างๆ รวมถึง การให้ความสําคัญของความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และการรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ เป็ นสําคัญ คณะกรรมการช ุดย่อย โครงสร้างการจัดการประกอบด้วยคณะกรรมการชุดย่อยทัPงหมด 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและกํ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ความเสียง โดยมีรายละเอียดดังนีP

36 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ชือ-สกุล 1. นายภักดี กาญจนาวลัย 2. นายพงษ์ศกั ดิa เลียP งศิริ 3. นายสุธีร์ เพชรโลหะกุล

ตําแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

ขอบเขตอํานาจหน้าทีของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานระบบการกํากับดูแลกิจการ การควบคุมภายใน การบริหารความเสียง และกระบวนการ ทีเกียวข้องกับมาตรการการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ของบริษทั ให้เป็ นไปตามแนวท นไปตามแนวทางทีเป็ น ทียอมรับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ 3. สอบทานให้บริษทั ฯ มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ พิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็ นชอบในการ พิจารณาแต่งตังP โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน 4. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯและกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 5. พิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตังP บุคคลซึงมีความเป็ นอิสระเพือทําหน้าทีเป็ นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัPงเข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มีฝ่าย จัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครังP 6. พิจารณารายการเกียวโยงกันหรือรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตาม กฎหมายและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทัPงนีเP พือให้มนใจว่ ั ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ 7. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี ของบริษทั ฯ ซึง รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประก งประกอบด้วยข้อมูล อย่างน้อย ดังต่อไปนีP (ก) ความเห็นเกียวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นทีเชือถือได้ของรายงานทางการเงินของ บริษทั ฯ (ข) ความเห็นเกียวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ (ค) ความเห็ นเกียวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่ ามกฎหมายว่าด้ว ยหลักทรัพย์และตลาด ละตลาดหลักทรัพ ย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์หรือกฎหมายทีเกียวข้องกับธุรกิจของ ของบริษทั ฯ (ง) ความเห็นเกียวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี (จ) ความเห็นเกียวกับรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จํา นวนการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้า ร่ ว มประชุมของ คณะกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีคณะกร คณะกรรมการตรวจสอบได้ รมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัตหิ น้าที ตามกฎบัตร (Charter) (ซ) รายการอืนทีเห็ นว่าผูถ้ ือหุน้ และผูล้ งทุนทัวไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าทีและ ความรับผิดชอบทีได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ มอบหมายจากคณะกรรมก ษทั

37 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


8. ดําเนินการตรวจสอบเรืองทีได้รบั แจ้งจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ในกรณีพบพฤติกรรมอันควร สงสัยว่ากรรมการผูจ้ ดั การ หรือบุคคลซึงรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษทั ฯ ได้ ก ร ะ ทํ า ความผิดตามทีกําหนดไว้ในพระราชบัญ ญัติห ลักทรัพ ย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที 4) พ.ศ. 2551 และรายงานผลการตรวจสอบในเบืPองต้นให้แก่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาด หลักทรัพย์ และผูส้ อบบัญชีทราบภายในสามสิบวันนับแต่วนั ทีได้รบั แจ้งจากผูส้ อบบัญชี 9. พิจารณาให้ความเห็ นเกียวกับแผนงาน ผลการปฏิบัติงาน งบประมาณและอัตรากําลังของ สํานักงานตรวจสอบภายใน รวจสอบภายใน 10. สอบทานและอนุมตั กิ ฎบัตรของการตรวจสอบภายใน 11. จัดทํารายงานการปฏิบตั งิ านเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ อย่างน้อยปี ละ 1 ครังP 12. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปี ละ 1 ครังP 13. คณะกรรมการตรวจสอบสามารถเชิญฝ่ ายจัดการ หรือหัวหน้างานเข้าร่วมประชุมเพือชีแP จง หรือ ให้ส่งเอกสารทีเกียวข้องได้ตามขอบเขตอํานาจหน้าที 14. คณะกรรมการตรวจสอบสามารถรับคําปรึกษาจากผูเ้ ชียวชาญอิสระตามความเหมาะสมด้วย ค่าใช้จา่ ยของบริษทั ฯตามขอบเขตงานทีรับผิดชอบ 15. ปฏิ บั ติก ารอื นใดตามที คณะกรรมการของ คณะกรรมการของบริ บริ ษั ท ฯ มอบหมายด้ว ยความเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ กําหนดให้กรรมการตรวจสอบดํารงตําแหน่งเป็ นเวลา 3 ปี โดยให้ครบ วาระตามวาระการเป็ นกรรมการบริษทั ของกรรมการแต่ละท่าน คณะกรรมการบริหาร 1. 2. 3. 4. 5.

ชือ-สกุล นายฉัฐภูมิ ขันติวิริยะ นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา นางสาวโสภา นาจันหอม นายวิโรจน์ ทังพิทกั ษ์ไพศาล นายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa

ตําแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ขอบเขตอํานาจหน้าทีของคณะกรรมการบริหาร 1. วางแผน ดําเนิน กิจ การและควบคุมกิจการของบริษัทให้เป็ นไปตามนโยบายทีใด้รับอนุมัติจ าก คณะกรรมการบริษทั และดําเนินกิจการใดๆ เพือสนับสนุนการดําเนินงานภายใต้ระเบียบบริษทั ฯ นโยบายของคณะกรรมการบริษทั และนโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน รวมทัPง กําหนดหน้าทีให้พนั พนักงานและลูกจ้างบริษทั ฯ ระดับต่างๆปฏิบตั ติ าม 2. กําหนดกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษทั 3. กําหนดแผน และแนวทางเกียวกับการลงทุนตามนโยบายของบริษทั 4. มีอาํ นาจพิจารณาอนุมัติการกู้ หรือการขอสินเชือใด ๆ เพือธุรกรรมตามปกติของบริษทั รวมถึง เป็ นผูค้ ํPาประกันหรือการชําระเงินหรื นหรือการชําระหนีPเพือการดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษัท ใน วงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท 5. กําหนดโครงสร้างองค์กร และการบริหาร รวมถึงมีอาํ นาจจ้าง แต่งตังP ปลดออก ให้ออก ไล่ออก กําหนดอัต ราค่าจ้าง ให้บาํ เหน็จรางวัล ปรับขึนP เงินเดือน ค่าตอบแทน โบนัส สําหรับพนักงาน ระดับผูอํอ้ าํ นวยการฝ่ ายขึนP ไป

38 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


6. มีอาํ นาจพิจารณากําหนดสวัสดิการพนักงานให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ ประเพณี และสอดคล้อง กับกฎหมายทีบังคับใช้อยู่ 7. มีอาํ นาจอนุมตั ิรายการค่าใช้จ่ายทางการค้าทีเป็ นปกติของธุรกิจ และการซืPอวัตถุดิบเพือการผลิต หรือการซืPอสินค้าเพือจําหน่าย รวมถึงการทําสัญญาทีมีภาระผูกพันของบริษทั ในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท 8. มีอาํ นาจอนุมตั อิ าํ นาจอนุมตั ริ ายการการซือP ขายทรัพย์สนิ หรือการจัดซืPอจัดจ้าง หรือการก่อสร้าง หรือการเช่า เพื อใช้ป ระกอบธุร กิ จ หลั ก ปกติ ต ามวั ต ถุป ระสงค์ข องบริ ษัท ฯ และการให้เ ช่ า ทรัพย์สินเพือหาราย อหารายได้ ได้ให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของบริษทั ในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท 9. ควบคุมดูแลการดําเนินงานของบริษัท ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของ บริษทั ตลอดจนมติทประชุ ี มผูถ้ อื หุน้ 10. ปฏิบตั หิ น้าทีอืนๆ ตามทีได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ในแต่ละคราว คณะกรรมการสรรหาและพิ รมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ชือ-สกุล 1. นายภักดี กาญจนาวลัย 2. นางฐิตภิ รณ์ ศิลปรัศมี 3. นางสาวโสภา นาจันหอม

ตําแหน่ง ประธานกรรมการสรรหาฯ กรรมการสรรหาฯ กรรมการสรรหาฯ

ขอบเขตอํานาจหน้าทีของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. กําหนดนโยบายต่างๆ เสนอคณะกรรมการบริษทั พิจารณา • นโยบาย หลักเกณฑ์ วิธกี ารในการสรรหากรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ • นโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการจ่ายค่าตอบและผลประโยชน์อืนทีจ่ายให้แก่คณะกรรมการ บริษทั คณะกรรมการชุดย่อย และกรรมการผูจ้ ดั การ 2. พิจารณาคัดเลือกและเสนอชือบุค คลทีมีคณ ุ สมบัติเ หมาะสม เพื อเป็ นกรรมการและกรรมการ ผูจ้ ดั การ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั พิจารณา 3. พิจารณาขนาดของคณะกรรมการบริษทั ให้มีความเหมาะสมกับองค์กร 4. พิจารณาโครงสร้างผลตอบแทนของกรรมการผูจ้ ัดการและผู การและผูบ้ ริหาร ได้รบั ค่าตอบแทนเหมาะ ตอบแทนเหมาะสม กับหน้าทีและความรับผิดชอบทีได้รบั มอบหมาย 5. กํา หนดแนวทาง นํา เสนอ และให้ค วามเห็ นชอบผลการประเมินการปฏิ บัติง านของกรรมการ ผูจ้ ดั การเพือพิจารณาปรับค่าตอบแทนและการจ่ายเงินรางวัลประจําปี 6. ติดตามการทําแผนสืบทอดตําแหน่งของกรรมการผูจ้ ดั การ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 7. รายงานผลการปฏิ การปฏิบตั งิ านต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยปี ละ 1 ครังP 8. ดําเนินการอืนๆตามทีคณะกรรมการบริษทั มอบหมาย

39 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


คณะกรรมการบริหารความเสียง ชือ-สกุล 1. นายฉัฐภูมิ ขันติวิริยะ 2. นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พฒ ั นา 3. นายวิโรจน์ ทังพิทกั ษ์ไพศาล 4. นางสาวโสภา นาจันหอม 5. นายฉัตรชัย ดาวเรือง 6. นายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa

ตําแหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง กรรมการบริหารความเสียง

ขอบเขต อํานาจ หน้าทีของคณะกรรมการบริหารความเสียง 1. กําหนดขันP ตอน กระบวนการ ขอบเขตภาระหน้าที ของคณะกรรมการบริหารความเสียง 2. พิจารณาปั จจัยความเสียงทีมีผลกระทบต่อเป้าหมายและกลยุทธ์ของบริษทั โดยพิจารณาความ เสียงทังP เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพือนําไปใช้ป้ องกันและเฝ้าระวังความเสียงจากสถานการณ์ ปั จจุบนั 3. ให้คํา แนะนํา และอนุมัติห ลัก การในภาพรวม สํา หรับการวางแผนการบริห ารความเสียงและ มาตรการควบคุมทีเพียงพอและเหมาะสม 4. ประเมินความเสียง และกํากับดูแลให้หน่วยงานต่างๆในการกําหนดและดําเนินงานตามแผนการ จัดการความเสียงในระดับองค์กร 5. เสนอเรืองแก่ค ณะกรรมการบริห าร หรือคณะกรรมการบริษัท ให้มีก ารกํา หนดทิ ศทางการ บริหาร 6. จัดให้มกี ารประชุมทบทวนผลการดําเนินงานตามระบบบริหารความเสียง 7. รายงานผลการดําเนินงานต่อคณะกรรมการบริษทั ทราบเป็ นประจํา และต่อเนือง การสรรหากรรมการและผูบ้ ริหารระดับสสูงูง คณะกรรมการบริษัทมีหน้าทีสรรหาและแต่งตัPงกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง ทัPงนีPบคุ คลทีได้รับ การแต่งตังP ให้ดาํ รงตําแหน่งกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษัท ต้องเป็ นบุคคลทีมีคณ ุ สมบัติครบตามมาตรา 68 แห่ง พระราชบัญ ญัติบ ริษัทมหาชน พ.ศ. พ 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาด ตลาดทุนที ทจ. 28/2551 เรือง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุน้ ทีออกใหม่ ฉบับลงวันที 15 ธันวาคม 2551 และต้องไม่เป็ นบุคคลทีมีลกั ษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่า ด้วยข้อกําหนดเกียวกับผูบ้ ริหารของบริษัททีออกหลักทรัพย์ ทัPงนีP กรรมการและผูบ้ ริหารทุกท่านต้องไม่มี ประวัตกิ ระทําผิดตามกฏหมายในระยะ 10 ปี ย้อนหลังก่อนวันยืนคําขออนุญาต รวมทัPงไม่มปี ระวัตถิ กู พิพากษา ถึงทีสุดให้เป็ นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็ นบุคคลทีฝ่ าฝื นข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คําสัง มติคณะกรรมการ หรือ ข้อตกลงการจดทะเบียนหลักทรัพย์ตลอดจนหนังสือเวียนทีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทังP ข้อพิพาท หรือการถูกฟ้องร้องทีอยู่ระหว่างการตัดสินพิจารณาคดี การกํากับดแูแลการดํ ู ลการดําเนินงานของบริษทั ย่อย คณะกรรมการบริษัทมีกลไกในการกํากับดูแลทีทําให้สามารถควบคุมดูแลการจัดการและรับผิดชอบ การดําเนินงานของบริ องบริษทั ย่อย เพื อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริษัท โดยจัดส่งบุคคลเพือเป็ น ตัวแทนของบริษทั ไปเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ อี าํ นาจควบคุม ในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม ตามสัดส่วน

40 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


การถือหุน้ โดยต้องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริษทั ตลอดจนดูแลรายการเกียวโยงของบริษทั ย่อย ต้องเป็ นไปตามระเบียบปฏิบตั ขิ องบริษทั เช่นเดียวกัน การด ูแลเรืองการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั มีนโยบายห้ามกรรมการและผูบ้ ริหาร และพนักงานทีรับทราบข้อมูลภายใน นําข้อมูลภายในซึง ยังไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพือประโยชน์ของ องตนเองและผูอ้ ืน โดยมีแนวทางปฏิบตั ดิ งั นีP 1. กําหนดให้ กรรมการและผูบ้ ริหาร จัดทําและส่งรายงานการถื รายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษทั ของตนเอง ของตนเองคู่ สมรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพ ย์และตลาด หลักทรัพย์ ดังนีP รายงานการถือหลักทรัพย์ครังP แรก (แบบ 59-1) ภายใน 30 วัน นับตังP แต่วันทีรับตําแหน่ง กรรมการ รายงานการเปลียนแปลงการถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ภายใน 3 วันทําการนับตังP แต่ วันทีมีการ ซืPอ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์ และให้ส่งสําเนารายงานการถือหลักทรัพย์ดงั กล่าวให้แก่เลขานุการบริษทั ภายในวันทีส่งรายงาน ดังกล่าว เพือจัจัดทําบันทึกการเปลียนแปลงและสรุปจํานวนหลักทรัพย์ของกรรมการและผูบ้ ริหาร เป็ นรายบุคคล เพือนําเสนอให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบในการประชุมครังP ถัดไป 2. ประกาศให้ทราบทัวกันว่า กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ทีรับทราบข้อมูลภายในทีมีนยั สําคัญ ทีอ าจส่ ง ผลต่อ การเปลียนแปลงของราคาซืP อ ขายหลัก ทรัพย์ จะต้องระงับการซืPอ หรือขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วง 1 เดือนก่อนทีบริษัทจะมีการประกาศผลการดําเนินงาน (กํกําหนดเวลาในการประกาศผลการดําเนินงาน คือ 45 วันนับจากวันสิPนไตรมาส และ 60 วันนับ จากวันสินP งวดบัญชี) หรือจนกว่าข้อมูลภายในนันP จะเปิ ดเผยต่อสาธารณชน บริษัทได้กาํ หนดโทษสําหรับกรณีทีมีการฝ่ าฝื นในการนําข้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพือประโยชน์ ส่วนตัวไว้ในระเบียบของบริษทั โดยมีโทษขันP สูงสุดตามกฎหมาย บ ุคลากร บริษทั มีพนักงานทัPงสิPนจํานวน 120 คน โดยอยู่ประจําทีสํานักงานใหญ่ จํานวน 24 คน และประจําที โรงงานทีนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร จํานวน 96 คน ซึงสามารถแบ่งตามสายงานต่างๆ มีรายละเอียดดังนีP สายงานหลัก สํานักผูบ้ ริหาร สายการเงิน-บับัญชี และเทคโนโลยีสารสนเทศ สายการขายและการตลาด สายการผลิต (โรงงาน โรงงาน) สายงานเทคโนโลยีและพัฒนา สายงานทรัพยากรบุคคล สํานักตรวจสอบภายใน (ไม่มี) รวม

