phayaorath76

Page 1

Vol.76 กันยายน 2554

ราคา

10

บาท

www.phayaorath.net

ในอีก 4-5 ปีข้างหน้า จะกำ�หนดอนาคตตนเอคนพะเยา คนพะเยาจะมีส่วนร่วม งอย่างไร คนพะเยาจะจัดการตน อย่างไร ...วันนี้ ถึงเวลาที่ทเอุกงไคด้หรือไม่ ต้องหันหน้ามาหาคำ�ต น ...................อบร่วมกัน ป อยฮอมผญาสู่ 91 27 สิงหาคม 2554 9วัดปีเมืองพะเยา ศรีโคมค�ำ

๙๑๙

ขอคำ�อธิษฐานของเราจงเป็นจริง

คิดและพัฒนาร่วมกัน...เพราะเมืองพะเยาเป็นของเราทุกคน


ปวงผญาพยาว

2

เดือน กันยายน 2554

28 สิงหาคม 2554 ที่บริเวณศาลหลักเมือง นายพงษ์ศักดิ์ วังเสมอ ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา พร้อมด้วย ข้าราชการ และประชาชนในจังหวัดพะเยา ได้ร่วมกันท�ำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง พระสงฆ์ 108 รูป เนื่องในโอกาสครบรอบ 34 ปี โดยมีพิธีท�ำบุญสืบชะตาพร้อมกันอีก 5 ประตูเมือง ได้แก่ ประตูชัย ประตูกลอง ประตูเหล็ก ประตู่ปู่ยี่ และ ประตูปราสาท เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองและความผาสุกของประชาชน ตลอดจนเป็นการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ทีเ่ คยมีมาแต่โบราณอีกทัง้ เป็นการระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรษุ ทีไ่ ด้สร้างคุณประโยชน์ให้แก่เมืองพะเยาในอดีต

มะหินเกิดกับท่า วิมล ปิงเมืองเหล็ก/www.vimon.co.cc ผมได้รับความไว้วางใจเป็นผู้เล่าเรื่อง “บ่าเก่า” ในงาน “ปอยฮอมผญาก้าวสู่ ๙๑๙ ปี เมืองพะเยา” จากผู้จัดงาน อาจ จะด้วยสาเหตุ ๓ ประการ กล่าวคือ ประการที่ ๑. คงจะเห็น ว่าผมเริ่มแก่แล้ว (๖๓ ปี) ประการที่ ๒. หลายคนคงจะเห็นตัว ตนของผมว่า เป็นคนที่เล่าเรื่องบ่าเก่าดีคนหนึ่งและประการ สุดท้าย (ตรงนี้ส�ำคัญ) คงจะเห็นว่าผมเคยเป็นสามเณรน้อยติด สอยห้อยตามหลวงปู่รองสมเด็จพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญมหาเถร) มานานถึง ๕๑ ปีน่าจะซึมซับเรื่องราว ต่างๆ ของเมืองพะเยาไว้มากพอสมควร ผมคงไม่ปฏิเสธว่าไม่จริง พร้อมที่จะน�ำเรื่องบางเรื่อง มาเล่าให้ฟัง ณ ที่แห่งนี้ ซึ่งแน่นอน เรื่องที่เล่าจะต้องเป็นเรื่อง ใหม่ และข้อมูลใหม่ในลักษณะประวัติศาสตร์กระซิบ คืออย่า ถือว่าเรื่องนี้จะเป็นความจริงไปเสียทั้งหมด เรื่องการประหารเงี้ยวในปี พ.ศ. ๒๔๔๕ ใคร ๆ ก็พอจะทราบว่า เมื่อรัฐสยามในสมัยรัชกาลที่ ๕ ต้องการปรับเปลี่ยนการปกครองหัวเมืองต่าง ๆ ให้ขึ้นกับ รัฐส่วนกลางมากขึ้น จึงได้จัดการปกครองเป็นระบบมณฑล เทศาภิบาลขึ้น คือ ให้รัฐหัวเมือง ซึ่งมีเจ้าผู้ครองนครอยู่ต้อง ขึ้นตรงกับรัฐสยาม นั่นหมายถึง ต่อไปจะต้องส่งส่วย (ผล ประโยชน์) ทั้งหลายให้รัฐส่วนกลางอย่างน้อยต้องร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป ซึ่งแน่นอน ย่อมสร้างความไม่พอใจกับเจ้าผู้ครองนคร ทั้งหลายทั้งปักษ์ใต้ อีสาน และล้านนา โดยเฉพาะล้านนา บางเมืองก็ประนีประนอมยอมยก ลูกสาวให้รัฐสยามเพื่อรักษาผลประโยชน์บางส่วน แต่มีบาง เมืองเจ้าผู้ครองนครไม่ยอมสยบ พร้อมที่จะต่อต้านโดยร่วมมือ กับ ไทใหญ่ หรือ เงี้ยว ที่เดินทางมาจากรัฐฉานเข้ามาค้าขาย ต่ า งแดนและเข้ า มาเป็ น แรงงานให้ กั บ บริ ษั ท ฝรั่ ง อั ง กฤษที่ สัมปทานไม้ได้ในล้านนา เงี้ยว เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่สู้คน ดุร้าย เพราะฉะนั้นคน ล้านนาจึงเรียกว่า “เงี้ยว” หมายถึง พวกที่ดุร้าย คล้ายงูใหญ่ (งูเงี้ยวเขี้ยวขอน) มีคาถาอาคม และมีดาบสะพายบนไหล่ พร้อม “ผ้าปก”เดินไปตามหมู่บ้านต่าง ๆ เมืองที่ร่วมมือกับกลุ่มเงี้ยวแล้วต่อสู้กับทหารไทยของ รัฐสยามคือ เมืองแพร่ จนสามารถฆ่า ข้าหลวงจังหวัดแพร่ คือ พระยาไชยบูรณ์ (ทองอยู่ สุวรรณบาตร) และคนที่พูดภาษา ไทยกลางตายเป็นจ�ำนวนมากในปี ๒๔๔๕ วิธีการฆ่าคนที่มาจากรัฐสยาม ท่านอาจารย์ยอด ขวัญ บุญซ้อน ประธานสภาวัฒนธรรมอ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ เล่าว่า เขาจะน�ำลูกมะพร้าวมาชูไว้แล้วถามว่า “นี่ลูกอะไร” ถ้า

ประวัติศาสตร์กระซิบ

ใครตอบว่า “บ่าป้าว” ก็รอดตายไปเพราะถือว่าเป็นคนเมือง หรือเงี้ยว แต่ถ้าใครพูดว่า “มะพร้าว” เขาก็จะสั่งไปตัดคอ เพราะถือว่าเป็นคน “ไทย” เหตุการณ์จลาจลเงี้ยวนั้นลุกลามมาถึงเมืองพะเยา โดยเฉพาะการลอบยิง ร้อยเอก เอ็ช.เอ็ม. เย็นเซ่น ชาว เดนมาร์คที่มาเป็นครูฝึกต�ำรวจอยู่ที่เมืองล�ำปาง แล้วส่งมา ปราบเงี้ยวที่เมืองพะเยา แต่มาถูกยิงที่บ้านแม่กาท่าข้าม เรื่อง นี้ผู้มีอ�ำนาจของรัฐสยามไม่พอใจเป็นอย่างยิ่ง จึงได้ส่ง นายพัน ตรีเจ้าราชภาติกวงศ์ เจ้าราชวงศ์ ผู้บังคับต�ำรวจเมืองล�ำปาง กับหลวงศรีสมรรถการ ข้าหลวงมหาดไทยเมืองล�ำปางมา ปราบพวกเงี้ยวที่เมืองพะเยา บันทึกของท่านพระครูศรีวิราชวชิรปัญญา เจ้าคณะ แขวงเมืองพะเยาเขียนไว้ว่า ๐ในวัน แฮม ๑๒ ค�่ำ เดือน ๒ มื้อพระแขวน// เวลา ๑ โมงเจ๊า ไปเมตต๋าเจ้าอุปราชและเจ้าหลวงด้วยก�ำเกี่ยว ด้วยพระมิ่ง//เวลา ๔ โมงเย็นไปเมตต๋าเจ้าอุปราชกับคุณหลวง ด้วยก�ำเกี่ยวด้วยพระมิ่ง //เวลาบ่าย ๔ โมงเย็น ต๋าหารเอาเจ้า หนานนน พญาฅ�ำวงศา แสนผิว ต๊าวไจย ต๊าวใจ๋ ไปยิงที่ปะตู๋ แป้น (วันที่ ๒๖ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๔๕ เวร

ฝนจะตกจะไปเจื้อใจ๋ดาว มีลูกสาวจะไปเจื้อใจ๋มัน

สามเณรแขวน เวลา 7 โมงเช้า ไปเมตตาเจ้าอุปราชและเจ้า หลวงด้วย ธุระเกี่ยวกับสามเณรมิ่ง /เวลา ๔ โมงเย็นไปเมตตา เจ้าอุปราชกับคุณหลวงอีกครั้ง ด้วย ธุระเกี่ยวกับสามเณรมิ่ง เวลาบ่าย ๔ โมงเย็น ทหารได้น�ำ เจ้าหนานนนท์ พญาค�ำวงศา แสนผิว ท้าวไจย ท้าวใจ๋ ไปยิงที่ประตูแป้น) บั น ทึ ก นี้ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า นายทหารที่ ม าจากเมื อ ง ล�ำปางได้น�ำ เงี้ยว ที่จับได้มาประหารชีวิต ซึ่งมี เจ้าหนาน นนท์ พญาค�ำวงศา แสนผิว ท้าวไจย ท้าวไจ๋ ประวัติศาสตร์กระซิบจาก แม่บัวไข ถูกใจ หลาน เจ้า หนานนนท์ เล่าว่า “ตอนนั้นยังเด็กแต่พอจ�ำได้เขาเอาพ่ออุ้ยนั่ง บนล้อ แล้วลากไปตามตลาดพร้อมให้นักโทษทั้งหลายตระโกน ว่า “อย่าไปยะอย่างข้าเน้อ ๆ ๆ” ตลอดเส้นทาง ความจริง นักโทษที่ถูกจับนั้นเป็นเงี้ยวจริง ๆ เพียง คนเดียวคือ “แสนผิว” หรือ ส่างผิ่ว หรือ แสนเมืองฮอม ต้น นามสกุล “เสมอเชื้อ” ส่วนอีก ๔ คนนั้นเป็นคนเมืองทั้งหมด เพียงแต่ว่า สมัยนั้นคนเมืองชอบไปขึ้นเส้น (มีรายชื่อใน Orders in Council) เป็นเงี้ยวเพราะไม่ต้องเสียภาษีรัชชูปการ เป็นคนในบังคับอังกฤษ พอมีเหตุการณ์เกิดขึ้น เลยถอนตัวไม่ทัน จึงกลายเป็น เงี้ยว และถูกประหารชีวิตในที่สุด..ซวยไป.


เดือน กันยายน 2554

Vol.76 ภายใต้โครงการสื่อสารสาธารณะ สถาบันปวงผญาพยาว • โครงการบ่มเพาะหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น เพื่อสร้างหนังสือพิมพ์ชุมชน และส่งเสริมความเป็นพลเมือง สนับสนุนโดย สถาบันอิศรา สสส. และ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • ภาคีความร่วมมือ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา • ภาคีสาขาสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา ด้านการอบรมทักษะการผลิตสื่อ เรื่องเล่าจากชุมชน • เครือข่ายสมัชชาสุขภาพ จังหวัดพะเยา • เครือข่ายนักข่าวพลเมือง ทีวีไทย • สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดพะเยา ผู้ก่อตั้ง : ชัยวัฒน์ จันธิมา แบบอย่างความคิด : พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคำ� พ่อครูเอื้อ มณีรัตน์, สยมชัย วิจิตรวิทยาพงศ์ นักเขียน : วิมล ปิงเมืองเหล็ก, ชัยวัฒน์ จันธิมา, มนตรา พงษ์นิล, ภัทรา บุรารักษ์, สหัทยา วิเศษ, สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา,สายอรุณ ปินะดวง บรรณาธิการ : วัชระ ศรีคำ�ตัน สำ�นักงาน : 242/2 หมู่ 4 ต.หย่วน อ.เชียงคำ� จ.พะเยา 56110 โทร.054-451059 e-mail : phayaorath@hotmail.com พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เจริญอักษร โทร.054-431576

