11.1CONTROLMA4KU68INTERNAL COSOกรณีศึกษา กองบัญชี องค์ก

Page 144

136 ในการดาเนิ นการเกี่ ยวกับการติดตามและประเมิ นผล ฝ่ ายบริ หารได้จดั ให้มี การติดตามและประเมินผล ทั้งระหว่างการปฏิ บตั ิงาน และเป็ นรายครั้งอย่างต่อเนื่ อง สม่าเสมอเพื่อให้ความมัน่ ใจว่า 1. ระบบการควบคุ มภายในที่วางไว้เพียงพอ เหมาะสม มีประสิ ทธิ ภาพ และมีการ ปฏิบตั ิจริ ง 2. การควบคุมภายในดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ผล 3. ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบและการสอบทานอื่น ๆ ได้รับการปรับปรุ งแก้ไข อย่างเหมาะสมและทันเวลา 4. การควบคุ ม ภายในได้รั บ การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขให้ ส อดคล้อ งกับ สถานการณ์ ที่ เปลี่ยนแปลงไป ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายในของฝ่ ายบัญชี และการเงิน (กองบัญชี ) ขั้นตอนที่ 1 จั ด ประชุ มเชิ งปฏิ บั ติ ก ารร่ วมกั น ระหว่ า งผู ้ บ ริ หารและ ผูป้ ฏิบตั ิงาน ฝ่ ายบัญชีและการเงิน โดยอาจใช้วธิ ี ประชุมกลุ่ม ขั้นตอนที่ 2 ก าหนดงานในความรั บ ผิ ด ชอบของฝ่ ายบัญ ชี แ ละการเงิ น ออกเป็ นกิจกรรมหรื องาน เพื่อทาความเข้าใจวัตถุ ประสงค์และเป้ าหมายของกิจกรรม หรื องาน ซึ่ งวัตถุประสงค์ระดับกิ จกรรมจะต้องสอดรับและเชื่ อมโยงกับวัตถุประสงค์ ระดั บ หน่ ว ยรั บ ตรวจ เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานในแต่ ล ะส่ ว นงานย่ อ ยบรรลุ ต าม วัต ถุ ป ระสงค์ ข องหน่ ว ยรั บ ตรวจ หลัง จากนั้ น ท าการสอบทานขั้น ตอนและวิ ธี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.