IS News by SUMMER's PEA

Page 1

I S NEWS

[ ส ำ ม ะ ปิ ] = ร ว บ ร ว ม ส ำ ร ส น เ ท ศ เ พื่ อ อ ง ค์ ค ว ำ ม รู้ แ ล ะ ปั ญ ญ ำ

5 Volume

วัตถุประสงค์ 1. รวบรวมและเผยแพร่สารสนเทศอันนาไปสู่องค์ความรู้และปัญญา 2. แนะนาทรัพยากรสารสนเทศและชี้แนะแหล่งสารสนเทศเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงสารสนเทศ 3. ร่วมปลูกฝังการไม่คัดลอกความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง (Plagiarism) 4. เสริมสร้างความสร้างสรรค์และความคิดในแง่บวกเพื่อความสุขของชีวิต

สำรบัญ 01 03 06 08

Hot Books Cool Webs IS Ideas Terms Plaza

11 16 20 22

Happiness of life Generalist to Specialist Get Point Where is Thailand?

สำมะปิ’s PERSONNEL ที่ปรึกษา ผศ.เพ็ญพันธ์ เพชรศร บรรณาธิการ ปฏิภาณ ผลมาตย์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ สร้อยทิพย์ แซ่ลิ้ม, นิลวรรณ ศิริมูล ศิลปกรรม ปฏิภาณ ผลมาตย์ ช่างภาพ กัญญาวีร์ ภาเตาะ พิสูจน์อักษร กิตติยา ชนะพาห์ ผู้จัดการผลิต ปฏิภาณ ผลมาตย์


Hot Books เรื่อง: สร้อยทิพย์ แซ่ลิ้ม

{ บรรณนิทัศน์ }

บัน-นะ-นิ-ทัด หรือ บัน-นิ-ทัด หมายถึง ข้อความที่แนะนาหนังสือ บรรณนิทัศน์อาจเน้นจุดเด่นของหนังสือ หรืออาจมีความเห็นของผู้ที่ทาบรรณนิทัศน์ด้วยก็ได้ บรรณนิทัศน์มีประโยชน์ สาหรับผู้อ่าน ทาให้สามารถทราบเรื่องราวของหนังสือต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และนาไปสู่การค้นคว้าที่กว้างขวางและลึกซึ้งต่อไป

01

กองบรรณาธิการ. MONDAY Vol.02. กรุงเทพฯ : เดย์โพ เอทส์, 2555. 176 หน้า 220 บาท

MONDAY เป็นนิตยสารดิจิตอลรายสัปดาห์ อ่านได้บน iPad, iPhone และ Android ออกวางแผงทุกวันจันทร์ MONDAY PAPER หรื อ ก็ คื อ มั น เดย์ ฉ บั บ กระดาษ "ความเกลียดจะทิ้งรอยแผลเป็นอันน่าเกลียด ความรักจะทิ้ง รอยแผลเป็ น อั น สวยงาม" เป็ น หนั ง สื อ ที่ เ กี่ ย วกั บพวกที่ เ บื่ อ หน่ายกับวันจันทร์ และมันคือความพยายามที่จะทาให้วันจันทร์ อันแสนจะน่าเบื่อเส็งเคล้ง กลายเป็นวันที่สุขสันต์ด้วยเรื่องราว สุ ด แนว ตามแบบฉบั บ ของ a book ที่ ส อดแทรกข้ อ คิ ด ไว้ มากมายหลากหลายอารมณ์ หนังสือที่อ่านสนุกเพลิดเพลินมีการ์ตูนประกอบหัวเราะ

ประเภท : เรื่องสั้น

ได้ตลอดเวลา ถ้าได้ลองอ่านแล้วคุณจะวางมันไม่ลง ———————————————————————————————–—————————————————

02

ปี ย์ จิ ต โอสถานนท์ . สวยเป๊ ะ 100 สิ่ ง เพื่ อ ผู้ ห ญิ ง ดู ดี . กรุงเทพฯ : อมรินทร์ How to, 2555. 375 บาท.

หนังสือที่จะแนะนาให้ผู้หญิงมีสไตล์เป็นของตนเอง ไม่ ยึดตามแฟชั่น "แฟชั่น" นั้นหาซื้อกันได้ไม่ว่าจะมีงบน้อยหรือมาก ยิ่ง เงินหนาก็ ยิ่งซื้ อหามาชโลมกายได้มากขึ้น จนสามารถเนรมิ ต ตั ว เองให้ เ ป็ น ผู้ สื่ อ สารเทรนด์ แ ฟชั่ น ในแต่ ล ะซี ซั่ น ได้ อ ย่ า ง ง่ายดาย ขณะที่ "สไตล์" ไม่ได้มีป้ายราคาติดอยู่ให้หยิบจับซื้อ หากันได้ง่ายๆ แต่เปรียบเสมือนจิตวิญญาณหรือสัญชาตญาณ ซึ่งหากว่าไม่ได้ติดตัวมาตั้งแต่เกิดก็อาจต้องอาศัยประสบการณ์ ที่สั่งสมมานานปี จุดประสงค์ของหนังสือเล่มนี้คือการปลูกฝังให้ ทุกคนมีสไตล์ส่วนตัว มีความมั่นใจในสไตล์ของตัวเองแทนที่ จะต้องเป็นเหยื่อของวงจรแฟชั่น แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่จะมีเงินทอง เหลือเฟือเพื่อมาจับจ่ายสินค้าแฟชั่นกันได้ครบ คนส่วนใหญ่มี

ประเภท : จิตวิทยา การพัฒนาตนเอง

งบจากัดทั้งนั้นแหละ ด้วยเหตุนี้สไตล์จึงเป็นเรื่องสาคัญ เพราะ สไตล์ไม่ต้องใช้เงินซื้อหรือถ้ามีเงินหนาก็ใช่ว่าจะซื้อได้เสมอไป

01


03

นั ท ธี . เต้ น ร ำไปบนท่ อ นแขนอ่ อ นนุ่ ม . กรุ ง เทพฯ : แพรว สานักพิมพ์, 2555. 119 หน้า. 115 บาท.

แปดเรื่ องสั้ น คั ด สรร ของนั ก เขี ย นรางวั ลนายอิ น ทร์ อ ะ วอร์ด และรางวัลสุภาว์ เทวกุลฯ เต้นราไปบนท่อนแขนอันอ่อนนุ่ม เป็นการรวมเรื่องสั้นคัด สรรจ านวนแปดเรื่ องของนั ก เขี ย นสาว นทธี ศศิ วิม ล เจ้ า ของ รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ปี 2551 และรางวัลสุภาว์ เทวกุลฯ ปี 2553 โดยเรื่องสั้นทั้งแปดเรื่องนี้ เป็นการเขียนถึงตัวละครผู้หญิง ในมิ ติ ห น้ า ที่ ที่ แ ตกต่ า งกั น บ้ า งเป็ น แม่ , เป็ น ลู ก สาว, เป็ น นั ก ศึ ก ษา, เป็ น ศิ ล ปิ น นั ก ร้ อ ง ฯลฯ ผู้ เ ขี ย นสามารถถ่ า ยทอด เรื่ อ งราวต่ า งๆ ได้ ช วนอ่ า น ชวนติ ด ตาม ด้ ว ยสานวนเขี ย นที่ ละเมียดละไม และบางเรื่องอ่านแล้วสะเทือนใจสูง

ประเภท : เรื่องสั้น

——————————————————————————————————————————————

04

ทยา ฤทธิ์ปรีชา. อยู่ตรงกลำงอย่ำงมีควำมสุข. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์อมรินทร์ธรรมะ, 2555. 141 หน้า. 119 บาท.

แซนด์วิชเจเนอเรชั่น หลักธรรมนาทางท่ามกลางแรงบีบ คั้น เมื่อต้องดูแลทั้งพ่อแม่และลูกๆในคราวเดียวกันงานเขียน สไตล์ How toที่ผู้เขียนเน้นถึงการแบกรับภาระของคนวัยทางาน ที่เรียกว่า แซนด์วิชเจเนอเรชั่น ซึ่งต้องดูแลทั้งพ่อแม่ผู้สูงวัยและ ส่งเสียเลี้ยงดูลูกของตนเองไปในขณะเดียว นับเป็นภาระที่เสี่ยง ต่อความเครียด ผู้เขียนจึงแนะนาวิธีคิดและข้อควรปฏิบัติต่อพ่อ แม่ แ ละลู ก ที่ อิ ง มาจากหลั ก ทางพุ ท ธศาสนา เช่ น มงคล 38 ประการ อิทธิบาท 4 พรหมวิหาร 4 เพื่อให้แซนด์วิชเจนเนอ เรชั่นได้มีชีวิตอยู่ตรงกลางอย่างมีความสุข

ประเภท : ธรรมะ/ปรัชญำ/ข้อคิด

——————————————————————————————————————————————

05

ริชาร์ด พอล เอแวนส์. Promise Me ภำพฝันในวันวำน. ธิดา รัตน์ เจริญชัยชนะ. กรุงเทพฯ : แพรวสานักพิมพ์, 2555. 265 หน้า. 199 บาท

เรื่ องราวรั ก ปาฏิ ห าริ ย์ ข องหญิ ง สาวผู้ สูญ สิ้ น ความรั ก จากนักเขียนหนังสือขายดีอันดับหนึ่งของนิวยอร์กไทมส์เรื่อง The Christmas Box Promise Me เป็ น เรื่ องราวความรั ก ปาฎิ หาริ ย์ ข องเบธ หญิ ง สาวผู้ สู ญ สิ้ น ความหวั ง ในความรั ก และ ศรัทธาใดๆ เธอพบว่าลูกตัวเองป่วยเป็นโรคที่ไม่ทราบสาเหตุ ซ้าแล้วยังต้องมารับรู้เรื่องราวอันปวดใจที่ว่าสามีของเธอนอกใจ และมีผู้หญิงคนอื่น เบธสู ญ สิ้ น ศรั ท ธาในความรัก และไม่ คิ ด ว่ า ตนเองจะ สามารถไว้ใ จใครได้อีก จนวันที่เธอได้พบกับแมทธิวในวันคริ

ประเภท : วรรณกรรมแปล

สมาสต์ ชายหนุ่มซึ่งนาปาฎิหารย์และความประหลาดใจต่างๆ มากมายมาให้ เ บธ ชายหนุ่ ม ที่ รั ก ษาสั ญ ญา และท าให้ เ บธ ศรัทธาในความรักอีกครั้ง

02


Cool Webs เรื่อง: นิลวรรณ ศิริมูล

“Podcasting หรือ Podcast” Web 2.0

ทีวีนอกจอยุคใหม่ที่กำลังมำแรงในโลกขณะนี้ บนโลกอินเตอร์เน็ตถือเป็นช่องทางการสื่อสารที่ ทาให้เราเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากที่ต่างๆได้หลากหลาย ในแวดวงไอที ไลฟ์สไตล์ และความบันเทิงในส่วนผสมที่ ลงตัว รวมไปถึงสาระความบันเทิงจากทีวีออนไลน์ สื่อ ทางเลือกที่มักนาเสนอเรื่องเฉพาะด้านทีห่ าไม่ได้จาก หน้าจอโทรทัศน์ คนไอทีดูได้ คนทั่วไปก็ดดู ีเพราะมี หลากหลายรายการให้ได้เลือกชม “Podcasting หรือ Podcast” คือ? Podcasting หรือ Podcast คือขั้นตอนของสื่อ ชนิดหนึ่งบนระบบอินเตอร์เน็ตที่ยินยอมให้ผู้ใช้ทั่วไปทา การสมัครเพื่อรับ feed news มันเริม่ ได้รับความนิยม ประมาณปลายปี 2004 ที่ผา่ นมา ตัว feed news นี้จะ ทางานอัตโนมัติ เพื่อทาการดาวน์โหลดไฟล์มัลติมเี ดีย ต่างๆ เข้าสู่ computer หรือ portable music player (เรียกว่า mp3 player) คาว่า Podcasting หลายๆ คนคิดว่าอาจจะ เป็นมาจากคาว่า Broadcasting กับ iPod แต่ตาม ข้อกาหนดแล้ว มันเป็นการเข้าใจผิด แต่เป็นความ บังเอิญ อันสอดคล่องพอดี หรือประจวบเหมาะ กับ iPod ของ Apple นั้นเอง ซึ่ง Steve Jobs ก็ใช้โอกาสนี้ โฆษณา feature ใหม่เป็น Broadcasting + iPod = Podcasting นั้นเอง พอดคาสต์ เป็นสื่อเชิงสังคมอีกชนิดหนึ่ง ที่ พัฒนามาจากการกระจายข่าวแบบเดิม ที่จะต้องลงทุน มาก พอดคาสต์ ได้ทาให้ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการ ลงทุนไปได้มากมาย ไม่ต้องมีห้องสตูดิโอ ไม่ต้องมี เครื่องส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม มีเพียงไมโครโฟน กล้องวิดีโอ และคอมพิวเตอร์ออนไลน์เท่านั้น ทาให้ ทุกคนบนโลกออนไลน์สามารถสร้างสถานีโทรทัศน์ขึ้น

ได้ด้วยสองมือของเขาเอง และในวันนี้ การผลิตสื่อทีวี จะไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไปแล้ว “พอดคาสต์” ได้ พัฒนาจากเฉพาะเสียง มาเป็น "วิดีโอ พอดคาสต์" ทั้ง ภาพและเสียง ในปัจจุบันตัวอย่างได้แก่ last.fm, YouTube.com, Blip.tv และรายการทีวีออนไลน์ ใน ประเทศไทย เรำมำดูทวี ีนอกจอกำลังเป็นที่นำ่ สนใจ อยู่ในขณะนีก ้ ันดีกว่ำ...