บรรณาธิการ

3

บรรณาธิการ วัชระ ศรีคำ�ตัน vatchara_4@hotmail.com

ฯพณฯขี้กลากกินหัว หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร เมื่อ 3 กรกฏาคม 2554 ที่ผ่านมา จะเห็นมีป้ายแสดงความยินดีกับ ส.ส. ตามถนน หนทางต่างๆ ขึ้นต้นน�ำหน้าชื่อว่า “ฯพณฯ ” จึงมีคนสนใจอยาก ทราบถึงค�ำว่า ฯพณฯ หลายคนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มาถามผมว่า อ่านว่าอย่างไรบ้าง แปลว่าอย่างไรบ้างและใช้กับใครท�ำนองนี้อยู่เสมอ จึงเห็นว่าเพื่อไม่ให้ เกิดความสับสน และเป็นเรื่องที่น่าจะท�ำความเข้าใจให้ชัดเจน ทั้งยังจะ เป็นประโยชน์ต่อเยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้รับรู้ จึงค้นคว้ามาลง ไว้ดังนี้ ค�ำว่า ฯพณฯ เป็นการเขียนค�ำย่อของค�ำว่า “พณะหัวเจ้า ท่าน” ซึ่งแปลว่า ท่านผู้เหนือหัว ใช้เขียนน�ำชื่อหรือต�ำแหน่งเสนาบดี หรือข้าราชการระดับสูง ซึ่งในอดีตคงใช้ได้โดยเหมาะสม เพราะ ประเทศไทยปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ โดยวัฒนธรรม ประเพณีมีมาแต่โบราณกาลว่า พระเจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นเจ้าชีวิต เพราะทรงสร้างบ้านแปง เมือง น�ำความสุขความเจริญอุดมสมบูรณ์และความร่มเย็นเป็นสุขมาสู่ ประเทศ รวมทั้ง เสนาบดี ขุนนางระดับสูงครองอ�ำนาจยิ่งใหญ่ จึง ยกย่องว่า “เป็นท่านผู้อยู่เหนือหัว” ดังในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอน ต้นพบบันทึกว่า “พณะหัวเจ้าท่านศรีธรรมมโศกราช ชาติเดโชชัยมไหสุริยธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช หรือ พณหัวเจ้า ท่านสมุหะพระกลาโหม” เป็นต้น แม้ในปัจจุบันประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่ด้วยเหตุผลดัง กล่าวข้างต้น ประกอบกับพระมหากษัตริย์ยังทรงขจัดทุกข์บ�ำรุงสุขแก่ อาณาประชาราษฎร์โดยตลอดมา จึงทรงอยู่ในฐานะ “เหนือหัว” โดย ชอบธรรมและเหมาะสม ส่วนคนสามัญ เมื่อบ้านเมืองปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญก�ำหนดให้บุคคลมีความเท่าเทียมกัน ไม่มีบุคคลใดสมควร ที่จะเป็น ผู้อยู่เหนือหัวบุคคลอื่น จึงไม่ควรใช้ค�ำว่า ฯพณฯ ซึ่งแปลว่า ท่านผู้เหนือหัว หรือพ่อเหนือหัวของบุคคลอื่น น�ำหน้าชื่อหรือต�ำแหน่ง บุคคลสามัญไม่ว่าจะอยู่ในต�ำแหน่งใด สั้น ๆ ไม่ต้องใช้ ฯพณฯ อีกต่อไป ด้วยค�ำว่า ฯพณฯ เป็นค�ำที่เขียนยาก อ่านยาก และสะกดไม่ถูก ต้องตามหลักเกณฑ์การเขียนและการอ่านค�ำไทย ค�ำเดิมที่ถูกต้องคือ “พณะหัวเจ้าท่าน” ต่อมา ย่อค�ำลงเหลือ ฯพณฯ เขียนไปยาลน้อยไว้ หน้าและหลังค�ำว่า พณ ซึ่งเป็นการเขียนรูปศัพท์ที่ “ไม่ถูกต้อง” และใน ความเป็นจริงทัง้ ผูเ้ ขียน ผูอ้ า่ น และผูถ้ กู เรียกก็ไม่ทราบว่า หมายความว่าอย่างไร จึงเป็นการใช้ค�ำนี้โดยไม่มีเหตุผล เพราะ

ไม่สื่อความหมายหรือความเข้าใจที่ถูกต้อง ทั้งไม่เหมาะสมกับสภาวะ สังคมในปัจจุบันด้วย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 เก็บค�ำ ฯพณฯ ไว้ว่า “น. ค�ำน�ำหน้าชื่อหรือต�ำแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ชั้น รัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น (ย่อมมาจาก พณหัว พณหัวเจ้า พณหัวเจ้าท่าน) เมื่อมาถึงสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว การใช้ ค�ำ ฯพณฯ ได้มีก�ำหนดไว้ในระเบียบการเขียนจดหมาย หรือหนังสือ ราชการ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจัดท�ำเสนอตามความประสงค์ของ นายกรั ฐ มนตรีที่ประสงค์แสดงถึงวัฒนธรรมในการใช้ภาษาอย่าง ภาษาต่างประเทศ และคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบตามหนังสือที่ น.ว. 212 /2486 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2486 แจ้งให้ทุกกระทรวงถือปฏิบัติ โดย ใช้เป็นสรรพนามบุรษุ ที่2สองระดับคือพณะท่านและท่าน แต่ต่อมากรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มีหนังสือที่ น.ว.182 /2487 ลงวันที่ 1กันยายน 2487 แจ้งไปยังทุกกระทรวงว่า คณะ รัฐมนตรีได้มีมติยกเลิกการใช้ระเบียบดังกล่าวที่ก�ำหนดใช้ค�ำ ฯพณฯ ถึงแม้กระนั้นก็ยังปรากฏการใช้ค�ำ ฯพณฯ ในหนังสือราชการอยู่ กรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจึงมีหนังสือที่ น.ว. 108 / 2488 ลงวัน ที่ 15 กันยายน 2488 แจ้งไปยังทุกกระทรวงอีกครั้งหนึ่งให้ยกเลิก การใช้คำ� ฯพณฯ น�ำหน้านามของรัฐมนตรีหรือผูม้ เี กียรติ เว้นแต่ในกรณีพิเศษที่จ�ำเป็นจริงๆ อันเกี่ยวกับการต่าง ประเทศหรื อ ใช้ เ ฉพาะที่ เ ป็ น ค� ำ แปลมาจากภาษาต่ า งประเทศ เท่านั้น สรุปของสรุป ปัจจุบัน หากคณะรัฐมนตรี มิได้มีมติเปลี่ยนแปลงมติตาม หนังสือที่ นว. 182 / 2487 ลงวันที่ 1 กันยายน 2487 และหนังสือ ที่ นว.108 / 2488 ลงวันที่ 15 กันยายน 2488 ซึ่งให้ยกเลิกการใช้ ค�ำว่า ฯพณฯ น�ำหน้าชื่อและต�ำแหน่ง ก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ค�ำว่า ฯพณฯ น�ำหน้าชือ่ และต�ำแหน่งทัง้ ในภาษาเขียนและภาษาพูด ...สั้น ๆ อีกครั้ง...ไม่ต้องใช้ ฯพณฯ อีกต่อไป

ฝนบ่ตกบ่ฮู่เฮือนไฝฮั่น ไผดีไผชั่ว เฮาบ่ได้อยู่กับเขา

ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.attt.in.th/accomplishment-379.html


4 กว๊านพะเยา เป็นแหล่งน�้ำขนาดใหญ่ในจังหวัด พะเยา นับแต่ 69 ปีที่ก่อเกิดเป็นกว๊านพะเยา ประชาชน กลุ่มต่างๆ ได้ใช้ประโยชน์จากกว๊านพะเยา เพื่ออุปโภค บริโภค หาปลา เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำ ผลิตน�้ำประปา และแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของชาวพะเยา และนักท่องเที่ยว เกิดการพัฒนาหลายโครงการในกว๊านพะเยาของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ที่ใช้อ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของตนเอง เพื่อ จัดการกว๊านพะเยาตามบทบาท และภารกิจของแต่ละหน่วย งาน จะเห็นได้ว่าระบบกฎหมายของหน่วยงานต่างๆ เหล่านี้ เป็นเรื่องไกลตัวส�ำหรับภาคประชาชน การพัฒนากว๊านพะเยาที่ผ่านมาเป็นการด� ำเนินงาน ภายใต้แนวคิดการพัฒนากระแสหลักของภาครัฐ ที่เน้น “การ พัฒนา” มากกว่า “การอนุรักษ์” หลายโครงการขาดการมี ส่วนร่วมของชุมชนรอบกว๊านพะเยาอย่างแท้จริง ถูกผูกขาด และด�ำเนินไปเพื่อประโยชน์ของเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะกลุ่ม บุคคลใด ขาดการวิเคราะห์ปัญหา โครงการที่ท�ำไม่สอดคล้อง กับสภาพปัญหาของชุมชน สถานการณ์ดังกล่าวน�ำไปสู่กระแสความขัดแย้งเชิง แนวคิดระหว่างการพัฒนา และการอนุรักษ์ ระหว่างภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน กลุ่มการเมือง และภาคประชาชนทั้งการ เผชิญหน้า และ การรวมกลุ่มกันพูดคุยของภาคประชาสังคม ตามจุดต่างๆ ด้านระบบนิเวศ เกิดความเสื่อมโทรมของระบบ นิเวศในกว๊านพะเยาที่เห็นได้ชัดเจนมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น น�้ำเน่า เสีย เกิดสาหร่ายพิษ ปลาและสัตว์น�้ำสูญพันธุ์ และอีกหลาย ชนิดลดจ�ำนวนลง มีพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์น�้ำต่างถิ่นเข้ามาคุกคาม ฯลฯ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ต่อเนื่องมาจนถึงฉบับปีพุทธศักราช 2550 ได้มี เจตนารมณ์ในการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้จึงมีเวทีสาน เสวนาหาทางออกร่วมกันของทุกภาคส่วน เพื่อแก้ไขปัญหา รอบกว๊านพะเยา ภายใต้โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้าน กฎหมายแก่ภาคประชาชน (Legal Empowerment) จัดโดย สถาบันพระปกเกล้า เมื่อวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2554 โรงแรม เกทเวย์ มีผู้เข้าร่วมจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ประมาณ 60 คน ทั้งนี้ มีการใช้วิธีการสานเสวนาหาทางออกร่วมกัน (Public deliberation) การท�ำฉากทัศน์ (Scenario) ของกว๊านพะเยาทั้งสิ่ง ที่อยากเห็นและสิ่งที่ห่วงกังวล พบว่าผู้เข้าร่วมได้ก�ำหนดภาพ ฝัน และวิสัยทัศน์ในการจัดการกว๊านพะเยา 3 ด้าน ได้แก่ 1)ความสวยงามของกว๊ า นพะเยา-การเพิ่ ม พื้ น ที่ สีเขียว และจัดภูมิทัศน์กว๊านพะเยาทั้งนอกและในกว๊านให้ สอดคล้องกับผังเมือง และวิถีชีวิตชุมชน 2)การใช้ ป ระโยชน์ จ ากน�้ ำ กว๊ า นพะเยา-การใช้ ทรัพยากรดิน น�้ำ ป่าอย่างสมดุล เหมาะสม และยั่งยืน 3)การบริ ห ารจั ด การที่ มี ส ่ ว นร่ ว ม–จัดท� ำธรรมนูญ กว๊านพะเยาและลุ่มน�้ำอิง โดยใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และ สอดคล้องกับวิถีชีวิต โครงการวิจัยเพื่อเสริมสร้างศักยภาพความเข้มแข็ง ด้านกฎหมายแก่ภาคประชาชน (Legal Empowerment) ศึกษากรณีชุมชนรอบกว๊านพะเยา จ.พะเยา จึงเกิดขึ้นโดยมี เป้าหมายเพื่อหาทางออกร่วมกันของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการจัดการกว๊านพะเยาทุกกลุ่ม โดยใช้วิธีการสานเสวนาหา ทางออกร่วมกัน (Public deliberation) ที่มาจากการก�ำหนด โจทย์ร่วม การก�ำหนดฉากทัศน์ (Scenario) การศึกษาข้อดี ข้อด้อยของฉากทัศน์แต่ละฉาก หรือข้อดีข้อด้อยของแต่ละ ทางออก และน�ำทางออกของแต่ละทางมาสานเสวนาเพื่อหา ฉันทามติร่วม (consensus) น�ำไปสู่การแก้ไขปัญหากว๊าน พะเยาร่วมกันต่อไป ส�ำหรับการด�ำเนินโครงการวิจัย“การสร้างพลังทาง กฎหมายแก่ภาคประชาชนด้วยการสานเสวนาหาทางออกเพื่อ แก้ไขกฎหมายของกว๊านพะเยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา” สถาบันปวงผญาพยาวได้ลงพื้นที่ เพื่อเปิดเวทีให้ทุกฝ่ายทั้งผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมเกือบทุกระดับ และจะด�ำเนินต่อ ไปจนถึงปลายปี 2554 ต่อไปนี้เป็นประมวลข้อคิดเห็นและข้อเสนอที่เก็บ มาจากเวทีที่ผ่านมา ท่านใดสนใจร่วมเวทีหรือติดตามความ เคลื่อนไหว แสดงความคิดเห็นและมีข้อเสนอ ได้ที่ www. phayaoforum.com

