11 8 2013

Page 1

ทุ ก บุ ป ผา มาลั ย จากใจราษฎร ภั ก ดี บ าท องค แ ม ห ลวง ของปวงหล า พระคื อ แม มิ่ ง ขวั ญ ปวงประชา เหล า ปวงข า ขอพระองค ทรงพระเจริ ญ

จดหมายข า ว. . . ั ก ง า น ก. ก.

ถ.

ำน

สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

“รัฐ...กระจายอำนาจ ราษฎร...มีสวนรวม”

ปที่ ๑๑ ฉบับที่ ๘ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๖

มติที่ประชุมคณะกรรมการการกระจายอำนาจ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ก.ก.ถ.) ก.ก.ถ. เห็นชอบปฏิทินการจัดสรรรายได ใหแก อปท. ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๘ คณะกรรมการการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ก.ก.ถ.) ในการประชุม เมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ไดมีมติเห็นชอบปฏิทินการจัดสรร รายไดใหแก อปท. สำหรับปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งจะช ว ยให อปท. ได รั บ การจั ด สรรภาษี แ ละเงิ น อุ ด หนุ น ทั่ ว ไปรวดเร็ วขึ้ น โดยในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กำหนดใหสำนักงาน ก.ก.ถ. จัดทำประกาศกำหนด หลักเกณฑการจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนใหแก อปท. เสนอประธาน ก.ก.ถ. เพือ่ ลงนามในประกาศ และแจงสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ เพื่อใหสามารถสงรายละเอียดการจัดสรรฯ ใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของภายในวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖ เพือ่ ดำเนินการจัดสรรเงิน ใหแก อปท. ตอไป สำหรับปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ กำหนดให ก.ก.ถ. พิจารณาใหความเห็นชอบ หลักเกณฑการจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนใหแก อปท. ภายในเดือนสิงหาคม ๒๕๕๗ และสำนักงาน ก.ก.ถ. จัดทำรางประกาศกำหนดหลักเกณฑการจัดสรรฯ เสนอประธาน ก.ก.ถ. เพื่ อใหความเห็ น ชอบลงนามในประกาศ และประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๗ เพือ่ ใหสามารถสงรายละเอียด การจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนใหแก อปท. ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ใหหนวยงาน ที่เกี่ยวของ เพื่อจัดสรรเงินใหแก อปท. ภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ ตอไป