Buzzidea.TV อิ น เตอร์ เ น็ ต ที วี ใ น version web 2.0 เป็ น สถานีหนึ่งที่เสนอเรื่องราวในแวดวงไอที ไลฟ์สไตล์ และ ความบันเทิงในส่วนผสมที่ลงตัว นอจากนี้ยังเป็นเว็บที่ เปิดกว้างให้ทุกคนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ content และ เป็นผู้ ผลิต รายการเพื่อความพึงพอใจในการเลื อกชม นอกจากเป็ น สถานี โทรทั ศ น์ ที่ ออนแอร์ ท าง Internet หรือสื่อสารสาระดีๆ สู่สาธารณะชน ด้วยผู้ผลิต Content ระดั บ สื่ อ สารมวลชนแล้ ว สถานี นี้ ยั ง จะเป็ น ช่องทาง ของผู้ผลิต Content ในระดับประชาชนอีกด้วย Buzzidea.tv ผลิตรายการตาม section ต่างๆ ได้แก่ 1. IT Snack เป็ น รายการที่ ย่ อ ย IT หนั ก ๆ สาหรั บใครหลายคน ให้ เ ป็ น ของว่ า ง เหมาะแก่ ก าร เรียนรู้ได้อย่างง่ายดาย

03


2. Daily BUZZ นาเสนอข่าวเด่นประเด็นร้อนใน วงการไอที อาทิ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ รุ่ น ใหม่ หรื อเรื่ องราวใน สั ง คมที่ ค นสนใจ จั บ มาน าเสนอตามสไตล์ ค นไอที ที่ สนใจบ้านเมือง 3. Blog Eye View น าเสนอเรื่องราวการเขี ย น บทความผ่า น blog ของประชาชนทั้ง เยาวชนรุ่น ใหม่ หรือผู้ใหญ่รุ่นเก่า ก็สามารถเล่าประสบการณ์การเขียน blog ผ่าน Blog Eye View ได้ 4. Comtoday น าเสนอความเคลื่ อ นไหว Tip เทคนิค และไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจสาหรับชาว IT 5. Me space นาเสนอวาไรตี้ค วามบั นเทิง ซึ่ ง เป็นที่ว่างสาหรับคนมีของให้ได้โชว์ความสามารถผ่าน ช่องทางนี้ 6. Com Mart TV นาเสนอฮาร์ดแวร์ใหม่ๆ มุ่ง ตรงสู่ Com Mart 7. Mobile Society ชุมชนคนรักมือถือ ที่รวมเท รนมือถือที่น่าสนใจและกาลังมาแรงอยู่ในขณะนี้ หากสาระของคุณดีมีสาระ คุณเองก็สามารถส่ง ไอเดี ย คลิ ป ที่ คุ ณ ผลิ ต ขึ้ น ด้ ว ยตั ว คุ ณ เองมาได้ ที่ mespace@buzzidea.tv เ พื่ อ อ อ น แ อ ร์ ใ น ส ถ า นี buzzidea.tv

SpokeDark.tv เป็นอีกหนึ่งสถานีที่เป็นช่องทางการสื่อสารที่ทา ให้เราเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากที่ต่างๆ ได้หลากหลาย แหล่งรวมคลิบวีดิโอในแวดวงของความบันเทิง ที่มีทั้ง เรื่องของสุขภาพ ความสวยความงาม ข่าวเหตุการณ์ บ้ า นเมื อ ง รี วิ ว ต่ า งๆ เพลง กี ฬ า เกมส์ สั ต ว์ เ ลี้ ย ง ท่องเที่ยว แนะนาเมนูอาหารสาหรับคนชอบทาน และ เทคโนโลยี เป็ นต้ น เรีย กได้ว่ าหากคุ ณเข้า มาในเว็ บนี้ คุณจะได้เห็นความหลากหลายที่หาไม่ได้ในทีวีที่บ้าน คุณอย่างแน่นอน

SpokeDark.tv ผลิตรายการตาม section ต่างๆ ได้แก่ 1. รายการเจาะข่าวตื้น เป็นรายการที่นาเสนอการ ร่ ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาเหตุ ก ารณ์ บ้านเมือง ในแต่ละตอนนาเสนอในรูปแบบของเนื้อหาที่ ไม่หนักเกินไป และสอดแทรกความสนุกสนานให้ผู้ชมได้ เพลิดเพลิน 2. ร ายกา รเ ก้ า อี้ เ สริ ม เ ป็ น รา ยก าร ที่ เ ล่ า ประสบการณ์ของพิธีกรในเรื่องต่างๆซึ่งให้สาระและความ บันเทิงไปพร้อมกัน 3. รายการโมเมพาเพลิ น สาวๆ ที่ รั ก ความ สวยงามห้ามพลาด เพราะรายการนี้นาเสนอวิธีการที่จะ ช่ ว ยให้ คุ ณ ดู ดี ไ ด้ ด้ ว ยการแต่ ง หน้ า ให้ เ หมาะสมกั บ ทุ ก เทศกาล 4. รายการเจ๊จอยลองของ เป็นรายการที่นาเสนอ การทดลองต่างๆ เพื่อมาบอกต่อกับผู้ที่สนใจ หรือกาลัง ตัดสินใจที่จะเลือกหรือซื้อผลิตภัณท์บางอย่าง และการ ทดลองทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสุขภาพในเรื่องของการ กินและการการใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เป็นต้น 5. รายการ a here ที่ น าเสนอเรื่ อ งราวที่ มี ประโยชน์ กับการสัมภาษณ์กับบุคคลต่างๆ ที่ให้ได้เรียนรู้ ประสบการณ์การใช้ชีวิตของแต่ละคน 6. รายการมิวสิคบาบัด นาบทเพลงคลาสสิกมาให้ ผู้ชมได้ฟังกันสดๆ ให้ได้ฟังกันเพลินๆ บาบัดจิตใจให้มี ความสุขไปกับเสียงเพลง 7. รายการ Good shape เป็ น รายการน าเสนอ วิธีการลดน้าหนักที่ไม่ต้องพึ่งยา หรือเข้าคอร์สในราคา แพง มี ก ารตอบค าถามเรื่ องการลดน้ าหนั ก การเลื อ ก รับประทานอาหาร เป็นต้น 8. รายการหล่อ เล็ง who รายการที่จะนาผู้ชมได้ ท่องเที่ยวกับหลากหลายประเทศ รวมถึงได้รับประทาน อาหารอร่อยๆ ชมวัฒนธรรมประจาชาติในแต่ละประเทศ 9. Featured Chanels ช่ อ ง ท า ง ใ ห ม่ ใ ห้ กั บ ประชาชน สามารถนา vdo ของคุณสู่สายตาชาวไทย ถ้า คุณมี vdo ที่โพสต์ไว้ใน youtube อยู่แล้วหรือที่เคยโพสต์ ไว้ ที่ใ ดก็ ตาม ที่เ ป็น ผลงานของตั วคุ ณเอง ไม่ว่ าจะเป็ น vdo แนวไหนก็ตาม ขอแค่มีผลงานต่อเนื่องที่เป็นของคุณ spokedark.tv จะเปิดรายการให้คุณแล้วคุณจะมี web ที่ เป็ น ชื่ อ ของคุ ณ แล้ ว VDO ของคุ ณ จะถู ก โปใน facebook.com/spokedarktv ที่มีประชากรตามอยู่หลักแสนใน ขณะนี้

04


นอกจากนี้ ยังมีรายการอื่นๆ อีกมากมายที่ให้ ทั้งสาระและความบันเทิงกับผู้ชมทุกท่าน แต่อาจมีบาง รายการที่อาจจะไม่เหมาะสมกับเด็ก อายุต่ากว่า 18 ปี ผู้ใหญ่ควรให้คาแนะนา

เกล็ดเล็กเกล็ดน้อย...ทราบหรือไม่? เมื่อปี ค.ศ. 2001 ได้เกิดวิกฤตการณ์อันเลวร้าย ไปทั่วโลก ที่เรียกว่า วิกฤตการณ์ฟองสบู่แตกซึ่งเป็นที่ รู้ จั ก กั น ดี นั้ น และในงานการประชุ ม นานาชาติ เพื่ อ ระดมสมองที่ San Francisco สหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 2004 ได้เห็นพ้องต้องกันว่า ผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตกาลังอยู่ในช่วงคาบเกี่ยวระหว่างเว็บยุคเก่า และเว็บยุคใหม่ เว็บไซต์ใดที่ไม่สามารถจะให้คุณค่าที่ แท้จริงแก่ผู้บริโภคได้ ก็ต้องล้มหายตายจากไป แต่ก็มี เว็ บ ไซต์ อี ก จ านวนหนึ่ ง ที่ ส ามารถผ่ า นพ้ น ช่ ว ง วิกฤตการณ์อันเลวร้ายนี้ไปได้ โดยมีลักษณะเด่นของ ตนเองบางประการ ซึ่ง Tim O' Reilly เรียกว่า Web 2.0 และลักษณะเด่นที่ว่านี้ ก็คือการที่ผู้บริโภคมีส่วน ร่วมนั่นเอง ผู้บริโภคเป็นผู้ขับเคลื่อนการปฏิวัติข้อมูล ข่ า ว ส า ร อ ย่ า ง ไ ม่ เ ค ย มี ม า ก่ อ น นั บ จ า ก ค . ศ . 2004 จนถึงปัจจุบัน

