สารพันเรื่องราวน้ำมัน Food grade Lubricant ฉบับ เดือนพฤศจิกายน

Page 1



SGL CARE Contact Center : 02-622-1700-3 SGL CARE Fax Ordering : 02-622-1704 SGL CARE Online : sales@sgl1.com

สั่งง่ายๆ สบายๆ ได้ของเร็วทันใจ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ SGL CARE Contact Center : 02-622-1700-3 Fax : 0-2622-1704 E-mail : sales@sgl1.com www.sgl1.com , www.siamgloballubricant.com , www.lube999.com


Food

grade Lubri- สาเหตุที่เราต้องใช้ฟู้ดเกรดนั้น มีเหตุผลสำ�คัญ cant คือ ผลิตภัณฑ์หล่อลื่น คือ เพื่อความปลอดภัย ดังนี้

เกรดพิเศษ สำ�หรับการใช้งาน กั บ เครื่ อ งจั ก รในสายการผลิ ต อาหาร ซึ่ ง มี โ อกาสที่ จ ะปน เปื้อนไปในระหว่างกระบวนการ ผลิต สำ�หรับผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ทั่ ว ไปเมื่ อ มี ก ารใช้ ง านก็ จ ะเกิ ด การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เกิด สารไดออกซิน (Dioxin) (รวม สารฟิ ว แรน ซึ่ ง เป็ น สารที่ มี ส่วนประกอบคล้ายคลึงกับสารไดออกซินทั้งคุณสมบัติ อันตราย และแหล่งกำ�เนิด) เป็นสารเคมีที่คงตัวได้ดี ในดิน ไม่ย่อยสลายเมื่อถูกความร้อน ไม่ละลายในนํ้า แต่ละลายได้ดีในไขมัน จึงสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อของสิ่ง มีชีวิตได้ การได้รับสารไดออกซินจากการสูดดมหรือ รับประทานอาหารที่มีสารไดออกซินปน เปื้อนอยู่เป็น เวลานาน จนเกิดการสะสมในร่างกายมากเกินไปจะ ก่อให้เกิดโรคต่างๆ เช่น มะเร็งในระบบทางเดินหายใจ ตับ ท่อนนํ้าดี รวมไปถึงความพิการของทารกและการ แท้งบุตรของหญิงมีครรภ์ได้

1. ปลอดภัยสำ�หรับผู้บริโภคจากประสบการณ์ ที่ผ่านมา แทบจะไม่มีใครรับประกันได้เลยว่าผลิตภัณฑ์ หล่ อ ลื่ นที่ ใ ช้ ใ นโรงงานผลิ ต อาหาร จะไม่ สั ม ผั ส กั บ ผลิตภัณฑ์อาหาร การเปลี่ยนไปใช้เชลล์ซึ่งเป็นนํ้ามัน ประเภท Food Grade ที่ไม่มีพิษจึงให้ความอุ่นใจกับผู้ ผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร 2. ปลอดภัยสำ�หรับผู้ผลิตด้านชื่อเสียง ในกรณี ที่เกิดเหตุการณ์เลวร้ายขึ้น นี่คือการปกป้องชื่อเสียงที่ สั่งสมมาด้วยความยากเย็นของผู้ผลิต และเป็นการลด ค่าใช้จ่ายในด้านการประกันภัย


มาตรฐาน NSF HT-1( Heat Transfer fluids with Incidental Food Contact ) Stated limit : 10 ppm for HT-1 เอกสารการรับรองมาตรฐาน NSF H 1 ( Incidental Food Contact ) จะต้องระบุชื่อผลิตภัณฑ์ นั้นๆ พร้ อ มระบุ C ode Product ซึ่ ง แม้ ว่ า จะอยู่ ในซี่ รี่ ส์ เดียวกัน บริษัทผู้ผลิตเดียวกัน ถ้าเป็นผลิตภัณฑ์คนละ ตัวก็จะต้องมีคนละใบจะใช้ใบเดียวกันไม่ได้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ที่ เ ป็ น ฟู้ ด เกรดต้ อ งผ่ า น มาตรฐาน NSF H 1 ( Incidental Food Contact ) ,NSF 3H, NSF HT-1 และ FDA Code 21 CFR 178.3570 เท่านั้น NSF H 2( No food contact possible) ไม่ ถือว่าเป็นฟู้ดเกรด และเอกสารเหล่านี้ ต้องออกโดยองค์ที่เป็นเจ้าของมาตรฐานเท่านั้น บริษัท ผู้ผลิตไม่สามารถออกเอกสารรับรองนี้เองได้

สำ � หรั บ National Sanitation Foundation (NSF) ได้ พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง มาตฐาน NSF H 1 ( Incidental Food Contact )ตั้งแต่เมื่อกลางปี 2007 และได้ประกาศมาตรฐานตัวใหม่ ISO 21469 SIPCเมื่อกลางปี 2008 ที่ผ่านมา ซึ่งมาตรฐานตัวนี้ ค่อนข้างที่จะเข้มงวดเพิ่มขึ้นจาก NSF H 1 อีกด้วย

สำ�หรับมาตรฐานฮาลาลและโคเชอร์จะมีการ มาตรฐาน NSF H 1 ( Incidental Food เปลี่ยนแปลงข้อมูลและแก้ไขรายการสินค้าทุกๆปี Contact ) Stated limit : 10 ppm for H1 and 1 ppm for Silicone มาตรฐาน NSF 3H (Direct Food Contact) และ FDA Code 21 CFR 178.878 Stated limit : 120 ppm for 3 H


เพื่ อ ความมั่ น ใจในความปลอดภั ย ของการ ผลิตอาหาร องค์กรทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก ต่างมีหน้าที่พิจารณารับรองนํ้ามันหล่อลื่นในหมวด อาหารที่ใช้ในโรงงานผลิตอาหาร การรับรองในระดับ โลกนั้นมีองค์การอาหารและยาของสหรัฐ (US FDA) และ NSF International เป็นผู้กำ�กับดูแล เป็นต้น 1. องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา ( US FDA : United States Food and Drug Administration ) องค์ ก ารอาหารและยาของสหรั ฐ อเมริ ก ามี ห น้ า ที่ ตามกฎหมายในการกำ � กั บ การรั บ รองด้ า นอาหาร และยาที่จะวางจำ�หน่ายในตลาดของสหรัฐอเมริกา FDA มีคู่มือที่เรียกว่า ประมวลกฎหมายรัฐบาลกลาง มาตรา 21 หมวด 178.3570 ว่าด้วยนํ้ามันหล่อลื่น ที่อาจมีโอกาสสัมผัสกับอาหารและอาจถูกนำ�มาใช้ กับเครื่องจักรในการผลิต การบรรจุภัณฑ์ การเตรียม และการจัดส่ง หรือเก็บรักษาอย่างปลอดภัย นํ้ามัน หล่อลื่นที่มีส่วนผสมที่ผ่านการรับรองจาก FDA ถือ เป็นสารผสมอาหารชนิดไม่สัมผัสโดยตรง กล่าวอีก นัยหนึ่ง คือ สารที่อาจจะมีโอกาสสัมผัสกับอาหาร ตราบเท่าที่สารเหล่านั้นอยู่ในระดับที่ไม่เกินเกณฑ์ กำ�หนดของทางการ คือ 10 ส่วนใน ล้านส่วนสำ�หรับ นํ้ามันไฮโดรคาร์บอน 2. กระทรวงเกษตรของสหรั ฐ อเมริ ก า ( USDA: United States Department of Agriculture ) จนกระทั่งเดือนกันยายน 2541 หน่วยงาน ตรวจสอบและความปลอดภัยของอาหาร กระทรวง เกษตรของสหรัฐอเมริกา ได้จัดพิมพ์รายชื่อของสาร

ที่เหมาะสมและส่วนผสมอื่นๆ ที่มิใช่อาหาร แต่ถูกจัด ไว้ในหมวดสาร หล่อลื่นประเภท Food Grade หรือ มาตรฐาน USDA H1 (หรือ “สมุดปกขาว”) ออกเผย แพร่ กระทรวงเกษตรของสหรั ฐ อเมริ ก าได้ อ อก แถลงการณ์เกี่ยวกับนํ้ามันหล่อลื่นที่ได้รับการรับรอง ซึ่งหมายความว่าสารเคมีที่ใช้ในนํ้ามันหล่อลื่นต้องมี รายนามอยู่ในรายชื่อขององค์การอาหารและยาของ สหรัฐอเมริกาด้วย กระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกาให้คำ�จำ�กัด ความของนํ้ามันหล่อลื่นกลุ่ม H1 และ H2 ดังนี้ H1: นํ้ามันหล่อลื่น “ที่อาจจะมีโอกาสสัมผัสกับ อาหาร” ด้วยเงื่อนไขพิเศษในการรับรอง ตามรายการ ที่ 21 CFR. 178.3570 หรือ 178.3620 ขององค์การ อาหารและยา H2: นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น ประเภทอื่ น ที่ ห้ า มไม่ ใ ห้ สัมผัสกับผลิตภัณฑ์ใช้บริโภค (กล่าวคือ ไม่อนุญาตให้ สัมผัสกับอาหารเลย) ในเดือนกันยายน 2541 กระทรวงเกษตรของ สหรั ฐ อเมริ ก าได้ ย กเลิ ก การทบทวนและการรั บ รอง นํ้ามันหล่อลื่นทั้งหมด ในเมื่อผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม H1 ทุก ประเภทของกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกาต้องได้ รับการรับรองทุกๆ สองปี การรับรองที่ผ่านมาจึงถือ เป็นโมฆะ ผู้รับจ้างจึงควรให้บุคคลที่สาม (เช่น NSF) จด ทะเบียนนํ้ามันหล่อลื่น และออกหนังสือรับรองให้กับ ลูกค้าซึ่งจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ในกลุ่มอาหาร H1