ปวงผญาพยาว

เดือน กันยายน 2554

คิดร่วมกัน...เพราะกว๊านพ ต�ำบลบ้านต๋อม-บ้านตุ่น

สถาบันปวงผญาพยาว ได้จัดเวทีสานเสวนากลุ่มผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสีย ต�ำบลบ้านต๋อม ในวันที่ 31กรกฎาคม 2554 ณ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลบ้านต๋อม และวันที่ 19 สิงหาคม 2554 ณ ส�ำนักงานองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านตุ่น โดยมี ผู ้ เข้ า ร่ ว มประกอบด้ ว ยตั ว แทนท้ อ งถิ่ น ท้ อ งที่ ชาวประมง กลุ่มท�ำนาบัว และตัวแทนผู้ใช้น�้ำ มาเสนอข้อคิด เห็นในประเด็นที่เกี่ยวกับกว๊านพะเยา และการพัฒนา โดยมี ฝ่ายจัดสรรน�้ำจากโครงการชลประทานจังหวัดพะเยา มาให้ ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการน�้ำในกว๊านพะเยา ลุ่มน�้ำอิง และการ จัดการน�้ำในต�ำบลบ้านต๋อมและบ้านตุ่น หลังจากนั้นผู้เข้าร่วม ได้ให้ข้อคิดเห็นน่าสนใจ อาทิ ประเด็นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการกว๊าน พะเยา ผู้เข้าร่วมได้แสดงความคิดเห็นว่าที่ผ่านมาชุมชนรอบ กว๊านพะเยา ไม่มีส่วนร่วมในการจัดการกว๊านพะเยาอย่าง แท้จริง ในการก�ำหนดแผนงาน/โครงการพัฒนากว๊านพะเยา จากหน่วยงาน ไม่แก้ไขปัญหาของชุมชนอย่างตรงจุด ในส่วน คณะกรรมการพัฒนากว๊านพะเยา ทั้งนี้ชุมชนไม่ทราบข้อมูล ไม่ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ ไม่มีสัดส่วนที่เท่า เทียมของชุมชน จึงอยากให้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนากว๊านพะเยา จากตัวแทนชุมชนรอบกว๊านพะเยา ได้แก่ นายก อปท. ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และตัวแทนภาคประชาชนรอบกว๊านพะเยา ให้ หน่วยงานภาครัฐ เป็นที่ปรึกษา ท�ำหน้าที่ในการให้ข้อคิดเห็น และจัดสรรงบประมาณ ให้การแก้ไขปัญหากว๊านพะเยาเป็น วาระจังหวัด จัดตั้งคณะกรรมการระดับชุมชน จัดท�ำแผนการ จัดการลุ่มน�้ำขนาดเล็กทั้งระบบ (ดิน น�้ำ ป่า ปลา) เสนอต่อ อปท. และภาครัฐ นอกจากนี้ยังได้หยิบยกประเด็นหน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้องกับกว๊านพะเยา ที่มีหลายหน่วยงาน ท�ำงานแบบ แยกส่วน แต่ขาดการบูรณาการกัน ไม่มีความจริงใจในการ ท�ำงาน และการเปลี่ยนผ่านอ�ำนาจ การโยกย้ายผู้บริหารท้อง ถิ่นที่มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด นายก เทศบาล อบต.ส่งผลให้ขาดความต่อเนื่องในการพัฒนากว๊าน พะเยา

พริกมีเฮือนเหนือ เกลือมีเฮือนใต้

ประเด็นด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกว๊าน พะเยา พบว่า กฎหมายล้าสมัย กฎหมายไม่ชัดเจน มีช่องว่าง เปิดโอกาสให้กระท�ำเพื่อประโยชน์ส่วนตน แต่ละหน่วยงาน ต่างยึดถือกฎหมายของตนเองในการปฏิบัติงาน ที่ส�ำคัญคือ ชุมชนไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับข้อกฎหมาย

กลุ่มเยาวชน

สถาบันปวงผญาพยาว ได้เวทีเด็กเยาวชนกับการ มีส่วนร่วมในการพัฒนากว๊านพะเยา ในวันที่ 6 สิงหาคม 2554 ณ ณ ศูนย์การเรียนรู้ประมงพื้นบ้านสันแกลบ ด�ำ อ.เมือง จ.พะเยา มีผู้เข้าร่วมจากตัวแทนกลุ่มเด็กและ เยาวชนจากชุมชนสันป่าม่วง อ.เมือง ซึ่งเป็นชุมชนต้นน�้ำ กว๊านพะเยา ชุมชนสันต้นผึ้ง อ.ภูกามยาว ซึ่งเป็นชุมชน กลางน�้ำท้ายกว๊านพะเยา และนิสิตสาขาพัฒนาสังคมและ สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ทั้งเป็นคนพะเยา และคนต่างจังหวัดที่ได้มาใช้ชีวิตในจังหวัดพะเยา กว๊านพะเยาในมุมมองของเด็กเยาวชน พบว่า กว๊าน พะเยามีน�้ำสะอาด ลงเล่นน�้ำได้ มีปลามากมาย นั่งตกปลา อยู่ริมกว๊าน เกิดความสุขทั้งชาวบ้านและนักท่องเที่ยว เป็น แหล่งน�้ำที่ส�ำคัญของชาวพะเยา เช่น การเกษตร การอุปโภค บริโภค การประมง เป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา เป็น หน้า เป็นตาของจังหวัดพะเยา และเป็นแหล่งเพาะพันธ์ปลา ที่ผ่านมาเด็กเยาวชน ที่มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับกว๊าน พะเยา เช่น ท่องเที่ยว นั่งเล่น กิจกรรมในวันสงกรานต์ ตกปลา การท�ำการเกษตร เช่น การท�ำนารวมของกลุ่มเยาวชน การท�ำ เขตอนุรักษ์พันธ์ปลาท้องถิ่น ข้อเสนอของกลุ่มเด็กเยาวชน คือ ให้มีการพัฒนา เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับกว๊านพะเยา ส่งเสริมอาชีพ เพื่อสร้าง ความมั่นคงทางรายได้ โดยน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ ให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และส่งเสริมให้ เกิดวิถีความพอเพียงของชาวบ้าน ปลูกพืชน�้ำที่สามารถเป็น อาหารของปลาทั้งในกว๊านพะเยา และ ในล�ำน�้ำอิง ด้านการมีส่วนร่วมของเด็กเยาวชนในการพัฒนากว๊าน พะเยา ให้สร้างแกนน�ำ และเครือข่ายเยาวชนในลุ่มน�้ำอิง หรือ


เดือน กันยายน 2554

ปวงผญาพยาว

5 ท่องเที่ยวบ้านฮวก งานวิจัยที่บ้านบัว งานวิจัยชาวประมง งาน วิจัยหนองเล็งทราย งานวิจยัลุ่มน�้ำลาวยวน งานวิจัย 89 เรื่อง ในกว๊านพะเยา ในกลุ่มประวัติศาสตร์กว๊านพะเยา การท่อง เที่ยว การใช้ประโยชน์ที่ดิน ป่าไม้ นันทนาการ ความหลาก หลายของพืช สัตว์ ซึ่งกว๊านพะเยามีการเปลี่ยนแปลงทาง ชีวภาพต้องการงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีงานวิจัย ที่สถาบันการศึกษา นักศึกษา บริษัทที่ปรึกษา ได้เข้ามาท�ำงาน วิจัยในพะเยาอีกมากมาย แต่ไม่ได้เผยแพร่ และการน�ำไปใช้ ประโยชน์ยังอยู่ในวงจ�ำกัด

กลุ่มธุรกิจการค้าในเมือง

พะเยาเป็นของเราทุกคน รอบกว๊านพะเยาให้ความรู้ปลูกจิตส� ำนึกการรักกว๊านให้กับ เยาวชน ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เด็กเยาวชน ประชาชน เพื่อสร้างความตระหนักรู้ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับ กว๊านพะเยา โดยการรณรงค์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เช่น สร้าง การร่วมมือของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ลำ� น�้ำอิงและกว๊าน พะเยา ฟื้นฟูระบบนิเวศ และ สิ่งแวดล้อม สนับสนุนให้เกิด การจัดการร่วมกัน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของชาวบ้าน เกี่ยวกับการจัดการน�้ำ เช่น หมู่บ้านท้ายน�้ำ และหมู่บ้านต้นน�้ำ

กลุ่มผู้หญิงกว๊านพะเยา

สถาบันปวงผญาพยาว ได้จัดเวทีผู้หญิงกับทางออก ในการพัฒนากว๊านพะเยา ในวันที่ 8 สิงหาคม 2554 ณ บ้าน พักเด็กและครอบครัว จังหวัดพะเยา มีผู้เข้าร่วมจากตัวแทน กลุ่มอาชีพ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มกพสต. อาสาสมัครสาธารณสุข สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาก 5 ต�ำบล 1 ชุมชน รอบกว๊านพะเยา ได้แก่ บ้านแม่ต�๋ำ ชุมชนแม่ต�๋ำ บ้านแม่ใส บ้านร่องไฮ ต�ำบลแม่ใส บ้านสันกว๊าน บ้านสันช้างหิน ต�ำบล บ้านตุ่น บ้านสาง ต�ำบลบ้านสาง และบ้านสันหนองเหนียว ต�ำบลบ้านต๋อม แต่ละต�ำบลได้แสดงความคิดเห็นว่า กว๊านพะเยาในมุมมองของกลุ่มตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ในอดีต กว๊านพะเยาแหล่งหากินของชาวบ้านในการท�ำประมง หาแหนมาเลี้ยงหมู กินน�้ำได้ อยากเห็นกว๊านพะเยาเหมือนใน อดีต กินได้ เก็บบัวมากิน ปลามากมาย น�้ำใส ปัจจุบัน กว๊าน พะเยาเป็นสถานที่มั่วสุมของเด็กวัยรุ่น กว๊านแคบลง มาปลาได้ น้อยลง แหล่งท่องเที่ยว ท�ำประปา ใช้น�้ำในการเกษตร ปลาลด ลง สารพิษจากการเกษตร กิจกรรมที่กลุ่มผู้หญิงท�ำเกี่ยวกับกว๊านพะเยา ได้แก่ ท�ำประมง หาปลา ค้าขาย ถนนคนเดิน ขายของบริเวณกว๊าน ออกก�ำลังกาย สถานที่พักผ่อน ปล่อยปลา จักสานผักตบชวา และใช้น�้ำกว๊านท�ำนา ที่ผ่านมากลุ่มผู้หญิงได้เข้าไปมีส่วนร่วม ในการพัฒนากว๊านพะเยา การให้ข้อคิดเห็นต่อการพัฒนา การจัดการกว๊านพะเยา เช่น ปลูกต้นไม้ ให้ข้อคิดเห็นต่อการ พัฒนากว๊าน เช่น ร่วมกับเทศบาลเก็บผักตบชวา เก็บขยะ มูลฝอย ท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพ เทลงในแม่น�้ำ ในวันสิ่งแวดล้อม วันอสม. เป็นต้น

สิ่งที่อยากเห็น/ภาพที่อยากเห็น ได้แก่ กว๊านพะเยา สะอาด มีความสวยงาม เป็นที่ท่องเที่ยวของคนริมกว๊าน มี น�้ำใช้ตลอด เป็นแหล่งหากิน เป็นแหล่งเศรษฐกิจ และสร้าง จิตส�ำนึกในการรักษากว๊านพะเยา สภาพปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา กว๊านพะเยา จากมุมมองกลุ่มผู้หญิงได้แก่ น�้ำกว๊านพะเยาเสีย จากการปล่อยน�้ำเสีย และขยะ สารเคมีจากการเกษตรลงใน น�้ำกว๊าน ท�ำให้หาปลายากขึ้น พันธุ์ปลาหายไป โดยเฉพาะใน ช่วงปลาวางไข่ กลุ่มผู้หญิงบอกว่าการพัฒนาที่ผ่านมาท�ำโดย ไม่มีงบประมาณ หรือได้งบน้อย ขาดการประสานงาน และ เชื่อมเครือข่าย คนในชุมชนไม่มีจิตส�ำนึก ไม่ให้ความร่วมมือใน การท�ำกิจกรรม ในประเด็นหลัก กลุ่มผู้หญิงมีความห่วงกังวลต่อการ พัฒนากว๊านพะเยาโดยพบว่า ถนนรอบกว๊านพะเยาฝั่งตะวัน ตกที่สร้างขึ้นแล้ว ขาดการดูแลจากหน่วยงานภาครัฐ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบกว๊านพะเยา ส่งผลให้สภาพ ถนน ไหล่ถนนช�ำรุดในบางช่วง ไม่มีแสงไฟส่องสว่าง ท�ำให้เกิด อุบัติเหตุต่อผู้สัญจรถนน อีกทั้งบริเวณสวนสาธารณะยังเป็น สถานที่มั่วสุม พบปะดื่มสุราของวัยรุ่น มีเศษขยะและเศษขวด แก้วตามบริเวณถนน และสวนสาธารณะ

กลุ่มนักวิชาการ /นักวิจัย

สถาบันปวงผญาพยาว ได้จัดเวทีสานเสวนา “นัก วิชาการกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนากว๊านพะเยา” ใน วันที่ 10 สิงหาคม 2554 ณ ร้านกาแฟเฮือนไม้สัก อ.เมือง จ.พะเยา โดยมีตัวแทนนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และหอ วัฒนธรรมนิทัศน์ วัดศรีโคมค�ำ เข้าร่วมการเสวนาได้ชวน พูดคุยในเรื่องการท�ำวิจัยที่ผ่านมาของจังหวัดพะเยา การน�ำ งานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ความท้าทาย / แนวทางการท�ำงาน วิจัยกว๊านพะเยาในอนาคต และแนวทางการเชื่อมร้อยเครือ ข่ายนักวิจัย ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวกับพะเยาที่ผ่านมา เป็นงาน วิจัยที่ชาวบ้านมีส่วนร่วม เช่น รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะ สมของกว๊านพะเยา แหล่งการเรียนรู้ชุมชน บ้านร่องไฮ การ