41 รายงานประจําปี

พนักงานประจํา ปี 2559 ปี 2558 4 3 13 11 9 8 72 60 17 10 5 5 120 76

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ผลตอบแทนรวมของบริษทั สําหรับ ปี 2559 และ ปี 2558 เป็ นดังนีP ประเภทผลตอบแทน เงินเดือนรวม โบนัสรวม เงินสมทบกองทุนสํารองเลีPยงชีพ รวม

ปี 2559 59,767,874 8,267,205 1,208,444 69,243,523

ปี 2558 43,021,405 6,298,599 937,610 50,257,614

บริษทั ให้ความสําคัญกับการยกระดับความรูค้ วามเชียวชาญของพนักงานโดยกําหนดให้มีระบบการ จัดการทรัพยากรบุคคลทีคํานึงถึงความเหมาะสมของความสามารถของบุคลากรทีปฏิบตั ิงานในแต่ละกิจกรรม เพือประสิทธิภาพสูงสุด และมีการประเมินผลงานในแต่ละปี โดยใช้ดชั นีวัดผลงาน (KPI) KPI) และแบบประเมินผลงาน เพือกําหนดผลตอบแทน และดําเนินการฝึ กอบรมเพิมเติม เพือเพิมศักยภาพการทํางาน และสามารถให้บริการ ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนียP ังมีการวางแผนอัตรากําลังให้เหมาะสมกับปริมาณงานและสรรหา บุคลากรล่วงหน้า ทังP นีบP ริษทั ไม่มสี หภาพแรงงาน แต่อาํ นวยความสะดวกช่ นวยความสะดวกช่องทางในการนําเสนอความคิดเห็ น ของพนักงานได้อย่างอิสระด้วยตนเอง ผ่านช่องทางทีบริษทั กําหนดไว้ อาทิเช่น กล่องรับความคิดเห็น E-mail ถึงผูบ้ ริหารระดับสูงโดยตรง หรือผ่านทางเวบไซด์ข องบริษัท โดยพนักงานสามารถส่ง ข้อเสนอแนะมายัง ผูบ้ ริหารเพือการพิจารณาได้โดยตรง หรือผ่ อผ่านระบบร้องเรียนทีมีความปลอดภัยและเป็ นความลับสูงสุด โดย บริษทั ฯตระหนักว่าเป็ นการพัฒนาบริษทั ร่วมกัน ข้อพิพาทด้านแรงงาน ปั จจุบนั บริษทั ไม่มขี อ้ พิพาทด้านแรงงาน ตลอดระยะเวลา 3 ปี ทีผ่านมา

42 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) ชือบริษทั ผูจ้ ่าย บริ ษั ท ยูบิ ส (เอเชี ย ) จํ า กั ด (มหาชน) บริษทั ยูบิส พรีมาเทค จํากัด Vita International Trading (Guangzhou) Co.,Ltd.

ชือผูส้ อบบัญชี ปี 2559 นายชาญชัย ชัยประสิทธิa บริ ษัท ไพ้ร์ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ เอบีเอส จํากัด นายชาญชัย ชัยประสิทธิa บริ ษัท ไพ้ร์ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ เอบีเอส จํากัด Mr. Zhang Dong Liang, Guangzhou Tianhe Jiade Certified Public Accountants

ค่าสอบบัญชี ปี 2559 (บาท) 3,250,000

ชือผูส้ อบบัญชี ปี 2558 นายอุดม ธนูรัตน์พงศ์ บริษทั พีวี ออดิท จํากัด

ค่าสอบบัญชี ปี 2558 (บาท) 700,000

170,000

นางสาวชมภูนชุ แซ่แต้ บริษทั พีวี ออดิท จํากัด

220,000

200,000 (RMB40,000)

Mr. Zhang Dong Liang, Guangzhou Tianhe Jiade Certified Public Accountants

200,000 (RMB40,000)

audit fee) – ไม่มี ค่าบริการอืน (Non-audit ทัPงนีP นายอุดม ธนูรตั น์พงศ์ และบริษทั พีวี ออดิท จํากัด, Mr. Zhang Dong Liang และสํานักงาน Guangzhou Tianhe Jiade Certified Public Accountants ไม่มีความสัมพันธ์ และไม่มสี ่วนได้เสียกับบริษทั /บริษทั ย่อย/ผูบ้ ริหาร/ผูผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูท้ เกี ี ยวกับบุคคลดังกล่าว นายชาญชัย ชัยประสิทธิa เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 2559 นายอุดม ธนูรตั น์พงศ์ เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 2558 นายไกรสิทธิa ศิลปะมงคลกุ ปะม ล เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ปี 2557 Mr. Zhang Dong Liang เป็ นผูล้ งลายมือชือรับรองรายงานงบการเงินของบริษทั ไวต้า อินเตอร์ฯ ปี 2557 – 2559 การปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดแูแลกิ ู ลกิจการทีดีในเรืองอืนๆ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความมุง่ มันทีจะบริหารงานโดยยึดหลักการกํากับกิจการทีดี ข้อพึงปฏิบตั ิที ดีสําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติทีเกียวข้องของตลาดหลักทรัพ ย์แห่ ง ประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และมีความมุ่งมันทีจะพัฒ นา ยกระดั ะดับการกํากับดูแลกิจการของบริษทั สู่แนวปฏิบตั ิทเป็ ี นสากล นโยบายการกํากับดูแลกิจการฉบับปรับปรุง ปี 2559 นีPได้จัดทําขึPนเพื อให้คณะกรรมการบริษัท และผูบ้ ริหารฝ่ ายจัดการ ตลอดจนพนักาน ได้ใช้เป็ น แนวทางในการกํากับดูแลบริษัทและการปฏิบัติงาน และได้ผ่านการอนุมัตจิ ากทีประชุมคณะกรรมการบริหาร ครังP ที 16/2559 วันที 2 กันยายน 2559 โดยคณะกรรมการบริหารได้รับอํานาจให้ปรับปรุงแก้ไขนโยบายที เกียวข้องในการดํา เนินการยืนแบบประเมินตนเองเกียวกับมาตรการต่อ ต้า นการคอร์รัปชันจากทีประชุม คณะกรรมการบริษทั ครังP ที 5/2559 5 เมือวันที 10 สิงหาคม 2559 คณะกรรมการบริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) จะส่งเสริมและดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิตามนโยบายที กําหนดไว้เพือให้บริษัทได้บรรลุเป้าหมายในการสร้างความมันคงและยังยืนให้กับองค์กรและผูถ้ ือหุน้ ทัPงนีP คณะกรรมการเข้าใจบทบาท หน้าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการที ชอบของคณะกรรมการทีมีต่อบริษทั และผูถ้ ือหุน้ และได้ ศึกษาแนวทางการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดี สําหรับกรรมการบริษทั จดทะเบียนทีเป็ นไปตาม แนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือนํามาปรับปรุงวิธกี ารดําเนินงานของบริษทั เพือสร้างความ

43 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


โปร่งใสในการทํางาน การดําเนินการให้มีจริยธรรมทางธุรกิจ การจัดทําระบบควบคุมภายในต่างๆ รวมถึง การให้ความสําคัญของความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และการรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ เป็ นสําคัญ • สิทธิ ของผูถ ้ ือหน้ ุ ในปี 2559 นอกเหนือจากสิทธิขนัP พืPนฐานของผูถ้ ือหุน้ เช่น สิทธิการโอนหุน้ ของผูถ้ ือหุน้ สามารถ ดําเนินการโอนหุน้ ได้โดยไม่มีขอ้ กําหนดทางกฎหมายใดๆทัPงสิPนแล้ว บริษทั ยังได้ดาํ เนินการในเรืองต่างๆทีเป็ น การส่งเสริมการใช้สทิ ธิของผูถ้ อื หุน้ ดังนีP บริษัทได้ให้ความสําคัญและเคารพสิทธิของผูถ้ ือหุน้ โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ทีกฎหมาย กําหนด และตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริษัทได้จัดประชุมผูถ้ ือหุน้ สามัญประจําปี 2559 ในวันที 11 เมษายน 2559 โดยมีกรรมการเข้าร่วมประชุม 9 ท่าน นอกจากนียP งั มี ผูบ้ ริหารระดับสูง ผูแ้ ทนผูส้ อบบัญชี จากบริษทั เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด และบริษทั อินเวนท์ เทค ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นผูด้ าํ เนินการลงทะเบียนและตรวจสอบผลการนับ คะแนนในการลงคะแนนในแต่ละวาระและทีปรึกษาทางกฎหมาย คุณธัญพงศ์ ลิPมวงศ์ยตุ ิ บริษทั อินเทลลิเจ้นท์ พาร์ทเนอร์ส จํากัด เข้าร่ าร่วมประชุม เป็ นผูร้ ่วมสังเกตุการณ์การประชุม ในครังP นีP บริษัทได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมผูถ้ ือหุน้ ทัPงภาษาไทยและภาษาอังกฤษไว้ทีเว็ บไซต์ของ บริษทั ที www.ubisasia.com และได้แจ้งให้ผถู้ ือหุน้ รับทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ณ วันที 10 มีนาคม 2559 เพือให้ผถู้ ือหุน้ ได้ศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุม 30 วัน และได้เผยแพร่รายงานข้อมูลบริษทั และรายงานประจําปี ณ วันที 23 มีนาคม 2559 บริษทั ได้แจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการ ารในการเข้ ในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ ือหุน้ พร้อมทัPงข้อมูลสําหรับแต่ ละวาระการประชุมอย่างเพียงพอต่อการตัดสินใจ ให้ผถู้ ือหุน้ ทราบในหนังสือเชิญประชุม บริษทั ได้จดั เตรียมข้อมูลทางเอกสารในการประกอบการมอบอํานาจ และเตรียมหนังสือมอบ อํา นาจ แบบ ข. ข และแบบ ค. พร้อมเสนอชือกรรมการอิสระให้ ะให้ผ ถู้ ือ หุน้ พิจ ารณา รวมถึง จัดเตรียมอากรแสตมป์ เพืออํานวยความสะดวกโดยไม่คิดมูลค่า บริษทั ได้เผยแพร่รายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 25599 ทางเว็บไซต์ของบริษทั ที www.ubisasia.com และได้แจ้งให้ผถู้ ือหุน้ รับทราบผ่านระบบข่ บบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย ณ วันที 25 เมษายน 2559 ภายหลังการประชุม 14 วัน • การปฏิบต ั ิต่อผูถ้ ือหน้ ุ อย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายทีจะปฏิบัตติ ่อผูถ้ ือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อย นักลงทุนสถาบัน หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ เพือให้เกิดความเท่าเทียมกันอย่างแท้จริง วันที 15 ตุลาคม 2558 บริษทั เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุน้ ได้เสนอเรืองเพือบรรจุเป็ นวาระการ ประชุม และเสนอชือบุคคลเพือรับการเลือกตังP เป็ นกรรมการบริษทั เป็ นการล่วงหน้า สําหรับ การประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 2559 โดยกําหนดช่วงเวลาเสนอตังP แต่วนั ที 15 ตุลาคม 2558 ถึงวันที 31 มกราคม 2559 โดยมีการแจ้งให้ผถู้ ือหุน้ รับทราบผ่านระบบข่าวของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมทังP เผยแพร่หลักเกณฑ์และขันP ตอนของเรืองดังกล่าว ไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ที www.ubisasia.com

44 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


วันที 24 กุมภาพันธ์ 2559 บริษทั ได้แจ้งผลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ไม่มีผ ู้ ถือหุ้นท่ านใดเสนอวาระการประชุมหรือรายชือบุคคลเพื อรับการเลือ กตัPงเป็ นกรรมการ บริษทั เป็ นการล่วงหน้า บริษทั ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมแนบหนังสือมอบฉันทะ แบบ ขข. และแบบ ค. ซึงเป็ น แบบทีผูถ้ ือ หุน้ สามารถกํ สามารถกําหนดการลงคะแนนเสียงได้เองในแต่ละวาระ เพื อให้ผถู้ ือหุน้ ทีไม่ สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองสามารถมอบอํานาจให้บคุ คลอืน หรือกรรมการอิ กรรมการ สระเพือ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน ผูถ้ ือหุน้ สามารถ download หนังสือมอบฉันทะได้ อีกทาง ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั บริษัทใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการลงทะเบียน และการตรวจนับคะแนนเสียง รวมทัPงการใช้ บัตรลงคะแนนเพืออํานวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ โดยเฉพาะวาระการเลือกตังP กรรมการบัตร ลงคะแนนจะเป็ นแบบลงคะแนนเลือกกรรมการเป็ นรายบุคคล และบริษทั ได้ทาํ การเก็บบัตร ลงคะแนนหลังจบวาระจากผูถ้ ือหุน้ ทุกท่านทีเข้าร่วมการประชุม บริษัท ไม่ได้เ พิ มวาระการประชุม หรือ เปลียนแปลงข้อมูลสํา คัญ โดยไม่ได้แจ้งให้ผถู้ ือหุน้ รับทราบล่วงหน้าในการประชุมผูถ้ ือหุน้ สามัญประจําปี 2559 บริษัทเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุน้ ได้มีการแสดงความเห็ นและตัPงคําถามในทีประชุมจนได้ข อ้ มูล ครบถ้วน วน ก่อนการลงมติใดๆในแต่ละวาระการประชุม คณะกรรมการบริษัท กําหนดข้อห้ามการใช้ขอ้ มูลภายใน ในฐานะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงานทีเกียวข้อง ในการแสวงหาประโยชน์ในการซืPอขายหุน้ ของบริษทั ให้บคุ คลอืนเพือ ประโยชน์ในการซืPอขายหุน้ บริษทั ทัPงนีกP รรมการ และผุบ้ ริหารจะต้ ารจะต้องทํารายงานการการถือ หลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พพ.ศ. 2551 คณะกรรมการบริษทั กําหนดให้กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร รายงานการมีส่วนได้เสียของ ตนเองและบุคคลทีมีความเกียวข้อง ตามมาตรา 89/14 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และ ตลาดหลั าดหลัก ทรัพ ย์ พ.ศ. พ 2551 ภายในเดือ นธันวาคม ของทุก ปี หรื อรายงานทันทีเ มือมี เหตุการณ์เกิดขึนP • การคํานึงถึงบทบาทของผูม ้ ีสว่ นได้เสีย บริษทั ดําเนินธุรกิจการค้าโดยคํานึงถึงสิทธิและความเป็ นธรรมต่อผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียภายในบริษทั อาทิเ ช่น พนักงานและผูบ้ ริหารของบริษัท หรือผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก บริษทั อาทิเช่น คู่แข่ง คูค่ า้ และลูกค้า เป็ นต้น ตามแนวปฏิบตั ทิ ได้ ี กาํ หนดไว้ในคู่มือจรรยาบรรณทางธุรกิจของ บริษัท โดยบริษทั ตระหนักว่าการสนับสนุนและข้อเสนอแนะจากผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มจะเป็ จะ นประโยชน์ใน การดําเนินงานและการพัฒนาธุรกิจของบริษัท ดังนันP จึงได้ดําเนิน การดูแลและติดตามให้มีการปฏิบัติต าม กฏหมายและข้อกําหนดทีเกียวข้อง ให้ครอบคลุมถึงผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุม่ โดยมีรายละเอียด ดังนีP พนักงาน บริษัทให้ความสําคัญ ต่อพนักงาน โดยตระหนักว่าพนักงานถือเป็ นทรัพยากรที สําคัญทีจะนําพาองค์กรให้ประสบความสําเร็จ บริษทั จึงมุง่ เน้นให้มีการพัฒนาศักยภาพของ พนักงานอย่างต่อ เนือง ด้วยการกําหนดแผนการอบรมประจําปี ทัPงทีเป็ นการจัดขึPน เอง ภายในองค์กร หรือภายนอกองค์กรก็ตาม รวมถึงการดูแลใส่ใจสภาพแวดล้อมมในทีทํางานให้ มีความเหมาะสม และปลอดภัยต่อการทํางานมากทีสุด พร้อมทังP ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานอย่างเป็ น ธรรม ให้ได้รบั ผลตอบแทนและสวัสดิการทีเหมาะสม ด้วยการจัดให้ ดให้มสี วัสดิการพนักงานเพือ

