Oie share ปีที่ 5 ฉบับที่ 48 เดือนมีนาคม 2559

Page 1

1


Co n t e n t s ประจํ า เดื อ นมี น าคม 2559

Econ Focus :

ทิศทางอุตสาหกรรมไทยและความทาทายในอนาคต : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม

Econ Review:

สรุปสถานการณการผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือนมกราคม 2559

Sharing:

SPRING เพื่อการสรางฤดูใบไมผลิใหธุรกิจ

เก็บมาเลา:

ภัยยุงลาย...ไขเลือดออก

3 8 10 13 15

Movement:

Editor’s Note สวัสดีคุณผูอานทุกทาน OIE SHARE ฉบับเดือนมีนาคม ทางบรรณาธิการ

พรอมนําเสนอบทความดี ๆ ใหคุณผูอานเชนเคย โดยเริ่มจาก Econ Focus พบกับหัวขอ ทิศทางอุตสาหกรรมไทยและความทาทายในอนาคต : กรณี ศึ ก ษาอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ  ง ห ม ส ว นสถานการณ การผลิ ต อุ ต สาหกรรมประจํ า เดื อ นมกราคม 2559 จะเป น อย า งไร พลิกเขาไปดูไดเลยคะ และในคอลัมน Sharing พอนองภูยังมีนัดกับ คุณผูอานตอเนื่องจากฉบับที่แลวจะอัพเดตขาวสารในหัวขอ SPRING เพือ่ การสรางฤดูใบไมผลิใหธรุ กิจ สุดทายพลาดไมไดกบั คอลัมน เก็บมาเลา ภัยยุงลาย ไขเลือดออก ฉบับนี้เรายังเปดรับความคิดเห็นของทุกทาน ทุ ก ช อ งทาง ขอบคุ ณ คุ ณ ผู  อ  า นที่ ติ ด ตาม OIE SHARE มาโดยตลอด พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ

ที่ปรึกษา ศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สุรพล ชามาตย รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม วีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม บรรณาธิการบริหาร สันธนา หิริศักดิ์สกุล ผูอํานวยการสํานักบริหารกลาง กองบรรณาธิการ ศุภิดา เสมมีสุข, นาฏนดา จันทรสุข, ชาลี ขันศิร,ิ สมพิศ นาคสุข, ปญชาน ศรีสงั ข, เจษฎา อุดมกิจมงคล, ประวีรา โพธิสวุ รรณ, กฤษฎา นุรักษ, จักรพันธ เดนดวงบริพันธ, บุญอนันต เศวตสิทธิ์, รัชวิน บุตตะวงษ, สุดาพร รักษาชาติ, อภิฤดี บางรัด

OIE SHARE ยิ น ดี รั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น คํ า ชี้ แ นะ และข า วประชาสั ม พั น ธ ต  า ง ๆ ติ ด ต อ ได ที่ กองบรรณาธิ ก าร OIE SHARE

กลุ  ม ประชาสั ม พั น ธ แ ละบริ ก ารห อ งสมุ ด สํ า นั ก บริ ห ารกลาง สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ  ง พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 อีเมล : oieshare@oie.go.th ขอความที่ปรากฏใน OIE SHARE เปนทัศนะของผูเขียน

2


F

ECON

CUS

ทิศทางอุตสาหกรรมไทย และความทาทายในอนาคต :

กรณีศึกษาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม ศูนยสารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ใน

ระยะ 30 ปที่ผานมา นโยบายไทยสวนใหญจะมุงเนนใหตางประเทศเขามาลงทุนในประเทศ โดยเมื่อปจจัย และสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป การลงทุนโดยตรงในตางประเทศเปนกลยุทธเชิงเศรษฐกิจ ที่สําคัญเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบัน ไทยควรใหความสําคัญกับการลงทุนโดยตรงขาออกเพิ่มขึ้น โดยมองใหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกมากยิ่งขึ้น และแมอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมที่คนสวนใหญมองวาเปนอุตสาหกรรม Sunset แตยังมีรายที่โดดเดนปรับเปลี่ยนกลยุทธรวดเร็วพลิกวิกฤตเปนโอกาสและเปน First Mover รายแรก ๆ ที่ขยายฐานการผลิตโดยไปลงทุนในตางประเทศ ในที่นขี้ อยกตัวอยาง 2 บริษัทที่เปนผูนํายุทธศาสตรเชิงรุกเชนกัน โดยมีกลยุทธตางกันรายแรกใช Custom designs เนนสินคามาตรฐานสูง สวนอีกรายมุงเนน Functional Products และปรับปรุงสายการผลิต (Production Line) ใหตรงตามความตองการลูกคา บริษัท ไฮเทค แอพพาเรล กรุป ไดมุงเนนการขยายฐานการผลิต ไปในประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน ไดแก สปป.ลาว เวียดนาม และกัมพูชา เนือ่ งจากอุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง หม เปนอุตสาหกรรมทีใ่ ชแรงงาน เขมขน และประเทศไทยไดเขาสูส งั คมผูส งู อายุมาในระยะหนึง่ แลว อีกไมนาน จะเปนสังคมผูส งู อายุโดยสมบูรณ กอรปกับแรงงานจากประเทศเพือ่ นบานซึง่ เริ่มมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นจนถึงการพัฒนาถึงระดับ หนึ่งแลว ประเทศเพื่อนบานมีแนวโนมที่มีความตองการแรงงานสูงกลับไป พัฒนาประเทศของตนเอง จึงทําใหในอนาคตคาดวาแรงงานไทยไมนา จะเพียงพอ

3


ดวยเหตุผลดังกลาวเปาหมายในการขยายฐานการผลิต จึ ง อยู  ใ นกลุ  ม อาเซี ย นที่ เ ป น CLMV (กั ม พู ช า สปป.ลาว เมียนมารและเวียดนาม) โดยยังไมสนใจที่จะขยายไปสูประเทศ อืน่ เชน อินโดนีเซีย ถึงแมจะมีขนาดตลาดทีน่ า สนใจ แตขอ จํากัด ในเรื่องตนทุนคาแรงของอินโดนีเซียที่มีอัตราที่สูงขึ้นอยาง รวดเร็ ว และการขยายตั ว จากกรุ ง จาร ก าตาร ไ ปสู  พื้ น ที่ ใ น ชนบท มีตนทุนที่สูงในการกระจายสินคาและประเด็นสําคัญ อีกประการหนึ่งที่สงผลตอการตัดสินใจคือเรื่องของวัฒนธรรม การทํางานของคนในประเทศมุสลิม ซึ่งตองมีชวงเวลาที่จะพัก เพื่อกิจกรรมทางศาสนาซึ่งไมเหมาะกับการทํางานที่ตองการ ความตอเนื่องและความละเอียด การพั ฒ นาและสร า งความเข ม แข็ ง ของเครื อ ข า ย การผลิต โดยมุงเนนสรางเครือขายการผลิตในระดับประเทศ เนือ่ งจากอยูใ นหวงโซการผลิตในตอนปลาย โดยเฉพาะอยางยิง่ กลุมเครื่องนุงหม Sport brand จําเปนตองมีการประสานงาน กันอยางเหนียวแนนกับกลุมโซอุปทาน (Supplier) เนื่องจาก สินคามีวัตถุดิบสําคัญตาง ๆ อาทิ ผาผืน เสนดาย เปนตน ซึ่ ง ต อ งได รั บ มาตรฐานในระดับเดียวกันดวย ทั้งนี้ ในบาง โครงการไดมีการประสานและพัฒนางานลวงหนาเปนระยะ เวลาถึง 9 เดือน ดังนั้น การพัฒนาเครือขายในอุตสาหกรรม ตนนํ้า กลางนํ้า ไปจนถึงปลายนํ้าที่เกี่ยวของ ตองมีการรักษา คุณภาพและมาตรฐานภายใตการตรวจสอบ (audit) ของลูกคา