ฟังก�ำเล่า บ่เตาต๋าหัน

สถาบันปวงผญาพยาว ได้เข้าร่วมการประชุมกับ กรรมการสภาหอการค้า และสภาอุตสาหกรรม จ.พะเยา ใน วันที่ 30 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมนอร์ทเทรินเลค อ.เมือง จ.พะเยา กลุ่มนี้มีมุมมองว่ากว๊านพะเยาเป็นแหล่งน�้ำจืดที่ใหญ่ เป็นอันดับสองของประเทศไทย เป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำ เป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลาน�้ำจืดขนาดใหญ่ เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีหน่วย งานรับผิดชอบมาก เป็นสมบัติของคนพะเยา ดังนั้นประชาชน คนพะเยาจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการกว๊านพะเยา ที่ ผ่านมาทางกลุ่มธุรกิจ ได้น�ำเสนอวิธีการพัฒนากว๊านพะเยาต่อ จังหวัดหลายครั้ง แต่ยังไม่มีความคืบหน้าในการด�ำเนินงาน สรุปประเด็น และข้อเสนอของกลุ่มธุรกิจ ด้านการ พัฒนากว๊านพะเยา พบว่า การพัฒนากว๊านพะเยาไม่ต่อเนื่อง ไม่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชน และวิถีของชุมชน มีปัญหา ข้อขัดแย้ง และข้อคิดเห็นในการพัฒนากว๊านพะเยา ที่หลากหลาย มีกลุ่มผลประโยชน์ และกลุ่มเสียผลประโยชน์ ในการพัฒนากว๊านพะเยา เกิดการผูกขาดการพัฒนากว๊าน พะเยาที่หน่วยงานภาครัฐ ข้อเสนอ คือ ให้มีการพัฒนาให้เป็นแหล่งน�้ำ เพื่อการ อุปโภค บริโภคอย่างยั่งยืน แบ่งโซนในการพัฒนากว๊านพะเยา เช่น จากสะพานประมงถึงหลังโรงพยาบาลเป็นแหล่งท่องเที่ยว ส่วนฝั่งตะวันตกเป็นแหล่งประมงและเกษตรกรรม หรืออื่นๆ จ้างเอกชนในลักษณะ outsource เข้ามาจัดการเรื่องการท่อง เที่ยวของกว๊านพะเยา เช่น การท�ำสนามบินน�้ำ ลากแพท่อง เที่ยว เรียนรู้จุดเรียนรู้ของชุมชนต่างๆ รอบกว๊านพะเยา ด้านกลไกการจัดการที่มีอยู่เดิม รวมทั้งหน่วยงานภาค รัฐที่เกี่ยวข้อง พบว่า ขาดเจ้าภาพหลัก - เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ไม่ได้ปฏิบัติงานจริงจังคิดแบบเดิม ท�ำแบบเดิม การพัฒนา กว๊านพะเยาไม่มีความก้าวหน้า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่มี ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่มีการพูดคุยถึงภาพรวมของ การบริหารจัดการกว๊านพะเยา ข้อเสนอ คือ ให้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนากว๊าน พะเยาที่มาจากทุกภาคส่วน ที่มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ และ การจัดการ เป็นตัวกลางในการประสานงาน ด้านกฎหมาย/ระเบียบที่เกี่ยวกับกว๊านพะเยา พบว่า กฎหมายของแต่ละหน่วยงานมีความขัดกัน กฎหมายมีความ ล้าสมัย ไม่ทันต่อสถานการณ์ ข้อเสนอ คือ การแก้ไขกฎระเบียบของหน่วยงานที่เป็น ปัญหาอุปสรรคต่อการพัฒนากว๊านพะเยา เช่น กรมประมง กรมเจ้าท่า กรมธนารักษ์ ให้มีความสอดคล้องกับความ ต้องการของคนพะเยา จัดท�ำพรบ.กว๊านพะเยา โดยให้มีสภาพ บังคับตามกฎหมาย ให้มีการเสียภาษีให้กว๊านพะเยา โดยตรง ให้สามารถเลี้ยงตัวเองได้ พึ่งตนเองได้ จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์จังหวัดของภาคประชาชนโดย ท�ำเป็น road map 5-10 ปี โดยการวางแผน ก�ำหนดกรอบ การพัฒนากว๊านพะเยา และวางผังเมือง เพื่อรองรับการเข้ามา ของประชาคมอาเซียน เช่น ก�ำหนดเขต/จัดโซนนิ่งในการเข้า มาลงทุนของชาวต่างชาติ


พะเยาป

บุญก�ำกึ้ดปอยฮอมผญาผ้าป่าควา 27 ส.ค.54 ที่วัดศรีโคมค�ำ จังหวัดพะเยา เครือข่ายขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดพะเยา ร่วมกับ องค์กรภาครัฐ องค์กร พัฒนาเอกชน องค์กรธุรกิจ และสื่อมวลชนทุกแขนง ได้จัดงาน“ปอย ฮอมผญา ก้าวสู่ 919 ปีเมืองพะเยา” เนื่องในโอกาส ครบรอบการก่อตั้งจังหวัดพะเยาปีที่ 34 โดยมีประชาชนชาวพะเยา ทั้ง 9 อ�ำเภอ ไม่ว่าจะเป็นเด็กเยาวชน แกนน�ำเครือข่าย ผู้น�ำชุมชน และผู้บริหารท้องถิ่น เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ กว่า 1,000 คน ถือเป็นการรวมคน เครือข่าย ความรู้ ทุนทางสังคม สื่อ ของคนเมืองพะเยาเพื่อฮอมความคิด หรือ ฮอมผญา ช่วยกันออกแบบสังคมพะเยาว่าจะอยู่ร่วมกันในระยะยาวได้อย่างไร ซึ่งการจัดงานดังกล่าว เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนรู้ประสบการณ์และตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขปัญหาจังวัดพะเยา ระหว่างกลุ่ม องค์กรต่างๆ ที่เป็นภาคประชาสังคม รวมถึงเป็นการสร้างความตื่นตัวและผนึกก�ำลังร่วมกันระหว่างองค์กรต่างๆ ทุกภาค ส่วน ให้เห็นความส�ำคัญของการรวมพลังคนพะเยาสู่การจัดการตนเอง และเพื่อแสวงหาแนวทางและความร่วมมือ จากภาคี เครือข่ายต่างๆ ในการร่วมกันพัฒนานโยบายสาธารณะการพัฒนาจังหวัดพะเยาแบบมีส่วนร่วม ส�ำหรับรูปแบบการจัดงานจะเป็นการเปิดเวทีความคิดเห็นของคนพะเยาและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อประมวลความ คิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเมืองพะเยา และร่วมกันก�ำหนดนาคตเมืองพะเยาโดยมีทั้งเวทีย่อยที่ได้มีการประมวล ประเด็นได้ 4 เรื่อง ได้แก่ เหลียวหลังแลหน้ากว๊านพะเยาและการจัดการกลุ่มน�้ำอิง ประชาธิปไตยชุมชนสู่ท้องถิ่นจัดการ ตนเอง เกษตรปลอดภัยจะเป็นอย่างไรกับประชาคมอาเซียน และเรียนรู้สู่การจัดการสุขภาวะคนพะเยา และเวทีใหญ่เป็นการ เสวนาเรื่อง เหลียวหลังแลหน้า คนพะเยาก�ำหนดอนาคตเมืองพะเยา พะเยารัฐ ขอน�ำข้อเสนอในแต่ละเวทีมาเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับคนพะเยาในการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกันต่อไป

ประเด็นการพัฒนากว๊านพะเยา และการจัดการลุ่มน�้ำอิง

ก.ด้านการจัดการความรู้ในการพัฒนากว๊านพะเยา และลุ่มน�้ำอิง 1.รวบรวมและจัดท�ำระบบฐานข้อมูล หรือมีศูนย์ ข้อมูลที่เกี่ยวกับดิน น�้ำ ป่าและการจัดการสิ่งแวดล้อมในระดับ ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัดให้เป็นระบบ สามารถเข้าถึง และน�ำมาใช้ ประโยชน์ร่วมกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2.สร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ในการมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหาโดยสร้างการเรียนรู้ผ่านงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนักในปัญหาของชุมชน มีความ เท่าทันต่อเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกชุมชน 3.ระดมปัญหาวิเคราะห์ปัญหาสู่การท�ำแผนยุทธศาส ตร์ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (ดิน น�้ำ ป่า) และสิ่ง แวดล้อมในลุ่มน�้ำอิง และกว๊านพะเยา

ข.ด้านกลไก โครงสร้าง และกฎหมายในการจัดการ กว๊านพะเยา 1. จัดตั้งสมัชชาพัฒนากว๊านพะเยาและลุ่มน�้ำอิง ที่มา จากทุกองค์กรภาคส่วนในจังหวัดพะเยา 2.องค์ประกอบของสมัชชาพัฒนากว๊านพะเยา ให้มี คณะกรรมการของภาคประชาชนที่มาจากทุกฝ่าย และใน สัดส่วนที่เท่าเทียมกันกับภาครัฐ 3.จัดท�ำธรรมนูญกว๊านพะเยาและลุ่มน�้ำอิงอย่างยั่งยืน ที่มาจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และผู้ที่มีส่วนได้ส่วน เสียในการจัดการกว๊านพะเยา ซึ่งจะเป็นการจัดท�ำนโยบาย สาธารณะในการพัฒนากว๊านพะเยา ของคนพะเยา โดยคน พะเยา 4.ทบทวนกฎหมาย/ ประกาศจังหวัดในการพัฒนา กว๊านพะเยา และลุ่มน�้ำอิง ให้มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และความต้องการของประชาชน

หมาบ่เห่าจะไปหลอก คนหัววอกจะไปคบมัน

5.สมัชชาพัฒนากว๊านพะเยาและลุ่มน�้ำอิง มีบทบาท หน้าที่ในสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการพัฒนา กว๊านพะเยา และติดตาม ตรวจสอบ ให้ข้อคิดเห็นต่อโครงการ/ กิจกรรมในการพัฒนากว๊านพะเยา ค.ด้านการพัฒนากว๊านพะเยา และลุ่มน�้ำอิง 1.การด�ำเนินกิจกรรมในการพัฒนากว๊านพะเยา และ ลุ่มน�้ำอิง ควรเป็นการจัดการลุ่มน�้ำอิงทั้งระบบ (ดิน น�้ำ ป่า ต้นน�้ำ ป่าไม้) โดยตระหนักถึงความหลากหลายทางชีวภาพใน แหล่งน�้ำ เช่น การขุดลอกแม่น�้ำอิง และกว๊านพะเยา ให้ละเว้น บริเวณหลง คุ้ง บวก หนอง เพื่อให้เป็นที่อยู่ของปลาและสัตว์ น�้ำตามธรรมชาติ และควรท�ำในฤดูแล้ง รวมทั้งการก�ำจัดผัก ตบชวา ต้องมีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง 2.ให้มีการศึกษาผลกระทบในการพัฒนากว๊านพะเยา ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสุขภาพ และด้านสังคมในเชิงลึก และ ในทุกชุมชนที่อยู่ในขอบเขตของโครงการ 3.ทบทวนนโยบายการพัฒนาลุ่มน�้ำอิง และกว๊าน พะเยา ที่เน้นการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ โครงการผันน�้ำ ข้ามลุ่มน�้ำ เพียงเพื่อการจัดหาน�้ำหรือการสร้างแหล่งกักเก็บ น�้ำเท่านั้น 4.ทบทวนนโยบายการส่งเสริมปลูกพืชเศรษฐกิจ โดย เฉพาะในฤดูแล้ง เพื่อลดปริมาณการใช้น�้ำ และส่งเสริมแนวคิด เศรษฐกิจแบบพอเพียง การปลูกพืชคลุมดิน การไถกลบ การใช้ ปุ๋ยหมัก ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ฯลฯ 5.ให้มีระบบการจัดการน�้ำเสีย ที่ไหลลงกว๊านพะเยา ทั้งฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออกอย่างจริงจัง 6. การดูแลรักษาป่าต้นน�้ำกว๊านพะเยา เช่น ปลูกป่า ทดแทน การฟื้นฟูป่าต้นน�้ำ ไม่ตัดไม้ท�ำลายป่า ง.ข้อเสนอต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล /อบต. / อบจ.) ออกกฎหมายจัดสรรงบประมาณอย่างน้อยร้อยละ 1 มาดูแลเรื่องป่าชุมชน เช่น ส�ำรวจแนวเขตป่า ดับไฟป่า แหล่ง


