สารพันเรื่องราวน้ำมันหล่อลื่น ชุดที่4

Page 8

รวมตัวของสมาคมผู้ผลิตยานยนต์ในตลาดร่วมยุโรป -สถาบัน “JASO” เกิดจากการรวมตัวของสถาบัน กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต รถยนต์ ใ นประเทศญี่ ปุ่ น จะเห็ น ได้ ว่ า แต่ เดิ ม สถาบัน API

ใช้ในเครื่องยนต์รุ่นใหม่ -SC สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง คศ. 1964-1967 โดยมีคุณภาพสูงกว่ามาตรฐาน SB เล็ก น้อย เช่น มีสารควบคุมการเกิดคราบเขม่า

ซึ่งเคยมีบทบาทมากในอดีต และเป็นสถาบันที่กลุ่มผู้ -SD สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง ผลิตรถยนต์ทั่วโลกยอมรับ ปัจจุบันในกลุ่มประเทศยุโรปและ คศ. 1968-1971 โดยมีสารคุณภาพสูงกว่า SC และมีสาร ญี่ปุ่นก็ได้มีการออกมาตรฐานขึ้นมาเป็นของตนเองเช่นกัน เพิม่ คุณภาพมากกว่า SC คำ�ว่า “API” ย่อมาจาก “American Petroleum Institute” หรื อ สถาบั น ปิ โตรเลี ย มแห่ ง อเมริ ก าซึ่ ง จะแบ่ ง เกรดนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ นตามสภาพการใช้ ง านเป็ น สองประเภท ใหญ่ ๆ ตามชนิดของน้ำ�มันเชื้อเพลิงที่ใช้ก็คือ

-SE สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง คศ. 1971-1979 มีสารเพิ่มคุณภาพเพื่อเพิ่มสมรรถนะให้สูง กว่า SD และ SC และยังสามารถใช้แทน SD และ SC ได้ดี กว่าอีกด้วย

-”API”ของเครื่ อ งยนต์ ที่ ใ ช้ นํ้ า มั น เบ็ น ซิ น เป็ น เชื้อเพลิงใช้สัญลักษณ์ “S” (Service Stations Classifications) นำ�หน้า เช่น SA, SB, SC, SD, SE, SF, SG, SH, และ SJ

-SF สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง คศ. 1980-1988 มีคุณสมบัติป้องกันการเสื่อมสภาพสามารถ จะทนความร้อนสูงกว่า SE และยังมีสารชำ�ระล้างคราบเขม่า ได้ดีขึ้น

-”API”ของเครื่องยนต์ที่ใช้นํ้ามันดีเซลเป็นเชื้ิอเพลิง ใช้สัญลักษณ์ “C” (Commercial Classifi-cations) นำ�หน้า เช่น CA, CB, CC, CD, CD-II, CF, CF-2, CF-4, และ CG-4

-SG เริ่มประกาศใช้เมื่อเดือนมีนาคม คศ.1988 มี คุณสมบัติเพิ่มขึ้นกว่ามาตรฐาน SF โดยเฉพาะมีสารป้องกัน การสึ ก หรอ สารป้ อ งกั น การกั ด กร่ อ น สารป้ อ งกั น สนิ ม สารป้ อ งกั นการเสื่ อ มสภาพเนื่ อ งจากความร้ อ น และสาร ชะล้าง-ละลาย และย่อยเขม่าที่ดีขึ้น

เรามาดูนํ้ามันเครื่งที่ใชนํ้ามันเบ็นซินเป็นเชื้อเพลิงกัน ก่อนจะใช้สัญลักษณ์ “S” และตามด้วยสัญลักษณ์แทนนํ้ามัน -SH เริ่มประกาศใช้เมื่อปี คศ.1994 เนื่องจากบริษัท เกรดต่าง ๆ ที่แบ่งได้ตามเกรดดังต่อไปนี้ ผู้ผลิตเครื่องยนต์ได้มีการพัฒนาเครื่องยนต์อย่างรวดเร็วมี ระบบใหม่ ๆ ในเครื่องยนต์ที่ถูกคิดค้นนำ�เข้ามาใช้ เช่น ระบบ -SA สำ�หรับเครื่องยนต์เบ็นซินใช้งานเบาไม่มีสาร Twin Cam, Fuel Injector, Multi-Valve, Variable Valve เพิ่มคุณภาพ Timing และยังมีการติดตั้งระบบแปรสภาพไอเสีย (Cata -SB สำ�หรับเครื่องยนต์เบ็นซินใช้งานเบามีสารเพิ่ม lytic Convertor) เพิ่มขึ้น คุณภาพเล็กน้อย และสารป้องกันการกัดกร่อนไม่แนะนำ�ให้


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.