kwanphayao_Dialogue

Page 1


บทสรุ ปสำหรั บผู้บริหำร การศึกษาวิจยั เรื่ อง การสร้ างพลังทางกฎหมายแก่ภาคประชาชนด้ วยการสานเสวนาหาทางออก เพื่อแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับการ จัดการกว๊ านพะเยา 2) เพื่อหาทางออกในการบริหารจัดการ ดูแลและใช้ ประโยชน์จากในกว๊ านพะเยาโดย การมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย 3) เพื่อสร้ างต้ นแบบ ( Model) ในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา โดยการมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย และ 4) เพื่อถอดบทเรี ยนจากกระบวนการจัดการกว๊ านพะเยา แบบมีสว่ นร่วม การดาเนินงานวิจยั ครัง้ นี ้ ใช้ แนวคิดการสานเสวนาหาทางออก (deliberation) เป็ นปั จจัย สาคัญสาหรับการดาเนินงาน ผลการศึกษา พบว่ากว๊ านพะเยา ก่อน พ.ศ. 2484 เป็ นเพียงแม่น ้าอิงและหนองน ้าน้ อยใหญ่มีขนาด ประมาณ 1,200 ไร่ หลังจากการสร้ างประตูระบายน ้ากันแม่ ้ น ้าอิงแล้ วเสร็จในปี 2484 ส่งผลให้ เกิดเป็ นอ่าง เก็บน ้าขนาดใหญ่ที่มีชื่อเรี ยกว่า กว๊ านพะเยาที่มีขนาด 12,831 ไร่ กว๊ านพะเยา ได้ ก่อให้ เกิดประโยชน์แก่ เกษตรกร ชาวประมง ชุมชนต่างๆ เพราะได้ ใช้ น ้า จากกว๊ านในการอุปโภค บริโภค การเกษตร การประมง การประปา รวมทังเป็ ้ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ แหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ นอกจากนี ้ยังเป็ นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลาน ้าจืดของกรมประมงอีกด้ วย ในการจัดการกว๊ านพะเยา หน่วยงาน ภาครัฐ ที่เกี่ยวข้ องกับ กว๊ านพะเยาจะเข้ ามาดูแลบริหารจัดการพื ้นที่รอบกว๊ านพะเยา และน ้าในกว๊ านพะเยาตามอานาจหน้ าที่ที่ บัญญัตใิ นกฎหมาย ซึง่ มีมากกว่า 10 หน่วยงาน รวมทังองค์ ้ กรปกครองส่วนท้ องถิ่นรอบกว๊ านพะเยา กว๊ านพะเยาในปั จจุบนั มีปัญหาที่เกิดขึ ้นมากมาย ทังในด้ ้ านคุณภาพน ้า สัตว์น ้ามีจานวนลดลง การแพร่กระจายของวัชพืชและผักตบชวา การบุกรุกพื ้นที่กว๊ านพะเยา กฎหมายเกี่ยวกับกว๊ านพะเยาของ หน่วยงานภาครัฐ มีหลายฉบับ บางเรื่ องมีความซ ้าซ้ อนกัน การพัฒนากว๊ านพะเยาขาดคนรับผิดชอบที่ แท้ จริง สิ่งเหล่านี ้ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของกว๊ านพะเยา การทาประมงของชาวประมง และ ความขัดแย้ งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และประชาชน แต่ไม่มีพดู คุยกัน เพื่อหาทางแก้ ไขปั ญหา ในกระบวนการสานเสวนาหาทางออกการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา มีกระบวนการดังนี ้ 1. จัดเวทีสนทนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย จานวน 15 กลุม่ 2. ทากิจกรรมร่วมกัน เพื่อสร้ างความสัมพันธ์ และเกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ซงึ่ กันและกันของ ภาคีทกุ ภาคส่วน ได้ แก่ การถ่ายภาพกว๊ านพะเยา งานวันรักษ์กว๊ านพะเยา 3. จัดเวทีสานเสวนานาทางออกมาหาฉันทามติร่วมในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา

[1]


ข้ อสรุปทางออก ได้ เกิดฉันทามติที่เป็ นทางออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา ดังนี ้ 1. ให้ มีการจัดการกว๊ านพะเยาให้ ฟืน้ ฟูและพัฒนา ระบบนิเวศกว๊ านพะเยา โดยมีแนวทาง ดังต่อไปนี ้ การอนุรักษ์และฟื น้ ฟูกว๊ านพะเยา/ป่ าต้ นน ้า การรักษาคุณภาพน ้า/เน่าเสีย/สารเคมี การขุดลอกที่ ตื ้นเขิน การกาจัดวัชพืช-ผักตบชวา การอนุรักษ์พนั ธ์ปลา/สัตว์น ้า การจัดภูมิทศั น์เพื่อการท่องเที่ยว การจัด วางระบบผังเมือง 2. ให้ จดั ระบบการบริหารจัดการกว๊ านพะเยาโดยการมีสว่ นร่วม

โดยมีแนวทางดังต่อไปนี ้ การมี

ธรรมนูญกว๊ านพะเยาหรื อกฎหมายเฉพาะพื ้นที่ การตังคณะกรรมการท้ ้ องถิ่น/สภาพัฒนากว๊ านพะเยา การ สร้ างเครื อข่ายระดับลาน ้าสาขา/เครื อข่ายระหว่างหน่วยงานรัฐ-ชุมชน การตังกองทุ ้ นพัฒนากว๊ านพะเยา 3.ให้ จดั ระบบความรู้และเครื อข่ายเพื่อสร้ างจิตสานึกร่วมเป็ นเจ้ าของกว๊ านพะเยา โดยมีแนวทาง คือ การให้ ความรู้ /หลักสูตรท้ องถิ่น ด้ านทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อม /ประวัตศิ าสตร์ วิถีชมุ ชนท้ องถิ่น การ ศึกษาวิจยั เพื่อการพัฒนา การจัดเวทีสาธารณะ/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และการสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ ในการจัดการต่อเพื่อให้ เกิดการนาผลจากการวิจยั ไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นรูปธรรม มีแนวทาง

การ

ขยายผลให้ เกิดการปฏิบตั ิ ดังนี ้ 1.การเสนอต่อโครงการพัฒนากว๊ านพะเยาตามแนวทางพระราชดาริ ในแผนงานคุณภาพน ้าและ สิ่งแวดล้ อม แผนงานเพิ่มปริมาณสัตว์น ้า และแผนงานบริหารจัดการและมีสว่ นร่วม 2. การเสนอในเวทีระดับนโยบายของประเทศและระดับจังหวัด ได้ แก่ เวทีสมัชชาสุขภาพ เวที สมัชชาปฏิรูปประเทศไทย เวทีประชาคมจังหวัด 4. การวิจยั ต่อยอดในประเด็นรูปแบบกฎหมายและกลไกการจัดการกว๊ านพะเยาที่เหมาะสมกับ บริบทของท้ องถิ่น และประเด็นการบริหารจัดการจังหวัดแบบมีสว่ นร่วม 5. การสร้ างให้ เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ร่วมกันของเครื อข่ายการจัดการกว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ น ร่วมของทุกภาคส่วน 6. การคืนข้ อมูลจากงานวิจยั กลับสูช่ มุ ชน เพื่อสร้ างการมีสว่ นร่วมให้ คนในชุมชนเกิดความ ตระหนักในการจัดการกว๊ านพะเยาร่วมกัน โดยการใช้ สื่อประชาสัมพันธ์ให้ ชมุ ชนทราบ กระบวนการสร้ างการเรี ยนรู้แบบมีสว่ นร่วม โดยผ่านวิธีสานเสวนา การประชุมกลุม่ ย่อย การจัด กิจกรรมร่วมกันเป็ นส่วนสาคัญในการหาทางออกให้ กบั การแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้นในชุมชน ท้ องถิ่น และ สังคมได้ [2]


สำรบัญ หน้ ำ บทสรุปสาหรับผู้บริหาร..................................................................................................... (1) สารบัญตาราง................................................................................................................. ..(6) บทที่ 1. บทนา 1.1 หลักการและเหตุผล …………………………………………………………..…...1 1.2 วัตถุประสงค์ ............................................................................................. 2 1.3 ขอบเขตการดาเนินงาน ……………………………………………………………2 1.4 วิธีการดาเนินงาน...................................................................................... 3 1.5 ผลที่คาดว่าจะได้ รับ ………………………………………………………………..3 2. แนวคิดการสานเสวนาหาทางออก 2.1 ความเป็ นมา……………………………………………………………………….….4 2.2 ความหมาย……………………………………………………………………………6 2.3 ความแตกต่างระหว่างการสานเสวนาหาทางออก กับการเจรจาไกล่เกลี่ย และการแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง ………………………………………………………..….7 2.4 กฎกติกาพื ้นฐานสาหรับการสานเสวนาหาทางออก…………………………………11 2.5 รูปแบบของเวทีสานเสวนาหาทางออก………………………………………………13 3. วิธีการดาเนินงานวิจยั 3.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างในการวิจยั ……………………………………………….15 3.2 พื ้นที่ในการวิจยั …………………………………………………………………….…15 3.3 กระบวนการวิจยั ………………………………………………………………………16 3.4 เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั ………………………………………………………………16 [3]


4. กว๊ านพะเยา : ความเป็ นมา การจัดการ และสภาพปั ญหา 4.1 กว๊ านพะเยาในตานาน…………………………………………………………………17 4.2 ข้ อมูลทัว่ ไปของกว๊ านพะเยา ………………………………………………………….18 4.3 การใช้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยา ……………………………………………………..21 4.4 การจัดการกว๊ านพะเยา ……………………………………………………………….23 4.5 กฎหมาย ระเบียบ และข้ อบังคับในการจัดการกว๊ านพะเยา…………………………..24 4.6 สภาพปั ญหาของกว๊ านพะเยา.....................………………………………………….27 5. สานเสวนาหาทางออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา 5.1 เวทีการพัฒนากลไกเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา………………..32 5.2 ประชุมคณะทางานพัฒนาเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา.………...32 5.3 เวทีสานเสวนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียรอบกว๊ านพะเยา........………………….……...33 5.3.1 ตาบลบ้ านต๋อม...................................................................................... 33 5.3.2 ตาบลบ้ านตุน่ ................................................................................ 37 5.3.3 กลุม่ เยาวชน…………………………………………………………………39 5.3.4. กลุม่ ผู้หญิง………………………………………………………………….43 5.3.5. กลุม่ นักวิชาการ /นักวิจยั ……………………………………………………46 5.3.6. กลุม่ ผู้ประกอบการค้ า ธุรกิจโรงแรม ร้ านอาหารและท่องเที่ยว…………….50 5.3.7. ตาบลสันป่ าม่วง…………………………………………………………….51 5.3.8. ตาบลแม่ใส.......................................................................................... 55 5.3.9. ตาบลบ้ านสาง………………………………………………………………59 5.3.10 กลุม่ อนุรักษ์ป่าต้ นน ้ากว๊ านพะเยา……………………….…………….….62 5.3.11. คนขายของหน้ ากว๊ านพะเยา……………………………….……………..65 5.3.12. กลุม่ ชาวประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา………………….…………………..67 5.3.13. กลุม่ คนในเมือง ศิลปิ น และชมรมพะเยาโฟโต้ คลับ …….…………………68 5.3.14. กลุม่ ผู้ใช้ น ้าท้ ายกว๊ านพะเยา………………………….…………………..70 5.3.15. กลุม่ หน่วยงานภาครัฐ …………………………………………………….73

[4]


5.4 เวทีสานเสวนาหาทางออกในการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม……..………..76 5.5 ข้ อสรุปทางออก และกลไกการจัดการ………………………………..……..……..…77 6. สรุปผลการศึกษา 6.1 สภาพปั ญหาของกว๊ านพะเยา ………………………………………………………79 6.2 ทางออกในการจัดการกว๊ านพะเยา…………………………………..………………82 6.3 ประมวลสรุปกระบวนการสานเสวนา.................................................................... 86 6.4 แนวทางการขยายผล..........................................................................................87 6.5 ผังกระบวนการสานเสวนาในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา.....................................89 6.6 ถอดบทเรี ยนกระบวนการสานเสวนา....................................................................90 6.7 ตัวแบบในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา โดยการมีสว่ นร่วม.……………..………92 บรรณานุกรม........................................................................................................................94 ภาคผนวก ก. สรุปเวทีการพัฒนากลไกเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา…………………….95 ข. สรุปเวทีคณะทางานเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา…………………………102 ค. สรุปเวทีสานเสวนาหาทางออกการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม………………………..104 ง. ประมวลภาพกิจกรรม……………………………………………………………………………112 จ. รายชื่อผู้เข้ าร่วมในเวทีกลุม่ ย่อย…………………………………………………………………119

[5]


สำรบัญตำรำง ตำรำงที่

หน้ ำ

1 เปรี ยบเทียบการสานเสวนากับการถกเถียง………………………………..……….…………….8 2 เปรี ยบเทียบระหว่างการโต้ แย้ ง (Debate) การสานเสวนา (Dialogue) และการสานเสวนาหาทางออก (Deliberation) …………………….………….………………...10 3 ข้ อเสนอและทางออกในการแก้ ปัญหากว๊ านพะเยา………………………………………………86 4 ตัวแบบในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา โดยการมีสว่ นร่วม (Phayao Model) ………..……92

[6]


บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล กว๊ านพะเยา เป็ นแหล่งนํ ้าขนาดใหญ่ในจังหวัดพะเยา นับแต่ 69 ปี ที่ก่อเกิดเป็ นกว๊ านพะเยา ในปี 2484 เป็ นต้ นมา ประชาชนได้ ใช้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยาเพื่ออุปโภค บริโภค หาปลา เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ สัตว์นํ ้า ผลิตนํ ้าประปา และแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของชาวพะเยา และนักท่องเที่ยว มี การพัฒนาหลาย โครงการในกว๊ านพะเยา โดยหน่วยงาน ภาครัฐ เช่น สํานักงานประมง ศูนย์วิจยั และพัฒนา ประมงนํ ้าจืด สํานักงานประปา ส่วนภูมิภาคสาขาพะเยา สํานักงานโยธาธิการและผังเมือง สํานักงานชลประทาน สํานักงานเกษตร สํานักงานราชพัสดุ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สํานักงานที่ดนิ ฯลฯ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นรอบกว๊ านพะเยา เช่น เทศบาลเมืองพะเยา องค์การบริหารส่วนจังหวัด พะเยา เทศบาลตําบลบ้ านต๋อม เทศบาลตําบลสันป่ าม่วง อบต.บ้ านสาง อบต.แม่ใส อบต.บ้ านตุน่ ที่อยู่ รอบกว๊ านพะเยาได้ จัดการกว๊ านพะเยาตามบทบาท และภารกิจของแต่ละหน่วยงาน จะเห็นได้ วา่ ระบบ กฎหมายของหน่วยงานต่างๆ เหล่านี ้เป็ นเรื่ องไกลตัวสําหรับภาคประชาชน การพัฒนากว๊ านพะเยาที่ผา่ นมาเป็ นการดําเนินงานภายใต้ แนวคิดการพัฒนากระแสหลักของ ภาครัฐ ที่เน้ น ‚การพัฒนา‛ มากกว่า ‚การอนุรักษ์ ‛ หลายโครงการขาดการมีสว่ นร่วมของชุมชนรอบกว๊ าน พะเยาอย่างแท้ จริง ถูกผูกขาดและดําเนินไปเพื่อประโยชน์ของเฉพาะบุคคลหรื อเฉพาะกลุม่ บุคคลใด ขาด การวิเคราะห์ปัญหา โครงการที่ทําไม่สอดคล้ องกับสภาพปั ญหาของชุมชน สถานการณ์ดงั กล่าวนําไปสูก่ ระแสความขัดแย้ งเชิงแนวคิดระหว่างการพัฒนา และการอนุรักษ์ ระหว่างภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน กลุม่ การเมือง และภาคประชาชนทังการเผชิ ้ ญหน้ า และ การรวมกลุม่ กันพูดคุยของภาคประชาสังคมตามจุดต่างๆ ด้ านระบบนิเวศ เกิดความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศในกว๊ าน พะเยาที่เห็นได้ ชดั เจนมากขึ ้นเรื่ อยๆ เช่น นํ ้าเน่าเสีย เกิดสาหร่ายพิษ ปลาและสัตว์นํ ้าสูญพันธุ์ และอีก หลายชนิดลดจํานวนลง มีพนั ธุ์พืช พันธุ์สตั ว์นํ ้าต่างถิ่นเข้ ามาคุกคาม ฯลฯ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ต่อเนื่องมาจนถึงฉบับปี พุทธศักราช 2550 ได้ มีเจตนารมณ์ในการให้ ประชาชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ด้ วย เหตุนี ้จึงมีเวทีสานเสวนาหาทางออกร่วมกันของทุกภาคส่วน เพื่อแก้ ไขปั ญหารอบกว๊ านพะเยา ภายใต้ โครงการเสริมสร้ างความเข้ มแข็งด้ านกฎหมายแก่ภาคประชาชน ( Legal Empowerment) จัดโดยสถาบัน พระปกเกล้ าเมื่อวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2554 ณ ห้ องเบญจรงค์ โรงแรมเกทเวย์ อ.เมือง จ.พะเยา มีผ้ เู ข้ าร่วมจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ประมาณ 60 คน ทังนี ้ ้ มีการใช้ วิธีการสานเสวนาหาทางออกร่วมกัน ( Public deliberation) การทําฉาก 1


ทัศน์ (Scenario) ของกว๊ านพะเยาทังสิ ้ ่งที่อยากเห็นและสิ่งที่หว่ งกังวล พบว่าผู้เข้ าร่วมได้ กําหนดภาพฝั น และวิสยั ทัศน์ในการจัดการกว๊ านพะเยา 3 ด้ านได้ แก่ 1. ความสวยงามของกว๊ านพะเยา –- การเพิ่มพื ้นที่สีเขียว และจัดภูมิทศั น์กว๊ านพะเยาทังนอกและ ้ ในกว๊ านให้ สอดคล้ องกับผังเมือง และวิถีชีวิตชุมชน 2. การใช้ ประโยชน์จากนํ ้ากว๊ านพะเยา – การใช้ ทรัพยากรดิน นํ ้า ป่ าอย่างสมดุล เหมาะสม และ ยัง่ ยืน 3. การบริหารจัดการที่มีสว่ นร่วม– จัดทําธรรมนูญกว๊ านพะเยาและลุม่ นํ ้าอิง โดยใช้ ภมู ิ ปั ญญา ท้ องถิ่น และสอดคล้ องกับวิถีชีวิต โครงการวิจยั การสร้ างพลังทางกฎหมายแก่ภาคประชาชนด้ วยการสานเสวนาหาทางออกเพื่อแก้ ไข ปั ญหาของกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา จึงเกิดขึ ้นโดยมีเป้าหมายเพื่อหาทางออกร่วมกันของ กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในการจัดการกว๊ านพะเยาทุกกลุม่ โดยใช้ วิธีการสานเสวนาหาทางออกร่วมกัน (Public deliberation) ที่มาจากการกําหนดโจทย์ร่วม การกําหนดฉากทัศน์ (Scenario) การศึกษาข้ อดี ข้ อด้ อยของฉากทัศน์แต่ละฉาก หรื อข้ อดีข้อด้ อยของแต่ละทางออก และนําทางออกของแต่ละทางมาสาน เสวนาเพื่อหาฉันทามติร่วม (consensus) นําไปสูก่ ารแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาร่วมกันต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับการจัดการกว๊ านพะเยา 1.2.2 เพื่อหาทางออกในการบริหารจัดการ ดูแลและใช้ ประโยชน์จากในกว๊ านพะเยาโดยการมี ส่วนร่วมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย 1.2.3 เพื่อสร้ างต้ นแบบ (Model) ในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา โดยการมีสว่ นร่วมของผู้มี ส่วนได้ สว่ นเสีย 1.2.4 เพื่อถอดบทเรี ยนจากกระบวนการจัดการกว๊ านพะเยาแบบมีสว่ นร่วม 1.3 ขอบเขตการวิจัย แบ่งออกเป็ น 3 ด้ านได้ แก่ 1.3.1 ขอบเขตด้ านพื ้นที่ดําเนินการ พื ้นที่รอบกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 1.3.2 ขอบเขตด้ านเนื ้อหา ในการดําเนินงานวิจยั มีขอบเขตด้ านเนื ้อหา ดังนี ้ 1.3.2.1 กว๊ านพะเยา : ความเป็ นมา การจัดการ และสภาพปั ญหา 1) กว๊ านพะเยาในตํานาน 2) ข้ อมูลทัว่ ไปของกว๊ านพะเยา 3) การใช้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยา 2


1.3.3 12

4) การจัดการกว๊ านพะเยา 5) กฎหมาย ระเบียบและข้ อบังคับในการจัดการกว๊ านพะเยา 6) ภาพปั ญหาของกว๊ านพะเยา 1.3.2.2 การสานเสวนาหาทางออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา 1) เวทีสานเสวนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียรอบกว๊ านพะเยา 2) ประมวลสรุปทางออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา 3) หาฉันทามติร่วมในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา ขอบเขตด้ านระยะเวลา เดือน ตังแต่ ้ เดือนมีนาคม 2554– เดือนกุมภาพันธ์ 2555

1.4 วิธีการดําเนินงาน 1.4.1 จัดเวทีประชุมคณะทํางานโครงการ 1.4.2 ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับการจัดการกว๊ านพะเยา ในด้ านสภาพปั ญหา และการแก้ ไขปั ญหาจาก เอกสาร รายงานการวิจยั วิทยานิพนธ์ รายงานการศึกษา หนังสือ และวารสารที่ได้ มีผ้ รู วบรวมไว้ 1.4.3 จัดทําฐานข้ อมูลเกี่ยวกับการจัดการกว๊ านพะเยา 1.4.4 ดําเนินงานตามกิจกรรมที่ได้ กําหนดไว้ 1.4.5 ติดตามการทํางานของคณะทํางาน 1.4.6 ประสานงานระหว่างคณะทํางานในพื ้นที่และสถาบันพระปกเกล้ าเพื่อดําเนินงานให้ เป็ นไป ในทิศทางเดียวกัน 1.4.7 จัดทํารายงานความก้ าวหน้ าของการศึกษาและรายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์เสนอต่อ สถาบันพระปกเกล้ า 1.5 ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ 1.5.1 เกิดการเสริมสร้ างความสมดุลระหว่างอํานาจรัฐ และชุมชนในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในกว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม 1.5.2 การขยายผลองค์ความรู้ (Model) ที่ได้ จากการศึกษาครัง้ นี ้ไปยังพื ้นที่อื่น 1.5.3 การผลักดันในการแก้ ไขเพิ่มเติม หรื อยกเลิก และเสนอให้ มีการออกกฎหมายและนโยบายที่ สอดคล้ องกับเจตจํานงของภาคประชาชน ทังนี ้ ้ เพื่อการจัดการกว๊ านพะเยาแบบมีสว่ นร่วมอย่างยัง่ ยืน

3


บทที่ 2 แนวคิดการสานเสวนาหาทางออก การดําเนินงานวิจยั ครัง้ นี ้ ใช้ แนวคิดการสานเสวนาหาทางออก (deliberation) เป็ นปั จจัยสําคัญ สําหรับการดําเนินงาน ในบทนี ้ได้ นําเสนอให้ เห็นถึงแนวคิดสาน เสวนาหาทางออกในโครงการวิจยั การสร้ าง พลังทางกฎหมายแก่ภาคประชาชนด้ วยการสานเสวนาหาทางออก เพื่อแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 2.1 ความเป็ นมา ในสังคมไทยปั จจุบนั ดูจะมีปัญหาที่เกิดขึ ้นกระทบต่อสาธารณชนอยูม่ ากมาย และในประเด็น ปั ญหาเหล่านันก็ ้ ได้ กลายเป็ นปั ญหาสาธารณะที่ดเู หมือนว่าจะตกลงกันไม่ได้ ต่างฝ่ ายต่างว่าตัวเองนันทํ ้ า ถูก มีเหตุผลที่ดี เกิดความขัดแย้ งที่บางครัง้ กลายเป็ นความรุนแรง กรณีที่เห็นมีตงแต่ ั ้ ความขัดแย้ งเรื่ อง การสร้ างที่ตงโครงการต่ ั้ าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นสถานที่ทิ ้งขยะ สร้ างโรงไฟฟ้า วางท่อแก๊ ส จนไปถึงการปั กเสา ไฟฟ้าผ่านป่ าไม้ และอุทยานจนเป็ นเรื่ องราวลงข่าวหนังสือพิมพ์ เรื่ องขัดแย้ งระหว่างผู้ประกอบการที่ได้ สัมปทานระเบิดหินกับสํานักสงฆ์ซงึ่ ต่อมาเป็ นวัดอย่างถูกต้ อง จนถึงเรื่ องเชิงนโยบายด้ านการกระจาย อํานาจเช่น การถ่ายโอนโรงเรี ยนไปอยูก่ บั องค์การปกครองส่วนท้ องถิ่น ประเด็นสาธารณะเหล่านี ้เป็ นปั ญหาที่สลับซับซ้ อน และคาบเกี่ยวกันในขอบเขตของกฎหมาย ของ องค์กรที่ดแู ลรวมถึงบทบาทหน้ าที่ของหลาย ๆ ฝ่ ายที่ทําให้ เกี่ยวพันกันไปจนยิ่งทําให้ เรื่ องทังหลาย ้ สลับซับซ้ อนมากขึ ้น ในเรื่ องของประเด็นสาธารณะที่สลับซับซ้ อนและความขัดแย้ งนี ้อาจจะไม่ใช่วา่ กลุม่ ใด โดยเฉพาะจะทําหน้ าที่แก้ ปัญหาได้ จําเป็ นที่กลุม่ ที่เกี่ยวข้ องทังหลายจะต้ ้ องเข้ ามามีสว่ นร่วมในการ แก้ ปัญหา ประเด็นสาธารณะบางชนิดก็จะสลับซับซ้ อนและแก้ ยากมาก หลายครัง้ ก็ดเู หมือนไม่มีทางออก มีแต่ทางออกเพียงชัว่ คราวและไม่คอ่ ยจะสมบูรณ์นกั โดยแท้ ที่จริงหากขาดการมีสว่ นร่วมอย่างแท้ จริง ในการมาดูปัญหาเหล่านี ้ การใช้ การแก้ ปัญหา ทางเทคนิคเป็ นเพียงเหมือนมาตรการชัว่ คราวที่มกั จะไม่ได้ เป็ นการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน เพราะสาธารณชน ไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็น (Public has had no voice) ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียที่ได้ รับผลกระทบในประเด็น ดังกล่าวมักจะมีคา่ นิยมหรื อความเชื่อที่แตกต่างกันออกไป มีขนบประเพณีและโลกทัศน์ไม่เหมือนกัน ก่อให้ เกิดการมองความหมายทางสังคม ต่อประเด็นสาธารณะนันๆเลย ้ ขอบเขตเพียงด้ านข้ อมูลทาง วิทยาศาสตร์ หรื อข้ อมูลทางเทคนิค กระบวนการทางสาธารณะส่วนใหญ่ก็จะนําประเด็นนี ้ไปสูก่ ารแบ่งแยก ขัวกั ้ น

4


ในคํานําของหนังสือชื่อ ‚ Dialogue Sustained‛ หรื อ ‚การสานเสวนาที่ยงั่ ยืน ‛ ซึง่ เขียนโดย เจมส์ วูร์ฮีส์ (Jame Voorhees) ซึง่ บทคํานําเขียน โดย เดวิด แมทธิวส์ (David Mathews)ได้ พูดถึง ‚การสาน เสวนาที่มีประโยชน์ ‛ (Useful Dialogue) ที่เริ่มจากการเอาผู้แทนของสหรัฐอเมริกาและสหภาพ โซเวียต มาประชุมกันโดยกระบวนการสานเสวนาที่วิทยาเขตของวิทยาลัยดาร์ ทเมาท์ (Darthmouth College Campus) ที่เมืองแฮนโอเวอร์ รัฐนิวแฮมเชียร์ ในช่วงฤดูใบไม้ ร่วง ปี พ.ศ.2503 (ค.ศ.1960)จนต่อมาได้ รับ การกล่าวขวัญทัว่ ไปในชื่อ ‚ ดารท์เม้ าท์ คอนเฟอเรนซ์ ‛ การประชุมนี ้เป็ นการสานเสวนาที่ได้ รับการสนับสนุนทังจากรั ้ ฐบาลสหรัฐอเมริกาและข้ าราชการ ระดับสูงในกรุงเครมลินของสหภาพโซเวียต เพื่อลดความตึงเครี ยดระหว่างทังสองประเทศโดยเฉพาะภาวะ ้ สงครามเย็นที่ตงึ เครี ยดที่สดุ ในเรื่ องของวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา เจมส์ วูร์ฮีส์ ผู้ประพันธ์ได้ เล่าถึง ความตึงเครี ยดระหว่างสหรัฐและสหภาพโซเวียตในช่วง ปี พ.ศ. 2503 นัน้ อยูใ่ นสภาพที่เกือบจะไม่มีการ ติดต่อสื่อสารกันเลย ไม่มีเครื่ องบินพาณิชย์ที่บนิ ตรงระหว่างทังสองประเทศ ้ จนกระทัง่ ปี พ.ศ.2512 การสื่อสารกันระหว่างประธานาธิบดีเคนเนดี ้ของสหรัฐอเมริกากับ ประธานาธิบดีครุสเชพ ของโซเวียต ในช่วงวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบากว่าจะสื่อสารข่าวซักเรื่ องหนึง่ ใช้ เวลา ถึงสี่ชวั่ โมง คนอเมริกนั มองสหภาพโซเวียตผ่านแว่นที่ดํามืด เขามองว่าผู้นําโซเวียตนันเป็ ้ นศัตรูที่ไร้ ความ ปราณีขทู่ ี่จะฝั งคนอเมริกนั รถถังและอาวุธที่ตงเผชิ ั ้ ญหน้ าอยูท่ ี่ชายแดนเยอรมันจํานวนมากมาย ทําให้ มองเห็นว่าการขูน่ นดู ั ้ จะเป็ นจริง คนโซเวียตคงจะเหมือนหุน่ ยนต์ที่จิตใจมีแต่ลทั ธิอดุ มการณ์ ถูกกักขังอยู่ เบื ้องหลังม่านเหล็กที่เต็มไปด้ วยป้อมปื น รัว้ ลวดหนามและตํารวจลับ โซเวียตก็มองอเมริกนั ไม่แตกต่างไปจากกันเท่าใดนัก ดูคนอเมริกนั นันเป็ ้ นศัตรูที่ โหดเหี ้ยมเช่นกัน มองว่าระบบและอุดมการณ์ของอเมริกนั นัน้ มีแต่คอร์ รัปชัน่ เปิ ดโอกาสให้ คน ไม่กี่คนรํ่ ารวย ในขณะที่คน ส่วนใหญ่ยากจน จากการที่ได้ มีการประชุมดาร์ ทเมาท์ เมื่อปี 2503 นัน่ เองซึง่ เดวิด ร็อกกี ้เฟลเลอร์ ได้ เขียนในคํานําหนังสือ ‚สานเสวนาที่ยงั่ ยืน ‛ เช่นกันว่า ‚ทังคนอเมริ ้ กนั และคนรัสเซียได้ มีโอกาสที่มาร่วม ประชุมประจําปี มีโอกาสที่จะเรี ยนรู้ซงึ่ กันและกัน เป็ นเหมือนกับการที่เราทังหลายจั ้ บกระจกบานใหญ่ สะท้ อนให้ เห็นว่า คนอื่นนันมองเราอย่ ้ างไร ซึง่ เดวิด ร็อกกี ้เฟลเลอร์ ได้ สรุปว่า ถึงแม้ เราอาจจะไม่สามารถ อ้ างได้ วา่ การมีการประชุมสานเสวนาดาร์ ทเมาท์นี ้เป็ นส่วนสําคัญที่ทําให้ สงครามเย็นนันสิ ้ ้นสุดลง หรื อการ ที่ทงสองฝ่ ั้ ายไม่หนั มาใช้ การเผชิญหน้ ากันด้ วยอาวุธนิวเคลียร์ ดังที่หลาย ๆ คนหวัน่ วิตกนัน้ เป็ นเพราะการ สานเสวนาที่มีประโยชน์ที่ดาร์ ทเมาท์นี ้ก็ตาม เดวิดเชื่อว่ามันก่อให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างใน ความสัมพันธ์จากเดิมของระหว่างมหาอํานาจทังสองอย่ ้ างมาก กระบวนการสานเสวนา หาทางออก จึงเป็ นกระบวนการที่ตอ่ มาได้ นํามาใช้ กนั ในการแก้ ปัญหา ความขัดแย้ ง หรื อหาทางออกของปั ญหาต่าง ๆ มากมาย ในประเทศไทยเราก็ได้ มีความพยายามจาก หลาย ๆ กลุม่ ที่จะเผยแพร่แนวทางด้ านการใช้ กระบวนการสานเสวนา ซึง่ ท่านศาสตราจารย์นายแพทย์ ประเวศ วะสี ใช้ คําว่า สุนทรี ยสนทนา คือการมาสนทนาอย่างสุนทรี ยะคือ ไม่มาชี ้หน้ าด่ากัน 5


ต่อมากระบวนการ สานเสวนา ได้ มีการนํามาใช้ ในประเทศไทยหลายเรื่ องโดยสํานักสันติวิธี และ ธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้ า ในวิกฤตความขัดแย้ งการถ่ายโอนอํานาจ วิกฤตปั ญหาภาคใต้ โดยนํา ผู้นําจากภาคส่วนต่าง ๆ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มา สานเสวนา หาทางออก นํา ข้ อสรุปที่ได้ เสนอ รัฐบาลไปปฏิบตั ิ หลายประเด็นและผู้มีสว่ นร่วมทังหลายมี ้ ความเห็นตรงกันว่า ควรจะจัดกระบวนการ สาน เสวนาหาทางออกเป็ นประจําโดยมีผ้ เู ข้ าร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ความขัดแย้ งที่เห็นกันอยูไ่ ม่วา่ จะเป็ นความขัดแย้ งทางการเมือง ระหว่างผู้ที่ยงั มองว่า ประชาธิปไตยคือการเลือกตัง้ คือเสียงข้ างมาก ส่วนอีกกลุม่ มองเลยไปว่าประชาธิปไตย ประชาชนต้ องมี สิทธิ์มีเสียง แล้ วต่างมาเอาแพ้ เอาชนะกันก็ดี หรื อความขัดแย้ งจากการพัฒนาไม่วา่ จะเป็ นอุตสาหกรรม ไม่ ว่าจะเป็ นการสร้ างโรงงาน สร้ างโรงไฟฟ้า สร้ างเขื่อน หรื อการทําเหมืองก็ดี ควรที่จะมีเวทีของ การสาน เสวนาหาทางออก โดยไม่ใช่มายอมๆกัน หรื อมาเอาแพ้ เอาชนะกัน แต่ร้ ูจกั มาฟั งกันอย่างตังใจ ้ มาร่วมกัน หาทางออกที่ไม่เพียงแต่ยตุ ธิ รรมทางกฎหมาย แต่ยตุ ธิ รรมทางสังคมด้ วย (Jame Voorhees 2002.อ้ างถึง ในวันชัย วัฒนศัพท์, เอกสารอัดสําเนา) 2.2 ความหมาย กระบวนการสานเสวนา หาทางออก (วันชัย วัฒนศัพท์ แปล,2552) เป็ นกระบวนการที่ได้ มีการ นํามาใช้ เพื่อทําความเข้ าใจ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กนั ระหว่างผู้ที่มีความเห็นหลากหลาย เพื่อช่วยให้ เกิดการหัน หน้ ามาฟั งกันอย่างตังใจ ้ (Active listening) กระบวนการสานเสวนาได้ ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีพลัง มหาศาลจากเวทีที่มีแต่ความขัดแย้ ง เมื่อใช้ กระบวนการพูดคุยกันแบบเดิม ๆ ที่มีแต่การชี ้หน้ า ด่ากัน เวทีที่ พยายามแต่จะมาเอาชนะกัน ในเวทีของการโต้ แย้ ง (Debate) ให้ หนั มาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ทําความเข้ าใจกัน และกัน กระบวนการสันติวิธีที่สําคัญมากที่ได้ มีการนํามาใช้ คือ การสานเสวนาหาทางออก การสานเสวนา หาทางออก (อภิญญา ดิสสะมาน.ออนไลน์ วันที่ 30 ตุลาคม 2554) มี ความหมายโดยกว้ างคือ การสํารวจความคิดเห็นของประชาชนโดยแท้ จริง โดยผ่านกระบวนการพูดคุย แลกเปลี่ยนจากกลุม่ ตัวอย่างประชาชนที่หลากหลาย และเป็ นการรับฟั งความคิดเห็นที่แตกต่างกันจาก หมากหลายมุมมอง ดังนันการสานเสวนา ้ หาทางออก จึงเป็ นการรับฟั งพูดคุยความคิด เรี ยนรู้ระหว่างกัน ของประชาชนโดยตรง โดยมีการเสวนาอย่างจริงจังจากกลุม่ ย่อยแล้ วนําเสนอความคิดเห็นสูก่ ลุม่ ใหญ่ ก่อนที่จะได้ ภาพในอนาคตร่วมกันจากฉันทมติในทุกระดับ ดังนันการสานเสวนา ้ หาทางออก เป็ นกระบวนการมีสว่ นร่วมจากประชาชนโดยตรง ในทุกระดับ เพื่อสร้ างอนาคตที่ดีร่วมกัน หลักการสําคัญ คือ ทําอย่างไรให้ เสียง ความต้ องการหรื อความคิดเห็นของ ประชาชนในทุกระดับได้ รับการรับฟั ง ( To Be Heard) และหาทางออกร่วมกันในการแก้ ปัญหาอย่างแท้ จริง ทังนี ้ ้ เพื่อนํามาปรับปรุงและพัฒนาแนวนโยบายหรื อโครงการที่กําลังดําเนินการให้ ทกุ ฝ่ ายยอมรับโดยทัว่ กัน

6


เวที การสานเสวนา หาทางออก เป็ นเวทีที่มีคณ ุ ค่า มากกว่ากระบวนการสํารวจความคิดของ ประชาชน ( Poll Watch) ในประเทศแคนาดาได้ นําไปใช้ ในการหาข้ อสรุปในประเด็นยากๆ ที่มีความเห็น แตกต่าง และเป็ นเรื่ องที่อาจจะต้ องมีการได้ บางอย่างเสียบางอย่าง กระบวนการนี ้สามารถสํารวจค่านิยม ของประชาชนและทางเลือกที่ชอบมากกว่า เมื่อได้ รับคําถามที่ยากต่อการตัดสินใจ 2.3 ความแตกต่ างระหว่ างการสานเสวนา หาทางออก กับการเจรจาไกล่ เกลี่ย และการแก้ ปัญหา ความขัดแย้ ง ในกระบวนการแก้ ปัญหาใดๆนัน้ การเจรจาเป็ นวิธีการที่นกั สันติวิธีเชื่อว่าจะหาทางออกได้ แม้ หลายๆ คนจะบอกว่าเลยเวลาของการเจรจาแล้ วก็ตาม การเจรจาที่มีหลักการเป็ นศาสตร์ และศิลป์ ที่ไม่ใช่การ เจรจาแบบการเกลี ้ยกล่อมแบบเดิมๆ สังคมไทยก็ยงั ไม่คอ่ ยเข้ าใจนัก ก็เลยไปพูดถึง การโต้ เถียง หรื อโต้ วาที ซึง่ ไม่ใช่เป็ นเครื่ องมือในการเจรจาหาทางออกร่วมกัน กฎกติกาพื ้นฐานสําหรับการสานเสวนา หาทางออก หากจะนําไปใช้ จะต้ องมี กฎกติกาซึง่ ที่ประชุม จําเป็ นจะต้ องรับเป็ นหลักการจากทุกๆฝ่ าย โดยเฉพาะคนกลางที่จะมาอํานวยการประชุมควรที่จะต้ องรู้ และเข้ าใจหลักของการสานเสวนาหาทางออก ซึง่ แตกต่างจากการโต้ เถียง ตัวอย่างของกฎกติกาพื ้นฐานที่ต้องตกลงก่อนการสานเสวนาหาทางออกประกอบด้ วย (วันชัย วัฒนศัพท์,อ้ างแล้ ว 2552) 1 . เป้าหมายของการสานเสวนา หาทางออก คือการทําความเข้ าใจและการเรี ยนรู้ซงึ่ กันและกัน (เราไม่มา ‚เอาชนะ‛ กันในการสานเสวนา) 2.ในการสานเสวนาหาทางออก ผู้มีสว่ นร่วมพูดในนามของตัวเขาเอง ไม่ได้ เป็ นตัวแทนของกลุม่ ผลประโยชน์ 3 . ทุกคนในวงสานเสวนา มีความสําคัญ เท่าเทียมกัน : ปล่อยวางหัวโขน สถานภาพ และทัศนคติ ที่ตายตัวไว้ นอกห้ อง 4 . เปิ ดเผยและฟั งคนอื่น แม้ เมื่อเราไม่เห็นด้ วย และพักการตัดสินใจไว้ ก่อน (พยายามอย่ารี บร้ อน ที่จะตัดสินใจ) 5. แสวงหาตรวจสอบสมมติฐานต่าง ๆ (โดยเฉพาะในส่วนของเราเอง) 6 . ฟั งด้ วยความรู้สกึ ร่วมในมุมมองของคนอื่น : แสดงการรับรู้วา่ เราได้ ยิน โดยเฉพาะในเรื่ องที่ แม้ แต่วา่ เราไม่เห็นด้ วย 7. มองหาจุดร่วม 8 . แสดงออกถึงความเห็นต่างในรูปของ ‚ความคิดเห็น ‛ ไม่มองว่า เป็ นเรื่ องของ ‚บุคคล‛ หรื อ ‚เหตุจงู ใจ‛

7


9 . แยกการสานเสวนา หาทางออก และกระบวนการตัดสินใจเป็ นคนละกิจกรรม (การสานเสวนา ควรจะมาก่อนการตัดสินใจ) 10 . เคารพในมุมมองของทุกคน และความคิดเห็นทังหลายนั ้ น้ จะต้ องได้ รับการบันทึก (โดยไม่ คํานึงถึงข้ ออ้ างใด ๆ) ตารางที่ 1 เปรียบเทียบการสานเสวนาหาทางออกกับการถกเถียง การถกเถียง การสานเสวนาหาทางออก 1. เชื่อว่ามีคําตอบที่ถกู อย่างเดียว 1. เชื่อว่าคนอื่นก็มีบางส่วนของคําตอบ (และฉันมีคําตอบนัน) ้ 2. พร้ อมรบ : พยายามพิสจู น์วา่ คนอื่นผิด 2. พร้ อมร่วมมือ : พยายามหาความเข้ าใจร่วมกัน 3. เกี่ยวกับการเอาชนะกัน 3. เกี่ยวกับการพิจารณาหาสิ่งที่ร่วมกัน 4. ฟั งเพื่อจะหาช่องโหว่หรื อข้ อบกพร่อง 4. ฟั งเพื่อที่จะทําความเข้ าใจ 5. ปกป้องสมมติฐานของเรา 5. หยิบยกสมมติฐานของเราขึ ้นเพื่อรับการ ตรวจสอบและอภิปราย 6. จับผิดมุมมองของฝ่ ายอื่น 6. ตรวจสอบมุมมองของทุก ๆ ฝ่ าย 7. ปกป้องมุมมองเดียวจากมุมมองอื่น 7. ยอมรับความคิดของคนอื่น เพื่อนํามาปรับปรุง ความคิดของตน 8. แสวงหาจุดอ่อนและข้ อบกพร่องในจุดยืน 8. แสวงหาจุดแข็งและคุณค่าในจุดยืนของฝ่ ายอื่น ของฝ่ ายอื่น 9. แสวงหาทางออกที่ตอบสนองจุดยืนของเรา 9.ค้ นพบโอกาสและความเป็ นไปได้ ใหม่ ๆ ที่ หลากหลาย ในปั จจุบนั ก็มีความตระหนักถึงการแก้ ปัญหา หรื อทางออกจําเป็ นที่ต้องให้ สาธารณชนหรื อ ประชาชนได้ เข้ ามามีบทบาทมากขึ ้น อย่างไรก็ดีกระบวนการให้ ประชาชนเข้ ามามีสว่ นร่วมจริงๆ ก็ไม่ได้ เป็ นยาสามัญประจําบ้ าน หรื อยาสารพัดนึกที่เอาไปใช้ แก้ ปัญหาได้ อย่างจริงจังทุกเรื่ อง เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ได้ ตระหนักถึงความท้ าทายที่ต้องเผชิญกับปั ญหาอันยากลําบากนี ้ ความพยายามหลายๆครัง้ ที่จะให้ สาธารณชนเข้ ามามีสว่ นร่วมก็กลับไม่ได้ ประสบความสําเร็จมากนัก ที่เรามักจะเห็น และที่รัฐมักจะชอบทําคือ การใช้ การทําประชาพิจารณ์ หรื อการประชุมสาธารณะ ดูจะยิ่งทําให้ ประชาชนผิดหวัง เพราะการประชุมเหล่านี ้มักจะมีการเผชิญหน้ ากันระหว่างกลุม่ สนับสนุน และกลุม่ คัดค้ าน ยิ่งทําให้ เกิดความขัดแย้ ง ปิ ดโอกาสผู้ที่ด้อยโอกาส ทังที ้ ่อาจจะได้ รับผลกระทบไม่ยิ่ง

8


หย่อน แม้ จะดูเหมือนเป็ นส่งเสริมการมีสว่ นร่วม แต่ผ้ ทู ี่มาผลักดันกระบวนการกลับไม่ใช่ชมุ ชน แต่เป็ น เหมือนกระบวนการให้ ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่มาบอกเล่าให้ กบั ชุมชนมากกว่า ดังนันจึ ้ งมีความจําเป็ นที่จะต้ องมีการใช้ กระบวนการที่แตกต่างออกไปแทน ฉากทัศน์ ( Scenario) ของ ‚เราสู้กบั เขา‛ (us against them) เป็ นกระบวนการที่จะให้ ประชาชนทังเข้ ้ ามามีสว่ นร่วม และริเริ่มการ เปลี่ยนแปลง และเพิ่มการสื่อสารสองทางระหว่างผู้กําหนดนโยบาย กับผู้ได้ รับผลกระทบจากนโยบาย กระบวนการสานเสวนาหาทางออก (Deliberation) หรื อ การสานเสวนาประชาธิปไตย (Democratic Deliberation หรื อDeliberative Democracy) หรื อประชาธิปไตยแห่งการสานเสวนาหาทาง ออก หากจะนิยามกระบวนการนี ้ คือการมาพิจารณาอย่างถี่ถ้วนทังผลกระทบของทางเลื ้ อกต่างๆ จากการ กระทําและมุมมองของคนอื่น นอกจากการมาพิจารณาอย่างละเอียดเปรี ยบเทียบทางเลือกต่างๆแล้ ว การ สานเสวนาหาทางออกยังมีรายละเอียดของหลักการอีกหลายๆอย่าง หนึ่ง ‚ข้ อมูลข่าวสาร‛ เมื่อข้ อมูลมีความแม่นยํา และถูกต้ องเหมาะสม การสานเสวนาหาทางออก ก็ยิ่งเป็ นไปได้ มาก สอง แนวทางเลือกหากมีมากกว่าสองขึ ้นไปก็จะป้องกันการแบ่งแยกขัวว่ ้ าเอาอย่างนี ้ไม่เอาอย่าง นันถ้ ้ ามีเพียงสองอย่างจะทําให้ เกิดมุมมองสองขัว้ ทางเลือกที่สามจะช่วยให้ มีการใช้ เกณฑ์ประเมินร่วมกัน อย่างกว้ างขวางเพื่อพิจารณาทางออกและบรรลุการตัดสินใจ ช่วยทําให้ เกิดการฟั งคนอื่นมากขึ ้น แม้ จะมี ความเห็นแตกต่างกันมากก็ตาม สาม การสานเสวนาหาทางออกต้ องการให้ ผ้ มู ีสว่ นร่วมได้ ใช้ เกณฑ์การประเมินในทุกๆ ทางเลือกที่ มีการเสนอ เพื่อประเมินว่าแต่ละแบบมีผลกระทบต่อผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียมากน้ อยต่างกันอย่างไร และมีข้อ แลกเปลี่ยนอะไรระหว่างแต่ละชนิดของทางออก การสานเสวนาหาทางออกช่วยให้ สาธารณชนสามารถ “คิด ” “พูด” และ “กระทํา ” ร่วมกันในจุด สนใจร่วมกันของเขา และยังช่วยให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงจากวิถีทางปกติที่คนเราจะมีปฏิสมั พันธ์กนั ใน ประเด็นสาธารณะ บทบาทของสาธารณชนที่จะต้ องมาเผชิญหน้ ากันในการเข้ ามามีสว่ นร่วมนันไม่ ้ อาจจะ หลีกเลี่ยงได้ มนุษยสัมพันธ์เป็ นหัวใจสําคัญในประเด็นนโยบายสาธารณะ ในกระบวนการสานเสวนาหาทางออก เมื่อผู้มามีสว่ นร่วมไม่แบ่งแยกขัว้ แต่ชว่ ยกันพิจารณา หาทางออกร่วมกันในประเด็นที่โต้ แย้ งกัน จะสามารถค้ นพบว่าควรจะมีการแลกเปลี่ยนอะไร ทังๆที ้ ่เขาไม่ เห็นด้ วยในทางออกนันๆ ้

9


ตารางที่ 2 เปรียบเทียบระหว่ างการโต้ แย้ ง(Debate) การสานเสวนา (Dialogue) และ การสานเสวนาหาทางออก (Deliberation) การโต้ แย้ ง การสานเสวนา การสานเสวนาหาทางออก Debate Dialogue Deliberation การเอาชนะกัน การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ การเปรียบเทียบ Compete Exchange Weigh การถกเถียง Argue

การอภิปราย Discuss

การเลือก Choose

การสนับสนุน ความเห็นPromote opinion การหาเสียงข้ างมาก Seek majority การชักจูง Persuade

การสร้ างความสัมพันธ์ Build relationships

การหาทางเลือก Make choices

การเจาะลึก Dig in

การสื่อเข้ าหากัน Reach across

โครงสร้ างรัดกุม Tight structure

โดรงสร้ างหลวมๆ Loose structure

แสดงออก Express

ฟั งกัน Listen

แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ Learn

ปกติรวดเร็ว Usually fast

ปกติใช้ เวลา Usually slow

ปกติใช้ เวลา Usually slow

ชัดเจน Clarifies

ชัดเจน Clarifies

ชัดเจน Clarifies

การสร้ างความเข้ าใจ การแสวงหาส่ วนที่คาบเกี่ยว Understand Seek overlap การแสวงหาความเข้ าใจ การแสวงหาความเห็นร่ วม Seek understanding Seek common ground

10

วางกรอบเพื่อกําหนด ทางเลือกFramed to make choices โครงสร้ างยืดหยุ่น Flexible structure


แพ้ -ชนะ Win/lose

ไม่ มีการตัดสินใจ No decision

หาความเห็นร่ วม Common ground

2.4 กฎกติกาพืน้ ฐานสําหรับการสานเสวนาหาทางออก ในการสานเสวนา หาทางออก โดยทัว่ ไป ควรจะมีกติกา อาจจะเป็ นกติกาทางสังคมที่เราไม่ต้อง ประกาศหรื อตกลงกัน แต่ในการสนทนาเมื่อมาเจรจาไกล่เกลี่ยกัน อาจจะต้ องให้ มีการรับรู้และเห็นชอบใน กฎกติกานี ้ซึง่ ประกอบด้ วย (วันชัย วัฒนศัพท์,อ้ างแล้ ว 2552) 1. “เป้าหมาย” เป้าหมายของการสานเสวนาหาทางออก เพือ่ ทาความเข้าใจและเรี ยนรู้ซึ่งกันและ กัน ไม่ได้มาเอาแพ้เอาชนะกัน ฉะนันในเวที ้ แห่งการสานเสวนา หาทางออก จะไม่ยดึ ติดแต่ความเห็น ตัวเองว่าฉันถูก เธอผิด 2. “พูดในนามของตัวเอง ” กรณีผ้ เู ข้ ามาร่วมสานเสวนา หาทางออก เป็ นผู้เสียหายหรื อผู้ได้ รับ ผลกระทบก็พดู ในประเด็นของตัวเราเท่านัน้ แต่ถ้ามาพูดในนามของกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ ก็ให้ พดู อยูใ่ นประเด็น ของกลุม่ ของเราเองเท่านัน้ ไม่ไปพูดแทนกลุม่ ผลประโยชน์อื่น เพราะอาจจะไม่ตรงประเด็นหรื อข้ อมูล อาจจะคลาดเคลื่อนได้ 3. “มีความเท่ าเทียมกัน ” ทุก ๆ คนในวงสานเสวนา หาทางออกมีความเท่าเทียมกัน ให้ ปล่อย วางหัวโขน ปล่อยวางสถานภาพ และทัศนคติที่ตายตัวเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ไว้ นอกห้ องเจรจา 4. ‚เปิ ดเผย ฟั ง อย่ าด่ วนตัดสิน ” ในการสานเสวนา หาทางออก กันให้ เปิ ดเผยข้ อมูลของ ประเด็นการเจรจาที่มีทงหมด ั้ คูส่ านเสวนาหาทางออก ควรจะมีความรู้ในข้ อมูลเท่าเทียมกัน ต้ องหัดฟั งให้ เป็ นคือ ฟั งทังในเรื ้ ่ องที่ตวั เองเห็นด้ วยและไม่เห็นด้ วย ทังเรื ้ ่ องที่อยากฟั งและไม่อยากฟั ง แล้ วอย่าเพิ่งด่วน ตัดสิน หรื อตัดสินใจในข้ อมูลหรื อเนื ้อหาที่เพิ่งได้ รับ โดยยังไม่ได้ เกิดกระบวนการสื่อสารของรายละเอียด ต่าง ๆ ที่อยูเ่ บื ้องหลังจุดยืน หรื อยังไม่ได้ มีการหาทางเลือกของทางออกอย่างพอเพียง 5. “แสวงหาสมมติฐานต่ าง ๆ” ไม่ใช่เฉพาะสมมติฐานของเราเท่านันที ้ ่เราเชื่อและยึดถือ ให้ ฟังดู สมมติฐานอื่น ๆ ที่คนอื่นอาจจะมีความคิดเห็นต่างจากเรา ยิ่งได้ สมมติฐานที่หลากหลาย เราอาจจะพบว่า มีสมมติฐานอื่นที่ดีกว่าของเราก็เป็ นได้ 6. “ฟั งด้ วยความรู้ สึกร่ วม ” หลักการฟั งข้ อหนึง่ คือ “ฟั งด้วยจิ ตว่าง” หมายถึง ในขณะที่เราฟั ง อย่าเพิ่งตัดสินข้ อมูลคนที่เขาพูดออกมาโดยใช้ สมมติฐานของเรา ให้ ฟังเหตุฟังผลและฟั งด้ วยความ รู้สกึ ว่าถ้ าเราเป็ นเขาหรื อถ้ าฉันเป็ นเธอ ฉันจะรู้สกึ อย่างไร การมีความรู้สกึ ว่าถ้ าเราเป็ นเขา ก็ไม่ได้ หมายความ ว่า ถ้ าเราไปเป็ นเขา โดยเอาตัวเราที่มีแนวคิดของเราสมมติฐานของเราอย่างนัน้ เราเอาตัวตนของเราติด ไปด้ วยเราก็อาจจะคิดอย่างของเรา เราไม่ทําอย่างที่เขาทําหรื อไม่คดิ อย่างที่เขาคิดหรอก แต่เราเป็ นเขาที่ ต้ องการให้ คดิ ในที่นี ้ให้ ใช้ หลักในความหมายว่าเราไปอยูใ่ นสถานการณ์เช่นเดียวกับเขา 11