4

และโครงการฝกอบรมใหกับพนักงานบริษัทอื่น ๆ ในกลุมโซ อุปทานรวมทั้งบริษัทที่เปนคูแขงดวย ซึ่งจะเปนการผลักดัน ใหเกิดการแขงขันในเรือ่ งมาตรฐานของกลุม อุตสาหกรรมสิง่ ทอ และเครื่องนุงหมไดอยางยั่งยืน

การดําเนินการตอสภาวะความทาทายตาง ๆ

กระทรวงการตางประเทศสหรัฐฯ ไดจัดใหบางสินคา ของไทยอยูในระดับตํ่าสุด (Tier 3) ซึ่งพบวายังไมมีผลกระทบ ตอคําสั่งซื้อในปจจุบัน หรือผูซื้อรายใหญจากตางประเทศ อยางไรก็ตาม เนือ่ งจากประเทศคูค า หลักคือสหรัฐฯ และสหภาพ ยุโรป นัน้ ลูกคาขัน้ สุดทาย (end user) กลุม ใหญ ซึง่ มีวฒ ั นธรรม ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ เรื่ อ งสิ ท ธิ เ สรี ภ าพประชาชน จึ ง อาจมี


แนวโน ม ที่ จ ะส ง ผลต อ ภาพลั ก ษณ ข องสิ น ค า ของไทยใน ภาพรวม ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะแกปญหาอยางเรงดวน และเชื่อมั่นวาไทยสามารถกาวขามความทาทายนี้ไปไดอยาง รวดเร็ว การพลิกวิกฤตเปนโอกาสจากปญหาเศรษฐกิจโลกชะลอ ตัวเกิดจากปจจัยปญหาที่หลากหลายไมวาจะเปนราคานํ้ามัน โลก ปญหาหนี้สินและเศรษฐกิจในยุโรปลวนสงผลกระทบ ตอไทยซึ่งเปนประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพาการสงออก เนือ่ งจากระบบความเชือ่ มัน่ ในการบริโภคของโลกโดยรวมลดลง เปนผลทําใหนักลงทุนในตราสินคาระดับโลกตองการหาทางใน การประหยัดตนทุนการผลิตใหไดมากที่สุด ซึ่งเปนโอกาสของ Smart OEM ของไทย ที่มีระดับมาตรฐานสูงในระดับโลก เนื่องจากกลุมทุนผูไดรับอนุญาตใหใชชื่อ/ตราสิน คา (Licensee)จําเปนทีจ่ ะตองมีแนวปฏิบตั ใิ นการ ดําเนินธุรกิจ (Code of Conduct) ซึ่งไทยมีขีด ความสามารถในเรื่องมาตรฐานรวมถึง มีแรงงานฝมือและประสบการณ ดวย

นิคมอุตสาหกรรมศรีโสภณ จังหวัดบันเตียเมียนเจยบริษัท ไดตดั สินใจขยายฐานการผลิตในประเทศกัมพูชาโดยในระยะเริม่ ตนเริม่ ดวยธุรกิจรานอาหารไทยโดยใชชอื่ รานอาหารเจาพระยา ต อ มาเปลี่ ย นชื่ อ เป น ร า นโตนเลสาบและขยายไปสู  ธุ ร กิ จ โรงแรมเมื่อ 10 ปที่แลว และลาสุดมีการขยายรานอาหารใน เมืองเสียมเรียบ และมีธุรกิจโลจิสติกสชายแดนสระแกวเพื่อ รับเขตเศรษฐกิจพิเศษอีกดวย คุณสิทธิโชค จตุรเจริญคุณ กลาวถึงการตัดสินใจของ บริษทั ในการเลือกกัมพูชาเปนสถานทีเ่ พือ่ ขยายการผลิตในกลุม บริษัทเครื่องนุงหม เมื่อพิจารณาในประเด็นของแรงงานเมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศเพือ่ นบานทีเ่ หลือ (เมียนมาร สปป.ลาว และเวียดนาม) ซึ่งมีความเหมาะสมมากที่สุด สําหรับเหตุผล ที่เจาะจงเลือกพื้นที่เมืองศรีโสภณซึ่งหางจากไทยประมาณ 50 กิ โ ลเมตรโดยระยะทางห า งจากไทยมากกว า ปอยเปต (เพียง 10 กิโลเมตร) นัน้ เนือ่ งจากหากตัง้ อยูใ กลไทยมากเกินไป อาจเกิดปญหาเรือ่ งแรงงานไดอกี นอกจากนี้ ยังใกลพนื้ ทีค่ าสิโน ปอยเปตซึง่ อาจสงผลตอการแยงแรงงานกับภาคบริการอีกดวย บริ ษั ท ได รั บ การสนั บ สนุ น จากสภาเพื่ อ การพั ฒ นา กั ม พู ช า (The Council for the Development of Cambodia: CDC) ซึ่งมีหนาที่พิจารณาอนุมัติสงเสริมโครงการ ลงทุนทั้งหมดในประเทศโดยเปนการใหบริการแบบจุดเดียว เบ็ดเสร็จ (One Stop Service) และดําเนินการออกใบรับ รองการจดทะเบียนเพื่อใหการลงทุนเริ่มดําเนินการไดเมื่อป พ.ศ. 2557 โดยมีหนวยงานในสังกัด คือ คณะกรรมการ ส ง เสริ ม การลงทุ น ของกั ม พู ช า (Cambodian Investment Board: CIB)

ธุรกิจในเครือที.เค.การเมนท ประกอบไปดวย 3 บริษัทในเครือ ไดแก 1.บริษัท ที.เค.การเมนท จํากัด ตั้งอยูกรุงเทพฯ 2.บริษัท ที.เค.การเมนท แมสอด จํากัด จังหวัดตาก และ 3.บริษัท ที.เค. การเมนทศรีโสภณ จํากัด ตัง้ อยูใ น