ปริทัศน์

พะเยารัฐ เดือนกันยายน 2554

ามคิด ก้าวสู่ 919 ปีเมืองพะเยา เรียนรู้ในการจัดการป่าชุมชน เป็นต้น 2.ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(เทศบาล อบต. อบจ.) สนับสนุนกิจกรรมการสืบสานประเพณี วัฒนธรรมในการ จัดการกว๊านพะเยา และลุ่มน�้ำอิง เช่น เลี้ยงผีขุนน�้ำ บวชป่า สืบชะตาแม่น�้ำ ปลูกป่า 3.ฟื้นฟูระบบนิเวศป่าต้นน�้ำกว๊านพะเยาทั้ง 12 ล�ำห้วย โดยให้ความส�ำคัญกับภูมิปัญญาชาวบ้านและการมีส่วนร่วม ของชุมชนในท้องถิ่น 4.สนับสนุนการจัดการน�้ำโดยชุมชน เช่น ระบบเหมือง ฝายโบราณโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดท�ำแก้มลิง และแหล่งน�้ำ หัวไร่ปลายนา 5.สนับสนุนให้เกิดการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น�้ำ โดยชุมชน 6.สนับสนุนให้เกิดงานวิจัยจาวบ้าน เพื่อน�ำเสนอองค์ ความรู้ของท้องถิ่นในการจัดการลุ่มน�้ำ 7.ในกรณีที่มีโครงการที่เกี่ยวกับการจัดการน�้ำในพื้นที่ โดยภาครัฐ ให้ประสานแกนน�ำแต่ละชุมชน จัดเวทีประชาคม เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 8.ใช้แนวคิดนิเวศวัฒนธรรม มาเป็นแนวทางในการ จัดการน�้ำ เช่น สืบชะตาแม่น�้ำ สืบชะตากว๊านพะเยา ท�ำวังปลา เขตอนุรักษ์พันธุ์ปลาในกว๊านพะเยาและในแม่น�้ำอิง เป็นต้น

ประเด็นการสร้างประชาธิปไตยชุมชน สู่ท้องถิ่นจัดการตนเอง

ทางการสื่อสารของประชาชน 4.สภาประชนต้องเกิดภายใต้สภาองค์กรชุมชน โดยเริ่ม ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ต�ำบล ซึ่งประชาชนควรมีส่วนร่วมตั้งแต่ การร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วม แก้ปัญหา 5.สภาองค์กรชุมชนต้องถูกตั้งขึ้นทุกพื้นที่ต� ำบลเพื่อ เป็นกลไกของประชาชน ที่สามารถตรวจสอบอ�ำนาจรัฐได้

ประเด็นการพัฒนาเกษตรกรรม และเศรษฐกิจ จ.พะเยา

1. สนับสนุนให้เกษตรกรจ.พะเยาสามารถพึ่งตนเองได้ 2.ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรของจังหวัดพะเยา ท�ำ เกษตรแบบปลอดภัยในทุกกลุ่ม 3.หน่ ว ยงานต่ า งๆต้ อ งส่ ง เสริ ม ให้ ก ลุ ่ ม เกษตรกร สามารถจัดการและแปรรูปผลผลิตการเกษตรที่ปลอดภัย เพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่มของกลุ่มเกษตรกร 4. ส่งเสริมให้เกษตรกรพะเยาลดการใช้สารเคมีทางการ เกษตรเพื่อให้เกิดสุขภาวะด้านสุขภาพที่ดี 5.รื้อฟื้นเรื่องการพัฒนาระบบกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง ขึ้นมาใหม่ เพื่อสร้างความร่วมมือ การช่วยเหลือกัน ภายใน กลุ่มเกษตรกรด้วยกัน 6.ภาคธุรกิจกับภาคเกษตรกรรม ร่วมกันวางแผนการ ผลิตเพื่อจะให้ปริมาณและคุณภาพด้านเกษตรของ จ.พะเยา สามารถออกสู่ตลาดได้อย่างต่อเนื่องและได้ราคาที่เป็นธรรม

ประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1. โครงสร้างการเมืองต้องมีการเปลี่ยนแปลง สส.ไม่ใช่ และสังคมคนพะเยา เป็นผู้ตัดสินใจแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่ควรสนับสนุนให้สภา 1.สถาบันครอบครัว ต้องให้ความส�ำคัญกับการเลี้ยง องค์กรชุมชน และฝ่ายต่าง ๆเข้ามามีส่วนร่วม 2. การเลือกตั้ง ควรต้องเป็นอ�ำนาจที่ศักดิ์สิทธิ ของ และดูแลลูก เพื่อให้เกิดความอบอุ่นในครอบครัวโดยเน้นการ ประชาชน ไม่ใช่ถูกซื้อ และตกอยู่ใต้อ�ำนาจเงิน และเลือกคนที่ สื่อสารและการสร้างความเข้าใจในครอบครัว 2.สร้างสังคมเมืองพะเยาท�ำให้เกิด “ความสุขใจโดย มองเห็นประโยชน์ของคนในชุมชน เป็นส่วนใหญ่เพือ่ มาเป็นผูน้ �ำ 3. สื่อมวลชน มีความส�ำคัญที่ต้องรับฟังและเป็นช่อง การน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่น” อย่ากิ๋นก่อนตาน อย่ามานก่อนแต่ง

3. สร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ โดย เน้น “การเชื่อมประสานความร่วมมือจากคนในชุมชน และ หน่วยผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการดูแลผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน 4.การสร้างสวัสดิการการออม โดยคนในชุมชนเห็น ความส�ำคัญเพื่อเกิดการสร้างความเข้มแข็งให้กับคนในชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างสวัสดิการเพื่อการดูแลคนในชุมชนลดการ พึงพาคนภายนอก เกิดการพึงตัวเอง 5.พัฒนาและ“สร้างภูมิคุ้มกันให้เยาวชน” เพื่อท�ำให้ เยาวชนมีคุณธรรม และเข้ามามีส่วนร่วมในการท�ำงานทาง ชุมชนและสังคม 6.ให้สถาบันการศึกษาในจังหวัดพะเยา เข้ามามีส่วน ร่วมกับคนในชุมชน เพื่อพัฒนาให้เกิดหลักสูตรและการเรียนรู้ ในท้องถิ่นจ.พะเยา 7.เชื่อมประสานความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้ง ครอบครัว ชุมชน สังคม เพื่อให้ เกิดภาคีเครือข่าย ที่มีความ ร่วมมือในการ “สร้างสุขภาวะของคนพะเยา” เพื่อสร้างสังคม เมืองพะเยาที่มีความสุข


8

คุณภาพชีวิต

มจร.พะเยาจัดเสวนาการศึกษาลุ่มน�้ำโขง

23 สิงหาคม 2554 ที่โรงแรมพะเยาเกทเวย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา จัดประชุม สัมมนาทางวิชาการความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนา ในประเทศภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง เนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปี การก่อ ตั้ง มจร.วข.พะเยา โดยมีผู้แทนและนักวิชาการจากประเทศภูมิภาคลุ่มแม่นน�้ำโขง สภาวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ พระนิสิต หัวหน้าส่วนราชการ ผู้น�ำ อปท. และประชาชน จ�ำนวนมากเข้าร่วมอบรม เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ทางด้านพระพุทธศาสนาในประเทศภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง รวมทั้งพัฒนาการบริหารจัดการด้านจัดการศึกษา การเรียน การสอน การวิจัย ของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

เดือน กันยายน 2554

โวยขยะเชียงค�ำ ร้ อ งเรี ย นไม่ คื บ

วันที่ 5 สิงหาคม 2554 นายทูล เวียงค�ำ ราษฎรใน พื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลหย่วน อ�ำเภอเชียงค�ำ ใน นามกลุ่มรักความยุติธรรมต�ำบลหย่วน ได้เข้าร้องเรียนต่อ หนังสือพิมพ์พะเยารัฐ เรื่อง ความไม่คืบหน้ากรณีที่ตนเอง ได้ยื่นหนังสือร้องเรียนให้ตรวจสอบการท�ำงานของผู้บริหาร องค์การบริหารส่วนต�ำบลหย่วน เกี่ยวกับการจัดการขยะ กับนายอ�ำเภอเชียงค�ำ โดยที่ว่าการอ�ำเภอเชียงค�ำ ได้ลงรับ หนังสือร้องเรียนดังกล่าวไว้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2554 แต่จนถึงบัดนี้ก็ไม่ความคืบหน้าใดๆ ตนจึงได้สอบถามไปผู้ เกี่ยวข้องหลายครั้งก็ไม่ได้ค�ำตอบ จึงได้ส่งเรื่องไปยังจังหวัด ทางจังหวัดก็ได้ชี้แจงว่าต้องรอผลสอบจากทางอ�ำเภอ แต่ อ�ำเภอก็ไม่มีการสอบ ดังนั้นตนจึงอยากน�ำเรื่องนี้มาเปิดเผย ต่อสาธารณชนว่า ทางอ�ำเภอเชียงค�ำ ละเลยและไม่เห็นความ เดือดร้อนของประชาชน นายทูล กล่าวว่า ปัญหาขยะในเขต อบต. หย่วน เกิด ขึ้นมาตั้งแต่ปี 2552 จนถึงวันนี้ก็ไม่ได้ด�ำเนินการแก้ไขอย่าง เป็นรูปธรรม แม้จะมีโครงการจัดเก็บขยะ แต่ก็ขัดต่อระเบียบ กฏหมายและข้อบัญญัติของ อบต. เช่น ละเว้นการก�ำจัดขยะ ในพื้นที่ จากนั้นได้ตั้งกลุ่มกองทุนสวัสดิการขยะไรไซเคิลขึ้น มา โดยให้เอกชนด�ำเนินการ แต่อบต.หย่วนกลับใช้รถหรือเจ้า หน้าที่ อบต.เป็นผู้เก็บแทน “ผมในฐานะประชาชนผู้เสียภาษี ได้ท�ำหนังสือให้ทาง อบต.ชี้แจงเรื่องนี้ ก็ไม่มีค�ำตอบ ต่อมาจึงร้องเรียนให้ทาง อ�ำเภอเชียงค�ำตรวจสอบการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ อบต. หย่วน ว่ามีการกระท�ำผิด ตามพรบ.และข้อบัญญัติของ อบต. หรือไม่ ก็ไม่มีค�ำตอบอีก แล้วอย่างนี้ประชาชนจะไปพึ่งใคร” นายทูล เวียงค�ำ กล่าวว่า ที่ผ่านมามีเจ้าหน้าที่อ�ำเภอ เข้ามาต่อรองเรื่องนี้โดยให้ตนหยุดเคลื่อนไหว และบอกว่าต่อ ไปผู้บริหาร อบต.หย่วนจะไม่ลงเล่นการเมืองแล้ว ซึ่งตนคิดว่า เป็นการกระท�ำที่ดูถูกประชาชนอย่างมาก เพราะจะลงเล่น หรือไม่เล่นการเมือง ผู้บริหารดังกล่าวก็ควรถูกตรวจสอบว่า ได้กระท�ำความผิดในเรื่องตามที่ร้องเรียนหรือไม่อย่างไร “ผมจะเดินหน้าเรื่องนี้ต่อไป เมื่อไม่มีค�ำตอบก็อาจจะ ต้องใช้กลุ่มพลังประชาชนกดดัน เพราะปัญหาขยะใน อบต. หย่วน ยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างแท้จริง ประชาชนเดือดร้อน ไม่มีที่ทิ้ง ที่มาเก็บทุกวันนี้ก็เก็บบางส่วนเฉพาะที่ซื้อถุงจาก เอกชน และมีราคาแพงด้วย” นายทูลกล่าว