เราจะรู้สกึ อย่างไร ความรู้สกึ ร่วมนี ้ไม่ได้ หมายถึงว่าเราต้ องเห็นด้ วยในความคิดของเขา เราอาจจะ เห็นต่าง แต่เราเข้ าใจในสถานการณ์ของเขา และเราก็แสดงความรับรู้วา่ เรากําลังฟั ง หรื อเราได้ ยิน ความรู้สกึ เจ็บปวด เข้ าใจในความรู้สกึ โกรธไม่พอใจต่าง ๆ ถึงแม้ เราอาจจะไม่เห็นด้ วยในเรื่ องนัน้ ๆ ถึงตอนนี ้มีคําภาษาอังกฤษสองคําที่นา่ จะต้ องทําความเข้ าใจ คือ คําว่า Affirmative หรื อการ รับรองเห็นด้วย และ Acknowledgement หรื อการรับรู้ ซึง่ มีความหมายต่างกัน เราสามารถรับรู้ได้ เสมอ และความจริงก็เพียงพอแล้ วในหลายกรณี คนที่มีความคิดเห็นค่านิยมต่างกันเรื่ องการทําแท้ ง แต่สามารถ รับรู้ซงึ่ กันและกันได้ วา่ ฉันเข้ าใจแล้ วว่าทําไมเธอจึงเชื่อเช่นนัน้ โดยไม่จําเป็ นต้ องรับรองเห็นด้ วย 7. “มองหาจุดร่ วม” การสนทนาจะดําเนินไปอย่างราบรื่ น ถ้ าเราเริ่มที่จดุ ที่เราเห็นร่วม แม้ จดุ ที่ มองเห็นร่วมนันจะเป็ ้ นจุดเล็กนิดเดียว หรื อเปอร์ เซ็นต์น้อยมาก นักการ ทูต ทังหลายจะได้ ้ รับการสอนให้ มองจุดร่วมและขยายผลจากจุดร่วมนัน้ ต่างจากนักหาเรื่ องมักจะมองจากจุดเล็ก ๆ ที่ขดั แย้ งหรื อเห็นต่าง และขยายผลออกไปให้ ใหญ่โตเป็ นความขัดแย้ ง ยุคหนึง่ สมัยหนึง่ ที่มีกระบวนการแย่งชิงประชาชนระหว่าง คนที่หนีเข้ าป่ าเพราะต่างอุดมการณ์กบั คนในเมือง มีคําพูดที่แนะนําให้ ทําคือ “แสวงจุดร่ วม สงวนจุดต่าง” 8. แสดงออกถึงความต่ าง “ในความคิดเห็น ” ไม่ ใช่ เรื่องของ “บุคคล” หรือ “เหตุจูงใจ” ตรง นี ้มีความสําคัญ เพราะเมื่อเรามีความคิดเห็นต่างจากคนอื่น เราก็เริ่มมองความต่างของเขาและมองความ ต่างนันในจุ ้ ดด้ อยหรื อจุดเสียของเขา ซึง่ ทุกคนมีจดุ ด้ อยจุดเสีย สุดท้ ายด้ วยการแสดงออกว่าไม่ใช่ตา่ งทาง ความเห็นเท่านันกลายเป็ ้ นเรื่ องของบุคคล บุคลิกภาพ กลายเป็ นเรื่ องของ ‚พวกเขา‛ ‚พวกมัน ‛ ไม่ใช่ ‚พวกเรา‛ จะเห็นว่าการยกพวกตีกนั ของเด็กนักเรี ยนก็มกั จะเริ่มจากความคิดเห็น หรื อมุมมองที่ตา่ งกัน กลายเป็ นเขม่นกัน กลายเป็ นเรื่ องของบุคคลเป็ นกลุม่ บุคคลจนกลายเป็ นเหตุยกพวกตีกนั ฉะนัน้ ต้องจากัด การพูดคุยหรื อการแสดงออกให้อยู่ในเรื ่องของ “ความต่างในความคิ ดเห็น” 9. แยกกระบวนการตัดสินใจออกไปจากการสานเสวนา หาทางออก ในวงการพูดคุยกัน ทัว่ ไป เรามักจะไม่คอ่ ยแยกการตัดสินใจออกไปก่อน เรามักจะพูดไปตัดสินไป ซึง่ บางครัง้ ยังไม่ทนั ฟั งได้ จบ เราก็มกั จะตัดสิน บางทียงั ไม่ทนั พูดออกมา เราก็ร้ ูแล้ วว่าเขาจะพูดว่าอะไร พอเราตัดสินไปก่อนแล้ ว แทนที่ จะได้ ข้อมูลดี ๆ ที่ถกู ต้ อง เราก็หมดโอกาสเหล่า การตัดสินใจของเราจึงไม่รอบคอบ ฉะนันในระหว่ ้ างการ สนทนาโดยเฉพาะเรื่ องที่สําคัญจึงควรที่จะดําเนินการตามขันตอนของการเจรจา ้ คือสนทนาซักถามจนได้ ความกระจ่างแล้ วพิจารณาหาทางเลือกต่าง ๆ แล้ วจึงสูข่ นตอนของการตั ั้ ดสินใจร่วมกัน 10. เคารพมุมมองของทุกคน มุมมองหรื อความเห็น ของทุกคนต้ องได้ รับการบันทึก การบันทึก มุมมองหรื อความเห็นของทุกคนลงไปแสดงการรับรู้ หรื อการได้ ยินในประเด็นของฝ่ ายต่าง ๆ มุมมองนัน้ จะถูกจะผิดอย่าเพิ่งตัดสินใจ และบางครัง้ ตัดสินไม่ได้ เนื่องจากมุมมองเป็ นเรื่ องของแต่ละบุคคล แต่ละ กลุม่ ซึง่ อาจจะไม่มีถกู มีผิดก็ได้

12


2.5 รู ปแบบของเวทีสานเสวนาหาทางออก (วันชัย วัฒนศัพท์ แปล, 2552) ขัน้ ตอนที่หนึ่ง: ตัดสินใจที่จะเข้ าร่วม

ขัน้ ตอนที่สอง: สร้ างทิศทางการ ดําเนินการต่อไปและระบุ ถึงปั ญหาและ ความสัมพันธ์ ขัน้ ตอนที่สาม: เจาะลึกถึงประเด็นปั ญหา และความสัมพันธ์ เพื่อ เลือกทิศทางเดิน

ขัน้ ตอนที่ส่ ี: การสร้ างฉากทัศน์ (Scenario) จาก ประสบการณ์ในการ เปลี่ยนความสัมพันธ์

จะเป็ นบุคคลหรื อกลุม่ คนก็ตามที่เกี่ยวข้ องกับความขัดแย้ งต้ องการเปลี่ยน พลวัตความสัมพันธ์ เพื่อสร้ างอนาคตที่จะทําให้ คนที่ขดั แย้ งกัน ทํางาน ด้ วยกันได้ ในพื ้นฐานของสิ่งแวดล้ อมที่ร่วมกันกําหนด ขันตอนนี ้ ้สิ ้นสุดเมื่อ กลุม่ ย่อยที่เป็ นตัวแทนกลุม่ ต่าง ๆ ที่เกิดข้ อขัดแย้ งเห็นชอบที่จะพูดกันถึงเหตุ ของความตึงเครี ยด และพร้ อมที่จะหาทางเยียวยาระหว่างกัน คูก่ รณีนงั่ ด้ วยกันเป็ นครัง้ แรก เพื่อจะพูดถึงความสัมพันธ์ และเหตุของความ ตึงเครี ยด โดยแต่ละฝ่ ายพูดถึงเรื่ องราวของเขา และความขัดแย้ งได้ ก่อให้ เกิด อะไรกับเขา เพื่อที่จะกําหนดทิศทางและประเด็นปั ญหา ขันตอนนี ้ ้สิ ้นสุดลง เมื่อกลุม่ รู้สกึ ว่าพร้ อมที่จะเข้ าไปสูก่ ารสานเสวนา หาทางออก ในปั ญหา เฉพาะที่เขาได้ กําหนดไว้ แล้ ว จําเป็ นอย่างยิ่งที่ผ้ อู ํานวยกระบวนการกลุม่ จะต้ องเน้ นถึงลักษณะความ จําเป็ นของกระบวนการสานเสวนาหาทางออก นอกเหนือจากเนื ้อเรื่ องที่กําลัง พูดคุยกัน ในขันที ้ ่สามนี ้กลุม่ จะทํางาน 5 ประการ คือ 1. ร่วมกันกําหนดนิยามของปั ญหา 2. ผู้ร่วมสานเสวนา หาทางออก จะเจาะลึกถึงปั ญหา นําขึ ้นมาพูดถึง ความสัมพันธ์ และสิ่งที่ควรจะเปลี่ยนแปลงในประเด็นที่กําหนดไว้ แล้ ว 3. ผู้ร่วมสานเสวนา หาทางออก พิจารณาถึงทิศทางที่จะเป็ นไปได้ เพื่อ แก้ ปัญหา แต่ยงั ไม่ลงรายละเอียด เพียงแต่ตีกรอบทางเลือกต่าง ๆ 4. ชัง่ นํ ้าหนักดูทางเลือกต่าง ๆ เพื่อจะดูทิศทางของทางเลือกที่กลุม่ เห็นว่าจะ นําทางชุมชนให้ เดินต่อไป 5.เมื่อกลุม่ ชัง่ นํ ้าหนักดูแล้ ว และเห็นว่ามีแนวโน้ ม จะไปในทิศทางหนึง่ ด้ วยกัน ให้ ผ้ อู ํานวยการกลุม่ ถามว่า ‚พวกเขารู้สกึ ว่าการเดินหน้ าไปในทิศทางนี ้กับ การไม่ทําอะไรเลย อย่างไหนจะสูญเสียหรื อเสียค่าใช้ จา่ ยมากกว่ากัน‛ ผู้ร่วมสานเสวนา หาทางออก จะช่วยกันพิจารณาถึงทิศทางซึง่ เขาต้ องการจะ ก้ าวเดินไปร่วมกัน แล้ วให้ ร่วมกันพิจารณาถึงงานต่อไปนี ้ 1. เขียนรายการถึงอุปสรรคต่าง ๆ ทังเรื ้ ่ องของคนและแนวปฏิบตั ทิ ี่อาจเกิดขึ ้น ในการเดินไปทิศทางนัน้ 2. เขียนรายการ ขันตอนที ้ ่อาจจะหลีกเลี่ยงหรื อขจัดอุปสรรค 3. ระบุถึงบุคคลที่อาจจะมาช่วยทําหน้ าที่ในแต่ละขันตอน ้ 13


ขัน้ ตอนที่ห้า: ร่วมกันทํางานเพื่อให้ เกิด การเปลี่ยนแปลง

4. ร่างขันตอนในฉากทั ้ ศน์ตา่ ง ๆ ที่สมั พันธ์กนั จากขันที ้ ่หนึง่ ต่อเนื่องจนถึงขัน้ สุดท้ าย ผู้เข้ าร่วมสานเสวนา หาทางออก ปรึกษาหารื อ เพื่อที่จะดูวา่ จะทําอย่างไรได้ เพื่อให้ ฉากทัศน์นนไปสู ั ้ ก่ ารปฏิบตั อิ ย่างเป็ นรูปธรรม โดยอาจเริ่มจากการ ประเมินถึงสถานการณ์ในด้ านการเมือง และความสามารถที่จะนําไปสูก่ าร เปลี่ยนแปลง อาจจะต้ องมีขนตอนของการเตรี ั้ ยมการเพิ่มเข้ าไปในฉากทัศน์

14


บทที่ 3 วิธีการดําเนินงานวิจัย วิธีการดําเนินงานวิจยั ครัง้ นี ้ ใช้ กระบวนการ “ สานเสวนาหาทางออก ” เป็ นปั จจัยสําคัญสําหรับ การดําเนิน งานโครงการวิจยั การสร้ างพลังทางกฎหมายแก่ภาคประชาชนด้ วยการสานเสวนาหาทางออก เพื่อแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ างในการวิจัย กลุม่ เป้าหมายในการศึกษาครัง้ นี ้ ได้ คดั เลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จาก ตัวแทนแต่ละกลุม่ ที่มีสว่ นได้ สว่ นเสียทังทางตรงและทางอ้ ้ อม แบ่งได้ 4 กลุม่ ได้ แก่ 3.1.1 หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการกว๊ านพะเยา เช่น สํานักงานประมง สํานักงาน ประปา สํานักงานโยธาธิการและผังเมือง โครงการ ชลประทาน สํานักงานเกษตร สํานักงาน ธนารักษ์ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สํานักงานที่ดนิ ฯลฯ 3.1.2 องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นรอบกว๊ านพะเยา และป่ าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา ได้ แก่ องค์การ บริหารส่วนจังหวัดพะเยา เทศบาลเมืองพะเยา เทศบาลตําบลบ้ านต๋อม เทศบาลตําบลสันป่ าม่วง เทศบาล ตําบลสันป่ าม่วง เทศบาลตําบลบ้ านสาง อบต.แม่ใส อบต.บ้ านตุน่ 3.1.3 องค์กรภาคประชาสังคมในจังหวัดพะเยา ได้ แก่ เครื อข่ายนักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน กลุม่ ศิลปิ น กลุม่ คนรุ่นใหม่ คนในเมือง ฯลฯ 3.1.4 องค์กรภาคประชาชน ได้ แก่ เครื อข่ายลุม่ นํ ้าอิง เครื อข่ายแม่หญิงพะเยา เครื อข่ายอนุรักษ์ป่า ต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา เครื อข่ายประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา กลุม่ เยาวชนจากสภาเด็กเยาวชนจังหวัดพะเยา กลุม่ เยาวชนตําบลสันป่ าม่วง กลุม่ เยาวชนตําบลแม่อิง กรรมการสภานักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม กลุม่ ผู้ใช้ นํ ้าท้ ายกว๊ านพะเยา 3.1.5 องค์กร ภาคธุรกิจ ได้ แก่ กลุม่ นักธุรกิจ ผู้ประกอบการ หอการค้ าจังหวัดพะเยา และกลุม่ แม่ค้าขายอาหารริมกว๊ านพะเยา 3.2 พืน้ ที่ในการวิจัย พื ้นที่ในการวิจยั คือชุมชนรอบกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา

15


3.3 กระบวนการวิจัย กระบวนการวิจยั ครัง้ นี ้ เป็ นการต่อยอดจากเวทีสานเสวนาหาทางออกในการแก้ ไขปั ญหา กว๊ านพะเยา ที่สถาบันพระปกเกล้ าได้ ดําเนินการในจังหวัดพะเยา โดยมีกระบวนการดังนี ้ 3.1.1 จัดเวทีประชุมคณะทํางาน เพื่อวางแผนการดําเนินงาน และกําหนดบทบาทหน้ าที่ 3.3.2 ศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานทัว่ ไปเกี่ยวกับกว๊ านพะเยา สภาพปั ญหา และการแก้ ไขปั ญหา 3.3.3 ทําความเข้ าใจในการดําเนินงานโครงการวิจยั ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง และสรรหา คณะทํางาน 3.3.4 จัดเวทีประชุมกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียรอบกว๊ านพะเยา เพื่อร่วมกันจัดทําทางออกและ ข้ อเสนอในการบริหารจัดการ ดูแลและใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรในกว๊ านพะเยาตามกลุม่ และเครื อข่าย 3.3.5 สรุปประมวลข้ อมูลทางออก และข้ อเสนอของแต่กลุม่ 3.3.6 จัดเวทีสานเสวนากลุม่ ผู้ที่มีสว่ นได้ สว่ นเสียทังหมด ้ เพื่อนําทางออก และข้ อเสนอของแต่กลุม่ มาหาฉันทามติร่วม (consensus) 3.3.7 สรุปข้ อมูล และสร้ างต้ นแบบ (Model) ในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยาโดยการมี ส่วนร่วมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย 3.3.8 จัดเวทีประเมินผลและถอดบทเรี ยนจากกระบวนการจัดการกว๊ านพะเยาแบบมีสว่ นร่วม 3.3.9 จัดทํารายงานความก้ าวหน้ า และรายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์เสนอต่อสถาบัน พระปกเกล้ า 3.4 เครื่องมือในการวิจัย เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั ครัง้ นี ้ ใช้ วิธีการดังต่อไปนี ้ 3.4.1 การสนทนากลุม่ ( Focus group) เพื่อให้ ได้ ข้อคิดเห็น และข้ อเสนอของแต่ละกลุม่ ต่อ ทางออกในการพัฒนากว๊ านพะเยา โดยมีประเด็นในการสนทนากลุม่ ดังนี ้ 1. กว๊ านพะเยาในมุมมองของกลุม่ ตนเอง 2. กลุม่ มีการทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา อะไรบ้ าง เช่น การใช้ ประโยชน์ แหล่งอาหาร 3. การมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา การให้ ข้อคิดเห็นต่อการพัฒนากว๊ านพะเยา 4. ผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนากว๊ านพะเยา /จากการปฏิบตั หิ น้ าที่ หรื อจากกฎหมาย หน่วยงานที่มีตอ่ กลุม่ และการแก้ ไขปั ญหาของชุมชนที่ผา่ นมา 5. ภาพที่อยากเห็น /ทางออกที่มีตอ่ ปั ญหา (ฉากทัศน์) และข้ อดี/ ข้ อด้ อยของแต่ละทางออก 6. ประเด็นร่วม ทางออก และข้ อเสนอของกลุม่ ที่เป็ นข้ อเสนอในการพัฒนากว๊ านพะเยา 3.4.2 การฉายภาพอนาคต โดยการวาดภาพสิ่งที่อยากเห็น 3.4.3 การสานเสวนาหาทางออก เพื่อ หาฉันทามติร่วม (consensus) และสร้ างต้ นแบบ (Model) ในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยาโดยการมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย 16


บทที่ 4 กว๊ านพะเยา : ความเป็ นมา การจัดการ และสภาพปั ญหา 4.1 กว๊ านพะเยาในตํานาน ประวัตขิ องกว๊ านพะเยาได้ มีการบันทึกเป็ นตํานานไว้ ในพงศาวดาร 2 สํานวนคือประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 และพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน กล่าวคือ (ชัยวัฒน์ จันทิมา, 2545:148 – 149) ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 กล่าวว่า ‚พระโพธิสตั ว์เสวยชาติเป็ นนกเอี ้ยง อาศัยอยูบ่ นดอย จอมทอง แล้ วลงไปอาบกินนํ ้าในหนองทุกวัน วันหนึง่ มีเหยี่ยวมาจิกตีกินนกเอี ้ยงเป็ นอาหาร ครัน้ เมื่อพระ โพธิสตั ว์ ตรัสเป็ นพระสัพพัญํูแล้ ว มาฉันจังหันที่บ้านช่างทอง ตําบลเขาจอมทอง ท่านก็เทศนาให้ พระ อานนท์วา่ ดูก่อนอานนท์ ตําบลนี ้เป็ นป่ าช้ าของตถาคตแห่งหนึง่ แลเหตุนี ้สระทุง่ นี ้จึงได้ ชื่อว่า ‘หนองเอี ้ยง’ หรื อ ‘ทุง่ เอี ้ยง’ เรี ยกตามนามนกเอี ้ยงนัน‛ ้ ส่วนในพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสนกล่าวว่า ‚ครัง้ หนึง่ พระร่วง กษัตริย์สโุ ขทัยเสด็จเยี่ยมพญา งําเมือง กษัตริย์พะเยาผู้เป็ นพระสหาย และได้ ลกั ลอบเป็ นชู้กบั นางเทวีของพญางําเมือง พญางําเมือง ทราบเรื่ อง จึงได้ ให้ ไพร่พลตามจับพระร่วง พระร่วงแปลงเป็ นนกเอี ้ยงบินหนี แต่ต้องมนต์ของพญางําเมือง ทําให้ ออ่ นแรงตกลงในหนองนํ ้า หนองนํ ้านันจึ ้ งชื่อว่า ‘หนองเอี ้ยง’ จากนัน้ พระร่วงจึงแปลงร่างเป็ นวัวแดง โดดลงในสระแห่งหนึง่ แต่ก็ออ่ นกําลังลงในที่นนอี ั ้ ก สระนันจึ ้ งได้ ชื่อว่า ‘หนองวัวแดง’ พระร่วงยังไม่ยอม แพ้ จึงแปลงเป็ นตุน่ ดันเข้ าไปในดิน พญางําเมืองจึงสกเสียม ขุดดินไล่ตามตุน่ ไปจนจับพระร่วงได้ ที่บริเวณ นันจึ ้ งเรี ยกว่า ‘ร่องตุน่ ’ และ ‘บ้ านตุน่ ’ นัน่ เอง กว๊ านพะเยาว่ามีความสําคัญต่อเมืองพะเยามาก สมัยการตังบ้ ้ านแปงเมืองพะเยาของขุนจอม ธรรมนัน้ กว๊ านพะเยาถือเป็ นหนึง่ ในสามของชัยภูมิที่เหมาะสมกับการสร้ างอาณาจักร กล่าวคือ มีชยั มงคล 3 ประการคือ ประการแรก มีแม่นํ ้าสายตาหรื อแม่นํ ้าอิงอยูท่ างใต้ ของเมือง และไหลไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ประการที่สอง มีกว๊ านพะเยาหรื อหนองเอี ้ยง ตังอยู ้ ท่ างทิศตะวันตกของเมือง และ ประการสุดท้ ายที่หวั เวียงมีดอยจอมทอง ที่บรรจุพระธาตุจอมทอง เป็ นสิ่งศักดิส์ ิทธิ์คบู่ ้ านคูเ่ มืองพะเยา ดังนันที ้ ่ตงของเมื ั้ องพะเยาจึงมีความอุดมสมบูรณ์ เฉพาะบริเวณตัวเมืองพะเยา เพราะมีแหล่งนํ ้าที่สําคัญ สองแหล่งคือ นํ ้าอิงและกว๊ านพะเยา ซึง่ เป็ นบึงขนาดใหญ่ ส่วนพื ้นที่ราบในบริเวณนี ้ค่อนข้ างกว้ าง และต่อ เนื่องมาจากจังหวัดเชียงราย (สรัสวดี อ๋องสกุล , 2544 :47) บริเวณรอบกว๊ านพะเยาในอดีต มีบ้านเรื อนและวัดตังอยู ้ เ่ ป็ นจุด ๆซึง่ ประชากรรอบกว๊ านพะเยาใน สมัยนัน้ มีทงชนพื ั้ ้นเมือง อพยพมาจากจังหวัดลําปาง คนจีน และคนอีสานตามลําดับ ชาวบ้ านอาศัยนํ ้า จากหนอง ลําห้ วยต่างๆ สําหรับการอุปโภคและบริโภค

17


4.2 ข้ อมูลทั่วไปของกว๊ านพะเยา คําว่า "กว๊ าน" ตามหนังสือพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายความว่า บึงตอนลึก นํ ้าตอน ลึกไหววนที่เรี ยกว่า "กว๊ าน" คงเรี ยกตามสําเนียงการพูดของชาวบ้ านเป็ นหลัก พระธรรมวิมลโมลี เจ้ าอาวาส วัดศรี โคมคํา มีความเห็นว่า ‚กว๊ าน‛ คือ ‚กว้ าน‛ เพราะกว้ านเอานํ ้าจากห้ วยหนอง คลอง บึง และแม่นํ ้าลํา ธารต่างๆ มารวมไว้ ในที่แห่งเดียว ในภูมิภาคอื่นๆ เช่น ตะวันออกเฉียงเหนือว่า ‚กว้ าน‛ หมายถึง ศาลา กลางบ้ าน หอประชุม สถานที่เหล่านี ้เป็ นที่สาธารณประโยชน์ร่วมกัน 4.2.1 ก่ อนจะเป็ นกว๊ านพะเยา กว๊ านพะเยาก่อน พ.ศ. 2484 นํ ้าในกว๊ าน จะมีมากก็แต่เฉพาะในฤดูฝนเท่านัน้ ในฤดูแล้ งจะมีสภาพ เป็ นบึง และมีบวก หนองอยูร่ อบกว๊ าน ดังปรากฏตามหลักฐานการสํารวจของนายเต่า กัลยา เจ้ าหน้ าที่ เกษตรอําเภอ เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2462 และได้ บนั ทึกการสํารวจไว้ วา่ หนองกว๊ านอยูใ่ นเขตตําบลเวียง อําเภอพะเยา จังหวัดเชียงราย อยูห่ า่ งจากแม่นํ ้าอิง 25 เส้ น ยาว 50 เส้ น ระดับนํ ้าตามปกติในเดือน กันยายน ตามบริเวณโดยรอบนํ ้าท่วมลึกประมาณ 1 ศอก ตอนกลางนํ ้าลึก 1 วา 3 ศอก ตามบริเวณรอบ เป็ นป่ าไผ่ และไม้ กนั ยาเลย ห่างจากหมูบ่ ้ านในเวียงประมาณ 8 เส้ น เมื่อแบ่งกว๊ านออกเป็ น 4 ส่วน ก็จะได้ ส่วนละ 25 เส้ น บริเวณรอบกว๊ านจะมีบวกหนอง อยูร่ อบ ๆ กว๊ านและมีลํารางนํ ้าเชื่อม ติดต่อกันตลอดกับ แม่นํ ้าอิงเรี ยกว่า "ร่องเหี ้ย" ไหลเชื่อมกว๊ านหลวงกับแม่นํ ้าอิง กว๊ านมี 2 ตอน ๆ แรกเรี ยกว่า "กว๊ านน้ อย" อยูแ่ ถบทางทิศตะวันตกเป็ นร่องลํารางนํ ้าขึ ้นไปหาขานํ ้า แม่ตนุ่ และเยื ้องไปหาชายบ้ านสันเวียงใหม่ ตอนที่สองเรี ยกว่า "กว๊ านหลวง" อยูแ่ ถบทางทิศตะวันออกใกล้ กับลํานํ ้าแม่อิงฝั่ งขวา ในบริเวณกว๊ านยังมีร่องนํ ้า บวก หนอง ที่มีลํารางไหลเชื่อมติดต่อ กันบ้ าง ไหลมาจาก ภูเขาบ้ าง ดังต่อไปนี ้ 1.แม่ร่องน้ อยห่าง อยูห่ า่ งจากแม่นํ ้าอิง 5 เส้ น ร่องนํ ้ากว้ าง 1 เส้ น ยาว 10 เส้ น ตรงกลางมีเกาะเล็ก ๆ อยู่ 1 เกาะอยูห่ า่ งจากแม่นํ ้าอิงประมาณ 5 เส้ น ระดับนํ ้าตามปกติในเดือนกันยายน นํ ้าท่วมบริเวณลึก 1 ศอก กลางลึก 1 วา 3 ศอก ในฤดูแล้ งเดือนมีนาคมนํ ้าจะลดเหลือเพียง 30 นิ ้ว อยูห่ า่ งจากหมูบ่ ้ านในเวียง 20 เส้ น บริเวณรอบเป็ นป่ าไผ่ และไม้ กนั ยาเลย 2.หนองช้ างแดง อยูใ่ นเขตตําบลเวียง ห่างจากแม่นํ ้าอิง 1 เส้ น 5 วา ยาว 2 เส้ น 10 วา ทางหัว หนองเป็ นลํารางต่อกับนํ ้าอิง ส่วนทางท้ ายหนองเป็ นลํารางต่อกับแม่ร่องน้ อยห่างระดับนํ ้าตามปี ปกติใน เดือนกันยายนสูง 1 วา 2 ศอก เนื ้อที่มี 8 ไร่ 3 งาน บริเวณเป็ นป่ าไผ่และป่ าไม้ ทมุ่ แสะ อยูห่ า่ งจากหมูบ่ ้ าน ในเวียงประมาณ 3 เส้ น

18


3.หนองหญ้ าม้ า อยูใ่ นเขตตําบลเวียง อยูท่ างทิศตะวันออกแม่นํ ้าอิง ห่างจากแม่นํ ้าอิงประมาณ 2 วา กว้ าง 2 เส้ น 10 วา ยาว 10 เส้ น ระดับนํ ้าตามปี ปกติในเดือนกันยายน ลึก 3 วา 2 ศอก บริเวณหนองมี หญ้ าแฝกแขม และป่ าไม้ กระทุม่ แสะ อยูห่ า่ งจากหมูบ่ ้ านในเวียงประมาณ 1 เส้ น หนองนี ้เป็ นที่ประชาชนใช้ อาบ จังมีทา่ นํ ้า ส่วนหนึง่ สําหรับสัตว์พาหนะต่าง ๆ 4.หนองเอี ้ยง อยูใ่ นเขตตําบลเวียง อยูห่ า่ งจากแม่นํ ้าอิงไปทางทิศตะวันออก 1 วา กว้ าง 2 เส้ น ยาว 3 เส้ น ทางหัวหนองเป็ นลํารางออกต่อแม่นํ ้าอิงเช่นกันแม่นํ ้าอิงส่วนนี ้มีสว่ นโค้ งอ้ อมหนองเอี ้ยง ระดับนํ ้า ตามปี ปกติในเดือนกันยายน นํ ้าจะลึกประมาณ 1 วา 2 ศอก บริเวณเป็ นป่ าไผ่และไม้ กระทุม่ และหญ้ าแฝก แขมหนองนี ้อยูห่ า่ งจากหมูบ่ ้ านในเวียง ประมาณ 5 เส้ น ทางฝั่ งตะวันออกของหนองมีทา่ นํ ้า สําหรับ ประชาชนลงไปตักนํ ้าถึง 4 ท่า ส่วนทางเหนือติดกับวัดศรี โคมคํา 5.หนองวัวแดง อยูใ่ นเขตตําบลต๋อม (อยูด่ ้ านหลังของโรงพยาบาลพะเยาในปั จจุบนั ) ห่างจากบ้ าน หนองเหนียว ประมาณ 6 เส้ น 10 วา อยูห่ า่ งจากแม่นํ ้าอิง 5 เส้ น 16 วา กว้ าง 15 วา ยาว 17 วา มีลําราง ออกสูแ่ ม่นํ ้าอิง บริเวณรอบๆเป็ นป่ าอ้ อและป่ าแผก ลึก 1 วา 2 ศอก 6.หนองเหนียว อยูใ่ นเขตตําบลต๋อมห่างจากบ้ านหนองเหนียว ประมาณ 7 เส้ น บริเวณหนองเป็ น ป่ าไม้ กระทุม่ แสะ และหญ้ าแฝก ป่ าอ้ อ มีลํารางออกสูแ่ ม่นํ ้าอิง นอกจากหนองมีบวก มีลกั ษณะเล็กบ้ าง ใหญ่บ้างคือ บวกเก้ งก้ าง อยูใ่ นเขตตําบลเวียงไปทางทิศใต้ อยูห่ า่ งจากแม่นํ ้าอิง 2 เส้ น อยูห่ า่ งจากหมูบ่ ้ าน ประมาณ 20 เส้ น กว้ าง 3 วา ยาว 5 วา ลึก 1 วา 3 ศอก บริเวณรอบๆเป็ นป่ าไผ่ ป่ าไม้ กระทุม่ แสะ บวกตุ้ม อยูใ่ นเขตตําบลเวียง ห่างจากหมูบ่ ้ านไปทางทิศใต้ ประมาณ 3 เส้ น ห่างจากแม่นํ ้าอิง 2 เส้ น กว้ าง 7 วา ยาว 1 วา ลึก 1 วา 2 ศอก บริเวณรอบๆมีหญ้ าแผกแขมและป่ าไม้ อยูร่ อบๆ บวกผักจิก อยูใ่ นเขตตําบลเวียง ห่างจากหมูบ่ ้ านไปทางทิศใต้ ประมาณ 25 เส้ น กว้ าง 8 วา ยาว 1 เส้ น 5 วา และอยูห่ า่ งจากแม่นํ ้าอิง ประมาณ 20 เส้ น ลึก 1 วา 2 ศอก (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2535) 4.2.2 ก่ อกําเนิดเป็ นกว๊ านพะเยา จากการสํารวจและให้ ข้อเสนอแนะของดร .ฮิว แมคคอร์ มิค สมิธ (H.M.Smith) พร้ อมด้ วยเจ้ าพระยา พลเทพ เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และผู้วา่ ราชการจังหวัดเชียงราย ซึง่ เดินทางมาพะเยา เมื่อ พ.ศ. 2466 และจากการสํารวจของหลวงมัศยจิตรการ ผู้แทนการประมง ที่เดินทาง มาพะเยาเมื่อ พ.ศ. 2482 เห็น ว่ากว๊ านในฤดูแล้ งจะแห้ งขอด ชาวบ้ านจะพากันมาจับสัตว์นํ ้าโดยไม่มีการควบคุมจํานวนไม่ตํ่ากว่า 300 คน จะทําให้ จํานวนปลาลดน้ อยลง จึงมีดําริให้ กนทํ ั ้ านบทางตอนใต้ กว๊ านพะเยา จุดปากลํานํ ้าอิงทิศใต้ ก่อนที่นํ ้ากว๊ านจะไหลออกไปสูแ่ ม่นํ ้าอิงไปทางอําเภอดอกคําใต้ ในปั จจุบนั

19


พ.ศ. 2482 กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ ดําเนินการสร้ างทํานบ และประตูระบาย นํ ้า พร้ อมทังก่ ้ อสร้ างสถานีประมงนํ ้าจืดจังหวัดพะเยาแล้ วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2484 ทําให้ นํ ้าท่วมที่หนอง ที่บวก ที่ร่องนํ ้าอิง ที่ดนิ และบ้ านเรื อนของชาวบ้ านบางส่วนที่ตงอยู ั ้ ใ่ กล้ หนองนํ ้าธรรมชาติจงึ แปรเปลี่ยนเป็ นอ่าง เก็บนํ ้าขนาดใหญ่ ที่เรี ยกว่า “กว๊ านพะเยา” กว๊ านพะเยาถือได้ เป็ นแหล่งนํ ้าที่ใหญ่ที่สดุ ในลุม่ นํ ้าอิง และภาคเหนือตอนบน มีรูปร่างคล้ ายกระทะมี พื ้นที่ 20.53 ตร.กม. หรื อประมาณ 12,831.25 ไร่ 1 งาน 26 ตารางวา สามารถกักเก็บนํ ้าได้ โดยเฉลี่ย 31.45 ล้ าน ลบ.ม.ตังอยู ้ ใ่ นเขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา มีต้นกําเนิดจากป่ าต้ นนํ ้าทางด้ านทิศตะวันตกซึง่ เป็ นบริเวณเทือกเขาผีปันนํ ้าหรื อดอยหลวง ประกอบด้ วยดอยต่างๆ ได้ แก่ ดอยขุนแม่ตํ๊า ดอยกองหิน ดอย แม่สกุ ดอยขุนแม่ฟาดเป็ นแหล่งกําเนิดของลําห้ วย 11 สาย นอกจากนี ้ยังมีอีก 1 ลําห้ วย ซึง่ มีต้นนํ ้าบริเวณดอยด้ วน อยูใ่ นเขตอําเภอแม่ใจ และอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา รวมทังหมด ้ 12 ลุม่ นํ ้า ได้ แก่ ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ปืม ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่เหยี่ยน ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ต้ มุ ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ตํ๊า ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ตอ๋ ม ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ตนุ่ ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่นาเรื อ ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ตํ๋า ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ ใส ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ร่องขุย ลุม่ นํ ้าห้ วยแม่ร่องปอ และลุม่ นํ ้าอิง นํ ้าจากลําห้ วยต่างๆ ไหลเข้ าทางบริเวณตอน เหนือของกว๊ าน และไหลออกทางด้ านตะวันออกเฉียงใต้ แล้ วย้ อนกลับขึ ้นมาทางตะวันออกเฉียงเหนือ ลงสู่ แม่นํ ้าโขงที่อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย กว๊ านพะเยา มีอาณาเขตติดต่อดังนี ้ ทิศตะวันออก ติดกับ ตําบลเวียง และตําบลแม่ตํ๋า ทิศใต้ ติดกับ ตําบลแม่นาเรื อ ทิศตะวันตก ติดกับ ตําบลตุน่ ทิศเหนือ ติดกับ ตําบลต๋อม และตําบลบ้ านตํ๊า กว๊ านพะเยาได้ ขึ ้นทะเบียนเป็ นที่ราชพัสดุ แปลงเลขที่ พย.7 โดยมีประวัตกิ ารได้ มาตามประกาศ พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดนิ ในบริเวณที่เวนคืนในท้ องที่อําเภอพะเยา จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2482 เพื่อใช้ ในราชการกระทรวงเกษตราธิการ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ปัจจุบนั ) ในการบํารุงพันธุ์สตั ว์นํ ้า กว๊ านพะเยา และซื ้อด้ วยงบประมาณแผ่นดินบางส่วน (สํานักงานประมงจังหวัดพะเยา, 2543) 4.2.3 ลักษณะทางชีวภาพ ก่อนการสร้ างประตูระบายนํ ้ากันขวางลํ ้ านํ ้าอิง กว๊ านพะเยาจัดได้ วา่ เป็ นแหล่งนํ ้าแบบที่มีการ ไหลเวียนอย่างต่อเนื่อง และในทิศทางที่แน่นอน (Logic environment series) ซึง่ ถือว่าเป็ นระบบนิเวศแบบ เปิ ด (Open aquatic ecosystem) และเป็ นที่เชื่อกันว่าเป็ นระบบนิเวศที่มีความมัน่ คงสูง กล่าวคือ มี องค์ประกอบทางกายภาพ และองค์ประกอบทางชีวภาพในปริมาณและจํานวนที่เหมาะสม แต่ละ องค์ประกอบก็ทําหน้ าที่ของตนเองอย่างสมบูรณ์ในระบบ การสร้ างประตูกนขวางลํ ั้ านํ ้าอิง ทําให้ กว๊ าน พะเยากลายสภาพเป็ นแหล่งนํ ้าที่ไม่มีการไหลเวียนของนํ ้าอย่างต่อเนื่อง และถือว่าเป็ นระบบนิเวศแบบปิ ด 20


(Closed aquatic ecosystem) ซึง่ มีสว่ นทําให้ พืชนํ ้าประเภทต่างๆ เจริญเติบโตและแพร่ขยายพันธุ์ได้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณริมกว๊ านพะเยา จากการที่กว๊ านพะเยาเป็ นระบบนิเวศแบบกึ่งปิ ด ค่อนข้ างตื ้น เป็ นบึงที่มีการไหลเวียนของนํ ้าไม่ตอ่ เนื่อง พบสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูห่ ลายชนิด ได้ แก่ 1. นกนํ ้า พบอย่างน้ อย 14 ชนิด เช่น นกเป็ ดผีเล็ก นกยางกรอกพันธุ์จีน นกยางไฟธรรมดา นกกวัก นกอีลํ ้าเป็ นนกประจําถิ่น 8 ชนิด นกอพยพ 2 ชนิด เป็ นทังนกประจํ ้ าถิ่นและนกอพยพ 3 ชนิด นกส่วนใหญ่ เหล่านี ้มีความชุกชุมน้ อย ที่ชกุ ชุมมากคือ นกนางแอ่นบ้ าน 2. พันธุ์ปลา พบพันธุ์ปลาสูงสุด 51 ชนิด (ปี 2514) และตํ่าสุด 21 ชนิด (ปี 2535) ชนิดที่มี สถานภาพมีแนวโน้ มใกล้ สญ ู พันธุ์ ได้ แก่ ปลาดุกด้ าน ปลาค้ าว ปลาหมอไทย ปลากดเหลือง ปลาช่อน ปลา ดุกอุย ปลาตะเพียนขาว ปลากราย ปลาสลาด แต่จากการสํารวจสถิตชิ นิดและพันธุ์ปลาจากท่าขึ ้นปลา 14 แห่งรอบกว๊ านพะเยาโดยสถานีประมงนํ ้าจืดจังหวัดพะเยา ตังแต่ ้ เดือนตุลาคม 2543- มกราคม 2544 พบพันธุ์ปลา 29ชนิด เป็ นปลาและสัตว์นํ ้าท้ องถิ่น จํานวน 22 ชนิด ได้ แก่ ปลากระสูบขีด ปลาหมอเทศลาย ปลาบู่ ปลาหมอช้ างเหยียบ ปลาสลาด ปลากราย ปลาสลิด ปลาช่อน ปลากระดี่ ปลาหมอไทย ปลาหมอ ตาล ปลาซิว ปลาตะเพียนทราย ปลาซ่า ปลาดุก ปลาแป้นกระจก ปลาไส้ ตนั ปลากดเหลือง ปลากระทิง ปลาแขยงใบข้ าว ปลาปั กเป้า กุ้งฝอย และเป็ นปลาปล่อยจากสถานีฯ จํานวน 7 ชนิดได้ แก่ ปลาตะเพียน ปลาไน ปลานิล ปลายี่สกเทศ ปลานวลจันทร์ เทศ ปลาสร้ อยขาว ปลากาดํา 3. พันธุ์พืชนํ ้า พบอย่างน้ อย 42 ชนิด มีพืชใต้ นํ ้า ได้ แก่ สาหร่าย บริเวณนํ ้าตื ้น พบพืชลอยนํ ้าตาม ขอบกว๊ าน ได้ แก่ ผักตบชวา ผักบุ้ง แพงพวยนํ ้า จอกหูหนู บัว และ แหน พืชชายนํ ้าที่พบตามริมกว๊ าน ได้ แก่ หญ้ าปล้ อง บอน ผักเป็ ดนํ ้า หญ้ าต่างๆ ต้ นอ้ อ ตาลปั ตรฤาษี ธูปฤาษี โสนหางไก่ ต้ นเทียนนํ ้า ผักกูดนา ผักไผ่นํ ้า ผักตบไทย กระจับ ต้ นกกและไมยราบยักษ์ นอกจากนี ้กว๊ านพะเยายังถูกขึ ้นทะเบียนเป็ นพื ้นที่ชมุ่ นํ ้าที่มีความสําคัญระดับนานาชาติ (Ramsar Site) เพราะถือว่าเป็ นบึงนํ ้าจืดที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม อีกทังเป็ ้ นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลา สัตว์นํ ้า พืชนํ ้า หลายชนิด รวมทังเป็ ้ นแหล่งอาศัยของนกประจําถิ่นและนกอพยพอีกด้ วย (มนัส สุวรรณ และคณะ, 2534 : 17) 4.3 การใช้ ประโยชน์ จากกว๊ านพะเยา การสร้ างทํานบกันลํ ้ านํ ้าอิงได้ ก่อให้ เกิดประโยชน์แก่เกษตรกร ชาวประมง ชุมชนต่างๆ เพราะได้ ใช้ นํ ้ากว๊ านในการอุปโภค บริโภค การเกษตร การประมง การประปา รวมทังเป็ ้ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ แหล่ง ท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ นอกจากนี ้ยังเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ปลานํ ้าจืดของกรมประมงอีกด้ วย การใช้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยา สามารถแบ่งออกได้ ดงั นี ้ (สถานีประมงนํ ้าจืดจังหวัดพะเยา, มปท.)

21


4.3.1 การทําประมง อาชีพการประมง เป็ นอาชีพสําคัญที่หาเลี ้ยงปากเลี ้ยงท้ องของชาวบ้ านรอบกว๊ านพะเยา มาตังแต่ ้ อดีต ในการหาปลาเครื อญาติและเพื่อนบ้ าน ต่างนัดสมัครพรรคพวกออกไปหาปลาต่าง ๆ ตามบวกหนอง ร่องนํ ้าเป็ นหมู่ โดยใช้ เครื่ องมือจับปลาพื ้นบ้ าน เช่น แหลม สุม่ แน่ง ยอ ตุ้ม ฯลฯ ทุกบวกหนองร่องนํ ้ามีปลา มากมาย โดยเฉพาะบริเวณริมนํ ้าที่ตื ้นเขิน เมื่อหาปลาได้ ก็จะแบ่งเป็ นสองส่วนคือใช้ บริโภคในครัวเรื อน หรื อจัดสรรแบ่งปั นกันในระหว่างหมูห่ าปลาและญาติพี่น้องในหมูบ่ ้ าน อีกส่วนหนึง่ จึงนําไปขายที่ตลาดสด ในเมืองหรื อตลาดบริเวณใกล้ เคียง หลังจากมีการสร้ างทํานบและประตูกนนํ ั ้ ้าอิงในบริเวณที่เป็ นสถานี ประมงนํ ้าจืด จังหวัดพะเยาในปั จจุบนั ทําให้ ที่ลมุ่ ตํ่า บวก หนอง ร่องนํ ้า และป่ าต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงเป็ น กว๊ านพะเยา หลังจากการก่อสร้ างประตูนํ ้าแล้ วเสร็จ ทําให้ ปลาพื ้นเมืองจากแม่นํ ้าอิง และแม่นํ ้าโขง ซึง่ เคย ขึ ้นมาวางไข่บริเวณกว๊ านพะเยา และบริเวณต้ นแม่นํ ้าอิง มีจํานวนลดน้ อยลงหรื อบางชนิดได้ สญ ู พันธุ์ไป เช่น ปลาเค้ า ปลา ข้ างลาย ปลาหมู ปลาดุกเมือง ปลาหลด ปลาสลิด อาจกล่าวได้ วา่ ปลาที่มีอยูใ่ นกว๊ าน พะเยาในปั จจุบนั บางชนิดเป็ นพันธุ์ปลาที่สถานีประมงนํ ้าจืด จังหวัดพะเยานํามาปล่อยเพื่อให้ ขยายพันธุ์ ในกว๊ านพะเยา เช่น ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียน ปลาสร้ อย ปลาเฉา ปลาลิ่น ปลาซ่ง เป็ นต้ น ปั จจุบนั การทําการประมงของชาวประมงในกว๊ านพะเยาได้ เปลี่ยนแปลงไปมาก เนื่องจากมี กิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยามาก เช่น การผลิตนํ ้าประปา การท่องเที่ยว การขุดลอกกว๊ านพะเยา การบุกรุกที่กว๊ าน การใช้ เครื่ องมือจับปลาที่ต้องห้ าม โดยช๊ อตไฟฟ้า หรื อยาเบื่อ ส่งผลให้ คณ ุ ภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติกว๊ านพะเยาลดน้ อยลง เช่น นํ ้าเสีย จํานวนปลาและพืชพันธุ์ลดลง ปลาท้ องถิ่นบาง พันธุ์สญ ู พันธุ์ การระบาดของพืชและสัตว์นํ ้าที่เป็ นอันตรายต่อระบบนิเวศและพันธุ์สตั ว์นํ ้า เช่น สาหร่ายสี นํ ้าเงินแกมเขียว ปลาชะโด และต้ นไมยราพยักษ์ ชาวประมง ส่วนใหญ่จึ งทําการประมงเป็ นอาชีพเสริม และหันไปประกอบอาชีพอื่นที่มีรายได้ มากขึ ้น เช่น รับจ้ าง ค้ าขาย เป็ นต้ น 4.3.2 การผลิตนํา้ ประปา เพื่ออุปโภคบริโภค ปี พ.ศ. 2500 องค์การประปาภูมิภาคได้ สร้ างสํานักงานประปาส่วนภูมิภาค สาขาพะเยา โดยใช้ นํ ้า จากกว๊ านพะเยาในการผลิต เริ่มใช้ บริการนํ ้า ประปาให้ แก่ประชาช นในเขตอําเภอเมืองพะเยา และอําเภอ ดอกคําใต้ ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2501เป็ นต้ นมา โดยมีโรงกรองนํ ้าจํานวน 2 แห่ง 4.3.3 การท่ องเที่ยว กว๊ านพะเยามีความสวยงามตามธรรมชาติ มีเทือกเขาผีปันนํ ้าเป็ นฉากบังข้ างหลัง ชาวบ้ านเรี ยกว่า "ดอยหลวงหรื อดอยหนอก" ดังนันกว๊ ้ านพะเยาจึงเป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของคนพะเยา และนักท่องเที่ยว จากต่างจังหวัด กลายมาเป็ น จุดศูนย์กลางการท่องเที่ยวของจังหวัด พะเยา โดยเฉพาะในฝั่ งเมือง จะมี ร้ านค้ า ร้ านอาหาร ที่พกั เกิดขึ ้นมากมาย และมีการพัฒนาบริเวณหน้ ากว๊ านพะเยา โดยเทศบาลเมือง พะเยา และองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา 22


4.3.4 การเกษตร การทําเกษตรของเกษตรกร ที่พงึ่ พานํ ้าจากกว๊ านพะเยา จะอยูฝ่ ั่ งตะวันตก เพราะเป็ นที่ราบลุม่ กว้ างใหญ่ เรี ยกว่า “ที่ราบลุม่ กว๊ านพะเยา” เกษตรกรจะมีการเพาะปลูกข้ าวเป็ นพืชหลักในฤดูฝน หลังเก็บ เกี่ยวเกษตรกรมักจะปลูกถัว่ กระเทียม หอมแดง เป็ นต้ น การใช้ นํ ้าในการทํานาที่ตดิ กว๊ านในอดีต ชาวบ้ าน เรี ยกว่า “นาหนอง” เกษตรกรจะใช้ ระหัดวิดนํ ้าเข้ านา ต่อมากรมพลังงานได้ มาติดตังสถานี ้ สบู นํ ้าด้ วยไฟฟ้า ที่บ้านทุง่ กิ่ว เพื่อให้ บริการสูบนํ ้าแก่เกษตรกร ดูแลรับผิดชอบโดยกรมชลประทาน 4.4 การจัดการกว๊ านพะเยา ในภาพรวมของการจัดการกว๊ านพะเยา หลังจากสร้ างประตูระบายนํ ้าแล้ วเสร็จ กว๊ านพะเยาที่เคย เป็ นของหน้ าหมูข่ องชาวบ้ านถูกเปลี่ยนมือ มาควบคุมโดย รัฐ ผ่านหน่วยงาน ภาครัฐ ที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ าน พะเยาเข้ ามาดูแลบริหารจัดการพื ้นที่รอบกว๊ านพะเยา และนํ ้าในกว๊ านพะเยาตามอํานาจหน้ าที่ที่ บัญญัตใิ น กฎหมาย หน่วยงานแรกที่เกิดมาพร้ อมกับกว๊ านพะเยาคือ สถานีบํารุงพันธุ์สตั ว์นํ ้า 2 กว๊ านพะเยา กรม ประมง พื ้นที่ก่อสร้ างได้ จากการเวนคืนโดยการจัดซื ้อจากราษฎร ในปี พ.ศ. 2482-2484 พร้ อมๆ กับการ เวนคืนที่ดนิ ในบริเวณกว๊ านพะเยา การก่อสร้ างสถานีฯ เริ่มดําเนินการเมื่อก่อสร้ างประตูนํ ้าแล้ วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และเปิ ดดําเนินการเมื่อวันที่ 24 มิถนุ ายน 2484 ปี พ.ศ. 2496 เปลี่ยนชื่อเป็ นสถานีประมง (กว๊ านพะเยา) เชียงราย ปี พ.ศ. 2520 จังหวัดพะเยาได้ แยกออกมาจากจังหวัดเชียงราย จึง เปลี่ยนชื่อเป็ นสถานีประมงนํ ้าจืดจังหวัดพะเยา เนื่องจากมีการปรับ โครงสร้ างระบบราชการใหม่ ในปี งบประมาณ 2545 ทําให้ สถานีประมงนํ ้าจืดจังหวัดพะเยา ปรับเปลี่ยน เป็ นศูนย์วิจยั และพัฒนาประมงนํ ้าจืดพะเยา ทําหน้ าที่ด้านการวิจยั สัตว์นํ ้า แหล่งนํ ้า และเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า อีกหน่วยงานคือ สํานักงานประมงจังหวัดพะเยา ทําหน้ าที่ในการอนุรักษ์ และส่งเสริมการเลี ้ยงสัตว์นํ ้าให้ แก่ ชาวประมง นอกจากหน่วยงานด้ านการประมงแล้ ว ภายหลังได้ มีหน่วยงานอื่นเข้ ามามีบทบาท ได้ แก่ โครงการ ชลประทาน สํานักงาน ธนารักษ์ สํานักงานที่ดนิ สํานักงานประปา สํานักงานโยธาธิการและผังเมือง สํานักงานอุตสาหกรรม สํานักงานจังหวัด สํานักงานสาธารณสุข สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อม โครงการสูบนํ ้าด้ วยพลังงานไฟฟ้า รวมไปถึงองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นรอบกว๊ านพะเยา ตังแต่ ้ ระดับจังหวัดถึงระดับตําบล ได้ แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา เทศบาลเมืองพะเยา องค์การบริหาร ส่วนตําบลแม่ใส เทศบาลตําบลบ้ านสาง องค์การบริหารส่วนตําบลบ้ านตุน่ เทศบาลตําบลสันป่ าม่วง และ เทศบาลตําบลบ้ านต๋อม โดยมีกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ ของหน่วยงาน เหล่านัน้ ในการจัดการ ควบคุม การใช้ ทรัพยากรในกว๊ านพะเยา นอกจากนี ้ในการจัดการกว๊ านพะเยา ยัง มีคณะกรรมการ พัฒนากว๊ านพะเยา ระดับจังหวัด และ คณะอนุกรรมการเพื่อแก้ ไขปั ญหาเฉพาะด้ าน แต่งตัง้ โดยผู้วา่ ราชการจังหวัดพะเยา ซึง่ มีการเปลี่ยน ชื่อ 23