5


มีฐานะเหมือนคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ของไทย คุณสิทธิโชค ใหความเห็นวาปจจุบันกัมพูชามีกระบวนการ ในเรื่ อ งการให อ นุ ญ าตที่ ชั ด เจนมากขึ้ น ต น ทุ น การขนส ง เป น ป จ จั ย สํ า คัญอีกประการหนึ่งที่เลือกพื้นที่ตั้งในกัมพูชา เนือ่ งจากพืน้ ทีข่ องโรงงานใน เมืองศรีโสภณ จังหวัดบันเตียเมียน เจย มีระยะทางจากดานพรมแดนปอยเปต จ.สระแกว ไปจนถึง สีหนุวิลลรวมประมาณ 600 กิโลเมตร ซึ่งมีระยะทางสั้นกวา การขนสงภายในไทยจาก จ.ตาก ไปสูทาเรือแหลมฉบัง

การดําเนินการตอสภาวะความทาทายตาง ๆ

การกอตั้ง ที.เค.การเมนทศรีโสภณ เมื่อเดือนมกราคม 2557 ที่ผานมา ในระยะ 6 เดือนแรก มีอัตราการเขา-ออกงาน (labor turnover rate) สูงกวารอยละ 50 ซึ่งนับวาสูงมาก ปจจุบันมีการพัฒนาขึ้นโดยอัตราการเขา-ออกงานลดลง ทั้งนี้ เนือ่ งจากแรงงานสวนใหญในประเทศกัมพูชาเดิมเปนเกษตรกร และยังไมเคยเขาสูภ าคอุตสาหกรรม ซึง่ ทําใหบริษทั ตองมีระบบ ทีด่ ใี นการอบรมแรงงานใหมอยางตอเนือ่ งโดยตลอด โดยเฉพาะ ในระยะเริ่มตนของการกอตั้งโรงงาน โดยที่ปจจุบันแรงงาน ในกัมพูชายังทําไดเพียงผลิตภัณฑที่ไมมีความซับซอน เชน เสื้อเชิ้ตรูปแบบธรรมดา ดังนั้น ผลิตภัณฑในโรงงานแตละแหง มีรายละเอียดที่แตกตางกันไป โดยสินคาที่ผลิตในไทยจะเปน กลุมที่มีความซับซอนมากที่สุด การบริหารการจัดการของบริษทั ฯ ทีม่ สี ายงานผลิตทีค่ อ น ขางยืดหยุนและเปนระบบ ทําใหสามารถจัดการคําสั่งการผลิต ไดกวา 500 แบบตอเดือน ซึง่ ตองมีทมี งานแกะแบบ ทําการขึน้ / สรางแบบ (pattern) เปนจํานวนมาก ซึ่งการจะดําเนินการได อยางเปนระบบดังกลาวตองมีการประสานงานกับอุตสาหกรรม สิง่ ทอตนนํา้ กันอยางใกลชดิ ซึง่ คุณสิทธิโชค มีความเห็นวาผาผืน และเสนใย/เสนดายในไทยยังมีจํากัดอยู โรงปนดายในไทย ควรมีนวัตกรรมในการพัฒนาเสนใยเพือ่ ใหวตั ถุดบิ มีการพัฒนา ทั้งหวงโซการผลิต

โอกาสการขยายการคาไปสูภูมิภาคอื่น

ปจจุบันบริษัทรับจางผลิตเสื้อผาแบรนดไทยในสัดสวน รอยละ 95 และแบรนดตางชาติรอยละ 5 โดยมีเปาหมายที่จะ ขยายตลาดไปสูต า งประเทศมากขึน้ เชน แบรนดดงั จากประเทศ ญี่ปุน ซึ่งมีตลาดตอบรับดีมากลูกคาใหการยอมรับในคุณภาพ บริษัทฯ มีการปรับกลยุทธในการจัดหาตลาดใหมผานชองทาง งานรวมตัวธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุงหมตาง ๆ โดยลาสุดไดเขา รวมงาน THAI FASHION and TEXTILES OSAKA FAIR (TFTO) ณ เมืองโอซากา ญี่ปุนระหวางวันที่ 14-18 กรกฎาคม 2558

6

โดยสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมไทย ซึ่งไดรับการตอบรับ ที่ดีมากจากฝายจัดซื้อ (buyer) แบรนดดังในญี่ปุนเพื่อปอนสู หางสรรพสินคาชั้นนํา ที.เค.การเมนท ไดใชกลยุทธในการตอยอดการลงทุน ใหม (Horizontal Investment) ซึ่งเปนการเสริมโอกาสทาง ธุรกิจในเครือขายมากขึน้ ตามไปดวย ยกตัวอยางจากการลงทุน ธุรกิจโรงแรมเพิ่มเติมภายใตแบรนดโรงแรมธารา อังกอร ระดับ 4 ดาว ในจังหวัดเสียมเรียบ กัมพูชาโดยมีตลาดเปาหมายคือ เกาหลีใต และยุโรปที่นิยมเดินทางไปทองเที่ยวสัมผัสมรดกโลก นครวัด นครธม ทั้งนี้ คุณสิทธิโชค แจงวา นักธุรกิจชาวอินเดีย ซึง่ จะขยายฐานลูกคาไปสูป ระเทศในยุโรปนัน้ เปนนักธุรกิจทีม่ า จากกลุม ลูกคาทีไ่ ดมาทองเทีย่ ว และเปนเรือ่ งบังเอิญทีร่ บั ทราบ วาทางบริษัทรับจางผลิตเครื่องนุงหมดวย จึงมีความสนใจที่จะ รวมธุรกิจ และไดมีคําสั่งซื้อในกลุมสินคาเสื้อยืด เสื้อเชิ้ต และ กางเกง ในเดือนตุลาคม 2558 จะเห็นวาแมจะมีปจ จัยผันผวนและความทาทายตาง ๆ เขามาอยางถาโถมตอเนื่อง แตทั้ง 2 บริษัท มีการปรับตัวอยาง หนักจากปจจัยการเปลีย่ นแปลงตาง ๆ โดยเฉพาะปจจัยในเรือ่ ง ตนทุนคาแรงทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ ตองมีการปรับเปลีย่ นสายงานการผลิต ในรูปแบบใหมทั้งหมดสงผลใหเกิดการเลิกจางพนักงานเปน จํานวนมาก จากการปรับปรุงดังกลาวกอใหเกิดการยกระดับ ในเรื่องการสรางประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มมากขึ้นเทาตัว โดยสามารถผลิตสินคาไดในปริมาณมากกวาในขณะที่จํานวน