เตือนโรคหน้าฝน พบมือเท้าปาก-ตาแดงระบาด

พญ.อารีย์ ตันบรรจง

แพทย์หญิงอารีย์ ตันบรรจง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพะเยา กล่าวว่า ในช่วงฤดูฝนนี้ เป็นช่วงการระบาดของโรค มือเท้าปาก ( Hand foot mouth disease) ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า ๕ ปี ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการติดเชื้อ อาการที่พบคือ ไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลว มีตุ่ม พองเล็กๆ เกิดที่ในปาก ฝ่ามือ และเท้า โดยระหว่างเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ๒๕๕๔ จังหวัดพะเยาพบผู้ป่วยทุกอ�ำเภอ มีจ�ำนวนผู้ป่วยสูงสุดในอ�ำเภอเชียงม่วน รองลงมาคืออ�ำเภอแม่ใจ และพบในเด็กอายุต�่ำกว่า ๔ ปีเป็นส่วนใหญ่ รองลงมาคือเด็ก วัยเรียนอายุ ๕ - ๙ ปี จากสถานการณ์ดังกล่าว ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา จึงแจ้งมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรค ดังกล่าว คือ (๑) สังเกตเด็กในความปกครองว่ามีผื่น หรือตุ่มน�้ำที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้าหรือในปากหรือไม่ หากพบความผิดปกติให้พาไปพบแพทย์เพื่อ ท�ำการวินิจฉัย เมื่อพบว่าเป็นโรคมือเท้าปากให้เด็กหยุดเรียน ๑ สัปดาห์ (๒) ให้เด็กและผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กล้างมือด้วยน�้ำ สบู่บ่อยครั้งขึ้น โดยเฉพาะการล้างมือก่อนเตรียมอาหาร ก่อนรับประทานอาหาร และหลังเข้าห้องน�้ำ หรือหลังท�ำความสะอาด เด็กเมื่อขับถ่าย (๓) แยกของใช้เด็ก เช่น ผ้าเช็ดหน้า แก้วน�้ำ ช้อนอาหาร ไม่ให้ใช้ปะปนกัน และรักษาสุขอนามัยในการรับ ประทานอาหาร เช่น การใช้ช้อนกลาง ไม่ใช้แก้วน�้ำร่วมกัน (๔) หมั่นท�ำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ที่เด็กสัมผัสด้วย น�้ำยาฆ่าเชื้อโรค ผงซักฟอก (๕) หลีกเลี่ยงพาบุตรหลานไปในสถานที่แออัด เช่น ห้างสรรพสินค้า ตลาด สระว่ายน�้ำ ในช่วง ที่มีการระบาดของโรค นอกจากนี้ ทางส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยายังได้จัดระบบให้หน่วยงานสาธารณสุขทุกหน่วยงานมีการรายงาน สถานการณ์น�้ำท่วมที่มีผลกระทบต่อการให้บริการของสถานบริการสาธารณสุข ผลกระทบต่อประชาชนและบุคลากร สาธารณสุข เพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนด้านการสาธารณสุขทั้งด้านการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคภัยที่มากับฤดูฝน และน�้ำท่วม รวมทั้งช่วยเหลือในด้านการดูแลสุขภาพจิตผู้ประสบภัย โดยก่อนหน้านี้ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคตาแดง ไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่มากับฤดูฝนจากหลายพื้นที่ จึงขอให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัว เพื่อป้องกันโรคติดต่อ ดังกล่าว โดยการหมั่นล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ โดยใช้น�้ำ สบู่ ทุกครั้งก่อน- หลัง หยิบจับสิ่งของ รับประทานอาหาร ขับ ถ่าย เพื่อป้องกันโรคดังกล่าว รวมทั้งให้ประชาชนระวังโรคที่พบบ่อยในช่วงน�้ำท่วม คือโรคน�้ำกัดเท้า และโรคฉี่หนู โดยการ หลีกเลี่ยงการลุยน�้ำโดยไม่จ�ำเป็น แต่ถ้าหากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้รีบล้างเท้าด้วยน�้ำและสบู่ให้สะอาดและเช็ดให้แห้งโดยเร็วที่สุด ถ้า มีบาดแผลควรป้องกันไม่ให้ถูกน�้ำโดยการปิดแผล และสวมรองเท้าบู๊ทยาง

จิ้นใกล้ปากหมา ปล๋าใกล้ปากแมว


เดือน กันยายน 2554

คุณภาพสังคม

9

“ต้นไคร้”ในกว๊านพะเยา ค่าทีไ่ ม่มใี ครมองเห็น

ความหลากหลายในกว๊านพะเยา ไม่ได้มีแค่เรื่อง ปลาเท่านั้น แต่ยังมีพืชน�้ำอีกจ�ำนวนมากที่คงประดยชน์ ในการรักษาสมดุลให้กว๊านพะเยาเป็นแหล่งน�้ำที่สะอาด ติด อันดับพื้นที่ชุมน�้ำระดับนานาชาติ ต้น“ไคร้นุ่น”หรือ“ไคร้น�้ำ” คือ พืชน�้ำอีกชนิดหนึ่งที่ เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น�้ำและสร้างพื้นที่ชุมน�้ำในกว๊านพะเยา ให้เป็นระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์ แต่วันนี้พื้นที่อยู่ของไม้น�้ำชนิด นี้น้อยลงไปเรื่อยๆและยังไม่มีการจัดการและอนุรักษ์ไว้อย่าง ชัดเจน โดยเฉพาะกว๊านพะเยาด้านทิศตะวันตก ศุภฤกษ์ การเร็ว ผู้ใหญ่บ้านบ้านร่องไฮ ม.1 กล่าว ว่า ต้นไคร้ที่อยู่ที่บ้านร่องไฮไม่ได้มีมากที่สุด เพราะต้นไม้ น�้ำชนิดนี้เป็นไม้ที่ลอยน�้ำ คล้ายๆกับผักตบชวา เคลื่อนย้าย ตามทิศทางลมและระดับน�้ำ แต่บ้านร่องไฮมีลักษณะเป็นหลง เมื่อไม้ชนิดนี้พัดเข้ามา จึงติดอยู่ในพื้นที่และมีการขยายพันธุ์ มากกว่าพื้นที่อื่น และคนในชุมชนเห็นต้นไคร้อยู่ตลอด แต่ไม่ ค่อยสนใจหรือพูดคุยแนวทางเรื่องการอนุรักษ์เท่าไหร่ เขาจึงอยากเสนอให้มีการจัดเวทีหารือ หรือพูดคุยกัน ของคนในพื้นที่ ทั้ง อบต.แม่ใส ที่เป็นเจ้าของพื้นที่ ก�ำนันและ ผู้ใหญ่บ้านในเขตที่มีต้นไคร้นุ่นอยู่ เช่น บ้านสันหนองเหนียว บ้านสันเวียงใหม่ เพื่อแลกเปลี่ยนหาวิธีการจัดการและการท�ำ เขตอนุรักษ์พืชชนิดนี้ร่วมกัน ดร.รัฐภูมิ พรหมณะ รองผู้อ�ำนวยการวิทยาลัย พลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยพะเยา อธิบายเกี่ยว กับลักษณะและความส�ำคัญของต้นไคร้น�้ำว่า เป็นไม้น�้ำจืด ชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายต้นโกงกาง เมื่อรวมตัวอยู่กันหนา ทึบก็คล้ายกับป่าโกงกาง ซึ่งประโยชน์ไม้น�้ำชนิดนี้ มีมาก ถ้า มีการจัดการให้อยู่ที่ใดที่หนึ่ง จะช่วยยึดหน้าดิน กรองพวก สารเคมีต่างๆก่อนที่จะไหลลงสู่ใจกลางกว๊านพะเยา เป็นที่อยู่ อาศัยทั้งสัตว์บก สัตว์น�้ำและยังเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น�้ำชั้นดี ดร.รัฐภูมิ กล่าวว่า ต้นไคร้ที่อยู่กันเป็นกลุ่มอย่างบ้านร่ องไฮ ต.แม่ใส และอยู่ในหนอง บึง ในภาคเหนือ เหลือน้อย เต็มที ถือเป็นป่าพรุน�้ำจืด คือ ลักษณะของพื้นที่ชุมน�้ำ หรือ wetland “ในจังหวัดพะเยา ต้นไคร้เหลือน้อยเต็มที ดังนั้นเรา

ควรมีการพูดคุยเพื่อจัดการและอนุรักษ์ไว้ เพราะมีประโยชน์ ต่อกว๊านพะเยาและคนพะเยา นานไปคนอาจไม่รู้จักและไม่ เห็นประโยชน์ โดยเฉพาะเยาวชนบางคนยังไม่รู้จักด้วยซ�้ำ” นางหลั่น เสาค�ำ ชาวบ้านบ้านสันป่าก้าง ต.ต�๊ำ กล่าวว่า ต้นไคร้นุ่น ถูกน�้ำพัดพามาเมื่อ 3 ปีก่อนในช่วงน�้ำ หลาก แล้วก็มาเจริญเติบโตขยายออกไปตามแถบชุมชนริม กว๊าน แต่ที่บ้านสันป่าก้างตอนนี้เหลือไม่ถึง 10 ต้น เพราะ เมื่อโครงการถนนรอบกว๊านเสร็จ ต้นไคร้ถูกกักไว้อีกฝั่งของ ถนน นานเข้าเมื่อน�้ำลดมันก็ยืนตาย เพราะกลับลงกว๊านไม่ได้ “ประโยชน์ของมันมีอยู่ เวลาชาวบ้านจะดักปลาเหยี่ ยน (ปลาไหล) โดยเอาเครื่องมือหาปลาเหยี่ยนหรือที่ชาวบ้าน เรียกว่ารันไปใส่ไว้บริเวณรากของมัน ปลาเหยี่ยนจะชอบอยู่

ใต้รากมันตรงที่ติดกับโคลน ซึ่งถ้าท�ำเป็นเขตกักต้นไคร้ไว้จะ ดีกว่า จะท�ำให้ชาวประมงมีพื้นที่หาปลามากขึ้น ”นางหลั่น กล่าว ต้นไคร้นุ่น ปัจจุบันมีอยู่ในจังหวัดพะเยาเพียงสอง จุดใหญ่ คือ บริเวณหนองเล็งทรายในอ�ำเภอแม่ใจ ซึ่งใน แม่ใจจะมีไคร้อีกชนิดที่เป็นไม้น�้ำที่ฝังรากลึก และอีกแหล่ง คือ บริเวณข้างกว๊านที่กระจายอยู่ ในพื้นที่ 2 ต�ำบล คือ ต.บ้านต๋อม และ ต.แม่ใส โดยมีแนวโน้มที่จะลดลงเรื่อยๆ จากโครงการพัฒนาของรัฐรอบกว๊านพะเยา และการรุก ท�ำลายของคนหาปลาบางส่วน หรือว่า...มนุษย์ไม่ต้องการยั้งชีพกับธรรมชาติ มนุษย์เป็นสัตว์ที่เลี้ยงด้วยเงิน

คนเมื อ งจุ น จั ด เมนู พื้ น บ้ า น

นางแสงเทียน นันทะวงศ์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอ�ำเภอจุน เปิดเผยถึงปัญหาโรคเบา หวานและความดันโลหิตสูงของอ�ำเภอจุนที่มีสถิติเพิ่มมากขึ้น พบว่า สาเหตุหนึ่งของปัญหาก็คือ อาหารรสจัด ดังนั้นเทศบาลต�ำบลจุนร่วมกับโรงพยาบาลเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านศรีมาลัยและ โรงพยาบาลเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านจุน ได้จัดงานมหกรรมอาหารขึ้น รูปแบบของการจัดงานจะ เป็นการเอาเมนูอาหารพื้นบ้านของแต่ละหมู่บ้านในเขตต�ำบลจุนมาออกร้าน หลักเกณฑ์ส�ำคัญ คือ อาหารที่น�ำมาออกร้าน จะต้องเป็นอาหารพื้นบ้านที่ ไม่มีรสหวาน มัน เค็ม และน�้ำดื่มจะเป็น น�้ำสมุนไพร โดยจะเป็นการสาธิตการท�ำอาหารพื้นบ้าน ซึ่งทุกกลุ่มแม่บ้านจะน�ำวัตถุดิบ คือ พืช สถานีต�ำรวจภูธรเชียงค�ำ และคณะ กต.ตร.สภ.เชียงค�ำ ร่วมกับ สมาคมคนพิการ ผักผลไม้ปลอดสารพิษ เครื่องปรุงต่างๆ ล้วนเป็นของที่มีอยู่ในท้องถิ่นน�ำมาจากบ้านและจัดท�ำ อาหารให้แล้วเสร็จตามเวลาที่ก�ำหนด หลังจากนั้นก็จะเป็นการรับประทานอาหารร่วมกัน โดย ทางการเคลื่อนไหวสากล ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดโโครงการมอบรถสามล้อโยกและรถ จากการรณรงค์งดสุราในงานศพ งานบุญ ซึ่งนับว่าประสบความส�ำเร็จไปแล้วส่วนหนึ่ง ในปีนี้ วีลแชร์ให้แก่คนพิการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนาง เจ้าฯพระบรมราชินนี าถ ประจ�ำปี2554ในวันที่29สิงหาคม2554ณวัดพระนัง่ ดิน จึงได้ขยายกิจกรรมเป็นอาหารพืน้ บ้านลดหวานมันเค็มโดยใช้เมนูพนื้ บ้านทีม่ ใี นชุมชน

สามล้อโยกและวีลแชร์เพื่อผู้พิการ

เข้ากับหมู่แฮ้งเป๋นแฮ้ง เข้ากับหมู่ก๋าเป๋นก๋า


10

รอบเมืองพะเยา

เดือน กันยายน 2554

รพ.พะเยาเปิดรับฟังเสียง ยอมรับมีร้องเรียนบริการ

15 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ที่กองบัญชาการจังหวัดทหารบกพะเยา ค่ายขุนเจืองธรรมิกราช จังหวัดทหารบกพะเยา ได้ประกอบพิธีเนื่องในวันสถาปนาจังหวัดทหารบกพะเยา ครบรอบ ปีที่ 21 เพื่อเป็นการร่วมร�ำลึกถึงพ่อขุนเจืองธรรมิกราช วีรบุรุษแห่งเมืองพะเยา ผู้ซึ่งเป็นกษัตริย์ที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เมืองพะเยาเป็นอย่างมาก โดยในช่วงเช้าได้มีการประกอบพิธี ถวายราชสักการะ และพิธีบวงสรวงอนุสาวรีย์พ่อขุนเจืองธรรมิกราช จากนั้นเป็นการประกอบพิธีสงฆ์ และมอบจักรยานแก่ บุตรก�ำลังพลค่ายขุนเจืองธรรมิกราช

