Oie share ปีที่ 5 ฉบับที่ 50 เดือนพฤษภาคม 2559

Page 1

1


Co n t e n t s

ประจํ า เดื อ นพฤษภาคม 2559

Econ Focus

การขยายขอบเขตความตกลงสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใตความตกลงองคการการคาโลก Information Technology Agreement (ITA) Expansion Under WTO

Econ Review

สรุปสถานการณการผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือนมีนาคม และไตรมาสปที่ 1

Sharing เก็บมาเลา

SPRING, Standards and Summary Easy Life by Easy Card

Movement

Editor’s Note สวัสดีคุณผูอาน OIE SHARE มาถึงฉบับเดือนพฤษภาคม อากาศก็ยังรอนอยู

ทั่วทุกจังหวัด ไหนจะเจอพายุเขาบางพื้นที่ ทางบรรณาธิการขอเปนกําลังใจให คุณผูอานทุกทานนะคะ ในฉบับนี้กองบรรณาธิการพรอมเสิรฟบทความดี ๆ ให คุณผูอานเชนเคย โดยเริ่มจาก Econ Focus พบกับหัวขอ การขยายขอบเขต ความตกลงสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศภายใตความตกลงองคการการคาโลก สวนสถานการณการผลิตอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม 2559 และไตรมาสที่ 1 ป 2559 จะเปนอยางไรพลิกเขาไปดูไดเลยคะ และในคอลัมน Sharing พอนองภู อัพเดตขาวสารมาถึงตอนที่ 5 กับหัวขอ SPRING, Standards and Summary สุดทายพลาดไมไดกับคอลัมน เก็บมาเลา Easy life by Easy Card ฉบับนี้ เรายังเปดรับความคิดเห็นของทุกทานทุกชองทาง ขอบคุณคุณผูอานที่ติดตาม OIE SHARE มาโดยตลอด พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ

3 6 8 12 15

ที่ปรึกษา ศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สุรพล ชามาตย รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม วีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม บรรณาธิการบริหาร สันธนา หิริศักดิ์สกุล ผูอํานวยการสํานักบริหารกลาง กองบรรณาธิการ ศุภิดา เสมมีสุข, นาฏนดา จันทรสุข, ชาลี ขันศิร,ิ สมพิศ นาคสุข, ปญชาน ศรีสงั ข, เจษฎา อุดมกิจมงคล, ประวีรา โพธิสวุ รรณ, กฤษฎา นุรักษ, จักรพันธ เดนดวงบริพันธ, บุญอนันต เศวตสิทธิ์, รัชวิน บุตตะวงษ, สุดาพร รักษาชาติ, อภิฤดี บางรัด

OIE SHARE ยิ น ดี รั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น คํ า ชี้ แ นะ และข า วประชาสั ม พั น ธ ต  า ง ๆ ติ ด ต อ ได ที่ กองบรรณาธิ ก าร OIE SHARE

กลุ  ม ประชาสั ม พั น ธ แ ละบริ ก ารห อ งสมุ ด สํ า นั ก บริ ห ารกลาง สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ  ง พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 อีเมล : oieshare@oie.go.th ขอความที่ปรากฏใน OIE SHARE เปนทัศนะของผูเขียน

2


F

ECON

CUS

การขยายขอบเขตความตกลง สินคาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใตความตกลงองคการการคาโลก

Information Technology Agreement (ITA) ExpansionunderWTO

วามตกลงการคาสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Agreement: ITA) เปนความตกลง ภายใตกรอบองคการการคาโลก (WTO) ทีเ่ กิดขึน้ ในระหวาง การประชุมระดับรัฐมนตรีองคการการคาโลกที่สิงคโปรเมื่อป 2539 โดยสมาชิก WTO จํานวน 29 ประเทศเห็นชอบรวมกัน ทีจ่ ะลด/ยกเลิกภาษีสนิ คาเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ภายใน ป 2000 (พ.ศ. 2543) รวมถึงยกเลิกคาธรรมเนียมพิเศษและ มาตรการทีไ่ มใชภาษีอนื่ ๆ โดยประเทศทีเ่ ขารวมความตกลงฯ ตองลด/ยกเวนภาษีใหทุกประเทศที่เปนสมาชิก WTO ดวย หรือกลาวไดวาประเทศสมาชิก WTO ที่ไมรวมลงนามใน ความตกลงจะไดรับสิทธิการลด/ยกเวนภาษีจากประเทศ สมาชิก WTO ที่ลงนามในความตกลงฯ เชนกัน โดยการ ลดภาษีสินคา IT ของไทยและสมาชิก WTO ที่รวมความ ตกลงฯ ในระยะแรก คือ ป 2543 มีจํานวน 190 รายการ (พิกัดศุลกากรระดับ 6 หลัก) สินคาที่ไทยและสมาชิกยกเวน ภาษีนําเขา ไดแก สินคาที่เกี่ยวของกับการเก็บวิเคราะห ขอมูลและประมวลผลสารสนเทศ เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องคํานวณ อุปกรณสื่อสารโทรคมนาคม สื่อบันทึกขอมูล และโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน

สํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ

3


ในป 2540 ประเทศสมาชิ ก WTO ส ว นหนึ่ ง ได มี ความพยายามผลั ก ดั น ให มี ก ารการเจรจา ITA ฉบั บ ที่ 2 แตการเจรจาไมประสบผลสําเร็จ ตอมาในป 2551 สหภาพ ยุโรปไดเสนอการทบทวนความตกลง ITA โดยมีขอ เสนอทีส่ าํ คัญ คือ การขยายรายการสินคาภายใตความตกลงฯ ใหครอบคลุม สินคาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม IT อันเนื่องจาก การเจรจาเปดตลาดของ WTO ภายใตรอบโดฮามีแนวโนมทีจ่ ะ ชะงักงันไปอีกระยะหนึ่ง หลายประเทศจึงหันมาใหความสนใจ เรือ่ งการขยายขอบเขตความตกลง ITA (ITA Expansion) มากขึน้ เชน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญีป่ น ุ รวมถึงประเทศในกลุม อาเซียน บางประเทศ ไดแก สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลปิ ปนส

4

โดยที่การขยายขอบเขตสินคา IT เปนเรื่องใหมความ ทาทายของไทยในการหาขอสรุปของสินคาที่จะลด/ยกเลิก ภาษีกับสมาชิกอื่นในขณะนั้น คือ ผลประโยชนของผูบริโภค ในประเทศในการเขาถึงสินคา IT ในราคาตํ่าเพื่อรองรับสังคม ขอมูลขาวสารภายใตกระแสโลกาภิวฒ ั นทเี่ กิดขึน้ ในชวงเวลานัน้ รวมทั้ ง การเพิ่ ม ความสามารถในการแข ง ขั น ให สิ น ค า IT จากประเทศไทย อยางไรก็ดี จากความไมชัดเจนของขอบเขต นิยามของสินคา IT และการตองหาขอสรุปรายการสินคา รวมกันกับประเทศสมาชิกทัง้ หมด (Common List) ถือเปนสวน หนึ่งของความทาทายที่สําคัญในการกาวพาประเทศไทยไปสู ผลสําเร็จของความตกลง ITA Expansion ประเทศไทยได เข า ร ว มการเจรจา ITA Expansion อยางเต็มรูปแบบในชวงป 2556 โดยใชเวลาเจรจาเพื่อใหได ขอยุติสินคาและปที่จะลด/ยกเลิกภาษีรวมทั้งสิ้นประมาณ 2 ป ในชวงระหวางการเจรจาของไทยกับสมาชิก WTO สํานักงาน เศรษฐกิ จ อุ ต สากรรมร ว มกั บ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง เช น สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กรมศุ ล กากร ทํ า การคั ด เลื อ กสิ น ค า ของไทยที่ จ ะร ว มลด/ ยกเลิกภาษีภายใต ITA Expansion ซึ่งในการกําหนดขอบเขต รายการสินคา สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหความสําคัญ กับการเปนผลิตภัณฑ/สินคาเทคโนโลยีสารสนเทศหรือการ เปนวัตถุดิบในการผลิต เพื่อใหสอดคลองกับความตกลงฯ และ ไมใหมกี ารใชความตกลง ITA Expansion ในประโยชนของแตละ


ประเทศในดานอืน่ ๆ อันเปนผลจากภาวะการแขงขันของผูผ ลิต ในสินคาตาง ๆ ที่รุนแรง รวมทั้งการดําเนินตามนโยบายของ รัฐบาลที่สนับสนุนเศรษฐกิจดิจิตัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ มูลคาเพิ่มใหผลผลิตของประเทศ โดยประโยชนที่สําคัญของ ITA Expansion นี้ ไดแก การลดตนทุนในการผลิตสินคา จากการนํ า เข า สิ น ค า จํ า เป น เพื่ อ ผลิ ต และส ง ออก เช น แผงวงจรไฟฟา เครื่องจักรและสวนประกอบที่ใชสําหรับผลิต แผงวงจรไฟฟา เซมิคอนดัคเตอร สวนประกอบและอุปกรณ ของเครื่องพิมพ ทีส่ ดุ แลวไทยและสมาชิก ITA Expansion มีขอ ยุตโิ ดยสรุป ที่จะลด/ยกเลิกภาษีสินคาจํานวน 201 รายการ (พิกัดศุลกากร ระดับ 6 หลัก) (หรือจํานวน 424 รายการพิกัดศุลกากรระดับ 8 หลัก) โดยที่สินคาเกือบทั้งหมดจะยกเวนภาษีในป 2562 โดยเริ่มลดภาษีครั้งแรกในวันที่ 1 กรกฎาคม 2559 อยางไรก็ดี สินคาบางกลุมของไทยจะใชเวลายกเลิกภาษี หลังป 2562 เชน สินคาประเภทแปน/แผงคอนโซลสําหรับ ติดตั้งอุปกรณไฟฟา ตัวเหนี่ยวนําคาคงที่แบบชิพ ชุดประกอบ แผงวงจรพิมพสําหรับบันทึกเครื่องเสียง ซึ่งจะยกเลิกภาษี ในป 2564 สินคาประเภทเครื่องผกผัน (สวนประกอบที่ใชใน เครื่องปรับอากาศ) เครื่องกลับกระแสไฟฟา ที่จะยกเลิกภาษี ในป 2566 เนื่องจากการสอดรับกับนโยบายของสํานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรมในการสงเสริมการผลิตสินคาเทคโนโลยี บางประเภท การคํานึงถึงขีดความสามารถในการแขงขันของ SMES รวมทั้งการสงออกสินคาไทยไปขายยังตลาดโลก