แรงงานทีใ่ ชนอ ยลงกวาเดิมมากกวาครึง่ ซึง่ ผลของกลยุทธตา ง ๆ ทีท่ งั้ สองบริษทั ดําเนินการมีความสอดคลองกับตัวชีว้ ดั ผลิตภาพ ผลผลิต (Total Factor Productivity: TFP) ซึ่งอุตสาหกรรม นี้มีอัตราการเติบโตตอเนื่องจนถึงปจจุบันสวนทางกับบางกลุม อุตสาหกรรม เชน อาหาร ที่มีสัดสวนการสงออกในปริมาณ มากแตกลับมี TFP ลดลง โดยพบวาอุตสาหกรรมอาหารมีคา TFP อยูที่ระดับ 99.79 ในขณะที่อุตสาหกรรมเครื่องนุงหมอยู ที่ระดับ 101.69 โดยหากคา TFP เกิน 100 จะจัดวาอยูในกลุม ที่มีประสิทธิภาพในระดับที่ดีขึ้น (ขอมูลจากรายงานผลิตภาพ และผลประกอบการอุตสาหกรรมป พ.ศ. 2557) แสดงถึงการ ที่ผูผลิตในอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมสามารถสรางมูลคาเพิ่ม ของสินคาไดมากขึน้ โดยไมไดเพิม่ ปจจัยการผลิตหลักคือทุนและ แรงงานแตสะทอนการสรางมูลคาเพิม่ จากปจจัยเชิงคุณภาพของ ปจจัยผลผลิต (เทคโนโลยีทใี่ ชในการผลิตการบริหารจัดการและ ฝมือและความชํานาญของแรงงาน) จัดทําโดย พัทธธีรา สุวรรณทัต ขอมูลจากการสัมภาษณ คุณวัลลภ วิตนากร ประธานกรรมการบริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จํากัด วันพฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม 2558 คุณสิทธิโชค จตุรเจริญคุณผูจัดการฝายวิเคราะหและพัฒนา บริษัท ที.เค. การเมนท จํากัด วันศุกรที่ 7 สิงหาคม 2558ณ รายงานผลิตภาพและผลประกอบการอุตสาหกรรมปพ.ศ. 2557 ภาพประกอบ www.recyclingideas.com, www.freepik.com, www.pexels.com

7


ECON

REVIEW

สรุปสถานการณ

การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมกราคม 2559 สถานการณการผลิตของอุตสาหกรรมในเดือนมกราคม 2559 หดตัวรอยละ 3.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เปนผลจากการผลิตที่ลดลงในกลุมอุตสาหกรรมผลิตเพื่อการ สงออกเปนสําคัญ เนื่องจากสถานการณเศรษฐกิจโลกที่ยังคง ชะลอตัวจากราคาสินคาโภคภัณฑที่ปรับตัวลดลง ประกอบกับ การฟนตัวอยางคอยเปนคอยไปของเศรษฐกิจประเทศสําคัญ อยางประเทศสหรัฐอเมริกา และกลุมประเทศสหภาพยุโรป ทําใหความตองการสินคาจากตางประเทศลดลง สําหรับอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่รอยละ 63.9 โดยอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสหดตัว รอยละ 13.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจาก ความต อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ นตลาดโลกลดลง ซึ่งเปนไปตามสถานการณเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว สําหรับ การผลิตอุตสาหกรรม Hard Disk Drive ดัชนีผลผลิตหดตัว ลงรอยละ 12.8 ซึ่งเปนไปตามความตองการสินคากลุมเครื่อง คอมพิวเตอร และคอมพิวเตอรสวนบุคคลลดลง แตอยางไร ก็ตามการผลิตสินคาในกลุมที่ใชงานกับเทคโนโลยี Cloud เพิ่มขึ้นตามความตองการในตลาดโลก การผลิ ต อุ ต สาหกรรมรถยนต ดั ช นี ผ ลผลิ ต หดตั ว รอยละ 13.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจาก การปรับภาษีสรรพสามิตใหมทเี่ ริม่ ในเดือนมกราคม 2559 ทําให ผูบ ริโภคเรงการซือ้ ไปแลวในเดือนกอนหนา สงผลใหคาํ สัง่ ซือ้ ใน เดือนมกราคม 2559 ลดลง โดยเฉพาะในกลุมรถบรรทุกปคอัพ อุตสาหกรรมการผลิตเหล็กดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 8.7 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน จากความตองการ ในอุตสาหกรรมตอเนือ่ งลดลงตามภาวะเศรษฐกิจโลก ประกอบ กับยังคงมีการนําเขาเหล็กสําเร็จรูปราคาถูกจากประเทศจีน อยางตอเนื่อง การผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 12.7 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากตนทุนการผลิต ที่ ป รั บ สู ง ขึ้ น ทําใหผูประกอบการขยายฐานการผลิตไปยัง ประเทศอื่น ๆ ประกอบกับสินคาที่ผลิตในประเทศมีราคาสูง กวาสินคาทีน่ าํ เขาจากประเทศจีน และเวียดนาม ทําใหผบู ริโภค

8

สํานักวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

หันไปซื้อสินคานําเขาเพิ่มขึ้น สําหรับการผลิตสิ่งทอตนนํ้าดัชนี ผลผลิตหดตัวรอยละ 11.8 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น จากการสงออกเสนใยที่ลดลงในตลาดใหมอยาง ประเทศตุรกี และอินเดีย ทีเ่ คยขยายตัวในระดับสูงในชวงกอนหนา แตอยางไร ก็ตามยังคงมีความตองการสินคาในกลุมผาผืนจากประเทศ กั ม พู ช าที่ มี อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เครื่ อ งนุ  ง ห ม เพิ่ ม มากขึ้ น อย า งไรก็ ต ามการผลิ ต ในอุ ต สาหกรรมสํ า คั ญ ได แ ก อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องใชไฟฟาภายในบาน เครื่องปรับ อากาศ และผลิตภัณฑพลาสติก ดัชนีผลผลิตในเดือนมกราคม 2559 ยังขยายตัวอยู จากความตองการทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ สถานการณ ก ารผลิ ต เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ภายในบ า นดั ช นี ผลผลิ ต ขยายตั ว ร อ ยละ 3.6 จากการผลิ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในทุ ก กลุมผลิตภัณฑ เนื่องจากความตองการสินคาภายในประเทศ เริ่มฟนตัว สําหรับการผลิตเครื่องปรับอากาศในเดือนมกราคม ดัชนีผลผลิตขยายตัวรอยละ 17.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปกอน จากความตองการในตางประเทศ เนื่องจากสภาพ อากาศที่รอนอยางตอเนื่องในหลายภูมิภาค อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑพลาสติกดัชนีผลผลิต ขยายตัวรอยละ 9.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนือ่ งจากมีคาํ สัง่ ซือ้ เพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะผลิตภัณฑถงุ พลาสติก