, YouTube, Wiki Web

เรามาท าความรู้ จั ก กั บ Web 2.0 กันก่อนดีกว่า ปั จ จุ บั นเร าใช้ Internet เ พื่ อ เ ขี ย น บล็ อ ก (BLOG), แชร์รูปภาพ, ร่วมเขียนวีกี (Wiki), แสดงความ คิดเห็น (Post Comment) ในข่าว, หาแหล่งข้อมูลด้วย RSS เพื่อ Feed มาอ่าน รวมทั้ง Google จะเห็นได้ว่า วิถีการใช้ Internet เริ่มเปลี่ยนไป เว็บ 2.0 คือ การให้ ความหมายของสิ่งที่เปลี่ยนไปของเทคโนโลยีเว็บไซต์ เว็บในยุคปัจ จุบัน ให้ความสาคัญกับผู้เ ข้าชมเว็บไซต์ โดยที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์จะมีส่วนร่วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น ไม่ใช่แค่เข้ามาชมเว็บไซต์ที่เจ้าของเว็บจัดทาขึ้นเท่านั้น ผู้ เ ข้ า ชมเว็ บ ไซต์ ส ามารถสร้ า งข้ อมู ล (Content) ของ เว็บไซต์ขึ้นมาได้เองหรือสามารถกาหนดคาสาคัญของ เว็ บไซต์ ที่เ กี่ย วข้ องข้อมูล (tag content) ตัว อย่ างเช่ น Digg, Flickr, YouTube, Wiki Web 2.0 application นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติที่เรียกว่า RIA (Rich Internet Application) คือ มีส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface) ที่ดี ยิ่ ง ขึ้ น เช่ น คุ ณ สมบั ติ ล ากแล้ ว วางโดยเทคโนโลยี ที่ เกี่ ย วข้ อ งในการสร้ า ง RIA เช่ น AJAX, Flash ส่ ว น สาคัญอีกส่วนหนึ่งของเว็บแอพพลิเคชั่น 2.0 นั่นก็คือ การที่สร้างเว็บแอพพลิเคชั่นแล้วเปิดบริการของเว็บให้ คนอื่นๆ สามารถมาใช้ได้ เช่น สร้างเว็บแอพพลิเคชั่น เกี่ยวกับระบบการซื้อขายสินค้าออนไลน์ขึ้นมา ควำมหมำยและจุ ด มุ่ ง หมำยของเทคโนโลยี เ ว็ บ 2.0. (2553). ค้ น ข้ อ มู ล เมื่ อ วั น ที่ 27 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.thaigoodview.com/node/81571 สุรศักดิ์. แนะนำเว็บยุคใหม่ Web 2.0 ที่กำลังมำแรงในโลกขณะนี้ ที่ทุกคนควรใส่ ใ จ . ( 2 5 5 2) . ค้ นข้ อ มู ล เมื่ อ วั น ที่ 2 7 กร ก ฎา ค ม 25 5 5 , จ า ก http:// www.oknation.net/blog/surasakc/2009/07/27/entry-1 วี ดิ โ อแนะน ำรำยกำร buzzidea.tv. (2551). ค้ น ข้ อ มู ล เมื่ อ วั น ที่ 27 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.buzzidea.tv/watch.php?id=1 “Podcasting ห รื อ Podcast” คื อ ? . ( 2 5 4 8 ) . ค้ น ข้ อ มู ล เ มื่ อ วั น ที่ 2 7 ก ร ก ฎ า ค ม 2555, จาก http://www.thaicyberpoint.com/ford/blog/id/168/ SpokeDark.tv. (ม . ป . ป ) . ค้ นข้ อมู ล เมื่ อวั นที่ 29 กร กฎา ค ม 25 5 5 , จ า ก http:// www.spokedark.tv/

05


IS Ideas เรื่อง: กัญญำวีร์ ภำเตำะ

มก. ปิ๊งไอเดียช่องทางสื่อสาร

ภาษามือไทยผ่าน Thai

SL App

มนุษยศำสตร์ มก. ปิ๊งไอเดีย พัฒนำนวัตกรรมผสมผสำนภำษำมือไทยกับ เทคโนโลยีสำรสนเทศ เป็น Thai SL App แอปพลิเคชันภำษำมือไทย ทลำยกำแพง กำรสื่อสำรระหว่ำงคนปกติและผู้บกพร่องทำงกำรได้ยิน

ปัจ จุบันเทคโนโลยีท างด้า นการสื่อสาร มีก ารพัฒ นาอย่ างไม่ หยุ ดนิ่ ง สถาบั น ภาษาศาสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมศึ ก ษาราชนคริ น ทร์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรม Thai SL App แอปพลิเคชันภาษามือไทยที่ ผสมผสานภาษามือไทยกับเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดประโยชน์ทางการ สื่อสาร และยังสร้างเสริมความเข้าใจทั้งผู้บกพร่องทางการได้ยิน ผู้ได้ยินปกติ รวมถึงผู้ที่ สนใจเรียนภาษามือไทยด้วย รศ.ดร. อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล ผู้อานวยการสถาบัน ภาษาศาสตร์แ ละวั ฒ นธรรมศึ ก ษาราชนคริ น ทร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ เล่ าถึ ง ที่ ม าของ นวัตกรรมชิ้นนี้ว่า แอปพลิเคชันภาษามือไทยหรือนวัตกรรมสื่อพกพาภาษามือไทย Thai Sign Language iPhone/IPad App และ Android App (Thai SL App) ถือกาเนิดมา จากงานวิจัยที่ทาร่วมกับนิสิตปริญญาโทที่ใช้ภาษามือ จากพจนานุกรมดิจิตอลภาษามือ ไทย เพื่อให้คนหูหนวกและคนหูดีเชื่อมโยงสื่อสารระหว่าง กัน ต่อมาได้ พัฒนาต่อยอดเป็น พจนานุก รมสารสนเทศ ภาษามือไทยซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน ในการจัดทา โดยมีคณะผู้วิจัยคือ รศ. ดร. อภิลักษณ์ ธรรม ทวีธิกุล หัวหน้าโครงการ และผู้วิจัยหลัก น.ส. จิรภา นิวาต พั น ธุ์ ผู้ ร่ ว มวิ จั ย และ Mr. Philipp Dill ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า น สารสนเทศ นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนด้านบุคลากร จากวิทยาลัยราชสุดา และมูลนิธิภาษาศาสตร์ประยุกต์ใน การร่วมวิจัย จากนั้นได้พัฒนาต่อยอดมาเป็นแอปพลิเคชัน ภาษามื อ ไทย ซึ่ ง เปิ ด ให้ ด าวน์ โ หลดฟรี ตั้ ง แต่ เ ดื อ น พฤษภาคม 2555 ที่ผ่านมา สาหรั บผู้ สนใจสามารถดาวน์ โหลดฟรี ได้ ที่ App Store ห รื อที่ เ ว็ บ ไ ซ ต์ ส ถา บั น ภ า ษา ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์ และสาหรับผู้ที่ต้องการ ศึกษาระบบเสียงภาษาไทย สามารถเยี่ยมชมนวัตกรรมสื่อระบบเสียงภาษาไทยออนไลน์ ไ ด้ ที่ http://rilc.ku.ac.th/Thai%2 0 Sound%2 0 System%2 0 Online/Home.html ห รื อ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์ โทร. 02 - 579 - 5567 - 8 ต่อ 1516

06


ผู้ช่วยเปลี่ยนข้อความต่างดาว หมดปัญหาพิมพ์ผิดภาษาแล้วต้องลบพิมพ์ใหม่หมด

หมดปัญหาพิมพ์ผิดภาษาแล้วต้องลบพิมพ์ใหม่หมด กับผู้ช่วย เปลี่ยนข้อความต่างดาว เดาเล่นๆ ว่าหลายคนน่าจะมีปัญหาเกี่ยวกับการพิมพ์สัมผัส คือก้มหน้าก้ม ตาจิ้มดีด แล้วมักจะมีปัญหาคือลืมกดเปลี่ยนภาษาจากอังกฤษเป็นไทยบนแป้นคีย์บอร์ด และด้วยความเมามันในการพิมพ์ กว่าจะเงยหน้ามามองจอก็สายเกินไปแล้ว พิมพ์ผิด เป็นภาษาต่างดาวยาวพรืด แถมจาไม่ได้ว่าพิมพ์อะไรไปบ้าง ต้องมานั่งลบ พิมพ์ใหม่ แถมได้ข้อความไม่เหมือนเดิม วันนี้ปัญหาเหล่านั้นจะหมดไปด้วยผู้ช่วยอัจฉริยะที่จะช่วยเปลี่ยนประโยคหรือ ข้ อ ความที่ พิ ม พ์ ผิ ด จากภาษาอั ง กฤษให้ เ ป็ น ภาษาไทยเวลาลื ม กดเปลี่ ย นภาษา กั บ เว็บไซต์ de.appspot.com คราวนี้เวลาพิมพ์ไทยแต่ดันลืมเปลี่ยนภาษาจะได้ไม่ต้องมา นั่งลบใหม่พิมพ์ใหม่แล้ว

หมดปัญหำพิมพ์ผิดภำษำแล้วต้องลบพิมพ์ใหม่หมด กับผู้ช่วยเปลี่ยนข้อควำมต่ำง ดำว. (2555). ค้นข้อมูล 28 กรกฎาคม 2555. จาก http://www.tech xcite.com/topic/10432.html ASTVผู้จัดการออนไลน์. (2555). มก. ปิ๊งไอเดียช่องทำงสื่อสำรภำษำมือไทยผ่ำน Thai SL App. (2555). ค้ น ข้ อ มู ล 28 กรกฎาคม 2555. จาก http:// manager. co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9550000091692

07


Terms Plaza เรื่อง: กิตติยำ ชนะพำห์

Dictionary for Library and Information Science Annual report

Cover

Annual report หมายถึง รายงานประจาปี เป็นหนังสือที่ มีจานวนหน้าน้อยกว่า 100 หน้า จัดเป็นหนังสือรายปีประเภท หนึ่ง ส่วนมากเป็นหนังสือที่จัดทาโดยหน่วยงานราชการ องค์การ สถาบันต่าง ๆ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร หรือองค์กร บริหารอื่น ๆ ของหน่วยงาน และเพื่อเผยแพร่เกี่ยวกับกิจกรรม ขององค์ ก รในรอบปี ง บประมาณที่ ผ่ า นไปแก่ บุ ค คลทั่ ว ไป ใน รายงานประจาปีจะมีเรื่องเกี่ยวกับผลการดาเนินงานในรอบปีที่ ผ่านไปขององค์การ งบประมาณและการใช้จ่าย รายนามผู้บริหาร หรือบุคลากร อาจมีการเปรียบเทียบกับผลงานในปีก่อน ๆ และ การคาดคะเนผลงานในปีต่อๆ ไปด้วย

เป็นส่วนที่ช่วยยึดตัวเล่มหนังสือให้หยิบจับได้โดยสะดวก อาจมีลวดลายหรือไม่ก็ได้ รวมทั้งอาจมีชื่อหนังสือและชื่อผู้แต่ง อาจเป็นได้ทั้งปกแข็งและปกอ่อน

รำยงำนประจำปี

______________________________________________

Book fair

งำนแสดงหนังสือ, งำนนิทรรศกำรหนังสือ Book fair หมายถึ ง งานแสดงหนั ง สื อ หรื อ งาน นิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง หรือในสถานที่ที่ทีประชาชนสามารถไปร่ว มงานได้โดยสะดวก ความมุ่งหมายของงานนิทรรศการหนังสือเพื่อแสดงหนังสือใหม่ เพื่อเร้า ใจให้ผู้ ช มเกิด ความสนใจในหนังสือได้รู้จักหนัง สือใหม่ และอยากอ่านหนังสือต่างๆ มากยิ่งขึ้น อันจะเป็นการสร้างนิสัย รั ก การอ่ า นและการเรี ย นรู้ ต่ อ เนื่ อ งให้ เ กิ ด กั บ ผู้ ช มต่ อ ไป นอกจากนั้นในงานอาจมีการจาหน่ายหนังสือใหม่ และมีกิจกรรม อื่ น ๆ ประกอบ เช่ น การสนทนาฯลฯ นอกจากนั้ น ยั ง มี ง าน นิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปีโดยสานักพิมพ์ ผู้ผลิต หนังสือ และร้านหนังสือร่วมออกร้านเป็นจานวนมาก เช่น งาน สัปดาห์หนังสือแห่งชาติ งานนิทรรศการหนังสือแฟรงค์เฟิร์ต ที่ เป็นแหล่งตลาดสาคัญสาหรับส านักพิมพ์ที่ต้องการซื้อและขาย ลิขสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิในการแปลและเอกสิทธิ์อื่นๆ ให้กับต่างประเทศการอภิปราย การโต้วาที การสาธิต การแสดง ละคร การเล่าเรื่องหนัง สือ เกมและการแข่งขันต่างๆ การทาย ปัญหา

ปกหนังสือ

______________________________________________

Depository library ห้องสมุดรับฝาก

Depository library หมายถึ ง ห้ อ งสมุ ด รั บ ฝาก เป็ น ห้องสมุดประเภทหนึ่งในสหรัฐอเมริกาที่กฎหมายกาหนดไว้ว่าให้ ได้รับสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นของรัฐบาลที่จัดหาให้โดยสานักงานการพิมพ์ ของรั ฐ บาลสหรั ฐ อเมริ ก า (U.S. Government Printing Office) และหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐบาลกลาง โดยผ่าน Federal Depository Library Program (FDLP) และปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บของ รัฐบาลกลางเกี่ยวกับการบารุงรักษาและการเข้าถึงสิ่งพิมพ์ บาง ศู น ย์ รั บ ฝากของรั ฐ บาลกลางยั ง รวบรวมสิ่ ง พิ ม พ์ ที่ อ อกโดย หน่ ว ยงานของรั ฐ บาล ห้ อ งสมุ ด รั บ ฝากในส่ ว นภู มิ ภ าคได้ รั บ เอกสารทั้งหมดที่เผยแพร่ผ่าน FDLP และเก็บไว้อย่างถาวรอย่าง น้อ ยหนึ่ ง ฉบั บ แต่ ห้ อ งสมุ ด รั บ ฝากได้ รั บ เพี ย งร้ อ ยละ 1 ของ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ มี อ ยู่ แ ละต้ อ งการเก็ บ รั ก ษาไว้ อ ย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด 5 ปี ปัจจุบันห้องสมุดรับฝากนี้มีสิ่งพิมพ์ 2 ประเภท คือ 1) สิ่งพิมพ์ที่ พิมพ์โดยหน่วยงานต่าง ๆ ของสหรัฐอเมริกา 2) สิ่งพิมพ์ที่พิมพ์ โดยสานักงานการพิมพ์ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา

______________________________________________

Edition ครั้งที่พิมพ์

ครั้งที่พิมพ์ (edition) หนังสือที่มีจานวนครั้ง ที่พิมพ์มาก แสดงว่าเป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมอ่านมาก เช่น พิมพ์ครั้งแรก พิมพ์ครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 3 พิมพ์ครั้งที่ 4 พิมพ์ครั้งที่ 5

08


Forward คานา

ค านา คื อ หน้ า ที่ ผู้ เ ขีย นต้ องการชี้ แ จงผู้ อ่า นเบื้อ งต้ น เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ที่เขียนหนังสือ วิธีการใช้หนังสือ กลุ่มผู้อ่าน ขอบเขตเนื้อเรื่องโดยย่อ ข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่านเพื่อ ท าความเข้ า ใจ รวมถึ ง อาจเป็ น ค ากล่ า วขอบคุ ณ แก่ผู้ ที่ มี ส่ ว น ช่วยเหลือในการเขียนหรือจัดทาหนังสือความต่างระหว่าง Foreword และ Preface คือ โดยปกติ Foreword มักเขียนโดยบุคคล อื่นซึ่ง ไม่ใ ช้ ผู้ แต่ง หรือบรรณาธิการ ส่ว นใหญ่มักเป็นบุค คลที่มี ชื่ อเสีย ง หรือ ประสบความส าเร็ จ ในสาขาวิ ช าที่เกี่ ยวข้อ งกั บ หนังสือนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่หนังสือเอกสาร

______________________________________________

Gazetteer

อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ ให้ ค วามหมายว่ า หมายถึ ง หนั ง สื อ ที่ ร วบรวมรายชื่ อ ทาง ภูมิศาสตร์ในท้องถิ่นต่างๆ โดยเรียงลาดับตามตัวอักษร ทั้งนี้มี ลักษณะคล้ายพจนานุกรม แต่เป็นการรวบรวมชื่อและสถานที่ทาง ภูมิศาสตร์ต่างๆ เช่น ชื่อเมือง ชื่อภูเขา ชื่อแม่น้า ชื่อป่าไม้ หรือ ชื่ อ ส ถ า น ที่ ส า คั ญ ต ล อ ด จ น ข้ อ มู ล ทั้ ง ท า ง ก า ย ภ า พ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม การปกครอง และประวัติความ เป็นมา และความรู้อื่น ๆ ที่ เกี่ย วข้อง พร้อ มภาพแผนที่ และ ภาพประกอบอื่ น ๆ อั ก ขรานุ ก รมภู มิ ศ าสตร์ จั ด เป็ น หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง ทางภู มิ ศ าสตร์ (Geographical Sources) ประเภทหนึ่ ง นอกเหนือ จาก หนั ง สื อน าเที่ ยว (Guide Books) และ หนัง สื อ แผนที่ (Atlases)

______________________________________________

Handbook หนังสือคู่มือ

พจนานุก รม ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ นิยามความหมาย "คู่ มื อ" ว่ า หมายถึ ง สมุ ด หรือ หนัง สื อที่ใ ห้ ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตารา เพื่ออานวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใด เรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนาวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง คู่มือ จัดเป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ที่รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง เฉพาะเรื่อง เพื่อใช้เป็นคู่มือตอบคาถามในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ อย่างรวดเร็ว หรือเพื่อใช้เป็นคู่มือในการศึกษาและปฏิบัติง าน หนึ่งๆ ทั้งนี้คู่มือมักจะมีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบเพื่อ ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลแก่ผู้ใช้

______________________________________________

International Serial Data System ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ

ระบบข้อ มู ล วารสารระหว่ า งชาติ (ISDS) เป็ นระบบที่ ดาเนินการเก็บรวบรวมและสร้างแหล่งข้อมูลวารสารทั่วโลกด้วย คอมพิวเตอร์ ในการกาหนดเลขมาตรฐานสากลประจาวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) ศูนย์กลางอยู่ที่ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้าเป็น สมาชิก ISDS ได้ โดยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ระดับประเทศขึ้น ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงาน ที่รับผิ ดชอบเรื่องนี้ รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่า งชาติ แห่ง ภูมิภ าคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ประเทศสมาชิก คื อ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ISSN เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กาหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภท วารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สาหรับการค้นข้อมูล วารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสาร ได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว

______________________________________________

Manuscript ต้นฉบับตัวเขียน

Manuscript ห ม า ย ถึ ง ( 1 ) ต้ น ฉ บั บ ตั ว เ ขี ย น คื อ ทรั พ ยากรสารสนเทศที่ จั ด ท าขึ้ น โดยใช้ ล ายมื อ เขี ย น ได้ แ ก่ หนังสือที่จัดทาในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดินเหนียว แผ่นไม้ แผ่ น โลหะ แผ่ น หนั ง ใบลาน กระดาษ เป็ น ต้ น ตั ว อย่ า งของ ต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสาคัญในการใช้เป็นหลักฐาน ทางวิ ช าการและเป็ น แหล่ ง สารสนเทศทางประวั ติ ศ าสตร์ ใ น การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (2) ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ ก่อนที่จะนาไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่ ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือ เป็นต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้เอกสาร

______________________________________________

Online information service บริการสารสนเทศแบบออนไลน์

บริ ก ารสารสนเทศแบบออนไลน์ คื อ การให้ บ ริ ก าร สารสนเทศผ่านทางระบบออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ ผู้จัดการสารสนเทศสามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้ สามารถเข้ า ถึง ได้ตลอดเวลา สารสนเทศแบบออนไลน์ ได้แ ก่ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Books) วารสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (eJournals) รวมทั้งฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)

09


Pamphlet

Video cassette

จุลสาร คือ สิ่งพิมพ์ขนาดเล็ก ถูกจัดพิมพ์ขึ้นครั้งแรกใน ประเทศอังกฤษเพื่อเผยแพร่งานเขียนข้อโต้แย้งของกลุ่มผู้ปฏิรูป ในศตวรรษที่ 16 ส่วนใหญ่มีจานวนหน้าตั้งแต่ 5 หน้า แต่ไม่เกิน 48 หน้า และมีจานวนตัวอักษรโดยประมาณ 500-10,000 ค า ขนาด A5 นาเสนอเนื้อหาสาระเฉพาะด้า น จบสมบูร ณ์ ในเล่ม เย็บ เล่มไม่ท นทาน รูป เล่มไม่แ ข็ง แรง มักจัด ท าโดยหน่ว ยงาน เพื่อเผยแพร่เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของหน่วยงาน นั้นๆ หรือเป็นเรื่องที่มีความสาคัญหรือเป็นที่สนใจในระยะหนึ่งๆ เอกสาร

วี ดิ ทั ศ น์ จั ด เ ป็ น ท รั พ ย า ก ร ไ ม่ ตี พิ ม พ์ ป ร ะ เ ภ ท โสตทัศนวัสดุ คือ ทรัพยากรที่ผู้ใช้สามารถรับรู้ข้อมูล ความรู้ผ่าน การดูและฟัง ด้วยภาพและเสียง ทั้งนี้ต้องใช้อุปกรณ์พิเศษเพื่อ ช่วยในการอ่าน การบันทึกข้อมูลภาพและเสียงในวีดิทัศน์ มีการบันทึกลง บนสารสังเคราะห์ทเี่ คลือบด้วยแม่เหล็กในรูปแบบม้วน ตลับ หรือ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ด้ ว ยระบบอนาล็ อ ค (Analog) หรื อ ระบบ ดิจิทัล (Digital) โดยสามารถลบแล้วบันทึก หรือบันทึกซ้าได้

จุลสาร

______________________________________________

วีดิทัศน์

______________________________________________

Secondary source แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ

Secondary sources หมายถึง แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ เป็น แหล่ง ของข้ อมู ล ที่ ได้ จ ากรายงาน หรือ ถ่ า ยทอดมาจากข้อ มู ล ชั้นต้น หรือนาข้อมูลปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ด้วยเหตุนี้ข้อมูลหรือ หลักฐานนั้นจึงถูกรายงานโดยผู้ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมหรือเป็นพยาน ในเหตุการณ์นั้น ผู้เขียนจะรายงานหรือถ่ายทอดในสิ่งที่ผู้อยู่ใน เหตุการณ์พูด หรือเขียน หรือถ่ายทอดในลักษณะต่าง ๆ ไว้ หรือ อาจจะถ่ายทอดมาหลายทอดก็ได้ การนามาใช้ในการวิจัยจึงต้อง ระมัดระวังมากเป็นพิเศษ นอกจากนั้น ข้อมูลที่ได้อาจไม่ทันสมัย ดังนั้น ในการค้นหาข้อมูลทุติยภูมิจึงต้องเลือกค้นหาข้อมูลที่เป็น ปัจจุบันอยู่เสมอ ส่วนข้อดีของข้อมูลทุติยภูมิ คือ ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการค้นหาข้อมูล แหล่งของข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ หนัง สื อทั่ว ไป หนั ง สือต ารา หนัง สือคู่ มื อการท างาน รายงาน ความก้ า วหน้ า ทางวิ ท ยาการ บทคั ด ย่ อ งานวิ จั ย บทวิ จ ารณ์ หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น

______________________________________________

Table of content สารบัญ, สารบาญ

หน้าสารบัญ (table of contents) คือ การนาหัวข้อต่างๆ ในเนื้อเรื่อง มาจัดเรียงลาดับตั้งแต่หัวข้อแรก จนถึงหัวข้อสุดท้าย และกากับด้วยเลขหน้าที่หัวข้อนั้นๆ ปรากฏอยู่ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน สามารถค้ นหาเนื้อเรื่อง ที่ต้องการอ่า นในตัว เล่มได้ร วดเร็ว ขึ้น

______________________________________________

ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2552). คลังศัพท์ไทย ฐำนควำมรู้สำหรับสังคมเพื่อกำรเรียนรู้ . ค้นข้อมูล 17 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.thaiglossary.org/groups/ lib/browse/published/search/A/prefix

10


Happiness of life เรื่อง: ปฏิภำณ ผลมำตย์ ภำพ: กัญญำวีร์ ภำเตำะ

Happiness is here and now. HAPPINESS OF LIFE วันนีส ้ ำขำวิชำสำรสนเทศศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น ได้ให้ควำมสุขกับน้องใหม่แห่งบ้ำนไอเอสทุกๆคน

11


วันนี้ฉันมีความสุขที่เพื่อน

ในสาขารักกัน ทาให้เรียนสนุก ขึ้นมากครับ

เป้

คมกริช รุมดอน ปี 1

วันนี้ฉันมีความสุขที่ได้เจอ

เพื่อนๆ ได้มาทางานร่วมกัน ได้ร่วมกิจกรรมกับอาจารย์

ลูกน้ำ

ศศลักษณ์ บุญโรจน์ ปี 1

12


วันนี้ฉันมีความสุข ที่สาขานี้ให้

มากกว่ า ความรู้ คื อ ให้ ค วามรั ก ความสามัคคี ทั้งพี่ทั้งน้อง ดีใจมาก

ที่วันนั้นตัดสินใจเลือกเรียนที่นี่

นุ๊กเกอร์ พงศธร บุญเฮ้ำ ปี 1

วันนี้ฉันมีความสุขที่เกิด

จากความรั ก อั น เต็ ม เปี่ ย มไป ด้วยความศรัทธาจากเพื่อนพ้อง น้องพี่สาขาวิชาเดียวกัน