1 กันยายน 2554 ที่ห้องประชุมโรงพยาบาลพะเยา นายเธียรชัย คฤหโยธิน ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลพะเยา ได้ เชิญสื่อมวลชนในจังหวัดพะเยา เข้าประชุมร่วมกับคณะแพทย์ และพยาบาล โรงพยาบาลพะเยา เพื่อรับฟังความคิดเห็นของ สื่อมวลชนด้านการให้บริการของโรงพยาบาลพะเยา หลัง พบว่าในปี 2553 มีประชาชนผู้รับบริการ ร้องเรียนเรื่องของ พฤติกรรมบริการ มากสุด ถึง 16 ราย รองลงมาเป็น ระบบ บริการ 15 ราย และ ร้องเรียน มาตรา 18 ผู้ให้บริการได้รับ ความเสียหายจากการให้บริการ 13 ราย ขณะที่สื่อมวลชนส่วนใหญ่ มีความเห็นคล้ายกับ ประชาชนที่ร้องเรียนเข้ามา ซึ่งหลายคนได้เข้าไปรับบริการ และประสบด้วยตนเองมาแล้ว ทั้งความล้าช้าของการให้ บริการ และการขาดการประชาสัมพันธ์ที่ดีของเจ้าหน้าที่ นายเธียรชัย คฤหโยธิน กล่าวว่า ประชาชนสามารถ ร้องเรียนได้โดยตรงที่ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลพะเยา, ทาง จดหมาย, ร้องเรียนไปยังจังหวัด, ตู้รับความคิดเห็นในโรง พยาบาลตามจุดต่างๆ ก็สามารถร้องเรียนเข้ามาได้ โดยทุก ข้อร้องเรียนที่ได้จากประชาชน และสื่อมวลชนนั้น ทางโรง พยาบาลพะเยา ยินดีรับฟังพร้อมทั้งจะได้น�ำไปปรับปรุงแก้ไข ปัญหา ต่อไป

ดอกค�ำใต้-เทิงขยายสีเ่ ลนจ่อสะพานข้ามโขง

ด้านเอกชนเริ่มลุยส�ำรวจลาว

25 สิงหาคม 2554 ที่ห้องพุดตาน โรงแรมพะเยาเกทเวย์ กรมทางหลวง ประชุมปฐมนิเทศ การส�ำรวจและออกแบบรายละเอียดโครงการก่อสร้าง ทางหลวงเพื่อพัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ ทางหลวง หมายเลข 1021 ตอน อ.เทิง-อ.ดอกค�ำใต้ โดยมีหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน เข้าร่วมประชุม ส�ำหรับโครงการหมายเลข 1021 ตอน อ.เทิง – อ.ดอกค�ำใต้ มีจุดเริ่มต้น จาก กม. 10+000 ถึง กม. 100+019 เป็นเส้นทางที่ส�ำคัญในการเชื่อมโยงระบบ คมนาคมขนส่งในพื้นที่ อ.ดอกค�ำใต้ อ.จุน อ.เชียงค�ำ อ.ภูซาง จังหวัดพะเยา และ อ.เทิง จังหวัดเชียงราย รวมทั้งสามารถเชื่อมต่อโครงข่ายทางหลวงที่รองรับการ เดินทางจากสะพานข้ามแม่น�้ำโขงแห่งที่ 4 อ.เชียงของ จังหวัดเชียงราย – ห้วย ทราย ของ สปป.ลาว ซึ่งทางหลวงหมายเลข 1021 มีระยะทางประมาณ 90 กม. เป็นการปรับปรุงขยายแนวถนนเดิม เป็นขนาด 4 ช่องจราจร เพื่อให้มีความ สะดวกปลอดภัยในการเดินทาง คาดว่ า ประโยชน์ ใ นการด� ำ เนิ น โครงการดั ง กล่ า วเป็ น การเพิ่ ม ประสิทธิภาพของการคมนาคมขนส่งบนโครงข่ายทางหลวงที่ส� ำคัญระหว่าง ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน อีกทั้งเป็นการรองรับการเดินทางจากสะพาน ข้ามแม่น�้ำโขง เชื่อมกับ ถนน R3A ไทย-สปป.ลาว-จีนตอนใต้ เพื่อช่วยส่งเสริม การพัฒนาด้านเศรษฐกิจของประเทศ ในขณะเดียวกันเมื่อวันที่ 27-28 สิงหาคม 2554 กลุ่มนักธุรกิจผู้ประกอบ การในจังหวัดพะเยา และหอการค้ากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 เดินทางเข้า เยี่ยมชมโครงการเขตพัฒนาเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวในพื้นที่อาเซียน KING ROMAN OF LAOS (คิงส์โรมันออฟลาว) หรือ ASEAN economic and tourism development zone โดยคิงส์โรมันออฟลาว เป็นย่านธุรกิจที่ลงทุนโดย กลุ่มบริษัทดอกงิ้วค�ำ จากประเทศจีน ซึ่งโครงการดังกล่าวเป็นการแสดงให้เห็น ถึงศักยภาพทางด้านการลงทุนของนักธุรกิจจากประเทศจีนในพื้นที่เขตการค้า เสรี หรือ FTA ที่มีการทุ่มทุนกว่า 3 แสนล้านบาท เพื่อสร้างธุรกิจการค้าและการ บริการขนาดใหญ่ในพื้นที่กว่า 2 หมื่นไร่ นายทรงวุฒิ หาญกัญพงศ์ เจ้าของห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดโรงสีพะเยาธัญกิจ ได้กล่าวถึงเขตการค้าเสรี ว่า เป็นข้อมูลตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้มี การเคลื่อนย้ายแรงงานและเคลื่อนย้ายทุน รวมทั้งสินค้าอย่างมีอิสระ ดังนั้น นัก ธุรกิจหรือผู้ประกอบการต้องเตรียมความพร้อมและต้องศึกษาข้อกฎหมายข้อ ตกลงต่างๆให้ดี ทั้งนี้เมื่อมีข้อตกลงเขตการค้าเสรีเกิดขึ้น จะส่งผลให้มีการเคลื่อน ย้ายแรงงานเคลื่อนย้ายทุน รวมทั้งสินค้าอย่างอิสระ นายคมม์ มีศรี และนายบุญชู กมุทมาโนชญ์ ผู้ประกอบการ กล่าวว่า การ ค้าเสรีจะส่งผลให้ผู้ประกอบการหันมาปรับกลยุทธ์การค้าขายให้ดีขึ้นและภาครัฐ ควรระวังในการท�ำข้อตกลงร่วมกัน เพราะอาจเสียเปรียบได้

อย่าไปตี๋กลองแข่งฟ้า อย่าไปขี้ม้าแข่งตะวัน


เดือน กันยายน 2554

รอบเมืองพะเยา

11

คนของรั ฐ เย้ ย ผู ้ ว ่ า ฯล้ ม ป่ า สั ก ดอกค� ำ ใต้ 29 สิงหาคม 2554 นายพงษ์ศักดิ์ วังเสมอ ผู้ว่า ราชการจังหวัดพะเยา พร้อมด้วยว่าที่ ร.ต.อดุลย์ พรหมวาท ปลัดอ�ำเภอดอกค�ำใต้ ฝ่ายความมั่นคง และเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ สภ.ดอกค�ำใต้ กว่า 40 นาย เข้าตรวจสอบไม้สักท่อนของกลาง จ�ำนวน 44 ท่อน ยาวประมาณ 3 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาด 30-50 เซนติเมตร ที่กองอยู่บริเวณข้างหน่วยบริการ ประชาชนต�ำบลหนองหล่ม อ.ดอกค�ำใต้ หลังจากเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม นายสิงห์ เผ่ากัณ ทะ ก�ำนันต�ำบลหนองหล่ม ร่วมกับผู้ใหญ่บ้าน ใน ต.หนอง หล่ม และเจ้าหน้าที่หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ ชร.18 แม่ร่อง ขุย กว่า 30 คน เข้าตรวจยึดไม้ของกลางดังกล่าวที่บริเวณป่า สงวนแห่งชาติแม่ร่องขุย หมู่ที่ 5 ต.หนองหล่ม ซึ่งห่างจาก ทางหลวงหมายเลข 1251 ดอกค�ำใต้ – เชียงม่วน ประมาณ 100 เมตร นายสิงห์ เผ่ากัณทะ กล่าวว่า เมื่อตน พร้อมด้วยกลุ่ม ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าป่าไม้เข้าไป ก็พบตอไม้ขนาดใหญ่ กว่า 10 ตอ ที่ถูกตัดไปแล้ว โดยไม้สักขนาดใหญ่ที่ถูกตัดโค่น นั้น ได้ถูกกลุ่มขบวนการฯ เข้ามาชักลากออกจากป่าไปก่อน หน้านี้แล้ว เหลือไว้เพียงแค่ไม้สักท่อนขนาดเล็ก รวมถึงตอ ไม้ขนาดเล็กอีกจ�ำนวนมาก กระจายอยู่ทั่วบริเวณป่า จึงใช้ เครื่องจักรชักลากไม้ทั้งหมดไปเก็บไว้ที่หน่วยบริการประชาชน ต�ำบลหนองหล่ม ก่อนแจ้งให้อ�ำเภอ และรายงานให้ผู้ว่า ราชการจังหวัดทราบ และได้เดินทางมาตรวจสอบในวันนี้ ทั้งนี้ เนื่องจากได้มีชาวบ้านใน ต.หนองหล่ม พบเห็นการตัดไม้ใน ป่าสงวนแห่งชาติแม่ร่องขุย แต่ไม่มีการด�ำเนินการจากทางเจ้า หน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง จึงได้ มาร้องเรียนก�ำนัน และผู้ใหญ่บ้าน จึง ได้แจ้งให้เจ้าหน้าที่ป่าไม้ หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ ชร.18 แม่ ร่องขุย จึงได้เข้าด�ำเนินการตรวจยึดไม้ดังกล่าว จากนั้นนายพงษ์ศักดิ์ วังเสมอ ผู้ว่าราชการจังหวัด พะเยา พร้อมด้วยก�ำนัน และผู้ใหญ่บ้านได้เดินทางเข้าไป

ตรวจดูสภาพป่าหลังจากที่มีการเข้าไปลักลอบตัดไม้แล้ว ซึ่งก็ พบสภาพตอไม้ที่ถูกโคนล้มตามที่กลุ่มก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ ชาวบ้านระบุ เป็นจ�ำนวนมาก โดยได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ ที่ เกี่ยวข้อง เร่งตรวจสอบข้อเท็จจริง เพื่อหาตัวผู้กระท�ำผิด มา ด�ำเนินการตามกฎหมาย พร้อมทั้งย�้ำว่า หากพบเจ้าหน้าที่ มี ส่วนรู้เห็น หรือเข้าไปร่วมในขบวนการ ก็จะด�ำเนินการขั้นเด็ด ขาด โดยไม่มีการละเว้น อย่างแน่นอน

พะเยาเร่งรับมือประชาคมอาเซียน จั ด สั ม นา-เดิ น สายเจรจาการค้ า 29 สิงหาคม 2554 ที่โรงแรมพะเยาเกทเวย์ กรม เจรจาการค้าระหว่างประเทศ ร่วมกับสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย หอการค้าจังหวัดพะเยา ได้จัดสัมนา เรื่อง “รับรู้ การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้การเปิดเสรี AEC/FTAs” ขึ้น เพื่อ กระตุ้นให้ภาครัฐ ภาคเอกชนและผู้ประกอบการ SMEs มี ความเข้าใจในการเปิดเสรีทางการค้า โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจที่มี ผลกระทบต้องเตรียมพร้อม ปรับตัวรับการแข่งขัน และใช้สิทธิ ประโยชน์เพื่อการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมทั้งส่ง เสริมความรู้ความเข้าใจและกระตุ้นให้เกิดการเตรียมพร้อมรับ กับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 อีกด้วย ส�ำหรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า AEC มีแนวคิดว่าอาเซียน จะกลายเป็นเขตการผลิตเดียว ตลาดเดียว หรือ Single market and production base นั่นหมายถึงจะต้องมีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่าง เสรี สามารถด�ำเนินกระบวนการผลิตที่ไหนก็ได้ โดยสามารถ ใช้ทรัพยากรจากแต่ละประเทศ ทั้งวัตถุดิบและแรงงานมาร่วม ในการผลิต มีมาตรฐานสินค้า กฎเกณฑ์กฎระเบียบเดียวกัน ตลอดจนให้ความส�ำคัญกับการเจรจากับกลุ่มประเทศคู่ค้า ส�ำคัญของอาเซียน เช่น อาเซียน+3 (จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น) และอาเซียน+6 (จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย) ต่อไป ในขณะเดียวกันเมื่อ 25 – 28 สิงหาคม 2554 กลุ่ม จังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ด้านเศรษฐกิจประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ และจังหวัดน่าน ได้จัดกิจกรรม Road Show และการเจรจาการค้ากับประเทศสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม ณ นครโฮจิมินท์ โดยมีผู้แทนฝ่ายไทย ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการจังหวัดทั้ง 4 จังหวัด พาณิชย์ จังหวัดทั้ง 4 จังหวัด และผู้ประกอบการค้าของทั้ง 4 จังหวัด โดยมีผู้อ�ำนวยการส�ำนักส่งเสริมการค้านครโฮจิมินท์ พร้อม