45 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ทีดี เช่น กองทุนสํารองเลีPย งชีพ เบีPย ขยัน ห้องพยาบาล การตรว การตรวจ สุขภาพประจําปี ประกันอุบตั เิ หตุและประกันสุขภาพ เครืองแบบพนักงาน รวมถึงการจัดให้มี การท่องเทียวประจําปี และการจัดการแข่งขันกีฬาระหว่างสํานักงานใหญ่และโรงงาน ทัPงนีP บริษทั ยังกําหนดนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานที เป็ นรูปธรรม และทําการแต่ การแต่งตัPงคณะกรรมการความปลอดภัยเพือดูแลการทํางานให้เกิด ความปลอดภัยสูงสุด ตลอดจนมีการติดตังP ป้ายแสดงสถิติการเกิดอุบตั ิเหตุจากการทํางาน และจัดให้มีการฝึ กอบรมหลักสูตรด้านความปลอดภัย พร้อมทัPงได้เตรียมแผนป้องกันและ ระงับอัคคีภัย เส้นทางหนีไฟ การตรวจสอบอุปกรณ์ดบั เพลิ เพลิงและสัญญาณแจ้งเหตุ เพือให้ พนักงานมีสภาพแวดล้อมในการทํางานทีปลอดภัย ลูกค้า บริษัทยึดมันการผลิตสินค้าและการบริการทีได้มาตรฐาน พร้อมมุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพสินค้าอย่างต่อเนือง การกําหนดราคาขายทีเหมาะสมและยุตธิ รรม เพือตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า รวมถึงกา การให้ รให้สาํ คัญต่อการบริการหลังการขายทีมีประสิทธิภาพ ให้ลกู ค้าเกิดความเข้าใจและสามารถใช้งานสินค้าได้อย่างถูกต้อง เป็ นการสร้างความพึงพอใจ ให้ลกู ค้า โดยบริษทั จัดให้มีมีช่องทางแสดงความคิดเห็ นหรือข้อร้องเรียนต่างๆ ผ่านทางเวบ ไซต์ข องบริษัท โดยจะส่งตรงไปยังผูบ้ ริหารของบริษัท อีกทัPงยังเปิ ดให้ลกู ค้าสามารถเข้า เยียมชมกระบวนการผลิ ต หรือสอบทานกระบวนการการผลิต ตามมาตรฐานระบบการ บริหารคุณภาพทีกําหนดได้ ผูถ้ ือหุน้ บริษทั เคารพต่อสิทธิaขนัP พืPนฐานตามทีกฏหมายกําหนดไว้ ข้อบังคับและจริยธรรม ของบริษทั มีการค ารควบคุ วบคุมการทํารายการระหว่างกัน มีมาตรการป้ องกันความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ และการป้องกัน การนํา ข้อ มูล ภายในไปใช้เ พื อประโยชน์ส่ ว นตน และบริษัท ดําเนินงานด้วยการสร้างผลตอบแทนทีเหมาะสมให้แก่ผถู้ ือหุน้ นอกจากนีPในการจัดประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี บริษทั คํานึงถึงสิทธิaในการออกเสี นการออกเสียงลงคะแนนของผูถ้ ือหุน้ และให้ผ ู้ ถือหุน้ ซักถามและแสดงความเห็นอย่างเป็ นอิสระ โดยคณะกรรมการบริษทั และคณะผูบ้ ริหาร ของบริษทั จะตอบข้อซักถามและให้ขอ้ มูลอย่างครบถ้วน คู่แข่ง บริษทั มีนโยบายในการปฏิบัติต่อคู่แข่งอย่างสุจริตและเป็ นธรรม ตามจริยธรรมทาง การค้า และภายใต้ และ ภายใต้ก รอบกฏหมายอย่ างเคร่งครัด จึ งมีข อ้ กํา หนดในการปฏิ บัติง านตาม นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน คู่คา้ บริษทั มีนโยบายปฏิบัติต่อคู่คา้ ด้วยความเป็ นธรรม เสมอภาคและปฏิบัติต่อคู่คา้ ตาม สัญ ญา และ และ/หรื หรือ ข้อ ตกลงที ทํา ร่ ว มกัน ภายใต้เ งือนไขทางการค้า โดยบริษัท ได้กํา หนด ระเบีบียบการจัดซืPอจัดจ้างให้มีความสอดคล้องกับระบบคุณภาพ ISO9001 และคัดเลือกคู่คา้ ทีดําเนินธุรกิจไม่ขดั ต่อข้อกฏหมายและมีแนวปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอ นามัย ตลอดจนคู่คา้ ทีตระหนักถึงการดําเนินธุรกิจด้วยความเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม สิงแวดล้อม บริษัทกําหนดแ หนดแนวทางในการดํ นวทางในการดําเนิน ธุรกิจ ภายใต้กรอบความรับผิดชอบต่อ สภาพแวดล้อม ชุมชน และสังคม โดยเน้นระบบการผลิตทีเป็ นมิตรต่อชุมชนด้วยการควบคุม การผลิตให้เป็ นไปตามกระบวนการผลิตทีดีตามข้อกําหนดของนิคมอุตสาหกรรมฯ พร้อมทัPง มีนโยบายในการตรวจสอบคุณภาพพสิงแวดล้อมจากผูเ้ ชียวชาญภา ยวชาญภายนอก ทังP นีบP ริษทั ไม่เคย มีข อ้ พิ พาทกับชุม ชนหรือ พนัก งาน ส่วนด้า นการสนับสนุน กิจ กรรมที เกียวข้องกับ ชุมชน บริษัทก็ ใ ห้ความสํา คัญ เช่น โครงการเชิญ ชวนพนักงานร่วมบริจาคแบ่งปั นให้แก่ผไู้ ด้รับ ผลกระทบจากอุทกภัยทางภาคใต้ของประเทศ เป็ นต้น

46 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


เจ้าหนีกP ารค้า/สถาบันการเงิน บริษทั มีการปฏิบัติตอ่ เจ้าหน้าทีตามเงือนไขหรือข้อตกลงทาง การค้า รวมถึ ง การปฏิบั ติต ามเงือนไขในสั ญ ญาทีจั ด ทํา ขึPน ระหว่ า งบริษัท และธนาคาร พาณิชย์หรือสถาบันการเงินด้วยดีมาตลอด โดยบริษัทไม่เคยมีขอ้ ขัดแย้งตลอดระยะเวลาที ผ่านมา และสําหรับเจ้าหนีกP ารค้าบริษทั มีขอ้ กําหนดที ห ปฏิบตั ติ าม ISO 9001 เพือให้เกิดความ เป็ นธรรมแก่เจ้าหนีPการค้าทุกราย และยังคงรักษาความสัมพันธ์อันดี กอปรกับสามารถ สร้างความเชือมันและความน่าเชือถือให้บริษทั ได้เสมอมา ทรัพย์สินทางปั ญญา/ลิ ญา ลิข สิทธิa บริษัทไม่สนับสนุนกิจกรรมทีเกียวข้องกับการล่ว งละเมิด ทรัพย์สินทางปั ญญาด้วยการลอกเลียนแบบ หรือนําทรัพย์สินทางปั ญญาของผูอ้ ืนมาใช้ใน ธุรกิจโดยไม่ได้รับอนุญาต ทัPงนีPในปี 2559 บริษัทไม่มีการเกียวข้องกับการล่วงละเมิด ทรัพย์สินทางปั ญญาหรือลิขสิทธิaแต่อย่างใด การทุจริตคอร์รัปชัน บริษัทกําหนดแนวปฏิบัติเกียวกับการกํากับดูแลและควบคุมดูแลเพือ ป้องกันและติดตามความเสียงจากการทุจริตคอร์รัปชัน โดยจัดให้มีการเผยแพร่นโยบายและ แนวปฏิบตั ใิ นการต่ นกา อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ช่องทางการมีส่วนร่วมของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย บริษทั กําหนดช่องทางการแจ้งเบาะแสการ กระทําความผิด (Whistle Blowing) เพือให้ผแู้ จ้งเรืองร้องเรียนกับบริษทั ได้รับความคุม้ ครอง อย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม ตลอดจนได้รับการป้ องกันการถูกกลันแกล้วอันเนืองมาจาก การร้องเรียนดังกล่าว โดยหากผูใ้ ดมีเบาะแสเกียวกับการทุจริตคอร์รัปชัน การกระทําผิด กฏหมาย จรรยาบรรณธุรกิจหรือพบเห็ นระบบการควบคุมภายในทีบกพร่องของบริษทั ซึง อาจเป็ นเหตุใ ห้เ กิด ความเสียง/ความเสี ยง ความเสีย หายต่อ การดําเนินธุรกิจ โดยสามารถแจ้งผ่า น ช่องทางดังนีP ส่งจดหมายทางไปรษณียม์ าทีบริษทั เลขที 807/1 ชันP 6 ถนนพระราม 3 แขวง บางโพงพาง เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10120 ส่งจดหมายอีเล็กโทรนิกส์มาทีประธานกรรมการบริหาร E--MAIL : D2B@ubisasia.com ส่งผ่านทางเวบไซต์ของบริษทั www.ubisasia.com/contactus ในกรณีรอ้ งเรียนพนักงาน ข้อร้องเรียนจะส่งตรงไปถึงประธานกรรมการบริหาร ตามทีถูก ตังP ค่าไว้ในระบบบนเวบไซต์ของบริษทั ในกรณีรอ้ งเรียนผูบ้ ริหาร ข้อร้องเรียนจะส่งตรงไปถึงประธานกรรมการตรวจสอบ ตามที ถูกตังP ค่าไว้ในระบบบนเวบไซต์ของบริษทั ทังP นีP บริษทั ได้ทาํ การเปิ ดเผยถึงกระบวนการทีชัดเจนในการจัดการกับเรืองทีมีการร้องเรียน โดยการระบุไว้ในคูม่ อื นโยบายและแนวปฏิบตั ิ เรือง การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน และในปี 2559 บริษทั ไม่ได้รบั ข้อร้องเรียนจากผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียแต่อย่างใด • การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษทั ตระหนักถึงการเปิ ดเผยสารสนเทศทีมีความสําคัญของบริษทั ทังP ข้อมูลการเงินและข้อมูลสําคัญ อืนซึงถือเป็ นนโยบายในการกํากับดูแลกิจการของบริษัท ได้อย่างครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส เป็ นไปตาม เกณฑ์ทีสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยให้ผถู้ ือหุน้ ได้รบั ทราบข้อมูลอย่างถูกต้องเท่าเทียมกันผ่านช่องทางต่างๆ เช่น รายงานประจําปี แบบแสดง รายการข้อมูลประจําปี (แบบ แบบ 56-1) ระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทังP

47 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


เผยแพร่บนเวบไซต์ของบริษัท (www.ubisasia.com) ซึงปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปั จจุบันอยู่เสมอ โดยบริษัทได้ เปิ ดเผยข้อมูลเพือแสดงความโปร่งใสในการดําเนินธุรกิจ ดังนีP บริษัทได้มีการกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจที บริษทั ต้องปฏิบตั ติ อ่ สังคมและรับผิดชอ ชอบต่อสิงแวดล้อม บริษัทได้ดาํ เนินการแต่งตังP คณะกรรมการบริหารความเสียงในเดือนมกราคม 2559 เพือ ปรับปรุงนโยบายการบริหารความเสียงให้เป็ นระบบครอบคลุมทุกด้านอย่างเหมาะสม พร้อม ทัP ง กํา หนดนโยบายการบริ ห ารความเสี ยง เป็ นการส่ ง เสริ ม การบริ ห ารงานและการ ดําเนินงานภายใต้การดู ารดูแลความเสียงและการป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน ไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริษทั มีการเปิ ดเผย รายชือกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงบทบาทหน้าที ขอบเขตอํานาจ และวาระการดํารงตําแหน่งบทบาทหน้าทีของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุ และคณะก ด ย่อย จํานวนครัPงทีจัดการประชุม จํานวนครัPงทีกรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมตลอดปี 2559 คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความเห็ นต่องบการเงิน ถูกต้อง ครบถ้วน มีความน่าเชือถือ และ การเปิ ดเผยข้อมูลครบถ้วนและเพียงพอ เพือให้นกั ลงทุนใช้ประกอบการตัดสินใจ จึงจัดทํา รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินไว้ในรายงานประจําปี 2559 และนําส่งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ บริษทั อํานวยความสะดวกในการปฏิบัตงิ านต่อผูส้ อบบัญชีอิสระ และให้ความร่วมมือในการ เปิ ดเผยข้อมูลต่างๆทีถูกต้องและโปร่งใส เพือให้ผสู้ อบบัญชีสามารถแสดงความเห็ นต่องบ การเงินได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และอย่างอิสระ เพือให้ผถู้ อื หุน้ และนักลงทุนสามารถ สามารถเชือถือ ในข้อมูลของบริษทั ได้อย่างมันใจ บริษทั เปิ ดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร โดยคณะกรรมการสรร หาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็ นผูก้ าํ หนดโครงสร้างค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร โดยพิจารณาจากการเปรียบเทียบกับระดับทีปฏิบัตอิ ยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน จากข้อมูลที สํารวจโดยหน่วยงานทีน่าเชือถือ เช่น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย เป็ นต้น และพิจารณาร่วมกับผลประกอบการของบริษทั และ หน้าทีความรับผิดชอบของกรรมการ โดยนําเสนอให้ทีประชุมผูถ้ ือหุน้ เป็ นผูอ้ นุมตั ิ ยกเว้น ส่วนของกรรมการผู นของกรรมการผูจ้ ดั การจะให้คณะกรรมการบริษทั เป็ นผูอ้ นุมตั ิ คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดทํารายงานคณะกรรมการตรวจสอบเพือให้ความเห็ นต่อ ระบบการควบคุมภายใน และการเสนอรายชือผูส้ อบบัญชี ไว้ในรายงานประจําปี 2559 คณะกรรมการบริ ษัท กําหนดนโยบายให้ก รรมการและผูบ้ ริ ห ารต้อ งรายงานให้บ ริษัท รับทราบถึงการมีส่วนได้ส่วนเสียของตนเองและบุคคลทีมีความเกียวข้องนับแต่วันทีได้รับ การแต่ ง ตัPง ซึ งเลขานุก ารบริ ษัท เป็ นผูจ้ ั ด ทํา เอกสารการมี ส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย รายงานให้ คณะกรรมการบริษทั รับทราบ โดยในปี 2559 กรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารไม่มีส่วนได้ส่วน เสี ย แต่ อ ย่ า งใด และหากมี และหา กมี ก รรมการบริ ษั ท หรื อ ผูบ้ ริ ห ารมีส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย ในเรื องใด กรรมการทีมีส่วนได้เสียจะไม่มสี ่วนร่วมในการตัดสินใจในวาระนันP ๆ โดยบริษทั จะแจ้งมติที ประชุมผ่านระบบเผยแพร่ ข อ้ มูล ของตลาดหลัก ทรัพ ย์แห่ ง ประเทศไทยเพื อให้ผ ถู้ ือ หุ้น ได้ รับทราบทัวกัน