อัตราการใชกําลังการผลิตในเดือนธันวาคม 2558 อยูที่ระดับรอยละ 62.9

63%

9


SPRING สวัสดีมติ รรักแฟน OIE Share ทุกทานครับ สําหรับตอนนีจ้ ะเปนตอนที่ 3

ทีเ่ กีย่ วกับหนวยงาน SPRING Singapore แลวนะครับ พอนองภูขอยอนความจํา สํ า หรั บ ท า นผู  อ  า นสั ก นิ ด คื อ สื บ เนื่ อ งจากที่ ท  า นรองนายกรั ฐ มนตรี (นายสมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ) ไดเขามาตรวจเยีย่ มพรอมมอบนโยบายใหกระทรวง อุตสาหกรรมเมื่อเดือนธันวาคม 2558 โดยเนนวากระทรวงอุตสาหกรรมตอง ใหความสําคัญกับเรือ่ ง มาตรฐาน ผลิตภาพและนวัตกรรม โดยใหดตู วั อยางจาก สปริงบอรด ประเทศสิงคโปร ซึง่ ในตอนที่ 1 พอนองภูไดสบื คนมาวา SPRING Singapore คือหนวยงานอะไร มีขอบเขตการดําเนินงานอยางไร ในตอนที่ 2 พอนองภูไดนําเสนอมาตรการในการอุปถัมภธุรกิจเริ่มใหม (Start-ups) สวนตอนที่ 3 นี้ จะเกี่ยวกับแนวทางและมาตรการในการสรางความเติบโต ใหธุรกิจ (Growing Businesses) ซึง่ การสรางความเติบโตใหธรุ กิจนัน้ SPRING มีแนวทางในการสนับสนุน ธุร กิจ ในสิ งคโปร โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม 1 (SMEs) โดยมุง เนนการยกระดับความสามารถ หาโอกาสในการเติบโต การสรางระบบ แวดลอมใหเกิดนวัตกรรมและการปรับตัว ผานเครือ่ งมือและมาตรการตาง ๆ เชน Toolkit คูปองนวัตกรรม แรงจูงใจทางภาษี เงินสนับสนุน และเงินกู ดอกเบี้ยตํ่า2 ตาง ๆ ดังนี้

วิธีการ/มาตรการ

เพื่อการสราง ฤดูใบไมผลิใหธุรกิจ

สํานักขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพของประเทศ

สาระสําคัญ

SPRING ไดพัฒนาแบบเรียนออนไลน เพื่อใหผูประกอบการ สามารถนําไปพัฒนาองคกรของตัวเองได โดยแบงเปน 5 เรื่อง ไดแก 1) การใหบริการลูกคา 2) การตลาด 3) การบริหาร เครื่องมือพัฒนาองคกรดวยตนเอง (Toolkit) การเงิน 4) การบริหารผลิตภาพ และ 5) การพัฒนาความสามารถ บุคลากร (จากการเยี่ยมชมคราว ๆ พอนองภูพบวาทุกเรื่องตองมี การลงทะเบียนกอน โดยบางเรื่องมีการจัดทําเปน Interactive ทีส่ นุกและเขาใจงาย ในขณะทีบ่ างเรือ่ งเปนเนือ้ หาในเชิงวิชาการ)

10


คูปองนวัตกรรมและยกระดับความสามารถ The Innovation & Capability Voucher (ICV)

Capability Development Grant (CDG)

SPRING จะแจกคูปองฯ ใหกบั SMEs เพือ่ ใชแทนเงินสดในการจาง ที่ปรึกษาในการยกระดับการดําเนินธุรกิจ (เชน พั ฒนาด าน นวัตกรรม เพิ่มผลิตภาพ พัฒนาทรัพยากรบุคคล การเงิน) รวมถึง การจัดซือ้ จัดหาเครือ่ งมือ อุปกรณ การจางออกแบบหรือปรับปรุง เพือ่ ใหเกิด การเพิม่ ผลิตภาพดวย โดย SMEs จะไดรบั คูปองฯ สูงสุด 8 คูปอง คูปองละ 5,000 เหรียญสิงคโปร (1 เหรียญฯ ประมาณ 25 บาท) แตตองพัฒนาโครงการใหเสร็จเปนครั้ง ๆ กอนเริ่มใช คูปองใบตอไป (ระยะเวลาพัฒนาไมควรเกิน 6 เดือนตอโครงการ) SPRING ยั ง มี เ งิ น สนั บ สนุ น สํ า หรั บ การพั ฒ นาความ สามารถ โดย สนั บ สนุ น ร อ ยละ 70 ของค า ใช จ  า ยการ ดําเนินงานโครงการ (คาจางที่ปรึกษา ฝกอบรม การขอการ รั บ รอง หรื อ ต น ทุ น อุ ป กรณ ) แต ไ ม เ กิ น 30,000 เหรี ย ญ

ธุรกิจฯ ที่ลงทุนในนวัตกรรม หรือการเพิ่มผลิตภาพ สามารถ นําคาใชจายมาหักภาษีธุรกิจไดถึงรอยละ 400 (หักลดสูงสุดไม Productivity and Innovation Credit (PIC) เกิน 4 แสนเหรียญฯ) หรือเลือกรับเปนการจายคืนไดรอยละ 60 (แตไมเกิน 1 แสนเหรียญฯ) (ใน FAQ ของเว็บฯ บอกไววา ถาเลือกรับ เปนจายเงินคืน จะใชเวลาในการจายประมาณ 1.5 - 3 เดือน ครับ)

Loan Insurance Scheme (LIS) and LIS+

SPRING ชวยลดความเสี่ยงทางการเงินโดยสนับสนุนเบี้ยประกัน ใหรอยละ 50 จากที่ตองจายใหทางสถาบันการเงินที่ปลอยกู (สวนอัตราดอกเบี้ยขึ้นกับความเสี่ยงที่สถาบันการเงินฯ ประเมิน) นอกจาก นี้ SPRING ยังมีแผนงาน LIS+ เปนสวนเพิม่ เติมโดยรวมรับ ความเสี่ยงในเงินกูกอนใหมที่เกินจากที่สถาบันการเงินปลอยกูได โดยคิดอัตราดอกเบีย้ รอยละ 1.5 ตอป วงเงินไมเกิน 5 ลานเหรียญฯ

Local Enterprise Finance Scheme (LEFS)

SPRING สนั บ สนุ น เงิ น กู  ด อกเบี้ ย ตํ่ า ให ธุ ร กิ จ ในประเทศ สําหรับการยกระดับโรงงาน อุปกรณ และการปรับเปลี่ยนเปน ระบบอั ต โนมั ติ ใ นโรงงาน โดยมี ว งเงิ น ให 15 ล า นเหรี ย ญฯ อั ต ราดอกเบี้ ย ร อ ยละ 4.25 สํ า หรั บ การกู  น  อ ยกว า หรื อ เท า กั บ 4 ป และร อ ยละ 4.75 สํ า หรั บ การกู  4 ป ขึ้ น ไป

Micro Loan Programme (MLP)

สําหรับธุรกิจขนาดจิ๋ว (คนงานนอยกวาหรือเทากับ 10 คน หรือ ยอดขายตอปนอยกวา 1 ลานเหรียญฯ) SPRING สนับสนุน เงินกูดอกเบี้ยตํ่า สําหรับการยกระดับโรงงาน อุปกรณ และ การปรับเปลี่ยนเปน ระบบอัตโนมัติในโรงงาน โดยมีวงเงินให 1 แสนเหรียญฯ คิดอัตราดอกเบี้ยการกูยืมไมเกิน 4 ป รอยละ 5.5 ตอป นอกจากนี้ยังมีการพิจารณาใหเงินกูสําหรับธุรกิจ เริ่ ม ต น ใหม ที่ จ ดทะเบี ย นธุ ร กิ จ มาไม เ กิ น 3 ป เพิ่ ม เติ ม ด ว ย