การคัดเลือก อปท. เพื่อรับเงินรางวัล อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ป ๒๕๕๖ เริ่มแลว เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ มิ ถุน ายน ๒๕๕๖ คณะอนุก รรมการกำหนด หลั ก เกณฑ ก ารจั ดสรรเงิ น อุ ดหนุน เพื่ อ ใช เป น รางวัลสำหรั บ อปท. ไดจัดใหมีการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๖ โดยมีมติเห็นชอบหลักเกณฑ และวิธีการคัดเลือก อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สรุปสาระสำคัญ ได ดั ง นี้ ๑. อปท. ทุกแหงมีสิทธิไดรับการพิจารณา โดยไมตองสมัคร เขารับการคัดเลือก แตจะใชผลการประเมินการปฏิบตั ริ าชการของ อปท. ดานการบริห ารจัดการ ซึ่ ง ดำเนิ น การโดยคณะทำงานของจังหวัด (Core Team) ที่กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (สถ.) แตงตั้ง เพือ่ คัดกรอง อปท. ทีม่ ผี ลคะแนนการประเมินตัง้ แตรอ ยละ ๘๕ ขึน้ ไป เข ารับการประเมิ น ในขั้น ตอนต อ ไป ๒. ขอความร วมมื อ จั ง หวั ด ให แ ตง ตั้ ง คณะกรรมการ เพื่อ ตรวจสอบและพิ จ ารณาความถู ก ต อ ง และความเหมาะสมของ ผลการประเมิ น ตามข อ ที่ ๑ และคั ด เลื อ ก อปท. ที่มีค ะแนนตั้ง แต รอยละ ๘๕ ขึน้ ไปตามประเภทดังตอไปนี้ ประเภทละไมเกิน ๒ แหง สงใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) อบต. ขนาดใหญ เทศบาลนคร อบต. ขนาดกลาง เทศบาลเมือง อบต. ขนาดเล็ก เทศบาลตำบล การจั ด แบ ง ขนาดของ อบต. ให เ ป น ไปตามที่ ค ณะกรรมการมาตรฐานการบริ ห ารงานบุ ค คล สวนทองถิ่น (ก.กลาง) กำหนด ๓. คณะกรรมการระดับจังหวัดตามขอ ๒ ควรประกอบดวยกรรมการ จำนวน๑๑ - ๑๕ คน ตามความเหมาะสม โดยมีองคประกอบ ดังนี้ ผูวาราชการจังหวัด/รองผูวาราชการจังหวัดที่ไดรับมอบหมาย ประธานกรรมการ ผูแทนสวนราชการในจังหวัด กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ/สถาบันการศึกษา กรรมการ ผูแทนภาคเอกชน/ภาคประชาสังคม กรรมการ ทองถิ่นจังหวัด กรรมการและเลขานุการ ทั้งนี้ สัดสวนของกรรมการจากภาคเอกชน/ภาคประชาสังคม ตองมากกวาภาคราชการ ๔. ใหสถาบันการศึกษาลงพื้นที่ตรวจสอบขอมูลและประเมินผลการปฏิบัติงานของ อปท. ที่ผาน การคัดเลือกจากจังหวัดทุกประเภท ตามเกณฑชี้วัดตามแบบประเมินการปฏิบัติราชการของ อปท. ดาน การบริหารจัดการของ สถ. และเกณฑชี้วัดที่คณะอนุกรรมการฯ กำหนด (ความโปรงใสส นวัตกรรม ความพึงพอใจ และการมีสวนรวมของประชาชน) โดยสัดสวนการใหคะแนน ระหวางเกณฑชี้วัดทั้งสองสวนดังกลาวคิดเปนรอยละ ๔๐:๖๐ และเรียงลำดับคะแนน ของ อปท. ดังกลาว เพื่อใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาจำนวนที่คณะกรรมการคัดเลือก จากสวนกลางจะลงพื้นที่ไปตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานในรอบสุดทาย ๕. ใหคณะกรรมการการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ก.ก.ถ.) แตงตัง้ คณะกรรมการจากสวนกลางตามประเภทของ อปท. ตามขอ ๒ รวม ๗ คณะ เพื่อไปตรวจประเมิน อปท. ที่ผานการพิจารณาของคณะอนุกรรมการฯ ในพื้นที่ ตามขอ ๔ และคัดเลือก อปท. ที่สมควรไดรับรางวัลตามจำนวนเงินรางวัลที่กำหนด อานตอหนา ๔


ไขข อ ข อ งใจ เรื่ อ งกระจายอำนาจ

แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ กรณีการใชอำนาจของเจาพนักงานทองถิ่นตามมาตรา ๔๕ และ ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา การเปดและปดตลาดในขอกำหนดของทองถิ่น

เรื่องเสร็จที่ ๔๘๖/๒๕๕๖ ประเด็นขอหารือ กรมอนามัยขอหารือเกี่ยวกับการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ รวม ๒ ประเด็น ดังนี้ ๑. เจาพนักงานทองถิ่นสามารถใชอำนาจตามมาตรา ๔๕ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ออกคำสัง่ ทางปกครองใหผดู ำเนินกิจการทีต่ อ งควบคุมตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข โดยไมไดรับใบอนุญาต หยุดประกอบกิจการไวจนกวาจะไดรับใบอนุญาตไดหรือไม อยางไร ๒. ราชการสวนทองถิ่นสามารถใชขอความตามกฎกระทรวงวาดวยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๒ ขอ ๑๘ กำหนดไวในขอกำหนดของทองถิ่นวาดวยตลาดที่ออกตามความ ในมาตรา ๓๕ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุขไดหรือไม อยางไร