กุ้ง ชญำดำ รัตนพันธ์ ปี 1

” 13


วันนี้ฉันมีความสุขที่ได้พูดคุย

ส นุ ก เ ฮ ฮ า กั บ เ พื่ อ น ๆ แ ล ะ อาจารย์

สมำร์ท สุรวุฒิ สิมำรักษ์ ปี1

วันนี้ฉันมีความสุขที่ได้จาก

บรรยากาศในสาขาอบอุ่ น เหมื อ นครอบครั ว มี ปั ญ หาก็ ปรึกษากันได้

พริม

ณฐมนชญ อุบลสำร ปี 1

14


วันนี้ฉันมีความสุขที่ได้ก้าว

เข้ามาเป็นครอบครัว IS รู้สึกถึง ความอบอุ่น เมื่อมีปัญหา พี่ๆก็

สามารถทาให้น้องๆยิ้มได้

เมย์

เมธาพร ไตรกิจวัฒนกุล ปี 1

วันนี้ฉันมีความสุขที่ได้เรียน

อย่างสนุกกับเพื่อนๆ และได้ทา งานร่วมกันในสาขามีความสุข มากๆ

มำร์ท

ธนำคำร พระไตรยะ ปี1

15


Generalist to Specialist เรื่อง: ปฏิภำณ ผลมำตย์

INFORMATION PROFESSIONALS IN THE CREATIVE ECONOMY

นักสำรสนเทศ

กับเศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ “เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ” คื อ แนวคิ ด การขั บเคลื่ อ น

1. ความกระตือรือร้นในการค้นหาความท้าทายและโอกาส

เศรษฐกิจบนพื้ นฐานของการใช้องค์ ความรู้ การศึ กษาการ

ใหม่ๆ 2. ความสามารถในการมองเห็นภาพรวมในเรื่องต่างๆ

สร้างสรรค์งาน และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยง

ได้ อ ย่ า งชั ด เจน 3. ความสามารถในการสื่ อ สารอย่ า งมี

กับรากฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม และ

ประสิทธิภาพ 4. ความสามารถในการเสนอความคิ ด ได้

เทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่

ชัดเจนและมีการเจรจาอย่างมั่นใจ 5. ความสามารถในการ

“นั ก สา รสนเทศ ” คื อ ผู้ ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร

สร้ า งการมี ส่ว นร่ ว มและพั น ธมิ ต ร 6. ความสามารถสร้ า ง

สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสังคมองค์ความรู้และ

สภาพแวดล้อมของการเคารพซึ่งกันและกัน การสร้างความ

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จาเป็นต้องมีบทบาทสาคัญในการเติม

เชื่อมั่น และการเคารพคุณค่าที่แตกต่าง 7. ความสามารถใน

เต็มช่องว่างทางความรู้เพื่อลดการแบ่งแยกทางสังคม รวมถึง

สร้างทีมงานและการประสานความร่วมมือ

ลดความแตกต่างทางด้านคุณภาพและปริมาณในการเข้าถึง

ในส่วนขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (learning organization) นั ก สารสนเทศจ าเป็ น ต้ อ งมองทุ ก อย่ า งให้ เ ป็ น ระบบ มองการท างานให้ เ ป็ น ภาพรวม และมองให้ เ ห็ น ถึ ง ความ เชื่อมโยงกันของหน่วยงานต่างๆ ในองค์กร นอกจากนี้นัก สารสนเทศยังจาเป็นต้องเป็นผู้รู้ที่จริง หมายถึง ต้องพัฒนา ความเชี่ยวชาญ ความชานาญของตนเองในเรื่องที่ตนถนัด อย่ า งจริ ง จั ง จนเป็ น ผู้ เ ชี่ ย วชาญ และที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด นั ก สารสนเทศจ าเป็ น ต้ อ งเรี ย นรู้ สิ่ ง ต่ า งๆ รอบตั ว พร้ อ มจะ เรียนรู้จากคนอื่นและให้คนอื่นเรียนรู้จากตนเองไปพร้อมกัน และสุ ด ท้ า ยต้ อ งมี เ ป้ า หมายและวิ สั ย ทั ศ น์ ร่ ว มกั น ระหว่ า ง ตนเอง พนักงานในองค์กรและองค์กรเองด้วย ส่ ว นการเตรี ย มสารสนเทศเพื่ อ สนั บ สนุ น สั ง คม เศรษฐกิจสร้างสรรค์นั้น นักสารสนเทศจาเป็นต้องทาความ เข้ าใจถึง ค าว่ า เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ หรื อเศรษฐกิจ ความรู้ เสี ย ก่ อน ซึ่ งจากข้อมู ลที่ไ ด้ จ ากการสั ม มนาในครั้ ง นี้ ค าว่ า เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ สามารถสรุ ป ความได้ ว่ า เป็ น การใช้ ความรู้เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนในการพัฒนาสังคมในระยะยาว และอย่ า งยั่ ง ยื น และเป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ในการแข่ ง ขั น ทาง เศรษฐกิจของประเทศ เพราะเศรษฐกิจสร้างสรรค์นั้น เป็นการ สร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิดของมนุษย์ ไปสู่อุตสาหกรรม

องค์ ค วามรู้ ซึ่ ง การจะท าเช่ น นั้ น ได้ นั ก สารสนเทศต้ อ ง เตรี ย มความพร้ อ มของการจั ด การความรู้ แ ละการจั ด การ สารสนเทศโดยเน้นการรวบรวมข้อมูลในแต่ละเรื่อง และทา การจัดระบบ เพื่อการบริการที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการจัดระบบ ที่ ดี นั้ น ควรจะแยกข้ อ มู ล เป็ น เฉพาะด้ า น นอกจากนี้ นั ก สารสนเทศควรจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ ดังนี้ - ทักษะการจัดการองค์กรสารสนเทศ - ทักษะการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ - ทักษะการจัดการงานบริการสารสนเทศ - ทักษะการประยุกต์ใช้เครื่องมือสารสนเทศและเทคโนโลยี นอกเหนื อจากทั ก ษะดั งกล่ าวนี้ สิ่ ง ที่นั ก สารสนเทศ จาเป็นต้องให้ความสาคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ คุณลักษณะของ ตนเองในการปฏิบัติงานให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพร้อม สนับสนุนเป้าหมายขององค์กร ซึ่งคุณลักษณะนี้หมายความ รวมถึ ง ทั ศ นคติ และคุ ณ ค่ า ในตนเองด้ ว ย ซึ่ ง คุ ณ ลั ก ษณะ สาคัญๆ ที่นักสารสนเทศทุกคนควรจะต้องมีก็คือ 1. ความกระตื อ รื อ ร้ น ในการค้ น หาความท้ า ทาย

16


สร้างสรรค์ ซึ่งประเภทของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์อาจแบ่ง ออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ คือ 1. ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม 2. ประเภทศิลปะ 3. ประเภทสื่อ 4. ประเภทกลุ่มสินค้าและบริการที่ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกัน นอกจากนี้นักสารสนเทศยังสามารถจัดระบบความรู้ โดยแบ่งเป็น 9 กลุ่ม ตามกลุ่มของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ที่ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้กาหนดไว้ ซึ่งได้แก่ 1. งานฝีมือและหัตถกรรม (crafts) 2. งานออกแบบ (design) 3. แฟชั่น (fashion) 4. ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (film & video) 5. การกระจายเสียง (broadcasting) 6. ศิลปะการแสดง (performing arts) 7. ธุรกิจโฆษณา (advertising) 8. ธุรกิจการพิมพ์ (publishing) 9. สถาปัตยกรรม (architecture) ดัง นั้ น จึ งสามารถสรุ ปได้ ว่ า การที่ นั กสารสนเทศจะ สามารถมี ส่ว นช่ว ยในการสนั บสนุ น ทาให้ ประเทศไทยเป็ น สังคมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้นั้น นักสารสนเทศจาเป็นต้อง ตระหนัก เสมอว่า ตนเองมีบทบาทในการช่ วยส่ง เสริม และ พัฒนาระบบศึกษา วิธีการการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศ การ จัดการความรู้ และส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการเสริมสร้าง ความคิดสร้างสรรค์ได้ ทั้งนี้เพื่อทาให้เกิดความพร้อมในการ พัฒ นาองค์ ค วามรู้ และทาให้เ กิ ดศู น ย์ร วมความคิด ในการ สนับสนุนสังคมไทยให้พัฒนาได้อย่างยั่งยืนต่อไป

ปฐมสุดา สาเร็จ. (2553). จำกโต๊ะเสวนำ “บทบำทนักสำรสนเทศในวำระเศรษฐกิจ สร้ำงสรรค์” ค้นข้อมูล 11 กรกฎาคม 2555, จาก http://kmlite.wordpress. com/2010/06/18/v3i3-03/ พิมพ์ราไพ เปรมสมิทธ์. (2554). สมรรถนะของบรรณำรักษ์ในสังคมเศรษฐกิจสร้ำง สรรค์. ค้นข้อมูล 11 กรกฎาคม 2555, จาก http://liblog.dpu.ac.th/ download/06.pdf

17


Get Point เรื่อง: ปฏิภำณ ผลมำตย์ และ กัญญำวีร์ ภำเตำะ ภำพ: อ.ชมนำด บุญอำรีย์

อ.ชมนำด บุญอำรีย์ ผู้ เ ป ลี่ ย น ค ว ำ ม ก ด ดั น ให้ เ ป็ น แ ร ง บั น ด ำ ล ใ จ

ทำไมถึงเลือกเรียนบรรณำรักษศำสตร์

ที่ธรรมศาสตร์ในคณะศิลปศาสตร์ให้เลือกตอนปี 2 ที่ เลือกเพราะว่าชอบอ่านหนังสือค่ะ จริงๆ แล้วช่วงมัธยมต้น อยากเรียนมัณฑศิลป์ แต่ว่าต้องไปเรียนที่วิทยาลัยเพาะช่าง ตอน ม.ปลาย เพราะการสอบเข้ าใช้การสอบวาดเส้นอย่า ง เดียว แต่ครูไม่อยากไปกรุงเทพฯ ต่อมาช่วงสอบเอ็นทรานส์ อยากเรี ย นโบราณคดี แต่ ว่ า สอบปี แ รกตอน ม.5 ได้ อัก ษร ศิลปากร คะแนนต่ากว่าคณะโบราณคดี พอพอสอบปีที่ 2 ก็ สอบได้ศิลปศาสตร์ คะแนนสูงกว่าคณะโบราณคดี เป็นอันว่า ไม่ได้เรียนสิ่งที่ตั้งใจแต่แรก แต่ก็ได้ใช้ทาเป็นงานอดิเรก คือ จัดดอกไม้ค่ะ การได้เรียนบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ ศาสตร์นับว่าเป็นโชคดีเพราะช่วยให้ได้งานที่ดีมากตอนเรียน จบค่ะ จากการที่ไม่ใช่คนกรุงเทพฯ ทาให้เราปรับตัวยาก?

ครู เ ป็ น คนอุบล เข้ า ไปเรี ย นกรุง เทพฯ ก็ปรั บตั ว ยาก เหมือนกัน เพราะคณะที่เราเข้าไปเป็นผู้หญิงเกือบทั้งหมด มี เด็ ก กรุ ง เทพฯ ที่ โ ตเร็ ว กว่ า เราเยอะ ส่ ว นใหญ่ จ ะมาจาก โรงเรี ย นดั ง แต่ ง ตั ว ด้ ว ยเสื้ อ ผ้ า แบรนด์ เ นม แต่ เ รามาจาก ต่างจังหวัด เรื่องที่สนใจจึงต่างกัน ครูหาทางออกด้วยการไป เข้าห้องสมุด ไม่ค่อยเข้ากลุ่มที่รุ่นพี่ในคณะจัดให้ แล้วก็ไปเข้า ชมรมแทน ทางานชมรมโบราณคดีและไทยศึกษาเต็มที่ตอน ช่วงปี 3 ถึงปี 4 กรรมการชมรมจะสนิทกันมากเพราะเป็นเด็ก ต่างจังหวัดทุกคน มี อ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็นที่ปรึกษา ชมรม ท ากิ จ กรรมกั บชมรมสนุ ก มาก เช่ น จั ด แข่ ง ขั น Boat Rally ในแม่น้าเจ้าพระยา จัดเสวนาสองสถาบันร่วมกับชมรม โบราณฯ ของศิ ลปากร และจัด ค่า ยอนุ รักษ์ โบราณสถานใน จังหวัดต่างๆ ส่วนเรื่องเรียนต้องปรับตัวด้วยหรือเปล่า

เรื่องเรียนเทอมแรกซึ่งทุกวิชาเรียนรวมทุกคณะสาหรับ นักศึกษาปี 1 เกรอได้ไม่ถึง 3.00 นะคะ ตกใจมากเหมือนกัน แต่พอเข้าวิชาเอกปรับตัวได้ ก็ค่อยๆ ดีขึ้น เมื่อรู้วิธีเรียนเลย ปรับตัวได้ แล้วที่เอกมีคนเรียนไม่มากด้วยแค่ 10 คน มีอะไรก็ ถามอาจารย์ได้ อาจารย์ก็จะใกล้ชิดได้มากตอนเรียนวิชาที่ยาก เช่น วิชาทางเทคนิค

“ ”

การที่เพื่อนขยัน เราก็จะได้รบ ั อิทธิพลจากเขา คือ เขาส่งความกดดันในทางที่ดี มาให้เรา เขาขยันเราก็ต้องขยันตาม

18


วิธีเรียนหรือเทคนิคที่สำมำรถดึงเกรดให้ดีขึ้น?