11


สําหรับประเทศไทยเอง เทาที่พอนองภูทราบ (ที่ไมทราบ ก็ขออภัยไวลวงหนาครับ แหะ ๆ) มีการดําเนินการบางอยาง ใกล เ คี ย งกั น แต ก ระจายไปตามหน ว ยงานต า ง ๆ เช น ใน เรื่อง Toolkit ในประเทศไทยก็มีแบบเรียนออนไลนสําหรับ การพั ฒ นาองค ก ร เช น ของกรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค า (dbdacademy) สํานักงาน ก.พ. (ocsc.chulaonline.net เกี่ยวกับการพัฒนาราชการและองคกรราชการ) และสํานักงาน ก.พ.ร. (opdcacademy – มีหลักสูตร mini MBA และหลักสูตร เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ พั ฒ นาองค ก ร โดยเฉพาะระบบราชการ) สวนเรื่องคูปองนวัตกรรม ประเทศไทยก็มีโครงการที่เรียกวา “โครงการคูปองนวัตกรรมสําหรับผูป ระกอบการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอม” ดําเนินการโดยสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ โดยปจจุบนั เปนการดําเนินงานในระยะที่ 2 (ป พ.ศ. 2557-2559) ทัง้ นี้ SMEs ทีเ่ ขารวมจะไดรบั เงินสนับสนุนสูงสุดถึง 1,500,000 บาท งวดเบิกจายแบงเปน 2-3 งวด ตามลักษณะและผลการดําเนินงาน3 ส ว นการสนั บ สนุ น การพั ฒ นาองค ก ร การดํ า เนิ น งาน ในประเทศไทยสวนมากจะเปนโครงการที่เขาไปใหคําปรึกษา และปรับปรุงธุรกิจใหกับผูประกอบการโดยตรง สวนภาคธุรกิจ ตองมีสวนรับผิดชอบในคาใชจายหรือไม แลวแตชนิดของ โครงการและลั ก ษณะการของบประมาณของหน ว ยงาน ตนสังกัด (ซึ่งพอนองภูเขาใจวาสวนมากสวนราชการ หรือ สถาบันการศึกษาของรัฐที่เขาไปพัฒนาใหจะออกคาใชจายให 100%) สําหรับเรื่องการหักภาษีการลงทุนในดานนวัตกรรมนั้น ในประเทศไทยสามารถนํามาลดหยอนภาษีไดนอ ยกวาสิงคโปร เล็กนอย คือในประเทศไทย หักลดหยอนไดรอยละ 300 ส ว นมาตรการเกี่ ย วกั บ เงิ น กู  ด อกเบี้ ย ตํ่ า นั้ น สํ า หรั บ ประเทศไทยถือวาไมนอ ยกวาสิงคโปรเลย (แตอาจเปนมาตรการ ชั่วคราว ระยะเวลาไมตอเนื่อง) คือ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 8 กันยายน 25584 มีโครงการสินเชือ่ ดอกเบีย้ ตํา่ เพือ่ เปนเงิน ทุนหมุนเวียนใหแกผูประกอบการ SMEs โดยคิดอัตราดอกเบี้ย รอยละ 4 ตอป ระยะเวลา 7 ป วงเงินรวม 100,000 ลานบาท การปรับปรุงหลักเกณฑและเงื่อนไขการคํ้าประกันสินเชื่อผาน บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) เพื่อชวย เหลือ SMEs ที่ขาดหลักประกัน รวมถึงมาตรการลดอัตราภาษี

SME เงินไดนติ บิ คุ คลสําหรับ SMEs จากเดิมรอยละ 15 และ 20 ของกําไรสุทธิ เหลือรอยละ 10 ของกําไรสุทธิ เปนเวลา 2 รอบ เปนตน และตอมามีมติ ครม. เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2558 เห็นชอบโครงการสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่า ระยะที่ 2 เปนวงเงินอีก 50,000 ลานบาท5 ดังนั้นในเรื่องการสรางความเติบโตใหกับธุรกิจ พอนองภู เห็นวามาตรการในประเทศไทยเราก็ไมนอยกวาของสิงคโปร เทาใดนัก แตขอดอยของเราก็คือแตละมาตรการนั้นดําเนิน การโดยหลายหนวยงาน และในหลายครั้งก็ขาดความตอเนื่อง รวมทั้งการดําเนินการเขาไปพัฒนาก็ไมแนชัดวาผูประกอบการ โดยทั่วไปเขาถึงงายหรือสะดวกเพียงใด เมื่อเทียบกับสิงคโปร ที่มีพื้นที่ใหญแคประมาณจังหวัดภูเก็ตของเรา แตนอกจาก สํานักงานใหญของ SPRING แลว ยังมี SME Centre อีก 5 แหง ทั่วทั้งเกาะ ซึ่งนาจะทําใหเขาถึงงายกวาประเทศไทยพอสมควร แตในยุค IT นี่ทุกอยางเปนไปไดครับ ขอเพียงเรามีระบบการ ประสานงานและระบบการจัดการทีด่ ี เชือ่ วาเราก็สามารถบูรณาการ เอาศักยภาพของหนวยงานตาง ๆ ทัง้ ของภาครัฐ สถาบันการศึกษา (มหาวิทยาลัย และอาชีวศึกษา) สถาบันทางการเงิน และสถาบัน เฉพาะทางตาง ๆ มาเพื่อพัฒนา SMEs และธุรกิจในประเทศ ใหเติบโตไดเชนกัน แตสําหรับเวลานี้ หนากระดาษของพอนองภูหมดลง อี ก แล ว ครั บ พบกั น ใหม ใ นตอนหน า กั บ มาตรการพั ฒ นา กลุม อุตสาหกรรมของ SPRING นะครับ สําหรับตอนนี้ สวัสดีครับ

จัดทําโดย .. พอนองภู (นายจักรพันธ เดนดวงบริพันธ) SMEs ในนิยามของ SPRING Singapore หมายถึง ธุรกิจที่มีการลงทะเบียนและประกอบกิจกรรมในประเทศสิงคโปร โดยมีสัดสวนผูถือหุนในประเทศไมนอยกวารอยละ 30 และมีรายไดตอปไมเกิน 100 ลานเหรียญดอลลารสิงคโปร หรือมีจํานวนแรงงานไมเกิน 200 คน 2 รายละเอียดเกีย่ วกับการดําเนินงานและมาตรการสรางความเติบโตใหธรุ กิจ ดูไดใน http://www.spring.gov.sg/Growing-Business/Pages/growing-business-overview.aspx 3 รายละเอียดคูปองนวัตกรรม ดูไดใน http://coupon.nia.or.th/index.php/what_it/coupon 4 คลอดแลว! 5 มาตรการอุม SMEs ครม. อนุมตั ปิ ลอยกู 1 แสนลานบาท, โดย ผูจ ดั การออนไลน วันที่ 8 กันยายน 2558 แหลงขอมูล http://www.manager.co.th/iBizChannel/ ViewNews.aspx?NewsID=9580000101850 5 ครม.เห็ น ชอบมาตรการอุ  ม SMEs เฟสสอง 5 หมื่ น ล า น จํ า กั ด กู  ไ ม เ กิ น 10 ล า นบาทต อ ราย, โดย ประชาชาติ ธุ ร กิ จ วั น ที่ 22 ธั น วาคม 2558, แหล ง ข อ มู ล http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450786633 1