ความเห็น คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๑๐) ประเด็นทีห่ นึง่ มาตรา ๔๕ แหง พระราชบั ญ ญั ติ การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนดใหเจาพนักงานน ท อ งถิ่ น มี อ ำนาจสั่ ง ให ผู ด ำเนิ น กิ จ การนั้ น แก ไ ขหรื อ ปรั บ ปรุ ง ให ถู ก ต อ ง และถ า ผู ด ำเนิ น กิ จ การไม แ กไข เจาพนักงานทองถิ่นจะสั่งใหผูนั้นหยุดดำเนินกิจการนั้น ไวทันทีเปนการชั่วคราวจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตองได หรือในกรณีที่เจาพนักงานทองถิ่น เห็นวา การดำเนิน กิกจการนั้น จะก จ อใหเกิดหรือมีเหตุอันควรสงสัยวาจะเกิดอันตราย อย อ างรายแรงตอสุขภาพของประชาชน เจาพนักงาน ททองถิ่นก็สามารถสั่งใหหยุดดำเนินกิจการนั้นไวทันที เปนการชั่วคราวจนกวาจะเปนที่พอใจแกเจาพนักงาน ททองถิน่ วาปราศจากอันตรายแลวก็ได ซึ่ ง หากผู ด ำเนิ น กิจการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคำสั่งดังกลาวก็เปน ความผิดฐานไมปฏิบตั ติ ามคำสัง่ ของเจาพนักงานทองถิน่ ตามมาตรา ๔๕ ซึ่งจะตองระวางโทษตามมาตรา ๘๐ แห งพระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ. ๒๕๓๕ ดั ง นั้ น การฝาฝ น หรือ ไม ปฏิ บัติตามคำสัง่ ของเจ า พนั ก งานท อ งถิ่ น ไม ว า ผู ด ำเนิ น กิ จ การนั้ น จะไดรับใบอนุญาตหรือไมก็ตาม เจาพนักงานทองถิ่น ก็สามารถใชอำนาจตามมาตรา ๔๕ แหงพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ได

อา นต อ หนา ๗


ธงชาติไทย ธงชาติ ช ไิ ทย คือื สัญ ั ลักั ษณแสดงถึงความเปนเอกราชอธิปไตยของชาติ และเปนเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจของคนในชาติ ธงชาติจงึ เสมือนสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีค่ วรไดรบั ความเคารพอยางสูง การนำธงชาติไปประดับตามสถานทีต่ า ง ๆ จึงควรนำไปใชอยางถูกตอง จดหมายขาวฯ ขอสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ ธงชาติไทยทีช่ าวทองถิน่ ทุกคนควรรับรูไ ว โดยในฉบับนีจ้ ะเสนอสาระทีค่ วรรู ๒ เรือ่ ง ไดแก การประดับธงชาติคูหรือรวมกับธงอื่น ใหปฏิบัติดังนี้ ๑. การประดับธงชาติคูหรือรวมกับธงอื่น ยกเวนธงพระอิสริยยศ จะตอง ไมใหธงชาติอยูในระดับต่ำกวาธงอื่น ๆ และโดยปกติใหจัดธงชาติอยูที่เสาธงแรกดานขวา (เมื่อมองดู ออกมาจากภายใน หรือจุดของสถานที่ที่ใชชักแสดง หรือประดับเปนธงหลัก) ๒. การประดับ ธงชาติคูกับธงอื่นในงานพิธีซึ่งมีแทนหรือมีที่สำหรับประธาน ใหจัดธงชาติอยู ดานขวาของแทนพิธีและธงอื่นอยูดานซาย ๓. การประดับธงชาติคูกับธงอื่น นอกจากดังที่กลาวในขอ ๑ และขอ ๒ แลวหากมีมากกวาสองธง ใหปฏิบัติดังนี้ เมื่อรวมกับธงชาติแลวนับไดเปนจำนวนคี่ ใหธงชาติอยูตรงกลาง เมื่อรวมกับธงชาติแลวนับไดจำนวนคู ใหธงชาติอยูกลางดานขวา การประดับธงชาติรวมกับพระพุทธรูปและพระบรมรูป การประดับธงชาติรวมกับพระพุทธรูปและพระบรมรูปในพิธีการตาง ๆ เพื่อเปนที่สักการะรวมกัน ใหจัดธงชาติอยูดานขวาของพระพุทธรูปและพระบรมรูปอยูดานซาย ขอมูลจาก คูมือธงไตรรงค ธำรงไทย สำนักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ เรียบเรียงโดย สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