3. NSF International - NSF เป็นบริการเกี่ยวกับการสาธารณสุข และความปลอดภัย แต่ไม่มีสัมพันธ์ใดๆ กับรัฐบาล - เพื่อสานต่อการจัดการของตนเอง NSF ได้ จำ�ลองขั้นตอนและระบบต่างๆ ตามรายชื่อของสารที่มี คุณสมบัติที่เหมาะสมและส่วนผสมอื่นๆ ที่มิใช่อาหาร (หรือ “สมุดปกขาว”) - ปัจจุบัน ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนของ NSF เป็ น แบบเดี ย วกั บ ระเบี ย บเดิ ม ของกระทรวงเกษตร ของสหรัฐอเมริกา รวมตลอดไปจนถึงการใช้สารตาม มาตรฐาน H1 และ H2 - การขึ้ น ทะเบี ย น NSF H1 (ตามด้ ว ย หมายเลขทะเบียน)บนบรรจุภัณฑ์ของนํ้ามันหล่อลื่น แสดงว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้รับการขึ้นทะเบียนกับ NSF ตามระเบี ย บว่ า ด้ ว ยโอกาสที่ อ าจจะสั ม ผั ส กั บ อาหารได้ - การขึ้นทะเบียนแบบปีต่อปีเป็นสิ่งที่จำ�เป็น เพื่ อ ให้ ผ ลิ ต ภั ณฑ์ นั้ น ยั ง อยู่ ในรายชื่ อ ของสารที่ ได้ รั บ อนุญาต - การขึ้นทะเบียนกับ NSF เป็นเรื่องของความ สมัครใจของผู้จัดส่งนํ้ามันหล่อลื่น 4. KOSHER มาตฐานอาหารของกลุ่ ม ผู้ นั บ ถื อ ศาสนา ยูดาย ซึ่งมีกฎบัญญัติหลายประการเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตัว ในชีวิตประจำ�วัน ซึ่งรวมถึงการแต่งตัวและการ รับประทานอาหาร อันเป็นที่มาของมาตรฐานโคเชอร์ คำ�สอนในศาสนายูดายมีข้อกำ�หนด เกี่ยวกับอาหารไว้ เพื่อใช้พิจารณาว่าอาหารนั้นเป็นไปตามหลักศาสนา

และยอมรับได้หรือไม่ ที่เรียกว่า kashruth โดยอาหาร ที่เหมาะสม เป็นไปตามข้อกำ�หนด และได้รับอนุญาต ให้รับประทานได้เรียกว่า โคเชอร์ สิ่งที่เป็นเครื่องวัดว่า อาหารนั้น เป็นหรือไม่เป็นโคเชอร์ ได้แก่ แหล่งวัตถุดิบ ภาชนะ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ผลิต อาหารหรือวัตถุดิบที่จะผ่านโคเชอร์ ต้องได้รับ การอนุญาตจากองค์กร แรมไบ ( Orthodox Rabbinic authority) 5. Halal มาตรฐานการผลิ ต อาหารของกลุ่ ม ผู้ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม ซึ่ ง มี ก ฏบั ญ ญั ติ เ กี่ ย วกั บ การวั ต ถุ ดิ บ ขั้ น ตอนการผลิ ต อั น เป็ น ที่ ม ามาตรฐานฮาลาล ซึ่ ง อาหารที่ผ่านมาตรฐานฮาลาลต้องได้รับการตรวจสอบ และอนุญาตจาก สมาพันธ์มุสลิม ( Islamic and/or Muslim Association) ซึ่งมีศูนย์แต่ละประเทศ


ปัจจุบัน ประชากรโลกมีจำ�นวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำ�ให้ เกิดภาวะอาหารขาดแคลน การเพิ่มกำ�ลังการผลิตสินค้าด้านอาหาร ของประเทศที่มีการผลิตภาคเกษตรกรรมเป็น หลักจึงมีความจำ�เป็น ทั้งนี้เพื่อการบริโภคทั้งภายในและการส่งออก อย่างไรก็ดีในด้านการ ส่งออกปัจจุบันการค้าระหว่างประเทศมีการแข่งขันและกีด กันใน ประเทศคู่ค้าค่อนข้างสูงและทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการ ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของลูกค้า แนวทางสำ�คัญในการผลักดันให้สินค้าด้านอาหารมีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของลูกค้า และมีความปลอดภัยสามารถแข่งขัน กับประเทศคู่ค้าได้ โดยการนำ�ระบบคุณภาพที่เป็นที่ยอมรับทั่วไปใน ระดับสากลมาใช้ในกระบวนการผลิต อาหารได้แก่ 1. หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิต (Good Manufacturing Practice ; GMP) 2. ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม ในการผลิตอาหาร (Hazard AnalysisCritical Control Points ; HACCP) 3. ระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ระบบการ จัดการความปลอดภัยของอาหารตามมาตรฐาน ISO 22000 : 2005 ซึ่งแต่ละระบบมีหลักการดังนี้ หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธีก ารที่ ดี ใ นการผลิ ต (Good Manufacturing Practice ; GMP) ระบบ GMPเป็นการจัดการสภาวะ แวดล้อมของกระบวนการผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ มุ่งเน้นการ จัดการความปลอดภัยของอาหารขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นเกณฑ์หรือข้อ กำ�หนดขั้นพื้นฐานที่จำ�เป็นในการผลิตอาหาร เพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตาม และทำ�ให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย ในปัจจุบัน GMP ได้ ถูกกำ�หนดให้เป็นกฎหมาย โดยสำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้กำ�หนดไว้ในเรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และ การเก็บรักษาอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 193 (พ.ศ.2543) และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 239 (พ.ศ.2544) ซึ่งประกอบด้วยข้อกำ�หนด 6 หัวข้อ ดังนี้ 1.สถานที่ตั้งและอาคารผลิต 2.เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต 3.การควบคุมกระบวนการผลิต 4.การสุขาภิบาล 5.การบำ�รุงรักษาและการทำ�ความสะอาด 6.บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน

ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมใน การผลิตอาหาร (Hazard AnalysisCritical Control Points ; HACCP) ระบบ HACCP คือ ระบบที่ใช้เพื่อป้องกันอันตรายในอาหาร ที่ เกิดจาก 3 สาเหตุ ได้แก่ - อันตราย ทางชีวภาพ หมายถึง อันตรายที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต ส่วนมากเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ ปรสิต และไวรัส อันตรายทางสารเคมี หมายถึง อันตรายที่เกิดจากสารเคมี เช่น สารเร่งการเจริญเติบโต ยา กำ�จัดศัตรูพืช ปุ๋ย ยารักษาโรค รวมถึงสารพิษในธรรมชาติและสารพิษ จากเชื้อจุลินทรีย์ เช่น อะฟลาท็อกซิน เห็ดที่เป็นพิษ เป็นต้น - อันตรายทางเคมี หมายถึง อันตรายที่เกิดจากสารเคมีที่ เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิต - อันตราย ทางกายภาพ หมายถึง อันตรายที่เกิดจากการมี วัตถุแปลกปลอมปนอยู่ในอาหาร เช่น เศษแก้ว เศษกระจก โลหะ ไม้ พลาสติก หิน กระดูก ก้างปลา เป็นต้น ระบบการจัดการคุณภาพระบบนี้เป็นเสมือนหนึ่งระบบการ จัดการด้านความปลอดภัยของ อาหารที่มุ่งเน้นในการป้องกันไม่ให้มี อันตรายที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพต่อ ผู้บริโภคที่ปนเปื้อนมาในอาหาร ที่ทำ�การผลิต โดยการดำ�เนินการประเมินอันตรายและกำ�หนดระบบ การควบคุมในกระบวนการผลิต ซึ่งระบบ HACCP ประกอบด้วยหลักการ 7 ข้อ คือ 1.ดำ�เนินการวิเคราะห์อันตรายและระบุมาตรการป้องกัน 2.หาจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม 3.กำ�หนดค่าควบคุมวิกฤต 4.กำ�หนดระบบเพื่อตรวจเฝ้าระวังควบคุมจุดวิกฤตที่ต้อง ควบคุม 5.กำ�หนดวิธีการแก้ไข เมื่อตรวจพบว่าจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม เฉพาะจุดใดจุดหนึ่งไม่อยู่ ภายใต้การควบคุม 6.กำ�หนดวิธีการทวนสอบเพื่อยืนยันประสิทธิภาพการดำ�เนิน งานของระบบ 7.กำ�หนดวิธีการจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องกับวิธีการปฏิบัติ และบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ที่เหมาะสมตามหลักการและการประยุกต์ใช้


ระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9000

ประกั น คุ ณ ภาพอี ก ทั้ ง ช่ ว ยยกระดั บ ให้ ก ารผลิ ต อาหารมี คุ ณ ภาพ เป็นระบบที่สามารถนำ�ไปประยุกต์เข้ากันได้กับมาตรฐาน มาตรฐานและ มีความปลอดภัยอันเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับ สากลอื่น สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งการนำ�ระบบดังกล่าวที่มี ผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น หลักการจัดการและระบบเอกสารเข้ามาเสริมในการผลิต อาหาร จะ สามารถป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับอาหารที่ผลิต และสามารถมี เอกสารอ้างอิง 1.จันทร์นา สงวนรุ่งวงศ์, 2549. คู่มือการประยุกต์ใช้ GMP ระบบเอกสารที่สามารถทวนสอบปัญหาและการแก้ไขปัญหาได้ถูกต้อง และ 5ส ในอุตสาหกรรมอาหาร. กรุงเทพฯ :สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ง ซึ่งจะช่วยให้อาหารที่ผลิตปลอดภัยมากยิ่งขึ้น โดยโครงสร้างของมาตรฐาน ISO 9000 : 2000 ประกอบ ชาติ. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) เรื่อง วิธีการ ด้วย ISO 9000 ISO 9001 และ ISO9004 โดย ISO 9000 ได้กล่าว ถึงหลักการของระบบการบริหารงานคุณภาพ แนวคิด และคำ�นิยาม ผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร 3. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 239) เรื่อง แก้ไข ISO9001 เป็นข้อกำ�หนดของระบบการบริหารงานคุณภาพที่แสดงให้ เห็นถึงความสามารถในการตอบสนองความต้องการและความคาด เพิ่มเติมประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) พ.ศ. 2543 4. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ, 2551. การตีความ หวังของลูกค้า โดยรวมเอา ISO 9001, ISO 9002 และ ISO 9003 เข้าด้วยกันเป็นฉบับเดียว และ ISO 9004 เป็นแนวทางเพื่อการ ข้อกำ�หนดตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร (ISO 22000 : 2005) . กรุงเทพฯ : สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ. ปรับปรุงสมรรถนะขององค์กร 5. สุมณฑา วัฒนสินธุ์, 2543. ความปลอดภัยของอาหาร ระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารตามมาตรฐาน (การใช้ ร ะบบ HACCP). กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์สมาคมส่งเสริม ISO 22000 : 2005 ข้อกำ�หนดของระบบการจัดการความปลอดภัย ของอาหารตามมาตรฐาน ISO 22000 : 2005 นี้ จัดทำ�ขึ้นเพื่อ เทคโนโลยี. 5. เอกพล ปานขำ�.2548, ISO 22000 กับแนวโน้มอุตสาห กรรรมอาหาร. วารสารฟอร์ ควอลิตี้.ปีที่ 11.ฉบับที่ 88 .หน้า 83-860. ประยุกต์ใช้สำ�หรับองค์กรต่าง ๆ ในห่วงโซ่อาหาร เริ่ม ตั้งแต่ฟาร์ม องค์กรผู้ผลิตวัตถุดิบเบื้องต้นหรือเกษตรกร องค์กรผู้ผลิตหรือแปรรูป องค์กรที่ทำ�หน้าที่กระจายสินค้า องค์กรส่ง ขายหรือขายปลีก หรือ ผู้ให้บริการทางอาหาร จนถึงผู้บริโภค เพื่อ สามารถควบคุมอันตรายที่เกิดขึ้น และเกิดมั่นใจว่าอาหารมีความ ปลอดภัยต่อการบริโภค โดยใช้หลักการของ ISO 9001: 2000 GMP และ HACCP ร่วมกัน เพื่อกำ�หนดเป็นระบบที่สามารถนำ�มาใช้จัดการ ในเรื่องความปลอดภัยของอาหารได้ ซึ่งข้อกำ�หนดทั้งหมดในระบบ ISO 22000 : 2005 ประกอบด้วย 4 หลักการ ที่สำ�คัญ คือ โปรแกรม ขั้นพื้นฐาน หลักการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิฤตที่ต้องควบคุม ระบบ การจัดการ และการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อเป็นการส่ง เสริมให้มีการนำ�ระบบนี้มาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ทางสำ�นักงาน มาตรฐานอุตสาหกรรมจึงได้ออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับ ที่ 3441 (พ.ศ.2548) เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร - ข้อกำ�หนดสำ�หรับองค์กร ในห่วงโซ่อาหารมาตรฐานเลขที่ มอก.22000 - 2548 จากหลักการ ของระบบคุณภาพทั้ง 4 ระบบที่กล่าวถึงข้างต้น หากผู้ผลิตอาหารได้ นำ�ระบบคุณภาพเหล่านี้ไปใช้ในกระบวนการผลิตอาหาร จะเป็นการ


ความรู้เกี่ยวกับโคเชอร์

ศาสนา ยูดายมีข้อกำ�หนดเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้องสอดคล้อง กับหลักศาสนาเรียกว่า “คัชรูท” (Kashruth) อาหาร ที่เหมาะสม เป็น ไปตามข้อที่กำ�หนดและหลักเกณฑ์ที่ได้รับอนุญาตให้รับประทานได้ ข้อกำ�หนดนั้นเรียกว่า โคเชอร์ คำ�ว่าโคเชอร์เป็นภาษาฮีบรูว์ แปลว่า “สะอาด” หรือ “เหมาะสม” หรือ “เป็นที่ยอมรับ” อา หารโคเชอร์ ที่ผ่านพิธีกรรมสวดของนักการศาสนาหรือ แรบไบนั้น มิใช่เป็นอาหารโคเชอร์ เพราะชาวยะฮูดีทุกคนที่นับถือ ศาสนายูดายรวมถึงการศาสนาหรือแรบไบ ก็ต้องมีบทสวดก่อนรับ ประทานอาหาร เพื่ อ ระลึก ถึง พระคุณของแหล่ง อาหาร ดั งนั้ นบท สวดดังกล่าวจึงไม่เกี่ยวข้องกับกรณีที่ว่าอาหารนั้นจะเป็นหรือไม่เป็น โคเชอร์

ให้บริโภคได้ แต่ได้ระบุห้ามไว้จำ�นวน 24 ประเภท ตามหลักใหญ่ของ ศาสนาที่เรียกว่า Shulchan Aruch ได้ อนุโลมในเรื่องนี้และให้ถือว่า สัตว์ปีกชนิดใดที่ได้รับประทานกันเป็นประเพณีมาช้านานแล้วเป็น โคเชอร์ ยิวในสหรัฐอเมริกาถือว่า ไก่ ไกงวง เป็ด และห่านเป็นโคเชอร์ • ปลา ที่อนุญาตให้บริโภคต้องเป็นปลาที่มีครีบและเกล็ด ส่วนสัตว์นํ้าที่มีเปลือกหรือกระดอง เช่น หอย ปู กุ้ง ไม่เป็นโคเชอร์คือ ไม่ได้รับอนุญาตให้บริโภค ยกเว้นอาหารทะเล เช่น กุ้ง กุ้งก้ามกราม เหล่านี้เป็นโคเชอร์ • องุ่น และผลิตภัณฑ์สินค้าที่ผลิตจากองุ่น และองุ่นที่เป็น ผลไม้ธรรมชาตินั้นเป็นโคเชอร์ แต่ผลิตภัณฑ์จากองุ่นจะต้องได้รับ การพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป ไวน์จากองุ่นเป็นเครื่องดื่มที่ใช้ในพิธีการ ทางศาสนา จึงถือว่าเป็นโคเชอร์ไปโดยปริยาย แต่ผลิตภัณฑ์จากองุ่น อื่ น ๆ จะต้ อ งทำ � จากนํ้ า องุ่ นที่ ได้ รั บ การตรวจตราโดยตลอดตั้งแต่ กระบวนการผลิตแรกจน ถึงกระบวนผลิตสุดท้ายถึงจะเป็นผลิตภัณฑ์ ที่อยู่ในข่ายได้รับการพิจารณาให้ เป็นโคเชอร์ • เนยแข็ง (Cheese) เช่น Cheddar, Muenster, Swiss อาหาร ประเภทนี้จะได้รับการรับรองได้ก็ต่อเมื่ออยู่ภายใต้การตรวจ สอบของ นักการศาสนาหรือบวชในศาสนาอย่างสมํ่าเสมอ โรงงาน เนยแข็งโดยทั่วไปมักใช้เยื่อในจากกระเพาะวัวไม่ได้เป็นโคเชอร์ เนย แข็งที่เป็นโคเชอร์จะต้องได้จากการตกตะกอนด้วยเชื้อจุลินทรีย์เท่านั้น • ผักและผลไม้ โดยทั่วไปเป็นโคเชอร์ แต่ต้องปราศจากหนอน และแมลง