48 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


คณะกรรมการบริษทั กําหนดให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ในกรณีที เกิดรายการระหว่า งกันขึPน โดยบริษัทจะนํา เสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาให้ความเห็ นชอบก่อนทีจะเสนอต่อทีประชุมคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมัติ ตามลําดับ ซึงทําให้คณะกรรมการบริษทั ได้รับทราบรายละเอี บทราบรายละเอียดการทํารายการก่อนทีจะมี การแจ้งข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทจัดให้มีผรู้ ับผิดชอบงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพือเป็ นตัวแทนในการสือสารกับผูล้ งทุน ประเภทสถาบัน ผูถ้ ือหุน้ รวมทัPงนักวิเคราะห์ทัวไป และภาครัฐ ทัPงนีPบริษัท ได้กําหนดให้ นายณวรรธน์ รธน์ ตริยพงษ์พัฒ นา กรรมการผูจ้ ัดการ เป็ นผูแ้ ทนผูบ้ ริ หารในการให้ข อ้ มูล ข่า วสาร ร่ วมกับนักลงทุนสัมพันธ์ ผ่านทาง nawat@ubisasia.com และ/หรือ หมายเลข โทรศัพท์ 02-683 02 0008 โดยในปี 2559 บริษัทได้เข้าร่วมกิจกรรม Opportunity Day บริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุน ประจําไตรมาสที 4/2558 เมือวันที 10 มีนาคม 2559 และ ประจําไตรมาสที 2/2559 เมือวันที 25 สิงหาคม 2559 ณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย โดยนายฉัฐ ภูมิ ขัน ติ วิ ริ ย ะ ประธานกรรมการบริ ษัท /ประธานกรรมการบริ ประธานกรรมการบริ ห าร นายณวรรธน์ ตริยพงศ์พัฒ นา กรรม กรรมการผู การผูจ้ ัดการ และนายอัครวิน ทร์ บุญ มงคลรัศ มิa เลขานุการบริษทั /รองกรรมการผูจ้ ดั การสายงานการเงิน-บับัญชี และเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ร่วมให้ขอ้ มูลเกียวกับบริษทั ผลประกอบการและทิศทางธุรกิจ ให้แก่นกั วิเคราะห์ นักลงทุน สือมวลชน และผูส้ นใจทัวไปที มาร่ ว มงาน นอกจากนีPยังเปิ ง เปิ ดโอกาสให้ผ ถู้ ือ หุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ เข้าเยียมชมกิจการ กระบวนการผลิตและสินค้าของบริษทั เพือรับทราบข้อมูล การบริหารงานจากคณะผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั เมือวันที 3 พฤษภาคม 2559 คณะกรรมการได้กาํ หนดและจัดให้มชี อ่ งทางทีผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุม่ สามารถติ สามาร ดต่อร้องเรียน ในเรืองทีอาจมีปั ญหา (Whistle Blowing) กับกรรมการโดยตรงผ่านทาง email address ของ กรรมการ ทัPงนีบP ริษทั อยู่ระหว่างการดําเนินการปรับปรุง เวบไซต์ส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ ซึง จะมีชอ่ งทางในการติดต่อกับกรรมการอิสระได้โดยตรงและสะดวกยิงขึนP ทัPงนีคP ณะกรรมการ บริษทั ได้กาํ หนดมาตรการรักษาความลับของผูร้ อ้ งเรียนไว้เป็ นความลับ ตามทีบริษัทได้ดาํ เนินการสมัครเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัตขิ องภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน (Collective Anti-Corruption : CAC) ของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริ ษัท ไทย เมือวั น ที 15 กุม ภาพั นธ์ 2559 บริ ษัท จึ ง ได้ดํา เนินการปรับ ปรุง นโยบายทีเกียวข้องทัPงหมด และกําหนดแผนการดําเนินงาน โดยได้ผ่านมติการอนุมตั ิจากที ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครังP ที 16/2559 เมือวันที 2 กันยายน 2559 โดยบริษัทได้ทาํ การยืนแบบประเมินตนเองตามมาตรการต่อต้านคอร์รัปชัน ครัPงที 1 ในรอบไตรมาสที 3/2559 และทําการยืนเอกสารประกอบเพิมเติมตามทีคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ครังP ที 2 ในรอบไตรมาสที 4/2559 ทัPงนีP บริษทั ตระหนักและให้ความสําคัญต่อการดําเนินงานภายใต้มาตรการการต่ าตรการก อต้านคอร์รัปชัน อย่างจริงจังทุกรูปแบบ ด้วยคํา นึงเห็ นว่าปั ญ หาการทุจริต คอร์รัปชันนัPนถือเป็ นปั ญหาที ร้ายแรงและก่อเกิดผลกระทบต่างๆต่อการเติบโตและการพัฒนาของประเทศไทย บริษทั จึง มุ่งมันทีจะทําการพัฒนาระบบป้องกันการทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กรให้เหมาะสมและให้ สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบตั ทิ ีดีตอ่ ไป

49 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


• ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยบุคคลทีมีความรู้ ทักษะ และความเชียวชาญทีหลากหลาย และมี ภาวะผูน้ าํ ซึงเป็ นทียอมรับ โดยคณะกรรมการบริษัทจะมีส่วนร่วมในการกําหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ นโยบายแนวทางในการประกอบธุร กิจ และกํา กับ ดูแ ลการปฏิบั ติ ง านของบริ ษัทให้เ ป็ นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของทีประชุมผูถ้ ือหุน้ และเพื อการกํากับดูแลกิจการทีดี บริษัทได้ปฏิบัติต าม หลักการและแนวทางทีตลาดหลักทรพัยแ์ ห่งประเทศไทยกําหนดดังนีP นโยบายเกียวกั วกับการกํากับดแู ล คณะกรรมการของบริษัทคํานึงถึงความสําคัญของนโยบายเกียวกับการกํากับดูแลกิจการทีดี (The Principles of Good Corporate Governance) โดยกําหนดเป็ นนโยบายเพือให้การดําเนินธุรกิจบริษทั มีการกํากับ ดูแลกิจการทีโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ และเพิมความเชือมันให้แก่ผลู้ งทุน บริษัทจะเปิ ดเผยข้อมูลให้กับ สาธารณะและผูถ้ ือหุน้ อย่างสมําเสมอ นอกจากนีPบริษัท ยังให้ความสําคัญ ต่อระบบการควบคุมภายในและ ตรวจสอบภายใน ส่วนการบริหารความเสียงบริษัทพยายามควบคุมและบริหารความเสียงอย่างใกล้ชิด โดย คํานึงถึงเรืองจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจเป็ นสําคัญ และดํารงไว้ซึงความเป็ นธรรมต่อคู่คา้ ผูถ้ ือหุน้ และผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุม่ ภาวะผูน้ ําและวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการบริษทั มีบทบาทเพือให้เป็ นไปตามมาตรฐานการกํากับดูแลกิจการทีดี ดังนีP กําหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้ าหมาย และแผนธุรกิจและจัดทํางบประมาณของบริษทั กํากับดูแลและติดตามผลการปฏิบตั งิ านของฝ่ ายบริหารอย่างสมําเสมอให้เป็ นไปตามแผนงาน เพือบรรลุเป้าหมายทีวางไว้ ดูแลให้มีระบบควบคุมภายในทีเพียงพอและติดตามอย่างสมําเสมอ โดยบริษัท ตรวจสอบ ภายในธรรมนิติ จํากัด ซึงเป็ นผูเ้ ป็ นทําการตรวจสอบประเมินและท และทบทวนระบบการควบคุม ภายในของบริษทั ในการตรวจสอบภายในประจําปี ดูแลให้มีมาตรการบริหารความเสียงทีเหมาะสม และติดตามอย่างสมําเสมอ เพื อให้บริษัท ได้รบั ประโยชน์สงู สุด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพือป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการได้ดแู ลอย่างรอบคอบ เมือเกิดรายการทีอาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกําหนดนโยบายและวิธีการดูแลไม่ให้ผบู้ ริหารและผูม้ ีทีเกียวข้องนําข้อมูล ภายในของบริษทั ไปใช้เพือผลประโยชน์ส่วนตน โดยในการทํารายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จะต้องผ่านความเห็ นชอบจากคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะต้ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะต้อ งเห็ นชอบด้วยกับ รายการระหว่างกันนัPน ทัPงนีP การอนุมตั ิการเข้าทํารายการระหว่างกันจะคํานึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริษัท ความยุตธิ รรม ความสมเหตุสมผลของรายการและเป็ นไปตามราคาตลาด นอกจากนีP ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียหรือ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรายการดั นรายการดังกล่าวจะไม่สามารถมีส่วนร่วมในการอนุมตั ริ ายการระหว่าง กันในลัก ษณะดังกล่าวได้ เพื อความเป็ นธรรม และเพื อผลประโยชน์สงู สุดของบริษัท และหากเป็ นรายการ ระหว่างกันทีเข้าข่ายตามข้อบังคับ ประกาศ คําสัง หรือกฏเกณฑ์ บริษัทจะปฏิบัติตามข้อกําหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย งประเทศไทย นอกจากนีบP ริษทั ยังกําหนดแนวทางในการป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษัท โดยกําหนดให้เฉพาะบุคคลทีได้รบั มอบหมายเท่านันP ทีจะสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้เท่านันP โดยทังP นีP

50 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


กรรมการและผูบ้ ริห ารของบริษัท ทุกคนทราบถึงภาระหน้าที และความรับผิดชอบต่อข้อมูลภายใน และไม่ นํามาใช้ประโยชน์ส่วนตน รวมทัPงเพือการซืPอขายหลักทรัพย์ และบริษทั ได้กาํ หนดบทลงโทษทางวินยั ไว้หากมี การฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ าม จริยธรรมทางธ ุรกิจ บริษทั ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการสร้างค่านิยมเกียวกับจริยธรรมเพือให้เป็ นวัฒนธรรมของ องค์กรจึงได้จัดทําจรรยาบรรณทางธุรกิจเป็ นลายลักษณ์อักษรขึPน เพือส่งเสริมพฤติกรรมทีแสดงออกถึง ความรับผิดชอบต่อหน้าทีการงาน ผูถ้ ือหุน้ เพือนร่วมงาน ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย และสังคม รวมถึงการหลีกเหลี ยงพฤติกรรมใดๆทีอาจเสียงต่อการขัดจริยธรรม และอาจเป็ นเหตุให้เ ป็ นการขัดต่อกฏหมายด้วย โดยได้ กําหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจไว้ 10 ประการ ประกอบด้วย 1) ความซือสัตย์ 2) ความไว้วางใจ 3) การ รักษาความลับ 4) ความยึดมันในวิชาชีพ 5) บุคคลากร 6) ความเป็ นผูน้ าํ 7) ความเป็ นเจ้าของ 8) หลักธรรม มาภิบาล 9) การต่อต้านการคอร์รปั ชัน 10) การรายงานการละเมิดจรรยาบรรณของพนักงาน การถ่วงด ุลของกรรมการทีไม่เป็นผูบ้ ริหาร บริษทั มีคณะกรรมการตรวจสอบซึงเป็ นกรรมการตรวจสอบทีมีความเป็ นอิสระจํานวน 3 คน และยัง มีกรรมการทีเป็ นกรรมการอิสระอีก 1 คน บริษทั จึงมีกรรมการอิสระทัPงหมด 4 คน จากจํานวนกรรมการ บริษทั ทังP หมด 9 คน ซึงมากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทังP คณะ ซึงจะช่วยถ่วงดุลอํานาจของกรรมการบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร บริษัทกําหนดค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษัทอยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม และเหมาะสมกับ หน้าทีและความรับผิดชอบทีได้รับมอบหมาย รวมทังP อยู่ในระดับทีสูงเพียงพอทีจะจูงใจและรักษากรรมการทีมี คุณ สมบั ติ ต ามที บริ ษั ท ต้อ งการได้ สํา หรั บ ค่ า ตอบแทนผู้บ ริ ห ารเป็ นไปตามหลั ก การและนโยบายที คณะกรรมการบริษทั กําหนด โดยเชือมโยงกับผลการดําเนินงานของบริษทั และผลการดําเนินงานของผูบ้ ริหาร แต่ละคน การประช ุมคณะกรรมการ บริษทั ได้กาํ หนดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อย 3 เดือน/ครั ครังP และมีการประชุมพิเศษ เพิมตามความจําเป็ น โดยมีการกําหนดวาระชัดเจนล่วงหน้า และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเป็ น ประจํา ในการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทตามทีกําหนดวันประชุมแบบรายปี จะมีการจัดทําหนังสือเชิญ ประชุม พร้อ มเอกสารประกอบก่อ นการประชุม เป็ นระยะเวลาล่ ว งหน้า 7 วั น ก่อ นการประชุม เพื อให้ คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม ระบบการควบค ุมภายใน บริษทั ได้ให้ความสําคัญต่อระบบควบคุมภายในทังP ระดับบริหาร และระดับพนักงานผูป้ ฏิบตั ิงานเพือให้ มีประสิทธิภาพจึงได้กาํ หนดภาระหน้าที อํานาจการดําเนินการของผูป้ ฏิบัติงาน ผูบ้ ริหาร ไว้เป็ นลายลักษณ์ อักษรอย่างชัดเจน มีก ารควบคุมดูแ ลการใช้ทรัพ ย์สินของบริษัทให้เกิดประโยชน์ และมีการแบ่งแยกหน้า ที ผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูต้ ดิ ตาม ควบคุมและประเมินผลออกจากกันเพือให้เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกันอย่าง เหมาะสม นอกจากนียP ังมีการควบคุมภายในทีเกียวกับระบบการเงิน โดยบริษัทได้กาํ หนดอํานาจอนุมัติของ กรรมการ ซึงมีการกําหนดวงเงินผูม้ ีอาํ นาจอนุมตั ิ โดยทําการกําหนดวงเงินตามรายการทีขออนุมตั ิ อาทิเช่น รายการค่าใช้จ่ายทางการค้าทีเป็ นปกติของธุรกิจ และการซือP วัตถุดบิ เพือการผลิตหรือการซืPอสินค้าเพือ