สวนประชาสัมพันธและวิเทศสัมพันธ สำนักงาน ก.ก.ถ.

ตอจากหนา ๒ ๖. คณะกรรมการคัดเลือกจากสวนกลางที่ ก.ก.ถ. แตงตัง้ ตามขอ ๕ แตละคณะมีจำนวน ๗ ทาน ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ เปนประธาน ผูแทนสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ผูแทน สถ. ผูแทน สวนราชการในคณะอนุกรรมการฯ หรือผูทรงคุณวุฒิที่เห็นสมควร ผูแทนสื่อมวลชนที่เห็นสมควร ผูแทนสมาคม อปท. เปนกรรมการ และผูแทนสำนักงาน ก.ก.ถ. เปนกรรมการและเลขานุการ ๗. เงินรางวัล ใหแบงเปน ๒ สวน สวนที่ ๑ เปนเงินรางวัลตามที่กำหนด (รางวัลที่ ๑ - ๓ และ รางวัลชมเชย) สำหรับ อปท. ทีไ่ ดรบั การคัดเลือก และสวนที่ ๒ เปนเงินรางวัลจูงใจสำหรับ อปท. ทีผ่ า นเกณฑ ตามที่คณะอนุกรรมการฯ กำหนด ๘. ให อปท. นำเงินรางวัลที่ไดรับไปใชจายตามอำนาจหนาที่ของ อปท. เพื่อประโยชนสุขของ ประชาชน คาดวาจะทราบผลการคัดเลือก อปท. ไดภายในเดือนมีนาคม ๒๕๕๗ เรียบเรียงโดย สวนประชาสัมพันธและ วิเทศสัมพันธ สำนักงาน ก.ก.ถ.