ลักษณะอาหารโคเชอร์ ปัจจัยที่จะเป็นเครื่องวัดว่าอาหารนั้นเป็นโคเชอร์ได้แก่ • แหล่งวัตถุดิบ • และเครื่องครับ (ประเภทภาชนะ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตอาหารด้วย กระบวน การรับรองโคเชอร์ต้องอาศัยปัจจัยสองสิ่งดังกล่าว ข้างต้นนี้เป็นหลักในการ พิจารณาให้เครื่องหมายโคเชอร์ และใน อดีตการตัดสินพิจารณาให้เครื่องหมายโคเชอร์เป็นหน้าที่ของนักการ ศาสนา (Rabbi) แต่ ปัจจุบันมีบริษัทตัวแทนที่ได้รับการแต่งตั้งโดย นักการศาสนาเข้ามาทำ� หน้าที่เป็นผู้ให้คำ�แนะนำ� ตรวจสอบและออก 2. เครื่อง ครัว คำ�ว่า “เครื่องครัว” หมายถึงภาชนะ เครื่อง หนังสือรับรองโคเชอร์ คือ เป็น Kosher auditor ซึ่งคล้ายกับบริษัทที่ ให้บริการ ISO Auditor บริษัทพวกนี้เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากแรบไบอีก มือและเครื่องใช้ในการประกอบอาหาร ตลอดจนเครื่องจักรที่ใช้ใน การผลิตอาหร เครื่องครัวที่เคยใช้ทำ�อาหารที่ได้รับการรับรองแล้วว่า ที (Orthodox Rabbinic authority) เป็นโคเชอร์หากนำ�มา ใช้ทำ�อาหารที่มีส่วนประกอบที่ไม่เป็นโคเชอร์ เครื่องมือนั้นก็หมดสภาพโคเชอร์ไป หากนำ�กลับมาใช้ทำ�อาหารที่เป็น คัมภีร์เตารอฮกับโคเชอร์ 1. แหล่ง วัตถุดิบ การตรวจสอบพิจารณา “แหล่งวัตถุดิบ โคเชอร์อีก อาหารที่ได้ก็จะไม่ใช่โคเชอร์อีกต่อไป แม้ว่าส่วนประกอบ อาหาร” ว่าเหมาะสมที่จะเป็นโคเชอร์หรือไม่นั้นคัมภีร์เตารอฮ ซึ่งพวก ที่นำ�มาทำ�อาหารทั้งหมดจะเป็นโคเชอร์ก็ตาม ดังนั้น เครื่องครัวที่ นักการศาสนาหรือนักบวชในศาสนายูดายรุ่นหลังได้ตีความและขยาย ประกอบอาหารโคเชอร์และอาหารที่ไม่เป็นโคเชอร์จึงต้องแยกออก ควาในราย ละเอียดจัดหมวดหมู่ และอธิบายกฎเกณฑ์ที่ใช้ในปัจจุบัน จากกัน 2.1 วิ ธีคื น สภาพโคเชอร์ เครื่ อ ง ครั ว ที่ เคยปรุ ง อาหารที่ ขึ้น ซึ่งอาหารหมวดสำ�คัญ ๆ นั้น ได้แก่ ไม่ เ คยเป็ น โคเชอร์สามารถทำ�ให้กลับมามีสภาพโคเชอร์ได้ อีก โดย • เนื้อจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่เป็นสัตว์ประเภทเคี้ยวเอื้อง กระบวนการคืนสภาพโคเชอร์ที่เรียกว่า “Kosherization” ซึ่ง มีวิธี หรือมีกีบเท้า ยกเว้นสุกร • สัตว์ ปีก ในคัมภีร์ไม่ได้ระบุไว้ว่าสัตว์ปีกประเภทใดอนุญาต การที่ต่างกันไปตามประเภทเครื่องครัวและลักษณะของอาหาร ถ้า อาหารที่ ไม่ ใ ช่ โ คเชอร์ ที่ เป็ นของเหลว เช่ น ซุ ป วิ ธ ี ก ารคื น สภาพ


โคเชอร์ Kosherization คือ ลวกเครื่องครัวที่ใส่อาหารจำ�นวนนั้นด้วย นํ้าเดือด ถ้าเป็นอาหารที่ใช้เตาอบ การคืนสภาพโคเชอร์ (Kosherization) สามารถทำ�ได้โดยนำ�ภาชนะที่ใส่อาหารที่ไม่เป็นโคเชอร์นั้นมาอบ ด้วยความร้อนสูง เป็นต้น เนื้อสัตว์จะเป็นโคเชอร์ได้หรือไม่นั้นต้องมีการตรวจสอบขั้น ต่าง ๆ ตั้งแต่โรงเชือดสัตว์ไปจนถึงร้านขาย พนักงานที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการผลิตตั้งแต่โรงฆ่าสัตว์ไปจนถึงคนขายเนื้อ ก็ต้องได้รับการ ฝึกอบรมในกระบวนการรับรองโคเชอร์ด้วย

ออโทด็อกซ์ (Orthodox Union) และ เมื่อทั้งสองฝ่ายตกลงตามข้อ กำ�หนดต่าง ๆ ในสัญญาเพื่อการขอรับรองแล้วสัญญาฉบับนั้นจะถูกส่ง ไปยังสำ�นักงานใหญ่เพื่อ ออกใบรับรองโคเชอร์ต่อไป • ขั้นตอนสุดท้าย - ส่งตัวอย่างสินค้าที่ติดแลากแสดงเครื่องหมายโคเชอร์เพื่อ พิจารณาอนุมัติครั้งสุดท้าย

ระยะเวลาการขอรับรอง โดย ปกติ ระยะเวลาในการขอรับรองโคเชอร์ประมาณ 3 เดือน ขั้นตอนระเบียบปฏิบัติการขอรับรองโคเชอร์ และบางทีก็ขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของกระบวนการผลิตและลักษณะ • ขั้นเตรียมการและยื่นคำ�ร้องพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ โรงงานว่าถูก สุขลักษณะตามมาตรฐานโคเชอร์หรือไม่ บริษัท โรงงาน และรายละเอียดของสินค้าที่ขอรับรองไปที่สำ�นักงาน Orthodox Union (ou) โดยทาง : ค่าธรรมเนียมการรับรอง - ออนไลน์ (WWW.OUKOSHER.ORG) ค่า ธรรมเนียมในการรับรองขึ้นอยู่กับสัดส่วนและตัวแปร - โทรสาร ในการดำ�เนินการในแต่ละ บริษัท / สถานประกอบการ เช่น ระยะ - ไปรษณีย์ ทางในการเดินทางเพื่อดำ�เนินการตรวจสอบ ความถี่ในการการตรวจ • ขั้ นจั ด หาเจ้ า หน้ า ที่ ป ระสานงานจากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้ า น สอบ ความซับซ้อนในกระบวนการผลิต และจำ�นวนสินค้าที่ขอรับรอง ศาสนายูดายเพื่อชี้แจง รายละเอียดเกี่ยวกับ :โคเชอร์ ความรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายโคเชอร์ - การจัดการด้านเอกสาร - เพื่อชี้แจงข้อสงสัยและความต้องการของผู้ยื่นคำ�ร้องขอ รับรอง กลุ่มเครื่องหมาย Kosher จำ�แนกออกเป็น 5 ระดับด้วยกัน คือ - ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ รับรอง • ระดับ Kosher หรือ Glatt Kosher • ขั้ นตรวจโรงงาน/สถานประกอบการโดยตั ว แทนผู้ ท รง • ระดับ Kosher - Pareve คุณวุฒิด้านศาสนายูดาย เพื่อดำ�เนินการดังนี้ • ระดับ Kosher - Dairy - เพื่อดูแลกำ�กับกระบวนการผลิตเพื่อการขอรับรองสินค้าที่ • ระดับ Kosher - Dairy Equipment ถูกต้องและรวดเร็ว • ระดับ Kosher - Dairy Equipment - ทำ�รายงานสรุปผลเพื่อยื่นไปยังสำ�นักงานใหญ่ (OU) หมายเหตุ : รายจ่ายในหมวดนี้ผู้ยื่นคำ�ร้องขอรับรองเป็นผู้รับผิดชอบ • ขั้นตอนพิจารณาผลการตรวจสอบ - เจ้าหน้าที่ประสานงานจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านศาสนายูดาย ที่จัดหาไว้ให้ตรวจสอบ เอกสารสรุปผลการตรวจที่ส่งมาที่สำ�นักงานใหญ่ - ดำ�เนินการแนะนำ�แก้ไขข้อบกพร่องเพื่ออกใบรับรองต่อไป • ขั้นตอนการทำ�พันธะสัญญาซึ่งรวมถึง - ระเบี ย บปฏิ บั ติ แ ละข้ อ กำ � หนดต่ า ง ๆ ขององค์ ก าร