บ่อยครัง้ ตามนโยบายของผู้วา่ ราชการจังหวัดและสถานการณ์ที่ เกิดขึ ้นกับกว๊ านพะเยา เช่น คณะกรรมการ พัฒนากว๊ านพะเยา คณะกรรมการพัฒนากว๊ านพะเยาและการท่องเที่ยวจังหวัดพะเยา คณะกรรมการ ประสานการแก้ ไขปั ญหาการบุกรุกที่ดนิ ของรัฐส่วนจังหวัดพะเยา คณะอนุกรรมการแก้ ไขปั ญหาการบุกรุก ที่ดนิ ที่ราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียนที่ พย . 453 คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่าง ยัง่ ยืน เป็ นต้ น คณะกรรมการที่แต่งตังในชุ ้ ดแรกๆ จะองค์ประกอบมาจากหน่วยงานภาครัฐ ต่อมาได้ มีการ เพิ่มองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรภาคประชาชนเข้ ามามี ส่วนร่วมในการดําเนินงานด้ วย ในภาพรวม คณะกรรมการ พัฒนากว๊ านพะเยาแต่ละชุด จะ มีบทบาท หน้ าที่ ด้ านการ พิจารณา กําหนดแนวทาง มาตรการ กลไก และข้ อเสนอแนะของกว๊ านพะเยา ประสานงานและสนับสนุนหน่วยงาน ราชการ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และองค์กรพัฒนาเอกชนในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ และฟื น้ ฟูกว๊ าน พะเยา กํากับ ตรวจสอบ และติดตามประเมินผลการปฏิบตั งิ านโครงการพัฒนากว๊ านพะเยา และโครงการ ด้ านการอนุรักษ์ฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมในบริเวณลุม่ นํ ้ากว๊ านพะเยา มีอํานาจแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการหรื อคณะทํางานเพื่อปฏิบตั งิ าน ดําเนินการตามภารกิจที่ผ้ วู า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย และรวบรวมสรุปผลการดําเนินการ ปั ญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ ไขปั ญหา ในส่วนของบทบาท หน้ าที่ของหน่วยงานภาครัฐในการจัดการกว๊ านพะเยา จะมีทงองค์ ั ้ กรปกครอง ส่วนท้ องถิ่น ได้ แก่ องค์การบริหารส่วนตําบล เทศบาล และหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาค องค์กร เหล่านี ้ต่างมีบทบาท หน้ าที่แตกต่างกันไปตามภารกิจ โดยจะพบบทบาททัว่ ไปในด้ านการควบคุม ดูแล บํารุงรักษา การจัดให้ ใช้ ประโยชน์ การให้ คําแนะนําด้ านวิชาการ การสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ การจัดทําแผนงานโครงการพัฒนาชุมชน และการประเมินผล นอกจากนี ้ยังมีบทบาทเฉพาะด้ าน ได้ แก่ การประสานงานเกี่ยวกับราชการภายในจังหวัด การให้ บริการสาธารณะ การเฝ้าระวัง การตรวจสอบ คุณภาพนํ ้า การค้ นคว้ า ศึกษา และวิจยั ในทางปฏิบตั พิ บว่า คณะกรรมการกว๊ านพะเยา ที่แต่งตังมาเพื ้ ่อกําหนดแนวทางในการพัฒนา กว๊ านพะเยา ยังไม่สามารถสร้ างกระบวนการมีสว่ นร่วมกับภาค ประชาชน ไม่สามารถประสานแผนงานกับ หน่วยงานต่างๆ และกําหนดทิศทางในการพัฒนาที่ชดั เจนและที่สามารถปฏิบตั ไิ ด้ จริง รวมทังไม่ ้ มีการ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการพัฒนากว๊ านพะเยาให้ แก่สาธารณชนคนพะเยาได้ รับทราบ (สหัทยา วิเศษ และคณะ, 2545. เอกสารอัดสําเนา) 4.5 กฎหมาย ระเบียบและข้ อบังคับในการจัดการกว๊ านพะเยา กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับในการจัดการกว๊ านพะเยา เนื ้อหาของกฎหมายออกเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่ ประเภทแรก เป็ นกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อมทัว่ ไป ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นกฎหมายมหาชน และกฎหมายระหว่างประเทศ ประเภทที่สอง เป็ น 24


กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับของหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดพะเยาที่มีบทบาท อํานาจ หน้ าที่ในการจัดการ กว๊ านพะเยา กฎหมาย ประเภทแรก จะเป็ น กฎหมาย ที่กล่าวถึงสิทธิชมุ ชน การมีสว่ นร่วมของประชาชน การ จัดการ การอนุรักษ์ การฟื น้ ฟู การควบคุมดูแล การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม ศิลปกรรม โดยจะเป็ นทังกฎหมายมหาชน ้ และกฎหมายระหว่างประเทศ ได้ แก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม พระราชบัญญัตโิ บราณวัตถุ โบราณสถาน และ ศิลปวัตถุ ประกาศกรมเจ้ าท่า เรื่ องการกําหนดคุณภาพนํ ้าทิ ้งจากอาคาร กฎกระทรวงออกตามความใน พระราชบัญญัตกิ ารเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย อนุสญ ั ญาว่าด้ วยพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า และข้ อตกลงความร่วมมือเพื่อการ พัฒนาลุม่ นํ ้าโขงอย่างยัง่ ยืน กฎหมายประเภทที่สอง เป็ นกฎหมายที่หน่วยงานภาครัฐนํามาปฏิบตั ติ ามที่กําหนดในนโยบายและ ภารกิจขององค์กร โดยจะเป็ นกฎหมายที่ถกู กําหนดจากหน่วยงานทังในระดั ้ บท้ องถิ่น ระดับจังหวัด ระดับ กรม ระดับกระทรวง และระดับประเทศ ได้ แก่ ข้ อบังคับองค์การบริหารส่วนตําบล คําสัง่ จังหวัด ประกาศ จังหวัด ระเบียบของกรม กฎกระทรวง พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ และประมวลกฎหมาย การใช้ กฎหมายดังกล่าว โดยเฉพาะกฎหมายที่ถกู กําหนดจากหน่วยงานทังในระดั ้ บท้ องถิ่น ระดับ จังหวัด ระดับกรม ระดับกระทรวง ซึง่ หน่วยงานภาครัฐมีอํานาจในการบังคับใช้ กฎหมายภายใต้ บทบาท หน้ าที่ของแต่ละกระทรวง ในการวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยาของหน่วยงานต่างๆ พบประเด็น ดังต่อไปนี ้ 1. กฎหมายบางฉบับ มี ความล้ าสมัย ไม่สอดคล้ อง ของกฎหมาย กับสถานการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้ อมที่เปลี่ยนแปลงไปในปั จจุบนั เช่น พระราชบัญญัตกิ ารประมง พ .ศ. 2490 พระราชบัญญัตชิ ลประทานราษฎร์ พ .ศ. 2482 เป็ นต้ น ซึง่ หลายมาตรามีความล้ าสมัย ไม่ทนั ต่อ สถานการณ์ปัจจุบนั แต่ไม่มีการแก้ ไข เช่น แนวเขตของแหล่งนํ ้า เครื่ องมือการทําประมง เป็ นต้ น 2. กฎหมายบางฉบับ มีความขัดแย้ งกับรัฐธรรมนูญฉบับปี พ .ศ.2550 ในมาตราที่เกี่ยวกับสิทธิ บุคคล และชุมชนที่จะมีสว่ นร่วม การดูแล บํารุงรักษา การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อม ในทางปฏิบตั ไิ ด้ ก่อให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่างรัฐกับชุมชน เช่น ประกาศจังหวัดพะเยา เพื่อ กําหนดกว๊ านพะเยาเป็ นสถานีจบั สัตว์นํ ้าประเภทที่รักษาพืชพันธุ์ กําหนดเครื่ องมือที่อนุญาตให้ ทําการ ประมง ลงวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2492 ซึง่ ประกาศฉบับนี ้ได้ แบ่งพื ้นที่กว๊ านพะเยาออกเป็ น 2 ส่วน เขตที่ 1 เป็ นเขตอนุรักษ์ห้ามทําการประมงทุกชนิดมีพื ้นที่ 5.6 ตารางกิโลเมตร (3,500 ไร่ ) เขตที่ 2 เป็ นเขตที่อนุญาต ให้ ทําการประมงได้ โดยใช้ เครื่ องมือ ได้ แก่ เบ็ด ลอบนอน ไซ ยกยอ และสุม่ เท่านัน้ โดยเจตจํานงในการ ออกประกาศฉบับนี ้ เพื่อการอนุรักษ์พนั ธุ์สตั ว์นํ ้า และควบคุมการทําประมงในกว๊ านพะเยา การออกประกาศจังหวัดพะเยา ดังกล่าว ได้ ทําให้ ชมุ ชนที่ได้ ตงถิ ั ้ ่นฐานมาก่อนหน้ านัน้ ไม่สามารถ หาปลาได้ เหมือนเดิม เมื่อลงเรื อจะถูกจับ ยึดเรื อ และอุปกรณ์การทําประมง ปรับและส่งดําเนินคดีทนั ที ใน 25


กรณีดงั กล่าวได้ ทําให้ เกิดการกระทบกระทัง่ กันระหว่างชาวประมงกับเจ้ าหน้ าที่ประมงกันบ่อยครัง้ จนทําให้ เกิดการรวมตัวของชาวประมง เป็ นชมรมชาวประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา เพื่อแก้ ไขปั ญหาดังกล่าว และ ต่อรองกับกรมประมงเพื่อหาปลาเขตที่ 1 โดยการสร้ างเขตอนุรักษ์พนั ธุ์ปลาของชุมชน ซึง่ ได้ ผลดี หลาย ชุมชนเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ของชมรมประมงพื ้นบ้ าน ปั จจุบนั กรมประมงจึงได้ อนุโลมให้ ชาวบ้ านลงหาปลาได้ 3. การทํางานที่ซํ ้าซ้ อนของหน่วยงาน โดยขาดการบูรณาการ เช่น ในการรักษาคุณภาพนํ ้ากว๊ าน พะเยามีหน่วยงานภาครัฐ 3 หน่วยงาน ได้ แก่ สํานักงานสาธารณสุข สถานีประมงนํ ้าจืด และสํานักงาน ประปา ทําหน้ าที่เฝ้าระวังคุณภาพนํ ้า แต่ละหน่วยงานต่างมีวตั ถุประสงค์ในการเฝ้าระวังแตกต่างกัน ตาม ภารกิจของหน่วยงานและใช้ เกณฑ์มาตรฐานที่แตกต่างกัน

โดยขาดการประสานการปฏิบตั งิ านระหว่าง

หน่วยงานในการจัดการกว๊ านพะเยา 4. กว๊ านพะเยา ถือได้ วา่ เป็ นพื ้นที่ชมุ่ นํ ้าที่มีความสําคัญระดับนานาชาติที่มีความจําเป็ นเร่งด่วน ต้ องได้ รับการฟื น้ ฟูตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่

1 สิงหาคม 2543 ทังนี ้ ้สํานักนโยบายและแผน

สิ่งแวดล้ อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้ อม และคณะอนุกรรมการการจัดการพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า ได้ จดั ทํามาตรการในการอนุรักษ์พื ้นที่ชมุ่ นํ ้าประกอบด้ วยการอนุรักษ์ การสร้ างจิตสํานึก การศึกษา สํารวจ และการป้องกันไฟป่ า เพื่อให้ มีการใช้ ประโยชน์จากพื ้นที่ชมุ่ นํ ้าอย่างยัง่ ยืน ในทางปฏิบตั พิ บว่า กว๊ านพะเยามีการบุกรุก คุกคามและทํากิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่างๆ เช่น การสร้ างถนน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ที่มิได้ คํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ ้นกับระบบนิเวศพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า นอกจากนี ้หน่วยงานต่างๆ ทังภาครั ้ ฐ เอกชน ประชาชนทังในเมื ้ อง และในชนบทยังขาดความรู้ ความ เข้ าใจที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับระบบนิเวศของพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า ตลอดจนขาดความตระหนักถึงบทบาท หน้ าที่ และ คุณประโยชน์ของพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า จึงทําให้ มีการใช้ ประโยชน์อย่างไม่เหมาะสม การอาศัยช่องว่างของกฎหมาย บุกรุกเข้ าทําประโยชน์ ในเขตกว๊ านพะเยา ซึง่ เป็ นพื ้นที่สาธารณะ เนื่องจากแนวเขตของกว๊ านพะเยายังไม่มีความชัดเจน จึงเกิดการบุกรุกจาก ชุมชนรอบกว๊ านพะเยา และ การออกโฉนดโดยมิชอบด้ วยกฎหมายจากนายทุน ทังๆ ้ ที่ ผงั เมืองรวมเมืองพะเยา พ .ศ. 2539 ได้ กําหนดให้ กว๊ านพะเยาเป็ นพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า โดยกําหนดพื ้นที่ขอบเขตกว๊ านพะเยาเข้ ามา 200 เมตรเป็ นที่ดนิ ประเภทที่โล่ง เพื่อนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมและการประมง โดยห้ ามก่อสร้ างและต่อเติม อาคารทุกอย่างที่เข้ าข่ายพระราชบัญญัตอิ าคาร พ .ศ. 2522 ยังไม่มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายดังกล่าวอย่าง แท้ จริง (สหัทยา วิเศษ และคณะ, 2545. เอกสารอัดสําเนา)

26


โดยสรุปการจัดการกว๊ านพะเยาที่ผา่ นมา หน่วยงานภาครัฐจะมีอํานาจหน้ าที่ในการจัดการโดยใช้ มาตรการทางกฎหมาย ซึง่ มีหลายฉบับ บางเรื่ องมีความซํ ้าซ้ อนกัน ทําให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่าง หน่วยงานภาครัฐและประชาชน เช่น การออกประกาศจังหวัดเรื่ อง เขตอนุรักษ์ในกว๊ านพะเยา การบุกรุก พื ้นที่กว๊ านพะเยาและออกโฉนดโดยมิชอบของนายทุน การตรวจจับผู้กระทําผิดกฎหมายการประมง จะเห็นได้ วา่ การใช้ มาตรการทางกฎหมายที่ผา่ นมาไม่สอดคล้ องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั และไม่สามารถแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้นได้ อย่างแท้ จริง เป็ นเพราะประชาชนขาดกระบวนการมีสว่ นร่วม ไม่รับรู้ ข้ อมูลข่าวสารการพัฒนากว๊ านพะเยา คณะกรรมการพัฒนากว๊ านพะเยาตังขึ ้ ้นมา แต่กรรมการไม่ร้ ูบทบาท หน้ าที่ ส่วนตัวแทนของภาคประชาชนที่เข้ าไปเป็ นคณะกรรรมการกว๊ านพะเยามีเพียงส่วนน้ อย ไม่มีอํานาจ หน้ าที่อย่างแท้ จริง อีกทังยั ้ งก่อให้ เกิดปั ญหาอื่นๆ ตามเช่น ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศในกว๊ านพะเยา เกิดนํ ้าเน่าเสีย พันธุ์ปลาและสัตว์นํ ้าสูญพันธุ์ และมีปริมาณลดลง มีสตั ว์นํ ้าต่างถิ่นเพิ่มมากขึ ้น 4.6 สภาพปั ญหาของกว๊ านพะเยา ปั จจุบนั กว๊ านพะเยาประสบปั ญหาดังนี ้ 4.6.1 คุณภาพของนํา้ บทบาทสําคัญมากของกว๊ านพะเยาในปั จจุบนั และทวีความสําคัญยิ่งขึ ้นในอนาคต คือ เป็ นแหล่ง นํ ้าดิบเพื่อผลิตนํ ้าประปาสําหรับชุมชนเมืองพะเยาและข้ างเคียงรวมทังบางส่ ้ วนของชุมชนในสุขาภิบาล ดอกคําใต้ ความต้ องการนํ ้าประปาจะเพิ่มขึ ้นตลอดเวลาควบคูไ่ ปกับการขยายตัวของประชากรและ กิจกรรมต่าง ๆ ในอนาคตจะต้ องนํานํ ้าจากกว๊ านพะเยาขึ ้นไปใช้ ผลิตนํ ้าประปาให้ แก่ชมุ ชนชนบทซึง่ ตังอยู ้ ่ ริมกว๊ านด้ านตะวันตกด้ วย เพราะเป็ นแหล่งนํ ้าแหล่งเดียวที่อยูใ่ กล้ ที่สดุ แต่ในเวลาเดียวกันปรากฏว่ากว๊ าน พะเยายังเป็ นแหล่งรับนํ ้าเสียจากชุมชนและพื ้นที่เกษตรกรรมโดยรอบ ปั จจุบนั พื ้นที่ที่ทิ ้งนํ ้าเสียลงสูก่ ว๊ าน พะเยาปริมาณมากที่สดุ และรุนแรงที่สดุ ก็คือ ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองพะเยาเนื่องจากเป็ นพื ้นที่ที่มี ประชากรและกิจกรรมต่าง ๆ รวมกันอยูอ่ ย่างหนาแน่นมากที่สดุ เมื่อเปรี ยบเทียบกับพื ้นที่สว่ นอื่น ๆ รอบ กว๊ าน ปริมาณนํ ้าเสียจะเพิ่มมากขึ ้นควบคูไ่ ปกับการขยายตัวของประชากรและกิจกรรมต่าง ๆ ถึงแม้ วา่ ผลการศึกษาเบื ้องต้ นปรากฏว่าคุณภาพนํ ้าในกว๊ านพะเยาโดยรวมแล้ วยังอยูใ่ นสภาพดี และถึงแม้ วา่ ปั จจุบนั กําลังมีการก่อสร้ างระบบท่อดักนํ ้าเสียและระบบบําบัดนํ ้าเสีย

เพื่อรับนํ ้าเสียจาก

บริเวณกลางเมืองแล้ วก็ตาม แต่นํ ้าเสียที่ผา่ นระบบบําบัดแล้ วก็ยงั คงถูกทิ ้งลงสูก่ ว๊ านไม่วา่ จะเป็ นระบบที่ กําลังก่อสร้ าง หรื อระบบบําบัดนํ ้าเสียของโรงพยาบาลประจําจังหวัดและจากพื ้นที่สว่ นอื่นของเทศบาลและ ข้ างเคียงรวมทังยั ้ งมีนํ ้าเสียที่ถกู ทิ ้งลงสูก่ ว๊ านโดยไม่ผา่ นระบบบําบัดนํ ้าเสีย เช่น พื ้นที่ในเขตตําบลแม่ตํ๋า และชุมชนโดยรอบศูนย์ราชการจังหวัดพะเยา และในอนาคตเมื่อชุมชนสุขาภิบาลแม่ใจและหมูบ่ ้ านต่าง ๆ รอบกว๊ านขยายตัวขึ ้น จํานวนนํ ้าเสียก็จะเพิ่มมากขึ ้น 27


ปั ญหาที่กล่าวถึงนี ้จะต้ องได้ รับการแก้ ไขและป้องกันอย่างเร่งด่วน เนื่องจากหากนํ ้าในกว๊ านเน่า เสีย จะไม่มีแหล่งนํ ้าทดแทนหรื อไม่มีแหล่งนํ ้าที่จะปล่อยออกมาไล่นํ ้าเสีย ซึง่ จะก่อให้ เกิดผลเสียที่รุนแรง มาก ทังต่ ้ อสุขภาพและความเป็ นอยูข่ องประชาชน

ทําให้ คา่ ใช้ จา่ ยในการผลิตนํ ้าประปาสูงขึ ้นทําให้

ปริมาณสัตว์นํ ้าลดลงและมีราคาสูงขึ ้นอันจะทําให้ ผ้ บู ริโภคได้ รับความเดือดร้ อนลดรายได้ ของประชาชนที่ ประกอบอาชีพประมง ทําให้ พืชนํ ้าบางประเภทขยายตัวอย่างรวดเร็วและทําให้ อตั ราการตื ้นเขินของกว๊ าน สูงขึ ้น ทําให้ ศกั ยภาพสําหรับการพัฒนาท้ องถิ่นลดลง โดยเฉพาะในแง่ของการท่องเที่ยวและการพักผ่อน หย่อนใจ นอกจากนี ้การใช้ ประโยชน์ที่ดนิ การเกษตรไม่เหมาะสม และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรป่ าไม้ ที่ เป็ นแหล่งต้ นนํ ้าลําธาร ทําให้ เกิดการพังทลายของหน้ าดินเป็ นตะกอนดินไหลลงสูล่ ํานํ ้าอิง และลํานํ ้าสาขา พัดพามาทับถมในกว๊ านพะเยา ประมาณ 95 , 200 ลูกบาศก์เมตร/ปี ทําให้ กว๊ านพะเยามีความสามารถใน การกักเก็บนํ ้าได้ น้อย 4.6.2 ความสามารถเก็บกักนํา้ ของกว๊ านพะเยาและปั ญหานํา้ ท่ วม การใช้ นํ ้าในการเกษตรของประชากรในปั จจุบนั บริเวณรอบกว๊ านมีความต้ องการนํ ้า 164.67 ล้ าน ลบ.ม. เพื่อนําไปใช้ ในการการเกษตรแต่ปัจจุบนั มีนํ ้าที่กลมชลประทานกักเก็บไว้ 58.49 ล้ าน ลบ.ม. และ หน่วยงานอื่นอีก 46.81 ล้ าน ลบ.ม.แต่นนก็ ั ้ ยงั ไม่เพียงพอต่อการเกษตรที่มีการทําอยูข่ องเกษตรกรใน จังหวัดพะเยาในปั จจุบนั เพราะยังขาดแคลนนํ ้าอีกประมาณ 59.37 ล้ าน ลบ.ม. ที่จะนํามาใช้ ปั จจุบนั ปั ญหาหนึง่ ที่กําลังเกิดขึ ้นกับชุมชนชนบทและพื ้นที่เกษตรกรรมโดยรอบและข้ างเคียงกว๊ าน พะเยา ก็คือ การขาดแคลนนํ ้าทังเพื ้ ่ออุปโภค -บริโภคและเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะในฤดูแล้ ง หมูบ่ ้ านริม กว๊ านพะเยาฝั่ งตะวันตกใช้ นํ ้าบ่อเพื่อการอุปโภคบริโภค ซึง่ มีปัญหาในฤดูแล้ งเพราะนํ ้าในบ่อจะแห้ งได้ มี ความพยายามเจาะหาแหล่งนํ ้าบาดาลแต่ก็ไม่พบในปริมาณที่พอใช้ เคยมีชาวบ้ านที่อาศัยอยูร่ ิมกว๊ านนํา นํ ้าจากกว๊ านไปใช้ บ้างแต่ปัจจุบนั เลิกใช้ เนื่องจากขุน่ เพื่อแก้ ปัญหาการขาดแคลนนํ ้าเพื่อการเกษตรหน่วยงานต่าง ๆ เช่น โครงการชลประทานพะเยา และสํานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทได้ ทําการก่อสร้ างอ่างเก็บนํ ้าในพื ้นที่รองรับนํ ้าของกว๊ านพะเยาซึง่ สร้ าง เสร็จแล้ วจํานวน 13 แห่ง และกําลังก่อสร้ าง 1 แห่ง มีความจุทงหมดประมาณ ั้ 92 ล้ านลูกบาศก์เมตร โดย ในฤดูแล้ งได้ ปล่อยนํ ้าให้ ไหลลงมาตามลํานํ ้าต่าง

ๆ ลําเหมืองสาธารณะ และดูคลองชลประทานผ่าน

หมูบ่ ้ านและพื ้นที่เกษตร ซึง่ สุดท้ ายจะไหลลงสูก่ ว๊ านตามระดับความลาดเทของพื ้นที่ 28


แต่ปรากฏว่าพื ้นที่เกษตรกรรมซึง่ อยูบ่ ริเวณริมกว๊ านฝั่ งตะวันตกไม่ได้ รับนํ ้าในปริมาณที่เพียง พอที่จะทําการเกษตรได้ หรื อไม่ได้ รับนํ ้าเลย เนื่องจากนํ ้าในอ่างเก็บนํ ้ามีปริมาณน้ อย (นํ ้าที่กกั เก็บไว้ ได้ ไม่ เต็มอ่าง) พื ้นที่เกษตรกรรมต้ นนํ ้าเอานํ ้าไปใช้ หมด บางพื ้นที่ไม่มีคคู ลองส่งนํ ้าเข้ าถึง ลําเหมืองสาธารณะที่ เคยมีอยูก่ ็ตื ้นเขิน หรื อถูกบุกรุกและถมปิ ดกันการไหลของนํ ้ ้า ซึง่ ในช่วงแผนพัฒนาฉบับที่ 7 โครงการ ชลประทานพะเยาได้ เน้ นที่จะขุดลอกลําเหมือง ลํานํ ้า และก่อสร้ างคูคลองส่งนํ ้า ชาวบ้ านที่ทําการเกษตรใน พื ้นที่ริมกว๊ านได้ พยายามนํานํ ้าจากกว๊ านขึ ้นไปใช้ โดยการขุดร่องนํ ้าลึกให้ นํ ้าในกว๊ านไหลไปยังที่นาแล้ วสูบ นํ ้าขึ ้นสูน่ า ซึง่ เสียค่าใช้ จา่ ยค่อนข้ างสูง ชาวบ้ านที่ทําการเกษตรในอําเภอดอกคําใต้ บางส่วนซึง่ มีจํานวนไม่มากนักได้ รับนํ ้าจากกว๊ าน พะเยาโดยนํ ้าจะไหลเข้ าสูร่องระบายนํ ้าใกล้ หน้ าประตูนํ ้าในสถานีประมง และไหลผ่านพื ้นที่เกษตรกรรม หมูบ่ ้ านและไหลไปตามลํานําข้ างถนนสายแม่ตํ๋า -ดอกคําใต้ ไปจนถึงหน้ าสถานีตํารวจดอกคําใต้ แล้ วไหล ลงสูร่ ่องข้ าง ซึง่ ไหลกลับไปลงสูแ่ ม่นํ ้าอิง ชาวบ้ านที่ทําการเกษตรริมสองฝั่ งแม่นํ ้าอิงด้ านท้ ายนํ ้าได้ สบู นํ ้าขึ ้น ไปใช้ เพื่อการเกษตรบ้ างแต่ก็มีจํานวนไม่มากนักเนื่องจากตลิ่งสูงทําให้ เสียค่าใช้ จา่ ยสูง เนื่องจากยังมีนํ ้าจํานวนมากจากกว๊ านพะเยาไหลผ่านประตูนํ ้าออกไปในฤดูฝน ดังนันหากสามารถ ้ กักเก็บนํ ้าไว้ ในกว๊ านให้ มากยิ่งขึ ้นก็จะมีนํ ้าใช้ มากขึ ้นในฤดูแล้ งซึง่ ประตูนํ ้าที่กําลังสร้ างใหม่จะมีระดับ ประตูนํ ้าสูงสุดอยูท่ ี่ 391.50 เมตร เหนือระดับนํ ้าทะเลปานกลาง ซึง่ สูงกว่าระดับประตูนํ ้าสูงสุดของ ประตูนํ ้าเดิม 0.50 เมตร แต่หากกักเก็บนํ ้าในกว๊ านพะเยาไว้ ที่ระดับ 391.50 เมตร เหนือระดับนํ ้าทะเลปาน กลาง นํ ้าในกว๊ านจะล้ นขึ ้นท่วมหมูบ่ ้ านและพื ้นที่เกษตรหลายแห่งในฝั่ งตะวันตกของกว๊ าน และหากระบาย นํ ้าออกมากและเร็วเกินไปในช่วงฤดูฝนก็ทําให้ นํ ้าในลํานํ ้าอิงล้ นขึ ้นท่วมพื ้นที่เกษตรกรรมริมสองฝั่ งแม่นํ ้าอิง ด้ วย สาเหตุประการหนึง่ ซึง่ ทําให้ ความสามารถเก็บกักนํ ้าของกว๊ านพะเยาลดลงก็คือการตื ้นเขินของ กว๊ าน ทังเนื ้ ่องจากตะกอนที่นํ ้าได้ พดั พามาและเนื่องจากซากวัชพืชที่ตายได้ ทบั ถมกัน การบุกรุกเข้ าไปถมที่ ภายในอาณาเขตของกว๊ านพะเยา การเพิ่มความสามารถการกักเก็บนํ ้าของกว๊ านพะเยาจะเป็ นทางหนึง่ ที่ ช่วยให้ ประชาชนมีนํ ้าใช้ ทงเพื ั ้ ่อการอุปโภค บริโภค และเพื่อการเกษตร อันจะทําให้ ประชาชนมีความเป็ นอยู่ ที่ดีขึ ้น ปราศจากโรคภัยบางชนิด และมีรายได้ จากการเกษตรเพิ่มขึ ้น แต่อย่างไรก็ตามความพยายามที่จะ เพิ่มความสามารถเก็บกักนํ ้าของกว๊ านพะเยาจะต้ องคํานึงถึงปั ญหาอื่น โดยเฉพาะปั ญหานํ ้าท่วมพื ้นที่ฝั่งตะวันตกของกว๊ าน เกิดขึ ้นควบคูไ่ ปด้ วย 29

ๆ ที่จะเกิดขึ ้นตามมาด้ วย

อีกทังยั ้ งต้ องพิจารณาถึงค่าใช้ จา่ ยและผลดีที่จะ


4.6.3 ปริมาณสัตว์ นาํ ้ ในกว๊ านลดลง จากการสํารวจพันธุ์ปลาในกว๊ านพะเยาของสถานีประมงนํ ้าจืด จังหวัดพะเยา ในปี พ.ศ.2512 พบ ปลา 27 ชนิด มีผลผลิตรวม 352.08 ตัน ส่วน ในปี พ.ศ. 2546 พบ 39 ชนิด เป็ น ปลาท้ องถิ่น 32 ชนิด ปลา ต่างถิ่น จํานวน 7 ชนิด จับปลาได้ ปีละ 195.70 ตัน พืชนํ ้าในกว๊ านได้ ก่อให้ เกิดทังผลดี ้ และผลเสีย ในแง่ ของผลดีพืชนํ ้าเป็ นอาหารแก่สตั ว์นํ ้า ให้ ที่พกั อาศัยแก่สตั ว์นํ ้า และพืชนํ ้าบางประเภทเช่นผักตบชวายังได้ มี ส่วนช่วยอนุรักษ์คณ ุ ภาพนํ ้า แต่เมื่อพืชนํ ้าขยายตัวขึ ้นมากเกินไปจนไม่สามารถควบคุมได้ ก็มีสว่ นทําให้ คุณภาพนํ ้าลดลง เพราะพืชนํ ้าจะตายและเน่าเสีย ซากพืชได้ ทบั ถมกันทําให้ กว๊ านตื ้นเขินเร็วยิ่งขึ ้น ยิ่งไป กว่านันพื ้ ชนํ ้าบางประเภทเช่น ผักตบชวาเป็ นต้ นได้ ถกู ลมพัดพาไปมา ซึง่ มีสว่ นทําลายความสวยงามของ กว๊ านและขัดขวางการเล่นกีฬาทางนํ ้าบางประเภท จากการสอบถามชาวบ้ านผู้ประกอบอาชีพประมงพบว่าจํานวนสัตว์นํ ้าที่จบั ได้ มีปริมาณลดลงเรื่ อย ๆ ทังนี ้ ้เนื่องจากสาเหตุประการหนึง่ คือมีประชาชนจํานวนมากลงไปจับสัตว์นํ ้าแต่สาเหตุหลักน่าจะเป็ นการ ใช้ อปุ กรณ์ที่ผิดกฎหมายเช่น การใช้ ตาข่ายตาเล็กเกินไปซึง่ ขวางไว้ ในนํ ้าเพื่อดักปลา เป็ นต้ น ทําให้ ปริมาณ สัตว์นํ ้าลดลงอย่างรวดเร็ว ซึง่ จะต้ องหาทางควบคุมใช้ เหมาะสมตามทังหามาตรการต่ ้ าง ๆ ที่จะช่วยเพิ่ม ปริมาณสัตว์นํ ้าในกว๊ านให้ มากยิ่งขึ ้น 4.6.4 การบุกรุกพืน้ ที่กว๊ าน จากการสํารวจการใช้ ที่ดนิ ริมกว๊ านได้ พบว่ามีประชาชนจํานวนหนึง่ ได้ บกุ รุกเข้ าไปทําประโยชน์ และยึดครองพื ้นที่ริมกว๊ าน ทังเพื ้ ่อการทําเกษตรการปลูกสร้ างสิ่งก่อสร้ างต่าง ๆ ทังถาวรและไม่ ้ ถาวร การ ถมดินและล้ อมรัว้ เพื่อ แสดงอาณาเขตครอบครองรวมทังการล้ ้ อมรัว้ พื ้นที่ไนกว๊ านพะเยาที่มีดอกบัวเพื่อ แสดงความเป็ นเจ้ าของและเพื่อเก็บดอกบัวและฝั กบัวขายเนื่องจากที่ดนิ มีราคาแพงมากโดยเฉพาะพื ้นที่ ใกล้ นํ ้าจึงมีการซื ้อขายกันทัง้ ๆ ที่ไม่มีสิทธิ์ทําให้ เกิดเป็ นตัวอย่างที่ไม่เชื่อฟั งเคารพกฎหมายทําให้ มีการบุก รุกที่ดนิ มากยิ่งขึ ้น อีกทังยั ้ งมีสว่ น ทําให้ กว๊ านพะเยาตื ้นเขินเร็วขึ ้นรวมทังการใช้ ้ ที่ดนิ เพื่อกิจกรรมบาง ประเภทยังอาจมีสว่ นทําให้ คณ ุ ภาพของนํ ้าเสื่อมโทรมลง ยิ่งไปกว่านันการล้ ้ อมรัว้ บริเวณที่มีกอบัว เพื่อแสดงความเป็ นเจ้ าของเพื่อเก็บดอกและฝั กบัวขาย นันได้ ้ ก่อให้ เกิดกรณีพิพาท เนื่องจากกีดขวางทางลงนํ ้าสําหรับผู้ที่จะลงไปจับสัตว์นํ ้า รวมทังกี ้ ดขวางสัตว์ เลี ้ยงที่จะลงไปกินนํ ้าในช่วงที่บวั ออกดอกและฝั ก คนเฝ้าจะใช้ หนังสติก๊ ยิงสัตว์เลี ้ยงที่พยายามจะเข้ าไปใน รัว้ รวมทังยิ ้ งปื นเตือนไม่ให้ คนเข้ าไปในบริเวณรัว้ ได้ มีการทําลายรัว้ และเรื อ จนในที่สดุ ได้ มีการเดินขบวน ร้ องเรี ยนและได้ มีการทําข้ อตกลงไว้ ที่อําเภอเมืองว่าจะไม่มีการล้ อมรัว้ ต่อไปอีกแต่ผ้ ทู ี่จะเข้ าไปจับสัตว์นํ ้า จะต้ องทําด้ วยความระมัดระวัง รวมทังห้ ้ ามทําร้ ายคน สัตว์เลี ้ยงและห้ ามทําลายทรัพย์สินของทุก ๆ ฝ่ าย 30


สาเหตุหลักที่ทําให้ เกิดการบุกรุกคือ

เสาแสดงเขตที่สํานักงานราชพัสดุจงั หวัดได้ ตดิ ตังไว้ ้ นนั ้

บางส่วนได้ หายไป บางส่วนชํารุดหรื อล้ มลง รวมทังชาวบ้ ้ านบางกลุม่ ยังมีความคิดว่าพื ้นที่ในกว๊ านยังคง เป็ นกรรมสิทธิ์ของเจ้ าของเดิม เนื่องจากก่อนที่จะมีการสร้ างประตูนํ ้าเพื่อกักเก็บนํ ้าพื ้นที่ดงั กล่าวเป็ น หมูบ่ ้ าน เป็ นไร่นาของชาวบ้ านเพียงแต่เมื่อนํ ้าท่วมก็อพยพหนีนํ ้าขึ ้นมาหาที่ตงบ้ ั ้ านเรื อนใหม่บนที่สงู 4.6.5 ผักตบชวาและทับถมของวัชพืช จากการสํารวจของมหาวิทยาลัยนเรศวรพะเยา เมื่อ มีนาคม 2553 พบว่า กว๊ านพะเยามีวชั พืชขึ ้น ปกคลุม(ผักตบชวา ผักตบชวาผสมหญ้ า จอกและแหน) ประมาณ 2 , 42 0 ไร่ หรื อคิดเป็ นปริมาตร 2,234,795 ลูกบาศก์เมตร ประมาณ ร้ อยละ 20 ของพื ้นที่กว๊ าน ผักตบชวามีมากประมาณ 1 ใน 3 ของพื ้นที่นํ ้าในกว๊ าน ผักตบชวาไม่อยูเ่ ป็ นที่ทางและมักจะอยู่ เป็ นแห่ง ๆ กระจัดกระจายอยูม่ ีน้อย เมื่อมีลมจัดและนํ ้าในกว๊ านมาก ลมมักจะพัดผักตบชวา กอใหญ่ย้ายที่ ไปได้ ไกล และไปติดรวมกัน นอกจากนี ้ยังมีหญ้ าต่าง ๆ ในกว๊ านพะเยา เช่น หญ้ าปล้ อง หญ้ าเค้ านกขึ ้นอยู่ ทัว่ ไป ถ้ าในฤดูแล้ งนํ ้าลดลงต้ นหญ้ าจะขึ ้นงาม และเป็ นกอสูง มีมากอยูท่ างด้ านใต้ ส่วนแหน สาหร่าย บัว และกระจับ แหนมีบ้างเล็กน้ อยเป็ นบางตอน สาหร่ายมีมากทางด้ าน เหนือ มีอยู่ 3 ชนิด พื ้นเมืองเรี ยกกันว่าสาหร่ายนุ้ย ต้ นและใบยาวเล็กเป็ นฝอย สาหร่ายเก ลียว ต้ นยาวใบ โตกว่าและสาหร่ายหางม้ า สาหร่ายมีมากในกว๊ านและซื ้อขายกัน ส่วนกระจับมีไม่มาก การแพร่ระบาดของพืชต่างถิ่น จากการสํารวจเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 พบว่ามีการปกคลุม ของวัชพืชนํ ้าและไมยราบยักษ์ โดยเฉพาะในบริเวณเหนือสะพานขุนเดช เนื ้อที่ประมาณ 1,800 ไร่ เป็ นผล ให้ กว๊ านพะเยามีความสามารถในการกักเก็บนํ ้าได้ น้อยตามไปด้ วย

31


บทที่ 5 สานเสวนาหาทางออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา การดําเนิ นโครงการวิจยั การสร้ างพลังทางกฎหมายแก่ภาคประชาชนด้ วยการสานเสวนาหาทาง ออก เพื่อแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา นัน้ สถาบันปวงผญาพยาว ได้ ดําเนินการ วิจยั โดยการจัดเวทีประชุมกลุม่ ย่อย การจัดกิจกรรมร่วมกับผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย นําไปสูก่ ารสานเสวนา หาทางออก และฉันทามติร่วมในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา รายละเอียดแต่ละเวทีมีดงั นี ้ 5.1 เวทีการพัฒนากลไกเครือข่ ายความร่ วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา เวทีครัง้ แรกมีเป้าหมาย เพื่อชี ้แจงโครงการวิจยั ฯ ให้ แก่กลุม่ เป้าหมายที่เกี่ยวข้ องทังภาครั ้ ฐ องค์กร ปกครองส่วนท้ องถิ่น ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน และสถาบันการศึกษา หลังจากนันได้ ้ เกิด คณะทํางานที่มีองค์ประกอบทังภาครั ้ ฐ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน และ สถาบันการศึกษา เพื่อให้ มีบทบาทร่วมกับสถาบันปวงผญาพยาว ในการจัดทําเวทีสานเสวนากลุม่ ผู้มีสว่ น ได้ สว่ นเสียรอบกว๊ านพะเยา 1 5.2 ประชุมคณะทํางานพัฒนาเครือข่ ายความร่ วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา เวทีครัง้ ที่ 2 คณะทํางานฯ ได้ มีการประชุมปรึกษาหารื อ เพื่อขับเคลื่อนแผนงานโครงการฯ ที่จะ นําไปสูก่ ารพัฒนาเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา โดยสถาบันปวงผญาพยาวเป็ นฝ่ าย ประสานงานในจัดเวทีร่วมกับเครื อข่ายฯ ทังภาครั ้ ฐ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน รวบรวมข้ อมูล และบันทึกกระบวนการทํางาน โดยใช้ การวิจยั เป็ นเครื่ องมือในการทํางาน เพื่อให้ มีเอกสารที่จะนําไปใช้ ประโยชน์ในการทํางาน/ อ้ างอิงในอนาคต ในเวทียอ่ ย ให้ นําประเด็น “การจัดการนํ ้าในกว๊ านพะเยา ‛ (ปริมาณ / คุณภาพ/ ระบบการจัดการ ฯลฯ) เป็ นจุดเริ่มต้ นในการพูดคุย โดยให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง คือ ชลประทาน ประปา โยธาธิการ ประมง ฯลฯ นําเสนอข้ อมูลที่เป็ นอยูจ่ ริง และให้ ผ้ เู ข้ าร่วมได้ แลกเปลี่ยน เพื่อหาทางออกร่วมกัน การพูดคุยในเรื่ อง นํ ้าในครัง้ นี ้ จะนําไปสูเ่ รื่ องอื่นที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น การจัดการป่ าต้ นนํ ้า ระบบเกษตรกรรมรอบกว๊ านพะเยา การจัดการนํ ้าท้ ายกว๊ านพะเยา เป็ นต้ น 2

1

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก 1 2 อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก 2 32


5.3 เวทีสนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียรอบกว๊ านพะเยา การจัดเวทีสนทนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียรอบกว๊ านพะเยา จํานวน 15 กลุม่ เพื่อร่วมกันจัดทํา ทางออก และข้ อเสนอในการบริหารจัดการ ดูแลและใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรในกว๊ านพะเยาของแต่ละ กลุม่ และเครื อข่าย มีประเด็นพูดคุยในกลุม่ ย่อยดังนี ้ 1. กว๊ านพะเยาในมุมมองของกลุม่ ตนเอง 2. กลุม่ มีการทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา เช่น การใช้ ประโยชน์ แหล่งอาหาร ฯลฯ 3. การมีสว่ นร่วมของกลุม่ ในการพัฒนากว๊ านพะเยา การให้ ข้อคิดเห็นต่อการพัฒนา การ จัดการกว๊ านพะเยา 4. ผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนากว๊ านพะเยา /จากการปฏิบตั หิ น้ าที่ หรื อจากกฎหมาย หน่วยงานที่มีตอ่ กลุม่ และการแก้ ไขปั ญหาของที่ผา่ นมา 5. สิ่งที่อยากเห็น/ ภาพที่อยากเห็น /ทางออกที่มีตอ่ ปั ญหา (ฉากทัศน์) 6. ข้ อดี/ ข้ อด้ อยของแต่ละทางออก 7. ประเด็นร่วม ทางออก และข้ อเสนอของกลุม่ ที่เป็ นข้ อเสนอในการพัฒนากว๊ านพะเยา รายละเอียดของการเวทีสานเสวนาหาทางออกทัง้ 15 กลุม่ มีรายละเอียดต่อไปนี ้ 5.3.1 ตําบลบ้ านต๋ อม สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ตําบลบ้ านต๋อม ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2554 ณ สํานักงานเทศบาลตําบลบ้ านต๋อม โดยมีผ้ เู ข้ าร่วมประกอบด้ วยรองนายกเทศมนตรี ตําบลบ้ านต๋อม สมาชิกสภาเทศบาลบ้ านต๋อม กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน ชาวประมง กลุม่ ทํานา บัว และตัวแทนสภาเกษตรกรในตําบลบ้ านต๋อม ประมาณ 40 คน มาเสนอข้ อคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวกับ กว๊ านพะเยา และการพัฒนา โดยมีฝ่ายจัดสรรนํ ้าจากโครงการชลประทานจังหวัดพะเยา มาให้ ข้อมูล เกี่ยวกับการจัดการนํ ้าในกว๊ านพะเยา ลุม่ นํ ้าอิง และการจัดการนํ ้าในตําบลบ้ านต๋อม หลังจากนันผู ้ ้ เข้ าร่วม ได้ ให้ ข้อคิดเห็น สรุปได้ ดงั นี ้ ด้ านการจัดการ และการพัฒนากว๊ านพะเยา ประเด็น ผลกระทบ การมีส่วนร่ วมของชุมชน 1.แผนงาน/โครงการไม่แก้ ไข ในการจัดการกว๊ านพะเยา ปั ญหาของชุมชนอย่างตรงจุด 1.ชุมชนรอบกว๊ านพะเยา ไม่ 2. ความขัดแย้ งระหว่างรัฐกับ มีสว่ นร่วมในการจัดการ ชุมชน กว๊ านพะเยาอย่างแท้ จริง 33

ข้ อเสนอ/ ทางออก 1. จัดตังคณะกรรมการพั ้ ฒนากว๊ าน พะเยา จากตัวแทนชุมชนรอบกว๊ าน พะเยา ได้ แก่ นายกอปท. กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน และตัวแทนภาคประชาชน รอบกว๊ านพะเยา


ประเด็น 2. การกําหนดแผนงาน/ โครงการพัฒนากว๊ านพะเยา จากหน่วยงาน 3. คณะกรรมการพัฒนา กว๊ านพะเยา - ชุมชนไม่ทราบข้ อมูล ไม่ ทราบบทบาทหน้ าที่ของ คณะกรรมการ - ไม่มีสดั ส่วนที่เท่าเทียมของ ชุมชน หน่ วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา 1. มีหลายหน่วยงาน ทํางาน แบบแยกส่วน แต่ขาดการบูร ณาการกัน 2.ไม่มีความจริงใจในการ ทํางาน 3. การเปลี่ยนผ่านอํานาจ การโยกย้ ายผู้บริหารท้ องถิ่น ที่มีอํานาจในการตัดสินใจ เช่น ผู้วา่ ราชการจังหวัด นายก เทศบาล อบต. กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับ การจัดการกว๊ านพะเยา 1. กฎหมายล้ าสมัย 2.กฎหมายไม่ชดั เจน มี ช่องว่าง เปิ ดโอกาสให้ กระทํา เพื่อประโยชน์สว่ นตน 3. แต่ละหน่วยงานต่างยึดถือ กฎหมายของตนเองในการ

ผลกระทบ

ข้ อเสนอ/ ทางออก 2.หน่วยงานภาครัฐ เป็ นที่ปรึกษา ทํา หน้ าที่ในการให้ ข้อคิดเห็น และจัดสรร งบประมาณ 3.ให้ การแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาเป็ น วาระจังหวัด 4. จัดตังคณะกรรมการระดั ้ บชุมชน จัดทําแผนการจัดการลุม่ นํ ้าขนาดเล็ก ทังระบบ ้ (ดิน นํ ้า ป่ า ปลา) เสนอต่อ อปท. และภาครัฐ

1. ขาดความต่อเนื่องในการ พัฒนากว๊ านพะเยา

1. ให้ หน่วยงานภาครัฐบูรณาการ แผนงาน /โครงการและงบประมาณใน การพัฒนากว๊ านพะเยา

1. แนวเขตกว๊ านพะเยาที่ไม่ ชัดเจน 2. จากการดําเนินงานของ ภาครัฐ เช่น การขุดลอกกว๊ าน พะเยาที่นําดินกองไว้ แต่ ชาวบ้ านไม่สามารถใช้ ประโยชน์ได้ เพราะผิด กฎหมายประมง

1.ให้ แต่ละหน่วยงานมาชี ้แจงข้ อมูลด้ าน กฎหมาย

34


ประเด็น ปฏิบตั งิ าน 4. ชุมชนไม่ร้ ูข้อมูลเกี่ยวกับ ข้ อกฎหมาย การท่ องเที่ยวเชิงนิเวศใน ฝั่ งตะวันตกของกว๊ าน พะเยา เช่ น พัทยา 3 บ้ าน สันหนองเหนียว 1. ขาดความต่อเนื่องในการ สนับสนุนจากภาครัฐ 2. ชุมชนไม่มีอํานาจ/ งบประมาณในการจัดการ 3. อปท. ไม่สนับสนุน / ไม่ เห็นความสําคัญ

ผลกระทบ

ข้ อเสนอ/ ทางออก

1. ชาวบ้ านขาดรายได้ 1. ให้ ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดการการ 2. เป็ นแหล่งมัว่ สุมของเยาวชน ท่องเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนของตนเอง โดยทําแผนงานเสนอต่อหน่วยงาน ภาครัฐ ดังนี ้ 1.1 รูปธรรมของชุมชน เช่น ทําเป็ น หมูบ่ ้ านเศรษฐกิจพอเพียง ฟื น้ ธรรมชาติ ของกว๊ านพะเยา ทําเขตอนุรักษ์พนั ธ์ ปลา 1.2 สร้ างจุดขายของการท่องเที่ยวเชิง นิเวศกว๊ านพะเยา เช่น ปลาส้ ม นาบัว สาย จักสานผักตบชวา 1.3 พัฒนาศักยภาพของเยาวชนใน ท้ องถิ่น เช่น อบรมมัคกุเทศน์น้อย 2. ให้ ภาครัฐสนับสนุนงบประมาณใน การจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศกว๊ าน พะเยา ที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยา 1. ชาวบ้ านที่อยูม่ าก่อน ไม่มี 1. แต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบการ ้ 1. แนวเขตกว๊ านพะเยา ไม่ สิทธิในการใช้ ประโยชน์จาก ถือครองที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยาที่มาจาก ชัดเจน ที่ดนิ เพราะเป็ นกรรมสิทธิ์ของ ผู้วา่ ราชการจังหวัด ประมง ราชพัสดุ 2. กฎหมายไม่ชดั เจน เอกชน ที่ดนิ โยธาธิการ และผังเมือง 3. หน่วยงานภาครัฐ ไม่ 2. การบุกรุกเพื่อทําประโยชน์ 2.พิสจู น์สิทธิการถือครองที่ดนิ โดย ดําเนินการอย่างจริงจัง ส่วนตัว ร่วมกับที่ดนิ จังหวัดเป็ นผู้ตรวจสอบ 4. ที่สาธารณประโยชน์ถกู 3.. การพัฒนากว๊ านพะเยาที่ไม่ ร่วมกับชาวบ้ านในพื ้นที่ (พยานบุคคล) ออกโฉนดเป็ นของนายทุน ต่อเนื่อง เพราะติดขัดกฎหมาย 3. ใช้ แผนที่เดิมในการชี ้วัดเขตแดน และที่ดนิ ของเอกชน เพราะพยานบุคคลมีความเสี่ยงในการ ทํางาน เช่น อํานาจของนายทุน

35


ด้ านระบบนิเวศ ประเด็น การแพร่ กระจายผักตบชวา และวัชพืช (ปึ๋ ง) 1. กําจัดไม่ถกู วิธี และไม่ เหมาะสมกับสภาพพื ้นที่ 2. เจ้ าหน้ าที่หน่วยงานภาครัฐ ไม่ทํางานอย่างจริงจัง 3.หน่วยงานภาครัฐมี งบประมาณในการกําจัด ผักตบชวาทุกปี และจะทํา เพียงจุดเดียว ไม่ทําทังหมด ้

การแพร่ กระจายของ สาหร่ ายพิษ 1. นํ ้าเน่าเสียจากการระบาย นํ ้าของเทศบาล 2. สารเคมีจากการเกษตรใน บริเวณต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา

ผลกระทบ 1.การตื ้นเขินของกว๊ านพะเยา 2.ไม่สวยงามต่อการท่องเที่ยว 3.นาบัวสูญหาย 4. สูญเสียงบประมาณ

1. นํ ้ามีกลิ่นเหม็น 2. ผลกระทบต่อการท่องเที่ยว 3. ปลาเน่าตาย 4. การแพร่กระจายของปลิงเข็ม

36

ข้ อเสนอ/ ทางออก 1. บูรณาการร่วมกันระหว่างชาวบ้ าน กับภาครัฐดังนี ้ 1.1 รัฐเป็ นฝ่ ายจัดสรรงบประมาณ 1.2 ให้ แต่ละตําบล/อปท.จัดการ ผักตบชวา/ วัชพืชในเขตของตําบล ตนเอง โดยการจ้ างหรื อรับซื ้อ ผักตบชวาจากชาวบ้ าน 1.3 การจัดการผักตบชวา/ วัชพืช ควร จะดําเนินการในฤดูแล้ ง เพราะนํ ้าจะมี ปริมาณน้ อย และสะดวกต่อการ ทํางาน และควรกําจัดวัชพืช (ปึ๋ ง) ที่ เป็ นกระดานโดยใช้ เลื่อยตัด 1.4 กันเขตผักตบชวา (zoning) สําหรับทําหัตถกรรมจักสาน 1.5 ให้ ชาวบ้ านร่วมมือกันในวันหรื อ วาระโอกาสพิเศษ เช่น วันที่ 5 ธันวาคม 12 สิงหาคม หรื อวันเกิดของ จังหวัดพะเยา 2.ให้ กําจัดผักตบชวา/ วัชพืชที่ไหลมา จากอ่างเก็บนํ ้าแม่ปืม ก่อนลงสูก่ ว๊ าน พะเยา 3. เศษผักตบชวา/ วัชพืชควรนําไปทํา เป็ นปุ๋ยหมัก 1. ลดการใช้ สารเคมีในการเกษตรใน เขตต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา 2. ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง


ประเด็น 3. ปริมาณนํ ้ากว๊ านมีน้อย 4. นํ ้าในกว๊ านมีความ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ของสาหร่าย นํา้ ท่ วม 1. ปริมาณนํ ้าฝนมาก 2. กว๊ านพะเยาตื ้นเขิน นํา้ แล้ ง 1. การบุกรุกตัดไม้ ในเขตป่ า

ผลกระทบ

ข้ อเสนอ/ ทางออก

1. ทําฝายทดนํ ้า / ฝายชะลอนํ ้าในลํา 1. นาข้ าวและพื ้นที่เกษตรได้ รับ ห้ วยสาขา ความเสียหาย 2. เพิ่มพื ้นที่กกั เก็บนํ ้า โดยขุดสระนํ ้า ในที่นา 1. ทําฝายทดนํ ้า / ฝายชะลอนํ ้าในลํา 1. นํ ้าไม่เพียงพอต่อการเกษตร ห้ วยสาขา 2. เพิ่มพื ้นที่กกั เก็บนํ ้า โดยขุดสระนํ ้า ในที่นา

5.3.2 ตําบลบ้ านตุ่น สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนา กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสีย ตําบลบ้ านตุ่ น ในวันที่ 19 สิงหาคม 2554 ณ สํานักงานองค์การบริหารส่วนตําบลบ้ านตุน่ โดยมีผ้ เู ข้ าร่วมประกอบด้ วยนายกองค์การ บริหารส่วนตําบลบ้ านตุน่ กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน ชาวประมง และตัวแทนสภาเกษตรกรใน ตําบลบ้ านตุน่ มาเสนอข้ อคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา และการพัฒนา โดยมีฝ่ายจัดสรรนํ ้า จากโครงการชลประทานจังหวัดพะเยา มาให้ ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการนํ ้าในกว๊ านพะเยา ลุม่ นํ ้าอิง และ การจัดการนํ ้าในตําบลบ้ านตุน่ หลังจากนันผู ้ ้ เข้ าร่วมได้ ให้ ข้อคิดเห็น สรุปได้ ดงั นี ้ ด้ านการจัดการ และการพัฒนากว๊ านพะเยา ประเด็น ผลกระทบ การมีส่วนร่ วมของชุมชน ในการจัดการกว๊ านพะเยา - ชุมชนได้ เสนอโครงการต่อ - ปั ญหาที่เสนอ ไม่ได้ รับการ ท้ องถิ่น แต่ไม่มีการจัดการ แก้ ไข และดําเนินการ ส่งผลถึง ความเป็ นอยูข่ องคนในพื ้นที่ หน่ วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา 37

ข้ อเสนอ/ ทางออก - ให้ อปท.มีการดําเนินโครงการตาม ข้ อเสนอของคนในชุมชน

1.ต้ องการให้ เกิดสภาพัฒนากว๊ านทุก ตําบล เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนา


ประเด็น 1. ผู้วา่ ราชการจังหวัดย้ าย บ่อย 2.ไม่มีเจ้ าภาพหลักในการ จัดการกว๊ านพะเยา 3. ผู้นํา อปท.ไม่หนักแน่น ไม่เข้ มแข็ง 4.การจัดการกว๊ านพะเยา ขึ ้นอยูก่ บั ผลประโยชน์ 5.ถ้ ามีการโอนภารกิจเรื่ อง นํ ้าให้ อปท.ต้ องโอน งบประมาณมาด้ วย เพราะ งบประมาณของ อปท. ดําเนินตามนโยบายได้ ไม่ เต็มที่ - การออกโฉนดที่ดนิ รอบ กว๊ านพะเยาโดยมิชอบ

ผลกระทบ -. ไม่มีการพัฒนากว๊ านอย่าง ต่อเนื่อง หลายโครงการทําไม่ สําเร็จ แต่เมื่อหมดงบประมาณ ก็ไม่ทําต่อ

ข้ อเสนอ/ ทางออก 2.ให้ ผ้ บู ริหารจังหวัด ศึกษาและทําต่อ ข้ อเสนอและการพัฒนากว๊ านในทิศทางที่ ชาวบ้ านดําเนินการอยูแ่ ล้ ว 3.สภาพัฒนากว๊ านมีหน้ าที่ในการเก็บ ข้ อมูลกว๊ านพะเยา เพื่อเสนอต่อผู้วา่ ราชการจังหวัดนําข้ อมูลไปใช้ 4. วางแผนการจัดการ : ควรมีการจัดการ ในทุกเรื่ องอย่างรอบคอบ นํามา วิเคราะห์การแก้ ไขปั ญหากว๊ านอย่างเป็ น ระบบ

- การพัฒนาพื ้นที่ ติดขัดเรื่ อง สิทธิสว่ นบุคคล ไม่สามารถ ดําเนินการได้

-ขอเวนคืนที่ดนิ รอบกว๊ านที่ไม่ชดั เจนคืน

ด้ านระบบนิเวศ ประเด็น ผลกระทบ การจัดการลําห้ วยลึก -ต้ นนํ ้าลําห้ วยลึกมีปริมาณ - ลํานํ ้าเกิดความเสื่อมโทรม นํ ้ามาก แต่หน่วยงานภาครัฐ ไม่ได้ เข้ ามาจัดการนํ ้า

38

ข้ อเสนอ/ ทางออก -.เข้ ามาจัดการกับลํานํ ้าห้ วยลึก เพื่อให้ เกิดการดูแลรักษาและจัดการนํ ้าอย่างมี ประสิทธิภาพ -หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องในพื ้นที่ เช่น อปท. จัดหางบภายนอกมาพัฒนา ไม่แค่รองบ จากจังหวัด - สร้ างพื ้นที่กกั เก็บนํ ้าในลําห้ วยไว้ เพื่อ นําไปใช้ ประโยชน์ ทําฝายชะลอนํ ้า - ขุดลอกลํานํ ้าสาขาทุกแห่ง แล้ วสร้ าง ฝายดักตะกอนเป็ นชันๆ ้


- มีถนนขวางกันระหว่ ้ าง กว๊ านและพื ้นที่เกษตร - พื ้นที่ป่ามีน้อย

-ไม่สามารถวิดนํ ้ากว๊ านเข้ ามา ใช้ ในภาคเกษตรได้ - ป่ าเสื่อมโทรม 1.การเพิ่มพื ้นที่ป่า 2.ปลุกจิตสํานึกให้ รักป่ ากับเยาวชน และชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ -ผักตบชวาและวัชพืชที่เพิ่ม - วัชพืชที่หมักหมม ทําให้ เกิด - ควรมีการแก้ ไขผักตบชวาอย่างจริงจัง ปริมาณขึ ้นมาก การเน่าเสีย - การทําเกษตรที่ใช้ สารเคมี - สารเคมีปนเปื อ้ นในลําห้ วย - รณรงค์ลดใช้ สารเคมีในการเกษตร ในปริมาณมากในเขตต้ นนํ ้า และไหลลงสูก่ ว๊ านพะเยา -การทําประมงที่ผิดประเภท - ปลา และสัตว์นํ ้าลดลง - สํานักงานประมง ต้ องเข้ าไปทําความ เข้ าใจเรื่ องการอนุรักษ์พนั ธุ์ปลาและ กฎหมายการในการใช้ เครื่ องมือหาปลา ผิดประเภทกับชาวประมง 5.3.3 กลุ่มเยาวชน สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที เด็กเยาวชนกับการมีสว่ นร่วมในการ พัฒนากว๊ านพะเยา ในวันที่ 6 สิงหาคม 2554 ณ ศูนย์การเรี ยนรู้ประมงพื ้นบ้ านสันแกลบดํา อ.เมือง จ.พะเยา มีผ้ เู ข้ าร่วมจากตัวแทน กลุม่ เด็กและเยาวชนจากชุมชนสันป่ าม่วง อ.เมือง ซึง่ เป็ นชุมชนต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา ชุมชนสันต้ นผึ ้ง อ.ภูกาม ยาว ซึง่ เป็ นชุมชนกลางนํ ้าท้ ายกว๊ านพะเยา และนิสิตสาขาพัฒนาสังคมและสาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ทังเป็ ้ นคนพะเยา และคนต่างจังหวัดที่ได้ มาใช้ ชีวิตในจังหวัดพะเยา กว๊ านพะเยาในมุมมอ งของเด็กเยาวชน พบว่ากว๊ านพะเยามี นํ ้าสะอาด ลงเล่นนํ ้าได้ มีปลา มากมาย นัง่ ตกปลาอยูร่ ิมกว๊ าน เกิดความสุขทังชาวบ้ ้ านและนักท่องเที่ยว เป็ นแหล่งนํ ้าที่สําคัญของชาว พะเยา เช่น การเกษตร การอุปโภคบริโภค การประมง เป็ นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา เป็ นหน้ า เป็ นตาของจังหวัดพะเยา และเป็ นแหล่งเพาะพันธ์ปลา ที่ผา่ นมาเด็กเยาวชน ที่มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา เช่น ท่องเที่ยว นัง่ เล่น กิจกรรมในวัน สงกรานต์ ตกปลา การทําการเกษตร เช่น การทํานารวมของกลุม่ เยาวชน การทําเขตอนุรักษ์พนั ธ์ปลา ท้ องถิ่น

39


สรุปประเด็น และข้ อเสนอของกลุ่มเด็กเยาวชน ประเด็น 1. การพัฒนา เศรษฐกิจที่ เกี่ยวข้ องกับ กว๊ านพะเยา

ผลกระทบ -หาปลายากขึ ้น พันธุ์ปลา หายไป โดยเฉพาะในช่วง ปลาวางไข่ ทําให้ รายได้ ลดลง - พืชนํ ้าบางชนิดหายไป - คุณภาพนํ ้า เช่น นํ ้าเสีย ปลาลดลง พันธ์ปลา ท้ องถิ่นหายไป

2. การมีสว่ น ร่วมของเด็ก เยาวชนในการ พัฒนากว๊ าน พะเยา

- เกิดการเปลี่ยนแปลงใน ระบบนิเวศในลํานํ ้าอิงและ กว๊ านพะเยา - ผลกระทบต่อระบบ การเกษตรเช่น นํ ้าแล้ ง นํ ้า ท่วม

ข้ อเสนอ/ ทางออก - ส่งเสริมอาชีพ เพื่อสร้ างความมัน่ คงทางรายได้ โดยนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ ให้ สอดคล้ อง กับวิถีชมุ ชน - ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ให้ เกิดการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม และส่งเสริมให้ เกิดวิถีความพอเพียงของ ชาวบ้ าน -ปลูกพืชนํ ้าที่สามารถเป็ นอาหารของปลาทังในกว๊ ้ าน พะเยา และ ในลํานํ ้าอิง

- สร้ างแกนนํา และเครื อข่ายเยาวชนในลุม่ นํ ้าอิง หรื อ รอบกว๊ านพะเยาให้ ความรู้ปลูกจิตสํานึกการรักกว๊ าน ให้ กบั เยาวชน การมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านของ กลุม่ เยาวชน -ให้ ความรู้ ความเข้ าใจ แก่เด็กเยาวชน ประชาชน เพื่อ สร้ างความ ตระหนักรู้ และเข้ าใจถึงปั ญหาที่เกิดขึ ้น กับ กว๊ านพะเยา โดยการรณรงค์ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อม เช่น วิ่งมาราธอนรอบกว๊ านพะเยา 3. ความขัดแย้ ง - ขาดการจัดการ จัดสรรนํ ้า - การร่วมมือของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ลํานํ ้าอิง ของชาวบ้ าน ในกว๊ านพะเยาอย่างมี และกว๊ านพะเยา ฟื น้ ฟูระบบนิเวศ และ สิ่งแวดล้ อม ในพื ้นที่ต้นนํ ้า ประสิทธิภาพ - สนับสนุนให้ เกิด การจัดการร่วมกัน และแลกเปลี่ยน และท้ ายนํ ้า ความคิดเห็นของชาวบ้ าน เกี่ยวกับการจัดการนํ ้า เช่น หมูบ่ ้ านท้ ายนํ ้า และหมูบ่ ้ านต้ นนํ ้า สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวทีเด็กเยาวชนกับการมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา อีกครัง้ ในกลุม่ สภานักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม และตัวแทนสภาเด็กเยาวชน จังหวัดพะเยา วันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ หอวัฒนธรรมนิทศั น์ วัดศรี โคมคํา

40


ประเด็น กว๊ านพะเยาในมุมมอง ของกลุ่มเยาวชนใน อนาคต

ความคิดเห็น

-เป็ นแหล่งท่องเที่ยว -นํ ้าสะอาดไม่มีกลิ่นเหม็น -เป็ นแหล่งแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของชาวพะยา โดยนําทุกอําเภอมาแสดง ด้ านวัฒนธรรม -คําขวัญของจังหวัดพะเยาที่เพี ้ยนๆ ที่ได้ ยินมาจากเพื่อนๆ ซึง่ มาแซว จังหวัดพะเยา จึงอยากให้ พวกเราช่วยกันทําชื่อเสียงที่ดี “กว๊ านพะเยาแหล่งบัวลอย บนดอยแหล่งมัว่ สุม นัง่ จุม่ พุม่ พระเจ้ าตนหลวง กระเทยบวงสรวงพ่อขุนงําเมือง งามลือเลี่ยงขี ้เหล้ าหลวง ม.พะเยา” “นํ ้ากว๊ านลําดี โสเภณีลือเลื่อง การพนันสนัน่ เมือง ขี่หมูน้อยข้ ามกว๊ าน” “กว๊ านพะเยาแหล่งบัวลอย บนดอยแหล่งมัว่ สุม ชุมนุมสตาร์ เกท อยากเป็ น เอดส์ไปหลังบขส.” -เด็กเยาวชนควรเรี ยนรู้ประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่น ความเป็ นมาของกว๊ านพะเยา - ต้ องทําเป็ นตัวอย่างที่ดีแก่คนอื่นได้ เห็นก่อน กลุ่มมีการทํากิจกรรมที่ -อุปโภค บริโภค ประปา เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา การสืบสานประเพณีวฒ ั นธรรม ลอยกระทง สงกรานต์ อะไรบ้ าง -ยึดเหนี่ยวจิตใจคนพะเยา เช่น พ่อขุนงําเมือง พระกลางนํ ้า -เป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ -รณรงค์ ทํากิจกรรมระดับจังหวัด การใช้ ประโยชน์ -เป็ นแหล่งอาหาร -เป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจ ให้ มีความสดชื่น -ทํากิจกรรมลอยกระทง สงกรานต์ แข่งเรื อ -ร้ านอาหาร -แหล่งเพาะพันธุ์ปลา -มีทศั นียภาพที่สวยงาม ปั ญหาของกว๊ านพะเยาใน - ขยะ มุมมองของกลุ่ม - นํ ้าเน่าเสียจากผักตบชวา / กระชังปลา มีกลิ่นเหม็น -แหล่งมัว่ สุมของเยาวชน ยาเสพติด สุรา -สัตว์นํ ้าลดลง -การจัดระบบภายในกว๊ านพะเยาไม่มีระบบ เช่น การกําจัดผักตบชวาโดย ทําเป็ นโซนท่องเที่ยว โซนหาปลา โซนผักตบชวา ไม่ให้ รกตา 41


ประเด็น

ความคิดเห็น -ขยะริมกว๊ านพะเยา มาจากการทิ ้งถุงพสาสติก /ขวดเบียร์ ที่มาจากคนที่ไม่ มีสํานึกรับผิดชอบ -ไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่ วมของกลุ่มใน -ปล่อยปลา โดยมีสว่ นร่วมกับองค์กรอื่นเช่น สโมสรไลอ้ อน ลีโอ การพัฒนากว๊ านพะเยา -เก็บขยะรอบกว๊ าน การให้ ข้อคิดเห็นต่ อการ -เดินรณรงค์วนั ลอยกระทง เช่น ปลอดเหล้ า พัฒนา การจัดการกว๊ าน -การเชื่อมโยงกับสภานักเรี ยนทุกโรงเรี ยน พะเยา สิ่งที่อยากเห็น/ ภาพที่ -จัดระบบการใช้ ประโยชน์จากพื ้นที่สาธารณะในกว๊ านพะเยา อยากเห็น ข้ อเสนอ/ -มีหน่วยงานดูแลจัดการกว๊ านพะเยาโดยตรง เช่น การพัฒนา การใช้ นํ ้าจาก ทางออกที่มีต่อปั ญหา กว๊ านให้ เกิดประโยชน์ (ฉากทัศน์ ) -ปลูกจิตสํานึกให้ ประชาชารักและหวงแหนกว๊ านพะเยา -หน่วยงานจํากัดผักตบชวา และจัดพื ้นที่ให้ ผกั ตบชวาไว้ เช่น บริเวณ สะพานขุนเดช -จัดตังศู ้ นย์เรี ยนรู้ ความรู้เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา โดนคนเฒ่าคนแก่มาให้ ความรู้ พัฒนาคุณภาพนํ ้าให้ ดีขึ ้น ไม่เน่าเหม็น โดยใช้ กงั กันนํ ้าเพิ่มออกซิเจน -พัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยว รู้กนั ทัว่ โลก -ฝั่ งตะวันออกเป็ นท่าเรื อแต่ละด้ าน เช่น แหล่งของฝาก ของที่ระลึก แหล่งที่ พัก โดยแบ่งออกเป็ นโซน -ทีเวทีของสภาเด็กรอบกว๊ านฯ /คนที่อยูร่ อบกว๊ านพะเยา จะได้ ข้อคิดเห็น โดยตรงเกี่ยวกับกว๊ านพะเยา และการใช้ ประโยชน์ -สัปดาห์วฒ ั นธรรมของแต่ละอําเภอ มาแลกเปลี่ยนกัน เพราะแต่ละทีมีอตั ลักษณ์ของแต่ละท้ องถิ่น ควรจะมีการรักษาไว้ -การสร้ างแรงจูงใจให้ เยาวชน โดยหาวิธีการสร้ างการมีสว่ นร่วม - จัดระเบียบทางนํ ้า และสิ่งที่รุกลํ ้าแม่นํ ้า ข้ อกฎหมาย/ ระเบียบที่ -พรบ.หรื อกฎหมายเฉพาะเรื่ องเกี่ยวกับกว๊ านพะเยาโดยตรง ให้ ทกุ คน เหมาะสมในการจัดการ ปฏิบตั ติ าม และมีบทลงโทษผู้กระทําผิด กว๊ านพะเยา -การขอความร่วมมือจากหน่วยงาน ชุมชน ให้ ชว่ ยกันเฝ้าระวังกว๊ าน -ให้ ความรู้แก่ประชาชนในเรื่ องกว๊ านพะเยา /ความสําคัญของกว๊ านพะเยา 42


ประเด็น

ความคิดเห็น จะช่วยกันดูแลรักษาได้ อย่างไร - ออกกฎหมาย หรื อข้ อกําหนดและบังคับใช้ อย่างจริงจัง

5.3.4 กลุ่มผู้หญิง สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวทีผ้ หู ญิงกับทางออกในการพัฒนากว๊ านพะเยา ในวันที่ 8 สิงหาคม 2554 ณ บ้ านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพะเยา

มีผ้ เู ข้ าร่วมจากตัวแทนกลุม่ อาชีพ กลุม่ แม่บ้าน

กลุม่ กพสต. อาสาสมัครสาธารณสุข สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นจาก 5 ตําบล 1 ชุมชนรอบกว๊ าน พะเยา ได้ แก่ บ้ านแม่ตํ๋า ชุมชนแม่ตํ๋า บ้ านแม่ใส บ้ านร่องไฮ ตําบลแม่ใส บ้ านสันกว๊ าน บ้ านสันช้ างหิน ตําบลบ้ านตุน่ บ้ านสาง ตําบลบ้ านสาง และบ้ านสันหนองเหนียว ตําบลบ้ านต๋อม จํานวน

31 คน แต่ละ

ตําบลได้ แสดงความคิดเห็นว่า กว๊ านพะเยาในมุมมองของกลุม่ ในอดีต กว๊ านพะเยาแหล่งหากินของชาวบ้ านในการทําประมง หาแหนมาเลี ้ยงหมู กินนํ ้าได้ อยากเห็นกว๊ านพะเยาเหมือนในอดีต กินได้ เก็บบัวมากิน ปลามากมาย นํ ้า ใส ปั จจุบัน กว๊ านพะเยาเป็ นสถานที่มวั่ สุมของเด็กวัยรุ่น กว๊ านแคบลง มาปลาได้ น้อยลง แหล่งท่องเที่ยว ทําประปา ใช้ นํ ้าในการเกษตร ปลาลดลง สารพิษจากการเกษตร กิจกรรมที่กลุม่ ผู้หญิงทําเกี่ยวกับกว๊ านพะเยา ได้ แก่ ทําประมง หาปลา ค้ าขาย ถนนคนเดิน ขาย ของบริเวณกว๊ าน ออกกําลังกาย สถานที่พกั ผ่อน ปล่อยปลา จักสานผักตบชวา และใช้ นํ ้ากว๊ านทํานา ที่ ผ่านมากลุม่ ผู้หญิงได้ เข้ าไปมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา การให้ ข้อคิดเห็นต่อการพัฒนา การ จัดการกว๊ านพะเยา เช่น ปลูกต้ นไม้ ให้ ข้อคิดเห็นต่อการพัฒนากว๊ าน เช่น ร่วมกับเทศบาลเก็บผักตบชวา เก็บขยะมูลฝอย ทําปุ๋ยหมักชีวภาพ เทลงในแม่นํ ้า ในวันสิ่งแวดล้ อม วันอสม. เป็ นต้ น สิ่งที่อยากเห็น/ ภาพที่อยากเห็น ได้ แก่ กว๊ านพะเยาสะอาด มีความสวยงาม เป็ นที่ทอ่ งเที่ยวของ คนริมกว๊ าน มีนํ ้าใช้ ตลอด เป็ นแหล่งหากิน เป็ นแหล่งเศรษฐกิจ และสร้ างจิตสํานึกในการรักษากว๊ านพะเยา สภาพปั ญหา และผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนากว๊ านพะเยา จากมุมมองกลุม่ ผู้หญิงได้ แก่ นํ ้า กว๊ านพะเยาเสียจากการปล่อยนํ ้าเสีย และขยะ สารเคมีจากการเกษตรลงในนํ ้ากว๊ าน ทําให้ หาปลายากขึ ้น พันธุ์ปลาหายไป โดยเฉพาะในช่วงปลาวางไข่

กลุม่ ผู้หญิงบอกว่าการพัฒนาที่ผา่ นมาทําโดยไม่มี

งบประมาณ หรื อได้ งบน้ อย ขาดการประสานงาน และเชื่อมเครื อข่าย คนในชุมชนไม่มีจิตสํานึก ไม่ให้ ความ ร่วมมือในการทํากิจกรรม

43


ในประเด็นหลัก กลุม่ ผู้หญิงมีความห่วงกังวลต่อการพัฒนากว๊ านพะเยา โดยพบว่า ถนนรอบกว๊ าน พะเยาฝั่ งตะวันตกที่สร้ างขึ ้นแล้ ว ขาดการดูแลจากหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นรอบ กว๊ านพะเยา ส่งผลให้ สภาพถนน ไหล่ถนนชํารุดในบางช่วง ไม่มีแสงไฟส่องสว่าง ทําให้ เกิดอุบตั เิ หตุตอ่ ผู้ สัญจรถนน อีกทังบริ ้ เวณสวนสาธารณะยังเป็ นสถานที่มวั่ สุม พบปะดื่มสุราของวัยรุ่น มีเศษขยะและเศษ ขวดแก้ วตามบริเวณถนน และสวนสาธารณะ สรุปประเด็นความห่ วงกังวล และข้ อเสนอของกลุ่มแม่ หญิงพะเยากับกว๊ านพะเยา ประเด็น 1. ถนนรอบกว๊ านพะเยา

ผลกระทบ - ถนนรอบกว๊ าน ยังไม่มีความ ปลอดภัย มีอบุ ตั เิ หตุ เป็ น แหล่งมัว่ สุมของวัยรุ่น กินเหล้ า และไม่ไปเรี ยนหนังสือ - นํ ้าในกว๊ านระบายไม่ทนั ทํา ให้ นํ ้าเสีย นํ ้าท่วมนาข้ าว และ ท่วมบ้ านเรื อนที่อยูร่ ิมกว๊ าน

2. การพัฒนาเศรษฐกิจที่ เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา

หาปลายากขึ ้น พันธุ์ปลา หายไป โดยเฉพาะในช่วงปลา วางไข่ ทําให้ รายได้ ลดลง

44

ข้ อเสนอ/ ทางออก - ทําไหล่ถนนให้ กว้ างขึ ้น โดยการถมหิน และปลูกต้ นไม้ - สร้ างถนนจากบ้ านร่องไฮเชื่อมกับใน เมือง เพื่อสะดวกการจราจร และการทํา มาหากิน - สร้ างท่าเรื อบริเวณท่าเรื อเดิมของบ้ าน สันเวียงใหม่ - มีจดุ บริการประชาชน และเจ้ าหน้ าที่ ดูแล มีการตังชุ ้ ดอาสาออกตรวจพื ้นที่ เพื่อลดปั ญหาการมัว่ สุมของเด็กและ เยาวชน ในพื ้นที่สาธารณะรอบกว๊ าน - จัดทําที่ทิ ้งขยะ และรณรงค์ไม่ให้ ทิ ้งขยะ - มีไฟฟ้าแสงสว่างรอบกว๊ าน - การปลูกจิตสํานึกให้ กบั เด็กและ เยาวชน การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดย - สร้ างการท่องเที่ยวในชุมชน จากจุดเด่น ชุมชนอยูแ่ ล้ ว เช่น จักสาน ปั่ นจักรยาน ชายกว๊ าน วัด สันธาตุ โบราณสถาน และ ท่าเรื อ - เน้ นการท่องเที่ยวที่เป็ นการท่องเที่ยว


ประเด็น

3. การจัดการผักตบชวา

4. การส่งเสริม และพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียง

ผลกระทบ

ข้ อเสนอ/ ทางออก อนุรักษ์ หรื อ ดูวิถีชมุ ชน - พัฒนาหาดริมกว๊ าน การท่องเที่ยว จัด โฮมสเตย์ ขี่จกั รยาน สัมผัสธรรมชาติ ขายสินค้ าจากท้ องถิ่น - ให้ มีการเปิ ดตัว การประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยว - ทําของที่ระลึกขายกับนักท่องเที่ยว เช่น ของที่ระลึกจากบ้ านบัว - จัดทําโครงการฯ ของกลุม่ สตรี เสนอ อปท. เช่น ด้ านอาชีพ การจัดการ ท่องเที่ยว การอนุรักษ์พนั ธุ์ปลา เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้ น - ผักตบชวา และวัชพืชที่อดั การอนุรักษ์ผกั ตบชวา โดย แน่น ในพื ้นที่จอดเรื อของ - กันพื ้ ้นที่ ให้ เป็ นพื ้นที่ผกั ตบชวา เพื่อ ชาวบ้ าน ทําให้ ลง ปลาหายาก การใช้ ประโยชน์ในการจักสานของ ในเดือนสิงหาคมถึง ชาวบ้ าน เช่น ใช้ ทนุ่ เหล็กทําเป็ นพื ้นที่กนั ้ พฤศจิกายน ของผักตบชวาและนําวัชพืชออก - ผักตบชวามีประโยชน์ตอ่ กลุม่ หัตถกรรมในการจักสาน กระเป๋ า และของที่ระลึก แต่ ขาดการให้ ความสําคัญในการ จัดการผักตบชวาเพื่อนํามาใช้ ประโยชน์ -สารเคมีจากการเกษตรไหลลง - ส่งเสริมการปลูกปอเทืองเป็ นการบํารุง กว๊ านพะเยา ดินเพื่อลดการใช้ สารเคมี - พันธุ์ปลา สัตว์นํ ้าลดลง - การทําเกษตรอินทรี ย์ โดยลดการใช้ - สาหร่ายพิษ สารเคมี และใช้ ป๋ ยที ุ ่มาจากธรรมชาติ

45


5.3.5 กลุ่มนักวิชาการ /นักวิจัย สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ นักวิชาการและนักวิจยั ในวันที่ 10 สิงหาคม 2554 ณ ร้ านกาแฟเฮือนไม้ สกั อ.เมือง จ.พะเยา โดยมีตวั แทนนักวิจยั จากมหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และหอวัฒนธรรมนิทศั น์ วัดศรี โคมคํา จ.พะเยา เข้ าร่วมการเสวนาได้ ชวนพูดคุย ในเรื่ องการทําวิจยั ที่ผา่ นมาของจังหวัดพะเยา การนํางานวิจยั ไปใช้ ประโยชน์ ความท้ าทาย / แนวทางการ ทํางานวิจยั กว๊ านพะเยาในอนาคต และแนวทางการเชื่อมร้ อยเครื อข่ายนักวิจยั ตัวอย่าง งานวิจยั ที่เกี่ยวกับพะเยา ที่ผา่ นมา เป็ นงานวิจยั ที่ชาวบ้ านมีสว่ นร่วม เช่น รูปแบบการ ท่องเที่ยวที่เหมาะสมของกว๊ านพะเยา แหล่งการเรี ยนรู้ชมุ ชน บ้ านร่องไฮ การท่องเที่ยวบ้ านฮวก งานวิจยั ที่ บ้ านบัว งานวิจยั ชาวประมง งานวิจยั หนองเล็งทราย งานวิจยั ลุม่ นํ ้าลาวยวน งานวิจยั 89 เรื่ องในกว๊ าน พะเยา ในกลุม่ ประวัตศิ าสตร์ กว๊ านพะเยา การท่องเที่ยว การใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ป่ าไม้ นันทนาการ ความ หลากหลายของพืช สัตว์ ซึง่ กว๊ านพะเยามีการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพต้ องการงานวิจยั อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี ้ยังมีงานวิจยั ที่สถาบันการศึกษา นักศึกษา บริษัทที่ปรึกษา ได้ เข้ ามาทํางานวิจยั ในพะเยาอีก มากมาย แต่ไม่ได้ เผยแพร่ และการนําไปใช้ ประโยชน์ยงั อยูใ่ นวงจํากัด สรุปประเด็นและข้ อเสนอของกลุ่ม 1. ความต้ องการในการทําวิจัย (1) นักวิจยั เป็ นคนท้ องถิ่น จึงมีความสนใจในประเด็นท้ องถิ่น ต้ องการเห็นชุมชนมีโอกาสในการ พัฒนา ชุมชนพะเยาได้ รับผลประโยชน์ และเพื่อจัดระบบองค์ความรู้ของท้ องถิ่น (2) พื ้นที่พะเยาเป็ นพื ้นที่ชายแดน ที่จะได้ รับผลกระทบจากอาเซียน/ GMS จึงต้ องมีการวิจยั เพื่อ สร้ างความเข้ มแข็งของชุมชน และการปรับตัวของชุมชนท้ องถิ่นในยุคโลกาภิวตั น์ (3) มีทนุ ทางสังคม เช่น ประวัตศิ าสตร์ ความเข้ มแข็ง / การจัดการโดยชุมชน และเครื อข่ายในชุมชน ผลจากการทํางานวิจยั ที่ผา่ นมา ทําให้ การรวบรวมองค์ความรู้ของชุมชน เกิดชุดความรู้ของชุมชน เกิดการจัดการโดยคนในชุมชน ที่มีดําเนินงานในรูปแบบของผู้นํา / คณะกรรมการ 2.งานวิจัยที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา และสถานภาพ (1) ที่ผา่ นมามีการทําวิจยั เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา โดยอาจารย์ มีวิทยานิพนธ์ และสาระนิพนธ์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ เกือบ 100 เรื่ อง ในกลุม่ ประวัตศิ าสตร์ กว๊ านพะเยา การท่องเที่ยว ด้ านสังคม การใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ป่ าไม้ นันทนาการ ความหลากหลายของพืช สัตว์ ฯลฯ ซึง่ กว๊ านพะเยามีการ เปลี่ยนแปลงทางชีวภาพและด้ านสังคม ต้ องการงานวิจยั อย่างต่อเนื่อง รวมทังงานศึ ้ กษาความเหมาะสมใน การพัฒนากว๊ านพะเยาของบริษัทที่ปรึกษา และมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานภาครัฐ เช่น จังหวัดพะเยา กรมประมง กรมชลประทาน ฯลฯ 46


(2) การใช้ ประโยชน์จากงานศึกษาวิจยั ที่ผา่ นมา จะกระจุกกับกลุม่ ที่เกี่ยวข้ อง หรื อผู้ที่สนใจเท่านัน้ ไม่ได้ นํามาใช้ ประโยชน์ในวงกว้ างต่อสังคมพะเยา และคนในชุมชน เช่น การ ต่อยอดจากงานวิจยั โดยขอ งบประมาณจากกรมศิลปาก ร ชุมชนเกิดความคิด ความต้ องการในการกําหนดอนาคต / รูปแบบของการ ท่องเที่ยวของชุมชน เช่น บ้ านฮวก มีการกําหนดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การทอผ้ าสีธรรมชาติ การ ท่องเที่ยวที่บ้านไม่ใช่ถนนคนเดิน จัดทําศูนย์ทอ่ งเที่ยวโดยจ้ างเยาวชนที่จบการศึกษามาทํางาน เยาวชนมี ส่วนร่วม เชื่อมการท่องเที่ยวกับเมืองคอบ ในประเทศลาว โดยคนมาพักจะเป็ นคนมาค้ าขาย ไม่ใช่ นักท่องเที่ยว (3) ไม่มีสถานที่เก็บรวบรวมข้ อมูล งานวิจยั และผลการศึกษาของกว๊ านพะเยา เพื่อให้ ผ้ ทู ี่สนใจ หรื อประชาชนทัว่ ไปได้ เข้ าถึงข้ อมูลความรู้ 3. การนําไปใช้ ประโยชน์ อย่ างไรกับการพัฒนาจังหวัด / ชุมชน (1) นักวิจยั นักวิจยั ได้ ประเด็นปั ญหาวิจยั ใหม่จากการดําเนินงาน ปรับประเด็นการวิจยั ให้ เข้ ากับ ธรรมชาติของชุมชน โดยชาวบ้ านเริ่มคิดเอง โดยการให้ คําปรึกษาของนักวิจยั เช่น ข้ อมูลวิชาการ แหล่ง เรี ยนรู้ (2) ชุมชน ได้ ชว่ ยเหลือด้ านอื่นๆ ในชุมชน เช่น ผลักดันต่อกับองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ชาวบ้ านสามารถนําเสนอความต้ องการ/ สามารถเรี ยนรู้ในเรื่ องการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน และ สามารถจัดการท่องเที่ยวได้ เอง 4.มุมมองที่มีต่อการพัฒนากว๊ านพะเยา และข้ อเสนอ (1) คนพะเยาไม่มีสว่ นร่วมในการคิด เช่น การพัฒนากว๊ านพะเยา พญานาคหน้ ากว๊ านพะเยา การ ปลูกต้ นปาล์มที่ไม่ใช่เป็ นต้ นไม้ ท้องถิ่น ไม่มีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น ไม่มีการสื่อสารในการพัฒนา กว๊ านพะเยาให้ กบั ชุมชน (2) ไม่มีชอ่ งทางในการสื่อสาร การพัฒนาและการเปลี่ยนแปลง กว๊ านพะเยาที่ เกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ว ไม่มีความสอดคล้ องกับสภาพของท้ องถิ่น (3) คนชายกว๊ านพะเยา-ร้ านค้ า ได้ รับประโยชน์จากการพัฒนา เพื่อให้ คนมาท่องเที่ยว แต่ไม่มีการ ย้ อนกลับมาสูส่ งั คม ผลประโยชน์ตกอยูก่ บั คนไม่กี่คน ไม่ได้ กระจายให้ ชมุ ชน (ภาษี ) เช่น การขายเหล้ าแพง กว่าปกติ และนําภาษีมาพัฒนากว๊ านพะเยา (4) บ้ านโบราณหน้ ากว๊ านพะเยา น่าจะเป็ นของส่วนรวมแต่อยู่ เป็ น ของเอกชน ไม่ก่อให้ เกิดคุณค่า และไม่มีประโยชน์ตอ่ การพัฒนากว๊ านพะเยา น่าจะเป็ นพิพิธภัณฑ์ เป็ นของส่วนรวม (5) การใช้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยา ที่มากจนเกินขีดความสามารถที่กว๊ านพะเยาจะรับ ได้ มีกฎหมายหลายประการที่เป็ นข้ อติดขัด 47


(6) ด้ านกฎหมายทรัพยากร การเสริมสร้ างพลังทางกม.ให้ แก่ประชาชน สามารถทําได้ แต่ คนพะเยาไม่ได้ เข้ าถึงกฎหมาย และไม่มีกลไก คนพะเยารู้หรื อ ไม่วา่ กว๊ านพะเยาเป็ นของใคร เป็ นสิทธิทาง กฎหมาย ทางธรรมชาติที่เรามีสิทธิเข้ าไปจัดการ (7) ความต้ องการของแต่ละกลุม่ แตกต่างกัน มุมมองของแต่ละคนแตกต่างกัน (8) สื่อที่ออกไปเกี่ยวกับวิกฤติของกว๊ านพะเยา ทําให้ คนเกิดการตื่นตัว สร้ างแรงจูงใจ และอาจ สร้ างความขัดแย้ งของคนในชุมชน เช่น กรณีการระบาดของปลิงเข็ม ข้ อเสนอ (1) การทําโฉนดชุมชน โดยทํากว๊ านพะเยาเป็ นทรัพย์สินหน้ าหมูท่ ี่ชมุ ชนจะเข้ าไปทํา (2) การเสนอให้ มีกม.เฉพาะพื ้นที่ เช่น กม.กว๊ านพะเยาประกาศเป็ นพรบ. และมีกลไกคือ สภา พัฒนากว๊ านพะเยา ที่มารับผิดชอบการพัฒนากว๊ านพะเยา กลไกเน้ นการมีสว่ นร่วม (3) กลไกที่มีอยูเ่ ช่น กม.สิ่งแวดล้ อม ผังเมืองรวม เทศบัญญัตริ วมของอปท.รอบกว๊ าน อาจจะ ศึกษา BP จากที่ใดที่หนึง่ เพื่อนํามาเป็ นตัวอย่าง เช่น ศึกษากรณีของทะเลสาบสงขลา ที่เป็ นพื ้นที่ควบคุม พิเศษ (4) การร่วมมือกันแบบภาคีความร่วมมือระหว่างรัฐ วิชาการและภาคประชาสังคม โดยการทํา MOU ในรูปแบบกึ่งทางการ และใช้ ใจในการทํางานควบคูก่ นั ไป (5) การวิพากษ์งานวิจยั ของนักวิชาการ/ สถาบันการศึกษา โดยคนในชุมชนที่เข้ าไปทํางานวิจยั 5. แนวทางการทํางานวิจัยกว๊ านพะเยาในอนาคต (1) ด้ านการเข้ าถึงข้ อมูล - การเข้ าถึงข้ อมูลงานวิจยั ทําอย่างไร จะใช้ วิธีการไหน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การหาพื ้นที่ ทางสังคมพูดคุยกัน และเปิ ดเวทีตามสถานที่ตา่ งในชุมชน ให้ ชมุ ชนได้ เข้ ามามีสว่ นร่วมแลกเปลี่ยน เป็ นเวที สาธารณะมากขึ ้น เพื่อกระจายโอกาสด้ านการเข้ าถึงข้ อมูล -รวบรวม จัดทําดัชนีหมวดงานวิจยั ออกเป็ นประเด็นในแต่ละด้ าน เช่น ด้ านกฎหมาย ด้ าน การใช้ ประโยชน์ / ด้ านเศรษฐศาสตร์ ด้ านสิ่งแวดล้ อม ด้ านสังคม ฯลฯ (2) ด้ านการสนับสนุนงานวิจัย -สนับสนุนนักวิจยั ท้ องถิ่นที่เป็ นคนในชุมชน เกิดความตระหนักต่อปั ญหาที่เกิดขึ ้นของคนในชุมชน - การจัดเวทีรวบรวมงานวิจยั กว๊ านพะเยา โดยขอทุนจากวช./ สกว. - สร้ างแบรนด์ให้ กว๊ านพะเยา เพราะกว๊ านพะเยา เป็ นสิ่งบ่งชี ้ทางภูมิศาสตร์ (เป็ นแห่งเดียว ที่ เดียว) ที่มีประโยชน์องค์รวม ไม่มีการ สร้ างอัตลักษณ์ พเิ ศษ ให้ กว๊ านพะเยา เป็ นการอนุรักษ์เชิงพัฒนา และเป็ นทรัพย์สินทางปั ญญา เช่น ปลานิล ปลาส้ มซึง่ นําปลามาจากพาน 48


(3) ด้ านประเด็นการทําวิจัย เช่น - กลไกและกฎหมาย ธรรมนูญกว๊ านพะเยา และสภาประชาชน ตัวแทนของแต่ละกลุม่ ที่ได้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยาคือใคร มาจากไหนบ้ าง หน่วยงานไหน กรรมการได้ มาอย่างไร ต้ องมาชวนคุยกัน โดยใช้ กระบวนการประชาธิปไตย เพื่อให้ เกิดการยอมรับของทุกฝ่ าย สร้ างให้ จงั หวัดยอมรับ เกิดการ ปรับเปลี่ยนบทบาท ให้ มีสดั ส่วนที่เท่าเทียมกัน เสมอภาค ให้ เป็ นมติที่ร่วมกัน ต้ องหาวิธีการร่วมกันโดยใช้ เวที -การสร้ าง ค้ นหาทุนทางสังคม บทเรี ยนของชุมชน เพื่อให้ เกิดเครื อข่ายเรี ยนรู้กนั และต่อยอดการ ทํากิจกรรม ในด้ านความร่วมมือทางวิชาการ งานวิจยั ธุรกิจ เพื่อสร้ างทุนทางสังคม และเรี ยนรู้ซงึ่ กันและ กัน - การรับรู้ปัญหาของกว๊ านพะเยาจากคนกลุม่ ต่างๆ - การพัฒนาช่องทางการสื่อสารในการจัดการกว๊ านพะเยา - ประเด็นการสร้ างพลังทางกฎหมายให้ แก่ประชาชน. i. ปั ญหาอะไร ของใคร ii. สร้ างพลังภาคประชาชนอย่างไร iii. กฎหมายอะไร อย่างไร 6. แนวทาง รู ปแบบการเชื่อมร้ อยเครื อข่ ายนักวิจัยในจังหวัดพะเยา (1) เครื อข่ายในรูปแบบที่สามารถเชื่อมกับระดับนโยบายได้ เช่น ศูนย์บริการวิชาการแก่ชมุ ชน สร้ างองค์ความรู้ ประสานความขัดแย้ ง ได้ รับการยอมรับจากภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และ คนในชุมชน (2) การค้ นหาคนที่จะมาเป็ นตัวแทนได้ อย่างไร สามารถเป็ นตัวเชื่อมร้ อย และตัวกลางในการ ทํางาน (3) คุยกันในรูปแบบสภากาแฟ ทําให้ เห็นถึงงานของแต่ละคน การเผยแพร่ความรู้ ความคิดไปสู่ สาธารณะ การแลกเปลี่ยนความรู้ข้ามสาขา (4) การนําข้ อมูลลงในเว็บไซด์ เป็ นงานชุมชนคนวิจยั พะเยา หรื อการทําฐานข้ อมูลงานวิจยั (Data based) โดยการแชร์ บรรณานุกรม เชื่อมกับโครงการวิจยั อื่นๆ

49


5.3.6 กลุ่มผู้ประกอบการค้ า ธุรกิจโรงแรม ร้ านอาหาร และท่ องเที่ยว สถาบันปวงผญาพยาว ได้ เข้ าร่วมการประชุมกับกรรมการสภาหอการค้ า และสภาอุตสาหกรรมจ. พะเยา ในวันที่ 30 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมนอร์ ทเทรินเลค อ.เมือง จ.พะเยา กลุม่ นี ้มีมมุ มองว่ากว๊ าน พะเยาเป็ นแหล่งนํ ้าจืดที่ใหญ่เป็ นอันดับสองของประเทศไทย เป็ นพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ปลานํ ้า จืดขนาดใหญ่ เป็ นแหล่งท่องเที่ยว มีหน่วยงานรับผิดชอบมาก เป็ นสมบัตขิ องคนพะเยา ดังนันประชาชนคน ้ พะเยาจะต้ องเข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดการกว๊ านพะเยา ที่ผา่ นมาทางกลุม่ ธุรกิจ ได้ นําเสนอวิธีการพัฒนา กว๊ านพะเยาต่อจังหวัดหลายครัง้ แต่ยงั ไม่มีความคืบหน้ าในการดําเนินงาน สรุปประเด็น และข้ อเสนอของกลุ่มธุรกิจ ประเด็น ผลกระทบ การพัฒนากว๊ าน -การพัฒนากว๊ านพะเยาไม่ตอ่ เนื่อง ไม่ พะเยา ตอบสนองความ ต้ องการของประชาชน และวิถีของชุมชน - มีปัญหา ข้ อขัดแย้ ง และข้ อคิดเห็นใน การพัฒนากว๊ านพะเยาที่หลากหลาย - มีกลุม่ ผลประโยชน์ และกลุม่ เสีย ผลประโยชน์ในการพัฒนากว๊ านพะเยา - เกิดการผูกขาดการพัฒนากว๊ านพะเยา ที่หน่วยงานภาครัฐ

กลไกการจัดการที่มี อยูเ่ ดิม รวมทัง้ หน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้ อง

- ขาดเจ้ าภาพหลัก - เจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ อง ไม่ได้ ปฏิบตั งิ าน จริงจังคิดแบบเดิม ทําแบบเดิม การ พัฒนากว๊ านพะเยาไม่มีความก้ าวหน้ า - หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องไม่มีความเป็ น อันหนึง่ อันเดียวกัน - ไม่มีการพูดคุยถึงภาพรวมของการ 50

ข้ อเสนอ/ ทางออก - การพัฒนาให้ เป็ นแหล่งนํ ้า เพื่อการ อุปโภค บริโภคอย่างยัง่ ยืน - แบ่งโซนในการพัฒนากว๊ านพะเยา เช่น จากสะพานประมงถึงหลัง โรงพยาบาลเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ส่วน ฝั่ งตะวันตกเป็ นแหล่งประมงและ เกษตรกรรม หรื ออื่นๆ - จ้ างเอกชนในลักษณะ outsource เข้ ามาจัดการเรื่ องการท่องเที่ยวของ กว๊ านพะเยา เช่น การทําสนามบินนํ ้า ลากแพท่องเที่ยว เรี ยนรู้จดุ เรี ยนรู้ของ ชุมชนต่างๆ รอบกว๊ านพะเยา - ภาครัฐจัดสรรงบประมาณในการ ดําเนินงานประจําปี - จัดตังคณะกรรมการพั ้ ฒนากว๊ าน พะเยาที่มาจากทุกภาคส่วน ที่มี อํานาจในการตัดสินใจ และการ จัดการ เป็ นตัวกลางในการ ประสานงาน


ประเด็น กฎหมาย/ระเบียบที่ เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา

ผลกระทบ บริหารจัดการกว๊ านพะเยา - กฎหมายของแต่ละหน่วยงานมีความ ขัดกัน - กฎหมายมีความล้ าสมัย ไม่ทนั ต่อ สถานการณ์

งานศึกษา วิจยั เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา

- ขาดการนําความรู้ ผลการศึกษาไป ปฏิบตั ิ

ข้ อเสนอ/ ทางออก - การแก้ ไขกฎระเบียบของหน่วยงานที่ เป็ นปั ญหาอุปสรรคต่อการพัฒนา กว๊ านพะเยา เช่น กรมประมง กรมเจ้ า ท่า กรมธนารักษ์ ให้ มีความ สอดคล้ องกับความต้ องการของคน พะเยา - จัดทําพรบ.กว๊ านพะเยา โดยให้ มี สภาพบังคับตามกฎหมาย - เสียภาษีให้ กว๊ านพะเยา โดยตรง ให้ สามารถเลี ้ยงตัวเองได้ พึง่ ตนเองได้ - จัดทําแผนยุทธศาสตร์ จงั หวัดของ ภาคประชาชนโดยทําเป็ น road map 5-10 ปี - การวางแผน กําหนดกรอบการ พัฒนากว๊ านพะเยา และวางผังเมือง เพื่อรองรับการเข้ ามาของประชาคม อาเซียน เช่น กําหนดเขต/จัดโซนนิ่งใน การเข้ ามาลงทุนของชาวต่างชาติ - ให้ มหาวิทยาลัยพะเยา ซึง่ เป็ น สถาบันการศึกษาของคนพะเยา เป็ น เจ้ าภาพหลักรับผิดชอบในการจัดทํา แผนยุทธศาสตร์

5.3.7 ตําบลสันป่ าม่ วง สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ตําบลสันป่ าม่วง ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ณ สํานักงานเทศบาลตําบลสันป่ าม่วง โดยผู้เข้ าร่วมประกอบด้ วยนายสมชาย จินะ นายก เทศบาลตําบลสันป่ าม่วง สมาชิกสภาเทศบาลตําบลสันป่ าม่วง กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน และตัวแทนจากกลุม่ ประมงพื ้นบ้ านสันป่ าม่วง ประมาณ 30 คน มีการฉายสารคดี “นํ ้าอิง วันวาน วันนี ้ และพรุ่งนี ้” แนะนํา

51


วัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั และการทํางานของสถาบันปวงผญาพยาว ข้ อคิดเห็น สรุปได้ ดงั นี ้ ด้ านการจัดการ และการพัฒนากว๊ านพะเยา ประเด็น สภาพปั ญหา- ผลกระทบ 1. การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการ - กํานัน ผู้ใหญ่บ้านไม่มีโอกาส จัดการกว๊ านพะเยา เข้ ามามีสว่ นร่วมในการให้ ข้ อคิดเห็นในการพัฒนากว๊ าน พะเยา - กฎหมายเป็ นเรื่ องที่ ละเอียดอ่อน ถ้ าชาวบ้ านไม่ เข้ าใจจะทํางานได้ ยาก หน่วยงานเชิญไปประชุม แต่ ชาวบ้ านไม่กล้ าแสดงความ คิดเห็น

2. การพัฒนารอบกว๊ านพะเยา

หลังจากนันผู ้ ้ เข้ าร่วมได้ ให้

ข้ อเสนอ/ ทางออก -อยากเห็นกว๊ านพะเยาเป็ น เหมือนเดิม ไม่มีสิ่งปลูกสร้ างที่ ใหญ่โต ให้ ดํารงความเป็ นพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า - ให้ มีสภาพัฒนากว๊ านพะเยา ที่มี คณะทํางานที่เป็ นคนพะเยา เป็ น ภาคประชาชนที่เข้ ามามีสว่ นร่วม - การประสาน การบูรณาการความ ร่วมมือ แผนงาน งบประมาณของ หน่วยงานต่างๆ เช่น ประมง ทสจ. ฯลฯ จะทําให้ การทํางานมี ประสิทธิภาพมากขึ ้น - ไม่มีทางจอดเรื อหาปลา มีแต่ - ขุดทางเรื อ ทําเป็ นสระนํ ้า และนํา วัชพืชขวางกันทางเรื ้ อ ทําให้ ปลามาปล่อย ชาวประมงมีความลําบากในการ - โครงการพัฒนากว๊ านพะเยา ควร ลงเรื อ นํางบประมาณส่วนหนึง่ มาใช้ ใน - โครงการพัฒนากว๊ านพะเยา การพัฒนาด้ านการเกษตรรอบ ของหน่วยงานต่างๆ มีความทับ กว๊ านพะเยา เช่น กําจัดหอยเชอรี่ ซ้ อนกันในการทํากิจกรรม การทํานาข้ าวปลอดสารเคมี ฯลฯ -ตัวแทนของหน่วยงานราชการ เปลี่ยนบ่อย ทําให้ การพัฒนาไม่ มีความต่อเนื่อง ไม่มีเจ้ าภาพ หลัก แต่มีหน่วยงานมาก - ที่ผา่ นมาจังหวัดจะขอความ ร่วมมือเฉพาะ 5 ตําบลในการทํา กิจกรรมกว๊ านพะเยาเท่านัน้ 52