12


เก็บมาเลา

ภัยยุงลาย ไขเลือดออก ศูนยสารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

"ปอ-ทฤษฎี สหวงษ" พระเอกหนุมดังนิสัยดี เขารักษาใน ปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกใหประสบความสําเร็จ และสํานัก

โรงพยาบาลมานานกวา 2 เดือน และเสียชีวิตเมื่อ 18 มกราคม ระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ไดเฝาระวังโรคไขเลือดออก ทีผ่ า นมาจากโรคไขเลือดออก ซึง่ ทําใหทกุ ภาคสวนทัว่ ประเทศมี ตั้งแตวันที่ 1-11 มกราคม 2559 พบผูปวยโรคไขเลือดออก การตืน่ ตัว เรียนรู รวมทัง้ หาทางปองกันและรักษาโรคไขเลือดออก ทั่วประเทศ 583 คน ไมมีผูเสียชีวิต สวนใหญจะเปนผูปวยใน เพิม่ มากขึน้ ผูเ ขียนจึงขอนําเสนอความรูท เี่ ปนประโยชนเกีย่ วกับ กลุมอายุ 15-24 ป รอยละ 31.39 แสดงใหเห็นวามีการระบาด ในกลุม นักเรียนไปจนถึงวัยทํางาน โดยจังหวัดทีม่ รี ายงานผูป ว ย โรคไขเลือดออก มาใหทานผูอานทราบคะ โรคไขเลือดออก เปนปญหาสาธารณสุขของประเทศไทย สูง 5 อันดับแรก ไดแก นครปฐม ภูเก็ต พิจติ ร ศรีสะเกษ และสงขลา และยังเปนปญหาสาธารณสุขทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศในเขต ตามลําดับ อย า งไรก็ ดี กรมควบคุ ม โรค วิ เ คราะห แ ละพยากรณ รอนชืน้ และกอใหเกิดความกังวลตอผูป กครองเวลาเด็กมีไข และ มักพบบอยในเด็กอายุตาํ่ กวา 15 ป โดยเฉพาะในชวงอายุ 2-8 ป โรคไขเลือดออกของ ป 2559 คาดวา จะมีผปู ว ยโรคไขเลือดออก แตผใู หญกม็ โี อกาสเปนโรคไขเลือดออกไดเชนกัน โดยเฉพาะผูท ี่ ประมาณ 166,000 คน สูงกวาป 2558 ที่ตลอดปพบผูปวย โรคไขเลือดออก 142,925 คน เสียชีวิต 141 ราย โดยจะพบ ตองอาศัยอยูในแหลงที่ชุกชุมไปดวยภัยยุงลายตัวราย ยุงลายบาน (Aedes aegypti) เปนพาหะนําโรคไขเลือดออก ผูป ว ยเฉลีย่ 5,000-7,500 คนตอเดือน และจะพบสูงขึน้ ในฤดูฝน ที่สําคัญ ติดตอกันได โดยยุงตัวเมีย ซึ่งกัดในชวงเวลากลางวัน ชวงเดือน มิถนุ ายน-สิงหาคม อาจมากกวา 25,000 รายตอเดือน และดูดเลือดคนเปนอาหาร จะกัดดูดเลือดผูป ว ย ซึ่ ง ในระยะไข สู ง จะเป น ระยะที่ มี ไวรั ส อยู  ใ น กระแสเลือด เชือ้ ไวรัสจะเขาสูก ระเพาะยุง เขาไป อยูในเซลลที่ผนังกระเพาะ เพิ่มจํานวนมากขึ้น แลวออกมาจากเซลลผนังกระเพาะ เดินทางเขาสู ต อ มนํ้ า ลายพร อ มที่ จ ะเข า สู  ค นที่ ถู ก กั ด ใน ครั้งตอไปซึ่งระยะฟกตัวในยุงนี้ประมาณ 8-12 วัน เมื่อยุงตัวนี้ไปกัดคนอื่นอีก ก็จะปลอยเชื้อ ไวรัสไปยังผูที่ถูกกัดได เมื่อเชื้อเขาสูรางกาย คนและผานระยะฟกตัวนานประมาณ 5-8 วัน (สั้นที่สุด 3 วัน - นานที่สุด 15 วัน) ก็จะทําให ภาพประกอบ : wwwlbo.moph.go.th เกิดอาการของโรคไขเลือดออกได นพ.อํานวย กาจีนะ อธิบดีกรมควบคุมโรค ใหขอมูลวา สถานการณ ไ ข เ ลื อ ดออก นพ.โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใหขอมูลวานายกรัฐมนตรีฝากความ ปจจุบันโรคไขเลือดออกในประเทศไทย และประเทศใกลเคียง หวงใยและสั่งการใหภาคสวนที่เกี่ยวของรวมกันดําเนินงาน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เกิดจากไวรัสเดงกี (Dengue virus)

13


ซึ่งมี 4 สายพันธุ คือ DEN1, DEN2, DEN3 และ DEN4 เชื้อไวรัส เดงกี มีแอนติเจนของกลุม บางชนิดรวมกัน จึงมีความเปนไปไดที่ จะติดเชือ้ ถึง 4 ครัง้ โดยแตละสายพันธุม คี วามรุนแรงไมแตกตาง กันมาก และปจจุบนั ประเทศไทยไมมไี ขเลือดออกสายพันธุใ หม นอกเหนือจาก 4 สายพันธุขางตน อาการของไขเลือดออก ผูปวยที่ไดรับเชื้อไขเลือดออก จะมีอาการไขขึ้นสูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส และไขจะไมลดลง เมื่อกินยาลดไข หรืออาจลดลงชั่วคราวแลวกลับมาสูงอีก โดย หลังจากมีไขสูง 1-2 วัน แลว จะมีผื่นหรือจุดเลือดออกตาม รางกาย จุกแนนทอง อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ กลาม เนื้อ และ ขอ ดังนั้นเมื่อไปพบแพทยหรือเจาหนาที่สาธารณสุข แลวอาการยังไมดีขึ้นภายใน 2 วัน ใหรีบกลับไปพบแพทยเพื่อ รับการตรวจวินิจฉัยอีกครั้ง ชวงที่สําคัญและนับวาเปนชวงที่อันตรายที่สุด เนื่องจาก เสี่ยงตอการเกิดอาการช็อกและความดันโลหิตตํ่า คือ ชวงที่ไข ลด ซึ่งไขมักจะลดลงประมาณวันที่ 3-4 หลังจากเริ่มปวย หาก ผูปวยฟนไข คือ มีอาการสดชื่น รับประทานอาหารได หรือใน เด็กสามารถวิ่งเลนได แสดงวาบุคคลดังกลาวหายปวย ทั้งนี้ โรคไขเลือดออก ไมมียารักษาเฉพาะ การรักษา แบบประคับประคองการเฝาสังเกตอาการจึงมีความสําคัญ โดยเฉพาะในชวงไขลด และขอใหระมัดระวังเปนพิเศษในกลุม เสี่ยง เชน คนอวน ผูที่มีโรคประจําตัว หญิงมีประจําเดือน ผูสูง อายุ หรือเด็กเล็ก ที่สําคัญหากไขสูงอยาซื้อ ยากินเอง เพราะยาบางชนิด แมมฤี ทธิใ์ นการ ลดไข แต ตั ว ยาเองมี ฤ ทธิ์ ทํ า ให เ ลื อ ดออก ไดงาย ยาลดไขที่ใช คือ ยาพาราเซตามอล เทานั้น นพ.อํ า นวย ให ข  อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ว า กรมควบคุมโรคกําหนดใหโรคไขเลือดออก เปนโรคที่เรงรัดรณรงคตอเนื่องตลอดทั้งป เพื่ อ ลดจํ า นวนผู  ป  ว ยและผู  เ สี ย ชี วิ ต ให มากที่สุด การลดจํานวนตัวยุงลาย ซึ่งเปน