GMP คืออะไร Good Manufacturing Practice (GMP) หมาย ถึง หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารเป็นเกณฑ์หรือ ข้อกำ�หนดขั้นพื้นฐานที่จำ� เป็นในการผลิตและควบคุมเพื่อ ให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามและทำ�ให้สามารถผลิตอาหาร ได้อย่าง ปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงที่อาจจะ ทำ�ให้อาหารเป็นพิษเป็นอันตราย หรือเกิดความไม่ปลอดภัย แก่ผู้บริโภค GMP มี 2 ประเภทดังนี้ - GMP สุขลักษณะทั่วไป หรือ General GMP เป็น หลักเกณฑ์ที่นำ�ไปใช้ปฏิบัติสำ�หรับอาหารทุกประเภท - GMP เฉพาะผลิตภัณฑ์ หรือ Specific GMP เป็น ข้อกำ�หนดที่เพิ่มเติมจาก GMP ทั่วไปเพื่อมุ่งเน้นในเรื่องความ เสี่ยง และความปลอดภัยของแต่ละผลิตภัณฑ์อาหารเฉพาะ มากยิ่งขึ้น หลักการของระบบ GMP หลักการของ GMP จะ ครอบคลุมตั้งแต่สถานที่ตั้ง ของสถานประกอบการ โครงสร้างอาคารระบบการผลิตที่ดี มีความปลอดภัย และมีคุณภาพได้มาตรฐานทุกขั้นตอน นับ ตั้ ง แต่ เริ่ ม ต้ น วางแผนการผลิ ต ระบบควบคุ ม ตั้ ง แต่ วั ต ถุ ดิ บ ระหว่างการผลิต ผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูปการจัดเก็บการควบคุม คุณภาพและการขนส่งจนถึงผู้บริโภค มีระบบบันทึกข้อมูล ตรวจสอบและติดตามผลคุณภาพผลิตภัณฑ์รวมถึงระบบการ จัดการที่ดีในเรื่อง สุขอนามัย (Sanitation และHygiene) เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายมีคุณภาพและความปลอดภัยเป็น ที่มั่นใจเมื่อถึงมือผู้บริโภค ทั้งนี้ GMP ยังเป็นระบบประกัน คุณภาพขั้นพื้นฐานก่อนที่จะพัฒนาไปสู่ระบบประกันคุณภา พอื่นๆต่อไปเช่นระบบ HACCP (Hazards Analysis and Critical Control Points) และ ISO 9000 อีกด้วย GMP ในประเทศไทย สำ�หรับประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการอาหาร

และยา (อย.) นับเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการตรวจรับรอง ระบบ GMP อาหารในประเทศไทย รวมทั้งมีหน้าที่ในการ ตรวจติดตามการปฏิบัติของผู้ประกอบการอาหารและนํ้าดื่ม ไทย ให้มีการปฏิบัติให้สอดคล้องกับ GMP ที่บังคับใช้ตาม กฎหมาย ระบบ GMP อาหารเข้ามาในประเทศ และเป็นที่รู้จัก ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 และตลอดระยะเวลาเกือบ 20 ปีที่ ผ่านมาสำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ดำ�เนินการ เกี่ยวกับระบบ GMP ดังนี้ เริ่มจากการอบรมทั้งกับผู้ประกอบ การและเจ้าหน้าที่ภาครัฐให้เข้าใจหลักการ ของระบบ จัด ทำ�โครงการยกระดับมาตรฐานการผลิตอาหารประเภทต่างๆ สำ�นักงานคณะกรรมการอาหาร และยาได้นำ� ระบบ GMP มาใช้ พั ฒ นาสถานที่ ผ ลิ ต อาหาร ของ ประเทศเป็นครั้งแรกในลักษณะส่งเสริมและยกระดับ มาตรฐานการผลิตในอุตสาหกรรม อาหารแก่ผู้ประกอบการ แบบสมั ค รใจภายใต้ แ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับที่ 6 และตลอดระยะเวลาเกือบ 20 ปี ที่ผ่านมา สำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ดำ�เนินการในเรื่อง นี้เป็นขั้นตอน ตามลำ�ดับกล่าวคือ เริ่มจากจัดทำ�โครงการฯ เสนอเพื่อให้สภาวิจัยฯให้ความเห็นชอบร่างหลักเกณฑ์ GMP ของ ประเทศต่างๆโดยจัดลำ�ดับความสำ�คัญของผลิตภัณฑ์ที่ มีต่อการบริโภคและต่อ เศรษฐกิจของประเทศเช่นนํ้าบริโภค เครื่องดื่มนมพร้อมดื่มและอาหารกระป๋องเป็น ต้น จัดการ ฝึกอบรมให้กับผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ภาครัฐให้เข้าใจ ในหลักการของระบบ นอกจากนั้นมีการตรวจสอบก่อนและ หลังการอบรมให้ความรู้พร้อมทั้งมีการประเมิน ผลและออก ใบเกียรติบัตรให้เพื่อเป็นแรงจูงใจซึ่งการดำ�เนินการครั้งนั้นทั้ง หมดเพื่อประเมินและกระตุ้นผู้ประกอบการให้มีความสนใจที่ จะพัฒนาสถานที่ผลิต เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง


หลังจากนั้นในปี 2535 เป็นต้นมาสำ�นักงานคณะกรรมการ อาหารและยา โดยกองควบคุมอาหารได้มีมาตรการให้การ รับรองระบบ GMP (Certificate GMP) แก่ผู้ประกอบการใน ลักษณะสมัครใจ การบังคับใช้ GMP ตามกฎหมาย GMP ที่นำ�มาเป็นมาตรการบังคับใช้เป็นกฎหมาย นั้นได้นำ�แนวทางข้อกำ�หนดของ Codex มาประยุกต์ใช้ ซึ่ง เป็ นที่ ย อมรั บ ของสากล แต่ มี ก ารปรั บ ในรายละเอี ย ดบาง ประเด็นหรือปรับให้ง่ายขึ้น (Simplify) เพื่อให้เหมาะสมกับ ศักยภาพของผู้ผลิตอาหารภายในประเทศให้สามารถปฏิบัติได้ จริง แต่ยังมีข้อกำ�หนดที่เป็นหลักการที่สำ�คัญเหมือนกับของ Codex แต่สามารถนำ�ไปใช้ได้กับสถานประกอบการทุกขนาด ทุกประเภททุกผลิตภัณฑ์ตามสภาพการณ์ ของประเทศไทย นอกจากนี้ ยั ง เป็ นการพั ฒ นามาตรฐานสู ง ขึ้ น มาจากหลั ก เกณฑ์ขั้นพื้นฐาน (Minimum Requirement) ที่ สำ�นักงาน คณะกรรมการอาหารและยาใช้ในการพิจารณาอนุญาตผลิต จึงเป็นเกณฑ์ซึ่ง ทั้งผู้ประกอบการและเจ้าหน้าที่รู้จักคุ้นเคย กันดีและปฏิบัติกันอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องมีการปฏิบัติในราย ละเอียดบางประเด็นที่เคร่งครัดและจริงจังมาก ขึ้น ซึ่งอาจ กล่าวได้ว่า GMP สุขลักษณะทั่วไปนี้ ผู้ประกอบการสามารถ นำ�ไปปฏิบัติตามได้จริงในทางปฏิบัติ ในขณะที่กฎระเบียบข้อ บังคับหลักการสำ�คัญยังมีความน่าเชื่อถือในระดับสากล