ประเด็น สภาพปั ญหา- ผลกระทบ 3. การมีสว่ นร่วมของอปท.ในการ - ขาดการมีสว่ นร่วม ทําตาม พัฒนากว๊ านพะเยา เช่น โครงการ นโยบายของจังหวัด ไม่มีการนํา 800 ล้ าน สภาพปั ญหาของท้ องถิ่นเข้ ามา วิเคราะห์ - ผู้วา่ ฯ จะสัง่ งานท้ องถิ่นให้ ทํา ตามนโยบาย และย้ ายไป ทําให้ การทํางานไม่มีความต่อเนื่อง

ข้ อเสนอ/ ทางออก - ระดมงบประมาณพัฒนาจังหวัด และท้ องถิ่น มาทําร่วมกันทําให้ เสร็จภายใน 1 ปี - ควรจะมีหลายหน่วยงานมาเข้ า ร่วมทัง้ 13 ตําบลในอําเภอเมือง - ให้ อปท. มีสว่ นร่วมในการบริหาร จัดการงบประมาณ ในโครงการ พัฒนากว๊ านพะเยาต่างๆ ร่วมกับ จังหวัด 4. ศักยภาพของการท่องเที่ยวเชิง -ขาดการส่งเสริมการท่องเที่ยว - ทําเส้ นทางการท่องเที่ยวของ อนุรักษ์ ตําบลสันป่ าม่วง เชิงอนุรักษ์ ตําบลสันป่ าม่วง เริ่มจากลงเรื อ กว๊ านพะเยา ดูสินค้ าโอทอป/ ชม วัดอนาลโย /ดูต้นตะเคียนยักษ์ / เที่ยวนํ ้าตกขุนต๋อม จะสามารถดึง นักท่องเที่ยวเข้ ามา และชาวบ้ านมี รายได้ 5. การศึกษาผลกระทบ/ งานวิจยั - มีการศึกษาผลกระทบในการ - นําผลจากการวิจยั หรื อการศึกษา ในกว๊ านพะเยา พัฒนากว๊ านพะเยา จากหลาย ผลกระทบมาชี ้แจง มาอธิบายให้ สถาบันการศึกษา แต่ไม่ได้ ชาวบ้ าน นํามาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนา - นํางบประมาณจากการศึกษา กว๊ านพะเยา ไม่มีความจริงใจใน ผลกระทบมาทํากิจกรรมที่เป็ น การทํางาน ประโยชน์ตอ่ กว๊ านพะเยา เช่น การ กําจัดวัชพืช ด้ านระบบนิเวศ ประเด็นหลัก สภาพปั ญหา- ผลกระทบ 1. การกําจัด - การกระจายของผักตบชวา ทําให้ ยากลําบากใน วัชพืช /ปึ่ ง และ การหาปลา ผักตบชวา - กําจัดไม่ถกู ฤดูกาล เป็ นการกําจัดตาม งบประมาณ 53

ข้ อเสนอ/ ทางออก - จัดสรรงบประมาณให้ แก่อปท.เช่น การจํากัดพื ้นที่ ( zoning) ของ ผักตบชวา และกําจัดผักตบชวา - การจัดโซนนิ่งผักตบชวา เพื่อ


ประเด็นหลัก

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ - ไม่มีที่ทิ ้งดิน / กองเศษวัชพืชซึง่ เป็ นพื ้นที่ สาธารณะของตําบลสันป่ าม่วงเหมือนตําบลอื่น - กว๊ านพะเยาตื ้นเขินจากการสะสมของวัชพืช

2. การฟื น้ ฟู / ปลูกต้ นไคร้ นํ ้า

- ไม่มีต้นไคร้ นํ ้า ซึง่ มีประโยชน์ในการเป็ นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลา และที่อยูข่ องปลา

3. พันธุ์ปลา ลดลง 4. นํ ้าเน่าเสียใน กว๊ านพะเยา

- การเข้ ามาจับปลาของคนต่างถิ่น โดยใช้ ฉมวก และดํานํ ้ายิงปลา - คุณภาพนํ ้า อดีตนํ ้าใส ปั จจุบนั สัตว์นํ ้าลดลง มี วัชพืชมากเกินไป - ระบบบําบัดนํ ้าเสียของเทศบาลเมืองพะเยา ไม่ 54

ข้ อเสนอ/ ทางออก นํามาทําประโยชน์ ได้ แก่ ทําจักสาน ดักตะกอนก่อนลงกว๊ าน และเป็ นที่ อยูอ่ าศัยของปลา ที่ผา่ นมาได้ นําไม้ ไผ่มากันแนวผั ้ กตบชวาไว้ แต่ ลม มาก็พงั จะต้ องหาวิธีการที่ถาวร - ไม่ควรนําผักตบชวาออกหมด เพราะผักตบชวาจะเป็ นตัวกรอง สารเคมี - นําดอกบัว ดอกป้านมาปลูก เพื่อให้ เกิดความสวยงาม -การกําจัดวัชพืช ต้ องดูทิศทางลม ควรกําจัดตอนต้ นปี เพราะลมจะพัด ไปทางใต้ และอัดกันริมฝั่ ง จะทําได้ ง่ายขึ ้นมากกว่า ที่จะทําโดยไม่ดู ฤดูกาล ควรการกําจัดในฤดูแล้ ง - ในการกําจัดผักตบชวา จะต้ องมี การพิจารณาเพราะยังมีประโยชน์ และยังเป็ นสิ่งสร้ างความสมดุลของ กว๊ านพะเยา - นําและฟื น้ ฟูต้นไคร้ นํ ้าให้ เกิดการ แพร่พนั ธุ์ เพื่อให้ รักษาระบบนิเวศ ของกว๊ านพะเยา เพราะเป็ นต้ นไม้ ที่ จะอนุบาลสัตว์นํ ้า เป็ นที่อยูอ่ าศัย ของสัตว์นํ ้า และดูดสารพิษจากนํ ้า เสียในกว๊ านพะเยา - การขยายพันธุ์ปลา ให้ มีปลาใน กว๊ านพะเยา - เทศบาลเมืองพะเยาชี ้แจงเรื่ อง ระบบการจัดการนํ ้าเสีย - ลดการใช้ สารเคมีในการเกษตร


ประเด็นหลัก

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ เป็ นจริง ไม่มีประสิทธิภาพ - ไม่มีการกําจัดนํ ้าเสียก่อนปล่อยลงกว๊ านพะเยา และทิ ้งเศษขยะลงลําห้ วยแม่ตอ๋ ม - นํ ้ากว๊ านเกิดความเสื่อมโทรม การหมักหมมของ วัชพืชนํ ้า และผักตบชวา - การใช้ สารเคมีในไร่นา ที่ชาวบ้ านยังมีความ จําเป็ นต้ องใช้ 5. การตัดไม้ - การบุกรุกตัดไม้ เพื่อขายให้ นายทุนสร้ างบ้ าน ทําลายป่ าต้ นนํ ้า หรื อทําเฟอร์ นิเจอร์ กว๊ านพะเยา - นโยบายส่งเสริมการปลูกยางพารา ทําให้ มีการ และลําห้ วยแม่ บุกรุกพื ้นที่เพื่อปลูกยางพารา ต๋อม - ในพื ้นที่ตําบลมีความลาดชันสูง พื ้นที่ ไม่ เหมาะสมในการปลูกยางพารา 6. การพัฒนา - พันธุ์ปลาลดลง และไม่มีความหลากหลาย แม่นํ ้าอิง

ข้ อเสนอ/ ทางออก

- สร้ างอาชีพเสริมให้ ชาวบ้ าน ทดแทนการตัดไม้ - การพัฒนานํ ้าตกขุนต๋อม ให้ เป็ น แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

- การเปิ ดประตูระบายนํ ้า / ทําลาย สิ่งที่ขวางกันแม่ ้ นํ ้า เพื่อให้ ปลา ขึ ้นมาวางไข่

5.3.8 ตําบลแม่ ใส สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ตําบลแม่ใส ในวันที่ 15กันยายน 2554 ณ ศาลาประชาคม องค์การบริหารส่วนตําบลแม่ใส โดยผู้เข้ าร่วมประกอบด้ วย รองนายกอบต.แม่ใส สมาชิกสภาอบต.แม่ใส ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน และตัวแทนจากกลุม่ ประมงพื ้นบ้ านแม่ใสประมาณ 25 คน แนะนําวัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั และการทํางานของสถาบันปวงผญาพยาว หลังจากนัน้ ผู้เข้ าร่วมได้ ให้ ข้อคิดเห็น สรุปได้ ดงั นี ้ ด้ านการจัดการ และการพัฒนากว๊ านพะเยา ประเด็น สภาพปั ญหา- ผลกระทบ ข้ อเสนอ/ ทางออก 1. การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการ - เข้ าร่วมประชุมเรื่ องการ - กลุม่ ชาวประมง กลุม่ จักสาน จัดการกว๊ านพะเยา พัฒนากว๊ านพะเยากับทาง ผักตบชวา กลุม่ จัดการท่องเที่ยว ควร จังหวัด แต่หาข้ อสรุปไม่ได้ มีการมาพูดคุยกัน เพื่อหาทางออก - งบประมาณโครงการพัฒนา ร่วมกันในระดับตําบลก่อน กว๊ านพะเยาในพระราชดําริ - การจัดทําเขตอนุรักษ์กว๊ านพะเยา 55


ประเด็น

2. กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการ จัดการกว๊ านพะเยา

3. การพัฒนารอบกว๊ านพะเยา

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ 800 ล้ าน ยังหาข้ อสรุปไม่ได้ เพราะไม่ได้ มีการแบ่งบทบาท การทํางานของแต่ละ หน่วยงานที่ชดั เจน

ข้ อเสนอ/ ทางออก ในแต่ละหมูบ่ ้ าน - ให้ มีสภาประชาชนพัฒนากว๊ าน พะเยา โดยทุกชุมชนมีสว่ นร่วมในการ กําหนดกฎหมาย กําหนดการพัฒนา โดยประชาชน ซึง่ หน่วยงานราชการ จะต้ องทําตามกฎหมายนี ้ - พื ้นที่หมูบ่ ้ านร่องไฮ บางส่วน - ให้ มีพรบ.กว๊ านพะเยา เพื่อ อยูใ่ นขอบเขตของกว๊ านพะเยา กําหนดการโครงการพัฒนาต่างๆ โดยกรมประมง ทําให้ โฉนด และอาณาเขตของกว๊ านพะเยาให้ ที่ดนิ ที่ชาวบ้ านไม่สามารถ ชัดเจน นําไปใช้ ประโยชน์ในการทํานิติ กรรมได้ ส่งผลให้ ต้องชาวบ้ าน ต้ องหาเงินนอกระบบ - มีกฎหมายหลายฉบับ และ หน่วยงานหลายฝ่ าย เช่น กรม ศิลปากร กรมประมง กรมธนา รักษ์ ฯลฯ ซึง่ เป็ นอุปสรรคต่อ การพัฒนาที่ชาวบ้ านต้ องการ เข้ าไปมีสว่ นร่วม - การบุกรุกพื ้นที่กว๊ านพะเยา โดยการจับจอง และออกโฉนด ที่ดนิ เมื่อได้ โฉนดก็ขายให้ นายทุนต่างชาติ - พื ้นที่ของกว๊ านพะเยาลดลง - การอนุรักษ์พื ้นที่ฝั่งตะวันตกเป็ น - บ่อบําบัดนํ ้าเสียของเทศบาล ธรรมชาติ มองเห็นทิวเขา ไม่ควรเป็ น เมืองพะเยาไม่ได้ ทํางานอย่าง เหมือนในเมือง มีประสิทธิภาพ - ทําเป็ นโฮมสเตย์ หรื อการท่องเที่ยว - การทํารี สอร์ ท ที่พกั ทําให้ นํ ้า รอบกว๊ านพะเยา แต่ไม่ควรตังรี้ สอร์ ท กว๊ านเน่าเสียเร็ว ใกล้ กว๊ านพะเยา - ชาวบ้ านไม่ได้ ร้ ูเรื่ องการ - การขุดลอกกว๊ านพะเยาให้ ลกึ มาก 56


ประเด็น

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ พัฒนาของหน่วยงานราชการ เช่น การขุดลอกกว๊ านพะเยา ที่มาขุดลอกในบริเวณบ้ านร่อง ไฮ แต่ไม่ได้ มาชี ้แจงผู้นําชุมชน ทราบ ทําให้ การพัฒนาที่ เกิดขึ ้นจึงไม่ตรงกับสภาพ ปั ญหาและความต้ องการของ ชุมชน และถนนในหมูบ่ ้ าน เสียหายจากรถแบ็คโฮ 4. โบราณสถานบ้ านร่องไฮ หมู่ - ผู้วา่ ฯ นํางบประมาณมา 1,11 มีพื ้นที่ทงหมด ั้ 142 ไร่ ขึ ้น สร้ างศาลาจัดนิทรรศการ ทะเบียนเป็ นโบราณสถาน โดย บริเวณโบราณสถาน ซึง่ ใช้ กรมศิลปากร ประโยชน์ได้ น้อย หลังจากนัน้ ไม่มีการพัฒนาที่ตอ่ เนื่อง จึง ถูกทิ ้งร้ างเป็ นสถานที่เลี ้ยงวัว ควายของชุมชน - การบูรณะสันธาตุที่บ้าน ร่องไฮหมู่ 1,11 เกิดขึ ้นมาจาก การช่วยเหลือกันของคนใน ชุมชน ร่วมกับอาจารย์ และ นักศึกษา ม.พะเยา มีการ ทํางานวิจยั เรื่ องการท่องเที่ยว โดยชุมชน ต่อจากนันมี ้ กรม ศิลปากรเข้ ามา จังหวัด สนับสนุน ทําให้ พื ้นที่บริเวณ นันที ้ ่ชาวบ้ านได้ จบั จองไว้ ถูก ยึดคืน - บ้ านร่องไฮ มีกลุม่ ตีมีด ซึง่ เป็ นภูมิปัญญาดังเดิ ้ ม คนใน ชุมชนรุ่นใหม่เห็นถึงศักยภาพ 57

ข้ อเสนอ/ ทางออก ขึ ้น - การเข้ ามาพัฒนากว๊ านพะเยาของ หน่วยงาน ควรจะมีการแจ้ งข้ อมูล การทํางานของหน่วยงานให้ ชมุ ชน ได้ รับทราบ และมีสว่ นร่วมในการให้ ข้ อมูล หรื อเสนอแนะแนวทางการ พัฒนาร่วมกับหน่วยงานราชการ

- ปรับปรุงโบราณสถานบ้ านร่องไฮ ให้ ดีขึ ้น ให้ เป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยว เพื่อให้ ชาวบ้ านมีรายได้ - ส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบชาวบ้ าน โดยขี่ล้อเกวียนเทียมวัวชมกว๊ าน พะเยา


ประเด็น

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ ของด้ านการท่องเที่ยว จึงทํารี สอร์ ท โฮมสเตย์ แต่ไม่มีการ ขยาย หรื อต่อยอดการทํา กิจกรรมดังกล่าว ส่งผลให้ ไม่มี คนมาพัก - วัดกลางกว๊ านอยูบ่ ริเวณบ้ าน ร่องไฮ แต่ชาวบ้ านร่องไฮกลับ ไม่ได้ ประโยชน์จากวัดกลาง กว๊ าน

ด้ านระบบนิเวศ ประเด็นหลัก สภาพปั ญหา- ผลกระทบ 1. การกําจัดผักตบชวา และวัชพืช - การกระจายของผักตบชวา ทํา ให้ ชาวประมงมีความลําบากใน การลงเรื อหาปลา - ผักตบชวาสามารถนําไปทําปุ๋ย ได้ แต่โรงปุ๋ยที่สร้ างขึ ้น ไม่ได้ ใช้ ประโยชน์เต็มที่ - ไม่มีทางลงท่าเรื อ - ลมเหนือในช่วงฤดูฝน จะพัด พานําวัชพืชมาอัดติดบริเวณริม กว๊ าน และท่าเรื อของชาวประมง 2. พันธุ์ปลาลดลง - บ้ านร่องไฮมีเรื อประมาณ 40 ลํา แต่ชว่ งฤดูฝนไม่มีปลา หากิน ลําบาก รายได้ จากการทํา ประมงลดลงต้ องออกไปรับจ้ าง นอกชุมชน เช่น ก่อสร้ าง - กว๊ านพะเยาตื ้นเขิน เพราะมี วัชพืชมาก สิ่งปฏิกลู ไหลลง กว๊ านพะเยา 58

ข้ อเสนอ/ ทางออก

ข้ อเสนอ/ ทางออก - นํางบประมาณทังหมดมากํ ้ าจัด และทําอย่างต่อเนื่อง - จัดเขตอนุรักษ์ผกั ตบชวา /สวนบัว - กันพื ้นที่ผกั ตบชวา เพื่อเก็บไว้ ให้ ทําจักสาน

- ทําเขตอนุรักษ์พนั ธุ์ปลา - ป้องกันไม่ให้ มีการหาปลา โดยใช้ เครื่ องมือที่ผิดวิธี


ประเด็นหลัก

3. ต้ นไคร้ นํ ้า ลําต้ นคล้ าย มะกอกนํ ้า

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ ข้ อเสนอ/ ทางออก - การช๊ อตปลาด้ วยไฟฟ้า / ลาก อวนจากคนในชุมชน และนอก ชุมชน - ชาวประมงมีรายได้ ลดลงจาก การหาปลาในกว๊ านพะเยา - มีประโยชน์ในการเป็ นที่ - อนุรักษ์ และขยายพื ้นที่ต้นไคร้ ให้ อนุบาลของปลาเล็กปลาน้ อย เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา และเป็ นที่ แต่ชาวบ้ านขาดข้ อมูล ความรู้ใน อยูอ่ าศัยของนกนํ ้า การอนุรักษ์ต้นไคร้ นํ ้า

5.3.9 ตําบลบ้ านสาง สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนา กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ตําบลบ้ านสาง ในวันที่ 19 กันยายน 2554 ณ วัดศรี บญ ุ เรื อง ต.บ้ านสาง ผู้เข้ าร่วมประกอบด้ วยรองนายกเทศมนตรี ประธานสภา เทศบาล สมาชิกสภาเทศบาลบ้ านสาง เจ้ าหน้ าที่พฒ ั นาชุมชน เทศบาลตําบลบ้ านสาง กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน และตัวแทนจากเกษตรกรรมทางเลือก ตัวแทนประมงพื ้นบ้ าน ประมาณ 25 คน ได้ แนะนําวัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั และการทํางานของสถาบันปวงผญาพยาว หลังจากนันผู ้ ้ เข้ าร่วมได้ ให้ ข้อคิดเห็น สรุปได้ ดงั นี ้ ด้ านการจัดการ และการพัฒนากว๊ านพะเยา ประเด็น สภาพปั ญหา- ผลกระทบ ข้ อเสนอ/ ทางออก 1. การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการ - หน่วยงานภาครัฐ ไม่มีความ - ให้ ชาวบ้ านในท้ องถิ่นมีสว่ นร่วม จัดการกว๊ านพะเยา จริงใจในการพัฒนากว๊ านพะเยา ในการพัฒนากว๊ านพะเยา ทุก - การพัฒนาไม่ต้องกับความ ขันตอน ้ ตังแต่ ้ การร่วมคิด ร่วม ต้ องการของชาวบ้ าน วางแผน ร่วมทํา ร่วมประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ 2. กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการ - การพัฒนากว๊ านพะเยา เช่น - ให้ มีพรบ.กว๊ านพะเยา ที่มาจาก จัดการกว๊ านพะเยา ระเบียบในการขุดลอกดินจาก การแสดงความคิดเห็นจากคน กว๊ านพะเยา ต้ องทิ ้งดินภายใน 3 พะเยา กิโลเมตร ทําให้ การขุดลอกดิน - มีสภาพัฒนากว๊ านพะเยา ระดับ ไม่เป็ นไปตามจุดที่เหมาะสม ตําบลบ้ านสาง มีตวั แทนจากทุก - คนที่เป็ นเจ้ าของกว๊ านพะเยา หมูบ่ ้ าน เข้ ามาเป็ นกรรมการที่มา 59


ประเด็น

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ ไม่ได้ เป็ นฝ่ ายออกกฎหมาย

3. การพัฒนารอบกว๊ านพะเยา

- ยังไม่มีการสนับสนุนการ ท่องเที่ยวฝั่ งตะวันตก โดยเฉพาะ ในเขตตําบลบ้ านสาง - โครงการพัฒนากว๊ านพะเยา 800 ล้ าน ไม่มีแผนฟื น้ ฟูป่าต้ น นํ ้ากว๊ านพะเยา - ถนนคันดินรอบกว๊ านพะเยา ทําให้ นํ ้าท่วมนาชาวบ้ าน

4. ที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยา

- การรุกลํ ้าพื ้นที่กว๊ านพะเยา - การออกโฉนดที่ดนิ รุกลํ ้ากว๊ าน พะเยา ทําให้ พื ้นที่กว๊ านพะเยา ลดลง จาก 12,800 ไร่ เหลือ เพียง 12,000 ไร่ - ชาวบ้ านขายที่ดนิ ให้ นายทุน และผู้มีอํานาจ - ชาวบ้ านออกโฉนดไม่ได้ แต่ นายทุนออกโฉนดได้ 60

ข้ อเสนอ/ ทางออก จากประชาชนอย่างเท่าเทียม - มีกรรมการเพื่อแก้ ไขปั ญหาใน เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา - สร้ างสะพานข้ ามกว๊ านพะเยาอีก แห่งหนึง่ ในบริเวณบ้ านสาง ซึง่ จะ ส่งผลดีตอ่ การท่องเที่ยว เช่น เที่ยว วัดอนาลโย นํ ้าตกผาเกล็ดนาค หัตถกรรมทําครกบ้ านงิ ้ว บ้ านสาง เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวในเขต เมือง ทําแพท่องเที่ยวในกว๊ าน พะเยา ขี่เกวียนท่องเที่ยวรอบกว๊ าน พะเยา - การมีสว่ นร่วมขององค์กรปกครอง ส่วนท้ องถิ่นในการพัฒนากว๊ าน พะเยาในโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง กับการพัฒนากว๊ านพะเยา - การทําข้ อบังคับ กําหนดของ ท้ องถิ่น - การปรับภูมิทศั น์ โดยทําตลิ่งรอบ กว๊ านพะเยา ให้ เป็ นสถานที่ ท่องเที่ยว - การรับฟั งความคิดเห็นจาก ชาวบ้ านที่เป็ นคนเฒ่าคนแก่ เพื่อให้ ข้อมูลที่เป็ นจริง เรื่ องที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยา และนําที่ดนิ ที่ออก โฉนดคืนกลับมา


ประเด็น 5. นํ ้าเน่า นํ ้าเสีย

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ - สารพิษในการเกษตรไหลลง กว๊ านพะเยา - ทิ ้งขยะลงในกว๊ านพะเยา - การทําปลาส้ ม มีการสร้ างบ่อ บ่อบําบัดแล้ ว แต่กลุม่ ไม่ได้ มี การบําบัด

ด้ านระบบนิเวศ ประเด็นหลัก สภาพปั ญหา- ผลกระทบ 1. ผักตบชวา และวัชพืชในกว๊ าน - ผักตบชวา และวัชพืชเป็ น พะเยา อุปสรรคในการทําประมง และ ทําให้ กว๊ านพะเยาตื ้นเขิน 2. การทําประมงในกว๊ านพะเยา

3. ป่ าต้ นนํ ้า ตําบลบ้ านสาง

- พันธุ์ปลาลดลงจากการกัน้ ประตูระบายนํ ้าที่กว๊ านพะเยา และคันดินรอบกว๊ านพะเยา - ชาวประมงใช้ เครื่ องมือประมง ดักปลาจากทางไหลของนํ ้า บริเวณคันดินรอบกว๊ านพะเยา ทําให้ ไม่มีปลาในกว๊ านพะเยา และมาวางไข่ในทุง่ นาเหมือนใน อดีต - ชาวประมงมีรายได้ ลดลงจาก การหาปลาในกว๊ านพะเยา - ไม่มีการสนับสนุนจากภาครัฐ ในการทําประมงในกว๊ านพะเยา - ไม่มีอา่ งเก็บนํ ้าในเขตตําบล บ้ านสาง - ระบายนํ ้าเหลือใช้ จาก การเกษตรลงเขตบ้ านสาง 61

ข้ อเสนอ/ ทางออก - การควบคุมด้ วยกฎหมาย - มีตะแกรงกรองขยะก่อนลงสูก่ ว๊ าน พะเยา - ออกมาตรการบังคับกลุม่ ปลาส้ ม ให้ มีบําบัดนํ ้าเสียอย่างจริงจัง

ข้ อเสนอ/ ทางออก - ให้ ชาวบ้ านมีสว่ นร่วมในการกําจัด ผักตบชวา โดยจ้ างชาวบ้ านเป็ น ฝ่ ายนําออก กิโลกรัมละ 50 สตางค์ (ตากแห้ ง) นําไปทําเป็ นถ่านอัดแท่ง - ทําเขตอนุรักษ์พนั ธุ์สตั ว์นํ ้าใน กว๊ านพะเยา

- สร้ างอ่างเก็บนํ ้าเพิ่ม และขุดลอก อ่างเก็บนํ ้าห้ วยครก เพื่อเป็ นพื ้นที่ กักเก็บนํ ้าในตําบลบ้ านสาง - มีฝายชะลอนํ ้า มีการระบายนํ ้า


ประเด็นหลัก

4. กว๊ านพะเยาตื ้นเขิน

สภาพปั ญหา- ผลกระทบ - ในฤดูแล้ งไม่มีนํ ้าใช้ แต่มีการ สูบนํ ้าจากกว๊ านพะเยามาใช้ ใน การเกษตร โดยกรมพลังงาน สนับสนุนโครงการสูบนํ ้าด้ วย ไฟฟ้า - เก็บกักนํ ้าได้ น้อยลง - การขุดลอกกว๊ านพะเยาไม่ได้ แจ้ งแกนนําชุมชนให้ ทราบ ส่งผล ให้ ริมฝั่ งกว๊ านพะเยาสูงขึ ้น ลง หาปลาได้ ยาก และสัตว์เลี ้ยงไม่ สามารถลงกินนํ ้าในกว๊ านพะเยา

ข้ อเสนอ/ ทางออก - กําหนดแนวเขตป่ าชุมชน การปลูก ป่ าในวันสําคัญ โดยให้ ชมุ ชนดูแล

- ขุดลอกกว๊ านพะเยาให้ ลกึ ขึ ้น โดย ใช้ เรื อตักดิน จะดีกว่าการดูดขึ ้นมา ถมพื ้นที่ ทําให้ กว๊ านพะเยาแคบลง - มีประชาคมตําบล ให้ ชาวบ้ านได้ มี ส่วนร่วมในการให้ ข้อคิดเห็นในการ ขุดลอก

5.3.10 กลุ่มอนุรักษ์ ป่าต้ นนํา้ กว๊ านพะเยา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ เครื อข่ายอนุรักษ์ป่าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา ในวันที่ 20 กันยายน 2554 ณ ห้ องประชุมเทศบาลตําบลสันป่ าม่วง อ.เมือง ผู้เข้ าร่วมประกอบด้ วยสมาชิกเครื อข่าย อนุรักษ์ป่าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา และตัวแทนจากสมาชิกสภาเกษตรกรตําบล 7 ตําบลรอบกว๊ านพะเยา นายชัยวัฒน์ จันธิมา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ เล่าถึงว่าชุมชนท้ องถิ่นมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว การบุกรุกพื ้นที่ป่า เพื่อทําการเกษตร ทุนขนาดใหญ่ที่ผา่ นเข้ ามาในชุมชน เกิดความขัดแย้ ง และ การปรับตัวของชุมชนในการดํารงชีวิต การเกิดโครงการพัฒนาขึ ้นมาในชุมชน โดยชุมชนท้ องถิ่นไม่ได้ เข้ าถึง ข้ อมูลเหล่านี ้ และไม่มีการพัฒนาในพื ้นที่ป่าต้ นนํ ้าของกว๊ านพะเยา ที่เป็ นแหล่งกําเนิดของนํ ้าที่ไหลลงสู่ กว๊ านพะเยา ชมรมอนุรักษ์ป่าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยาที่ผา่ นมา มีกิจกรรมที่หลากหลาย และผู้นําเหล่านันได้ ้ ก้าวไปสู่ การเป็ นผู้นําในระดับจังหวัด แต่ยงั ขาดการส่งต่อไปยังเยาวชนรุ่นหลัง จึงมีคําถามว่าจะทํากิจกรรม อะไรบ้ าง สมาชิกจะมีใครบ้ าง ในแต่ละสาขาลุม่ นํ ้า นายอินเต้ า ปั ญจขันธ์ ประธานชมรมฯ ได้ พดู ถึงการทํางานของชมรมที่ทีการทํากิจกรรมมาตังแต่ ้ ปี 2547 มีการทํากิจกรรมจนทําให้ สภาพป่ าอุดมสมบูรณ์ ต่อมามีการขยับการทํางานในระดับเครื อข่าย จังหวัด ทําให้ กิจกรรมในระดับตําบลลดลง ในปี 2554 จึงได้ มีการทบทวนการทํางานของชมรมอนุรักษ์ป่า ต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยาขึ ้นมาใหม่ โดยให้ มีการทํางานที่ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นเข้ ามามีสว่ นร่วมมากขึ ้น และมีการจัดทําโครงสร้ างของชมรมฯ และกรรมการชุดใหม่

62


นายประสิทธิ์ จินะใจหาญ เหรัญญิกชมรมฯ ในการทํางานของชมรมฯ จะต้ องมีการสร้ างจิตสํานึก ให้ มีความรัก หวงแหนไม่ให้ มีการรุกลํ ้าพื ้นที่ป่าต่อไปอีก กิจกรรมที่ทํามีการบวชป่ า ทําให้ ชาวบ้ านเห็นถึง การอนุรักษ์ป่า ต้ องมีการทํากิจกรรมที่ให้ ชาวบ้ านเห็น การทํากิจกรรมอยากให้ ไปศึกษาดูงานร่วมกันในทุก ลําห้ วยในนามของชมรมฯ และเกิดกิจกรรมที่ตอ่ เนื่องต่อไป การพูดคุยถึงปั ญหาและทางออก สรุปได้ ดงั นี ้ ประเด็น 1. การทําเกษตรรอบกว๊ าน พะเยา

สภาพปั ญหา - การพัฒนาด้ านเกษตร แต่ได้ ไป ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ พื ้นที่กว๊ าน พะเยามีน้อย แต่คนใช้ มาก โดยไม่ คํานึงถึงการอนุรักษ์ - การพัฒนากว๊ านพะเยา ไม่มีเจ้ าภาพ หลัก มีการประชุมบ่อย แต่ไม่มี ความก้ าวหน้ าในการทํากิจกรรม - มีการศึกษาผลกระทบหลายครัง้ แต่ ไม่ได้ นํามาปฏิบตั ิ

2. คุณภาพนํ ้าตํ่าในลําห้ วย - การใช้ สารเคมี ในการเกษตร ทิ ้งขวด ป่ าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา ยาฆ่าแมลงลงลําห้ วย - ฟาร์ มหมูตอนบน ปล่อยนํ ้าเสียลงมา ในนํ ้า - ปลาเน่าตายจากนํ ้าเน่าเสีย 3. การบุกรุกพื ้นที่ป่า เพื่อ ขยายพื ้นที่ทํากิน โดยเฉพาะการปลูกพืช เศรษฐกิจ เช่น ยางพารา ข้ าวโพด

- นโยบายภาครัฐ ได้ ส่งเสริม การปลูก ยางพารา การประกันราคาข้ าวโพด ชาวบ้ าน จึงบุกรุกทําลายป่ าต้ นนํ ้า ใน หลายลําห้ วยที่เป็ นต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา เช่น - ตําบลบ้ านใหม่ มีพื ้นที่ป่าชุมชนเป็ น จํานวนมาก ป่ าชุมชนบ้ านใหม่ถกู บุกรุก 63

ข้ อเสนอ 1. พรบ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ สามารถนําไปใช้ ในการอ้ างอิง ใน การจัดการ ได้ ตอนนี ้อยูใ่ น ระหว่างการทําแผนแม่บท ซึง่ จะ เป็ นเวทีในการขับเคลื่อนการ ทํางานร่วมกับภาครัฐ 2. การพัฒนากว๊ านพะเยา ต้ อง คํานึงถึงป่ า และลําห้ วยสาขาของ กว๊ านพะเยาด้ วย 3. ทํากิจกรรมร่วมกันทังระดั ้ บ พื ้นที่ และการรณรงค์ การทํางาน ในรูปแบบประชาสังคม - การสร้ างคนในท้ องถิ่น หรื อ เจ้ าหน้ าที่ในอปท. รับผิดชอบ งาน ด้ านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้ อม โดยเฉพาะ จะให้ มีเจ้ าภาพ รับผิดชอบ คิดกิจกรรมด้ านการ อนุรักษ์ และรณรงค์ 1.ปลูกต้ นไม้ เสริม เช่น กล้ าหวาย 2.สร้ างจิตสํานึกของผู้นํา และคน ใน ชุมชน เช่นส่งเสริมการ ท่องเที่ยวในรูปแบบของการเดิน ป่ าดอยหลวง ให้ เห็นความ สมบูรณ์ของป่ า โดยทํา กิจกรรม อย่างต่อเนื่อง ให้ ชาวบ้ านเห็น


ประเด็น

4. การออกเอกสารสิทธิ์ ที่ดนิ สปก.

สภาพปั ญหา แผ้ วถางใหม่ และลามถึงป่ าต้ นนํ ้าแม่เห ยื่ยน โดยมีกลุม่ ทุนสนับสนุนการปลูก ยางพารา และข้ าวโพด บางคนไม่มี ที่ดนิ ทํากิน บางคนไม่ร้ ูจกั พอ ใน อนาคตภายหน้ า จะเป็ นปั ญหาต่อป่ า ต้ นนํ ้า - ตําบลแม่นาเรื อ หลังอ่างเก็บนํ ้า ที่ตดั ไม้ ใส่แพ ทังๆ ้ ที่มีเจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ แต่ ไม่ได้ ทําหน้ าที่ของตนเอง - คนมีเงินเป็ นเจ้ าของที่ มีความโลภ ความอยาก ไม่พอเพียง ซื ้อที่ดนิ มากขึ ้น เรื่ อยๆ ชาวบ้ านจึงมาบุกรุกป่ าแทน

ข้ อเสนอ เข้ าใจ ตอกยํ ้าจิตสํานึก ‚ทําจน ติดตา ‛เช่น การบวชป่ า เดิน สํารวจป่ า 3.ปลูกไม้ ยืนต้ น เช่น ปาล์ม ยางพารา ลําไย ไม้ สกั ให้ เป็ นแนว บริเวณที่ราบเชิงเขา เพื่อป้องกัน การบุกรุกเข้ าไปในเขตป่ า 4. การคิดกิจกรรมใหม่ๆ ที่เป็ น นวัตกรรม เช่น พาคนในเมืองเดิน ป่ า สัมผัสธ รรมชาติ ในรูปแบบ ของท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ท่องเที่ยวผจญภัย 5. ยกระดับการทํางาน ให้ กว้ าง มากขึ ้น และสูงขึ ้น จากเรื่ องป่ า เป็ น ‚สภาประชาชนป่ าต้ นนํ ้า หรื อสภาประชาชนลุม่ นํ ้าอิง‛ - การนําพื ้นที่ป่ามาออก สปก. และขาย 1. รัฐบาลต้ องจริงใจ โดยการเก็บ ให้ นายทุน ทําให้ พื ้นที่ป่าถูกทําให้ เป็ น ภาษี ผู้ที่ครอบครองที่ดนิ ให้ มาก ของนายทุน สิทธิทํากิน หรื อเรื่ องของ ขึ ้นเป็ น 1 เท่า รวมทังให้ ้ เจ้ าของ สิทธิความเป็ นหน้ าหมูจ่ ะถูกทําลาย เดิมขึ ้นทะเบียน และตรวจสอบ ให้ มีเจ้ าของเดิมมีสว่ นร่วมในการ ดูแลร่วมกัน เพื่อป้องกันมิให้ คน เสียสิทธิ์ ไปบุกรุกพื ้นที่ใหม่ ทําให้ พื ้นที่ป่าถูกทําลายเพิ่มมากขึ ้น

64


5.3.11 คนขายของหน้ ากว๊ านพะเยา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวทีสนทนากลุม่ คนขายของบริเวณกว๊ านพะเยา ในวันที่ 20 กันยายน 2554 ณ ศาลาแปดเหลี่ยม สวนสมเด็จย่า ริมกว๊ านพะเยา ผู้เข้ าร่วมประกอบด้ วยกลุม่ พ่อค้ า แม่ค้าที่ขาย ของในบริเวณอนุสาวรี ย์พอ่ ขุนงําเมือง เช่น กุ้งเต้ น ปลานิลเผา ไก่ยา่ ง ส้ มตํา ลูกชิ ้นทอด กาแฟ ถัว่ ต้ ม ก๋วยเตี๋ยว เครื่ องดื่มต่างๆ ฯลฯ เมื่อ 2-3 ปี ก่อน แม่ค้ากลุม่ นี ้ได้ ตงรถเข็ ั ้ นขายของริมถนนหน้ าพ่อขุนฯ แต่ เทศบาลเมืองพะเยาในยุคนันเห็ ้ นว่าบังทิวทัศน์ของกว๊ านพะเยา และจะทําให้ บริเวณนันสกปรก ้ จึงได้ จดั สถานที่ให้ นํารถเข็นมาขายอาหารบริเวณด้ านหลังของสวนสมเด็จย่า แต่ไม่มีนกั ท่องเที่ยวเข้ ามาซื ้อ และ รายได้ ลดลงเป็ นอย่างมาก ในการแก้ ไขปั ญหา แม่ค้าจึงใช้ วิธีการ “หาลูกค้ า” โดยใช้ รถจักรยานยนต์ตระเวนหานักท่องเที่ยว ที่มาจอดรถบริเวณหน้ าพ่อขุนฯ โดยแม่ค้าจะเข้ าไปถามพร้ อมกับนําเสนอเมนูอาหารเด็ดของกว๊ านพะเยา ได้ แก่ กุ้งเต้ น ปลานิลเผา ไก่ยา่ ง ส้ มตํา และอาหารอื่นๆ อีกหลายประเภท เมื่อได้ ลกู ค้ า แม่ค้าจะนําเสื่อมา บริการให้ ฟรี และกลับไปทําอาหารมาส่ง แม่ค้าเล่าว่าการขายของที่ผา่ นมามีความยากลําบากหลายอย่าง บางครัง้ ถูกนักท่องเที่ยวโกง หนีไม่จา่ ยเงิน แต่แม่ค้าได้ แก้ ไขปั ญหาโดยเก็บเงินหลังจากที่สง่ อาหาร บางครัง้ ก็โดนนักท่องเที่ยวต่อว่าไม่เชื่อใจ จึงต้ องเอาใจลูกค้ า กลัวลูกค้ าจะไม่ซื ้อของตนเอง อย่างไรก็ตามยังมีรถ พ่วงที่ออกไปขายของหน้ าพ่อขุนฯ โดยเฉพาะในช่วงเย็นที่มีนกั ท่องเที่ยวจํานวนมาก บางครัง้ ก็มีเทศกิจมา ไล่ไม่ให้ ขาย กลุม่ คนขายของกว๊ านพะเยา ได้ สะท้ อนว่ารายได้ ลดลงเป็ นอย่างมากจากแต่ก่อนที่เคยขายของริม ถนนเคยได้ วนั ละ 2-3 พันบาท หลังจากที่ถกู ย้ ายที่ขายของได้ เพียงวันละสองสามร้ อยบาท เพราะสถานที่ที่ จัดให้ ด้านหลังสวนสาธารณะ ไม่เหมาะสมสําหรับขายอาหาร เทศบาลเมืองพะเยาไม่ได้ จดั สถานที่ขาย อาหารให้ เป็ นสัดส่วน ปล่อยให้ เป็ นไปตามสภาพ เป็ นหลุมเป็ นบ่อ และไม่มีป้ายบอกว่าข้ างใน สวนสาธารณะมีร้านอาหาร ทําให้ นกั ท่องเที่ยวไม่เห็น ถ้ าจะออกไปตังขายข้ ้ างหน้ า เทศกิจก็มาจับและปรับ เพราะทําผิดประกาศของเทศบาลฯ ทุกวันนี ้เทศบาลฯ และจังหวัดก็ไม่รับรอง ดังนันจึ ้ งไม่สามารถกู้เงินใน ระบบได้ ไม่มีอะไรมาคํ ้าประกัน ไม่มีหลักทรัพย์ แม่ค้าหลายคนเข้ าสูว่ งจรกู้นอกระบบ ร้ อยละ 20 เพื่อมา ลงทุนและให้ เสื ้อขาวไปโรงเรี ยน ประเด็นปั ญหาและข้ อเสนอของกลุม่ ต่อการมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา สรุปได้ ดงั นี ้ ประเด็น สภาพปั ญหา ข้ อเสนอ 1.เจ้ าหน้ าที่รัฐ -กฎหมาย/ ประกาศของเทศบาล 1.แก้ ไขกฎหมาย / ระเบียบที่เป็ นอุปสรรค กฎหมาย และการ เมืองพะเยา เช่น ด้ านสาธารณสุข ต่อการพัฒนา โดยรวมให้ เป็ นฉบับเดียว บังคับใช้ การรักษาความสะอาด จราจร ฯลฯ 2. มีกรรมการพัฒนาภาคประชาชน ที่ไม่ - นายกฯ เปลี่ยน นโยบายเปลี่ยนฯ ขึ ้นกับฝ่ ายการเมือง -กฎหมายเทศบาลฯ มีชอ่ งโหว่ให้ ผ้ ู 65


2.สถานที่ทอ่ งเที่ยว

3.การขายของในสวน สมเด็จย่าฯ

มีอํานาจทําเพื่อประโยชน์สว่ นตน ถ้ าขัดผลประโยชน์จะถูกกลัน่ แกล้ ง - เป็ นเมืองผ่าน ไม่มีที่พกั ที่ดงึ ดูดใจ ให้ พกั ค้ าง - การพัฒนากว๊ านพะเยา เช่น หอดู ดาวที่เพิ่งสร้ างเสร็จข้ างสวนสมเด็จ ฯ กีดกันแม่ค้าไม่ให้ ไปขายของ ไม่ให้ มาจอดรถในบริเวณนัน้ - สถานที่ที่จดั ให้ ด้านหลัง สวนสาธารณะ ไม่เหมาะสมสําหรับ ขายอาหาร - ไม่ได้ จดั สถานที่ขายอาหารให้ เป็ น สัดส่วน ปล่อยให้ เป็ นไปตามสภาพ เป็ นหลุมเป็ นบ่อ - ไม่มีป้ายบอกว่า ร้ านอาหารอยูข่ ้ างใน - ไม่มีไฟฟ้า ตอนคํ่าจะไม่มีคนเข้ า มา เพราะมืด - ช่วงที่มีงานบวงสรวงพ่อขุน หรื อ งานขายของที่มีบริษัทมาประมูลจัด ล็อค แม่ค้ากลุม่ นี ้ จะไม่สามารถ ขายได้ เพราะต้ องเสียค่าเช่าล็อค 1,000-1,500 บาท ได้ แต่ขายอยูท่ ี่ เดิม

66

1. ทําป้าย “กว๊ านพะเยา” ที่ชดั เจนจะได้ มี คนมาถ่ายรูปกับป้าย 2. ซ่อมแซมศาลาที่พกั ที่ทรุดโทรมให้ ดีขึ ้น 3.ปรับปรุงภูมิทศั น์บริเวณสวนสาธารณะ 4. มีถงั ขยะ การแยกขยะ 1. ถ้ าจะให้ ขายแบบเดิมให้ เทศบาลจัดทํา ซุ้มขายของเป็ นสัดส่วน มีที่เก็บของที่ เพื่อ ป้องกันคนลักขโมยและทําป้าย ร้ านอาหาร 2. อนุโลมให้ นํารถเข็นออกไปขายหน้ าพ่อ ขุน หรื อบริเวณทางเข้ าสวนสมเด็จย่าฯ ตังแต่ ้ เวลา 15.00-19.00 น. เหมือน จังหวัดอื่น เช่น ที่เชียงแสน ลําพูน โดย แม่ค้าจะต้ องทําความสะอาดหลังขาย อาหารแล้ วเสร็จ 3. ลงทะเบียนแม่ค้าที่ขายของในสวนฯ เพื่อป้องกันแม่ค้าอื่นเข้ ามา และทําบัตร อนุญาตให้ ขาย ติดหน้ าอก รับรองจาก สาธารณสุข 4.ปรับให้ เป็ นสถานที่จอดรถทัวร์ ไม่ให้ จอดริมถนน


5.3.12 กลุ่มชาวประมงพืน้ บ้ านกว๊ านพะเยา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ ชาวประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา ทัง้ 14 ชุมชนรอบ กว๊ านพะเยา ในวันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ ศูนย์การเรี ยนรู้ชมุ ชนประมงสันแกลบดํา อ.เมือง จ.พะเยา โดยมีผ้ เู ข้ าร่วมจากตัวแทนของชุมชนประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา 14 ชุมชนๆ ละ 3 คน รวมทังหมด ้ 45 คน ประเด็นปั ญหาและข้ อเสนอของกลุม่ ต่อการมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา มีดงั นี ้ ประเด็น กว๊ านพะเยาที่อยากเห็น

การใช้ ประโยชน์ของ ชาวประมง

สภาพปั ญหา/ สาเหตุ

การมีสว่ นร่วมของ ชาวประมงที่ผา่ นมา

ความคิดเห็น - ปลอดผักตบชวา - นํ ้าใส ไร้ สารพิษ - ปลาที่มีความหลากหลาย - กว๊ านพะเยาที่มีสภาพเป็ นธรรมชาติ - เป็ นตลาดของชาวประมง หาปลาได้ - แข่งเรื อ - หาปลา - ทํานาบัว - สูบนํ ้าทํานา - หาผักตบชวา - พักผ่อนหย่อนใจ - พันธุ์ปลาและสัตว์นํ ้าลดลง เนื่องมาจากนํ ้าเสียจากครัวเรื อน และ การเกษตร / การจับปลาผิดวิธี / /ปลาขึ ้นมาวางไข่ไม่ได้ จากการสร้ างฝาย และประตูระบายนํ ้า - ปลาชะโดกินลูกปลา แต่ประมงไม่ให้ ใช้ ตาข่ายถี่จบั ทําให้ มีการ แพร่กระจายของลูกปลาชะโดในกว๊ านพะเยา - กว๊ านพะเยาตื ้นเขิน จากการหมักหมมของวัชพืช - หน่วยงานภาครัฐทํางานไม่จริงจัง - ไม่มีการแก้ ไขปั ญหาที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยา ที่มีการออกโฉนดที่ดนิ รอบ กว๊ านพะเยาโดยมิชอบ - พัฒนากว๊ านพะเยา โดยการกําจัดผักตบชวา - สืบชะตากว๊ านพะเยา - ทําเขตอนุรักษ์พนั ธุ์ปลา - ทํางานวิจยั จาวบ้ านเรื่ อง การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ / วิถีชีวิตชาวประมง และ 67


ประเด็น

ข้ อเสนอ

ความคิดเห็น โฮมสเตย์บ้านร่องไฮ - ปล่อยปลาในวันสําคัญ - กําจัดปลาชะโด - นําที่ดนิ ที่มีการออกโฉนดโดยมิชอบกลับคืนมา เป็ นของเขตกว๊ านพะเยา - กรรมการพัฒนากว๊ านพะเยาที่มาจากชาวประมง ชุมชนละ 2 คน - ให้ อปท.และชุมชนรอบกว๊ านพะเยามีบทบาทในการพัฒนากว๊ านพะเยา โดยการจัดสรรงบประมาณ เช่น การกําจัดวัชพืช - ให้ มีธรรมนูญกว๊ านพะเยาแบบมีสว่ นร่วม

5.3.13 กลุ่มคนในเมือง ศิลปิ น และชมรมพะเยาโฟโต้ คลับ สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนา “กลุม่ คนในเมือง ศิลปิ น และชมรมพะเยาโฟโต้ คลับ” จํานวน 20 คน ในวันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ ศูนย์การเรี ยนรู้ชมุ ชนประมงสันแกลบดํา อ.เมือง จ.พะเยา ประเด็นปั ญหาและข้ อเสนอของกลุม่ ต่อการมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา สรุปได้ ดงั นี ้ ประเด็น กว๊ านพะเยาที่อยากเห็นใน อนาคต

การใช้ ประโยชน์ของกลุม่

สภาพปั ญหา/ สาเหตุ

ความคิดเห็นของกลุ่ม 1. คงสภาพความสวยงามตามธรรมชาติ 2. ปลูกต้ นไม้ ท้องถิ่นข้ างกว๊ านพะเยา 3. การดํารงวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรมของคนรอบกว๊ านพะเยา 4. ทําเรื อนโบราณข้ างกว๊ านพะเยาเป็ นพิพิธภัณฑ์ 5. สร้ างชุมชนศิลปิ น 1. พาลูกเดินเล่น /พาสัตว์เลี ้ยงเดินเล่น 2. บําบัดอารมณ์ 3. ขายงานศิลปะ 4. สร้ างแรงบันดาลใจ/ สร้ างสรรค์งานศิลปะ 1. กว๊ านพะเยาไม่มีความน่าสนใจ ที่จะตรึงนักท่องเที่ยวให้ มาพักค้ าง สาเหตุจากหน่วยงานภาครัฐไม่มีไอเดียใหม่ๆ ในการสร้ างจุดเด่นให้ กว๊ าน พะเยา 2. ข้ อเสนอ / ความคิดเห็นของประชาชนไม่ได้ นําไปสูก่ ารปฏิบตั ิ / ไม่ได้ รับ ความสนใจ 3. หน่วยงานภาครัฐขาดการบูรณาการทํางาน ไม่เห็นความสําคัญของการ 68


ประเด็น

การมีสว่ นร่วมของกลุม่ ที่ ผ่านมา

ข้ อเสนอ

ความคิดเห็นของกลุ่ม ส่งเสริมการท่องเที่ยวในกว๊ านพะเยา 4. กลุม่ ฯ ไม่มีชอ่ งทางในการสื่อสารความคิดเห็นไปยังผู้มีอํานาจ / ไม่มี พื ้นที่ในการทํากิจกรรม / ไม่ได้ รับความสําคัญให้ มีบทบาทในการส่งเสริม การท่องเที่ยวกว๊ านพะเยา 5. การแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาไม่ตรงจุด แก้ ปัญหาเก่า แต่เกิดปั ญหาใหม่ เช่น ห้ ามรับประทานอาหารหน้ ากว๊ านพะเยา 6. การพัฒนากว๊ านพะเยาขาดศิลปะ และไม่มีมมุ มองด้ านทัศนศิลป์ 7. วัยรุ่นดื่มสุรา / ขี่จกั รยานยนต์ 8. กิจกรรมการท่องเที่ยวขาดการประชาสัมพันธ์งานที่ชดั เจน /ร้ านอาหาร ขาดระเบียบ 9. นํ ้าเน่าเสีย 10.เป็ นแหล่งหาผลประโยชน์ของข้ าราชการ / นักการเมือง 11. ไม่มีอตั ลักษณ์เฉพาะของกว๊ านพะเยา 12. สิ่งปลูกสร้ างกว๊ านพะเยา ไม่มีจดุ เด่น ไม่มีความหมายใดๆ เช่น พญานาค นํ ้าพุดนตรี 13. บริเวณหน้ ากว๊ านพะเยาที่นกั ท่องเที่ยวนําอาหารมากิน บางจุดไม่มีถงั ขยะ มีหนูวิ่งกินเศษอาหาร เป็ นแหล่งเพาะเชื ้อโรค 14. การใช้ กฎหมายจราจร ที่ไม่สง่ เสริมการท่องเที่ยวให้ กบั นักท่องเที่ยว เช่นการจับกุมการจอดรถ 15.จัดงานประจําปี ควรให้ คนธรรมดาได้ มีสว่ นรับรู้ด้วย พะเยาไม่มีการ จัดการกิจกรรม ต่างคนต่างทํา ทําให้ ขาดพลัง ไม่รับรู้ก็ไม่สามารถกําหนด พื ้นที่ในการถ่ายภาพได้ ไม่สามารถนําเสนอเพื่อโปรโมทจังหวัดได้ 1. จัดกลุม่ สนทนางานด้ านศิลปะ 2. มีสว่ นร่วมตรวจสอบโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา 3. จัดพื ้นที่แสดง และสร้ างสรรค์ผลงานทางศิลปะ 4. วิพากษ์ วิจารณ์ผา่ นสื่อออนไลน์ 1. การกําจัดวัชพืช และผักตบชวา โดยการ - จัดทําโซนนิ่ง โดยการมีสว่ นร่วมของอปท.รอบกว๊ านพะเยา เพื่อให้ ปลา วางไข่ และนําไปใช้ ประโยชน์ในการทําหัตถกรรม - แต่งตังกรรมการดู ้ แลด้ านนี ้ โดยเฉพาะ 69