360

อาเซียน

ถอดบทเรียนการบริหารกลุมผูคาตามถนนและทางเดินเทา ของเมืองโซโล ประเทศอินโดนีเซีย

การเปลีย่ นแปลงทางสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมสงผลใหชมุ ชนเมือง เติบโตอยางกาวกระโดดและเกิดปญหาตาง ๆ อาทิ ปญหาสังคม ความเสื่อมโทรม ของสภาพแวดลอมและชุมชน ประกอบกับวิกฤตการณทางเศรษฐกิจและอัตรา การวางงานที่เพิ่มขึ้น ในชวงป พ.ศ. 2540 - 2541 ทำใหประชาชนสวนหนึ่งของ เมืองโซโล ประเทศอินโดนีเซีย หันไปประกอบอาชีพคาขายตามทองถนนและ กอใหเกิดปญหาการบุกรุกและใชพื้นที่ที่มีการสงวนสิทธิไว ความสกปรกจากการ ทิ้งขยะของผู ค า ปญ หาการจราจร ซึ่ง สง ผลกระทบ ตอการวางแผนพัฒนาพื้นที่วางเปลาของเมือง ในป พ.ศ. 2548 เมืองโซโล โดยนายกเทศมนตรี Joko Widodo จึงได ใชแผนการบริหารจัดการกลุม ผูค า ตามถนนและทางเดินเทาแบบผสมผสาน โดยใชการประนีประนอม การวางแผน การบริหารจัดการกลุม ผูค า การสราง กลุมพันธมิตรเพื่อลดทัศนคติที่เปนการเผชิญหนาของกลุมผูคา รวมทั้ง การใชวัฒนธรรมและสิ่งจูงใจใหเกิดความรวมมือในการเคลื่อนยายหาบเร ไปสูตลาดสดใหม คือ ตลาดนาโตฮาโจ (Notoharjo) ซึ่งวิธีการดังกลาว ไดทำใหปญหาของกลุมผูคาตามถนนและทางเดินเทาคลี่คลายลงและ ไมเกิดความรุนแรง ผลสำเร็จของมาตรการในการบริหารจัดการกลุมผูคาตามทางเดินเทาของเมืองโซโลเกิดขึ้นจาก ปจจัยที่สำคัญ ไดแก การวางแผนการบริหารจัดการกลุมลูกคา ประกอบดวย การเตรียมเครื่องมือ รวมถึงเอกสารสำหรับชี้แจงขอโตแยงที่มีรายละเอียดชัดเจน กระบวนการแตละขั้นตอนมีความโปรงใส การเขารวมกลุมทางสังคมกับกลุมภาคประชาชน การสาธิตหรือการแสดงตัวอยางใหเห็นวาการยาย ทำเล นอกจากจะไมสงผลกระทบตอรายไดแลวยังเปนการเพิ่มรายได เนื่องจากได ทำเลที่ดีขึ้นในการประกอบธุรกิจ รวมถึงการนำการบริหารจัดการกลุมผูคาตามถนน และทางเดินเทาเขาเปนสวนหนึ่งในแผนงานที่มีอยูของทุกหนวยงานปกครอง การใช กลยุทธการรวมเอาผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝายเขามาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ ดำเนินงานทั้งหมด เปนตน การบริ ห ารกลุ ม ผู ค า ตามถนนและทางเดิ น เท า ของเมื อ งโซโลจึ ง ได รั บ การ คัดเลือกใหเปน 1 ใน 16 ตัวอยางที่ดี (Best Practice) จาก อปท. 5 ประเทศ (กัมพูชา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส เวียดนาม และไทย) ในโครงการความรวมมือเพื่อสงเสริมธรรมาภิบาลในการจัดการเมือง สำหรับ อปท. ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ Partnership for Democratic Local Governance in Southeast - Asia (DELGOSEA) ซึ่งสหภาพยุโรป (European Union) ใหการสนับสนุนและ ดำเนินการโดยมูลนิธิคอนราด อเดนาวร (Konrad Adenauer Stiftung) และสถาบันสิ่งแวดลอมไทย (Thailand Environment Institute) โดยแนวทางปฏิบัติของเมืองโซโลไดถูกนำมาเปนตัวอยางเพื่อ ถายทอดและประยุกตใช เพือ่ ใหเกิดผลในทางปฏิบตั อิ ยางเปนรูปธรรมและยัง่ ยืนในทองถิน่ แตละภูมภิ าค ที่มา : คูม อื การแลกเปลีย่ นเรียนรูแ ละถอดแบบตัวอยางทีด่ ดี า นธรรมาภิบาล สำหรับ อปท. ในภูมภิ าค เอเซียตะวันออกเฉียงใต จัดพิมพโดย : มูลนิธคิ อนราด อาเดนาวร (Konrad-Adenaver-Stiftung e.v.) และ www.delgosea.eu เรียบเรียงโดย

สวนประชาสัมพันธและวิเทศสัมพันธ สำนักงาน ก.ก.ถ.