ประกอบการรายย่อยมีการผลิตโดยไม่คำ�นึงถึงความปลอดภัย ของผู้ บริโภคทำ�ให้เกิดปัญหาการปนเปื้อนเชื่อจุลินทรีย์ใน ผลิตภัณฑ์ ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค สำ�นักงาน คณะกรรมการอาหารและยาจึงเห็นว่า จำ�เป็นที่จะต้องมีมาตรการและหาวิธีการแก้ไข และป้องกัน ในเรื่องนี้อย่างจริงจังมากขึ้น ทั้งนี้จะเน้นการควบคุมสถาน ที่ แ ละกระบวนการผลิ ต โดยใช้ ห ลั ก การ GMP เฉพาะ ผลิตภัณฑ์เข้ามาเป็นหลักเกณฑ์บังคับทางกฎหมาย เพื่อให้ ผู้ ผ ลิ ต นํ้ า บริ โภคมี ค วามตระหนั ก มี ก ารควบคุ มตรวจสอบ และเห็ นความสำ � คั ญ ในเรื่ อ งคุ ณ ภาพมาตรฐานและความ ปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ์ หลักการของ GMP นํ้าบริโภคที่ไทย บังคับใช้เป็นกฎหมายนั้นจะใช้แนวทางของกฎหมายอเมริกา ที่กำ�หนดอยู่ใน Code of Federal Regulation title ที่ 21 Part 129 Processing and botting of bottled drinking waterและมาตรฐานสากล Codex (Code of Hyfiene for Bottled/Packaged Drinking Waters) ซึ่งสอดคล้อง กับ GMP สุขลักษณะ ทั่วไปโดยมีการขยายเนื้อหาในหมวดที่ เกี่ยวกับกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามขั้นตอนที่ ถูกต้องของ ผลิตภัณฑ์นํ้าบริโภคเพื่อให้ผู้ผลิตสามารถควบคุมได้ครบถ้วน ทุกจุด ของการผลิตมากยิ่งขึ้น GMP ที่เป็นกฎหมายบังคับใช้ของประเทศไทยมีด้วย กัน 2 ฉบับคือ

สำ�หรับ GMP เฉพาะผลิตภัณฑ์ (Specific GMP) นั้ น สำ � นั ก งานคณะกรรมการอาหารและยาได้ กำ � หนดให้ นํ้ า บริ โภคเป็ น ผลิ ต ภั ณฑ์ ช นิ ด แรกที่ ผู้ ป ระกอบการจะต้ อ ง ปฏิบัติตาม GMP เฉพาะ เนื่องจากการผลิตมีกระบวนการ ที่ไม่ซับซ้อนและลงทุนไม่สูง รวมทั้งผู้ประกอบการนํ้าดื่มใน ปัจจุบันเพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวนมาก จากการตรวจสอบจำ�นวน ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุญาตจากสำ�นักงานคณะกรรมการ อาหาร และยาและสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ ในปี 2546 มีประมาณ 4,000 ราย ทั่วประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่ผู้

1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่193) พ.ศ. 2543 และ(ฉบับที่239) พ.ศ.2544 เรื่องวิธีการผลิตเครื่อง มื อ เครื่ อ งใช้ ใ นการผลิ ต และการเก็ บ รั ก ษาอาหาร(GMP สุขลักษณะทั่วไป) 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที่220) พ.ศ. 2544 เรื่องนํ้าบริโภคในภาชนะบรรจุปิดสนิท(ฉบับที่3) (GMP นํ้าบริโภค)


GMP กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้สำ�หรับผู้ผลิต 8. การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน อาหารรายใหม่ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม 2544 ส่วนรายเก่ามี 9. การสุขาภิบาล ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม 2546 10. บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน 11. บันทึกและรายงาน ข้อกำ�หนด GMP สุขลักษณะทั่วไป สำ�หรับวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อกำ�หนดนั้นเช่นเดียว ข้อกำ�หนด GMP สุขลักษณะทั่วไปมี 6 ข้อกำ�หนดดังนี้ กับ GMP ของสุขลักษณะทั่วไป แต่ GMP นํ้า บริโภคนั้นจะ เน้นประเด็นการควบคุมกระบวนการการผลิตนํ้าบริโภคโดย 1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต ขยายราย ละเอียดในการควบคุมเพื่อป้องกันการปนเปื้อน 2. เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์ในการผลิต ชัดเจนยิ่งขึ้น ตั้งแต่ข้อ 3-8 ซึ่ง เป็นขั้นตอนในการผลิตและมี 3. การควบคุมกระบวนการผลิต การเพิ่มเติมในส่วนของบันทึกและรายงานเพื่อให้ผู้ ผลิตเห็น 4. การสุขาภิบาล ความสำ�คัญและประโยชน์ในการเก็บข้อมูลรายงานบันทึกที่ 5. การบำ�รุงรักษาและการทำ�ความสะอาด เกี่ยวข้องเช่น ผลวิเคราะห์แหล่งนํ้าและผลิตภัณฑ์เป็นต้นซึ่ง 6. บุคลากรและสุขลักษณะ จะช่วยป้องกันหรือแก้ไขเมื่อเกิดปัญหากับผลิตภัณฑ์ได้ ในแต่ละข้อกำ�หนดมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้ผลิตมี มาตรการป้องกันการปน เปื้อนอันตรายทั้งทางด้านจุลินทรีย์ เคมีและกายภาพ ลงสู่ผลิตภัณฑ์ซึ่งอาจมาจากสิ่งแวดล้อม ตัวอาคารเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ การดำ�เนินงานในแต่ละขั้น ตอนการผลิตรวมถึงการจัดการในด้านสุขอนามัยทั้งใน ส่วน ของความสะอาดการบำ�รุงรักษาและผู้ปฏิบัติงาน ข้อกำ�หนด GMP นํ้าบริโภค ข้อกำ�หนด GMP นํ้าบริโภคมี 11 ข้อกำ�หนด ดังนี้

1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต 2. เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต 3. แหล่งนํ้า 4. การปรับคุณภาพนํ้า 5. ภาชนะบรรจุ 6. สารทำ�ความสะอาดและฆ่าเชื้อ 7. การบรรจุ


มาตรฐาน BRC เป็นมาตรฐานที่จัดทำ�ขึ้นมาโดย ต้องมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่เน้นในเรื่องการทำ�ความ สมาคมผู้ประกอบธุรกิจค้าปลีก (The British Retail Con- สะอาด รวมถึงมาตรการต่างๆต้องมีการทบทวนและนำ�ไปใช้ sortium) ซึ่งมาตรฐานดังกล่าว ประกอบด้วย 6 ส่วนหลักๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 4. Product Control 1. HACCP System ในข้อกำ�หนดมาตรฐาน BRC นั้นจะครอบคลุมทั้ง องค์กรต้องดำ�เนินการจัดทำ�ระบบ HACCP ตาม ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ซึ่งการระบุและประเมินความเสี่ยง มาตรฐานของ codex ซึ่งจะต้องมีการนำ�ไปใช้อย่างทั่วถึง ใน การเกิดหรืออันตรายที่มีต่อความปลอดภัยตั้งแต่ขั้นตอน ครอบ คลุมทั้งองค์กรและธำ�รงรักษาไว้อย่างต่อเนื่อง บนพื้น การออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ฐานการประเมินความเสี่ยงที่พิจารณาทั้งโอกาสการเกิด และ จัดการและจัดเก็บวัตถุดิบชนิดพิเศษ เช่น สารที่ก่อให้เกิด ความรุนแรง การดำ�เนินการจัดทำ�นั้นต้องได้รับการสนับสนุน อาการภูมิแพ้ อินทรีย์สารการเสียสภาพเนื่องจากการเก็บ จากผู้บริหาร ซึ่งต้องแสดงความมุ่งมั่นในการจัดทำ� ตลอดจน หรือการปนเปื้อนข้ามระหว่างการเก็บ เป็นต้น ซึ่งการดำ�เนิน การตั้งทีมงาน และหัวหน้าทีม HACCP องค์กรต้องดำ�เนิน การดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจว่ า สิ นค้ า ที่ ผ ลิ ต มี ค วาม การจัดทำ�โปรแกรมพื้นฐาน (prerequisite programme) ปลอดภัย สอดคล้องตามกฎหมาย และได้คุณภาพตามที่ลูกค้า เพื่อสนับสนุนระบบ HACCP และควบคุมอันตรายที่เกิดขึ้น ต้องการ 2. Quality Management System องค์กรต้องจัดทำ�ระบบบริหารคุณภาพ ซึ่งต้องจัดทำ� เป็นเอกสาร นำ�ไปใช้ให้ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร โดยจะต้องมี การทบทวนและปรับปรุงตามความเหมาะสมและสมํ่าเสมอ องค์กรต้องมีการจัดทำ�นโยบายคุณภาพที่แสดงถึงความมุ่งมั่น ที่จะผลิตสินค้าที่ มีความปลอดภัย สอดคล้องตามกฎหมาย และรับผิดชอบต่อลูกค้า คู่มือคุณภาพที่องค์กรจัดทำ�จะต้อง ครอบคลุมข้อกำ�หนดในมาตรฐานของ BRC โดยข้อกำ�หนด นั้นเน้นในเรื่องการตรวจติดตามภายใน การปฏิบัติการแก้ไข และการสอบกลับเมื่อสินค้ามีปัญหา 3. Factory Environment Standards บริ เวณที่ ตั้ ง ของโรงงานต้ อ งป้ อ งกั นการปนเปื้ อ น และเอื้อให้มีการผลิตสินค้าที่มีความปลอดภัย ซึ่งต้องสอด คล้ อ งตามกฎหมาย โดยองค์ ต้ อ งควบคุ ม ดู แ ลสิ่ ง แวดลอม ทั้งภายนอกและภายในให้มีความเหมาะสม ซึ่งองค์กรต้อง พิจารณากิจกรรมและสภาพแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบ โดย