ประเด็น

ความคิดเห็นของกลุ่ม 2.ให้ กลุม่ ประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา มีสว่ นร่วมในการคิดกิจกรรมเพื่อการ ท่องเที่ยวร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อสร้ างรายได้ เสริมจากการทําประมง 3. เพิ่มจุดขาย/ เพิ่มกิจกรรมการท่องเที่ยวกว๊ านพะเยา เช่น ดูพระอาทิตย์ ตกดิน พระบิณฑบาต / วิถีชีวิตชาวบ้ าน /นัง่ เรื อประมง 4. จัดทําโซนนิ่ง 3 โซน แบ่งเป็ นโซนการท่องเที่ยว / โซนการประมง/ โซน เกษตรกรรม 5.อยากให้ มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ าน ให้ ชัดเจน และเข้ าใจง่าย เพื่อนําไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ ี่ถกู ต้ อง

5.3.14 กลุ่มผู้ใช้ นาํ ้ ท้ ายกว๊ านพะเยา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ ผู้ใช้ นํ ้าท้ ายกว๊ านพะเยา ในวันที่ 18 ตุลาคม 2554 ณ ศาลาเอนกประสงค์วดั สั นต้ นผึ ้ง อ.ภูกามยาว ผู้เข้ าร่วมประกอบด้ วย กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ประธานและ สมาชิกกลุม่ ผู้ใช้ นํ ้าฝายต่างๆ ที่อยูท่ ้ ายกว๊ านพะเยา จํานวน 30 คน การจัดการนํ ้าในลุม่ นํ ้าอิงตอนกลาง จากท้ ายนํ ้ากว๊ านพะเยาไปจนถึงอําเภอเทิง จะมีประตูระบาย นํ ้า (ปตร.) จํานวน แห่ง ในตําบลท่าวังทอง ตําบลแม่อิง ตําบลดงสุวรรณ ตําบลป่ าซาง ตําบลห้ วยลาน ตําบลห้ วยแก้ ว การพูดคุยถึงปั ญหาและทางออก สรุปได้ ดงั นี ้ ประเด็น สภาพปั ญหา ข้ อเสนอ 1. การบริหารจัดการนํ ้า - สภาพแม่นํ ้าอิงที่เปลี่ยนแปลงไป การ -ถ้ ามีโครงการพัฒนาเข้ ามาในชุมชน ท้ ายกว๊ านพะเยา ตื ้นเขิน และแคบของลํานํ ้า การทําฝาย ควรจะมาจัดเวทีให้ ชาวบ้ านแสดง (ปตร.) จึงทําให้ เป็ นการสร้ างปั ญหา ความคิดเห็น มากกว่าการแก้ ไขปั ญหา - การแก้ ไขปั ญหาระยะยาว มากกว่า - ในการสร้ างปตร.แทนฝายนํ ้าล้ นเก่าไม่ การแก้ ปัญหาเป็ นครัง้ คราว เป็ นการ มีการประชุมขอความคิดเห็นจากชุมชน ใช้ งบประมาณ โดยไม่ถกู จุด โดยรื อ้ ฝายเก่าออก และบางฝายมี -หน่วยงานภาครัฐที่เข้ ามาทํางาน ความถี่มากเกินไป ควรจะมีการบูรณาการแผน -ได้ เสนอไปยังชลประทาน และหน่วยงาน โครงการการจัดการนํ ้ากว๊ านพะเยา แต่ไม่มีการทําอย่างจริงจัง ร่วมกัน -ไม่มีเหมืองซอย (เหมืองไส้ ไก่ในไร่นา -จัดตังสภาของภาคประชาชน ้ เพื่อ เพียงกักเก็บนํ ้าอย่างเดียว) เป็ นกลไกในการต่อรอง และนําเสนอ -หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการนํ ้า แผนของชุมชน ต่อหน่วยงาน ทํา 70


ประเด็น

สภาพปั ญหา ในกว๊ านพะเยามีหลายหน่วยงาน เช่น ชลประทาน ประมง -หน่วยงานภาครัฐไม่มีความจริงใจในการ แก้ ไขปั ญหา -นํ ้าท่วมในที่นา เพราะนํ ้าไหลลงแม่นํ ้าอิง ไม่ได้ มีวชั พืช และต้ นไม้ ขวางในแม่นํ ้าอิง -การขุดลอกนํ ้าอิง โดยมีการขุดและ นํามาถมริมฝั่ ง ไม่ได้ นําดินไปทิ ้งที่อื่น -หน่วยงานได้ เข้ ามาขุดลอกช่วงฤดูฝน และนําดินถมฝั่ ง เมื่อฝนตกลงมาทําให้ ดินไหลงลงมาที่เดิม เป็ นการใช้ งบประมาณที่ไม่ค้ มุ ทุน -ปตร.นํ ้าอิง บางแห่งไม่สามารถกักเก็บ นํ ้าได้ -แผนชุมชนที่ได้ จดั ทําไว้ ไม่ได้ ถกู บรรจุใน แผนของหน่วยงาน

ข้ อเสนอ หน้ าที่ตดิ ตามแผนงานที่ได้ เสนอไป แล้ ว จากหน่วยงานภาครัฐ โดยมี การจัดตังกลไกดั ้ งนี ้ 1) ตัวแทนจากผู้นําชุมชน กลุม่ ผู้ใช้ นํ ้า กลุม่ อนุรักษ์ป่า กลุม่ อนุรักษ์พนั ธุ์ ปลาในแต่ละตําบล 2) นายกเทศบาล/อบต./พระสงฆ์ - การเพิ่มปริมาณการกักเก็บนํ ้า โดย 1) ขุดลอกแม่นํ ้าอิง หรื อขุดลอก หนองนํ ้า เช่น หนองขวาง ต.ดง สุวรรณ เพื่อกักเก็บนํ ้าให้ มากขึ ้นให้ มี ความลึกมากขึ ้น โดยต้ องนําดินไป ถมในพื ้นที่ลมุ่ ตํ่า และควรขุดลอกใน ฤดูแล้ งระหว่างมกราคม-กุมภาพันธ์ รวมทังมี ้ คณะกรรมการร่วมกับ หน่วยงานที่เข้ ามาขุดลอก เพื่อให้ ชุมชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนา และ การตรวจสอบการทํางานของภาครัฐ 2) กําจัดวัชพืชริมนํ ้า โดยเฉพาะ ไมยราบยักษ์ ซึง่ กีดขวางทางนํ ้า 3) ทําบานนํ ้าล้ น และปิ ดบางบาน เพื่อกักเก็บนํ ้า 4) การใช้ ภมู ิปัญญาชาวบ้ านในการ แก้ ไขปั ญหา เช่น การขุดสระในไร่นา เพื่อกักเก็บนํ ้า 2. ความขัดแย้ ง และ -นํ ้าไม่เพียงพอในการทํานาปรัง เพราะนํ ้า -ทําแผนชุมชน โดยแต่ละชุมชน การแย่งชิงในการใช้ นํ ้า ไม่มาถึงฝายในหมูบ่ ้ านของตนเอง (บ้ าน จัดหาพื ้นที่กกั เก็บนํ ้า โดยขุดลอกนํ ้า ท้ ายกว๊ านพะเยา เพื่อ กาดถี) ต้ องมานอนเฝ้านํ ้า แต่ถึงฤดูนํ ้า อิง เจาะนํ ้าบาดาล ทําแก้ มลิง เพื่อ การทํานาปรัง หลาก กลับปล่อยนํ ้าลงมาในนาทําให้ นํ ้า เก็บกักนํ ้าไว้ ในฤดูนํ ้าหลาก ท่วม - จัดตังกลไกภาคประชาชนที ้ ่มาจาก 71


ประเด็น

3. การจัดการนํ ้าใน กว๊ านพะเยา

สภาพปั ญหา - มีการประชุมกับผู้วา่ ฯ ชลประทาน และ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ องหลายครัง้ แต่ไม่มีการแก้ ปัญหา ได้ อย่างแท้ จริง - มีการประชุมผู้นํา ผู้ใช้ นํ ้าได้ มาชี ้แจง เรื่ องการใช้ นํ ้า แต่ลกู บ้ านไม่เข้ าใจ ยังมี การแย่งชิงนํ ้าก่อให้ ความรุนแรงกันขึ ้น และลักลอบสูบนํ ้าในช่วงกลางคืน -พื ้นที่ทํานาปรังมีมากกว่าแสนไร่ แต่ ปริมาณนํ ้าในกว๊ านพะเยาไม่เพียงพอ เพราะต้ องนํานํ ้าไปใช้ ประโยชน์ในการทํา ประปา และการท่องเที่ยว -แก่เหมืองแก่ฝายไม่มีบทบาทในการ จัดการนํ ้า ไม่สามารถแก้ ไขปั ญหาการ แย่งชิงนํ ้าได้ -องค์กรของเกษตรกร หรื อภาคประชาชน ไม่มีความเข้ มแข็ง - แนวเขตของกว๊ านพะเยาไม่ชดั เจน

4. การพัฒนา และการ -การสร้ างถนนขวางลํานํ ้า เช่น สายห้ วย ขายที่ดนิ ให้ นายทุน ลาน ต่างชาติ -นายทุนมากว๊ านซื ้อที่ดนิ ปลูกสิ่งก่อสร้ าง ขวางทางนํ ้า -คนต่างชาติเข้ ามาซื ้อที่ดนิ ปลูกแก้ ว มังกร ทําฟาร์ มหมู โดยทําคันดินกันไม่ ้ ให้ นํ ้าท่วมในที่ดนิ ของตนเอง แต่ทําให้ นํ ้า เอ่อท่วมในที่นาของชาวบ้ าน 72

ข้ อเสนอ ผู้นํา ผู้ใช้ นํ ้า เกษตรกรทํานา เข้ ามา เป็ นคณะกรรมการในการจัดการนํ ้า ร่วมกัน เพื่อแก้ ไขปั ญหาการแย่งชิง นํ ้า

-กําหนดขอบเขตของกว๊ านพะเยาให้ มีความชัดเจน - การขุดลอกกว๊ านพะเยา เพื่อให้ มี พื ้นที่รับนํ ้า โดยนําดินไปทิ ้งในพื ้นที่ ลุม่ เช่น ต.ท่าวังทอง ต.แม่ปืม ในอ. เมือง - ออกกฎหมายห้ ามขายที่ดนิ ให้ คน ต่างชาติ


5.3.15 กลุ่มหน่ วยงานภาครัฐ สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั เวที สนทนากลุม่ หน่วยงานภาครัฐ ในวันที่ 25 มกราคม 2555 ณ โครงการชลประทานพะเยา อ.ดอกคําใต้ จ.พะเยา โดยมีผ้ เู ข้ าร่วมจากหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดพะเยา จํานวน 15 คน นายชัยวัฒน์ จันธิมา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ เล่าถึ งความเป็ นมาของ โครงการวิจยั เพื่อ เสริมสร้ าง ศักยภาพ ความเข้ มแข็งด้ านกฎหมายแก่ภาคประชาชน ศึกษากรณีชมุ ชนรอบกว๊ านพะเยา จ. พะเยา มีเป้าหมายเพื่อหาทางออกร่วมกันของกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในการจัดการกว๊ านพะเยาทุกกลุม่ โดยใช้ วิธีการสานเสวนาหาทางออกร่วมกัน ที่มาจากการกําหนดโจทย์ร่วม การกําหนดฉากทัศน์ การศึกษา ข้ อดีข้อด้ อยของฉากทัศน์แต่ละฉาก หรื อข้ อดีข้อด้ อยของแต่ละทางออก และนําทางออกของแต่ละทางมา สานเสวนาเพื่อหาฉันทามติร่วม นําไปสูก่ ารแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาร่วมกันต่อไป ที่ประชุมได้ ให้ คณ ุ วิวฒ ั น์ ปรารมภ์ ผู้อํานวยการศูนย์วิจยั ประมงนํ ้าจืดพะเยา เป็ นประธาน สรุปได้ การพูดคุยได้ ดังนี ้ คุณเจนศักดิ์ ลิมปิ ติ โครงการชลประทานพะเยา การพัฒนากว๊ านพะเยาในโครงการ พระราชดําริ และครม.สัญจร ในการประสานงานกับมูลนิธิชยั พัฒนาอยากเห็นการพัฒนาที่เป็ นต้ นแบบ 1 โครงการ จึงเสนอการพัฒนาในลุม่ นํ ้าขนาดเล็กตังแต่ ้ ต้นนํ ้าถึงปลายนํ ้าก่อน เช่น ลํานํ ้าตุน่ เพื่อให้ เห็นผลที่ เป็ นรูปธรรมก่อน งานโครงการชลประทานพะเยา มีบทบาทด้ านการพัฒนาแหล่งนํ ้า โดยพบปั ญหากับทสจ. เพราะ พื ้นที่อยูใ่ นเขตป่ า จะทําโครงการแหล่งติดพื ้นที่ป่าอนุรักษ์ การพัฒนากว๊ านพะเยา จะขัดแย้ งกับกฎหมาย ส่วนการบริหารจัดการ การใช้ ประโยชน์มีหลายด้ าน และไม่สอดคล้ องกัน ไม่สามารถนําจิ๊กซอว์มาต่อกันได้ การที่จะทําให้ สําเร็จ จะต้ องมาพูดคุยกัน เพื่อหาทางออกที่แต่ละหน่วยงานรับได้ เช่น การลดระดับ นํ ้าในกว๊ านพะเยา การทําท่อนํ ้าประปาลงให้ ลกึ มากขึ ้น การขุดลอกกว๊ านพะเยาให้ แต่ละส่วนมีการใช้ ประโยชน์ให้ ชดั เจน เช่น ทํานํ ้าประปา เพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า การท่องเที่ยว การทําที่เก็บนํ ้าในไร่นาให้ มากขึ ้น การจัดการกว๊ านพะเยาต้ องมีเจ้ าภาพ มีการกํากับที่ชดั เจน เพื่อให้ มีการพัฒนาที่เร็วมากขึ ้น โดย คนที่มีสว่ นได้ เสีย ควรเข้ ามามีสว่ นร่วม แต่การพัฒนากว๊ านพะเยา มีทงด้ ั ้ านได้ ประโยชน์ และเสียประโยชน์ แต่การพัฒนาต้ องคํานึงถึงการได้ ประโยชน์มากกว่า เช่นการขุดลอก อ.ธีรพจน์ ศุภวิริยะกิจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.พะเยา เสนอประเด็นการกําจัดผักตบชวา และการตื ้นเขินของกว๊ านพะเยา โดยปั จจัยหลักคือเรื่ องทุนที่จะมาดําเนินงาน โดยม.พะเยาเน้ นเรื่ องการทํา วิจยั และวิชาการ ที่ผา่ นมามีการประสานงานกับชลประทาน คุณอดิศร เรือลม สํานักงานผังเมืองและโยธาธิการพะเยา ทําหน้ าที่ควบคุมการใช้ พื ้นที่กว๊ าน พะเยา และพื ้นที่โดยรอบ โดยใช้ กฎหมาย 2 ฉบับคือ พรบ.ผังเมือง แปละพรบ.ควบคุมอาคาร โดยจัด ระเบียบให้ กว๊ านพะเยา เป็ นไปตามหน้ าที่การใช้ งาน และส่งเสริมการใช้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยาตามที่ ประชาชนต้ องการ เช่น การทําระบบระบายนํ ้า ถนน ทางระบายนํ ้า

73


ปั ญหาในการทํางาน คือ คิดแผนแล้ วไม่ได้ ทํา เพราะไม่มีงบประมาณในการทําหรื อ คิดแล้ ว หน่วยงานที่ทําไม่ได้ นําไปปฏิบตั จิ ริง ประชาชนไม่เข้ าใจระบบผังเมือง จึงไม่สามารถควบคุมพื ้นที่ได้ การหา ข้ อยุตไิ ม่ได้ ในการพัฒนากว๊ านพะเยาจากการประชุมต่างๆ สิ่งที่หาคําตอบไม่ได้ คือกว๊ านพะเยา ทําบทบาทหน้ าที่อะไรในประโยชน์โดยรวม ถ้ าหาจุดร่วมได้ ว่ากว๊ านพะเยาทําหน้ าที่เดียวกันจะเห็นทางออกในการแก้ ไขปั ญหาได้ กว๊ านพะเยาเป็ นพื ้นที่ชมุ่ นํ ้า ที่ให้ บริการเรื่ องนํ ้า และเพาะพันธุ์ปลา มูลนิธิชยั พัฒนาได้ มองเรื่ อง คุณภาพนํ ้าและปริมาณนํ ้า การแก้ ไขปั ญหาไม่ควรแก้ ไขปั ญหามิตเิ ดียว เพราะกว๊ านพะเยา มีทกุ มิตทิ งั ้ กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้ อม กว๊ านพะเยาอยูใ่ นการปกครองของใคร เพราะตามราชพัสดุ 16000 ไร่ แต่ปัจจุบนั มีเพียง 12861 ไร่ ซึง่ จะเห็นปั ญหาที่ซบั ซ้ อน ตามบทบาทหน้ าที่ของหน่วยงานต้ องทํา แต่คนพะเยาต้ องลุกขึ ้นมาทําด้ วย จิตสํานึกของคนพะเยา คุณอรั ญญา ศักดิ์วงค์ สํานักงานทางหลวงชนบท การก่อสร้ างแนวถนนรอบกว๊ านพะเยา ตาม แนวคันดินเดิมที่มีอยู่ ในอนาคตจะดําเนินการต่อจากส่วนขยายเพิ่มเติม โดยสิ ้นสุดที่บ้านร่องไฮ เพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยว ปั ญหาที่พบคือ แนวเขตกว๊ านพะเยาไม่มีความชัดเจน จึงไม่สามารถทําถนนได้ นอกจากนี ้ควรอนุรักษ์กว๊ านพะเยาให้ เป็ นธรรมชาติมากที่สดุ ไม่ควรมีโครงการก่อสร้ างมาก โดยเฉพาะส่วน ตะวันตก ควรแบ่งเป็ นโซนการพัฒนา คุณอนันต์ ภัทรเดชมงคล ปลัดอําเภอเมืองพะเยา ทางอําเภอเมืองพะเยาไม่ได้ รับผิดชอบ โดยตรง ซึง่ กว๊ านพะเยายังไม่มีหน่วยที่เป็ นเจ้ าภาพหลัก และไม่มีงบประมาณในการดําเนินงานที่เต็มที่และ ต่อเนื่อง การดําเนินงานของภาครัฐยังมีความขัดแย้ งกันในด้ านการพัฒนา เช่น การขุดลอก การเพาะเลี ้ยง สัตว์นํ ้า หรื อการใช้ นํ ้าในการเกษตร ซึง่ การพัฒนาต้ องมีความสมดุล มีการพูดในการพัฒนากว๊ านพะเยาหลายครัง้ แต่ไม่มีความเคลื่อนไหว ระยะหลังมีโครงการ พระราชดําริเข้ ามา โดยมีการเชิญภาคีเข้ ามาให้ ข้อคิดเห็น จะทําให้ การพัฒนากว๊ านพะเยามีความชัดเจน มากขึ ้น ข้ อควรระวังคือ การพัฒนาไม่ควรให้ เกิดนํ ้าเสียในกว๊ านพะเยา เพราะจะทําให้ เกิดผลกระทบต่อ แหล่งนํ ้า ควรมีการบําบัดนํ ้าเสียก่อนลงสูก่ ว๊ านพะเยา ซึง่ ทางผู้วา่ ฯ มีโครงการอนุรักษ์กว๊ านพะเยา เช่น การ บําบัดนํ ้าเสียโดยใช้ Dasta ball ทิ ้งลงกว๊ านพะเยา คุณวิวัฒน์ ปรารมภ์ ศูนย์ วิจัยประมงนํา้ จืดพะเยา บทบาทหน้ าที่ในการดูแลกว๊ านพะเยาตาม พระราชบัญญัตปิ ระมงปี 2482 กล่าวว่ากว๊ านพะเยาเป็ นพื ้นที่ราชพัสดุ โดยกรมธนารักษ์ แต่กว๊ าน พะเยาการบุกรุกยังมีน้อย และคุณภาพนํ ้าดีกว่าที่อื่น กรมประมงมีการทํากิจกรรมในการขุดลอกกว๊ าน พะเยา เป็ นประจําทุกปี โดยศูนย์จกั รกลเชียงราย มีการปล่อยปลา การกําจัดปลาชะโด การรับซื ้อปลาชะโด แต่ขาดการประชาสัมพันธ์ การทํางานของกรมประมง จะเป็ นกรรมการกลาง มองภาพกว๊ านพะเยาทังหมด ้ ไม่เหมือนหน่วยงานอื่นที่ดแู ลเฉพาะหน้ าบ้ านของตนเอง มีข้อเสนอว่า 74


1.การพัฒนาต้ องการรับฟั งเสียงของคนพะเยา นักท่องเที่ยวอย่างรอบด้ าน 2. การทํางานกับชุมชนมีเทคนิค การปล่อยให้ นํ ้าท่วมในพื ้นที่ต้นนํ ้ากว๊ านพะเยา เพื่อป้องกันการ บุกรุกพื ้นที่ การทํางานมีผลกระทบกับชุมชนแน่นอน แต่ต้องมีคนที่ได้ ประโยชน์และเสียประโยชน์ 3. บริเวณที่มีการดูดดินขึ ้นมาในเขตเทศบาลตําบลบ้ านต๋อม จะต้ องขุดดินออก คุณชูชีพ ปั นแก้ ว สํานักงานทสจ.พะเยา อํานาจหน้ าที่ตามพรบ.ด้ านสิ่งแวดล้ อมต่างๆ โดยดูแล ตังแต่ ้ ต้นนํ ้า กลางนํ ้า ปลายนํ ้า มีพรบ.อุทยาน พรบ.ป่ าไม้ พรบ.ส่งเสริมคุณภาพสวล. ปี 2535 มีการ ประสานงานกับสํานักงานสวล.ภาค 2 ลําปาง ในการตรวจคุณภาพนํ ้าในกว๊ านพะเยา การป้องกันการบุก รุกป่ า การแผ้ วถางป่ า การเกษตรกรรม การบุกรุกพื ้นที่ ได้ รับการสนับสนุนจากโครงการพระราชดําริ มูลนิธิ ชัยพัฒนา งานที่ทําตามนโยบายของผู้วา่ ราชการ จ.พะเยา คือ โครงการภูมิทศั น์ รักษ์กว๊ านพะเยา เพื่อ แก้ ไขปั ญหานํ ้าเสียในกว๊ านพะเยา โครงการพระราชดําริในกว๊ านพะเยา โครงการรักษ์ป่า คุณวรรณวิมล แพ่ งประสิทธิ์ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา ทําหน้ าที่การเฝ้าระวัง คุณภาพนํ ้าที่จะปล่อยออกจากโรงพยาบาลพะเยา และวิทยาพยาบาลพะเยา มีการตรวจคุณภาพนํ ้าทุก เดือน การดูแลสุขลักษณะของแผงลอยร้ านอาหารในบริเวณรอบกว๊ านพะเยา ตามพรบ.สาธารณสุข การ พัฒนากว๊ านพะเยา สิ่งสําคัญคือ ความร่วมมือของภาคประชาชน และการสร้ างความเข้ าใจให้ แก่ภาค ประชาชน การหาเวทีคืนข้ อมูล และการประชาสัมพันธ์ให้ แก่ประชาชนทราบในวงกว้ าง โดยเพิ่ม งบประมาณด้ านการประชาสัมพันธ์ให้ คนได้ รับทราบ คุณอดุลย์ วงค์ ช่างเงิน อบจ.พะเยา กล่าวว่ากว๊ านพะเยา ควรให้ คนพะเยารับผิดชอบ แต่กรม ประมงรับผิดชอบ ซึง่ บางอย่างอบจ.ทําได้ แต่บางอย่างอบจ.ทําไม่ได้ อํานาจหน้ าที่บางอย่างซ้ อนทับกันอยู่ แต่มีการบูรณาการงานกัน โดยเฉพาะการขุดลอกและกําจัดผักตบชวา ซึง่ ได้ รับความร่วมมือจากทุก หน่วยงาน ติดขัดกฎหมาย อํานาจหน้ าที่ของหน่วยงานภาครัฐ เช่น กรณีการสร้ างหอดูดาว เคยขอใช้ สถานที่จากกรมประมง แต่ไม่อนุญาต โดยอบจ.มีข้อเสนอในการจัดการกว๊ านพะเยา ดังนี ้ 1. การจัดเก็บผักตบชวา โดยดําเนินงานให้ เป็ นรูปธรรม โดยนํามาทําปุ๋ย ทําก๊ าซชีวภาพ จัก สาน พลังงานทางเลือก 2. ความเป็ นเจ้ าของกว๊ านพะเยา ถ้ าเป็ นของจังหวัด จะมีความคล่องตัวมากขึ ้นในการพัฒนา 3. การแบ่งโซนการพัฒนากว๊ านพะเยา เพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ 4. การตังคณะทํ ้ างาน ซึง่ มีในระดับจังหวัด และของโครงการพระราชดําริ 5. การทําผังเมืองเฉพาะกว๊ านพะเยา คุณโสภา สุขแสนโชติ สํานักงานประมงจังหวัดพะเยา ทําหน้ าที่ตามกฎหมายประมง ที่แบ่ง กว๊ านพะเยาออกเป็ น 2 เขต โดย 4 พันไร่ ห้ ามการทําประมงโดยเด็ดขาดในเขตหนึง่ ส่วนเขตสองทําการ ประมงได้ โดยใช้ เครื่ องมือการทําประมงที่ระบุไว้ ปั ญหาที่พบคือ การลักลอบทําประมงในเขต 1 ความ ขัดแย้ งกับชาวประมง ต่อมาในปี 2547 มีโครงการคืนชีวิตสูก่ ว๊ านพะเยา โดยการทํางานเชิงรุกกับ 75


ชาวประมง โดยการพูดคุยทําความเข้ าใจกับชุมชนชาวประมงรอบกว๊ านพะเยา อนุญาตให้ มีแหล่งอนุรักษ์ ชุมชนๆละ 10 ไร่ กระชังเลี ้ยงปลา เพื่อการอนุรักษ์ มีกิจกรรมประมงสัญจรแบบสภากาแฟที่ไม่เป็ นทางการ ผลที่เกิดขึ ้นพบว่า มีความสัมพันธ์ที่ดีขึ ้นทังแบบเป็ ้ นทางการและแบบไม่เป็ นทางการ ได้ รับความ ร่วมมือกับชาวประมงมากขึ ้น มีข้อเสนอแนะว่าการพัฒนากว๊ านพะเยา ควรมีการพัฒนาด้ านสังคมด้ วย ไม่ใช่เพียงโครงสร้ าง และทุกฝ่ ายควรเข้ าไปหาชุมชน ทํางานเชิงรุกกับชุมชน สรุปการทํางานของภาครัฐที่ผ่านมา 1. การทํางานภาครัฐที่ผา่ นมาขาดการทําความเข้ าใจ และการประชาสัมพันธ์ให้ แก่ประชาชน 2. ความไม่สอดคล้ องกัน ขาดการบูรณาการงานร่วมกัน 3. กฎหมายเป็ นปั ญหาของการพัฒนา แม้ แต่หน่วยงานภาครัฐด้ วยกันเอง 4. การสร้ างการยอมรับซึง่ กันและกัน ความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ กันระหว่างหน่วยงานราชการเอง และ ระหว่างภาคประชาชน 5. การจัดการที่ให้ ชาวบ้ านจัดการเองไม่ได้ แต่ต้องมีภาคีร่วม โดยมีเงื่อนไขให้ มีพี่เลี ้ยงจาก ภาครัฐ ประชาสังคม 6. การมีเวทีของภาครัฐ โดยให้ ฝ่ายประมง ชลประทาน และทสจ.เป็ นคนกลางชวนคุย และจัด เวทีในครัง้ ต่อไป โดยมีประเด็นพูดคุยในครัง้ หน้ าแบบไม่เป็ นทางการ 7. บรรยากาศของเวที ทําให้ ประเด็นคําถามที่คาใจของแต่ละหน่วยงาน ได้ รับการชี ้แจงในสิ่งที่ไม่ เข้ าใจ 5.4 เวทีสานเสวนาหาทางออกในการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่ างมีส่วนร่ วม หลังจากที่สถาบันปวงผญาพยาวได้ จดั เวทีสนทนากลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียรอบกว๊ านพะเยา จํานวน 15 กลุม่ แล้ ว ได้ สรุปทางออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา และ จัดเวทีสานเสวนาหาทางออกในการ พัฒนากว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงเรี ยนพระปริยตั ธิ รรม วัดศรี โคมคํา อ.เมือง จ.พะเยา โดยมีผ้ เู ข้ าร่วมที่เป็ นตัวแทนจากภาคประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่น สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐในจังหวัดพะเยา จํานวน 60 คน โดยมีกระบวนการดังนี ้ 3 1. ชมวีดีทศั น์กระบวนการและผลการดําเนินงานวิจยั 2. เสวนา ‚ข้ อค้ นพบจากกระบวนการวิจยั ‛ 3. แลกเปลี่ยนประเด็น‚สานพลังท้ องถิ่น-ราชการ-วิชาการ-ประชาชนร่วมกําหนดอนาคตกว๊ าน พะเยา 4. แสดงปั จฉิมกถา เรื่ อง ‚กว๊ านพะเยาลือเลื่อง เมืองแห่งกว๊ าน‛โดย นายไมตรี อินทุสตุ ผู้วา่ ราช จังหวัดพะเยา 3

อ่านรายละเอียดในภาคผนวก 3 76


5. ผู้วา่ ราชการจังหวัด และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ตัวแทนหน่วยงานราชการ ภาค ประชาชน ภาควิชาการลงนามในฉันทามติร่วม และถ่ายรูปร่วมกัน เวทีสานเสวนาเพื่อหาทางออกให้ กบั กว๊ านพะเยา จึงถือเป็ นก้ าวแรกของกระบวนการทังหมดที ้ ่ทํา ให้ เกิดผลลัพธ์ดงั กล่าว อันเป็ นเส้ นทางสําคัญในลําดับต่อไปที่จะขับเคลื่อนงานพัฒนากว๊ านพะเยาและการ พัฒนาอื่นๆ ในอนาคต ซึง่ ต้ องถือเป็ นคํามัน่ สัญญาใจของคนพะเยาทุกภาคส่วนที่จะต้ องจับมือ ร่วมใจขับ ขับเคลื่อนความคิด ไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ ี่เป็ นรูปธรรม ซึง่ จะนําไปสูก่ ารแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาได้ อย่างแท้ จริง 5.5 ข้ อสรุปทางออก และกลไกการจัดการ ทุกภาคส่วนมีฉนั ทามติที่เป็ นความเห็น พ้ องต้ องกันในการบริหารจัดการกว๊ านพะเยา เพื่อหาทาง ออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาร่วมกัน ใน 3 ประเด็น ได้ แก่ 5.5.1 ให้ มี การจัดการกว๊ านพะเยาให้ ฟืน้ ฟูและพัฒนา ระบบนิเวศกว๊ านพะเยา โดยมีแนวทางดังนี ้ 1. การอนุรักษ์และฟื น้ ฟูกว๊ านพะเยา/ป่ าต้ นนํ ้า 2. การรักษาคุณภาพนํ ้า/เน่าเสีย/สารเคมี 3. การขุดลอกที่ตื ้นเขิน 4. การกําจัดวัชพืช-ผักตบชวา 5. การอนุรักษ์พนั ธ์ปลา/สัตว์นํ ้า 6. การจัดภูมิทศั น์เพื่อการท่องเที่ยว 7. การจัดวางระบบผังเมือง 5.5.2 ให้ จดั ระบบการบริหารจัดการกว๊ านพะเยาโดยการมีสว่ นร่วม โดยมีแนวทางดังนี ้ 1. การมีธรรมนูญกว๊ านพะเยาหรื อกฎหมายเฉพาะพื ้นที่ 2. การตังคณะกรรมการท้ ้ องถิ่น/สภาพัฒนากว๊ านพะเยา 3. การสร้ างเครื อข่ายระดับลํานํ ้าสาขา/เครื อข่ายระหว่างหน่วยงานรัฐ-ชุมชน 4. การตังกองทุ ้ นพัฒนากว๊ านพะเยา 5.5.3 ให้ จดั ระบบความรู้และเครื อข่าย เพื่อสร้ างจิตสํานึกร่วมเป็ นเจ้ าของกว๊ านพะเยา โดยมี แนวทางดังนี ้ 1. การให้ ความรู้ /หลักสูตรท้ องถิ่น ด้ านทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อม /ประวัตศิ าสตร์ วิถีชมุ ชน ท้ องถิ่น 2. การศึกษาวิจยั เพื่อการพัฒนา 3. การจัดเวทีสาธารณะ/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ 4. การสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์

77


ในการจัดการ ได้ มีการจัดตังตั ้ วแทนจากแต่ละเครื อข่าย เป็ นคณะทํางานในการประสานความ ร่วมมือกับแต่ละเครื อข่าย ดังนี ้ 1. นายสมศักดิ์ เทพตุน่ เครื อข่ายภาคประชาชน 2. นายเจนศักดิ์ ลิมปิ ติ เครื อข่ายภาครัฐ 3. นายรัฐวุฒิชยั ใจกล้ า เครื อข่ายองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น 4. ผศ.ดร. สุขทัย พงษ์พิพฒ ั นศิริ เครื อข่ายนักวิชาการ 5. นายชัยวัฒน์ จันธิมา เครื อข่ายภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจ

78


บทที่ 6 สรุ ปผลการศึกษา การดําเนินโครงการวิจยั การสร้ างพลังทางกฎหมายแก่ภาคประชาชนด้ วยการสานเสวนาหาทาง ออก เพื่อแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ผลการศึกษาสรุปตามประเด็นดังนี ้ 6.1 สภาพปั ญหาของกว๊ านพะเยา 6.1.1 ด้ านการมีส่วนร่ วมในการจัดการ และการพัฒนากว๊ านพะเยา 1. การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการพัฒนากว๊ านพะเยา ยังไม่ครอบคลุมกลุม่ ผู้ที่มีสว่ นได้ สว่ น เสียทังหมด ้ รวมทังชุ ้ มชนที่อยูร่ อบกว๊ านพะเยา ซึง่ เป็ นกลุม่ ที่ได้ รับผลกระทบโดยตรงจากการพัฒนากว๊ าน พะเยา 2. การพัฒนากว๊ านพะเยาไม่ตอ่ เนื่อง ไม่ตอบสนองความ ต้ องการของประชาชน และวิถีของชุมชน มีกลุม่ ผลประโยชน์ และกลุม่ เสียผลประโยชน์ในการพัฒนากว๊ านพะเยา และการผูกขาดการพัฒนากว๊ าน พะเยาที่หน่วยงานภาครัฐ 3. แผนงาน/โครงการพัฒนากว๊ านพะเยา ถูกกําหนดจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ไม่ได้ รับฟั งความ คิดเห็นของชุมชน 4. คณะกรรมการพัฒนากว๊ านพะเยา ที่ถกู แต่งตังโดยผู ้ ้ วา่ ราชการจังหวัด มีสดั ส่วนของภาค ประชาชนจํานวนน้ อย และไม่ได้ เป็ นตัวแทนของชุมชน อีกทังชุ ้ มชนไม่ได้ รับรู้และเห็นถึงบทบาทหน้ าที่ใน การทํางานของคณะกรรมการฯ 5. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา มีหลายหน่วยงาน แต่ทํางานแบบแยกส่วน ไม่มี ความเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน ขาดการบูรณาการกั นทังแผนงาน ้ งบประมาณ และบุคลากร ส่งผลให้ ไม่มี เจ้ าภาพหลักในการพัฒนากว๊ านพะเยา เจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ อง ไม่ได้ ปฏิบตั งิ านจริงจังคิดแบบเดิม ทํา แบบเดิม การพัฒนากว๊ านพะเยาไม่มีความก้ าวหน้ า 6. การโยกย้ ายข้ าราชการ หรื อหมดวาระโดยเฉพาะระดับบริหาร เช่น ผู้วา่ ราชการจังหวัด นายก เทศบาล นายกอบจ. มีผลต่อการตัดสินใจและการเปลี่ยนแปลงนโยบายในการพัฒนากว๊ านพะเยา 7. มีปัญหา ข้ อขัดแย้ ง และข้ อคิดเห็นในการพัฒนากว๊ านพะเยาที่หลากหลาย แต่ไม่มีเจ้ าภาพใน การนําปั ญหา ข้ อขัดแย้ ง และข้ อคิดเห็นมาพูดคุย เพื่อหาทางออกในการจัดการกว๊ านพะเยา เช่น ความ ขัดแย้ งของชาวบ้ านในพื ้นที่ต้นนํ ้า และท้ ายนํ ้า ที่เกิดจากขาดการจัดการ และจัดสรรนํ ้าในกว๊ านพะเยาที่ไม่ มีประสิทธิภาพ

79


8. ไม่มีชอ่ งทางในการสื่อสารในการพัฒนากว๊ านพะเยาให้ กบั ชุมชน การเปลี่ยนแปลง กว๊ านพะเยา ที่เกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ว โดยการพัฒนา ไม่มีความสอดคล้ องกับ สภาพของท้ องถิ่น เช่น พญานาคหน้ ากว๊ าน พะเยา การปลูกต้ นปาล์มที่ไม่ใช่เป็ นต้ นไม้ ท้องถิ่น เป็ นต้ น 9. เสียงสะท้ อน หรื อข้ อคิดเห็นของประชาชนที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา ไม่ได้ นําไปสูก่ ารปฏิบตั ิ และ ไม่ได้ รับความสนใจจากภาครัฐ หรื อผู้ที่เกี่ยวข้ อง 6.1.2 ด้ านระบบนิเวศ 1. เกิดความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศกว๊ านพะเยา ได้ แก่ คุณภาพนํ ้าตํ่า นํ ้าเน่าเหม็นในบางจุด พันธุ์ปลาและสัตว์นํ ้าลงลง บางชนิดสูญพันธุ์ ส่งผลต่อการประกอบอาชีพประมงกว๊ านพะเยาที่ลดลง และ ชาวประมงหันไปประกอบอาชีพอื่น 2. ปั ญหาของการกําจัดผักตบชวาและวัชพืช (ปึ๋ ง) - การกําจัดไม่ถกู วิธี และไม่เหมาะสมกับสภาพพื ้นที่ หน่วยงานภาครัฐมีงบประมาณในการกําจัด ผักตบชวาทุกปี แต่ไม่ทํางานอย่างจริงจัง และจะทําเพียงจุดเดียว ไม่ทําทังหมด ้ - ผักตบชวามีประโยชน์ตอ่ กลุม่ หัตถกรรมในการจักสานกระเป๋ า และของที่ระลึกของกว๊ านพะเยา แต่ขาดการให้ ความสําคัญในการจัดการผักตบชวาเพื่อนํามาใช้ ประโยชน์ดงั กล่าว 3. การแพร่กระจายของสาหร่ายพิษ ที่มีสาเหตุมาจาก - นํ ้าเน่าเสียจากการระบายนํ ้าของเทศบาลเมือง - สารเคมีจากการเกษตรในบริเวณต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา - ปริมาณนํ ้ากว๊ านมีน้อย มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสาหร่าย 4.การแพร่กระจายของปลาชะโดในกว๊ านพะเยา ซึง่ จะกินปลาเล็ก ปลาน้ อยชนิดอื่น 5. หน่วยงานภาครัฐ ยังไม่เข้ าใจระบบนิเวศของกว๊ านพะเยา ซึง่ เป็ นพื ้นที่ชมุ่ นํ ้าที่ประกอบด้ วยป่ า ต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา เป็ นแหล่งกําเนิดนํ ้าในกว๊ านพะเยา และแม่นํ ้าอิง ดังนันการจั ้ ดการระบบนิเวศกว๊ าน พะเยาต้ องจัดการทังระบบ ้ ไม่ใช่เพียงจุดใดจุดหนึง่ 6.1.3 ด้ านการท่ องเที่ยว 1. ภาครัฐสนับสนุนการท่องเที่ยวบริเวณฝั่ งเมือง แต่ ขาดความต่อเนื่องในการสนับสนุน การ ท่องเที่ยวฝั่ งตะวันตกของกว๊ านพะเยา ที่มีศกั ยภาพในการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และเชิงวัฒนธรรม เช่น หาดพัทยาบ้ านสันหนองเหนียว โบราณสถานบ้ านรองไฮ ท่าเรื อโบราณบ้ านตุน่ ฯลฯ 2. ถนนรอบกว๊ านพะเยาในฝั่ งตะวันตก ยังไม่มีความปลอดภัย มีอบุ ตั เิ หตุ เกิดขึ ้นบ่อย จากการขับ รถเร็ว เป็ นแหล่งมัว่ สุมของวัยรุ่น กินเหล้ า และไม่ไปเรี ยนหนังสือ อีกทังถนนยั ้ งเป็ นคันไม่ให้ นํ ้ากว๊ านพะเยา ไหลสะดวก เมื่อฝนตกหนัก นํ ้าในกว๊ านระบายไม่ทนั ทําให้ นํ ้าเสีย นํ ้าท่วมนาข้ าว และท่วมบ้ านเรื อน 80


3. ปรับภูมิทศั น์กว๊ านพะเยาในบางจุดที่มีความทรุดโทรม เช่น ทําป้าย “กว๊ านพะเยา” ที่ชดั เจน ซ่อมแซมศาลาที่พกั ในสวนสมเด็จย่าฯ ปรับปรุงภูมิทศั น์บริเวณสวนสาธารณะ มีถงั ขยะ การแยกขยะ จัดทํา ซุ้มขายของเป็ นสัดส่วน มีที่เก็บของที่ เพื่อป้องกันคนลักขโมยและทําป้ายร้ านอาหาร ลงทะเบียนแม่ค้า ทํา บัตรอนุญาตติดหน้ าอก ผ่านการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุข 4. สิ่งปลูกสร้ างหน้ ากว๊ านพะเยาฝั่ งเมือง ๆไม่มีความสอดคล้ อง ไม่มีความหมายกับอัตลักษณ์ของ ความเป็ นพะเยา เช่น พญานาค นํ ้าพุดนตรี 5. บริเวณหน้ ากว๊ านพะเยา มีปัญหาวัยรุ่น ดื่มสุรา ขี่จกั รยานยนต์เสียงดัง ขยะ และเศษขวดแก้ ว ที่ ผ่านมามีการแก้ ไขปั ญหาแต่ไม่ตรงจุด เช่น ห้ ามนําอาหารมารับประทานบริเวณหน้ ากว๊ านพะเยา การแก้ ไข ปั ญหาหนึง่ นําไปสูป่ ั ญหาใหม่ 6. ไม่มีการสร้ างอัตลักษณ์พิเศษให้ กว๊ านพะเยา เป็ นการอนุรักษ์เชิงพัฒนา และเป็ นทรัพย์สินทาง ปั ญญา เช่น ปลานิล ปลาส้ ม ซึง่ นําปลามาจากพานและภาคกลาง 6.1.4 ด้ านที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยา 1. แนวเขตกว๊ านพะเยาไม่ชดั เจน มีการบุกรุกพื ้นที่กว๊ านพะเยา โดยการจับจอง และออก โฉนดที่ดนิ เมื่อได้ โฉนดก็ขายให้ นายทุนต่างชาติ ส่งผลให้ ที่สาธารณประโยชน์กว๊ านพะเยาลดลง จาก 12,800 ไร่ เหลือเพียง 12,000 ไร่ 2. กฎหมายไม่ชดั เจน เปิ ดช่องให้ ผ้ มู ีอํานาจและมีเงินออกโฉนดในพื ้นที่สาธารณะซึง่ เป็ นขอบเขต ของกว๊ านพะเยา 3. หน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้ องกับการแก้ ไขปั ญหา ไม่ดําเนินการอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ปล่อย ให้ เป็ นปั ญหาที่ยงั ค้ างคา 6.1.5 ด้ านกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการกว๊ านพะเยา 1. กฎหมายล้ าสมัย ไม่ทนั ต่อสถานการณ์ กฎหมายไม่ชดั เจน มีชอ่ งว่าง เปิ ดโอกาสให้ ผู้มีอํานาจ กระทําเพื่อประโยชน์สว่ นตน ถ้ าขัดผลประโยชน์จะถูกกลัน่ แกล้ ง 2. กฎหมายของแต่ละหน่วยงานมีความขัดกัน แต่ละหน่วยงานต่างยึดถือกฎหมายของตนเองใน การปฏิบตั งิ าน 3. ชุมชนไม่มีความรู้ ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับข้ อกฎหมาย และการปฏิบตั ขิ องภาครัฐ 6.1.6 ด้ านการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา 1. ที่ผา่ นมามีงานศึกษาวิจยั ที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา และบริบทโดยรอบพื ้นที่กว๊ านพะเยา ในกลุม่ ประวัตศิ าสตร์ กว๊ านพะเยา การท่องเที่ยว การใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ป่ าไม้ นันทนาการ ความหลากหลายของ 81


พืช สัตว์ ฯลฯ จากหน่วยงานต่างๆ จากบริษัทที่ปรึกษา นักวิชาการในมหาวิทยาลัย และสารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ เข้ ามาทํางานวิจยั ในพะเยาอีกมากมาย แต่ไม่ได้ เผยแพร่ 2. รูปแบบในการทํางานวิจยั ที่ผา่ นมา ส่วนใหญ่เป็ นงานวิจยั เพื่อวิจยั ขาดการนําความรู้ที่ได้ จาก การศึกษา และผลการศึกษาไปปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง 3. การใช้ ประโยชน์จากงานศึกษาวิจยั ที่ผา่ นมา จะกระจุกกับกลุม่ ที่เกี่ยวข้ อง หรื อผู้ที่สนใจเท่านัน้ ไม่ได้ นํามาใช้ ประโยชน์ในวงกว้ างต่อสังคมพะเยา และคนในชุมชน 4. ไม่มีสถานที่เก็บรวบรวมข้ อมูล งานวิจยั และผลการศึกษาของกว๊ านพะเยา เพื่อให้ ผ้ ทู ี่สนใจ หรื อ ประชาชนทัว่ ไปได้ เข้ าถึงข้ อมูลความรู้ 6.2 ทางออกในการจัดการกว๊ านพะเยา ในกระบวนการวิจยั ได้ มีการเสนอทางออกในการจัดการกว๊ านพะเยา 6 ด้ านสรุปได้ ดงั นี ้ 6.2.1 ด้ านการมีส่วนร่ วมในการจัดการ และพัฒนากว๊ านพะเยา 1. ให้ เกิดสภาพัฒนากว๊ าน พะเยาระดับ ตําบล มีหน้ าที่ เก็บ รวบรวม ข้ อมูลกว๊ านพะเยา ในระดับ ท้ องถิ่น จัดทําแผนการจัดการลุม่ นํ ้าขนาดเล็กทังระบบ ้ (ดิน นํ ้า ป่ า ปลา) เพื่อนํามา กําหนดทิศทางการ พัฒนากว๊ านพะเยาเสนอต่ออปท. และภาครัฐ 2. จัดตังคณะกรรมการพั ้ ฒนากว๊ านพะเยาในรูปแบบของสภาพัฒนากว๊ านพะเยา ที่มาจากตัวแทน ของทุกภาคส่วนที่ มีสดั ส่วนอย่างเท่าเทียมกัน (รัฐ ประชาชน อปท.วิชาการ ธุรกิจ ประชาสังคม เยาวชน ผู้หญิง ฯลฯ) มีการคัดเลือกโดยกระบวนการประชาธิปไตย เพื่อให้ เกิดการยอมรับของทุกฝ่ าย 3. คณะกรรมการพัฒนากว๊ านพะเยา มีบทบาทหน้ าที่ในสร้ างการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนใน การกําหนดกรอบการพัฒนากว๊ านพะเยา การจัดทําเป็ นแผนยุทธศาสตร์ หรื อ Road map ทังระยะสั ้ นและ ้ ระยะยาว เสนอต่อจังหวัดหรื อหน่วยงานอื่นๆ เป็ นกลไกในการตัดสินใจในกิจกรรม โครงการ และติดตาม แผนงานการพัฒนากว๊ านพะเยา โดย หน่วยงานภาครัฐเป็ น เพียง ที่ปรึกษา ทําหน้ าที่ให้ ข้อคิดเห็น และ จัดสรรงบประมาณในการดําเนินงาน 4. สร้ างแกนนํา และเครื อข่ายเยาวชนในลุม่ นํ ้าอิง หรื อรอบกว๊ านพะเยาให้ ความรู้ปลูกจิตสํานึกการ รักกว๊ านให้ กบั เยาวชน การมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านของกลุม่ เยาวชน รวมทังให้ ้ ความรู้ ความเข้ าใจแก่ เด็กเยาวชน ประชาชน เพื่อ สร้ างความ ตระหนักรู้ และเข้ าใจถึงปั ญหาที่เกิดขึ ้น กับกว๊ านพะเยา โดยการ รณรงค์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อม เช่น วิ่งมาราธอนรอบกว๊ านพะเยา 5. การมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ลํานํ ้าอิงและกว๊ านพะเยา ฟื น้ ฟูระบบนิเวศ และ สิ่งแวดล้ อม เช่น สนับสนุนให้ เกิดการจัดการร่วมกัน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของชาวบ้ าน เกี่ยวกับการ จัดการนํ ้า เช่น กลุม่ ท้ ายนํ ้ากว๊ านพะเยา และกลุม่ ป่ าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา 6. ภาคประชาชนมีสว่ นร่วมในการติดตาม ตรวจสอบการดําเนินโครงการ กิจกรรมที่เกี่ยวข้ อง 82


กับการพัฒนากว๊ านพะเยาผ่านกลไกต่างๆ รวมทังสื ้ ่อในรูปแบบต่างๆ 6.2.2 ด้ านการท่ องเที่ยว 1. แบ่งโซนในการท่องเที่ยวกว๊ านพะเยา เช่น จากสะพานประมงถึงหลังโรงพยาบาลเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยว จัดพื ้นที่เป็ นลานกิจกรรมทางศิลปะ วัฒนธรรมท้ องถิ่น ฯลฯ เช่น เรื อนโบราณหน้ ากว๊ านพะเยา ควรจัดทําเป็ นพิพิธภัณฑ์ ส่วนฝั่ งตะวันตกเป็ นแหล่งประมง เกษตรกรรม และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หรื อ อื่นๆ ที่มีความเหมาะสม อีกทังเป็ ้ นการรองรับการเข้ ามาของประชาคมอาเซียน เช่น กําหนดเขต/จัดโซนนิ่ง ในการเข้ ามาลงทุนของชาวต่างชาติ 2. จ้ างเอกชนในลักษณะ Outsource เข้ ามาจัดการเรื่ องการท่องเที่ยวของกว๊ านพะเยา เช่น การทํา สนามบินนํ ้า ลากแพท่องเที่ยว เรี ยนรู้จดุ เรี ยนรู้ของชุมชนต่างๆ รอบกว๊ านพะเยา โดยภาครัฐจัดสรร งบประมาณในการดําเนินงานประจําปี 3. ให้ ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนของตนเอง โดย - สร้ างการท่องเที่ยวในชุมชน จากจุดเด่น ของชุมชน เน้ นการท่องเที่ยวที่เป็ นการท่องเที่ยว อนุรักษ์ หรื อ ท่องเที่ยว วิถีชมุ ชนเช่น วัด สันธาตุ โบราณสถาน หมูบ่ ้ านเศรษฐกิจพอเพียง นํ ้าตก วิถีชีวิต เขต อนุรักษ์พนั ธุ์ปลา ท่าเรื อโบราณ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นในด้ านต่างๆ ฯลฯ โดยจัดทําเป็ นเส้ นทางการท่องเที่ยว แบบ 1 วันหรื อแบบพักค้ างคืน เช่น เส้ นทางการท่องเที่ยวของตําบลสันป่ าม่วง เริ่มจากลงเรื อกว๊ านพะเยา ดู สินค้ าโอท๊ อป/ ชมวัดอนาลโย /ดูต้นตะเคียนยักษ์ / เที่ยวนํ ้าตกขุนต๋อม เส้ นทาง ท่องเที่ยวตําบลบานสาง เช่น วัดอนาลโย นํ ้าตกผาเกล็ดนาค หัตถกรรมครกบ้ านงิ ้ว บ้ านสาง เป็ นต้ น - สร้ างจุดขายของการท่องเที่ยว เช่น ปลาส้ ม นาบัวสาย จักสานผักตบชวา พัฒนาหาดริมกว๊ าน จัดโฮมสเตย์ ขี่จกั รยานสัมผัสธรรมชาติ ขี่ล้อเกวียนเทียมวัวชมกว๊ านพะเยา เป็ นต้ น โดยพัฒนาศักยภาพ ของเยาวชนในท้ องถิ่น ให้ เป็ นมัคกุเทศน์น้อย - การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวต่อสาธารณะผ่านสื่อมวลชน ป้ายประกาศตามสถานที่สําคัญ สถานที่ราชการ หรื อมีบทู รับนักท่องเที่ยวบริเวณหน้ ากว๊ านพะเยา 4. ถนนรอบกว๊ านพะเยาฝั่ งตะวันตก ควรทําไหล่ถนนให้ กว้ างขึ ้น โดยการถมหิน และปลูกต้ นไม้ จัดทําที่ทิ ้งขยะ และรณรงค์ไม่ให้ ทิ ้งขยะ มีจดุ บริการประชาชน และเจ้ าหน้ าที่ดแู ล มีการตังชุ ้ ดอาสาออก ตรวจพื ้นที่ เพื่อลดปั ญหาการมัว่ สุมของเด็กและเยาวชน ในพื ้นที่สาธารณะรอบกว๊ าน 5. บริเวณลานกว๊ านพะเยา ควรจัดให้ มีกิจกรรมในเชิงสืบสานวัฒนธรรม ในรูปแบบของข่วงผญา ของแต่ละอําเภอ ตําบล หมูบ่ ้ าน เพื่อให้ คนพะเยา โดยเฉพาะเยาวชน และผู้ที่สนใจมาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ วัฒนธรรม ประเพณี อัตลักษณ์ของแต่ละท้ องถิ่นพะเยา 6. สร้ างแบรนด์ให้ กว๊ านพะเยา เพราะกว๊ านพะเยาเป็ นสิ่งบ่งชี ้ทางภูมิศาสตร์ (เป็ นแห่งเดียว ที่ เดียว) ที่มีประโยชน์องค์รวม เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ มาพักค้ างคืนที่พะเยา 83