ของแต ง บ า น บันดาลโชค ๙ อยาง การแตง บา น แต ง อย า งไรที่ จะทำให ชีวิ ต คุณเจริญ รุง เรื อ ง และร่ ำ รวยขึ้ น มาได ซึ่ ง ไม แ น ว า เมื่อ ทานผูอานตกแตงบานไดอยางถูกตอง แลว โชคลาภและเรื่องราวดี ๆ จะเขามาสู บานของทานตามที่เราไดเสนอไปไหม ของแบบนีไ้ มลองก็ไมรู นะคะ ๑. สม เปนรูปภาพก็ได หรือผลไมเหมือนจริงมาใสตะกรา บนโตะในหองรับแขกจะใหโชคลาภ ๒. ทับทิม ควรปลูกไวหนาบานจะไดลูกหลานที่ดี และไมมีภัภัย ๓. โตะตาง ๆ ภายในบาน ควรจะเลือกเปนทรงกลมหรือแปดเหลีย่ ม ถาเปนสี่เหลี่ยม มุมโตะควรมน ๆ จะเสริมมงคลใหแกบาน สามารถขจัดพลังชั่วรายและ ดึงดูดเอาความเจริญเขาสูบาน ๔. ของแตง ของแตงบานรูปหมู เปนสัญลักษณของโชคและความอุดมสมบูรณ ๕. ชาง เปนสัญลักษณของสติปญญาและโชค ควรตั้งชางไว ใในหองรับแขก หามตั้งชางใหหันหนาออกสูหนาประตูเด็ดขาด จจะทำใหครอบครัววุนวายมีแตเรื่องขัดแยง ๖. พัด การนำพัดมาตกแตงบาน จะชวยบันดาลใหคุณ และคนในครอบครัว ประสบความรมเย็นเปนสุข และมักได ขาวดีอยูเสมอ ๗. เตา ตุกตาหรือรูปปนเตา ไวในหองนั่งเลนหรือมุมใด ในบานก็ได จะทำใหคนในบานสุขภาพดี อายุยืน ยกเวนหอง ทำงาน ๘. ไก ตุกตาหรือรูปปนวัสดุใดก็ไดลวนแต เเปนสิริมงคลตอบานในทางเรียกโชคลาภเงินทอง ๙. เครื่องปนดินเผา การแตงบานดวย เครื่ อ งป น ดิ น เผา ไม ว า จะเป น รู ป ใด จะทำใหคนในบานมีฐานะการเงินมั่นคง

ขอมูลจาก livingoops.com


Easy English Easy English ฉบับนี้จะขอนำเสนอคำศัพทเกี่ยวกับผักผลไม ที่เราพบเห็นในชีวิตประจำวันเพื่อประโยชนในการ สื่อสารกับชาวตางชาติที่อาจมาสอบถามขอมูลจากทานไนสถานที่ตางๆ พอสังเขป ดังนี้ 1. มันฝรั่ง (potato) (โพะเท-โท) 2. มันเทศ (sweet potato) (ซวิท-โพะเท-โท) 3. เผือก (taro) (ทาโร) 4. มันสำปะหลัง (cassava) (คาซซา-ฝะ) 5. มันแกว (yam bean) (แย็ม-บีน) 6. ทับทิม (pomegranate) (พอม-เมะ-แกรนิท) 7. สมโอ (pomelo) (พอม-เมะ-โล) พบกันใหมฉบับหนาคะ To be continued… เรียบเรียงโดย สวนประชาสัมพันธและวิเทศสัมพันธ สำนักงาน ก.ก.ถ. ตอจากหนา ๓ ปประเด็ ระเด็นทที​ี่สอง เห็นวา มาตรา ๓๕ ๓๕ แห แหหง พระราช พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ บัญญัติใหราชการสวนทองถิ่นมีอำนาจออกขอกำหนดของทองถิ่น เพื่อกำหนดหลักเกณฑ ตาง ๆ ในการกำกับดูแลตลาด รวมถึงการกำหนดเวลาเปดและปดตลาด เพื่อใหทองถิ่นตาง ๆ ออกขอกำหนดของทองถิ่นในเรื่องดังกลาวเปนไปแนวทางเดียวกัน การที่ขอ ๑๙ แหง กฎกระทรวงวาดวยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. ๒๕๕๑ กำหนดใหการเปดและปดตลาด ตองเปนไปตามเวลาที่เจาพนักงานทองถิ่นกำหนด มีเจตนารมณที่จะใหเจาพนักงานทองถิ่น กำหนดเวลาเปดและปดตลาดใหเหมาะสมตอสภาพของท อ งถิ่ น สุ ข อนามั ย ของประชาชน และการรักษาสภาพสิ่งแวดลอมของท อ งถิ่ น นั้ น การใชบั ง คั บข อ ๑๘ แหง กฎกระทรวง ดังกลาว จึงตองสอดคลองกับมาตรา ๓๕ (๓) แหง พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ดวย กลาวคือ เจาพนักงานทองถิ่นมีอำนาจกำหนดเวลา การเปดและปดตลาดตามขอ ๑๘ แหงกฎกระทรวงฯ โดยตองออกเปนขอกำหนดทองถิ่นและกำหนดเวลา เป ด และป ด ตลาดให ชั ด เจน ตามมาตรา ๓๕(๓) แหง พระราชบั ญ ญั ติก ารสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ เรียบเรียงโดย สวนนิติการ สำนักงาน ก. ก. ถ.