5. Process Control องค์กรต้องดำ�เนินการตามขั้นตอนและแสดงให้เห็น ถึงการควบคุมตลอดจนดำ�เนินการทวนสอบกระบวนการและ อุปกรณ์เพื่อให้สามารถทำ�การผลิตสินค้าได้อย่างปลอดภัย สอดคล้ อ งตามกฎหมายของผลิ ต ภั ณ ฑ์ และเป็ น ไปตาม คุณภาพที่กำ�หนดไว้ ซึ่งการควบคุมการปฏิบัติงานทั้งหมด ต้องทำ�อย่างมีประสิทธิภาพ โดยองค์กรต้องกำ�หนดระเบียบ ปฏิบัติการทวนสอบ การเฝ้าติดตามด้วย 6. Personnel องค์กรต้องมั่นใจว่าพนักงานในองค์กรต้องได้รับการ ฝึกอบรม และควบคุมให้มีการปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงพนักงานต้องแสดงให้เห็นถึงความสามารถ ในการปฏิ บั ติ ต ามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย องค์ ก รต้ อ งจั ด ทำ � มาตรฐานการควบคุ ม สุ ข ลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลที่ ใ ช้ ใ นการ ควบคุมพนักงานขององค์กร และผู้เยี่ยมชม


วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ท างการค้ า ที่ เป็ นธรรม และ เพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้บริโภค จากการบริโภคผลิตภัณฑ์ อาหาร ซึ่งในปัจจุบันองค์กรการค้าโลก (WTO) ได้ใช้เป็น หลัก อ้างอิง ในการดำ�เนินการทางการค้าระหว่างประเทศ ในส่วนของ การรับรองความปลอดภัยด้านสุขภาพของผู้บริโภค และ การ คุ้มครองการกีดกันทางการค้า โดย Codex ได้ร่วมแนวทางในการ ประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ขึ้น ปัจจุบัน HACCP ถูกใช้เป็นหลัก อ้างอิงสำ�หรับผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์อาหาร และ หน่วยงานควบคุม คุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร เนื่องจาก Codex ได้พัฒนาขึ้นโดย HACCP คืออะไร ประเทศสมาชิก 160 ประเทศ ดังนั้นระบบคุณภาพ HACCP จึง ได้มีการประยุกต์ใช้ในประเทศไทย ในการประกันความปลอดภัย การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม หรือ ของผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อสนับสนุนและอำ�นวยความสะดวก ใน Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) การดำ�เนินการค้าระหว่างประเทศ หมายถึง ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม ใช้ เป็นเครื่องมือในการชี้เฉพาะเจาะจง, ประเมิน และ ควบคุม ประโยชน์ของระบบ HACCP อันตรายทั้งอันตรายทางชีวภาพ เคมี และกายภาพ ที่มีโอกาสเกิด ขึ้นในผลิตภัณฑ์อาหาร 1. สร้ า งความมั่ น ใจต่ อ ความปลอดภั ย ในการบริ โภค ระบบ HACCP ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง จาก ผลิตภัณฑ์อาหาร นานาประเทศถึงประสิทธิภาพ การประกันความปลอดภัย ของ 2. เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการป้องกันอันตรายที่อาจเกิด ผลิตภัณฑ์อาหารสำ�หรับผู้บริโภค เนื่องจากระบบ HACCP เป็น ขึ้นในผลิตภัณฑ์อาหาร อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบที่ออกแบบมาเพื่อควบคุมอันตราย ณ จุดหรือขั้นตอนการ 3. ลดจำ�นวนตัวอย่างที่ต้องสุ่มตรวจ ผลิตที่อันตราย เหล่านั้นมีโอกาสเกิดขึ้น จึงสามารถประกันความ 4. ลดการสูญเสียของผลิตภัณฑ์ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ได้ดีกว่า การตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุดท้าย 5. อำ � นวยความสะดวกในการดำ � เนิ นการค้ า ระหว่ า ง หรือ การควบคุมคุณภาพที่ใช้กันอยู่เดิม ซึ่งมีความจำ�กัดของ ประเทศ ขนาดตัวอย่างที่สุ่ม นอกจากนั้นระบบ HACCP ยัง มีศักยภาพ 6. เพิ่มอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ สอดคล้องกับข้อ ในการระบุบริเวณหรือขั้นตอน การผลิตที่มีโอกาสเกิดความผิด กำ�หนดของประเทศคู่ค้า พลาดขึ้นได้ แม้ว่าจุดหรือในขั้นตอนดังกล่าว จะยังไม่เคยเกิด อันตรายมาก่อนซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการดำ�เนินงาน ประวัติของระบบ HACCP ใหม่ ระบบ HACCP สำ�หรับการจัดการด้านความปลอดภัย ทำ�ไมต้องใช้ระบบ HACCP ของอาหารมีรากฐานมาจากการพัฒนา 2 ครั้ง ครั้งแรกเกี่ยวกับ Dr. W.E. Deming ซึ่งได้ตั้งทฤษฎีการจัดการคุณภาพ (Theories คณะกรรมการอาหารระหว่ า งประเทศ FAO/WHO of Quality Management) ที่ใช้กันแพร่หลายและปัจจัยสำ�คัญใน หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า Codex ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2505 ได้ พัฒนา การพลิกผันคุณภาพของสินค้าญี่ปุ่น ในช่วงปี 1950 Dr.Deming มาตรฐานอาหาร แนวทางและข้ อ แนะนำ � ต่ า ง ๆ ขึ้ น โดยมี


และคณะได้ พั ฒ นาระบบการจั ด การคุ ณ ภาพโดยรวม (Total Quality Management, TQM) ซึ่งเน้นการเข้าถึงระบบโดย รวมในการผลิต ทำ�ให้สามารถปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้นในขณะ เดียวกันสามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้ การพัฒนาใหญ่ครั้งที่สอง เป็นการพัฒนาความคิดของ ระบบ HACCP โดยตรง ความคิดของระบบ HACCP ได้เริ่ม จัดทำ�ขึ้นในช่วงปี 1960 โดยบริษัท Pillsbury ร่วมกับกองทัพ สหรั ฐ อเมริ ก าและองค์ ก าร NASA โดยเป็ นการร่ ว มมื อ เพื่ อ พั ฒ นาการผลิ ต อาหารที่ ป ลอดภั ย สำ � หรั บ โครงการอวกาศ ที่ ต้องการโปรแกรมข้อบกพร่องเป็นศูนย์ (Zero-Defects Programme) เพื่อประกันความปลอดภัยของอาหารสำ�หรับนักบิน อวกาศขณะเดินทางในอวกาศ บริษัท Pillsbury จึงได้นำ�ระบบ HACCP มาใช้ เพราะเชื่อว่าเป็นระบบที่ให้ความปลอดภัยสูงสุด โดยไม่เน้นการทดสอบผลิตภัณฑ์สุดท้ายระบบ HACCP จะ เน้น การควบคุมกระบวนการเท่าที่จะทำ�ได้ตั้งแต่เริ่มต้นการผลิต โดย การควบคุมพนักงานและ/หรือเทคนิคการตรวจติดตามอย่างต่อ เนื่องที่จุดวิกฤต ที่ต้องควบคุม (Critical Control Point; CCP) บริษัท ได้เสนอแนวความคิด HACCP ต่อสาธารณชนในการ ประชุ ม เกี่ ย วกั บ การป้ อ งกั นทางด้ า นอาหาร (Food Protection) ในปี 1971 ต่อมาในปี 1974 สำ�นักงานอาหารและยาของ สหรัฐอเมริกา (US.FDA) ได้ประกาศใช้หลักการ HACCP ที่เสร็จ สมบูรณ์เพื่อเป็นกฎหมายสำ�หรับอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรด ตํ่าอย่างเป็นทางการ ในระยะแรกของช่วงปี 1980 บริษัทอาหารที่ สำ�คัญอื่น ๆ ได้เริ่มนำ�ระบบ HACCP ไปใช้ ในปี 1985 องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์สหรัฐอเมริกา (The National Academy of Science; USA) ได้แนะนำ�ว่าควร นำ�ระบบ HACCP มาใช้ในการจัดทำ�กระบวนการผลิตอาหารเพื่อ ความมั่นใจในความปลอดภัยของอาหาร ต่อมาได้มีการแนะนำ�ให้ ใช้ระบบ HACCP เพื่อความปลอดภัยของอาหารอย่างกว้างขวาง จากหน่วยงานหลายแห่ง เช่น International Commission for Microbiological Standards for Food; ICMSF, International Association of Milk, Food and Environmental Sanitarium; IAMFES