ตอนปี 1 เราจะไม่ค่อยเข้าใจเวลาเขียนตอบสอบว่า เราต้องเขียนยังไง พอรู้หลักการก็เรียนดีขึ้น คือว่าเราต้องมี การวางแผนหรือโครงร่างของการเขียนก่อน เหมือนที่ครูเคย บอกกับนักศึกษาทุกๆ ห้องที่สอน ต้องวางแผนเขียนว่าจะ เขียนกี่ประเด็น จะได้เขียนให้ครบทุกประเด็น เพราะว่าเวลา อาจารย์ตรวจ อาจารย์จะไม่ได้ตรวจความยาวว่าใครเขียนได้ มาก แต่จะหา keywords หรือแนวคิดสาคัญในสิ่งที่เราเขียน สมมุติว่า เรื่องที่เราควรจะตอบมี 10 ประเด็น แต่เราจาได้แค่ 8 ประเด็น เราก็ต้องร่างออกมาก่อนว่า 8 ประเด็นนั้นมีอะไร เพื่อที่เราจะได้จัดสรรเวลาถูกและเขียนตอบให้มีความสมดุล กันครบทั้ง 8 ประเด็น ไม่ใช่ว่าเขียนได้ 5 เวลาก็หมดแล้ว แต่ ถ้าจะให้ดีกว่านั้นใน 8 ประเด็นนี้ มีประเด็นย่อยอะไรบ้าง เรา ต้องรวบรวมความคิดก่อนที่เราจะเขียนออกมา หลักอีกข้อคือ ถ้าไม่เข้าใจเรื่องอะไรก็พยายามอย่าเก็บไว้นาน คือในแต่ละ วันถ้ากลับมาที่ห้องทบทวนได้สักวิชาละ 5-10 นาทีก็ยังดี ถ้า เราทบทวนเร็ว ตั้งคาถามในสิ่งที่สงสัย แล้วแก้ความสงสัยได้ เข้ า ใจได้ เ ร็ ว สิ่ ง นั้ น จะอยู่ ใ นความทรงจ าได้ ง่ า ย เวลาอ่ า น หนั ง สื อทบทวนเราจะไม่ ต้ องอ่ า นมาก ครู ต้ องใช้ เ ทคนิ ค นี้

[

อย่างมากว่าฉันจะเป็นเหมือนเขาดีมั้ย หรือฉันจะยืนหยัดใน ความเป็ น ฉั น ฉั น มี จุ ด เด่ น อะไรที่ ท าให้ ยื น หยั ด เป็ น ตั ว เอง หรือทวนกระแสหลักให้ได้ ครูคิดว่า ถ้าเราไม่มีทางที่จะเหมือนเขาได้เราควรหา จุดเด่นให้ตัวเอง ซึ่งบางคนก็ออกในเรื่องของการทากิจกรรม การเรียน เออ...ถ้าเราไม่สวย ไม่รวยเท่าเขา เราจะเรียนเก่ง กว่าเขาได้มั้ย คือทางออกก็ควรจะเป็นทางออกที่สร้างสรรค์ ถ้าเหงาก็ไปที่ห้องสมุด หรือคบเพื่อนที่เราคบได้ ก่อนจบครูมี เพื่อนสนิทที่เป็นเด็กกรุงเทพฯ โดยที่เราไม่ต้องใช้ของเหมือน เขา แต่เขาคบเราได้ การปรับตัวจากเด็กบ้านๆ อยู่อุบลตลอด ชีวิต มาอยู่กรุงเทพฯ 11 ปี เป็นเรื่องดี ทาให้ชีวิตเราเปลี่ยน ทาให้เราได้ปรับตัว ทาให้เราเป็นผู้ใหญ่ขึ้น ได้ช่วยเหลือตัวเอง หลังจำกที่เรียนจบแล้ว เริ่มทำงำนเลยหรือเปล่ำ

เรียนจบแล้วครูก็อยากหางานทาที่บ้านนะ ก็คือไม่ได้ รังเกียจกรุงเทพฯอะไร เพียงแต่ว่าการที่เป็นลูกผู้หญิงคนเดียว ก็คิดว่าอยากอยู่กับพ่อแม่ ชอบชีวิตที่สงบในต่างจังหวัด เลย กลับมาหางานที่อุบลแต่ว่าช่วงปี 2540 เศรษฐกิจกาลังตก ไม่

สิ่งที่ต้องพยายามทา คือ ไม่ต้องทาให้นักศึกษารักมาก แต่ต้องทาให้นักศึกษาไม่เกลียดเรา

เพราะไม่ใช่คนขยัน แต่บังเอิญโชคดีว่าอยู่กับเพื่อนที่ขยันมาก รูมเมทที่อยู่ด้วยกันตอนปี 2 ถึงปี 4 เขาอ่านหนังสือครั้งละ 4 รอบ ครูอ่านได้แค่ 2 รอบครึ่งก็นับว่าพยายามมากแล้ว คิดว่า ตัวเองโชคดีมากที่ได้อยู่กับเพื่อนดี การที่เพื่อนขยันเราก็จะ ได้รับอิทธิพลจากเขา คือ เขาส่งความกดดันในทางที่ดีมาให้ เรา เขาขยันเราก็ต้องขยันตาม “เพื่อน” มีควำมสำคัญกับกำรปรับตัว?

ใช่ค่ะ แล้วแต่กลุ่มเพื่อนที่เราคบ เด็กต่างจังหวัดบาง คนที่ มี วิ ธี ป รั บ ตั ว ที่ ไ ม่ ใ ช่ แ นวท ากิ จ กรรม แต่ เ ป็ น ปรั บ บุค ลิ ก ภาพภายนอก คื อ ใช้ ก ระเป๋ า แบรนด์ เ นมให้ เ หมื อน เพื่อนเด็กกรุงเทพฯ ซึ่งครูคิดว่าทายังไงเราก็ไม่เหมือนนะ ถ้า เราหาความเป็นตัวของตัวเองไม่เจอ การใช้ชีวิตในสังคมที่ต่าง จากสั ง คมที่ เ ราเคยอยู่ จ ะเป็ นเรื่ องยากอยู่ บ้า ง ไม่ ว่ า จะใน จังหวัดที่แตกต่างไป ในที่ทางาน หรือว่าในต่างประเทศ แต่ เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ คนเราต้องเปลี่ยนสังคมอยู่เสมอ เราต้องมี จุดยืนของตัวเอง ว่าถ้าเขามีมือถือรุ่นนั้นรุ่นนี้ เราจะมีเหมือน เขามั้ย เขาใช้กระเป๋าหลุยส์ วิตตอง เราจะใช้กับเขามั้ย ถ้าเขา ใส่ เสื้ อยื ด ตัว ละพัน นึ งเราจะซื้ อเหมื อนเขามั้ย จุ ด ยืน ตรงนี้ แหละที่ภาพหรือ image ในช่วงวัยรุ่นของหลายคนก็จะสับสน

]

มี ง านในอุ บลฯ เพื่ อ นสนิ ท ก็ แ นะให้ ส มั ค รงานที่ ก รุ ง เทพฯ สมัค รแห่งเดีย ว ก็ ได้ ทางานที่บริษัท ที่ปรึกษากฎหมายของ ประเทศอังกฤษ เขาเพิ่งมาเริ่มตั้งบริษัท ก็สนุกสนานดีเป็นรุ่น ที่เรียกได้ว่าเป็น Pioneer คือเริ่มตั้งแต่ซื้อตู้หนังสือตัวแรก ซื้อ หนังสือเล่มแรก ตอนแรกที่เขาบอก ก็ค่อนข้างอึ้ง เพราะว่า รู้สึกว่าเรายังไม่ พร้อมถึง เราจะจบปี 4 มาแล้ว แต่ให้มาตั้ ง ห้ อ งสมุ ด เลยนะ ต้ อ งไปศึ ก ษาห้ อ งสมุ ด กฎหมาย ไปขอดู ห้องสมุดกฎหมายต่างๆ ทั้งที่เป็นของรัฐและเอกชน ว่าเขา จัดการกันยังไงเพราะว่าเขาจะมีเอกสารแปลกๆ ไม่เหมือนที่ เราเรียนพื้นฐานในการจัดการห้องสมุดทั่วไป ทำไมถึงเปลี่ยนจำกบรรณำรักษ์มำเป็นอำจำรย์ อิ่มตัวกับการทางานบรรณารักษ์และยังอยากใช้ชีวิต ในต่างจังหวัด ประกอบกับคุณพ่อคุณแม่เป็นอาจารย์ค่ะ การ มาอยู่ต่างจังหวัดต้องทาใจว่าจะมีงานให้เลือกไม่เยอะ อย่าง หนึ่งที่เลือกมาเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย ข้อดีก็คือเป็นงานที่ เป็นกุศล แม้ว่าเงินเดือนจะน้อยและงานค่อนข้างหนัก

19


“กำรสอนให้เข้ำใจ” สำหรับอำจำรย์คืออะไร

สอนให้เข้าใจ คือตัวคนสอนต้องเข้าใจก่อน ประเด็น แรกเราจะต้องชัดเจนในสิ่ งที่เราสอน ต้องศึ กษาหาความรู้ การสอนคือการทาเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย ถึงเนื้อหาจะยาก เราก็ต้องพยายามที่จะคิดถึงผู้ที่รับสารจากเรา คือนักศึกษา ว่าระดับความรู้มีแค่ไหน ถ้าเราพูดศัพท์วิชาการมากหรือถ้าไม่ พยายามอธิบายขยายความ นักศึกษาก็อาจจะหลงทาง ถ้า เด็กหลงทางไป หรือเสียสมาธิ ก็ต้องมีเทคนิคที่จะควบคุมชั้น เรียนให้กลับคืนมาด้วย อาจจะต้องมีมุข มีเวลาพักเบรกให้ สมองไม่ล้าจนเกินไป จำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องดูจำกตัวนักศึกษำ?