พาหะนําโรคจึงเปนมาตรการสําคัญในการควบคุมปองกันโรค โดยแนะนําใหประชาชนใชมาตรการ 3 เก็บไดแก 1. เก็บบาน ใหสะอาดเรียบรอย ปลอดโปรง ไมใหมีมุมอับทึบเปนที่เกาะ พักของยุง 2. เก็บขยะ เศษภาชนะ รอบ ๆ บาน ทั้งใบไม กลองโฟม จานรองกระถางตนไม ตองเก็บกวาด ฝง เผา หรือทําลาย 3. เก็บนํ้า ตองปดฝาใหมิดชิดปองกันยุงลาย วางไข โดยวิธีการ 3 เก็บนี้สามารถดําเนินการไปพรอม ๆ การกําจัดแหลงเพาะพันธุลูกนํ้ายุงอยางสมํ่าเสมออยางนอย 1 ครั้งตอสัปดาห รวมทั้งปองกันตนเองไมใหยุงกัด เพื่อไมให เสี่ยงตอการติดเชื้อไขเลือดออก เมื่อเราเรียนรู และเขาใจถึงโรคไขเลือดออกแลว โอกาสนี้ ผูเขียนขอเชิญใหความรวมมือในการปองกันควบคุมโรคโดยใช มาตรการดังกลาวของกรมควบคุมโรค ซึง่ ตองไดรบั ความรวมมือ จากการทํางานรวมกันทุกภาคสวนไมวา จะเปนองคกรปกครอง สวนทองถิ่น ผูประกอบการอุตสาหกรรม ผูนําในชุมชน แพทย ครู นักเรียนและประชาชนทั่วไป เพื่อใหประเทศไทยของเรา ปลอดโรคไขเลือดออกคะ หากทานมีขอสงสัยเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกและการใช มาตรการดังกลาว สามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่สาย ดวนกรมควบคุมโรค โทร 1422 ตลอด 24 ชั่วโมง จัดทําโดย

นางสาวสมพิศ นาคสุข ผูอํานวยการสวนดัชนีอุตสาหกรรมและการวิเคราะห

ขอบคุณแหลงขอมูล

1. พญ.สุภาวดี เจียรกุล. หนังสือ พอกับสุขภาพ อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ เรือเอกระดม เจียรกุล 24 พฤศจิกายน 2544 2. สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. www.thaivbd.org 3. สุภชาติ เล็บนาค.หนังสือพิมพโพสตทเู ดย. www.posttoday.com 28 พฤศจิกายน 2558 หัวขอขาว นพ.อํานวย กาจีนะ ตัง้ ทีมรวม กทม.ระวังไขเลือดออก 4. สํานักสารนิเทศ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. 19 มกราคม 2559 pr.moph.go.th 5. ขาวหนังสือพิมพไทยโพสต. 20 มกราคม 2559 หัวขอขาว บทเรียน 'ปอ-ทฤษฎี' ตื่นตัว' ไขเลือดออก'

14


Movement นายศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พรอมผูบริหาร สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม ร ว มแถลงข า ว ดั ช นี อุ ต สาหกรรม (MPI) เดือนมกราคม 2559 เมื่อวันจันทรที่ 29 กุมภาพันธ 2559 ณ สศอ.

นายอาทิ ต ย วุ ฒิ ค ะโร ปลั ด กระทรวง อุตสาหกรรม เปนประธานการประชุม คณะอนุ ก รรมการเร ง รั ด นโยบายเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ คลัสเตอรเกษตร แปรรู ป โดยมี น ายสุ ร พล ชามาตย รองผู  อํ า นวยการสํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรม และผูอํานวยการสถาบัน อาหาร เปนอนุกรรมการและเลขานุการ รวม เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ 2559 ณ สศอ.

นายศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนประธาน เสวนา Afternoon Talk “ประเทศหุนสวนเชิงกลยุทธสําคัญของประเทศไทย ในการกาวขามกับดักรายไดปานกลาง” เมือ่ วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ 2559 ณ สศอ.

นายวีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอ าํ นวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปน ประธานการประชุ ม ระบบป า ยข อ มู ล รถยนตตามมาตรฐานสากล (Eco Sticker) ร ว มกั บ หน ว ยงาน ที่เกี่ยวของ เมื่อวันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ 2559 ณ สศอ. สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รวมกับบริษัท ศศินทร แมเนจเมนท คอนซัลติ้ง จั ด สั ม มนาเผยแพร ผ ลการศึ ก ษาการจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม อนาคตไทย วิสัยทัศนใหมสู AEC (ระยะที่ 2) เมื่อวันศุกรที่ 19 กุมภาพันธ 2559 ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ

15


แนะนํา รายงานการศึกษาและวิจัยดานอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการเพิ่มขีดความสามารถภาค อุตสาหกรรมภายใตนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศของไทย (ระยะที่ 6)

โครงการศึ ก ษายุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นา อุตสาหกรรมเชิงเปรียบเทียบ : กรณีศกึ ษาประเทศไทย เกาหลีใต อินเดีย จีน

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการศึกษา การเตรียมความพรอมของภาคอุตสาหกรรม สําหรับการจัดทําเขตการคาเสรีเอเปค (FTAAP) ผานขอตกลง TPP

โครงการศึกษากลยุทธการสรางความเชื่อมโยงดานเครือขาย การผลิตระหวางไทยกับอินเดียเพื่อรองรับการเชื่อมโยงในภูมิภาค

นอกจากที่แนะนํามาดานบนแลว หองสมุดสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ยังมีรายงานการศึกษาและวิจยั ดานอุตสาหกรรมในรายสาขาอืน่ ๆ ใหบริการอีกมากมาย ทานสามารถใชบริการไดที่ หองสมุดสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ชั้น 2 อาคารสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม โทร 0 2202 4349 หรือที่ Website : http://intra.oie.go.th/elibrary/

16

75/6 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2202 4274, 0 2202 4284 โทรสาร 0 2644 7136 www.oie.go.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.