หลักการทั่วไปว่าด้วยสุขลักษณะอาหารของ Codex (The Codex Alimentarius General Principles of Food Hygiene) ในการประชุ ม คณะกรรมาธิ ก าร Codex (Codex Alimentarius Commission, CAC) ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน ถึง 7 กรกฏาคม 1993 ณ กรุงเวนีวา ที่ประชุม ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบ HACCP เพื่อใช้ในการ ควบคุมอาหาร จึงได้กำ�หนดการใช้ “แนวการปฏิบัติสำ�หรับการ ประยุกต์ใช้ระบบ HACCP” (Guidelines for the Application of the Hazard Analysis Critical Control Point System) (ALINORM 93/13 A, App II) คณะกรรมการได้รับแจ้งว่าจะ มีการร่างหลักการทั่วไปว่าด้วยสุขลักษณะของอาหารที่ผ่านการ แก้ไขแล้วเข้าไปใช้ร่วมกับระบบ HACCP คณะกรรมาธิการ ได้ทบทวนแก้ไขอีกครั้งในการประชุม ครั้งที่ 22 ในเดือนมิถุนายน 1997 ในภาคผนวกของหลักการ ทั่วไปด้านสุขลักษณะของอาหาร และแนวทางปฏิบัติในการนำ�ไป ประยุกต์ใช้ หลักการทั่วไปว่าด้วยสุขลักษณะอาหารของ Codex นั้น จะเป็นรากฐานเพื่อความมั่นใจในสุขลักษณะของอาหาร หลัก การทั่วไปจะเป็นการติดตามห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มจากจุดเริ่มต้น ของการผลิตไปจนกระทั่งถึงผู้บริโภคสุดท้าย โดยเน้นการควบคุม สุขลักษณะที่สำ�คัญในแต่ละขั้นตอนพร้อมกับแนะนำ�การใช้ระบบ HACCP ใน ส่วนที่สามารถปฏิบัติได้ เพื่อเสริมให้มีความปลอดภัย ของอาหารมากขึ้น การควบคุมนี้ได้รับการยอมรับเป็นสากลว่า เป็นสิ่งจำ�เป็นเพื่อความมั่นใจใน ความปลอดภัยและความเหมาะ สมของอาหารสำ�หรับการบริโภคและการค้าระหว่างประเทศ การประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ใน ส่วนต่าง ๆ ของโซ่อาหารจะขึ้นอยู่กับสมมติฐานที่ว่าการปฏิบัติ นั้นจะต้องสอดคล้องกับหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต (Good Manufacturing Practices; GMPs) และหลักการทั่วไปว่าด้วย สุขลักษณะอาหารของ Codex (The Codex Alimentarius General Principles of Food Hygiene) ความสามารถของ


อุตสาหกรรมที่จะใช้ระบบ HACCP ขึ้นกับระดับการปฏิบัติตาม โปรแกรมเบื้องต้นเหล่านี้ ความสำ�เร็จของการประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ต้อง การพันธะสัญญาและความร่วมมือของฝ่ายบริหารการบังคับใช้ อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ยังต้องการคณะทำ�งานที่เกิดจากการผสม ผสานของผู้เชี่ยวชาญทางด้านต่าง ๆ เช่น ทางด้านเกษตรกรรม ปศุ สั ต ว์ จุ ล ชี ว วิ ท ยา สาธารณสุ ข วิ ท ยาศาสตร์ ก ารอาหาร อนามัย สิ่งแวดล้อม เคมี วิศวกรรม ฯลฯ อย่างเหมาะสมและ สอดคล้องกับสถานการณ์ การประยุกต์ใชัระบบ HACCP จะ สอดคล้องกับการใช้ระบบการจัดการคุณภาพ เช่น การบริหาร คุณภาพโดยรวม (Total Quality Management; TQM) อนุกรม ISO 9000 ซึ่งระบบ HACCP เป็นทางเลือกหนึ่งของการจัดการ ด้านความปลอดภัยของอาหาร ระบบ HACCP กับการค้า จากการประชุมรอบอุรุกวัยของ Multilateral Trade Negotiation ซึ่ ง เริ่ ม ประชุ ม ที่ Punta del Este เมื่ อ เดื อ น กันยายน 1986 และสรุปผลที่เมือง Marrakech เดือนเมษายน 1994 ในข้ อ ตกลง Marrakech ให้ จั ด ตั้ ง องค์ ก ารการค้ า โลก (World Trade Organization; WTO) แทนข้อตกลงทั่วไปว่าด้วย ภาษีศุลกากรและการค้า (Gerneral Agreement on Tariffs and Trade; GATT) การประชุมรอบอุรุกวัยนี้เป็นครั้งแรกที่เกี่ยวข้อง กับการค้าเสรีของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ซึ่งอยู่นอกเหนือข้อ ตกลงในครั้งก่อน ๆ คณะกรรมาธิการ Codex ได้มีข้อเสนอที่สำ�คัญเกี่ยว กับความตกลงว่าด้วยการประยุกต์ใช้มาตรการสุขอนามัยและสุข อนามัยพืช (The Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures; SPS) และความตกลงว่าด้วย อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (The Agreement on the Techical Marriers to Trade; TBT, 1994) จุ ด ประสงค์ ข องข้ อ ตกลง SPS มี เพื่ อ ให้ มั่ น ใจใน มาตรการที่ จั ด ทำ � โดยรั ฐ บาลเพื่ อ ปกป้ อ งชี วิ ต และสุ ข ภาพของ มนุษย์ สัตว์ และพืชในด้านเกษตรกรรมเท่านั้น และเป็นข้อตกลง

ที่มีการเชื่อมโยงระหว่างกฏหมายและศีลธรรมเพื่อป้องกันการกีด กันทางการค้าระหว่างประเทศที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่ได้เกิดจากข้อ กำ�หนดทาง กฏหมาย ข้อตกลง SPS นั้นจะเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของ อาหารโดยกำ�หนดการทำ�งานเพื่อให้ประเทศสมาชิกนำ�ไปจัดทำ�ให้ สอดคล้องกับมาตรการนี้ มาตรการ SPS จะต้องมีพื้นฐานทางวิ ทยาศาตร์และมีการนำ�ไปใช้อย่างเท่าเทียมกันและโปร่งใส รวม ทั้งไม่อาจใช้เป็นข้อกีดกันที่ไม่เป็นธรรมทางการค้า ข้อตกลง SPS จะช่วยกระตุ้นรัฐบาลให้วางพื้นฐานมาตรการ ระดั บ ชาติ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐาน แนวทางปฏิ บั ติ แ ละข้ อ แนะนำ�ที่พัฒนาขึ้นโดยหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดทำ�มาตรฐาน สากล เพื่อเป็นการสนับสนุนการผลิตอาหารที่ปลอดภัยสำ�หรับตลาดทั้ง ในและต่างประเทศ ข้อตกลง TBT มีจุดประสงค์เพื่อป้องกันการใช้ข้อกำ�หนด ทางเทคนิคระดับชาติหรือระดับภูมิภาค หรือมาตรฐานทั่วไปเพื่อ เป็ น สิ่ ง กี ด กั นทางเทคนิ ค ที่ ไม่ เป็ นธรรมต่ อ การค้ า ข้ อ ตกลงจะ ครอบคลุมมาตรฐานทุกชนิด รวมทั้งข้อกำ�หนดทางด้านคุณภาพ ของอาหาร ยกเว้นความต้องการที่เกี่ยวกับมาตรการ SPS และ จะรวมถึงมาตรการต่าง ๆ ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อปกป้องผู้บริโภคจากการ หลอกลวงในเชิงเศรษฐศาสตร์ (economic fraud) ข้อตกลง TBT เน้นให้ใช้มาตรฐานสากล ดังนั้นสมาชิก ของ WTO จึงควรนำ�มาตรฐานสากลไปใช้ทั้งหมดหรือบางส่วน ยกเว้นเมื่อมาตรฐานสากลนั้นไม่มีประสิทธิภาพหรือไม่เหมาะสม กับสถานการณ์ในประเทศ มาตรฐานแนวทางปฏิ บั ติ แ ละข้ อ แนะนำ � อื่ น ๆ ของ Codex จะเป็ น พื้ นฐานสำ � หรั บ การคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคภายใต้ ข้อตกลง SPS โดยที่ผ่านมาแม้ว่ามาตรฐานและแนวทางปฏิบัติ ตลอดจนข้อแนะนำ�ของ Codex ไม่ได้รับความสำ�คัญและไม่คอย คุ้มครองผู้บริโภคตลอดจนในการค้าระหว่างประเทศ แต่ปัจจุบัน งานของคณะกรรมาธิ ก าร Codex ซึ่ ง รวมทั้ ง แนวทางปฏิ บั ติ สำ�หรับการประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ได้นำ�มาใช้เป็นเอกสาร อ้ า งอิ ง สำ � หรั บ เป็ นข้ อ กำ � หนดด้ า นความปลอดภั ย ของอาหาร ระหว่างประเทศ ดังนั้นแนวทางปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ของ Codex จะต้องชัดเจน มิฉะนั้นอาจเกิดข้อขัดแย้ง ด้านความปลอดภัยของอาหารขึ้น




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.