ใช่ แ ล้ ว ค่ ะ นั ก ศึ ก ษาส าคั ญ ที่ สุ ด ต้ อ งดู ค วามสนใจ เรื่องที่จะนามายกตัวอย่างต้องเป็นเรื่องที่ใกล้เคียงความสนใจ ของเขา แล้วก็ใช้ภาษาที่ง่าย การสอนเป็นปฏิกิริยา 2 ทาง นักศึกษาไม่ใช่แครอท ครูก็ไม่ใช่เครื่องขยายเสียง ดังนั้นต้อง มองตา ว่าเข้าใจไหม เขาหลับหรือยัง ถ้าเขาทาหน้าไม่เข้าใจ เราอาจจะต้องพูดซ้าหรือเปล่า ก็เพื่อว่าเราจะได้ส่งสารที่เรา

ควำมใหม่ ข องหลั ก สู ต รสำขำวิ ช ำสำรสนเทศศำสตร์ ใ น ปัจจุบัน (2555) คืออะไร

เรามีการบูรณาการศาสตร์ที่เราเป็น IM (Information Management) โดยเพิ่ม IT (Information Technology) กับ IC (Information Communication) เข้ามามากขึ้น เพื่อสร้างจุดที่ เป็นอัตลักษณ์เป็นความแตกต่าง คือ หลักสูตรเราค่อนข้างจะ ก้าวหน้าเมื่อเทียบกับอื่นๆ ในประเทศไทย การบูรณาการนี้ จะช่วยให้เด็กเราโดดเด่นในตลาดงาน ซึ่งเราจะต้องสร้างใน รายวิชาต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกัน อาจารย์ทุกคนเข้าใจ ว่าเรามีจุดร่วมที่จะเดินไปในทางเดียวกัน เพื่อเราจะปั้นเด็ก เราให้เป็นรูปทรงที่เราต้องการ เช่น สุดท้ายปี 4 ต้องเป็นรูป สามเหลี่ยมนะ จะเป็นสามเหลี่ยมเตี้ยหรือสูง เล็กหรือใหญ่ แต่ก็ต้องเป็นรูปสามเหลี่ยม ถ้าเรามีอัตลักษณ์มันจะค่อยข้าง ชัดเจนในสิ่งที่จะเดินไป จริงหรือไม่ที่จบสำรสนเทศ ต้องเป็นบรรณำรักษ์อย่ำงเดียว

ไม่จาเป็นค่ะ อย่างเพื่อนครูจบมาก็เป็นบรรณารักษ์แค่ครึ่ ง เดียวนะ อีกครึ่งไปเป็นนักข่าว สจวร์ตการบินไทย ทาบริษัท

[ เราอยากเรียนดี อยากเป็นคนดีเพราะอยากให้พ่อแม่ภูมิใจ นี่เป็นตัวอย่างของแรงบันดาลใจ ] ตั้งใจไปให้ได้ แล้วก็ Power Point ของครูจะมีเนื้อหาไม่เยอะ เพราะจริ งๆ ความจาของเรา มั นไม่ ใ ช่ว่ า ได้ เ ยอะจากการ เลคเชอร์หรอก แต่ถ้าเราเข้าใจ หรือว่าเราประทับอะไร อัน นั้นแหละจะจาได้มากกว่า อย่างหนึ่งที่สาคัญคือ มีงานวิจัย ทางสมองออกมาว่า เราจะเรียนรู้ได้ดี ไม่ดี ขึ้นอยู่กับเราชอบ วิชานั้น หรือชอบตัวผู้สอนหรือเปล่า สิ่งที่ต้องพยายามทาคือ ทาให้นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อผู้สอน ไม่ต้องทาให้นักศึกษา รักมาก แต่ต้องทาให้นักศึกษาไม่เกลียดเรา

ส่งออกสินค้า และทางานให้บริษัทโพลีพลัส เป็นคนหาข้อมูล ให้รายการสารคดีรายการต่างๆ ทักษะการสืบค้นข้อมูล การ จัด ระเบี ย บ การเรี ย บเรี ย งสารสนเทศ สามารถช่ ว ยให้ เ รา ทางานได้ในหลายสายงาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถพิเศษ ของคุณว่าคุณสนใจอะไร ทาอะไรได้โดดเด่นกว่าคนอื่น ถ้า ภาษาอั ง กฤษ ภาษาจี น ดี ก็ อาจท างานในบริ ษัท เอกชนได้ หลายลักษณะค่ะ

ถ้ำให้เปรียบระหว่ำงครั้งแรกที่มำสอนกับปัจจุบัน นักศึกษำ แตกต่ำงกันหรือเปล่ำ

จริงๆ แล้วจนจบปี 4 เราไม่รู้หรอกว่าตัวเองจะเป็น อะไร มันขึ้นอยู่กับโชคชะตาด้วย ไม่มีใครบอกได้ว่างโอกาส งานในช่วงนั้นจะเป็นอย่างไร แต่ความรู้พื้นฐานทางสารสน สนเทศศาสตร์ที่เราให้คุณ จาช่วยให้คุณทางานได้หลากหลาย อย่ า งแน่ น อน ถ้ า เป็ น งานราชการ ต าแหน่ ง เจ้ า หน้ า ที่ บริหารงานทั่วไป การที่เรามีวิชาเกี่ยวกับการจัดการสานักงาน และการจัดการสารสนเทศ ทาให้เราได้เปรียบผู้ที่เรียนภาษา มาอย่างเดียว วิชาเกี่ยวกับการจัดหาทรัพยากร ที่มีเกณฑ์ที่ จะตัดสินถึงคุณค่าสิ่งต่างๆ ขั้นตอนการจัดหา เราก็สามารถ เอาไปประยุกต์ใช้กับอย่างอื่นได้ ไม่ต้องพูดถึง Cataloging ซึ่ง

นักศึกษาแต่ละรุ่นก็มีบุคลิกที่แตกต่างกันอยู่แล้ว แล้วก็ นักศึกษาแต่ละชั้นปีก็แตกต่างกัน มันเป็นความสนุกของการ เป็นครูนะ เพราะว่าเขาบอกเหมือนเรือจ้าง บางคนบอกว่า เป็นเรื่องน่าเบื่อที่สอนเหมือนกันตลอดเลย แต่เขาลืมไปว่า ว่าสิ่งที่เปลี่ยนตลอด คือนักศึกษา บางคนเปรียบว่า อุ๊ย! เด็ก แต่ก่อนทาไมว่านอนสอนง่าย แต่เด็กเดี๋ยวนี้ไม่ใช่ มันก็ไม่ใช่ ทั้ง หมดเราไม่ สามารถเหมาว่ า เด็ ก 50 คนเหมื อนกั น หมด ดังนั้นเด็กแต่ละรุ่นก็แตกต่างกัน เด็กทุกชั้นปีที่เข้ามาก็เป็น ความท้าทายของครูนะคะ ว่าห้องนี้จะเป็นยังไงนะ

เมื่ อ เข้ ำ มำเรีย นในสำขำวิ ช ำนี้ แ ล้ ว ช่ ว งไหนที่ เ รำจะค้ น พบ อำชีพของตัวเอง

20


สอนให้ เราคิดเป็ นระบบ และถ้ าเราสมัครงานบรรณารักษ์ นัก สารสนเทศ สาขาอื่นมาแข่งกับเราไม่ได้ แน่นอน เพราะเขาจะ ถามว่า Catalog หนังสือเป็ นมัย้ ในการประกอบอาชี พ ถ้ าเรามี จุด เด่น มากๆ อาชี พ เราก็ จ ะ หลากหลายมากขึ ้น เราต้ องหาจุดเด่นตัวเองให้ เจอ ถ้ าเราเก่ง ภาษาอังกฤษต้ องคิด ว่าต้ อ งทุ่มเทกับมัน ต้ องให้ เวลากับมัน กว่าจะจบเราก็มีเวลาว่างเยอะเหมือนกัน แต่ว่าเราจะใช้ เวลา ว่างในทางสร้ างสรรค์หรื อเปล่า กำรค้นพบตัวเองต้องทำอย่ำงไร

การค้นพบตัวเองเป็นเรื่องยากมาก บางคนหาทั้งชีวิต ไม่พบ เท่าทีเราทาได้คือ ระหว่างที่เราเรียนอยู่ อ่านเว็บ อ่าน หนั งสื อที่ มีสาระ สนทนากั บเพื่อนดี และผู้ รู้ใ นสาขาต่า งๆ เพื่อขยายโลกทัศน์ให้กว้างขวาง จะได้มีทางเลือกมากและรู้ได้ เร็วว่าตัวเองชอบอะไร ระว่างเรียนสมมุติคุณคิดว่าคุณชอบ คอมพิ ว เตอร์ คุ ณ ต้ อ งตั้ ง ใจในวิ ช านั้ น มากๆ คุ ณ ต้ อ งหา ความชอบให้เจอสักอย่าง ไม่ใช่ไม่ชอบทุกอย่าง สมมติเรามี ข้อจากัดว่าวิชาที่เราเรียนคือ 30 วิชาเหล่านี้ ต้องหาวิชาที่เรา ชอบให้เจอ แล้วก็สร้างจุดเด่นทางวิชาการให้ตัวเองให้ได้ หา ในวิชาเอกไม่เจอก็ไปหาในวิชาโท หรืออะไรที่เราไม่ชอบแต่ เราท าได้ดี เราก็ ต้องจดจ่อกับมัน และเสริ มสร้ างจุด นั้น ให้ เข้มแข็งขึ้น ในโลกนี้ไม่มีใครได้อะไรมาโดยไม่ลงทุน สาหรับ การเป็ น นั ก ศึ ก ษา คุ ณ ลงต้ องลงทุ น เวลา เพื่ อ แสวงหาค่ ะ เหมือนที่มีคาถามของ อ.วิทยากร เชียงกูล เคยเปรยว่า “ฉัน เยาว์ ฉันเหงา ฉันทึ่ง......” ถ้าคุณไม่ทึ่ง ไม่แสวงหาสิ่งใดเลย ตลอดเวลาที่อยู่ในมหาวิทยาลัย สุดท้ายการเรียน 4 ปีก็ไม่มี ความหมายค่ะ จำเป็นหรือไม่ที่ต้องมีแรงบันดำลใจ

จาเป็นมากค่ะ เราอยากเรียนดี อยากเป็นคนดีเพราะ อยากให้พ่อแม่ภูมิใจ นี่เป็นตัวอย่างของแรงบันดาลใจ บางที ความกดดั น ก็ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจ แรงบั น ดาลใจเป็ น ได้ ทั้ ง ตัวอย่างที่ดี อย่างที่เรามี Idol อยากจะเป็นอย่างนั้นอยากจะ ไปให้ถึง สาหรับครูนะก็พูดได้ว่าข้อด้อยกลายเป็นแรงบันดาล

ดีกว่า จะแรงผลักดันมากกว่า อันนี้ครูเห็นตัวอย่างจากคุณ พ่อคุณแม่ครูเอง ท่านมามาจากครอบครัวชาวนาที่ยากจนจึง ขยันอดทนมาก แต่งงานกันไม่มีเงิ นเลย ตอนครูเป็ นเด็ก ที่ บ้ า นไม่ มี โ ทรทั ศ น์ น ะคะ ต้ อ งไปดู กั บ ข้ า งบ้ า น และครู อ ยู่ บ้านพักอาจารย์วิท ยาลัยครูที่มีห้องนอน 2 ห้อง มีห้องน้ า ห้องเดียว แต่มีคนอยู่ 10 คนจนถึงอายุ 15 ปี ฉะนั้นครูห่วง คนที่มาจากครอบครัวที่สบาย มีฐานะแล้ว อาจจะไม่มีแรงขับ ที่มากพอ ไม่มีแรงบันดาลใจ จึงอาจจะต้องหาแรงบันดาลใจ จากบุคคลต้นแบบให้พบ ควรอ่านประวัติบุคคลให้มากๆ ค่ะ จะได้แรงบันดาลใจอย่างคาดไม่ถึง

อ.ชมนำด บุญอำรีย์

ใจ ตอนที่ไปเรียนธรรมศาสตร์รู้สึกว่าเราด้อยกว่าคนอื่น มัน ส่งให้เรามีความมานะพยายาม ที่ครูเคยถามว่าใครกู้ยืมเงิน กยศ. หรือที่บ้านทานาเพื่อส่งเราเรียน เพราะว่าคนเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะตั้งใจเรียน คนที่รู้สึกว่าตัวเองต้องการไปสู่สิ่งที่ ชมนำด บุญอำรีย์. 13 กรกฎาคม 2555. สัมภาษณ์. อาจารย์ ประจากลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

21


Where is Thailand? เรื่อง: ปฏิภำณ ผลมำตย์

เด็กไทยเรียนหนักแค่ไหน?