51 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


จําหน่าย รวมถึงการทําสัญญาทีมีภาระผูกพัน และรายการซืPอขายทรัพย์สิน หรือการจัดซืPอจัดจ้าง หรือการ ก่อสร้างหรือการเช่าเพือใช้ประกอบธุรกิจหลักปกติตามวัตถุประสงค์ของบริษทั ฯและการให้เช่าทรัพย์สินเพือหา รายได้ โดยคํานึงความเหมาะสมและเพือให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจั หารจัดการ และสอดคล้องกับการ ดําเนินธุรกิจปั จจุบันของบริษทั เป็ นหลัก พร้อมทัPงกําหนดเงือนไขต่างๆเพิมเติม ดังนีP 1) ผูม้ ีอาํ นาจอนุมัติไม่ สามารถอนุมตั ใิ ห้ตนเองได้ 2) การปฏิบตั ติ ามขอบเขตวงเงินอนุมตั ทิ กํี าหนดต้องอยู่ภายใต้กฏระเบียบ ประกาศ ข้อ กํา หนดและคู่มื อ ปฏิ บัติต่ต่า งๆของบริ ษัท สํา นัก งานคณะกรรมการกํา กับ ตลาดหลัก ทรัพ ย์แ ละตลาด หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) อํานาจของคณะกรรมการบริษทั ย่อยทีได้รับการแต่งตังP จากบริษทั ให้คณะกรรมการบริหารเป็ นผูก้ าํ หนดแต่ไม่เกินไปกว่าอํานาจอนุมตั ิของคณะกรรมการบริหาร ถ้า เกินให้ข ออนุมัมัติจากคณะกรรมการบริษัท อีกทัPงยังดูแลให้มีระบบควบคุมภายในอืนๆทีเพี ยงพอ และมีการ ติดตามอย่างสมําเสมอ โดยบริษทั ตรวจสอบภายในธรรมนิติ จํากัด ซึงเป็ นผูเ้ ป็ นทําการตรวจสอบประเมินและ ทบทวนระบบการควบคุมภายในของบริษทั ในการตรวจสอบภายในประจําปี รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเป็ นผูร้ ับผิด ชอบต่อการดําเนินธุรกิจทีสําคัญ และการกํา กับดูแลกิจการ งบ การเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินทีปรากฏต่อสาธารณะชนในแบบแสดง รายการข้อมูลประจําปี และรายงานประจําปี โดยการจัดทํางบการเงินดังกล่าวให้เป็ นไปตามมาตรฐานการ บัญชีทีรับรองทัวไปในประเทศไทย โดยเลือกนโยบายบัญชีทีเหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่างสมําเสมอ และใช้ดลุ ย พินจิ อย่างระมัดระวัง และประมาณการทีดีทีสุดในการจัดทํา รวมทังP มีการเปิ ดเผยข้อมูลสําคัญอย่างเพียงพอใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน การประกอบกิจการด้วยความเป วยความเป็นธรรม และการต่อต้านการท ุจริตคอร์รปั ชัน บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) หรือ “UBIS” มีอดุ มการณ์ในการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และ มีคณ ุ ธรรม โดยยึดมันในความรับผิดชอบต่อสังคมและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลทีดี และจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายและแนวปฏิ อดจนนโยบายและแนวปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆของบริษทั บริษทั ได้เข้าร่วมโครงการ “แนวร่ แนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันน” เพือแสดงเจตนารมณ์และความมุง่ มันในการต่อต้านการคอร์รัปชันในทุกรูปแบบ ดังนันP บริษทั จึงมีนโยบายให้ คณะกรรมการ ะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ดําเนินการปฏิบัตติ ามกฏหมายอย่างเคร่งครัด และมีความ มุ่งมันในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน โดยตระหนักดีว่าการทุจริตและการคอร์รัปชันนันP เป็ นภัยร้ายแรงที ทําลายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็ นธรรม รวมทังP ก่อให้เกิดความเสียหายต่อการพั อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ โดยบริ ษัทมีนโยบายการกําหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิ บัติ และข้อกํา หนดในการดํา เนิน การที เหมาะสม เพื อป้ องกัน การคอร์รัป ชันกับ ทุก กิจ กรรมทางธุร กิจ ของบริ ษัท และเพื อให้ก ารตัด สิ น ใจการ ดําเนินการทางธุรกิจทีอาจมีความเสียงด้านการทุจริตคอร์ คอร์รัปชันได้รบั การพิจารณาและ ารณาและปฏิบัตอิ ย่างรอบคอบ จึงได้จดั ทํา “นโยบายการต่ นโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันน” เป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึนP เพือเป็ นแนวทางการปฏิบัตทิ ี ชัดเจนในการดําเนินธุรกิจ และพัฒนาสู่องค์กรแห่งความยังยืน นอกจากนีบP ริษทั ยังจัดให้มีชอ่ งทางการแจ้ งทาง งเบาะแสการกระทํ รกระทําผิดหรือร้องเรียนการทุ น จริตคอร์รัปชัน หากผูใ้ ดมีเบาะแสเกียวกับการทุจริตคอร์รปั ชันการกระทําผิดกฎหมาย จรรยาบรรณธุรกิจหรือพบเห็ นระบบ การควบคุมภายในทีบกพร่องของบริษทั ซึงอาจเป็ นเหตุให้เกิดความเสียง/ความเสี ยง ความเสียหายต่อการดําเนินธุรกิจ สามารถแจ้ง เบาะแสมายัง บริ ษัท ได้โ ดยตรงถึ ง ประธานกรรมการบริ ประธาน ษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ/ หรือกรรมการตรวจสอบทางใดทางหนึง ดังนีP

52 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ส่งจดหมายทางไปรษณียม์ าตามทีอยูบ่ ริษทั เลขที 807/1 ชันP ที 6 ถนนพระราม 3 บางโพงพาง ยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 ส่งจดหมายอิ งจดหมายอิเล็กโทรนิกส์มาทีประธานกรรมการบริหาร Email : D2B@ubisasia.com ผ่านทาง Website ของบริษทั www.ubisasia.com/ติดต่อเรา หรือ Contact Us ในกรณีรอ้ งเรียนพนักงาน ข้อร้องเรียนนันP จะส่งไปถึงประธานกรรมการบริหาร ในกรณีรอ้ งเรียนผูบ้ ริหาร ข้อร้องเรียนนันP จะส่งไปถึงประธานกรรมตรวจสอบ ทังP นีกP ารแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียนต้องใช้ถอ้ ยคําสุภาพ และควรมีรายละเอียด ดังนีP ชือสกุล-ของผู ของผูถ้ กู ร้องเรียน ข้อเท็จจริงเกียวกับการกระทําผิดพยานหลักฐานรายละเอียดทีเกียวข้องพร้อมทัPงแนบหลักฐาน ต่างๆ (ถ้ามี) ของผูร้ อ้ งเรียน ชือสกุล-ของผู และมีการกํกําหนดมาตรการคุม้ ครองผูแ้ จงเบาะแสหรือร้องเรียนไว้ ดังนีP บริษทั จะเก็บข้อมูลเกียวกับผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนเป็ นความลับและเปิ แล ดเผยเท่าทีจําเป็ น เพือ คํานึงถึงความปลอดภัยและป้องกันความเสียหายทีอาจจะเกิดขึนP ต่อผูแ้ จ้งเบาะแสหรือ ร้องเรียน (กรณี กรณีผแู้ จงเบาะแสหรือร้องเรียน ไม่เปิ ดเผยชือสกุล- จะต้องระบุรายละเอียด ข้อเท็จจริงหรือ หลักฐานทีปรากฎชัดแจ้งเพียงพอทีแสดงให้เห็ นถึงการกระทําทุ าทุจริตคอร์รัปชัน หรือการกระทํา ผิดตามทีแจ้ง) ผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนสามารถร้องขอให้คมุ้ ครองได้ รองได้ตามความจําเป็ นและ เหมาะสม ผูไ้ ด้รับความเดือดร้อนเสียหายจะได้รับการบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการที ย เป็ นธรรม และเหมาะสม การดําเนินการสอบสวนข้อร้องเรียน มีดงั นีP กรณี ผถู้ กู ร้องเรีย นเป็ นระดับตัPงแต่ผจู้ ัดการฝ่ ายลงมา ให้ผบู้ ังคับบัญชา และ ผูอ้ ํา นวยการฝ่ าย ทรัพยากรบุคคล เป็ นผูร้ ว่ มสอบสวนข้อร้องเรียน กรณีทีผูถ้ กู ร้องเรียนเป็ นระดับตัPงแต่ผอู้ าํ นวยการฝ่ ายขึPนไป ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูส้ อบ สวน กรณีทีผลการสอบสวน ผลการสอบสวนไม่ ไม่เป็ นทียอมรับของผูถ้ กู ร้องเรียน หรือ ผูร้ อ้ งเรียน สามารถนําเรืองเข้าสู่การ พิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบได้ อย่างไรก็ตามบริษทั จะไม่รบั เรืองร้องเรียนน/ การกระทํา ดังต่อไปนีP เรืองทีทีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั รับไว้พิจารณาหรือได้วินจิ ฉัยแล้วเสร็จเด็ดขาดแล้ว และไม่ มีพยานหลักฐานใหม่ทเป็ ี นสาระสําคัญเพิมเติม เรืองทีผูกรองเรียนพ้นสภาพการเป็ นพนักงานของบริษทั นานเกินห้าปี เรืองทีไม่ระบุพยานหลักฐานหรือระบุพฤติกรรมการกระทําการทุจริตคอร์รัปชันทีชัดแจ้งเพียงพอทีจะ ดําเนินการสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงได้ การจัดการเรืองทีได้รบั แจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน มีกาํ หนดการปฏิบตั ดิ งั นีP เลขานุก ารบริ ษั ท จะเป็ นผูร้ ั บ ผิ ด ชอบรวบรวมเอกสารที ได้รั บ จากช่ อ งทางดั ง กล่ า ว เพื อสรุป ข้อเสนอแนะและ ประเด็นต่างๆ ทัPงหมด เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือพิจารณาดําเนินการ และบริษัทมี หลักเกณฑ์ในการตังP คณะกรรมการสอบสวน ณะกรรมการสอบสวน เพือให้เกิดกระบวนการยุตธิ รรมในการพิจารณาสอบสวน และ

53 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


การพิ จารณาลงโทษผูก้ ระทํา ความผิด แต่กรณีทีมีหลักฐานปรากฏชัดแจ้งเพียงพอว่าผูแ้ จ้งเบาะแสหรือผู้ ร้องเรียนแจ้งเรืองโดยเจตนาไม่สจุ ริต อาจต้องได้รบั โทษตามแต่ละกรณีดงั นีP หากเป็ นพนัก งานจะถูก ดํา เนินการสืบ สวนสอบสวนเพื อพิ จารณาลงโทษ ตามระเบีย บข้อบั งคับ เกียวกับการทํางานของบริษทั หากเป็ นบุคคลภายนอกและส่งผลให้บริษัทได้รับความเสียหาย บริษทั อาจพิจารณาดําเนินคดี ตาม กฎหมายกับผูแ้ จ้งเบาะแสหรือผูร้ อ้ งเรียนด้วย กรณีการรั การรักษาความลับในข้อมู อมูลซึงได้มาจากผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียน บริษทั จะเก็ บรักษาไว้เป็ น ความลับและไม่เปิ ดเผยใดๆ ทัPงสิPนต่อ ผูไ้ ม่มีส่วนเกียวข้อง เว้นแต่กรณีทีมีความจําเป็ นในขัPนตอนของการ สืบสวนหาข้อเท็จจริง สอบสวน ฟ้องร้อง ดําเนินคดีเป็ นพยาน ให้ถอ้ ยคําหรือให้ความร่วมมือใด ๆ ต่อศาลหรือ ส่วนราชการทีมีอาํ นาจตามกฎหมาย โดยบริษทั อยูร่ ะหว่างการจัดทําแก้ไขแบบประเมินตนเองในเรืองมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน เพือยืนแบบประเมินตนเองดังกล่าวต่อคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต

54 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibilities; CSR) บริษทั มุ่งเน้นพัฒนาการดําเนินธุรกิจบนพืPนฐานของความยังยืนโดยดําเนินกิจการด้วยความโปร่งใส มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิงแวดล้อม ตลอดจนตระหนักถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุ่มอย่างเหมาะสม นโยบายภาพรวม นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ได้ถกู กําหนดไว้เป็ นแนวทางการดําเนินการความรับผิดชอบต่อ สังคมของกิจการ โดยไม่สง่ เสริมหรือสนับสนุนการกระทําใดๆทีทีจะเป็ นการกระทําทีก่อให้เกิดการคอร์รัปชันทัPง ในส่ ว นราชการและเอกชน สํา หรับ การดํา เนินงานบริษัทก็ ได้ ไ ด้มีการกํา หนดความรับ ผิด ชอบต่อ สัง คมใน กระบวนการทํางาน โดยคํานึงถึงผูท้ ีมีส่วนเกียวข้องและสิงแวดล้อมภายในองค์กร (CSR-in-process) (CSR โดยรวม เข้ากับระบบการปฏิบตั งิ านปกติ ปกติและทีกําหนดไว้ใน ISO รวมถึงคูม่ อื การปฏิบตั งิ านต่ต่างๆ นอกจากนีP บริษัทดําเนินการจัดทํานโยบายความรับ ผิดชอบต่อสังคม และแนวทางทีบริษัทได้ว างกรอบไว้ สําหรับการดําเนินธุรกิจของบริษทั และบริษทั ย่อย ให้เป็ นไปตามความรับผิดชอบต่อสังคม สิงแวดล้อม และผูม้ ี ส่วนได้เสีย ตามหลักการ 8 ข้อ ดังนีP 1. การประกอบกิจการด้วยความเทียงธรรม และการต่ การต่อต้านการท ุจริตคอร์รปั ชัน บริษทั ดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส น่าเชือถือและตรวจสอบได้ภายใต้หลักการกํากับดูแลกิจการทีดี และจรรยาบรรณธุรกิจ ซึงคณะกรรมการบริหารและพนักงานทุกคนในองค์กรต้องปฏิบัติตามนโยบายการ กํากับดูแลกิจการทีดีของบริษทั อย่างเคร่งครัด บริษัทสนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์ คอร์รัปชันทุกรูปแบบซึงครอบคลุมการรับและจ่ายสินบน โดย ลงนามในคําประกาศเจตนารมณ์ข องโครงการ “แนวร่ แนวร่ วมปฏิ บัติข องภาคเอกชนไทยในการต่อต้า นทุจริ ต คอร์รัปชัน” และได้จัดทํามาตรการต่อต้านคอร์รัปชันเพือเป็ นหลักปฏิบัติทีชัดเจนในการดําเนินธุรกิจอย่าง โปร่งใส อันจะนําไปสู่การพัฒนาองค์กรและประเทศไทยอย่างยังยืน และได้ประกาศใช้มาตรการดังกล่าวทัวทัPง องค์กรของบริษัท และบริษทั ย่อย โดยกําหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษัทต้องปฏิบัติตาม มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน นอกจากนียP งั ได้จัดให้มีกระบวนการและแนวทางการปฏิบตั ิ กา การกํากับ ดูแล การติดตามการประเมินผล รวมทัPงการเผยแพร่เพื อให้ความรูแ้ ก่พ นักงาน ตลอดจนช่องทางในการ ร้อ งเรียนหรื อแจ้ง เบาะแสทัPง สําหรับ พนักงานและบุคคลภายนอก (รายละเอี รายละเอี ยดเพิมเติ มแสดงไว้ทีข ้อ 9.1 นโยบายกํากับดู แลกิจการ/ความรั ความรั บผิดชอบของคณะกรรมการ ชอบของคณะกรรมการ/การประกอบกิ การประกอบกิจการด้วยความเป็ ยค นธรรมและ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน) น โดยในปี 2559 บริษทั ไม่พบการทุจริตหรือข้อร้องเรียนของการกระทําทีขัด ต่อจรรยาบรรณทางธุรกิจ 2. การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรบ ุคคล บริษทั กําหนดกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และนโยบายของบริษทั โดย ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในทุกระดับให้มปี ระสิทธิภาพ และควรค่าแก่การได้รับ การยอมรับและพัฒนาศักยภาพการทํางาน จึงได้มีการกําหนดแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลรายปี ครอบคลุม ทุกส่วนงาน อาทิเช่น การจัดอบรมบริหารความเสียง (Enterprise Risk Management), การอบรมทักษะความเป็ น ผูน้ าํ (Leadership), การอบรมเพือการทํางานเพือความเป็ นอันหนึงเดียวกัน (Team Buiding), การจัดอบรมเพือ การจัดทํางบประมาณประจําปี ของบริษัท, การอบรมการปฐมพยาบาลและการช่ ารช่วยฟืP นคืนชีพ, การอบรม ISO9001 และ ISO14001 เป็ นต้น