6.2.3 ด้ านกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 1. ให้ มีกฎหมายเฉพาะพื ้นที่ โดยทําเป็ นพรบ.กว๊ านพะเยา/ธรรมนูญกว๊ านพะเยา มีสภาพบังคับ ตามกฎหมาย มีกลไกคือ สภาพัฒนากว๊ านพะเยา ที่รับผิดชอบการพัฒนากว๊ านพะเยา เน้ นการมีสว่ นร่วม โดยศึกษาจาก กรณีของทะเลสาบสงขลา ซึง่ เป็ นพื ้นที่ควบคุมพิเศษ เช่น มีบทลงโทษผู้ฝ่าฝื น เสียภาษีให้ กว๊ านพะเยาโดยตรง ให้ สามารถเลี ้ยงตัวเองได้ 2. ให้ ทกุ ภาคส่วน มีสว่ นร่วมในการออกฎหมาย / ธรรมนูญกว๊ านพะเยา โดยการศึกษาวิจยั ควบคู่ ไปด้ วย เพื่อให้ ได้ ข้อกฎหมายที่มีความสอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั และท้ องถิ่นพะเยา 3. แก้ ไขกฎระเบียบของหน่วยงาน เช่น กรมประมง กรมเจ้ าท่า กรมธนารักษ์ เทศบาลฯลฯ ที่เป็ น ปั ญหาอุปสรรคต่อการพัฒนากว๊ านพะเยา การประกอบอาชีพ และวิถีชีวิตของคนพะเยา ให้ มีความ สอดคล้ องกับสถานการณ์ และความต้ องการของคนพะเยา 4. แต่ละหน่วยงานควรมีชอ่ งทางการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ให้ ความรู้ ข้ อมูลด้ านกฎหมายแก่ ประชาชน ให้ เกิดความเข้ าใจ 6.2.4 ด้ านระบบนิเวศกว๊ านพะเยา และป่ าต้ นนํา้ 1. การกําจัดวัชพืชและผักตบชวา - ควรบูรณาการร่วมกันระหว่างชาวบ้ านกับภาครัฐ โดยรัฐเป็ นฝ่ ายจัดสรรงบประมาณให้ แต่ละ ตําบล/อปท.จัดการผักตบชวา/ วัชพืชในเขต พื ้นที่ โดยการจ้ าง หรื อรับซื ้อผักตบชวาจากชาวบ้ าน หรื อ ให้ ชาวบ้ านร่วมมือกันในวันหรื อวาระโอกาสพิเศษ เช่น วันที่ 5 ธันวาคม 12 สิงหาคม หรื อวันเกิดของจังหวัด พะเยา - การกําจัดวัชพืช (ปึ๋ ง) ที่เป็ นกระดานโดยใช้ เลื่อยตัด และ แจกให้ ชาวบ้ านที่สนใจนําไปทํา ปุ๋ย หรื อ ทําเป็ นถ่านอัดแท่ง - การกําจัดวัชพืช/ผักตบชวา ต้ องดูทิศทางลม ควรกําจัดตอนต้ นปี ในฤดูแล้ ง เพราะนํ ้าจะมีปริมาณ น้ อย และสะดวกต่อการทํางาน เพราะลมจะพัดไปทางใต้ และอัดกันริมฝั่ ง จะทําได้ ง่ายขึ ้นมากกว่า ที่จะทํา โดยไม่เข้ าใจฤดูกาล อย่างไรก็ตามในการกําจัดผักตบชวา จะต้ องมีการพิจารณาเพราะยังมีประโยชน์ และ ยังเป็ นสิ่งสร้ างความสมดุลของกว๊ านพะเยาเช่น ดักตะกอน ดูดซับสารเคมี เป็ นแหล่งอาหาร วางไข่ของปลา และสัตว์นํ ้า 2. อนุรักษ์ และกันเขตผักตบชวา (Zoning) โดยกันพื ้ ้นที่ ส่วนหนึง่ ให้ เป็ น แปลงผักตบชวา เพื่อ นํามาใช้ ประโยชน์ในการจักสานของชาวบ้ าน และนําวัชพืชออก 3. การขุดลอกกว๊ านพะเยาให้ ลกึ ขึ ้น โดยใช้ เรื อตักดิน จะดีกว่าการดูดขึ ้นมาถมพื ้นที่ ทําให้ กว๊ าน พะเยาแคบลง 4. สนับสนุนการจัดการป่ าชุมชน โดยให้ ชมุ ชนดูแล 84


- กําหนดแนวเขตป่ าชุมชน - การปลูกป่ าในวันสําคัญ ปลูกต้ นไม้ เสริม เช่น กล้ าหวาย - สร้ างจิตสํานึกของผู้นํา และคนในชุมชน เช่นส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบของการเดินป่ าดอย หลวง ให้ เห็นความสมบูรณ์ของป่ า โดยทํากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ให้ ชาวบ้ านเห็น เข้ าใจ ตอกยํ ้าจิตสํานึก เช่น การบวชป่ า เดินสํารวจป่ า - ปลูกไม้ ยืนต้ น เช่น ปาล์ม ยางพารา ลําไย ไม้ สกั ให้ เป็ นแนวบริเวณที่ราบเชิงเขา เพื่อป้องกันการ บุกรุกเข้ าไปในเขตป่ า 5. ส่งเสริม การทําเกษตรอินทรี ย์ ในบริเวณป่ าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา โดยลดการใช้ สารเคมี และใช้ ป๋ ยุ ที่มาจากธรรมชาติ ส่งเสริมการปลูกปอเทืองเป็ นการบํารุงดินเพื่อลดการใช้ สารเคมี 6. ปลูกพืชนํ ้าเช่น ต้ นไคร้ ดอกป้าน ดอกบัว ที่สามารถเป็ นอาหาร และเป็ นที่อยูอ่ าศัย ที่วางไข่ ของ ปลาทังในกว๊ ้ านพะเยา และในลํานํ ้าอิง รวมทังปลู ้ กต้ นไม้ ท้องถิ่นรอบๆ กว๊ านพะเยา ทังสองฝั ้ ่ง 7. การจัดทําเขตอนุรักษ์พนั ธุ์ปลาโดยชุมชน เพื่อ ขยายพันธุ์ปลา ให้ มีปล่อยปลาท้ องถิ่นในกว๊ าน พะเยา รวมทังการป ้ ้ องกันไม่ให้ มีการหาปลา โดยใช้ เครื่ องมือที่ผิดวิธี 8. ทําฝายชะลอนํ ้าในเขตป่ าต้ นนํ ้า เพื่อสร้ างความชุม่ ชื ้นให้ แก่ป่าต้ นนํ ้า 9. กําจัดลูกปลาชะโด โดยใช้ แน่งตาถี่ให้ ชาวประมงมีสว่ นร่วมในการกําจัด 10. กลุม่ ผู้ใช้ นํ ้าท้ ายกว๊ านพะเยา ควรจัดหาพื ้นที่กกั เก็บนํ ้า โดยขุดลอกนํ ้าอิง กําจัดวัชพืชที่ขวาง การไหลของนํ ้า เจาะนํ ้าบาดาล ทําแก้ มลิง เพื่อเก็บกักนํ ้าไว้ ในฤดูนํ ้าหลาก และแก้ ไขปั ญหาการแย่งชิงนํ ้า จากกว๊ านพะเยา 6.2.5 ด้ านการแก้ ไขปั ญหาที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยา 1. แต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบการถื ้ อครองที่ดนิ รอบกว๊ านพะเยาที่มาจากผู้วา่ ราชการจังหวัด ประมง ราชพัสดุ ที่ดนิ โยธาธิการ และผังเมือง 2. พิสจู น์สิทธิการถือครองที่ดนิ โดยร่วมกับที่ดนิ จังหวัดเป็ นผู้ตรวจสอบ ร่วมกับชาวบ้ านในพื ้นที่ (พยานบุคคล) รวมทังใช้ ้ แผนที่เดิมในการชี ้วัดเขตแดน เพราะพยานบุคคลมีความเสี่ยงในการทํางาน 3. การรับฟั งความคิดเห็นจากชาวบ้ านที่เป็ นคนเฒ่าคนแก่ เพื่อให้ ข้อมูลที่เป็ นจริง เรื่ องที่ดนิ รอบ กว๊ านพะเยา และนําที่ดนิ ที่ออกโฉนดคืนกลับมา 4. ออกกฎหมายห้ ามขายที่ดนิ ให้ คนต่างชาติ หรื อผู้สวมสิทธิ์ โดยการตรวจสอบในทุกขันตอน ้ 6.2.6 ด้ านการศึกษาวิจัย 1. คัดเลือกข้ อมูลศึกษาวิจยั ที่มีประโยชน์มาให้ ชมุ ชน หรื อผู้ที่สนใจได้ นําความรู้ไปใช้ ในการจัดการ กว๊ านพะเยา 85


2. ให้ มหาวิทยาลัยพะเยา ซึง่ เป็ นสถาบันการศึกษาของคนพะเยา เป็ นเจ้ าภาพหลักรับผิดชอบใน การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ จงั หวัดของภาคประชาชน โดยเป็ น Road map ระยะ 5-10 ปี 3. สนับสนุนให้ เกิดการพัฒนาโจทย์การวิจยั จากชุมชน สร้ าง นักวิจยั ท้ องถิ่นที่เป็ นคนในชุมชน เพื่อ สร้ างให้ เกิดความตระหนัก และแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้นของในชุมชนผ่านกระบวนการวิจยั ประเด็นการทําวิจยั ที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยาที่นา่ สนใจ เช่น - กลไกและกฎหมาย ธรรมนูญกว๊ านพะเยา และสภาประชาชน ตัวแทนของแต่ละกลุม่ ที่ได้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยาคือใคร มาจากไหนบ้ าง หน่วยงานไหน กรรมการได้ มาอย่างไร - การสร้ างพลังทางกฎหมายให้ แก่ประชาชน สร้ างพลังภาคประชาชนอย่างไร กฎหมายอย่างไร - การสร้ าง ค้ นหาทุนทางสังคม บทเรี ยนของชุมชน เพื่อให้ เกิดเครื อข่ายเรี ยนรู้กนั และต่อยอดการ ทํากิจกรรม ในด้ านความร่วมมือทางวิชาการ สร้ างทุนทางสังคม และเรี ยนรู้ซงึ่ กันและกัน - การรับรู้ปัญหาของกว๊ านพะเยาจากคนกลุม่ ต่างๆ - การพัฒนาช่องทางการสื่อสารในการจัดการกว๊ านพะเยา 6.3 ประมวลสรุปกระบวนการสานเสวนา จากผลการศึกษา ผู้วิจยั ได้ นํามาประมวลสรุปให้ เห็นถึงฉันทามติที่เป็ น ทางออกในการแก้ ปัญหา กว๊ านพะเยา ดังแสดงในตารางต่อไปนี ้ ตารางที่ 3 ข้ อเสนอและทางออกในการแก้ ปัญหากว๊ านพะเยา

ปั ญหา ข้ อกังวลที่มี...

ฉากทัศน์ อยากเห็นกว๊ านพะเยา ...

ระบบนิเวศ

การบริหารจัดการ

จิตสํานึก

 คุณภาพนํ ้า เน่าเสีย สารเคมี  พันธุ์ปลาสัตว์นํ ้าลดลง  ป่ าต้ นนํ ้าถูกทําลาย  ปริ มาณกักเก็บนํ ้า / แล้ งท่วม  การบุกรุกที่ดิน/ผลกระทบ ท่องเที่ยว

 ไม่มียทุ ธศาสตร์ /แผนการ พัฒนา  ไม่มีเจ้ าภาพ/ขาดความไม่ ต่อเนื่อง  หลายหน่วยงานใช้ ประโยชน์  กฎหมายทับซ้ อน  ประชาชนขาดการมีสว่ น ร่วมตัดสินใจ

 ขาดความรู้ความเข้ าใจ/ ขาดจิตสํานึก  ขาดการรับรู้ข้อมูล/เข้ าถึง ข้ อมูลยาก  การศึกษาวิจยั มีมาก แต่ ไม่มีช่องทางเผยแพร่ / ไม่ได้ ใช้ ประโยชน์  ไม่ได้ ร่วมกิจกรรม/เกิด ความขัดแย้ ง

ใส สะอาด สิ่งแวดล้ อม สวยงาม

พัฒนาอย่ างยั่งยืนและ มีส่วนร่ วม

สํานึกร่ วม/หน้ าหมู่

86


 การอนุรักษ์ และฟื น้ ฟู กว๊ านพะเยา/ป่ าต้ นนํ ้า  การรักษาคุณภาพนํ ้า/เน่า เสีย/สารเคมี  การขุดลอกที่ตื ้นเขิน ข้ อเสนอ  การกําจัดวัชพืชผักตบชวา ประมวลโดยภาพรวม  การอนุรักษ์ พนั ธ์ปลา/สัตว์ นํ ้า  การจัดภูมิทศั น์เพื่อการ ท่องเที่ยว  การจัดวางระบบผังเมือง

 การมีธรรมนูญกว๊ าน พะเยาหรื อกฎหมาย เฉพาะพื ้นที่  การตังคณะกรรมการ ้ ท้ องถิ่น/สภาพัฒนากว๊ าน พะเยา  การสร้ างเครื อข่ายระดับ ลํานํ ้าสาขา/เครื อข่าย ระหว่างหน่วยงานรัฐชุมชน  การตังกองทุ ้ นพัฒนา กว๊ านพะเยา

 การให้ ความรู้ /หลักสูตร ท้ องถิ่น ด้ านทรัพยากร และสิง่ แวดล้ อม / ประวัติศาสตร์ วิถีชมุ ชน ท้ องถิ่น  การศึกษาวิจยั เพื่อการ พัฒนา  การจัดเวทีสาธารณะ/ กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้  การสือ่ สาร/ ประชาสัมพันธ์

ให้ จดั ระบบการบริหาร ให้ ฟืน้ ฟูและพัฒนา จัดการ ทางออกการแก้ ปัญหา กว๊ านพะเยา ระบบนิเวศกว๊ านพะเยา กว๊ านพะเยาโดยการมี ส่วนร่วม ให้ จัดระบบการบริหาร ให้ ฟื้นฟูและพัฒนา จัดการ ฉันทามติ ระบบนิเวศกว๊ านพะเยา กว๊ านพะเยาโดยการมี ส่ วนร่ วม

ให้ จดั ระบบความรู้และ เครื อข่ายเพื่อสร้ าง จิตสํานึกร่วมเป็ นเจ้ าของ กว๊ านพะเยา ให้ จัดระบบความรู้ และ เครือข่ ายเพื่อสร้ าง จิตสํานึกร่ วมเป็ น เจ้ าของกว๊ านพะเยา

ข้ อสรุ ป

6.4 แนวทางการขยายผล ในการจัดการต่อเพื่อให้ เกิดการนําผลจากการวิจยั ไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นรูปธรรม จากข้ อเสนอทัง้ 3 ด้ าน คือ ระบบนิเวศ การบริหารจัดการ และจิตสํานึก มีแนวทางการขยายผลให้ เกิดการปฏิบตั ิ ดังนี ้ 6.4.1 การเสนอต่อโครงการพัฒนากว๊ านพะเยาตามแนวทางพระราชดําริ ในแผนงานคุณภาพนํ ้า และสิ่งแวดล้ อม แผนงานเพิ่มปริมาณสัตว์นํ ้า และแผนงานบริหารจัดการและมีสว่ นร่วม 6.4.2 การเสนอในเวทีระดับนโยบายของประเทศและระดับจังหวัด ได้ แก่ เวทีสมัชชาสุขภาพ เวที สมัชชาปฏิรูปประเทศไทย เวทีประชาคมจังหวัด 6.4.3 การวิจยั ต่อยอดในประเด็นรูปแบบกฎหมายและกลไกการจัดการกว๊ านพะเยาที่เหมาะสมกับ บริบทของท้ องถิ่น และประเด็นการบริหารจัดการจังหวัดแบบมีสว่ นร่วม เพื่อแสวงหารูปแบบของการ ประสานงานเครื อข่าย ภาคประชาชน การ ประสานงานภายใน และขับเคลื่อนกลไกการทํางานแก้ ปัญหา อื่นๆ ที่นอกเหนือจากกว๊ านพะเยา 87


6.4.4 การสร้ างให้ เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ร่วมกันของเครื อข่ายการจัดการกว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ น ร่วมของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคประชาสังคม องค์กรภาคประชาชน และสถาบันการศึกษาในท้ องถิ่น พะเยา การเชื่อมประสานคน องค์กร และเครื อข่ายทุกภาคส่วน ผ่านเวที การประชุม สัมมนา เวที แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และการถอดบทเรี ยน ทังแบบเป็ ้ นทางการและไม่เป็ นทางการ ให้ สอดคล้ องกับบริบทของ แต่ละภาคส่วน เพื่อสร้ างจิตสํานึกของคนในสังคมพะเยาเห็นคุณค่า และเข้ ามามีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ และฟื น้ ฟูกว๊ านพะเยา 6.4.5 การคืนข้ อมูลจากงานวิจยั กลับสูช่ มุ ชน โดยการประชาสัมพันธ์แบบมีสว่ นร่วมผลการ ดําเนินงานให้ ชมุ ชนทราบ เพื่อสร้ างการมีสว่ นร่วมให้ คนในชุมชนเกิดความตระหนักในการจัดการกว๊ าน พะเยาร่วมกัน โดยการใช้ สื่อ ได้ แก่ วีซีดี เอกสารรายงาน ไฟล์รายงาน รูปภาพ เว็บไซด์ หนังสือพิมพ์ หรื อ จัดทําชุดนิทรรศการ เพื่อนําเสนอในงานที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา เช่น โครงการพระราชดําริ จัด นิทรรศการในบริเวณศาลากลางจังหวัด หอวัฒนธรรมนิทศั น์ หรื อตามสถานศึกษาต่างๆ รวมทังการพั ้ ฒนา เป็ นหลักสูตร คูม่ ือ หรื อแนวทางการทํางานที่มีกระบวนการ ขันตอน ้ สําหรับโครงการที่จะทํางานกับชุมชน

88


6.5 ผังกระบวนการสานเสวนาในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา จากการดําเนินงานวิจยั ผู้ศกึ ษาได้ สรุปเป็ นแผนผังของกระบวนการสานเสวนาหาทางออกในการ แก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา ดังต่อไปนี ้

89


6.6 ถอดบทเรียนกระบวนการสานเสวนา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ นําข้ อมูลที่ได้ จากการลงพื ้นที่จดั เวทีสานเสวนาหาทางออกในการแก้ ไข ปั ญหากว๊ านพะเยา จํานวน 15 กลุม่ มาประมวลสรุป และถอดบทเรี ยนคณะทํางานวิจยั ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ศูนย์การเรี ยนรู้ประมงพื ้นบ้ านสันแกลบดํา อ.เมือง จ.พะเยา บทเรี ยนกระบวนการสาน เสวนาหาทางออกในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา สรุปได้ ดงั นี ้ 6.6.1. กระบวนการวิจัย และวิธีการวิจัย กระบวนการวิจยั ครัง้ นี ้ ใช้ วิธีการวิจยั ที่หลากหลาย ได้ แก่ 1. การทบทวนเอกสารทุตยิ ภูมิ 2. การประชุมเพื่อพัฒนากลไกความร่วมมือในการดําเนินงานวิจยั 3. เวทีสนทนากลุม่ ย่อยในกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย จํานวน 15 กลุม่ 4. กิจกรรมเสริมร่วมกับภาคี ได้ แก่ การถ่ายภาพกว๊ านพะเยาร่วมกับชมรมพะเยาโฟโต้ คลับ งานวันรวมใจ สานพลัง รักษ์กว๊ านพะเยา ถวายแด่พระเจ้ าอยูห่ วั 84 พรรษาร่วมกับภาคีทงั ้ ภาครัฐองค์กรศาสนา ภาคประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และสถาบันการศึกษา 5. เวทีสานเสวนาหาฉันทามติในการจัดการกว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม 6.6.2 ผลจากการวิจัย ในกระบวนการวิจยั ได้ มีข้อค้ นพบดังนี ้ 1. การจัดเวทีพดู คุย หรื อ การทํา กิจกรรมร่วมระหว่างกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ได้ ก่อให้ เกิด กระบวนการรับฟั ง การแสดงความคิดเห็นอย่างเปิ ดเผย มีข้อเสนอที่หลากหลาย มีการเรี ยนรู้และเข้ าใจ ผู้อื่น มีความเห็นอกเห็นใจ และเกิดการยอมรับ ลดปั ญหาความขัดแย้ ง พร้ อมให้ ร่วมมือและกระตือรื อร้ น ใน การสร้ างเป็ นเครื อข่ายในการพัฒนากว๊ านพะเยาและชุมชนต่อไป 2. สถาบันฯ ได้ รับ ความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนในจังหวัดพะเยา และเกิดการยอมรับ จาก หน่วยงานภาครัฐ โดยได้ เข้ าร่วมเป็ นคณะกรรมการโครงการพัฒนากว๊ านพะเยาแบบยัง่ ยืน ตามแนว พระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี นอกจากนี ้ยังมี การศึกษาดูงานขององค์กร และสถาบันต่างๆ และการเผยแพร่จากสื่อมวลชน รวมทังการทํ ้ ากิจกรรมร่วมกันกับภาคีในจังหวัดพะเยา เช่น งานวันรักษ์กว๊ านพะเยา 3. เกิดแนวคิดในการเสริมสร้ างความสมดุลระหว่างอํานาจรัฐและชุมชนในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในกว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม เช่น การเสนอให้ มีการออกกฎหมาย ท้ องถิ่น และ นโยบายที่สอดคล้ องกับเจตจํานงของภาคประชาชน การเสนอให้ มีสภาพัฒนากว๊ านพะเยาที่มาจากคน พะเยา เป็ นต้ น 4. ในเวทีโครงการพัฒนากว๊ านพะเยาในพระราชดําริ เกิดการรับฟั งความคิดเห็นของภาคส่วน อื่นมากขึ ้น โดยให้ ชาวบ้ าน และอปท.มีสว่ นร่วมในการเสนอกิจกรรมเข้ าสูโ่ ครงการพัฒนากว๊ านพะเยาทัง้ 5 90


แผนงาน ทําให้ ผ้ นู ําชุมชน และผู้นําองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นมีความตื่นตัว มีความตระหนักในการเป็ น เจ้ าของกว๊ านพะเยามากขึ ้น และต้ องการมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยาที่มีความสอดคล้ องกับคนใน ท้ องถิ่น 5. เกิดเครื อข่ายนักวิชาการ และนักวิจยั ท้ องถิ่นจากสถาบันการศึกษาในจังหวัดพะเยา ที่มี ความสัมพันธ์ที่ดี มีทศั นคติที่ดีตอ่ กัน มีการพบปะ ทํากิจกรรมร่วมกันแบบไม่เป็ นทางการ 6.6.3 บทเรียนที่ได้ รับ 1. ในกระบวนการของการทําวิจยั ควรมีกิจกรรม และปฏิบตั กิ ารหนุนเสริม การวิจยั ที่เชื่อมโยง และสอดคล้ อง กับวิถีวฒ ั นธรรมชุมชน เพื่อ ให้ เกิดกิจกรรมที่มี ความต่อเนื่อง และสร้ าง ความสัมพันธ์ ของ หน่วยงานต่างๆ กับชุมชน 2. การใช้ วิธีการและเครื่ องมือในการวิจยั ให้ สอดคล้ องกับวิถีของกลุม่ เป้าหมาย นอกเหนือจาก การจัดเวทีกลุม่ ย่อยในช่วงเวลาปกติแล้ ว ยังต้ องใช้ วิธีการและเครื่ องมือในการวิจยั ให้ สอดคล้ องกับวิถีของ กลุม่ เป้าหมาย ได้ แก่ การประชุมร่วมกับกลุม่ ธุรกิจได้ ใช้ แบบสัมภาษณ์ปลายเปิ ดให้ กลุม่ เป้าหมายได้ กรอก ข้ อมูลก่อนที่จะพูดคุย การสร้ างให้ เกิดกิจกรรมร่วมกับกลุม่ เป้าหมาย เช่น กลุม่ คนในเมือง กลุม่ ศิลปิ นที่นํา การถ่ายภาพชาวประมงกว๊ านพะเยามาเป็ นเครื่ องมือ การนัง่ คุยแบบไม่เป็ นทางการในช่วงเย็นหลังเลิกงาน กับกลุม่ นักวิจยั นักวิชาการ นอกจากนี ้ยังให้ เครื อข่ายจากภาครัฐเป็ นฝ่ ายประสานงานพูดคุยในกลุม่ ของ หน่วยงานราชการ 3. ในกลุม่ ตัวแทนชุมชน จะใช้ ระยะเวลาในการทํากระบวนการนาน กว่าหน่วยงานอื่น ต้ อง ปรับระยะเวลา และช่วงการทํา งานให้ สอดคล้ องกับวิถีชมุ ชน ซึง่ ควรจะใช้ วิธีการแบบธรรมชาติ ไม่เป็ น ทางการ และควรจัดเวทีในช่วงเย็นหรื อคํ่า ตําบลละ 2-3 ครัง้ 4. ผู้นําท้ องถิ่น และหน่วยงานราชการ มีงานประจํามาก บางหน่วยงานยังยึด ติดเงื่อนไข และ ระเบียบขององค์กร ไม่มาเข้ าร่วม อาจเพราะยังไม่เห็นความสําคัญของกระบวนการ 5. วิธีการ และกระบวนการสานเสวนาจากการวิจยั ในครัง้ นี ้ สามารถนําไปเป็ นต้ นแบบในการ ทํางานในองค์กรอื่น หรื อปรับใช้ กบั การแก้ ไขปั ญหาในประเด็นอื่นได้ เพื่อแสวงหาทางออกร่วมกัน อย่างไรก็ ตาม คนทํางานจะต้ องมีทนุ เดิมในการทํางาน และได้ รับการยอมรับจากชุมชนในระดับหนึง่ 6. มีข้อเสนอที่เป็ นรูปธรรมจากรายงานการวิจยั และนําเสนอ ข้ อเสนอ/ชุดโครงการที่สมบูรณ์ ต่อระดับนโยบายได้

91


6.7 ตัวแบบในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา โดยการมีส่วนร่ วม (Kwan Phayao Model) ผลการศึกษา ข้ อค้ นพบ และบทเรี ยนจากการดําเนินงานวิจยั “การสร้ างพลังทางกฎหมายแก่ภาค ประชาชนด้ วยการสานเสวนาหาทางออกเพื่อแก้ ไขกฎหมายของกว๊ านพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา” ผู้วิจยั ได้ นํามาสรุปเป็ นตัวแบบในการแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยา โดยการมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ เสีย ซึง่ ชี ้ให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงวิธีคดิ ที่เป็ นกระบวนการก่อน ระหว่าง และหลัง และผลลัพธ์ที่เกิดขึ ้นในระดับ บุคคล ระดับกลุม่ /ชุมชน/องค์กร/เครื อข่าย และระดับนโยบาย ข้ อสรุปจากการศึกษาวิจยั ครัง้ นี ้ว่า กระบวนการสร้ างการเรี ยนรู้แบบมีสว่ นร่วม โดยผ่านวิธีสาน เสวนา การประชุมกลุม่ ย่อย การจัดกิจกรรมร่วมกันเป็ นส่วนสําคัญในการหาทางออกให้ กบั การแก้ ไขปั ญหา ที่เกิดขึ ้นในชุมชน ท้ องถิ่น และสังคมได้ ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ตัวแบบในการแก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยา โดยการมีส่วนร่ วม วิธีการ/เครื่องมือ  เวทีสานเสวนา  ประชุมกลุม่ ย่อย  กิจกรรมร่วมกับ ภาคี

ผลลัพธ์  สัมภาษณ์  สังเกต  ถอดบทเรี ยน

ก่ อน ไม่ค้ นุ เคยกับกระบวนการ ไม่กล้ าแสดงความคิดเห็น กลัวถูก/ผิด พูดความเห็นส่วนตัว/แต่ไม่ รับฟั งอื่น หวาดระแวง ไม่ไว้ ใจ ผู้เข้ าร่วม ไม่มนั่ ใจผู้จดั /ดําเนิน รายการ จัดบ่อย ไม่เห็นการ เปลีย่ นแปลง ระดับบุคคล

ระหว่ าง   เห็นภาพรวมของ  กระบวนการ  มีความกระตือรื อร้ นใน  กิจกรรม  รับฟั งผู้อื่นมากขึ ้น   เกิดการยอมรับความ คิดเห็นผู้อื่น   เกิดความคิดสร้ างสรรค์ เพิ่มเติม   เกิดพื ้นที่การสือ่ สารสอง ทาง ระดับกลุ่ม/ชุมชน/องค์ กร/ เครือข่ าย  เปิ ดใจ ทราบถึงเหตุผล ข้ อ  นํากระบวนการไปปรับใช้ ขัดแย้ งเดิม เกิดความเห็น กับการทํางานในกลุม่ / อกเห็นใจ ปรับความเข้ าใจ องค์กร ด้ านการมีสว่ น กันได้ ร่วม  วางตนเป็ นผู้มีมนุษย์  มีเครื อข่ายความสัมพันธ์ สัมพันธ์ที่ดี ยกย่องชมเชย เพิ่มขึ ้นในการติดต่อ ผู้อื่น มากกว่าติเตียน ประสานงาน สาน  มีความมัน่ ใจหรื อสามารถ ประโยชน์กบั กลุม่ องค์กร ที่จะเป็ นผู้นําการพูดคุย/ อื่นๆ 92

     

หลัง ได้ ร้ ูจกั คุ้นเคย/เครื อข่าย แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ มีความยึดหยุน่ ไม่ติดความ เป็ นทางการ มีพื ้นที่แสดงความคิด/ ผลงานตนเอง เห็นบทบาทและศักยภาพ ของผู้อื่น ให้ การสนับสนุนช่วยเหลือ กัน ลดความขัดแย้ งที่มีตอ่ กัน ระดับนโยบาย

 สามารถจัดทําข้ อเสนอ/ชุด

โครงการที่สมบูรณ์ตอ่ ฝ่ าย นโยบายได้  มีสว่ นร่วม/ได้ รับการ แต่งตังเป็ ้ นคณะกรรมการ/ คณะทํางานวางแผนงาน ระดับนโยบาย/โครงการ  ได้ รับการยอมรับ/ ตอบสนองจากผู้กํากับ


ประชุมแบบมีสว่ นร่วมได้  มีแนวคิดการพัฒนาแบบ บูรณาการ

เงื่อนไข/ข้ อแนะนํา     

 เกิดความมัน่ ใจที่จะ

ทํางาน/ดําเนินกิจกรรม โครงการกับชุมชน  บรรยากาศความร่วมมือ ภาพรวมเริ่ มดีขึ ้น ใช้ เวลาในการทํากระบวนการนาน ควรปรับระยะเวลา/ช่วง ฤดูงานให้ สอดคล้ องกับวิถีชมุ ชน ควรมีกิจกรรม/ปฏิบตั ิการหนุนเสริ ม ที่เชื่อมโยงกับวิถี วัฒนธรรมชุมชน เพื่อสร้ างสัมพันธ์และความต่อเนื่อง ผู้นํา/ราชการ มีงานประจํามาก ติดเงื่อนไข/ระเบียบองค์กร ควรให้ หน่วยงานเห็นความสําคัญกระบวนการนี ้ ตัวแทนชุมชนมีภาระทางเศรษฐกิจ ควรมีงบประมาณ สนับสนุน ควรมีองค์กร หรื อศูนย์ประสานงานเครื อข่ายประสานงาน ภายใน เพื่อช่วยขับเคลือ่ นกลไกการทํางานแก้ ปัญหาอื่นๆ ต่อไป

93

นโยบายเบื ้องบน

ข้ อสรุป กระบวนการสร้ างการเรี ยนรู้ แบบมีสว่ นร่วม โดยผ่านวิธี สานเสวนา/ประชุมกลุม่ / การจัดกิจกรรมร่วม เป็ นส่วน สําคัญ ในการหาทางออกให้ กบั การ แก้ ปัญหา ที่เกิดขึ ้นในท้ องถิ่นหรื อสังคม ได้


บรรณานุกรม มนัส สุวรรณ. (2534) กว๊ านพะเยา : นิเวศวิทยาและศักยภาพในการพัฒนาเป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยว. ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . ชัยวัฒน์ จันธิมา. (2545) กว๊ านพะเยา บทเรี ยนและความทรงจํา.พะเยา: เจริญอักษรการพิมพ์. เดวิด แมทธิวส์ เขียน วันชัย วัฒนศัพท์ แปล.(2552) การเมืองภาคพลเมือง. ขอนแก่น :โรงพิมพ์ศริ ิภณ ั ฑ์ ออฟเซ็ท. วันชัย วัฒนศัพท์. (2554) ทําอย่างไรให้ สงั คมสันติสขุ ภายใต้ วิกฤตชาติ. เอกสารประกอบการเสวนาเรื่ อง การสานเสวนาหาทางออกเพื่อแก้ ไขปั ญหารอบกว๊ านพะเยา. สถาบันพระปกเกล้ า.เอกสารอัดสําเนา. อภิญญา ดิสสะมาน. ประชาเสวนา (Citizen Dialogue) กับการเสริมสร้ างธรรมาภิบาลและจริยธรรม http://www.kpi.ac.th/kpith/index.php?option=com_content&task=view&id=766&Itemid=169 สํานักงานประมงจังหวัดพะเยา. (2543) รายงานประจําปี 2543 เอกสารอัดสําเนา. สรัสวดี อ๋องสกุล. (2544) ประวัตศิ าสตร์ ล้านนา.กรุงเทพฯ :อมรินทร์ พริน้ ติ ้ง, สหัทยา วิเศษ และคณะ . (2545) กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา.โครงการพะเยาเพื่อการพัฒนา เอกสารอัดสําเนา. Jame Voorhees. Dialogue Sustained, The Multilevel, Peace Process and the Darthmonth Conference, United States Institute of Peace Press and Charles B. Kettering Foundation, Washington, D.C. 2002 . อ้ างถึงใน ศนพ.วันชัย วัฒนศัพท์ . ทําอย่างไรให้ สงั คมสันติสขุ ภายใต้ วิกฤต ชาติ. เอกสารประกอบการเสวนาเรื่ อง การสานเสวนาหาทางออกเพื่อแก้ ไขปั ญหารอบกว๊ านพะเยา. สถาบันพระปกเกล้ า.

94


ภาคผนวก ก. สรุปเวทีการพัฒนากลไกเครือข่ ายความร่ วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2554 ณ ห้ อง C 103 อาคารเรียนรวมหลังเก่ า มหาวิทยาลัยพะเยา 1. พิธีเปิ ด รองอธิการบดี ฝ่ ายวิจยั และประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา (ผศ.ดร.วิบลู ย์ วัฒนา ธร) กล่าวถึงปณิธานของมหาวิทยาลัยพะเยา โครงการในพระราชดําริ จะมีเรื่ องกว๊ านพะเยา มีงานวิจยั เพื่อ ร่วมมือกับชุมชน โดยชุมชนเป็ นตัวหลัก การดําเนินงานเริ่มชัดเจนมากขึ ้น ม.พะเยาเป็ นส่วนหนึง่ ของลุม่ นํ ้า แม่ตํ๋าในกว๊ านพะเยา ส่วนที่อยูใ่ กล้ ชิดกับมหาวิทยาลัยมากที่สดุ ทางมูลนิธิชยั พัฒนาโดยอ.เกษม จันทร์ แก้ ว ได้ มาร่วมระดมแผนการพัฒนากว๊ านพะเยา โดยมหาวิทยาลัยได้ นําเสนอแผนต่อมูลนิธิฯ และได้ จดั ทํา โครงการ มีการพูดคุยมาตลอด ในขณะที่องค์กรอื่นได้ มีการทํางานเช่นเดียวกันนี ้ และจะลงมารับฟั งความ คิดเห็นจากคนพะเยา ที่ผา่ นมาต่างคนต่างช่วยคิด มหาวิทยาลัยคิดในฐานะองค์กรการศึกษา ส่วนชุมชนช่วยคิดในฐานะ ผู้ร้ ู ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ซึง่ ต้ องนํามาผสมผสานกัน และนํามาเป็ นข้ อตกลงร่วมกัน เพื่อให้ เกิดเป็ นกลไก เครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่างยัง่ ยืน ในส่วนของมหาวิทยาลัยพะเยา ได้ มีการพัฒนาแผนงานในการพัฒนากว๊ านพะเยา 5 แผน โดย คณะศิลปศาสตร์ รับผิดชอบแผนการบริหารจัดการ ซึง่ เป็ นแผนงานหนึง่ ที่สําคัญ 2. แนะนําสถาบันปวงผญาพยาว นายชัยวัฒน์ จันธิมา สถาบันปวงผญาพยาวได้ เล่าความเป็ นมาของสถาบันปวงผญาพยาว แนะนําทีมงาน และแนวคิดของสถาบันฯ ที่ต้องการนําเสนอให้ เห็นภาพของจังหวัดพะเยาที่มีปัญหาเกิดขึ ้น ในหลายๆ ด้ าน เช่น ความผันผวนด้ านอาชีพ ความไม่มนั่ คง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนลดลง ความ ขัดแย้ ง เครื อข่ายความสัมพันธ์ของคนในชุมชนลดลง มาจากเทคโนโลยี การออกไปประกอบอาชีพนอก ชุมชน สื่อที่ไร้ พรมแดน แต่ความรู้ท้องถิ่นกลับสูญหายไป การกระจายอํานาจขององค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่น ทุนขนาดใหญ่ที่เข้ ามาในท้ องถิ่น รวมทังอุ ้ บตั ภิ ยั ที่เกิดขึ ้นในจังหวัดพะเยา ทางออกที่อยากเห็น - ข้ อมูลท้ องถิ่นเพื่อการพัฒนา ซึง่ จะเป็ นการเชื่อมโยงกับองค์กรนังหวัดพะเยา - การต่อยอดงานวิจยั กว๊ านพะเยา - เวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ของชุมชนพะเยา - การสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู้ซงึ่ กันและกันในท้ องถิ่น สร้ างความเข้ าใจร่วมกัน 95


ผลการดําเนินงานที่ผ่านมา - กิจกรรมเวทีสาธารณะ การสื่อสารสาธารณะ เพื่อความเข้ าใจร่วมกัน และทางออกใน การแก้ ไขปั ญหา เช่น ชาวประมง - การระดมความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ เช่น เวทีโต๊ ะกลม เวทีสภากาแฟ เวทีท้องถิ่น สนทนา - เกิดพะเยาโมเดลในเรื่ องของการจัดการกับความขัดแย้ ง - ร่วมมือด้ านวิชาการกับภาคีเครื อข่าย เชน สถาบันพระปกเกล้ า มหาวิทยาลัยพะเยา ภาพอนาคต การออกแบบการพัฒนาท้ องถิ่น ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดโดยการมี ส่วนร่วม เกิดการบูรณาการแผนงาน การมีสว่ นร่วม 3. โครงการกลไกเครือข่ ายความร่ วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา กรณีศกึ ษากว๊ านพะเยา โดย นายชัยวัฒน์ จันธิมา และนางสาวสหัทยา วิเศษ สถาบันปวงผญาพยาว ความสําคัญของกว๊ านพะเยา 1. อาชีพชาวประมง 2. บริบทสังคม 3. ความรู้ที่ขาดการนํามาเผยแพร่ 4. โครงการพัฒนากว๊ านพะเยาที่ขาดการบูรณาการ 5. ทุนต่างถิ่น เช่น โฮมเสตย์ 6. นํ ้าท่วม นํ ้าแล้ ง โอกาส 1. กว๊ านพะเยาในวาระครบรอบ 70 ปี 2. โครงการพัฒนากว๊ านพะเยา 3. โครงการพระราชดําริ 4. ท้ องถิ่น ชุมชนมีจิตสํานึกและความเป็ นเจ้ าของ จากโอกาสที่กล่าวมา สถาบันฯ ได้ รับการสนับสนุนจาก 2 หน่วยงาน คือ สถาบันพระปกเกล้ า และ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ได้ หนุนเสริมโครงการวิจยั สานเสวนาหาทางออกเพื่อแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเย า และโครงการ70 ปี กว๊ านพะเยา สานพลังร้ อยเครื อข่ายสูก่ ารจัดการตนเองของท้ องถิ่น เป้าหมายของการดําเนินงาน สานพลัง ร้ อยเครื อข่าย การมีสว่ นร่วมในจัดการกว๊ านพะเยา ตาม แนวคิดการสานเสวนาหาทางออกร่วมกัน (Public deliberation) ที่มีกระบวนการดังนี ้ 1. กําหนดโจทย์ร่วม 2. กําหนดฉากทัศน์ (Scenario) /ทางออก 96


3. ศึกษาข้ อดีข้อด้ อยของฉากทัศน์หรื อของแต่ละทางออก 4. นําทางออกของแต่ละทางมาหาฉันทามติร่วม (consensus) 5. การแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาร่วมกัน กระบวนการการทํางานเพื่อพัฒนากลไกและเครื อข่ายความร่วมมือในการจัดการกว๊ านพะเยา โดย สถาบันปวงผญาพยาว มีขนตอนการดํ ั้ าเนินงาน ดังนี ้ 1. ศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานทัว่ ไปเกี่ยวกับกว๊ านพะเยา 2. จัดเวทีประชุมเครื อข่ายกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียรอบกว๊ านพะเยา 3. แต่ละกลุม่ จัดทําทางออกและข้ อเสนอในการบริหารจัดการ ดูแลและใช้ ประโยชน์จาก ทรัพยากรในกว๊ านพะเยา 4. สรุปประมวลข้ อมูลทางออก และข้ อเสนอของแต่กลุม่ 5. ประชุมกลุม่ ผู้ที่มีสว่ นได้ สว่ นเสียทังหมด ้ เพื่อนําทางออก และข้ อเสนอของแต่กลุม่ มาหา ฉันทามติร่วม 6. สรุปข้ อมูล และสร้ างต้ นแบบ (Model) การแก้ ไขปั ญหากว๊ านพะเยาโดยการมีสว่ นร่วมของ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย 7. ถอดบทเรี ยนกระบวนการทํางาน 8. จัดทําเอกสารรายงาน โดยมีกลุม่ เป้าหมายในการทําวิจยั คือ กลุม่ ผู้ที่มีสว่ นได้ สว่ นเสียที่มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการจัดการ กว๊ านพะเยา ได้ แก่ 1. หน่วยงานภาครัฐ - ราชการ 2. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น - รอบกว๊ านพะเยา 3. องค์กรธุรกิจเอกชน – หอการค้ า /สภาอุตสาหกรรม/ร้ านอาหาร 4. องค์กรภาคประชาสังคม – องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน 5. องค์กรชุมชน – กลุม่ /เครื อข่ายภาคประชาชน 6. สถาบันอุดมศึกษา-นักวิจยั / นักวิชาการ สิ่งที่อยากเห็น โมเดล /ตัวแบบ/องค์ความรู้ของการจัดการกว๊ านพะเยาแบบมีสว่ นร่วมอย่าง ยัง่ ยืน” โดยมีองค์ประกอบดังนี ้ 1. กลไกการจัดการกว๊ านพะเยา ในรูปแบบของคณะกรรมการท้ องถิ่น 2. ธรรมนูญกว๊ านพะเยา 97


3. การแก้ ไข /การออกกฎหมายและนโยบายที่สอดคล้ องกับฉันทามติร่วมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ท้ ายสุดจะเกิดเป็ นมหกรรม 70 ปี กว๊ านพะเยา: ฮอมผญา กว๊ านพะเยา และนําเสนอโมเดลของ เครื อข่าย และโครงสร้ างการพัฒนา เพื่อเป็ นตัวร่างของการทํางานร่วมกัน 4. เปิ ดเวทีรับฟั งความคิดเห็นของผู้เข้ าร่ วม ผ.ศ.มนตรา พงษ์นิล ผู้ชว่ ยคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ ให้ ผ้ เู ข้ าร่วมได้ แสดง ความคิดเห็น และหารื อร่วมกันในประเด็นการพัฒนากลไกเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา ฉัตรชัย นาคแก้ ว หัวหน้ าส่ วนประสานงานลุ่มนํา้ กกโขง กรมทรัพยากรนํา้ เห็นความสําคัญ ของการจัดตังองค์ ้ กรชุมชนรอบกว๊ านพะเยา เคยจัดตังมาแล้ ้ ว แต่ขาดช่วง จึงมีความต้ องการที่จะร่วมมือ กับทุกภาคส่วนทังภาครั ้ ฐ เอกชน องค์กรชุมชน โดยกรมทรัพยากรนํ ้าได้ มีแผนพัฒนาในลุม่ นํ ้าอิงตอนบน เป็ นช่วงๆ ตังแต่ ้ หนองเล็งทราย มาถึงกว๊ านพะเยา ส่วนกว๊ านพะเยาจะต้ องมีการประสานงานกับหน่วยงาน ต่างๆ และระดมปั ญหาจากคนในชุมชนรอบกว๊ านพะเยา โดยคนที่ร้ ูดี จะต้ องเป็ นคนในชุมชน สมาน บัวจ้ อย ประธานอนุรักษ์ วังปลานํา้ อิงตอนกลาง อยากให้ ชาวพะเยาหาวิธีการกําจัด ผักตบชวาที่ลกุ ลํ ้าเขตกว๊ านพะเยา เพราะจะทําให้ พื ้นที่ของกว๊ านพะเยาลดลง ถ้ าไม่ร่วมกันก็ไม่เห็นผล ยกตัวอย่างที่บ้านปางมดแดง ได้ มีการทําวังปลา โดยการสนับสนุนจากองค์กรพัฒนาเอกชน ส่งผลให้ ปลามี มากขึ ้น พันธุ์ปลาหลายชนิดเพิ่มขึ ้น ชาวบ้ านมีรายได้ จากการประมูลปลา ในส่วนของคณะกรรมการ ควร จะทําให้ เกิดความสําเร็จ เห็นได้ จากคงวามสําเร็จที่ทําในบ้ านปางมดแดง ป้อมเพชร กาพึง เครือข่ ายเกษตรทางเลือกบ้ านต๋ อม เห็นด้ วยกับการเกิดสภาพัฒนากว๊ าน พะเยา ในการทํางานต้ องการฟื น้ ฟูป่าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา และชมรมอนุรักษ์ป่าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา โดยเริ่ม จากตําบลของตนเอง คือ ตําบลสันป่ าม่วงและตําบลบ้ านต๋อม ซึง่ ใช้ ประโยชน์จากห้ วยแม่ตอ๋ มร่วมกัน สถานการณ์ปัจจุบนั พบว่าห้ วยแม่ตอ๋ มแห้ งลงมาก สมศักดิ์ เทพตุ่น ชมรมประมงพืน้ บ้ านกว๊ านพะเยา เห็นด้ วยการจัดตังสภาพั ้ ฒนากว๊ านพะเยา ที่มาจากองค์กรภาครัฐ เครื อข่ายภาคประชาชน รวมทังสื ้ ่อมวลชน เพื่อให้ เข้ ามามีสว่ นร่วมในการกําหนด ทิศทางการพัฒนากว๊ านพะเยาร่วมกัน ที่ผา่ นมามีคณะกรรมการพัฒนากว๊ านพะเยาที่หน่วยงานภาครัฐ มากกว่าภาคประชาชน จึงอยากเห็นสภาพัฒนากว๊ านพะเยาที่มาจากทุกภาคส่วนอย่างเท่าเทียมกัน ชุมพล ลีลานนท์ เครือข่ ายภาคประชาชน เห็นด้ วยกับการมีสภาฯ และธรรมนูญกว๊ านพะเยา จะเกิดขึ ้นได้ อย่างไร ที่ผา่ นมามีเวทีพดู ถึงปั ญหากว๊ านพะเยาหลายครัง้ แต่ก็จบไป ดังนันในการทํ ้ างาน ต่อไป ควรให้ ประชาชนมีสว่ นร่วมมากที่สดุ มีเครื อข่ายของภาคประชาชน แต่ละเครื อข่ายฯ มี คณะกรรมการและส่งตัวแทนเข้ ามาในสภาฯ มีการประชุมร่วมกัน โดยหน่วยงานภาครัฐ ท้ องถิ่น และภาค ประชาสังคมเป็ นองค์กรหนุนเสริม ในเบื ้องต้ นควรให้ มีคณะทํางานเป็ นกลไก เพื่อขับเคลื่อนการทํางาน พัฒนากว๊ านพะเยา เป็ นโมเดลต้ นแบบก่อน 98


ฉัตรชัย นาคแก้ ว หัวหน้ าส่ วนประสานงานลุ่มนํา้ กกโขง กรมทรัพยากรนํา้ องค์ประกอบของ กรรมการควรจะเป็ นใคร มีจํานวนเท่าไหร่ การกําหนดบทบาทหน้ าที่ โดยให้ ภาคประชาชนเป็ นหลัก ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องเข้ ามาสนับสนุน ดังนันโครงการที ้ ่รัฐจะดําเนินการจะต้ องมาสอบถาม ประชาชนทุกครัง้ นิสิตพัฒนาสังคม ปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยพะเยา กลุม่ เยาวชนอยากเข้ ามามีสว่ นร่วมในการ ประชุม การแสดงความคิดเห็นในกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนากว๊ านพะเยา 5. ข้ อสังเกตจากผู้เข้ าร่ วม - การทํากิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้ เกิดความคุ้นเคยและค่อยให้ เกิดเป็ นสภาฯ - การจัดตังคณะกรรมการยกร่ ้ าง - ให้ กลุม่ เยาวชนเข้ ามามีสว่ นร่วม - ให้ มีคณะทํางาน ประสานงานของแต่ละกลุม่ เพื่อให้ เกิดเวทีการแลกเปลี่ยนข้ อมูล ของแต่ละองค์กร - แต่ละหมูบ่ ้ านตังสภาพั ้ ฒนากว๊ านพะเยาระดับหมูบ่ ้ านก่อน และส่งตัวแทนเข้ ามาเป็ น สมาชิกสภาพัฒนากว๊ านพะเยา - ให้ เป็ นสภาประชาชนพัฒนากว๊ านพะเยาอีกชุดหนึง่ ที่คขู่ นานไปกับคณะกรรมการพัฒนากว๊ าน พะเยา ที่มีผ้ วู า่ ราชการจังหวัดเป็ นประธาน - การมีสภาพัฒนากว๊ านพะเยา เป็ นของประชาชน - การมีสว่ นร่วมของทุกเพศ ทุกวัย (เยาวชน ผู้สงู อายุ) คนที่เห็นปั ญหา คนที่มีจิตอาสา อยากเข้ า มาช่วยเหลือกัน - ในธรรมนูญกว๊ านพะเยา จะต้ องมีการกําหนดเป้าหมายว่าจะพัฒนาไปทางไหน โดยกําหนด ยุทธศาสตร์ ระยะเวลา เช่น 3-5 ปี การกําหนดพื ้นที่ในการพัฒนา เช่น ต้ นนํ ้า กลางนํ ้า ปลายนํ ้า - การตังชื ้ ่อสภาพัฒนากว๊ านพะเยา สภาประชาชนฯ หรื อชื่ออื่น เช่น คณะกรรมการท้ องถิ่นบริหาร จัดการกว๊ านพะเยา - ที่มา มาจากบุคคลที่มีความสมัครใจ / จิตอาสา เป็ นสภาฯของประชาชน โดยมีหน่วยงานเข้ ามา เป็ นที่ปรึกษา และหนุนเสริม - ให้ มีการจัดตังสภาพั ้ ฒนากว๊ านพะเยาระดับหมูบ่ ้ าน และส่งตัวแทนเข้ ามาเป็ นสมาชิกสภาพัฒนา กว๊ านพะเยา - ให้ มี องค์ประกอบ ทุกภาคส่วนจากตัวแทนกลุม่ / เครื อข่ายที่ทํากิจกรรมที่สอดคล้ องกับกว๊ าน พะเยา เช่น เกษตรกรรมทางเลือก ป่ าต้ นนํ ้า ลุม่ นํ ้า จักสานผักตบชวา ทํานาบัว สภาองค์กรชุมชนรอบกว๊ าน พะเยา องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นรอบกว๊ าน หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 99


- บทบาทหน้ าที่ของสมาชิกและคณะกรรมการ พิจารณาโครงการ/ แผนงานพัฒนากว๊ านพะเยา - องค์ประกอบของคณะทํางานยกร่างธรรมนูญ ให้ มีการแต่งตังคณะกรรมการจากทุ ้ กภาคส่วนเข้ า มายกร่าง ได้ รับความเห็นชอบจากทุกภาคส่วน และการรับรองจากทุกภาคส่วน - สรุปส่งให้ ผ้ เู ข้ าร่วมให้ เป็ นภาษาที่อา่ นง่าย - ประชุมสัญจรในพื ้นที่ที่สําเร็จ เพื่อให้ เห็นรูปธรรมของการทํางาน - สภาฯ เป็ นกลไกของภาคประชาชนเป็ นคณะติดตาม นําเสนอแผนงานของสภาประชาชนต่อ จังหวัด การมีสว่ นร่วมในการกลัน่ กรองโครงการ และนําความรู้ ข้ อมูล เช่น กฎหมายลงสูช่ มุ ชน - นํานักศึกษาลงพื ้นที่ร่วมกัน เพื่อเก็บรวบรวมข้ อมูล และเรี ยนรู้ร่วมกัน - กําหนดบทบาท หน้ าที่ของคณะทํางานให้ มีความชัดเจน แผนการดําเนินงาน และระยะเวลาใน การดําเนินงาน 6. สรุป และการเคลื่อนงานต่ อไป 6.1 จัดตัง้ คณะทํางานฯ ในเบือ้ งต้ น โดยมาจากคนที่มีจิตอาสา มีรายชื่อ ดังนี ้ 1) นายรัฐวุฒิชยั ใจกล้ า นายกอบต.บ้ านตุน่ 2) นายธัมรงค์ ไชยคุณ กํานันตําบลบ้ านใหม่ 3) นายป้อมเพชร กาพึง เครื อข่ายเกษตรทางเลือกบ้ านต๋อม 4) นายพันธุ์ศกั ดิ์ ชื่นใจ ผังเมืองและโยธาธิการ 5) นายเจนศักดิ์ ลิมปิ ติ ชลประทานพะเยา 6) นายสมาน บัวจ้ อย ชุมชนปางมดแดง 7) นายสงกรานต์ ปั ญญา สื่อมวลชน 8) นายเตชะภัฒน์ มะโนวงค์ ลุม่ นํ ้าอิง 9) นายเอกวิทย์ กิจตะวงค์ ลุม่ นํ ้าอิง 10) นายจันทร์ ตบิ๊ ฟูเฟื อง ประมงพื ้นบ้ าน 11) นายสมบูรณ์ บัวเทศ ทํานาบัว-ประมงพื ้นบ้ าน 12) นายจรัล ไก่งาม ทํานาบัว-ประมงพื ้นบ้ าน 13) นางวรรณวิมล แพ่งประสิทธิ์ สาธารณสุข 14) นายชุมพล ลีลานนท์ ภาคประชาชน นัดหมายประชุมคณะทํางาน ฯ โดยให้ เชิญผู้ที่เกี่ยวข้ องเข้ ามาเป็ นคณะทํางานเพิ่มเติม ในวันที่ 21 มิถนุ ายน 2554 ที่วดั ศรี โคมคํา โดยมีประเด็นการพูดคุย ดังนี ้ 100


a. b. c. d. e.