เด็กไทยเรียนหนักแค่ไหน? (ตอบ: หนักที่สุดในโลก*) หากพิจารณาข้อมูลของ UNESCO แสดงจานวนชั่ วโมงเรียน ต่อปีของนักเรียนในระดับอายุ 9 – 13 ปีในแต่ละประเทศ จะพบว่า เด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 2 ในระดับอายุ 9 ปี 1,080 ชั่วโมงต่อปี เด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 1 ในระดับอายุ 10 ปี 1,200 ชั่วโมงต่อปี เด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 1 ในระดับอายุ 11 ปี 1,200 ชั่วโมงต่อปี เด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 5 ในระดับอายุ 12 ปี 1,167 ชั่วโมงต่อปี เด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 8 ในระดับอายุ 13 ปี 1,167 ชั่วโมงต่อปี ตัวเลขของประเทศอื่นๆ ที่น่าสนใจมีดังนี้ (เด็กอายุ 11 ปี) อันดับ 2 อินโดนีเซีย

1,176 ชั่วโมงต่อปี

อันดับ 3 ฟิลิปปินส์

1,067 ชั่วโมงต่อปี

อันดับ 4 อินเดีย

1,051 ชั่วโมงต่อปี

อันดับ 11 มาเลเซีย

964 ชั่วโมงต่อปี

อันดับ 19 เยอรมนี

862 ชั่วโมงต่อปี

อันดับ 28 จีน

771 ชั่วโมงต่อปี

อันดับ 30 ญี่ปุ่น

761 ชั่วโมงต่อปี

เป็นที่น่าสังเกตว่าเวลาที่ใช้ในการศึกษาภาคบังคับของเด็กไทย ไม่ได้เปลี่ยนไปมากจากชั้นประถมไปสู่มัธยม ในขณะที่บางประเทศให้ เวลากับชั้นมัธยมมากยิ่งขึ้น (ดังจะเห็นได้จากอันดับของไทยที่ลดลง) และยังน่าสังเกตด้วยว่าเยาวชนในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วล้วนมีชั่วโมง เรียนที่น้อยกว่าเยาวชนไทย หรือแม้กระทั่งเยาวชนในกลุ่มประเทศที่ “เชื่อกันว่า” เรียนหนักกว่าเราเช่น จีน หรือ ญี่ปุ่น ก็ล้วนมีชั่วโมงเรียน น้อยกว่าเราเช่นกัน “ผู้ใ หญ่ ” ในวั นนี้ซึ่ง ล้ว นเคยเป็นเด็กนักเรียนมาก่อน น่า จะ ทราบดีว่าคุณภาพของการศึกษาไม่ได้ขึ้นกับจานวนชั่วโมงเรียนเพียง อย่างเดียว คาถามก็คือเวลาเราพูดเรื่องการจัดการศึกษา หรือคุณภาพ การศึกษาของเด็กไทยนั้น เราได้ดูหรือไม่ว่าเด็กไทยเรียนมากหรือน้อย เพียงใด และแค่ไหนถึงควรจะเป็นปริมาณที่เหมาะสม?

ตัวเลขเหล่านี้นับเฉพาะ “เวลาเรียนในโรงเรียน” เท่านั้น ยังไม่ รวมเวลาเรียนพิเศษนอกเวลา

22


เรียนสูงๆ แล้วได้เป็นเจ้ำคนนำยคนจริงหรือ? 9. อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้ บริการ 10. อาชีพซึ่งมิได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น กลุ่มอาชีพข้างต้นอาจกล่าวได้อย่า งคร่าวๆว่ า ก ลุ่ ม วิ ช า ชี พ 1 -3 คื อ ก ลุ่ ม วิ ช า ชี พ ที่ “ใ ช้ ทั ก ษ ะ สูง” (ตัวอย่างเช่น ผู้บริหาร แพทย์ พยาบาล วิศวกร โฟร์ แมน ผู้ ช่ ว ยทั นตแพทย์ ทนายความ ช่ า งยนต์ ศิ ล ปิ น นักเขียน เจ้าของธุรกิจ นักดนตรี ครู) ขณะที่กลุ่มวิชาชีพ 4-6 เป็นกลุ่มวิชาชีพที่ใช้ทักษะต่า ส่วนรายได้กลุ่มไหน จะมากหรื อ น้ อ ยกว่ า กั น นั้ น เป็ น เงื่ อ นไขเฉพาะใน รายละเอียดของแต่ละตลาดแรงงานซึ่งมีปัจจัยเกี่ยวข้อง แตกต่างกันไป จะไม่กล่าวถึงในที่นี้ ส่วนประเทศอื่นๆมีสัดส่วนแรงงานทักษะสูง (ปี 2550) ดังนี้ มาเลเซีย 26.26%

ญี่ปุ่น 37.0%

ออสเตรเลีย 42.87%

นอร์เวย์ 42.3%

ฝรั่งเศส 39.8%

สิงคโปร์ 48.6%

เยอรมนี 41.5%

ตุรกี 22.0%

ฮ่องกง 36.3%

สหราชอาณาจักร 41.9%

เป็ น ที่ น่ า สั ง เกตว่ า ประเทศที่ “เจริ ญ ” จะมี จากข้ อ มู ล ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ปั จ จุ บั น แรงงานไทย 30.9% จบการศึ ก ษา “สู ง กว่ า ” ระดั บ มั ธ ยมต้ น (มั ธ ยมปลาย, อาชีวะ,อุดมศึกษา) และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดสิบปีที่ ผ่ า นมา ดู เ ผิ น ๆเหมื อ นการจั ด การศึ ก ษาของเราอยู่ ใ นเกณฑ์ ดี มี พัฒนาการอย่างต่อเนื่อง แต่ สิ่ง ที่น่ า สนใจคื อเมื่อ มีก ารศึ ก ษามากขึ้ น แล้ว แรงงานไทยมีทางเลือกในการทางานที่ดีขึ้นหรือไม่? เรามี “เจ้าคน นายคน” เยอะขึ้นตามไปด้วยหรือเปล่า? องค์ ก ารแรงงานระหว่ า งประเทศ (International Labour Organization : ILO) ได้ แ บ่ ง กลุ่ ม “อาชี พ ” (Occupation) ของแรงงาน ออกเป็น 10 กลุ่มหลักดังนี้ 1. ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ 2. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 3. ผู้ประกอบวิชาชีพช่างเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง 4. เสมียน 5. พนักงานบริการ และพนักงานในร้านค้า และตลาด 6. ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือทางด้านการเกษตร และการประมง 7. ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 8. ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการ ประกอบ

สัดส่วนแรงงานทักษะสูงที่มากกว่าประเทศไทย เพราะงานที่ทักษะ สู ง ขึ้ น มั ก หมายถึ ง มู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จ ที่ ม ากกว่ า และการ เพิ่ ม ขึ้ น ของสั ด ส่ ว นอาชี พ นี้ ยั ง หมายถึ ง ทางเลื อ กใน “งานที่ ดี กว่าเดิม” สาหรับคนรุ่นใหม่ที่มากกว่าคนรุ่นพ่อแม่อีกด้วย (คาว่าดี ในที่นี้อาจหมายถึงรายได้ คุณภาพชีวิต ความมั่นคง ความเสี่ยงต่า ฯลฯ ซึ่งขึ้นกับแต่ละบุคคล แต่โดยรวมแล้วหมายถึงงานที่ต้องการ “ทักษะที่สูงขึ้น” กว่าเก่า) จากข้ อ มู ล ทั้ ง หมดจะเห็ น ว่ า แม้ แ นวโน้ ม “ปริ ม าณ” การศึกษาของแรงงานไทยจะเพิ่มสูงขึ้น แต่ปริมาณแรงงานทักษะ สูงในระบบไม่ได้เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งด้วยทิศ ทางที่สวนทางกัน เช่ น นี้ เราอาจต้ อ งตั้ง ค าถามอย่ า งจริ ง จัง ต่ อ “คุ ณ ภาพ” ระบบ การศึกษาไทยแล้วหรือไม่ว่าการจัดการศึกษานั้น “สร้างทักษะ”ชนิด ใดให้แก่ประชากรประเทศ เพราะเห็นได้ชัดว่าการมีวุฒิการศึกษาที่ สูงขึ้น ไม่ได้ช่วยทาให้ประชากรไทยสามารถทางานที่ใช้ทักษะสูงขึ้น ได้เลยตลอด 10 ปีที่ผ่านมา

23


คนไทยกับกำรอ่ำน

ผู้อ่านหลายๆท่านอาจทราบมาบ้างว่าคนไทยมีนิสัย อ่ า นหนั ง สื อ กั น น้ อ ย การศึ ก ษาพบว่ า คนไทยมี ก ารอ่ า น หนังสือเฉลี่ย 1.568 ชั่วโมงต่อวัน หรือ 94 นาทีต่อวัน ผู้ที่ อายุน้อยกว่า 20 ปี มีเวลาอ่านเฉลี่ยต่อวันมากที่สุด เฉลี่ย 115 นาทีต่อวัน ส่วนอายุมากกว่า 49 ปีขึ้นไป อ่านน้อยที่สุด เฉลี่ย 75 นาทีต่อวัน สาหรับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มี เวลาอ่านเฉลี่ยต่อวันมากที่สุด เฉลี่ย 116 นาทีต่อวัน ส่วน ระดับประถมน้อยที่สุด เฉลี่ย 76 นาทีต่อวัน อาชีพนักเรียน นิสิต นักศึกษา และผู้ว่างงาน มีเวลาในการอ่านเฉลี่ยต่อวัน มากที่ สุด เฉลี่ ย 113 นาที ต่ อวั น ส่ ว นอาชี พ รั บจ้ า ง และ เกษตรกร อ่านน้อยที่สุด เฉลี่ย 66 นาทีต่อวัน ทั้งที่จริงแล้ว การอ่ า นหนั ง สื อ มี ป ระโยชน์ ห ลายประการ เช่ น เพื่ อ การ เรี ย นรู้ ด้ ว ยศึ ก ษาด้ ว ยตั ว เอง เพื่ อช่ ว ยการเพิ่ ม พู น ความรู้ ตัวอย่างเช่น สาหรับผู้ที่มาทางานไม่ตรงกับสายอาชีพที่ตน เรียนจบมาก็จะต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเอง และถึงแม้ว่าตรง ก็ยังต้องอัพเดทตัวเองให้ทันสมัย หากไม่เป็นเพิ่มพูนความรู้ โดยตรงก็เพิ่มพูนมุมมอง เห็นวิธีการใหม่ๆ จากการบูรณากา รสหวิทยาต่างๆ เข้าด้วยกัน การอ่านยังช่วยให้เราเปลี่ย น ทัศนคติและมุมมอง ดังที่มีภาษิตต่างชาติว่า “You are what you read” นอกจากการอ่านเพื่อเพิ่มพูนความรู้ การอ่านยัง ช่วยให้เกิดความบันเทิงและหนีไปจากโลกปัจจุบัน เช่น อ่าน นิยายจีนกาลังภายใน นิยายแปล การ์ตูน ซึ่งแม้จะเป็นนิยาย บันเทิงบางครั้งก็มีสาระสอนใจหรือความรู้ซ่อนอยู่

จากการสัง เกตพบว่ าผู้ อ่านส่วนมากมัก จะไม่ไ ด้ อ่านเนื้อหาจริงๆ ผู้ที่กด “Like” บทความส่วนมากมักจะ ไม่ได้เข้ามาอ่านตัวบทความ เน้นการดูเนื้อหาจากภาพ Info graphic เสี ย มากกว่ า และโดยสถิ ติ แ ล้ ว ผู้ อ่า นกว่ า 80% จะอ่านมาไม่ถึงบรรทัดนี้เสียด้วยซ้า ดังที่เห็นได้จาก การศึกษาขององค์กรสหประชาชาติ (UN) ซึ่งพบว่าผู้อ่าน กว่ า 97.86% ไม่ เ คยกดดู แ หล่ ง อ้ า งอิ ง ของบทความ ดังนั้นจึงเป็นการง่ายหากใครจะ “อา” ใครต่อใคร เพราะ เรายังขาดลักษณะนิสัยการเสพข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสม เชื่อว่าการอ่านเป็นเงื่อนไขสาคัญที่สุดอันหนึ่งใน การพัฒนาคุณภาพ ประชากรและสังคมโดยรวม เพราะ การมีคนอ่านมากๆ หมายถึงการ(ต้อง)มีคนเขียนมากๆ มี ก ารบั น ทึ ก จดจ า คิ ด วิ เ คราะห์ แยกแยะ ถกเถี ย ง แลกเปลี่ ย น ฯลฯ ตามมาอี ก มากมาย และสิ่ ง ที่ สาคั ญ ที่สุดไม่ได้อยู่ที่ว่าคนไทยอ่านมากหรือน้อยแค่ไหน แต่อยู่ ที่ว่าคนไทยอ่านอะไร และอ่านอย่างไร

ประเทศไทยอยู่ตรงไหน. (2555). คนไทยกับกำรอ่ำน. ค้นข้อมูล 21 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.whereisthailand.info/2012/01/pupilsclass-hours/ ___________________. (2555). เด็กไทยเรียนหนักแค่ไหน?. ค้นข้อมูล 21 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.whereisthailand.info/2012/01/ pupils-class-hours/ ___________________. (2555). เรียนสูงๆ แล้วได้เป็นเจ้ำคนนำยคนจริงหรือ?. ค้นข้อมูล 21 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.whereisthailand. info/2012/06/labour-by-occupation/?fb_ref=wp

24


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.