55 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


3. การปฎิบตั ิต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษทั มุง่ เน้นการดําเนินธุรกิจภายใต้การบริหารจัดการทีมีประสิทธิภาพ โดยตระหนักถึงความสําคัญ ความปลอดภัย และชีวอนามัยของพนักงาน จึงได้ทาํ การแต่งตังP คณะกรรมการความปลอดภัยและชีวอนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทํ า งาน พร้อ มกํา หนดนโยบายทางด้า นความปลอดภัย และชี ว อนามั ย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานของ พนักงานเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิ ดังนีP สุข ภาพและความปลอดภัย ของพนัก งาน ด้ว ยการบูร ณาการให้เ กิด พั ฒ นา ปรั บ ปรุง ประสิทธิภาพในทุกกิจกรรม ทีไม่ก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสียงต่อพนักงาน อาทิเช่น การจัดซ้อมหนีไฟและดับเพลิงอย่างต่อเนืองสมําเสมอ ตลอดจนมีการจัดสถานทีทํางาน และ ระบบโครงสร้างพืPนฐานต่างๆ อุปกรณ์ ปกรณ์ความปลอดภัยให้เพียงพอต่อการทํางาน รวมถึงการ จัดให้มีการตรวจสุขภาพประจําปี ให้กับพนักงาน โดยมีรายการตรวจทีเหมาะสมสอดคล้อง กับวัยของพนักงาน ส่ ง เสริ ม ให้พ นัก งานมี จิ ต สํา นึ ก ที ดีต่อ การดํา เนิ น งาน เพื อให้ไ ด้ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ที มี ค ณ ุ ภาพ น่าเชือถือ และส่งเสริมการสร้างวัฒ นนธรรมความปลอดภั ธรรมความปลอดภัยให้แก่พ นักงานทุกคนเพื อการ ทํางานอย่างปลอดภัยผ่าน Morning Talk ในทุกเช้าก่อ นเริมปฏิบัติงาน พร้อมทัPงการ สนับสนุนให้มกี ารจัดฝึ กอบรมให้เพียงพอและเหมาะสม อาทิเช่น การจัดฝึ กอบรมด้านความ ปลอดภัยให้พนักงานในระดับปฏิบัติการ เพือสร้างความรูค้ วามเข้าใจ ใจในขันP ตอนการทํางาน และดูแลให้ปฏิบตั หิ น้าทีได้อย่างปลอดภัย นอกจากนียP งั รณรงค์ลดอุบตั เิ หตุจากการทํางานให้ เป็ นศูนย์ โดยมีการติดตามวัดผลการดําเนินงานเป็ นประจําสมําเสมอ การสร้างสภาพแวดล้อมในการทํางานให้เอืPออํานวยต่อการทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็ น อีกปั จ จัยที มีผลต่อสุขอนามั ข อนามัย ของพนักงาน บริษัทจึง จัดให้มีก ารตรวจและประเมิน ระบบ จัดการสภาพแวดล้อม 5 ส (สะสาง สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสร้างนิสัย) เป็ นประจํา ตลอดจนจัดให้มี Big Cleaning Day ในบริษทั อย่างสมําเสมอ 4. ค ุณภาพบริการ และความรับผิดชอบต่อล ูกค้าและคคู่ า้ บริษทั มุง่ มันพั พัฒนาคุณภาพการบริการอย่างต่อเนือง เพือสร้างความพึงพอใจ สูง สุด ให้แ ก่ ล ูก ค้า รวมถึงการให้ความสําคัญและความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสียในกลุม่ ธุรกิจ อาทิเช่น ติดต่อประสานงานกับลูกค้าด้วยความสุภาพและเป็ นทีไว้วางใจ ตลอดจนกําหนดมาตรการ วัดผลความพึงพอใจของลูกค้าทังP ต่อสินค้าและบริการ ให้ข อ้ มูลทีถูกต้อง เพี ยงพอและทัน ต่อสถานการณ์ข องลูกค้า เพื อไม่ใ ห้เ กิดความเข้า ใจที คลาดเคลือนของของสินค้าและบริการ ให้ความสําคัญต่องานบริการหลังการขายทีเน้นความรวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์ของ ลูกค้า เก็บรักษาความลับของลูกค้า และไม่นาํ ไปใช้เพือประโยชน์ของตนหรือผูอ้ ืนโดยมิชอบ ให้คาํ แนะนําเกียวกับการใช้งานสินค้าของบริษทั อย่างมีประสิทธิภาพเพือประโยชน์สงู สุดของ ลูกค้า การเปิ ดให้ลกู ค้าได้เข้าเยียมชมกิจการและตรวจสอบคุณภาพการดําเนินงานของบริษทั

56 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


สนับสนุนการจั การจัดทําแนวทางการสรรหาวัตถุดบิ ตามคุณลักษณะทีกําหน หนดแหล่งผลิตทีดีและ เป็ นทียอมรับ จัดทําแนวทางปฏิ แนวทาง ฏิบัติเพือการทบทวนและพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เพือให้บริษัท สามารถส่งมอบสินค้าทีมีมาตรฐานและความปลอดภัยอย่างต่อเนือง นําระบบคุณภาพ ISO 9001 ทีรับรองโดย Bureau Veritas (BVQI) ซึงเน้นการจัดการอย่าง เป็ นระบบในทุกกระบวนการทํางาน ตังP แต่กระบวนการสรรหาวั สรรหาวัตถุดิบ การผลิต ตลอดจน การจัดส่งสินค้าอย่างมีคณ ุ ภาพ บริษัทจัดให้มีช่องทางเพือให้ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มแจ้งเบาะแสและเรืองร้องเรียนการ ประพฤติทีมิชอบ ผ่านทางเวบไซต์ นทางเวบไซต์ของบริษัท ทางโทรศัพท์ และทางอีเมล์ ส่งตรงถึงคณะ ผูบ้ ริหารและประธานกรรมการตรวจสอบของบริษทั 5. ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิงแวดล้อม บริษทั มุง่ มันในการสนับสนุนพัฒนาสังคมและสิงแวดล้อม ด้วยการดู ยการดูแลรักษา สิ งแวดล้ อ มตาม นโยบายสิงแวดล้อมของบริษทั ทีกําหนดแนวทางปฏิ หนด บตั ไิ ว้อย่างชัดเจน ไม่ ว่าจะเป็ นการส่งเสริมการลดมลพิ ษ ด้วย 3Rs (Reduce, Reuse. Recycle) มีการทบทวน และดูแลความเสียงจากผลกระทบต่อสิงแวดล้อมทีอาจ เกิดขึนP จากกระบวนการผลิต ทังP ระหว่างการผลิตและหลังกระบวนการผลิต ตลอดจนการกําจัดของเสีย จากการผลิตโดย ว่าจ้าง บริษทั ทีดําเนินการในการกําจัดของเสียอุตสาหกรรมโดยเฉพาะมาดูแลรับผิดชอบ ที ผ่าน มาบริษทั ได้ดาํ เนินการตรวจวัดสภาพแวดล้อมภายในโรงงานเป็ นประจําทุกปี และในพืPนที การผลิ ต อย่างสมําเสมอ เพือเฝ้าระวังและหามาตรการป้องกันแก้ไขขทันที ทําให้บริษทั ยังไม่ เ ค ย มี ปั ญ ห า ด้ า น สิงแวดล้อมกับชุมชนและหน่วยงานใดๆ พร้อมกันนียP งั สนับสนุน กิ จ กรรมทางสั ง คมเพื อสิ งแวดล้อ มอย่ า ง ต่อเนือง ไม่ว่าจะเป็ นการเข้าร่วมโครงการต่างๆของ การนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร ด้วยก ยการเน้น ร่ว ม พัฒนาชุมชนหรือสังคม เป็ นต้น ซึง บริษทั เล็ ง เห็ นถึ ง ความสํา คั ญ ในการอยู่ ร่ ว มและพั ฒ นาชุม ชน ทัPง นีP บริษทั จะดําเนินการกําหนดนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ให้มีมคี วามสอดคล้องกับนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการของบริษทั ต่อไป 6. การเคารพสิทธิมนุ นษุ ยชน บริษทั ดําเนินธุรกิจโดยให้ความเคารพสิทธิaทีมนุษย์ทกุ คนสมควรได้รบั ในฐานะที เป็ นส่ ว นหนึ งของ สังคมตลอดจนความมี ตลอดจนความมีเสรีภาพและศักดิaศรีของความเป็ นมนุษย์ ให้ความเสมอภาคปราศจากการเลือกปฏิบัติ เคารพเท่าเทียมกันภายใต้กฏหมาย มีการปฏิบตั ทิ ีเป็ น รูปธรรมอย่างชัดเจน โดยให้สิทธิaและส่งเสริมให้ทาํ งาน ตรงตามความสามารถและศักยภาพ รวมทัPงดําเนินโยบายค่าตอบแทนรายได้ตามความรูค้ วามส วามสามารถ ทัPงนีP บริษัทได้ประกาศใช้นโยบายเกี นโยบายเกียวกับจรรยาบรรณของพนักงาน (Code of Conduct) ซึงมีสาระสําคัญ ที ครอบคลุมองค์ประกอบด้านสิทธิมนุษยชน อาทิเช่น การเลือกปฏิบัติ สิทธิแรงงาน การปกป การ ้ องข้อมูลลูกค้า เป็ นต้น 7. พฤติกรรมการแข่งขัน บริษัทมุ่งเน้นการแข่งขันอย่างเสรีและเป็ นธรรม ด้วยการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และมีความชอบ ธรรมโดยการยึดหลักจรรยาบรรณการกํากับดูแลกิจการทีดี ภายใต้กฏหมายการแข่งขันทางการค้า รวมถึง กฏเกณฑ์ ฑ์ข อ้ กํา หนดที เกี ยวข้อ งของประเทศไทยและสากล ทัP ง นีP จ ากการประกาศใช้น โยบายเกี ยวกั บ จรรยาบรรณของพนักงาน (Code of Conduct) ทีมีเนือP หาสาระครอบคลุมแนวปฏิบตั ดิ า้ นการแข่งขันอย่างเป็ น

57 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ธรรม และการแข่งขันทางการค้า เพือป้ องกันพฤติกรรมการแข่งขันทีไม่เป็ นธรรมได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั จัด ให้มชี อ่ งทางเพือให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุ่มแจ้งเบาะแสและเรืองร้องเรียนการประพฤติทีมิชอบ ผ่านทางเวบ ไซต์ของบริษทั ทางโทรศัพท์ และทางอีเมล์ ส่งตรงถึงคณะผูบ้ ริหารและประธานกรรมการตรวจสอบของบริษทั 8. การพัฒนานวัตกรรม นวัต กรรมเป็ นปั จ จัยสํา คัญ ของความสํา เร็ จและการเติบ โตของบริษัท บริ ษัท จึง ได้ม่งุ เน้นและให้ ความสําคัญ สูงสุดต่อการคิดค้น วิจัย และพัฒ นานวัต กรรมใหม่ๆ เพือให้เกิดประโยชน์สงู สุด และสามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยได้กาํ หนดเป็ นกลยุทธ์การบริหารจัดการนวัตกรรมอย่างชัดเจน เพือให้ เกิดการพัฒนาทีมีความหลากหลายทังP ภายใน และภายนอกองค์กร เช่น การขอความร่วมมือจากสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) ในการวิจัยคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ปั จจุบนั บริษทั ได้จดั ตังP ฝ่ ายเทคโนโลยีและการพัฒนาเป็ นหน่วยงานทีรายงานตรงต่อกรรมการผูจ้ ดั การ เพือเพิมความเป็ นอิสระและ ความคล่องตัวในการทํางานให้มากขึนP การดําเนินงานและการจัดทํารายงาน บริษทั ได้ดาํ เนินงานให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ พร้อมทังP มีการประเมิน การกําหนดแนวทางปฏิบตั ิ การ สือสารกับพนักงาน การตรวจสอบการปฏิ บัติอย่า งสมําเสมอ และมีก ารจัดทํา รายงานผลโดยส่วนงานที เกียวข้องและรับผิดชอบ การดําเนินทีมีผลกระทบต่อความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั และบริษทั ย่อยไม่มปี ั ญหาผลกระทบ การถูกกล่าวหา หรือถูกตรวจสอบจากหน่วยงานใด และ ไม่เคยฝ่ าฝื นกฏหมายในเรืองเกียวกับหลักการความรับผิดชอบต่อสังคม ทังP 8 ข้อ อย่างมีนยั สําคัญ กิจกรรมเพือประโยชน์ต่อสังคมและสิงแวดล้อม (After Process) ในปี 2559 บริษัทได้เชิญ ชวนให้พนักงานในบริษัทปั นนําP ใจร่วมบริจาคเครืองอุปโภคบริโภค และ เวชภัณฑ์ เพือช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนําP ท่วมทางภาคใต้ โดยได้ส่งมอบเงินบริจาคและสิงของต่างๆผ่านทางคุณ รจนา พงษ์ไสว หัวหน้างานด้านบริหารและมวลชนสัมพันธ์ การนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร

58 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


การป้องกันการมีสว่ นเกียวข้องกับการคอร์รปั ชัน บริษทั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) หรือ “UBIS” มีอดุ มการณ์ในการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และ มีคณ ุ ธรรม โดยยึดมันในความรับผิดชอบต่อสังคมและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลทีดี และจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายและแนวปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆของบริษทั บริษทั ได้เข้าร่วมโครงการ “แนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันน” เพือแสดงเจตนารมณ์และความมุง่ มันในการต่อต้านการคอร์รัปชันในทุกรูปแบบ ดังนันP บริษทั จึงมีนโยบายให้ คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ดําเนินการปฏิบัตติ ามกฏหมายอย่างเคร่งครัด และมีความ มุ่งมันในการต่ ารต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน โดยตระหนักดีว่าการทุจริตและการคอร์รัปชันนันP เป็ นภัยร้ายแรงที ทําลายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็ นธรรม รวมทังP ก่อให้เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ โดยบริ ษัทมีนโยบายการกําหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิ บัติ และข้อกํา หนดในการดํ หนดใ า เนิน การที เหมาะสม เพือป้องกันการคอร์รัปชันกับทุกกิจ กรรมทางธุรกิจของบริษัท และเพือให้การตัดสินใจและการ ดําเนินการทางธุรกิจทีอาจมีความเสียงด้านการทุจริตคอร์รัปชันได้รบั การพิจารณาและปฏิบัตอิ ย่างรอบคอบ จึงได้จดั ทํา “นโยบายการต่ นโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน” เป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึนP เพือเป็ นแนวทางการปฏิบัตทิ ี ชัดเจนในการดําเนินธุรกิจ และพัฒนาสู่องค์กรแห่งความยังยืน นอกจากนีบP ริษทั ยังจัดให้มีชอ่ งทางการแจ้ งทางการแจ้งเบาะแสการกระทําผิดหรือร้องเรียนนการทุจริตคอร์รัปชัน หากผูใ้ ดมีเบาะแสเกียวกับการทุจริตคอร์รปั ชันการกระทําผิ าผิดกฎหมาย จรรยาบรรณธุรกิจหรือพบเห็ นระบบ การควบคุมภายในทีบกพร่องของบริษทั ซึงอาจเป็ นเหตุให้เกิดความเสียง/ความเสี ยง ความเสียหายต่อการดําเนินธุรกิจ สามารถแจ้ง เบาะแสมายั ง บริ ษัท ได้โ ดยตรงถึ ง ประธานกรรมการบริ ประธาน ษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ/ หรือกรรมการตรวจสอบทางใดทางหนึ กรรมการตรวจสอบท ง ดังนีP 1. ส่งจดหมายทางไปรษณียม์ าตามทีอยู่บริษทั เลขที 807/1 ชันP ที 6 ถนนพระราม 3 บางโพงพาง ยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 2. ส่งจดหมายอิ งจดหมายอิเล็กโทรนิกส์มาทีประธานกรรมการบริหาร Email:D2B@ubisasia.com D2B@ubisasia.com 3. ผ่านทาง Website ของบริษทั www.ubisasia.com/ติดต่อเรา หรือ Contact Us o ในกรณีรอ้ งเรียนพนักงาน ข้อร้องเรียนนันP จะส่งไปถึงประธานกรรมการบริหาร o ในกรณีรอ้ งเรียนผูบ้ ริหาร ข้อร้องเรียนนันP จะส่งไปถึงประธานกรรมตรวจสอบ ทังP นีกP ารแจ้ รแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียนต้องใช้ถอ้ ยคําสุภาพ และควรมีรายละเอียด ดังนีP 1. ชือสกุล-ของผู ของผูถ้ กู ร้องเรียน 2. ข้อเท็จจริงเกียวกับการกระทําผิดพยานหลักฐานรายละเอียดทีเกียวข้องพร้อมทัPงแนบหลักฐาน ต่างๆ (ถ้ามี) 3. ชือสกุล-ของผู ของผูร้ อ้ งเรียน และมีการกํกําหนดมาตรการคุม้ ครองผูแ้ จงเบาะแสหรือร้องเรียนไว้ ดังนีP 1. บริษัทจะเก็บข้อมูลเกียวกับผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนเป็ นความลับและเปิ ดเผยเท่าทีจําเป็ น เพือ คํานึงถึงความปลอดภัยและป้องกันความเสียหายทีอาจจะเกิดขึนP ต่อผูแ้ จ้งเบาะแสหรือ ร้องเรียน (กรณีผแู้ จงเบาะแสหรื ะแสหรือร้องเรียน ไม่เปิ ดเผยชือสกุล- จะต้องระบุรายละเอียด ข้อเท็ จจริงหรือ หลักฐานทีปรากฎชัดแจ้งเพียงพอทีแสดงให้เห็นถึงการกระทําทุจริตคอร์รัปชัน หรือการกระทําผิด ตามทีแจ้ง) 2. ผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียนสามารถร้องขอให้คมุ้ ครองได้ รองได้ตามความจําเป็ นและเหมาะสม 3. ผูไ้ ด้รบั ความเดือดร้อนเสียหายจะได้รบั การบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการที กระบวนการทีเป็ นธรรมและ เหมาะสม

59 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


การดําเนินการสอบสวนข้อร้องเรียน มีดงั นีP 1. กรณีผถู้ กู ร้องเรียนเป็ นระดับตัPงแต่ผจู้ ัดการฝ่ ายลงมา ให้ผบู้ ังคับบัญชา และ ผูอ้ ํานวยการฝ่ าย ทรัพยากรบุคคล เป็ นผูร้ ว่ มสอบสวนข้อร้องเรียน 2. กรณีทีผูถ้ กู ร้องเรียนเป็ นระดับตัPงแต่ผอู้ ํานวยการฝ่ ายขึPนไป ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ น ผูส้ อบสวน 3. กรณีทีผลการสอบสวนไม่เป็ นทียอมรับของผูถ้ กู ร้องเรียน หรือ ผูร้ อ้ งเรียน สามารถนําเรืองเข้าสู่ การพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบได้ อย่างไรก็ตามบริษทั จะไม่รบั เรืองร้องเรียนน/ การกระทํา ดังต่อไปนีP 1. เรืองทีทีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั รับไว้พิจารณาหรือได้วินจิ ฉัยแล้วเสร็จเด็ดขาดแล้ว และ ไม่มพี ยานหลักฐานใหม่ทเป็ ี นสาระสําคัญเพิมเติม 2. เรืองทีผูกรองเรียนพ้นสภาพการเป็ นพนักงานของบริษทั นานเกินห้าปี 3. เรืองทีไม่ระบุพยานหลักฐานหรือระบุพฤติกรรมการกระทําการทุจริตคอร์รัปชันทีชัดแจ้งเพียง พอทีจะดําเนินการสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงได้ การจัดการเรืองทีได้รบั แจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน มีกาํ หนดการปฏิบตั ดิ งั นีP เลขานุก ารบริ ษั ท จะเป็ นผูร้ ั บ ผิ ด ชอบรวบรวมเอกสารที ชอบรวบ รวมเอกสารที ได้รั บ จากช่ อ งทางดั ง กล่ า ว เพื อสรุป ข้อเสนอแนะและ ประเด็นต่างๆ ทัPงหมด เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือพิจารณาดําเนินการ และบริษัทมี หลักเกณฑ์ในการตังP คณะกรรมการสอบสวน เพือให้เกิดกระบวนการยุติธรรมในการพิจารณาสอบสวน และ การพิ จารณาลงโทษผูก้ ระทํา ความผิด แต่กรณีทีมีหลักฐานปรากฏชัดแจ้งเพียงพอว่าผูแ้ จ้งเบาะแสหรือผู้ ร้องเรียนแจ้งเรืองโดยเจตนาไม่สจุ ริต อาจต้องได้รบั โทษตามแต่ละกรณีดงั นีP 1. หากเป็ นพนักงานจะถูกดําเนินการสืบสวนสอบสวนเพือพิจารณาลงโทษ ตามระเบียบข้อบังคับ เกียวกับการทํางานของบริษทั 2. หากเป็ นบุคคลภายนอกและส่ คคลภายนอกและส่งผลให้บริษทั ได้รับความเสียหาย บริษทั อาจพิจารณาดํ ารณ าเนินคดี ตาม กฎหมายกับผูแ้ จ้งเบาะแสหรือผูร้ อ้ งเรียนด้วย กรณีการรั การรักษาความลับในข้ข้อมูลซึงได้มาจากผูแ้ จ้งเบาะแสหรือร้องเรียน บริษทั จะเก็ บรักษาไว้เป็ น ความลับและไม่เปิ ดเผยใดๆ ทัPงสิPนต่อ ผูไ้ ม่มีส่วนเกียวข้อง เว้นแต่กรณีทีมีความจําเป็ นในขัPนตอนของการ สืบสวนหาข้อเท็จจริง สอบสวน ฟ้องร้อง ดําเนินคดีเป็ นพยาน ให้ถอ้ ยคําหรือให้ความร่วมมือใด ๆ ต่อศาลหรือ ส่วนราชการทีมีอาํ นาจตามกฎหมาย โดยบริษทั อยูร่ ะหว่างการจัดทําแก้ไขแบบประเมินตนเองในเรืองมาตรการต่อต้านการทุ นกา จริตคอร์รัปชัน เพือยืนแบบประเมินตนเองดังกล่าวต่อคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต

60 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสียง สร ุปความเห็นของคณะกรรมการบริษทั เกียวกับระบบการควบค ุมภายในของบริษทั คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ประชุมครังP ที 1/2560 วันที 20 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมีกรรมการทีเป็ น กรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม เพือให้ความเห็นเกียวกับความเพียงพอ และความเหมาะสมของระบบการ ควบคุมภายใน ซึงคณะกรรมการตรวจสอบได้ชแีP จงและรายงานผลการประเมินระบบการควบคุมภายในในรอบ ปี 2559 ให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รายงานว่า จากการพิจารณาและสอบทานรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมทัPงข้อเสนอแนะการตรวจสอบภายใน ซึงมุ่งเน้นการตรวจสอบเชิงปฏิบัติการให้มีการพัฒนาอย่างมี ประสิทธิภาพและต่อเนือง มีประสิทธิผล รวมทัPงให้มีการติดตามและดําเนินการแก้ไขผลการตรวจสอบใน ประเด็นทีเป็ นสาระสําคัญ โดยเฉพาะประเด็นสําคัญของปั จจัยความเสียงทีอาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน รายการทีเกียวโยงซึงอาจทําให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็ นรายการจริงทางการค้าอันเป็ นธุรกิจปกติ ทัวไปอย่างสมเหตุสมผล และเป็ นผลประโยชน์สงู สุดตามนโยบายบริษทั การดูแลทรัพย์สิน มีระบบป้องกันทีดี คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็ นว่า ในปี 2559 ไม่พบข้อบ่งชีPว่า มีรายการทุจริตหรือการนํา ทรัพย์สินของบริษทั ไปใช้โดยมิชอบ และจากผลการสอบทานทีเป็ นไปตามขันP ตอนทีกําหนดไว้ ได้สอดคล้องกับ ข้อกําหนดกฎหมายของภาครัฐและนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และจากการหารือกับผูส้ อบบัญชีภายนอก ใน ประเด็ นระบบการควบคุม ภายในนัPน มีความเพี ยงพอของระบบควบคุมภายใน ไม่มีข อ้ บกพร่อ งทีเป็ น สาระสําคัญทีมีผลต่อระบบการควบคุมภายในและต่อรายงานทางการเงิน นอกจากนีPบริษัทยังได้ปรับปรุง ระบบงานบัญชีให้ดีขนึP ตามคําแนะนําของผูส้ อบบัญชี เพือให้ระบบการจัดเก็บข้อมูลและรายงานทางการเงิน มี ความสอดคล้องและเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ป ระเมิ น ระบบการควบคุม ภายในจากรายงานผลการประเมิ น ของ คณะกรรมการตรวจสอบแล้วสรุปได้ว่าจากการประเมิ จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ การควบคุม ภายในองค์กร การประเมิน ความเสี ยง การควบคุม การปฏิ บัติง าน ระบบ สารสนเทศและการสือสารข้อมูล และระบบติดตาม คณะกรรมการเห็ นว่าบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน อย่างเพียงพอ และเหมาะสมกับธุรกรรมของบ กรรมของบริษทั สรุปสาระสําคัญดังนีP 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษัท กําหนดเป้าหมายการดําเนินธุรกิจทีชัดเจน เพือให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพธุรกิจทีเปลียนแปลง รองรับแผนงานระยะยาว และการขยายงานและกําหนดโครงสร้าง การบังคับบัญชาแยกตามสายงาน ชาแยกตามสายงานทีสอดคล้องกับกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจ และการกํากับดูแลกิจการ โดยมี ฝ่ ายตรวจสอบภายในเป็ นหน่วยงานอิสระ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 2. การบริหารความเสียง บริษัท กําหนดนโยบายการบริหารความเสียงเป็ นนโยบายสําคัญ โดยคณะกรรมการบริหารและ ผูบ้ ริหารระดับสูง ทําหน้าทีในการประเมินปั จจัยเสียงทีมีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของบริษทั และกําหนด ผูร้ ับผิดชอบในหน่ว ยงานต่า งๆ พร้อมทัPงมอบหมายให้การบริหารความเสียงเป็ นความรับผิดชอบของ ผูบ้ ริหารทุกคน มีการวางแผนและกําหนดมาตรการบริหารความเสียง มีการประเมินปั จจัยความเสียงซึงอาจ ส่งผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจและเป้าหมายของบริษทั จัดให้มกี ารติดตามการบริหารความเสียงของ

61 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


หน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร รวมทัPงได้จัดให้มกี ารอบรม เพือสนับสนุนให้การทํางานขององค์กรสามารถ ดําเนินไปได้อย่างต่อเนือง 3. การควบค ุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบริษทั ได้จัดทําอํานาจดําเนินการโดยกําหนด (1) ตําแหน่งผูม้ ีอาํ นาจอนุมตั ิ วงเงิน การสังการ การก่อหนีP และการชําระหนีP ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร (2) จัดทําระบบการปฏิบัติงานและอํานาจ หน้าทีในการอนุมตั ติ ามระบบงาน (3) บริษทั ได้สาํ รวจกฎหมาย หรือข้อบังคับทีเกียวข้องกับบริษทั และได้ จัดทําคู่มอื การควบคุมการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย นอกจากนีP คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาทบทวนและอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจําปี เพือให้ ครอบคลุมทุกกระบวนการปฏิบัติงานทีมีความเสียงสูง รวมทัPงครอบคลุมถึงความคาดหวังของผูท้ ีมีส่วน เกียวข้องกับบริษทั ทําให้บริษทั มันใจว่าหน่วยงานต่างๆมีการควบคุมภายในในการปฏิบัติงานทีเพียงพอทีจะ ตอบสนองความเสียงในการดําเนินงานทุกด้าน ทัPงด้านการเงิน การปฏิบัติงาน การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ กฎเกณฑ์ตา่ งๆ รวมถึงได้พิจารณาประเด็นสําคัญและปั ญหาที าทีตรวจพบจากการตรวจสอบ โดยผูต้ รวจสอบภายใน และผูต้ รวจสอบภายนอก และติดตามอย่างใกล้ชดิ เพือปรับปรุงแก้ไขและป้องกันปั ญหา 4. ระบบสารสนเทศและการสือสารข้อมูล บริษทั ได้จัดให้มีขอ้ มูลทีสําคัญเพือใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษทั โดยการจัดทํา รายงานเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบ หลักการและเหตุผล พร้อมเอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมูล เพือ ศึกษาประกอบการตัดสินใจเป็ นการล่วงหน้า 7 วัน และกําหนดให้มีเลขานุการบริษทั เพือให้คาํ แนะนําด้าน กฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ทีคณะกรรมการบริษทั จะต้องทราบ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริ จกรรมของคณะกรรมการบริษทั ประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษทั เป็ นศูนย์กลางในการจัดทําและจัดเก็บเอกสารได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษทั รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั หนังสือ นัดประชุมผูถ้ ือหุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ จัดเก็ ดเก็บรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั รายงาน การประชุมผูถ้ อื หุน้ และจัดให้มรี ะบบการจัดเก็บเอกสารสําคัญทางบัญชีไว้เป็ นหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้ตาม ระยะเวลาทีกฎหมายกําหนด คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาร่วมกับผูส้ อบบัญชี ฝ่ ายตรวจสอบภายใน และผูเ้ กียวข้อง เกียวกับการจั ารจัดทํางบการเงินของบริษทั เพือให้มคี วามมันใจว่า บริษทั มีการใช้นโยบายบัญชีตามหลักการบัญชี ทีรับรองทัวไป และเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจของบริษทั รวมทังP การเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเหมาะสม 5. ระบบการติดตาม บริษทั มีระบบการติดตามการปฏิบตั ิงานเป็ นลําดับชันP ตังP แต่คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ บริหาร และผูบ้ ริหาร เพือติดตามเป้าหมาย และกํากับการดําเนินการตามแผนกลยุทธ์ และแผนงาน ทีได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั อย่างสมําเสมอ ตลอดจนการติดตามการดําเนินธุรกิจของบริษทั ย่อยด้วย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบทีมีความเห็ นแตกต่ นแตกต่างไปจากความเห็นของคณะกรรมการ บริษทั -ไม่ม-ี หัวหน้างานตรวจสอบภายในและหัวหน้างานกํากับดแู​ูแลการปฏิ ลการปฏิบตั ิงานของบริษทั บริษทั ได้แต่งตังP บริษทั ตรวจสอบภายในธรรมนิติ จํากัด ทําหน้าทีเป็ นผูต้ รวจสอบภายใน ดําเนินการ ตรวจสอบระบบงานของบริษทั ตามแผนงานทีได้นาํ เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาและอนุมตั ิ โดย มอบหมายให้ นายอัครวินทร์ บุญมงคลรัศมิa เป็ นผูป้ ระสานงานของคณะกรรมการตรวจสอบ จึงไม่มหี ัวหน้า