กําหนดบทบาทหน้ าที่ของคณะทํางาน เตรี ยมการ ประสานงานจัดเวทียอ่ ย กําหนดกลุม่ ที่จะจัดเวทียอ่ ย กําหนดประเด็นการพูดคุยแต่ละกลุม่ ย่อย และผู้ประสานงานกลุม่ ย่อย ประเด็นอื่นๆ เช่น เชิญหน่วยงานมาให้ ความรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับกว๊ านพะเยา ฯลฯ

6.2 จัดเวทีระดับองค์ กร/ กลุ่มเครือข่ าย /เวทีระดับหมู่บ้าน ระดับตําบล ในกลุ่มต่ อไปนี ้ - กลุม่ ชาวประมงกว๊ านพะเยา - กลุม่ ผู้หญิงที่ใช้ ประโยชน์จากกว๊ านพะเยา เช่น หาปลา เลี ้ยงสัตว์ เก็บผักตบชวา - กลุม่ ทํานาบัว - กลุม่ ผู้ใช้ นํ ้าประปาในเมือง - กลุม่ ผู้ใช้ นํ ้าในระบบชลประทาน - กลุม่ อาชีพจักสานผักตบชวา - กลุม่ ผู้ประกอบการค้ า ธุรกิจโรงแรม/ร้ านอาหาร/ท่องเที่ยว - กลุม่ คนในเมือง /ศิลปิ น/ ชมรมถ่ายภาพ - กลุม่ เยาวชน-สภาเด็กเยาวชน / คนรุ่นใหม่ - กลุม่ เกษตรกรทํานารอบกว๊ านพะเยา - กลุม่ ป่ าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา - กลุม่ องค์กรพัฒนาเอกชน / ประชาสังคม/ สื่อมวลชน - กลุม่ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น - หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการกว๊ านพะเยา - กลุม่ นักวิชาการ /นักวิจยั ในสถาบันอุดมศึกษา ตัวอย่างประเด็นการพูดคุยในเวที กลุม่ ย่อย a. กว๊ านพะเยาในมุมมองของกลุม่ ตนเอง b. กลุม่ มีการทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับกว๊ านพะเยา อะไรบ้ าง เช่น การใช้ ประโยชน์ แหล่งอาหาร ฯลฯ) c. การมีสว่ นร่วมของกลุม่ ในการพัฒนากว๊ านพะเยา การให้ ข้อคิดเห็นต่อการพัฒนา การ จัดการกว๊ านพะเยา d. ผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนากว๊ านพะเยา /จากการปฏิบตั หิ น้ าที่ หรื อจากกฎหมาย หน่วยงานที่มีตอ่ กลุม่ และการแก้ ไขปั ญหาของชุมชนที่ผา่ นมา 101


e. สิ่งที่อยากเห็น/ ภาพที่อยากเห็น /ทางออกที่มีตอ่ ปั ญหา (ฉากทัศน์) f. ข้ อดี/ ข้ อด้ อยของแต่ละทางออก g. ประเด็นร่วม ทางออก และข้ อเสนอของกลุม่ ที่เป็ นข้ อเสนอใหม่ๆ หรื อเป็ นนวัตกรรมในการ พัฒนากว๊ านพะเยา 3) จัดเวทีสานเสวนา เพื่อ หาฉันทามติร่วม (consensus) หลังจากได้ จดั เวทีกลุม่ ย่อยแต่ละ กลุม่ แล้ วเสร็จ โดยเชิญตัวแทนจากสถาบันพระปกเกล้ าเข้ าร่วมในเวที เพื่อ สร้ างต้ นแบบ ( Model) ในการ แก้ ไขปั ญหาของกว๊ านพะเยาโดยการมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ข.สรุปผลการประชุมคณะทํางานพัฒนาเครือข่ ายความร่ วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 21 มิถุนายน 2554 ณ ศูนย์ เรี ยนรู้ ประมงพืน้ บ้ านกว๊ านพะเยา บ้ านสันแกลบดํา ผู้เข้ าร่ วมประชุม 1. นายสมศักดิ์ เทพตุน่ ประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา บ้ านสันแกลบดํา 2. นายธัมรงค์ ไชยคุณ กํานันตําบลบ้ านใหม่ 3. นายป้อมเพชร กาพึง เครื อข่ายเกษตรทางเลือกบ้ านต๋อม 4. นส.วิมลรัตน์ พรเกตุกอน ประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา 5. นายพันธุ์ศกั ดิ์ ชื่นใจ โยธาธิการและผังเมือง 6. นายเจนศักดิ์ ลิมปิ ติ ชลประทานพะเยา 7. นายเตชะภัฒน์ มะโนวงค์ ลุม่ นํ ้าอิง 8. นายเสงี่ยม แก้ วก๋า ผู้ใหญ่บ้านสันหนองเหนียว 9. นายสมบูรณ์ บัวเทศ ทํานาบัว-ประมงพื ้นบ้ าน 10. นายสมปราตร ศรี มนั ตระ ทํานาบัว-ประมงพื ้นบ้ าน 11. นายจรัล ไก่งาม ทํานาบัว-ประมงพื ้นบ้ าน 12. นายชัยวัฒน์ จันธิมา สถาบันปวงผญาพยาว 13. นส.สหัทยา วิเศษ สถาบันปวงผญาพยาว 14. นส.สายอรุณ ปิ นะดวง สื่อมวลชน ข้ อสรุ ปจากการพูดคุย 1. คณะทํางานฯ ได้ มีการประชุมปรึกษาหารื อ เพื่อขับเคลื่อนแผนการทํางานของโครงการฯ ที่จะ นําไปสูก่ ารพัฒนาเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา โดยสถาบันปวงผญาพยาวเป็ นฝ่ าย ประสานงานในการจัดเวที ร่วมกับเครื อข่ายฯ ทังภาครั ้ ฐ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน รวบรวม 102


ข้ อมูลและบันทึกกระบวนการทํางาน โดยใช้ การวิจยั เป็ นเครื่ องมือในการทํางาน เพื่อให้ มีเอกสารที่จะ นําไปใช้ ประโยชน์ในการทํางาน/ อ้ างอิงในอนาคต คุณเจนศักดิ์ ลิมปิ ติ จากชลประทานจังหวัดพะเยา เสนอให้ นําประเด็น ‚การจัดการนํ ้าในกว๊ าน พะเยา ‛ (ปริมาณ / คุณภาพ/ ระบบการจัดการฯลฯ) เป็ นจุดเริ่มต้ นในการพูดคุย โดยให้ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง คือ ชลประทาน ประปา โยธาธิการ ประมง ฯลฯ นําเสนอข้ อมูลที่เป็ นอยูจ่ ริง และให้ ผ้ เู ข้ าร่วมได้ แลกเปลี่ยน เพื่อหาทางออกร่วมกัน 2. การพูดคุยในเรื่ องนํ ้าในครัง้ นี ้ จะนําไปสูเ่ รื่ องอื่นที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น การจัดการป่ าต้ นนํ ้า ระบบ เกษตรกรรมรอบกว๊ านพะเยา การจัดการนํ ้าท้ ายกว๊ านพะเยา เป็ นต้ น 3. จัดเวทีครัง้ แรกของ ระดับชุมชน นําร่องที่ตําบลบ้ านต๋อม ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2554 ณ ห้ อง ประชุมเทศบาลตําบลบ้ านต๋อม โดยมีหมูบ่ ้ านและผู้เข้ าร่วม 40 คน a. หมูบ่ ้ านที่ตดิ กว๊ านพะเยา (แท่นดอกไม้ ร่องห้ า สันต้ นผึ ้ง และสันหนองเหนียว) จํานวน 4 หมูบ่ ้ านๆละ 3 คน รวม 12 คน b. หมูบ่ ้ านที่อยูห่ า่ งออกไป จํานวน 14 หมูบ่ ้ านๆละ 2 คน รวม 28 คน 4. ผู้รับผิดชอบการจัดการ และประสานงานจัดเวทีตําบลบ้ านต๋อม a. คุณเจนศักดิ์ ลิมปิ ติ ชลประทานจังหวัดพะเยา ออกหนังสือเชิญผู้เข้ าร่วม และ ประสานงานวิทยากร และข้ อมูลนําเสนอ (เอกสาร/ แผนที่) b. สถาบันปวงผญาพยาว รับแจกหนังสือให้ ผ้ เู ข้ าร่วมโดยประสานงาน แกนนํา บ้ านสันหนอง เหนียว 5. ในกลุม่ ระดับหน่วยงาน จํานวน 7 กลุม่ จะประชุมหารื อกับคณะทํางาน เพื่อวางแผนจัดเวที และ ผู้รับผิดชอบในแต่ละกลุม่ 1) กลุม่ ผู้ประกอบการค้ า ธุรกิจโรงแรม/ร้ านอาหาร/ท่องเที่ยว 2) กลุม่ คนในเมือง /ศิลปิ น/ ชมรมถ่ายภาพ 3) กลุม่ เยาวชน-สภาเด็กเยาวชน / คนรุ่นใหม่ 4) กลุม่ องค์กรพัฒนาเอกชน / ประชาสังคม/ สื่อมวลชน 5) กลุม่ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น 6) หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการกว๊ านพะเยา 7) กลุม่ นักวิชาการ /นักวิจยั ในสถาบันอุดมศึกษา

103


ค. สรุปเวทีสานเสวนาหาทางออกการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่ างมีส่วนร่ วม วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม วัดศรีโคมคํา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา “กว๊ านพะเยาแหล่ งชีวิต...” ข้ อความขึ ้นต้ นคําขวัญของจังหวัดพะเยาประโยคนี ้ ได้ สะท้ อนนัยยะสําคัญที่กล่าวถึงแหล่งนํ ้าอัน กว้ างใหญ่กลางใจเมือง อันเป็ นที่ยอมรับในท้ องถิ่นและผู้มาเยือน ว่านี่คือ ชีวิต จิตใจ ใบหน้ า หรื ออัต ลักษณ์ของจังหวัดพะเยา กว๊ านพะเยา เดิมเป็ นแหล่งนํ ้าธรรมชาติ มีลกั ษณะเป็ นหนองนํ ้าหรื อบึงขนาดเล็ก มีพื ้นที่ไม่ถึง 1,200 ไร่ ต่อมาเมื่อปี 2484 ทางราชการได้ ก่อสร้ างเขื่อนกันแม่ ้ นํ ้าอิง จึงทําให้ หนองนํ ้าแห่งนี ้กลายเป็ น ทะเลสาบนํ ้าจืดขนาดใหญ่ มีพื ้นที่กว่า 12,000 ไร่ ส่งผลโดยตรงให้ นํ ้าท่วมที่ไร่ที่นาของชาวบ้ านและวัดวา โบราณสถานของชุมชนอีกหลายแห่ง จากพื ้นที่สาธารณะของชุมชน กว๊ านพะเยาถูกเปลี่ยนสถานะเป็ นพื ้นที่ราชพัสดุภายใต้ การดูแลของ กรมธนารักษ์ โดยกรมประมงเป็ นผู้ขอใช้ ประโยชน์หลัก เพื่อการอนุรักษ์สตั ว์นํ ้าและพันธุ์ปลา ในขณะที่ หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคธุรกิจ และประชาชนทัว่ ไป ได้ ใช้ ประโยชน์และประกอบกิจกรรมต่างๆ จากกว๊ านพะเยา อาทิ เพื่อการประมง เพื่อการประปา เพื่อการเกษตร เพื่อการท่องเที่ยว เพื่อการศึกษาวิจยั ฯลฯ ส่งผลกระทบให้ ระบบนิเวศของกว๊ านพะเยาทรุดโทรมลงอย่างน่าใจหาย “70 ปี แห่ งการพัฒนา ต่ างฝ่ าย ต่ างพัฒนา ต่ างฝ่ าย ต่ างคิดตรงข้ าม” ท่ามกลางความขัดแย้ งระหว่างหน่วยงานรัฐ ซึง่ เป็ นผู้ถือกฎหมายกับภาคประชาชน ที่ตา่ งฝ่ ายต่าง มีเป้าหมายทางการพัฒนาที่แตกต่างกัน และแม้ แต่หน่วยงานของรัฐด้ วยกันเองก็มีข้อขัดแย้ งในการ ปฏิบตั งิ าน เนื่องจากถือกฎหมายหรื อระเบียบในการใช้ กว๊ านพะเยาคนละฉบับ ซึง่ ปั จจุบนั มีกฎหมาย มากกว่า 8 ฉบับที่ควบคุมกว๊ านพะเยา ไม่นบั ความไม่ตอ่ เนื่องของผู้บริหารและแนวนโยบายหรื อโครงการ พัฒนาที่ไม่มีชดั เจน ทังหมดล้ ้ วนเป็ นปั ญหาและอุปสรรคสําคัญต่อการพัฒนาในท้ องถิ่นหลายด้ านตามมา ความขัดแย้ งครุกรุ่นที่ไม่มีการหันหน้ ามาพูดจากันเกือบ 70 ปี ไม่มีการจับมือกันหาทางออกร่วมกัน ต่างฝ่ ายต่างพูดจากัน ชาวบ้ านไม่มีเวทีพดู หน่วยงานต่างฝ่ ายต่างทํางานไปตามหน้ าที่ของตนเอง “อนิจจา กว๊ านพะเยา” ที่ก้าวเข้ าสูว่ ยั ชรา แต่ลกู หลานกลับดูแลไม่ถกู ที่ ถูกทาง ต่างคนต่างดูแลไปตามภาระหน้ าที่ แต่ไม่ใช่ด้วยใจ ปี 2554 กว๊ านพะเยาก้ าวมาสูว่ ยั 70 ปี สถาบันพระปกเกล้ า โดยสํานักวิจยั และพัฒนา และสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) และสถาบันปวงผญาพยาว องค์กรภาคประชาสังคมในพื ้นที่ จึงได้ ร่วมกันคิดและค้ นหาวิธีการเพื่อลดปั ญหาความขัดแย้ งที่เกิดขึ ้น โดยอาศัยกระบวนการสานเสวนาหรื อ ประชาเสวนา มาเป็ นเครื่ องมือให้ คนพะเยาทุกภาคส่วนได้ หนั หน้ ามาคุยกัน โดยการจัดเวทีกลุม่ ต่างๆ เพื่อ

104


หาทางออกให้ กบั การพัฒนากว๊ านพะเยาที่ให้ ความสําคัญกับการรับฟั งเสียงทุกเสียง และการมีสว่ นร่วม ของทุกภาคส่วน “หาทางออกผ่ านกระบวนการสานเสวนา” กระบวนการครัง้ แรก เริ่มต้ นด้ วยการประชุมเวทีสานเสวนาหาทางออกเพื่อแก้ ไขปั ญหารอบกว๊ าน พะเยา ภายใต้ โครงการเสริมสร้ างความเข้ มแข็งด้ านกฎหมายแก่ภาคประชาชน โดยสถาบันพระปกเกล้ า มี ผู้เข้ าร่วมจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ในเวทีดงั กล่าว ใช้ วิธีการสานเสวนาหาทางออกร่วมกัน การทําฉากทัศน์ของกว๊ านพะเยาทังสิ ้ ่งที่อยากเห็นและข้ อห่วงกังวล พบว่าผู้เข้ าร่วมได้ กําหนดภาพฝั น และวิสยั ทัศน์ในการจัดการกว๊ านพะเยา 3 ด้ าน ได้ แก่ 1) ความสวยงาม ใสสะอาด ของกว๊ านพะเยา 2) การพัฒนาและใช้ ประโยชน์จากนํ ้ากว๊ านพะเยาอย่างยัง่ ยืน 3) การบริหารจัดการกว๊ านพะเยาที่มีสว่ นร่วม ต่อมาทางสถาบันปวงผญาพยาว โดยการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกล้ า ได้ จดั ทําโครงการวิจยั เพื่อเสริมสร้ างศักยภาพความเข้ มแข็งด้ านกฎหมายแก่ภาคประชาชน ศึกษากรณีชมุ ชนรอบกว๊ านพะเยา จ. พะเยา โดยการวิจยั ครัง้ นี ้ออกแบบการวิจยั และวิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล จากการทําความเข้ าใจในการ ดําเนินงานโครงการวิจยั ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง การสรรหาคณะทํางาน และจัดเวทียอ่ ยในกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสีย และผู้ที่เกี่ยวข้ องในการจัดการกว๊ านพะเยา จํานวน 15 กลุม่ โดยการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จากตัวแทนแต่ละกลุม่ ที่มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ทังทางตรงและทางอ้ ้ อม และใช้ วิธีการสนทนากลุม่ /การจัดเวที ประชุมร่วม/การจัดกิจกรรมในโอกาสสําคัญ เพื่อให้ ได้ ข้อคิดเห็น และข้ อเสนอของแต่ละกลุม่ ต่อทางออกใน การพัฒนากว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย และผู้ที่เกี่ยวข้ องในการจัดการกว๊ านพะเยา ได้ แก่ แกนนําชุมชนทังระดั ้ บ ท้ องถิ่น -ท้ องที่รอบกว๊ านพะเยา 5 ตําบล อาทิ ตําบลบ้ านต๋อม ตําบลสันป่ าม่วง ตําบลบ้ านสาง ตําบลบ้ าน ตุน่ และตําบลแม่ใส กลุม่ ข้ าราชการ กลุม่ นักธุรกิจ ผู้ประกอบการ หอการค้ า เครื อข่ายลุม่ นํ ้าอิง เครื อข่าย อนุรักษ์ป่าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา เครื อข่ายประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา เครื อข่ายแม่หญิงพะเยา เครื อข่าย นักวิชาการ กลุม่ เยาวชน นักเรี ยน นักศึกษามหาวิทยาลัย กลุม่ ผู้ใช้ นํ ้าท้ ายกว๊ านพะเยา กลุม่ คนรุ่นใหม่ คน ในเมือง กลุม่ ศิลปิ น และกลุม่ แม่ค้าขายอาหารริมกว๊ านพะเยา นอกจากนี ้ยังได้ จดั กิจกรรมเพื่อสร้ างความร่วมมือและสร้ างความเข้ าใจกับกลุม่ อื่นๆ อาทิ การจัด กิจกรรมระหว่างคนถ่ายภาพกับชาวประมง การจัดวันรวมใจสานพลัง รักษ์กว๊ านพะเยา ถวายพระเจ้ าอยูห่ วั ระหว่างท้ องถิ่น ราชการ สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม สื่อมวลชน และเครื อข่ายภาค ประชาชน 105


เพื่อสร้ างให้ เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ในกระบวนการสานเสวนา สถาบันปวงผญาพยาว ได้ จดั ให้ มีเวทีสานเสวนาการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงเรี ยน พระปริยตั ธิ รรม วัดศรี โคมคํา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา โดยชวนเครื อข่ายฯ จากทุกภาคส่วนนําบทเรี ยนดี ที่เกิดขึ ้นจากกระบวนการมาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กนั การทาให้เกิ ดแนวร่ วมเพือ่ พูดคุยกัน ตนเองได้คิดไว้นาน แต่ไม่มีเวที พดู คุย จึ งเป็ นนิ มิตหมายที ด่ ี ที่ จะก้าวต่อไปในการพัฒนากว๊านพะเยา ตนเองในฐานะเจ้าของกว๊านพะเยา ได้มีคนมาเสนอในหลายๆ ครั้ง ว่ากว๊านพะเยาควรจะทาอย่างนัน้ ทาอย่างนี ้ ทัง้ ๆ ทีเ่ ป็ นคนทีม่ าท่องเทีย่ ว ดังนัน้ คนพะเยาจึงควรให้ความ ใส่ใจในเรื ่องของการพัฒนากว๊านพะเยา โดยมี ส่วนร่ วม โชคดีทีม่ ี โครงการพระราชดาริ จะเป็ นการเริ่ มต้นที ่ ดี และมี ความชัดเจนมากขึ้น ปัญหาของกว๊านพะเยา ทีน่ ้าไม่เพียงพอ น้าไม่สะอาด การบุกรุกทีก่ ว๊านพะเยา ฯลฯ การประชุม เสวนาเพือ่ หาแนวทางการพัฒนากว๊านพะเยาหลายครั้ง ตนเองก็ได้เข้าร่ วมตลอด การร่ วมรณรงค์ให้น้า กว๊านพะเยาสะอาด โดยโยนดาสต้าบอล แนวทางที ต่ นเองได้เข้าร่ วมเสวนาพูดจากับประชาชน จึ งเกิ ด แนวคิ ดว่าควรจะมี การแบ่งเขตกว๊านพะเยา เป็ นเขตอนุรักษ์ ให้อปท.รอบกว๊านพะเยา เป็ นผูแ้ ล การขุด ลอก จะต้องอาศัยเครื ่องจักรกล การกาจัดวัชพืชในกว๊านพะเยา โดย อบจ. ได้มาประชุมกับฝ่ าย อปท. เพือ่ ให้เข้ามามี ส่วนร่ วมในการกาจัดผักตบชวา และนามาขาย ให้แก่โรงปุ๋ ยของอบจ. การปลุกจิ ตสานึกใน การเป็ นเจ้าของกว๊านพะเยา โดยการสร้างเป็ นหลักสูตรของสถานศึกษา เพือ่ ให้คนพะเยารู้จกั และ ความรู้สึกเป็ นเจ้าของ นอกจากนีต้ อ้ งมี การทางานเชิ งรุก โดยมี สภากว๊านพะเยา ควรจะประกอบด้วย อปท. ท้องที ่ ประชาชนทุกภาคส่วน ไม่มีการโยกย้าย จะต้องเป็ นองค์กรถาวรของคนพะเยาอย่างแท้จริ ง ไม่ให้เป็ นเจดีย์ ยอดด้วน ที ม่ ี ข้าราชการจะมี การโยกย้าย ไม่มีเจ้าภาพหลัก การพัฒนาที ไ่ ม่ต่อเนื อ่ ง การมี ธรรมนูญกว๊าน พะเยา เพือ่ เป็ นหลักการในการพัฒนากว๊านพะเยา การท่องเทีย่ วทีจ่ ะต้องเป็ นธรรมชาติ ทีน่ ่าท่องเทีย่ ว การเก็บภาษี ให้เป็ นกองทุนในการพัฒนากว๊านพะเยา เพือ่ ให้มีงบประมาณในการพัฒนากว๊านพะเยา โดย คนพะเยาอย่างยัง่ ยืน นายรัฐวุฒชิ ัย ใจกล้ า นายกองค์ การบริหารส่ วนตําบลบ้ านตุ่น ตัวแทนองค์ กรปกครองท้ องถิ่น ต่างคนต่างคิ ด ต่างคนต่างทา เมื ่อลงไปทีช่ มุ ชน สิ่ งทีเ่ ห็นคือ ณ วันนีเ้ ริ่ มคิ ดไปทางเดียวกัน แต่การ ทายังไม่เป็ นจริ ง ถ้าเราช่วยกันนาผักตบออก ไม่กี่วนั ก็หมด เราไม่ได้ทา โยนให้หน่วยงานอืน่ เช่น อบจ. เทศบาล สิ่ งนี อ้ ยู่ทีเ่ ราจะทาหรื อ ไม่ทา ในวันที ่ 20 มี นาคม 2555 จะมี การประชาพิจารณ์เรื ่องการพัฒนา กว๊านพะเยา สิ่ งทีเ่ ราร่ วมกันคิ ดคือ อยากเห็นกว๊านสวย มี น้าเพียงพอ และการพัฒนาทีม่ ี ส่วนร่ วมจาก ประชาชน เป็ นโอกาสดีทีส่ มเด็จพระเทพฯ รับเป็ นโครงการพระราชดาริ เรื ่องการพัฒนาด้านสิ่ งแวดล้อม

106


และครม.สัญจรที ่ จ.เชี ยงใหม่อนุมตั ิ งบประมาณ 1,500 ล้านบาท ให้แต่ละท้องถิ่ นทีม่ ี สิ่งก่อสร้างเตรี ยม โครงการไว้ เพือ่ นาเสนอต่อคณะกรรมการ เจนศักดิ์ ลิมปิ ติ โครงการชลประทานพะเยา ตัวแทนภาครั ฐ ในฐานะเป็ นภาควิ ชาการ การทางานทีผ่ ่านมาหน่วยงานรัฐ ภาคประชาชนให้ความร่ วมมื อเป็ น อย่างดีในการพัฒนากว๊านพะเยา ร่ วมกับทางมหาวิ ทยาลัยพะเยา โดยส่วนตัวของนักวิ จยั มองว่าทุกภาค ส่วนสามารถนาข้อมูลไปใช้ได้ การลงไปทางานวิ จยั ร่ วมกับชุมชน ทาให้เห็นว่าชุมชนให้ความร่ วมมื อเป็ น อย่างดี และมี องค์ความรู้มากมายที เ่ กิ ดขึ้น มี ข้อสังเกตว่าส่วนใหญ่ชมุ ชนเมื องจะเข้ามามี ส่วนร่ วมในการ พัฒนาน้อยกว่าชุมชนชนบท เช่น การมองผักตบชวาของคนแต่ละฝั่ งจะแตกต่างกัน คนในเมื องมองว่าเป็ น สิ่ งที ร่ กตา แต่ไม่ได้ช่วยกันแก้ปัญหา คนชนบทมองว่าเป็ นสิ่ งที จ่ ะทาให้เกิ ดรายได้ จึ งต้องช่วยกันดูแล และ จัดการให้เกิ ดประโยชน์สูงสุด โดยการพัฒนากว๊านพะเยา น่าจัดช่วยกันออกแบบให้เป็ น Lake หรื อ wetland และจัดการกว๊านพะเยาร่ วมกัน โดยมี กลไกทีม่ าจากทุกภาคส่วนมาร่ วมกัน มหาวิ ทยาลัยพะเยา เป็ นหน่วยงานที อ่ ยู่ตรงกลางกาลังจะดูการพัฒนาที เ่ กิ ดขึ้น เพือ่ ให้เกิ ดความยัง่ ยื นท่ามกลางกระแสการ เปลี ย่ นแปลงที ก่ ้าวไปสู่ความเป็ นสากลอย่างรวดเร็ ว ผศ.ดร.สุขทัย พงศ์ พัฒนศิริ มหาวิทยาลัยพะเยา ตัวแทนภาควิชาการ “สานพลังท้ องถิ่น –ราชการ-วิชาการ- ประชาชน” จังหวัดพะเยามี กว๊านพะเยา เป็ นตัวแทนของจังหวัดพะเยา ทุกคนเป็ นเจ้าของร่ วมกัน อยากเห็น กว๊านพะเยาสวยงาม และอยากมี ส่วนร่ วมเป็ นเจ้าของกว๊านพะเยา มี การใช้ประโยชน์ทีต่ ่อเนือ่ งยาวนาน ตัง้ แต่เป็ นกว๊านพะเยาในปี 2484 ถึง 2554 ทีก่ ว๊านพะเยาเกิ ดขึ้นมาจากแหล่งน้าสายเล็กหลายสาย 70 ปี ทีผ่ ่านมา เกิ ดปัญหาขึ้นมากมาย เช่น การชะล้างสารเคมี ลงในกว๊านพะเยา น้าเน่าเสีย ผักตบชวา กว๊าน พะเยาตื น้ เขิ น ฯลฯ อาจเป็ นเพราะการไม่มีเจ้าภาพ การไม่มีงบประมาณ ไม่มีความรู้ทีเ่ หมาะสมในการ แก้ไขปัญหา ต่อมาจังหวัดพะเยาได้เสนอโครงการพระราชดาริ ต่อสมเด็จพระเทพฯ ซึ่งท่านทรงรับในด้าน สิ่ งแวดล้อม โดยให้มูลนิ ธิชยั พัฒนารับผิ ดชอบ ดร.เกษม จันทร์ แก้ว ได้รับผิ ดชอบหลัก โดยมี แนวทางว่า จะต้องให้ภาคประชาชนมี ส่วนร่ วม และไม่มีความขัดแย้ง เกิ ดเป็ น 5 แผนงานหลัก คือ แผนงานด้านการ จัดการน้า แผนงานคุณภาพน้า แผนงานด้านสัตว์น้า แผนงานด้านการจัดการปริ มาณน้า และแผนงาน ด้านการติ ดตามประเมิ นผล โดยทุกแผนงานมี ภาครัฐ และสถาบันการศึกษาเป็ นฝ่ ายหนุนเสริ ม และให้ทกุ ภาคส่วนเข้ามามี ส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ เพือ่ ความยัง่ ยืน เช่น กรณี ของสภากว๊านพะเยา ซึ่งต้องหา วิ ธีการสร้างให้เกิ ดขึ้นในทางปฏิ บตั ิ สิ่ งทีภ่ าครัฐจะต้องทาก่อนคือ การแบ่งประเภทการพัฒนากว๊านพะเยา เช่น การสารวจออกแบบรู ปพรรณสัณฐานของกว๊านพะเยา เพือ่ วางแผนการขุดลอกกว๊านพะเยา นายวรพจน์ ผ่ องสมัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม จ.พะเยา 107


ในส่วนของโครงการพระราชดาริ มี การร่ างโครงการไว้แล้ว และมี เจ้าภาพ ๓ ส่วน คือ ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น และภาควิ ชาการซึ่ งเป็ นด้านองค์ความรู้ ทางมหาวิ ทยาลัยซึ่ งมี ปณิ ธานในการ สร้างปัญญาเพือ่ ความเข้มแข็งของชุมชน ซึ่งมี การกาหนดบทบาทของมหาวิ ทยาลัยในการทางาน ๕ ทิ ศทาง โดยการพัฒนานักวิ ชาการในมหาวิ ทยาลัย การพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนให้อาจารย์นา ความรู้ไปสอนนิ สิต การให้นิสิตได้เข้าไปมี ส่วนร่ วม การสนับสนุนโครงการพระราชดาริ นาองค์ความรู้ใน มหาวิ ทยาลัยไปสู่ชมุ ชน และการเป็ นเจ้าภาพในการพัฒนาจังหวัดพะเยา และให้แต่ละคณะลงไปทางาน ในแต่ละอาเภอ โดยเลื อกลงไปทาในพืน้ ที ต่ าบลให้เป็ นต้นแบบ เพือ่ ให้ได้องค์ความรู้ไปขยายผลในตาบล อื น่ การพัฒนาให้เป็ นโมเดลลุ่มน้ากว๊านพะเยา เพราะมหาวิ ทยาลัยตัง้ อยู่ในลุ่มน้าแม่ต๋า เพือ่ ให้เป็ นโมเดล ในการพัฒนาลุ่มน้ากว๊านพะเยา ให้สอดคล้องกับภาระหน้าทีข่ องมหาวิ ทยาลัยพะเยา นายชํานาญ แสงแก้ ว ผู้อาํ นวยการฝ่ ายวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยพะเยา กว๊านพะเยาเป็ นจุดแข็งของเมื องพะเยา เป็ นแหล่งน้าจื ดขนาดใหญ่ หลายยุคหลายสมัยมี ความ พยายามในการแก้ไขปัญหา ทุกคนมี ความมุ่งมัน่ ในการทางาน แต่ติดขัดกฎหมายมากมายหลายประการ และขาดผูม้ ี ประสบการณ์ ในการช่วยกันคิ ด โดยเฉพาะสภาพปั ญหาที เกิ ดขึ้น เช่น การบุกรุกที ด่ ิ น ปั ญหา จากการท่องเทีย่ ว ฯลฯ ตอนนี ้ อปท.หลายแห่งได้ร่วมมื อกันแก้ไขปั ญหา และมี การพูดคุยกับหลายๆ ท้องถิ่ น เช่น ผักตบชวา จะมี การแก้ไขปัญหาร่ วมกั บอปท.หลายแห่ง นายอาทิตย์ มานัสสา ทีมที่ปรึกษานายกองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดพะเยา

ส่วนตัวดีใจทีม่ ี โอกาสมี ส่วนร่ วมในการพัฒนา ก้าวแรกคือ การมี เวทีเสวนาพบปะ ซึ่งเป็ นก้าวแรก ส่วนก้าวที ส่ อง จะนาไปสู่กระบวนการปฏิ บตั ิ สิ่ งที เ่ ราทาคื อ การรักษาป่ าต้นน้า การปลุกจิ ตสานึกให้ลกุ ขึ้น ปกป้ องทรัพยากรป่ าไม้ ซึ่ งมี ตน้ แบบหลายแห่ง เป็ นโมเดลที ข่ ยายไปสู่ ๑๒ ลาห้วย เป็ นสิ่ งทีต่ อ้ งทาใน โครงการพระราชดาริ ในภาคของการเกษตร ซึ่งวิ ถีการผลิ ตพึ่งพาสารเคมี ทานาเพือ่ การผลิ ต โดยไม่ได้เก็บ ไว้กิน เพราะใช้สารเคมี ในการทานามากขึ้น โดยเฉพาะในพืน้ ทีป่ ่ าต้นน้ากว๊านพะเยา รวมทัง้ การไม่มีแหล่ง กักเก็บน้าในการทานา จึงต้องให้มีการขุดสระในนา เพือ่ กักเก็บน้า ซึ่งตนเองได้ทาเป็ นต้นแบบในการทานา ปลอดสารเคมี และขยายแนวคิ ดในทุกๆ ครั้งทีม่ ี โอกาส รวมทัง้ นาเสนอในโครงการพระราชดาริ ดว้ ย ป้อมเพชร กาพึง เครือข่ ายอนุรักษ์ และพัฒนาป่ าต้ นนํา้ กว๊ านพะเยา “เสียงสะท้ อนจากคนรักกว๊ าน” ในชุมชนเมื อง ขาดการมี ส่วนร่ วม เพราะไม่รับรู้ข้อมูล คนพะเยารู้ปัญหา แต่ปัญหาที จ่ ะจัดการคื อ กฎหมายของท้องถิ่ น แต่ไม่กล้าตัดสิ นใจในการจัดการกับปัญหาน้าเน่าเสีย การใช้สารเคมี ส่งผลให้ปลา 108


สูญพันธุ์ เช่น โรงสี ร้านอาหาร ซึ่ งเป็ นตัวก่อปั ญหาโดยตรง การเพาะพันธุ์ การปล่อยปลายังจาเป็ นหรื อไม่ อาจจะต้องขอยกเลิ ก ในส่วนพืน้ ทีร่ าชพัสดุ ถ้าประมงไม่อนุญาตก็ทาไม่ได้ แต่การปล่อยน้าเสียลงกว๊าน พะเยามี การทาโดยไม่ได้ตระหนัก มี แต่ความสะดวก เวที แบบนี ้ ถ้าไม่เกิ ดการปฏิ บตั ิ จะเป็ นการสูญเปล่า เพราะไม่มีเจ้าภาพจริ งๆ ไม่มีการทาต่อเนือ่ ง ประชาชนจะทาเองไม่ได้ เช่น การกาจัดผักตบชวา ถึงแม้ว่า จะมี โรงปุ๋ ยก็ไม่มีการแก้ไขปั ญหาได้ ไม่มีการบูรณาการแก้ไขปั ญหากว๊านพะเยาได้จิรงจัง จะผลักดัน อย่างไรให้หน่วยงานทีร่ ับผิ ดชอบได้มีการแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริ ง ในภาคเกษตรกร ถ้าไม่มีการใช่สารเคมี น้ากว๊านพะเยาจะไม่เน่าเสี ย ไม่มีปลาตาย ในส่วนของงานวิ จยั ที ม่ ี มากมาย จะต้องคื นข้อมูลให้ชมุ ชน นายวิศิษฐ์ สุปรี ยาพร ศูนย์ พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง จ.พะเยา การแก้ไขปั ญหาที เ่ ริ่ มจากตัวเองก่อน จะขยายในครอบครัว ไปสู่ชมุ ชน ดังนัน้ ตนเองจะต้องรู้จกั ตนเอง การเริ่ มต้นจากตัวเองต้องทาอะไร แต่ละครอบครัวต้องทาอะไร เช่น อดีตทุกบ้านต้องมี สระน้า มี บ่อ น้า เพือ่ กักเก็บน้า การกาหนดเป้ าหมายในการทางานทีช่ ดั เจนก่อน โดยการเริ่ มต้นทีต่ นเองก่อน และขยาย ไปสู่ชมุ ชน นอกจากนี จ้ ะต้องเริ่ มจากคนที ร่ ู้จริ ง มี ข้อมูลจริ ง อ.ชํานาญ แสงแก้ ว กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยพะเยา การให้ประชาชนมี ส่วนร่ วม ต้องรู้สภาพพืน้ ที ่ รู้ข้อมูลชุมชน ลาห้วยที ไ่ หลลงสู่กว๊านพะเยาว่ามี กี่ สาย จัดเวที กลุ่มผูใ้ ช้น้า กลุ่มเหมื องฝาย เพือ่ ค้นหาสภาพปั ญหาของแต่ละลาห้วย นายชาญณรงค์ พูนวิริยาภรณ์ สภาพปัญหาเรื ่องการจัดการน้า และผักตบชวา ควรให้ อปท.เป็ นฝ่ ายจัดการ ให้ผวู้ ่าราชการเป็ น ฝ่ ายสัง่ การ กรณี การทานาทีไ่ ม่มีสารพิษเป็ นสิ่ งทีท่ าได้ยาก เพราะมี การจาหน่ายได้อย่างเสรี อีกประการถ้า มี การลงมื อปฏิ บตั ิ ๑ เรื ่องให้เป็ นรู ปธรรม จะเห็นการมี ส่วนร่ วมของทุกภาคส่วน แต่ตอ้ งให้ทกุ หน่วยงานได้ มี ส่วนร่ วมอย่างจริ งจัง นายบุญมี คําลือ กํานันตําบลบ้ านต๋ อม ควรการจัดการลุ่มน้าทัง้ ระบบ ในลุ่มน้าอิ ง สภาพของป่ าต้นน้าเป็ นอย่างไร ให้คนทัง้ ลุ่มน้ามา เรี ยนรู้ระบบนิ เวศป่ าต้นน้าอิ งทัง้ ระบบ เรี ยนรู้วิถีชีวิตของคนทัง้ ลุ่มน้า สร้างช่องทางการสื อ่ สารให้คนทัง้ ลุ่ม น้าได้รับรู้ ร่ วมคิ ด ร่ วมทา ร่ วมออกแบบการจัดการ การเรี ยนรู้ การศึกษาประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่ นพะเยา ลุ่ม น้าอิ ง เพือ่ ให้มีการย้อนอดี ต มองปั จจุบนั ไปสู่อนาคต นายเตชะภัณฑ์ มะโนวงศ์ เครือข่ ายลุ่มนํา้ อิง การขุดลอกแม่น้าอิ ง ควรมี การแบ่งโซนกัน การประกวดกัน ให้มีการดูแลแต่ละท้องถิ่ น ตนเองอยู่ ลุ่มน้าอิ งตอนกลาง มี ความเป็ นห่วงเรื ่องสารพิ ษหมักหมม ควรมี การระบายน้าก่อนฤดูฝนในเดื อนสิ งหาคม

109


เพือ่ ป้ องกันน้าท่วมไร่ นา ตัง้ แต่บา้ นหนองลาวถึงบ้านปางมดแดง ไม่เช่นนัน้ ปลาในกว๊านพะเยา และแม่น้า อิ งจะไม่มีกิน นายสมาน บัวจ้ อย บ้ านปางมดแดง ปั จฉิมกถา “กว๊ านพะเยาลือเลื่อง เมืองแห่ งกว๊ าน‛ โดยนายไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา การสร้ างเวทีให้ ทกุ ภาคส่วนได้ พดู คุย เป็ นแบบ Forum “การสร้ างกว๊ านพะเยา เมืองลือเลื่องแห่ง กว๊ านพะเยา” คนรู้จกั พะเยาเพราะกว๊ านพะเยา ดังนันทุ ้ กสิ่งที่ทําต้ องเกี่ยวกับกว๊ านพะเยา ทุกอย่างต้ อง ขับเคลื่อน และช่วยกันต่อจิ๊กซอว์ ตนเองมีความคิดว่าการขับเคลื่อนกว๊ านพะเยา มี 7 มิติ เพื่อให้ เห็นว่าทุก หน่วยเป็ นองค์ประกอบของกันและกัน 1) มิตดิ ้ านประมง จึงต้ องมีการส่งเสริมการเพาะพันธุ์สตั ว์นํ ้า โดยให้ มีผลผลิตด้ านการประมง โดย มีการแยกกิจกรรมเพื่อพัฒนาการประมง การสร้ างพระตําหนักสมเด็จย่าให้ เป็ นจุดท่องเที่ยว 2) มิตชิ ลประทานและการเกษตร ซึง่ กว๊ านพะเยาเป็ นแหล่งกักเก็บนํ ้าขนาดใหญ่ เพื่อให้ มีนํ ้าใช้ ใน การเกษตรที่พอเพียง การจัดสรรนํ ้าให้ แก่เกษตรกรในการเกษตร 3) มิตดิ ้ านสิ่งแวดล้ อม สมเด็จพระเทพฯ ท่านสนพระทัยรับโครงการพัฒนากว๊ านพะเยา เป็ น โครงการพระราชดําริ การทํางานของจังหวัดจึงให้ สอดคล้ องกับโครงการพระราชดําริ เช่น กิจกรรมการโยนแดสต้ าบอล การกําจัดผักตบชวา 4) มิตดิ ้ านการท่องเที่ยว เพื่อให้ พะเยาเป็ นจุดท่องเที่ยว เช่น ที่พกั ถนนคนเดิน ร้ านอาหาร ที่มี ความเป็ นพะเยา ขายความเป็ นพื ้นบ้ านของพะเยา มีกิจกรรมเช่น ถ่ายภาพมุมสูงจากวัดอนาล โย ไหว้ พระวัดกลางนํ ้า 5) มิตดิ ้ านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม เช่น วัดติโลกอาราม จารึกเมืองพะเยา หลวงพ่อเศียรเมือง พะเยา ฯลฯ ผนวกกับมิตดิ ้ านการท่องเที่ยวที่เป็ นการท่องเที่ยวแบบ Slow travel โดยการสร้ าง เป็ นวงกลมของการท่องเที่ยวทัว่ จังหวัดพะเยา 6) มิตดิ ้ านท้ องถิ่น และชุมชน เช่น ท่าเรื อโบราณ หัตถกรรมจากผักตบชวา เกษตรปลอดภัย เศรษฐกิจพอเพียง การท่องเที่ยวด้ วยการขี่จกั รยานรอบกว๊ านพะเยา วิ่งมาราธอน ซึง่ เป็ นเรื่ อง ของท้ องถิ่นรอบกว๊ านพะเยาที่ร่วมกันพัฒนา 7) มิตดิ ้ านการพัฒนาสังคม ซึง่ เป็ นประเด็นของภาคประชาสังคมที่ได้ มาถกแถลงกัน ทังพระ ้ วัด ท้ องถิ่น มหาวิทยาลัย ฯลฯ ได้ มาเสวนากัน เป็ นภาคระดมความคิด เปิ ดจิตวิญญาณ ใส่พลัง ซึง่ กันและกัน 110


ถ้ าทุกภาคส่วน ทําการบ้ าน แบ่งกันรับผิดชอบ โดยผู้วา่ ราชการจังหวัดเป็ นผู้ดแู ลภาพรวม แต่การ ขับเคลื่อนขบวนฯ ไม่ใช่เรื่ องง่าย ต้ องให้ ทกุ ภาคส่วนมาร่วมแสดงความคิดเห็น บางอย่างต้ องประสาน การบูรณาการกัน และคลี่กิจกรรมทัง้ 7 มิติ โดยไม่ทํายิ่งใหญ่ แต่รักษาจารี ตประเพณีของพะเยา เพราะ กว๊ านพะเยาเป็ นสมบัตขิ องคนพะเยา หลังจากนันผู ้ ้ วา่ ราชการจังหวัด ตัวแทนหน่วยงานราชการ ภาคประชาชน ภาควิชาการ ภาคท้ องที่ -ท้ องถิ่นได้ ลงนามในฉันทามติร่วม และถ่ายรูปร่วมกัน ก่อนที่จะปิ ดเวทีสานเสวนาการพัฒนากว๊ านพะเยา อย่างมีสว่ นร่วมที่เป็ นทางการ

111


ง. ประมวลภาพกิจกรรม

เวทีเยาวชนกับการมีส่วนร่ วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 6 สิงหาคม 2554 ณ ศูนย์ การเรี ยนรู้ ประมงพืน้ บ้ านสันแกลบดํา อ.เมือง จ.พะเยา

เวทีนักวิชาการกับการมีส่วนร่ วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 10 สิงหาคมและ4 ตุลาคม 2554 ณ เฮือนไม้ สักและนอร์ บูลิงการ์ อ.เมือง จ.พะเยา 112


เวทีสนทนากลุ่มผู้ประกอบการค้ า ธุรกิจโรงแรม ร้ านอาหาร และท่ องเที่ยว วันที่ 30 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมนอร์ ทเทรินเลค อ.เมือง จ.พะเยา

เวทีสนทนากลุ่มคนในเมือง ศิลปิ น และชมรมพะเยาโฟโต้ คลับ วันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ ณ ศูนย์ การเรี ยนรู้ ชุมชนประมงกว๊ านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา

113


เวทีผ้ ูหญิงกับทางออกในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 8 สิงหาคม 2554 ณ บ้ านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดพะเยา

เวทีสนทนากลุ่มย่ อย “เครือข่ ายอนุรักษ์ ป่าต้ นนํา้ กว๊ านพะเยา” วันที่ 20 กันยายน 2554 ณ เทศบาลตําบลสันป่ าม่ วง

114


เวทีสนทนากลุ่มแม่ ค้าขายของกว๊ านพะเยา วันที่ 20 กันยายน 2554 ณ สวนสมเด็จย่ า กว๊ านพะเยา

เวทีสนทนากลุ่มการจัดการนํา้ กว๊ านพะเยา ตําบลบ้ านต๋ อม วันที่ 27 กรกฎาคม 2554 ณ ห้ องประชุมเทศบาลตําบลบ้ านต๋ อม 115


เวทีสนทนากลุ่มการจัดการกว๊ านพะเยา ตําบลแม่ ใส วันที่ 15 กันยายน 2554 ณ ศาลาประชาคม องค์ การบริหารส่ วนตําบลแม่ ใส อ.เมือง จ.พะเยา

เวทีชาวประมงพืน้ บ้ านกว๊ านพะเยา วันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ ณ ศูนย์ การเรี ยนรู้ ชุมชนประมงสันแกลบดํา อ.เมือง จ.พะเยา

116


เวทีจัดทําแผนโครงการบริหารจัดการลุ่มนํา้ กว๊ านพะเยา ตามพระราชดําริ ระหว่ างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

เวทีสนทนากลุ่มหน่ วยงานภาครัฐ ในวันที่ 25 มกราคม 2555 ณ โครงการชลประทานพะเยา อ.ดอกคําใต้ จ.พะเยา 117


เวทีสานเสวนาการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่ างมีส่วนร่ วม วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม วัดศรีโคมคํา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 118


จ.รายชื่อผู้เข้ าร่ วมในเวทีกลุ่มย่ อย 1.เวทีการพัฒนากลไกเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 ณ ห้ อง C 103 อาคารเรี ยนรวมหลังเก่า มหาวิทยาลัยพะเยา 2. ประชุมคณะทํางานพัฒนาเครื อข่ายความร่วมมือในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 21 มิถนุ ายน 2554 ณ ศูนย์เรี ยนรู้ประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา 3. เวทีสนทนากลุม่ การจัดการนํ ้ากว๊ านพะเยา ตําบลบ้ านต๋อม วันที่ 27 กรกฎาคม 2554 ณ ห้ อง ประชุมเทศบาลตําบลบ้ านต๋อม 4. เวทีเยาวชนกับการมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 6 สิงหาคม 2554 ณ ศูนย์การ เรี ยนรู้ประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา 5. เวทีผ้ หู ญิงกับทางออกในการพัฒนากว๊ านพะเยาวันที่ 8 สิงหาคม 2554 ณ บ้ านพักเด็กและ ครอบครัว จังหวัดพะเยา 6. เวทีสนทนากลุม่ การจัดการนํ ้ากว๊ านพะเยา ตําบลบ้ านตุน่ วันที่ 9 สิงหาคม 2554 ณ ห้ องประชุม องค์การบริหารส่วนตําบลบ้ านตุน่ 7.เวทีนกั วิชาการกับการมีสว่ นร่วมในการพัฒนากว๊ านพะเยา วันที่ 10 สิงหาคมและ4 ตุลาคม 2554 ณ เฮือนไม้ สกั และนอร์ บลู ิงการ์ อ.เมือง จ.พะเยา 8.เวทีสนทนากลุม่ ผู้ประกอบการค้ า ธุรกิจโรงแรม ร้ านอาหาร และท่องเที่ยว วันที่ 30 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมนอร์ ทเทรินเลค อ.เมือง จ.พะเยา 9.เวทีสนทนากลุม่ การจัดการนํ ้ากว๊ านพะเยา ตําบลสันป่ าม่วง วันที่ 13 กันยายน 2554 ณ ห้ อง ประชุมเทศบาลตําบลสันป่ าม่วง 10.เวทีสนทนากลุม่ การจัดการกว๊ านพะเยา ตําบลแม่ใส วันที่ 15 กันยายน 2554 ณ ศาลา ประชาคม องค์การบริหารส่วนตําบลแม่ใส อ.เมือง จ.พะเยา 11.เวทีสนทนากลุม่ การจัดการนํ ้ากว๊ านพะเยา ตําบลบ้ านสาง วันที่ 19 กันยายน 2554 ณ ห้ อง ประชุมเทศบาลตําบลบ้ านสาง 12.เวทีสนทนากลุม่ แม่ค้าขายของกว๊ านพะเยา วันที่ 20 กันยายน 2554 ณ สวนสมเด็จย่า กว๊ าน พะเยา 13. เวทีสนทนากลุม่ ย่อย “เครื อข่ายอนุรักษ์ป่าต้ นนํ ้ากว๊ านพะเยา‛ วันที่ 20 กันยายน 2554 ณ เทศบาลตําบลสันป่ าม่วง 14. เวทีชาวประมงพื ้นบ้ านกว๊ านพะเยา วันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ ณ ศูนย์การเรี ยนรู้ชมุ ชนประมง กว๊ านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา

119


15. เวทีสนทนากลุม่ คนในเมือง ศิลปิ น และชมรมพะเยาโฟโต้ คลับ วันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ ณ ศูนย์การเรี ยนรู้ชมุ ชนประมงกว๊ านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา 16.เวทีสนทนากลุม่ หน่วยงานภาครัฐ ในวันที่ 25 มกราคม 2555 ณ โครงการชลประทานพะเยา อ.ดอกคําใต้ จ.พะเยา 17. เวทีสานเสวนาการพัฒนากว๊ านพะเยาอย่างมีสว่ นร่วม วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงเรี ยน พระปริยตั ธิ รรม วัดศรี โคมคํา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา

120


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.