สำ

นั ก

.ถ

.

เมื่อวันที่ ๒๑ และ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ สำนักงาน ก.ก.ถ. ไดจัดการประชุม เชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ รับฟงความเห็นและชีแ้ จง (ราง) ประกาศ ก.ก.ถ. เรือ่ งศูนยเครือขาย เพื่อแกไขปญหาและสงเสริมการมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น ใหแก อปท. ในเขต พื้นที่ภาคตะวันออกและภาคอีสานตอนลาง ไดรวมแสดงความคิดเห็น ณ จังหวัด จันทบุรี และจังหวัดอุบลราชธานี ตามลำดับ โดยสาระสำคัญของรางประกาศ ดังกลาว มีเจตนารมณที่จะให อบจ. เปนศูนยเครือขายระดับจังหวัดเพื่อแกไขปญหา และสงเสริมการมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น โดย เฉพาะอยางยิง่ ในกรณีทป่ี รากฏวา อปท. ใดไมสามารถ จัดทำบริการสาธารณะตามภารกิจถายโอนเรื่องใด หรือจัดบริการสาธารณะไมไดมาตรฐานทีส่ ว นราชการ กำหนด และทำใหประชาชนไดรับความเดือดรอน อาจรองขอตอศูนยเครือขาย จังหวัดเพื่อประสานความรวมมือระหวาง อปท. และสวนราชการที่เกี่ยวของ โดยให มีการจัดทำบันทึกขอตกลงรวมกัน เพื่อกำหนดแนวทางการแกไขปญหาดังกลาว ซึ่งจะสงผลใหประชาชนไดรับบริการสาธารณะที่มีคณ ุ ภาพจาก อปท. มากยิ่งขึ้น เมื่อรางประกาศ ก.ก.ถ. ฉบับดังกลาวมีผลใชบังคับแลวคาดวาจะทำให อปท. สามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนไดอยางทั่วถึงมากขึ้น จึงหวังเปนอยางยิง่ วาจะไดรบั ความรวมมือ จาก อปท. ทุกแหงตอไป

งาน ก.ก

สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

ตู ปณ.๑ ปณฝ. ทำเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๒ โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๗๓๘๓-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๖๙๔ www.dloc.go.th E-mail : dloc@opm.mail.go.th

ที่ปรึกษา ศาสตราจารยพเิ ศษธงทอง จันทรางศุ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี นายระพีพันธุ สริวัฒน รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี นายวีระชัย ชมสาคร ผอ.สำนักงาน ก.ก.ถ. คณะผูจัดทำ นางน้ำเพ็ขร กายบริบูรณ นางสาวสุภาพร เนียมหอม นางสาวภัทรานิษฐ ชีวะวรนันท นายอัษฎายุธ วองวิรยิ ะวงศ นางสาวธิดา เบ็ญจวรรณ นายเกียรติกมล จังโส ชำระคาสงเปนเงินเชื่อ ใบอนุญาตเลขที่ 237/2553 ปณศ.ราชดำเนิน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.