ด้วยผู้ประกอบการค้าของนครโฮจิมินท์ และผู้สังเกตการณ์ กว่า 100 คน ให้การต้อนรับ ทั้งนี้การเจรจาดังกล่าวเริ่มขึ้นโดย แบ่งกลุ่มผู้ประกอบ การค้าด้านสิ่งทอ, ด้านอาหารเครื่องดื่ม เครื่องส�ำอาง, และ พืชสมุนไพร มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล พร้อมทั้งเจรจาจองสินค้า และการลงทุนเชื่อโยงความสัมพันธ์ของผู้ประกอบการ ที่นับ วันจะมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยการเจรจาการค้าครั้งนี้จะมี ประสิทธิภาพมากที่สุดกับผู้ประกอบการในเวียดนามและไทย ซึ่งจะมีความพร้อมด้านการลงทุนในประเทศทั้ง 2 ที่ตรงตาม วัตถุประสงค์การเพิ่มเครือข่ายด้านการค้าและการลงทุนให้ มากที่สุด ส�ำ หรั บ การเจรจาการค้ า โดยกลุ ่ม จั ง หวั ด ภาคเหนื อ

มดง่ามมักมันหมู ศัตรูมักกล่าวโทษ โปรดฅนทุกข์ช่างลืมคุณ

ขณะที่กลุ่มชาวบ้านที่เข้ามาร้องเรียนในครั้งนี้ ยังระบุ ด้วยว่า การกระท�ำดังกล่าวมันใจว่า น่าจะมีเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลพิทักษ์ป่าไม้ในพื้นที่ เข้าไปมีส่วน รู้เห็น และร่วมอยู่ในขบวนการลักลอบตัดไม้ในป่าสงวนแห่ง ชาติในครั้งนี้อย่างแน่นอน และก่อนหน้านี้ กลุ่มขบวนการ มี พฤติกรรม ยิงปืน ข่มขู่กลุ่มชาวบ้านด้วย เพื่อไม้ให้เข้าไปรู้เห็น การกระท�ำผิดดังกล่าว ตอนบน 2 ด้านเศรษฐกิจ ในปีนี้ จัดขึ้นรวมทั้งหมด 4 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 จัดที่ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว , ครั้งที่ 2 ที่นครโฮจิมินท์ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม , ครั้งที่ 3 ที่แขวงอุดมไช ประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว , และครั้งที่ 4 ที่นครหนานหนิง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้านนางเฟื่องฟ้า ตุลาธรรมกุล พาณิชย์จังหวัดพะเยา เปิดเผยถึงการตั้งศูนย์ส่งเสริมการค้าชายแดนไทย-ประเทศ เพื่อนบ้าน เพื่อรองรับการเติบดตทางเศรษบกิจในจังหวัด พะเยา ว่า เริ่มจากกระทรวงพาณิชย์มีแนวคิดในการลดการ พึ่งพาการส่งออก หันมาส่งเสริมการค้าในประเทศมากขึ้น ซึ่งรวมถึงการค้าบริเวณชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน ใน ส่วนของจังหวัดพะเยามีจุดผ่อนปรนชายแดนไทย-ลาวบ้าน ฮวก อ.ภูซาง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่จังหวัดพะเยาได้ท�ำการค้าขายกับ สปป.ลาว และได้ดุลการค้ามาตลอด สินค้าที่ส่งออกส่วนใหญ่ เป็นวัสดุก่อสร้าง สินค้าอุปโภคบริโภค ซึ่งมีแนวโน้มการส่ง ออกมากขึ้น ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนการส่งออกบริเวณ ตลาดชายแดน จังหวัดพะเยาจึงได้จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการค้า ชายแดนไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้บริการทางด้านข้อมูล ของประเทศคู่ค้า เช่น กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำ โขง(GMS) กลุ่มประเทศในอ่าวเบงกอล (BIMSTEC) รวมทั้ง กลุ่มประเทศอาเซียน(AEC) นอกจากนี้ยังให้บริการออกใบรับ รองถิ่นก�ำเนิดสินค้า ซึ่งผู้ประกอบการสามารถขอใบรับรอง ถิ่นก�ำเนิดสินค้า โดยจะมีเจ้าหน้าที่อ�ำนวยความสะดวกให้ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับนักเรียน นักศึกษาที่ก�ำลัง ศึกษาวิชาที่เกี่ยวข้องกับทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน ที่ต้องการเข้ามาหาข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศ ดังกล่าว ภายในศูนย์มีเครื่องคอมพิวเตอร์ 4 เครื่อง โดยศูนย์ จะเปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 24 ก.ย.นี้ เปิดให้บริการในระหว่าง เวลา 08.30-16.30 น. พาณิชย์จังหวัดพะเยา กล่าวอีกว่า ปัจจุบันบริเวณจุด ผ่อนปรนชายแดนไทย-ลาว บ้านฮวก ได้มีกลุ่มผู้ประกอบการ ชายแดนบ้านฮวก ท�ำการติดต่อค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งผู้ประกอบการบางรายได้ติดต่อค้าขายท�ำ contract farming กับผู้ประกอบการใน สปป.ลาว มานานกว่า 20 ปี


12

พะเยารักษ์

เดือน กันยายน 2554

ตามติ ด ชี วิ ต “เด็ ก ขยะกั บ หมาตั ว หนึ่ ง ” ปัญหาขยะดูจะเป็นปัญหาที่อยู่คู่ทุกสังคม ทุกชุมชน แม้จะอยู่ในเมืองหลวงหรือ ชนบท แต่ในชุมชนที่ห่างไกล แห่งหนึ่งของจังหวัดพะเยาที่ บ้านน�้ำปุก ม. 1 ต�ำบลขุน ควร อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา ชุมชนแห่งนี้ไม่ถึงกับร้าง ความเจริญ ปัญหาขยะก็เป็นเรื่องที่ชาวบ้านที่นี่ต้องเผชิญ แต่ขยะที่นี่มีคนดูแลและจัดการอยู่ ทุกเช้าของต้นเดือนและกลางเดือน ชาวบ้านใน หมู่บ้านน�้ำปุก จะเห็นเด็กตัวเล็กๆ ผิวกร้านด�ำ ยืนปั่นมือหมุน รถอีต๊อก พร้อมกับ “เปรม” หมาพันธุ์พื้นเมืองคู่หูในภารกิจ การเก็บขยะในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นเรื่องชินตาของทุกคนในชุมชน แห่งนี้ที่มีคนเก็บขยะที่เชื่อว่าอายุน้อยที่สุดในประเทศ คอยท�ำ หน้าที่เป็นสุขาภิบาลประจ�ำหมู่บ้านของเขาเอง โดยไม่ยี่หระ ต่อสายตาใครๆที่พบเห็น ด.ช. ประทาน ปัญญา หรือ “อั๋น” อายุ 8 ปี เรียน อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน�้ำปุก อั๋นเป็นเด็กตัว เล็กๆ ผิวคล�้ำ ท่าทางคล่องแคล่ว ตามวัย อั๋นอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ส่วนพ่อแม่เลือกไปท�ำงานขาย อาหารที่พัทยา เพราะที่บ้านไม่มีงานท�ำ นานๆทีจะมาเยี่ยม อั๋น แต่อั๋นกลับไม่เคยเหงา ซ�้ำยังเป็นเด็กร่าเริงและที่ส�ำคัญ เขาเป็นมือเป็นไม้แทนปู่ในการท�ำงานเกี่ยวกับขยะได้อย่างที่ คนในชุมชนคาดไม่ถึง อั๋นเล่าว่า จุดเริ่มต้นของการมาเก็บขยะในหมู่บ้าน คือ ปู่เป็นคนเก็บขยะของหมู่บ้านและจะตระเวนเก็บทุกวันที่ 1,20 และ30 ของทุกเดือน โดยได้ค่าบริการจากครัวเรือนต่างๆ ใน หมู่บ้านหลังคาละ 10-20 บาท วันหนึ่งๆ ได้ประมาณ 200300 บาท ครั้งหนึ่งปู่ล้มป่วย ไม่สามารถไปเก็บขยะได้ ขณะ นั้นอั๋นอายุได้ 6 ขวบ ปู่สอนให้อั๋นขับรถอีต๊อก เวลาป่วย อั๋น จะได้ท�ำหน้าที่แทน และหลังจากนั้นอั๋นก็รักในการเก็บขยะ ทุกวันนี้อั๋นท�ำหน้าที่ทั้ง เก็บขยะและขับรถบรรทุกขยะไปเผาที่ เตาเผาขยะของหมู่บ้าน “ผมจะเป็นคนเก็บขยะในหมู่บ้าน ทั้งโรงเรียนด้วย ผมเคยชวนเพื่อนๆ มาช่วยเก็บกับผม เพราะจะได้เงินค่าขนม ด้วย แต่เพื่อนๆเขาไม่ท�ำ เพราะเขาบอกว่ามีเงินแล้วและ เหม็นขยะ พ่อแม่ของพวกเขาก็ไม่อยากให้มาเก็บขยะด้วย

เพราะกลัวติดเชื้อโรค แต่ผมก็มีความสุขมาก เพราะยิ่งขยะ เยอะเท่าไหร่ นั่นคือ ผมก็จะได้เงินค่าขนมมากเท่านั้น” อั๋น กล่าวด้วยใบหน้าเปื้อนยิ้ม ทุกวันนี้อั๋นไม่เคยขาดเรียนเพราะการเก็บขยะ แต่อั๋น จะแบ่งเวลา เก็บช่วงเช้าก่อนไปโรงเรียน เมื่อถึงเวลาเข้าเรียน ก็จะให้ตาเก็บต่อ คุณครูหลายคนเคยถามเขาว่าท�ำไมถึง ชอบการเก็บขยะ เขาบอกเพียงว่า มันเป็นอาชีพของปู่และ ที่ส�ำคัญ เงินทุกบาทที่ได้มากินข้าวที่โรงเรียนมาจากขยะใน หมู่บ้าน อั๋นเล่าว่าเขาโตขึ้น อยากท�ำอาชีพเก็บขยะในหมู่บ้าน เพราะเขาจะได้มีเงินมากขึ้น เขาจะได้ขนขยะมากขึ้นและแบ่ง เบาภาระของปู่เมื่อแก่ตัวลง “ต่อไปถ้าหน่วยงานเทศบาลมาเก็บ ผมก็คงขาดราย

นักข่าวพลเมืองแห่งบ้านสันต้นผึ้ง

2-4 กันยายน 2554 ทีวีไทย ร่วมกับ สถาบันปวงผญาพยาว เครือข่ายลุ่มน�้ำอิง หนังสือพิมพ์พะเยารัฐ และสาขา วิชาสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะวิทยาการจัดการและสื่อสารสารสนเทศ มหาวิทยาลัยพะเยา ฝึกอบรมนักข่าวพลเมือง ที่บ้านสันต้นผึ้ง ต.แม่อิง อ.ภูกามยาว มีนักข่าวตัวน้อยจากชุมชน เยาวชนจากหลายพื้นที่ และนักศึกษาจาก ม.พะเยา เข้า ร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเล่าเรื่องราวของตนเองจากมุมมองของเด็กๆ มีการอบรมการเขียนข่าว ถ่ายภาพวิดีโอ ตัดต่อ และน�ำเสนอให้พ่ออุ้ยแม่อุ้ยในชุมชนได้รับชม พร้อมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ที่เด็กๆ น�ำเสนอ ถือ เป็นการใช้สื่อเพื่อการพัฒนาที่น่าสนใจอีกรูปแบบหนึ่ง ผลงานเด็กๆจะได้รับการฉายในทีวีไทยเร็วๆ นี้ โปรดติดตามรับชม

นกสองหัว งัวสองหนอก วอกสามสิบสองจอดแอว

ได้ ตอนนี้เวลาเห็นขยะและถุงด�ำอยู่หน้าบ้าน ร้านค้าใน ชุมชน จะรีบเข้าไปเก็บทันที บางครั้งเจ้าของขยะจะให้เงิน พิเศษ ซึ่งตอนนี้ผมให้ตาเปิดบัญชีเพื่อฝากเงินของตัวเอง หลัง จากที่ตาแบ่งค่าขนมจากงาน” อั๋นกล่าว อั๋นกล่าวว่า ทุกวันนี้ขยะในชุมชนของเขามีปริมาณ มากขึ้น ตั้งแต่เก็บมา เขาจอขยะพวกขวด และขยะพวก แบตเตอรี่มากขึ้น แม้ว่าทางหมู่บ้านจะมีบ่อขยะ แต่ก็ไม่ได้ ใหญ่พอที่จะรองรับปริมาณขยะในชุมชนของเขา แม้คิดจะ ขยายก็ยาก เพราะ พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ใกล้แหล่งน�้ำ ประปา ภูเขา และล�ำน�้ำปุก ซึ่งเป็นแม่น�้ำที่คนในชุมชนใช้สอยทุกวัน ในอนาคต อั๋น คิดว่าเขาจะเพิ่มค่าแรงในการเก็บ ขยะให้มาก แน่นอนว่า ชุมชนต้องการคนเก็บขยะและต้อง ยอมจ่ายค่าขยะที่เพิ่มขึ้น


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.