62 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


หน่วยงานตรวจสอบภายในทัPงนีPการพิจารณาและอนุมัติ แต่งตังP ถอดถอน โยกย้าย บุคคลมาดํารงตําแหน่ง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัท หรือการแต่งตัPงหน่วยงานภายนอกเป็ นหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน จะต้องได้รับความเห็ นชอบและอนุมัติจ ากคณะกรรมการตรวจสอบความเห็ น ของคณะกรรมการ ตรวจสอบทีมีความเห็นแตกต่างไปจากความเห็นของคณะกรรมการบริษทั

63 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


รายการระหว่างกัน มีรายการเกียวโยงระหว่างบริษัทกับกรรมการในปี 2559 เป็ นค่าทีปรึกษากรรมการ จํานวนเงิน 10,920,000 บาท โดยบริษทั ได้ทาํ สัญญาจ้างทีปรึกษากับบุคคลทีเกียวข้องกัน (กกรรมการ) ระยะเวลาตังP แต่ วันที 1 มกราคม พ.ศ.2558 2558 ถึงวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 อัตราค่าตอบแทนเดือนละ 0.84 ล้านบาท (พ.ศ. 2558: เดือนละ 1.26 ล้านบาท นบาท) และค่าตอบแทนอืนเป็ นไปตามทีระบุในสัญญา และเมือวันที 8 มกราคม พ.ศ. 2559 กรรมการทีบริษัทได้ทําสัญญาจ้างทีปรึกษา ได้ลาออกจากการเป็ นกรรมการของบริษัทและ คู่สญ ั ญาทังP สองฝ่ ายตกลงให้สัญญา ญานันันP มีผลสิPนสุดลง ณ วันทีดังกล่าว โดยบริษทั ได้มีการจ่ายเงินชดเชยตาม สัญญา

64 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ การวิเคราะห์ผลการดําเนินงานของบริษทั ผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน สําหรับปี 2559 สิPนสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 ของบริษทั และบริษทั ย่อย โดยมีสาระสําคัญดังนีP (หน่วย : ล้านบาท)) รายได้ขาย กําไรขันP ต้น ค่าใช้จา่ ยขาย ต้นทุนการเงิน กําไรสุทธิ

ปี 2559 849 342 96 19 113

ปี 2558 827 324 96 12 109

% ผลต่าง 3% 6% 58% 4%

บริษทั มีผลกําไรสุทธิปี 2559 จํานวน 113 ล้านบาท เพิมขึนP จากปี ก่อน 4 ล้านบาท หรือ เพิมขึนP ร้อย ละ 4 จากผลการดําเนินงาน ดังนีP • รายได้ ในปี 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้เท่ากับ 849 ล้านบาท เพิมขึนP จากปี 2558 เป็ นจํานวน เงิน 22 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 3 สาเหตุห ลักมาจากบริษัทมีรายได้จากสัดส่วนการขายใน ต่างประเทศมากขึนP • กําไรขัน9 ต้น ในปี 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีกาํ ไรขันP ต้น 342 ล้านบาท เพิมขึนP จากปี 2558 เป็ นจํานวน 18 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 6 โดยมีอัตรากําไรขันP ต้นร้อยละ 40 (ปี 2558 อัตรากําไรขันP ต้นร้อยละ 39) ผลประกอบการทีดีขนึP เนืองมาจากการบริหารการขายสินค้า และการควบคุมประสิทธิภาพการ ผลิตทีดีขนึP • ค่าใช้จา่ ยในการขาย ในปี 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขาย 96 ล้านบาท ใกล้เคียงกับปี 2558 จาก รายได้ทีสูงขึนP ในปี 2559 เป็ นผลมาจากความสามารถในการควบคุมค่าใช้จ่ายในการขายได้ดยี งขึ ิ นP • ต้นท ุนทางการเงิน ในปี 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีดอกเบีPยจ่าย 19 ล้านบาท ซึงเพิมขึนP จากปี 2558 จํานวน 7 ล้านบาท สืบเนืองจากการลงทุนในบริษทั ร่วมปี 2558 การวิเคราะห์ฐานทางการเงิน ภาพรวมฐานะทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 เปรียบเทียบกับฐานะ การเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 โดยมีสาระสําคัญ ดังนีP

65 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


• สินทรัพย์ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 บริษัทและบริษทั ย่อยมีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 1,035 ล้านบาท เพิมขึนP จากปี 2558 255 เป็ นเงิน 171 ล้านบาท โดยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิมขึนP 68 ล้านบาท ลูกหนีกP ารค้าและลูกหนีอP ืนเพิมขึPน 38 ล้านบาท สินค้าคงเหลือเพิมขึนP 22 ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนเพิมขึนP 2 ล้านบาท สอดคล้องกับยอดรายได้ทเพิ ี มขึนP 3% บริษทั สามารถขาย ในส่วนของงานต่างประเทศได้เพิมขึนP โดยปี 2560 มีการยกเลิกการลงทุนในบริษทั ร่วม เนืองจาก สัญ ญาเป็ นโมฆะ และได้ปรับรายการจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมมาเป็ นลูก หนีPจากการยกเลิก สัญญาซืPอขายหุน้ ทีถึงกําหนดรับชําระภายในหนึงปี จํานวน 170 ล้านบาท และบันทึกเงิ เ นลูกหนีP จากการยกเลิกสัญญาซืPอขายหุน้ เป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอีก 150 ล้านบาท (เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีสัญญาเป็ นโมฆะ 320 ล้านบาท) • หนี9สนิ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีหนีสP ินรวม 543 ล้านบาท เพิมขึนP จาก 31 ธันวาคม 2558 เป็ นจํานวนเงิน 69 ล้านบาท านบาท โดยมีการเบิกเกินบัญชีและเงินกูร้ ะยะสันP เพิมขึนP 66 ล้านบาท เจ้าหนีPการค้าและเจ้าหนีPอืนเพิมขึนP 51 ล้านบาท ชําระหนีPเงินกูส้ ถาบันการเงินซึงเป็ น เงินกูร้ ะยะยาว 58 ล้านบาท • ส่วนของผูถ้ ือหน้ ุ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีส่วนของผูถ้ ือหุ อหุน้ รวมเท่ากับ 492 ล้านบาท เพิมขึนP จาก ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 เป็ นจํานวนเงิน 102 ล้านบาท เนืองจากบริษทั และบริษทั ย่อยมีกาํ ไรสุทธิจากผลการดําเนินงานปี 2559 จํานวน 113 ล้านบาท และมีการจ่ายเงินปั นผล จากผลประกอบการของปี 2558 จํานวน 8 ล้านบาท การวิเคราะห์งบกระแสเงินสด จากผลประกอบการในปี 2559 บริษทั มีกระแสเงินสด รายละเอียดดังนีP • กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน 129 ล้านบาท อัตราเงินสดต่อการทํากําไรร้อยละ 85 เทียบ กับปี 2558 ทีร้อยละ 88 • กระแสเงินสดจากการลงทุน 51 ล้านบาท เป็ นการใช้ไปสําหรับการเพิมทุนในบริษทั ร่วม 40 ล้าน บาท จ่ายชําระซืPอทีดิน อาคารอุปกรณ์ 13 ล้านบาท และได้เงินสดรับเข้ามาจํานวน 4 ล้านบาท จากการขายอุปกรณ์ • กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน บริษทั กูย้ ืมเงินระยะสันP จากสถาบันจํานวน 62 ล้านบาท กูย้ ืม เงินระยะยาวจากสถาบั จากสถาบันการเงินเพิม 15 ล้านบาท และมีการชําระคืนเงินกูร้ ะยะยาวของสถาบัน การเงิน จํานวน 68 ล้านบาท จ่ายชําระค่าดอกเบีPย 19 ล้านบาท และจ่ายเงินปั นผล จํานวน 8 ล้านบาท

66 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


ปัจจัยหรือเหต ุการณ์ทีอาจส่งผลต่อฐานะการเงินหรือการดําเนินงานอย่างมีนยั สําคัญในอนาคต ในปี 2560 นีP บริษทั จะมีหน่วยผลิตยางยาแนวทีประเทศจีน และจะสามารถเริมการผลิตได้ในต้นไตร มาส 2 นีP โดยมีกาํ ลังการผลิตอยู่ 2,000 ตันต่อปี หน่วยผลิตนีจP ะสามารถสร้างความมันใจให้กับลูกค้าจีนได้ มากขึนP และสามารถตอบสนองความต้องการการใช้สนิ ค้าได้อย่างรวดเร็วกว่าปั จจุบับนั ทีต้องนําเข้าสินค้าจากไทย ซึงต้องใช้เวลาในการจัดเตรียมและการเดินทางของสินค้า ทังP นียP อดขายไปประเทศจีนมีอัตราส่วนถึงกว่าร้อยละ 30 ของยอดขายรวมของบริษัท และลูกค้าได้เรียกร้องให้บ ริษัทมีก ารตัPงหน่วยผลิ ตในประเทศจี นมาเป็ น ระยะเวลาหนึงแล้ว ฉะนันP หน่วยผลิตนีจะสามารถเพิ จP ะสามารถเพิมขีดความสามารถในการให้บริการในแง่ต่างๆได้ดีขนึP อีกทังP ยังสร้างภาพลักษณ์ทีดีให้กบั บริษทั ด้วย อย่างไรก็ดหี น่วยผลิตนีจP ะไม่ใช่หน่วยผลิตแบบเต็มรูปแบบเช่นทีไทย แต่ จะเป็ นการส่งสินค้าทีมีความเข้มข้นสูง และนําไปปรับแต่งเป็ นสินค้าสําเร็จรูปทีหน่วยผลิตจีน เนืองจากต้องการ เก็บองค์ความรูข้ องสูตรผลิตไว้ และไม่ตอ้ งเปิ ดเผยออกไปซึงเป็ นเหตุผลหลัก อีกทังP ราคาวัตถุดิบในประเทศจีน ไม่ได้มคี วามแตกต่างจากทีไทย จึงไม่มคี วามจําเป็ นทีจะต้องผลิตแบบเต็มรูปแบบในจีน การผลิต และ การตรวจสอบคุณภาพ จะมีเจ้าหน้าทีทีถูกส่งไปจากประเทศไทย งไปจากประเทศไทย เพือไปควบคุมการผลิต และ การตรวจสอบคุณภาพเพือให้เกิดความมันใจว่าจะได้สนิ ค้าทีมีคณ ุ ภาพตรงตามทีบริษทั กําหนด ในเดือนกุมภาพันธ์ 2560 บริษัท แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด (บริ บริษทั ร่วม) ม ไม่สามารถปิ ดงบการเงิน ของปี 2559 ซึงได้ส่งผลกระทบต่อบริษทั ฯ ทําให้ไม่สามารถส่งงบการเงินได้ตามกําหนดเวลา เนืองจากจะต้อง รับรูส้ ่วนได้เสียของบริษัทร่วม ซึงต่อมาทางบริษัทฯได้ทําการยกเลิกการเข้าลงทุน และจําหน่ายเงินลงทุนใน บริษทั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด คืนให้แก่บริษทั อาร์เอฟวิชนั จํากัด ทังP จํานวน 800,000 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อย ละ 40 ของจํานวนหุน้ ทีจําหน่ายได้แล้วทังP หมดของบริษทั แฟมิลี คอร์ปอเรชัน จํากัด ในมูลค่า 320 ล้านบาท ด้วยเหตุการเข้าลงทุนในแฟมิลีฯเป็ นโมฆะตามกฏหมาย จากการทีบริษัทเข้าลงทุนโดยสําคัญผิดในสิงซึงเป็ น สาระสําคัญ ของการลงทุน และไม่ต รงตามวัตถุประสงค์เดิมในการเข้ ใ นการเข้าลงทุน ของบริ ษัท ฯ ตามมติทีประชุม คณะกรรมการบริษทั ครังP ที 2/2560 เมือวันที 15 มีนาคม 2560 และมติทีประชุมคณะกรรมการบริหาร ครังP ที 4/2560 เมือวันที 17 มีนาคม 2560 จากผลดังกล่าว จึงกําหนดเงือนไขการชําระเงินคืนจากบริษทั อาร์เอฟ วิชนั จํากัด ให้แก่บริษัษทั ฯ จํานวน 12 งวด โดยให้เริมชําระงวดแรกภายในสิPนเดือนมิถนุ ายน 2560 และสิPนสุดใน เดือนพฤษภาคม 2561 โดยมีมลู ค่าชําระภายในปี 2560 เป็ นจํานวนเงิน 170 ล้านบาท และภายในปี 2561 อีก จํานวน 150 ล้านบาท ทังP นีกP ระแสเงินสดจํานวนดังกล่าว บริษทั ฯจะนํามาใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียน ชําระหนีPสินที มีตน้ ทุนทางการเงิน ตลอดจนใช้สาํ หรับการขยายธุรกิจ ตามแผนธุรกิจของบริษทั

67 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


68 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


69 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


70 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


71 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


72 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


73 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


74 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


75 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


76 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


77 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


78 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


79 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


80 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


81 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


82 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


83 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


84 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


85 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


86 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


87 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


88 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


89 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


90 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


91 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


92 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


93 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


94 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


95 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


96 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


97 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


98 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


99 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


100 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


101 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


102 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


103 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


104 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


105 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


106 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


107 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


108 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


109 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


110 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


111 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


112 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


113 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


114 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


115 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


116 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


117 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


118 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


119 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


120 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


121 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


122 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]


123 รายงานประจําปี

2559 [ บริษท ั ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ]



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.