ITA 1 (พศ. 2543) ไทยยกเวนภาษีนําเขาสินคา IT ประเทศสมาชิก ITA ยกเวนภาษีนําเขาสินคา IT ใหไทย 190 รายการ (พิกัดศุลกากร 6 หลัก) เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องคํานวณ อุปกรณสื่อสารโทรคมนาคม สื่อบันทึกขอมูล และโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน

ITA Expansion (พศ. 2559) ไทยยกเวนภาษีนําเขาสินคา IT (เพิ่มเติม) ประเทศสมาชิก ITA ยกเวนภาษีนําเขาสินคา IT (เพิ่มเติม) ใหไทยรวม 201 รายการ เชน แผงวงจรไฟฟา เครื่องจักรและสวนประกอบที่ใชสําหรับผลิต แผงวงจรไฟฟา เซมิคอนดัคเตอร สวนประกอบและอุปกรณ ของเครื่องพิมพ เปนตน

การเขารวมลด/ยกเวนภาษีของไทยในครั้งนี้จะชวยเสริม สรางความมั่นใจใหนักลงทุนตางชาติในการลงทุนอุตสาหกรรม IT ในไทยและสงผลใหประเทศไทยสามารถอยูใ น Global supply chain อันเนื่องจากการนําเขาตนทุนในการผลิตสินคา IT รวมถึงสินคาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสบางประเภทที่ลดตํ่าลง เชน เครื่องจักรหรือสวนประกอบในการผลิต ซึ่งจะชวยเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันใหสินคาไทยในตลาดโลกโดย เฉพาะอยางยิ่งการที่ไทยเปนเครือขายหรือผูผลิตสินคา IT ที่สําคัญของโลก ทั้งนี้ ผูประกอบการหรือผูสนใจสามารถ สอบถามรายละเอียดรายการสินคาที่จะไดรับการยกเวนภาษี ขาเขา รวมทั้งการสงออกไปยังประเทศตาง ๆ เพิ่มเติมไดที่ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดย นางนิอร สุขุม นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ รักษาการผูเชี่ยวชาญดานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมระหวางประเทศ

5


ECON

REVIEW

สรุปสถานการณ

การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม และไตรมาสที่ 1 ป 2559

สํานักวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สถานการณการผลิตของอุตสาหกรรมในเดือนมีนาคม 2559 กลับมาขยายตัวรอยละ 1.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปกอน เปนผลจากการผลิตที่เพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรม การผลิตเพื่อสงออกเปนหลัก ซึ่งเปนไปตามคําสั่งซื้อจาก ต า งประเทศที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ประกอบกั บ การเร ง ผลิ ต ก อ นการ ปดทําการในวันหยุดยาวตามเทศกาล สําหรับอัตราการ ใชกาํ ลังการผลิตอยูท รี่ อ ยละ 72.5 โดยในไตรมาสที่ 1 ป 2559 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัวรอยละ 1.1 เมือ่ เทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน เปนผลจากความตองการภายใน ประเทศที่ชะลอลง และการฟนตัวอยางคอยเปนคอยไป ของเศรษฐกิจโลก สถานการณการผลิตเครื่องใชไฟฟาภายในบานดัชนี ผลผลิตขยายตัวรอยละ 8.1 เนื่องจากมีความตองการสินคา เพิ่มขึ้นในหลายกลุมสินคา เชน ตูเย็น พัดลม กระติกนํ้ารอน จากการทําตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ ประกอบกับ สภาพอากาศที่เริ่มรอนขึ้น สงผลใหในไตรมาสที่ 1 ดัชนีผลผลิต ขยายตัวรอยละ 3.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน สําหรับอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรับอากาศดัชนีผลผลิต ขยายตัวรอยละ 12.5 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอ น และ ในไตรมาสที่ 1 ดัชนีผลผลิตขยายตัวรอยละ 12.1 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอ น เนือ่ งจากสภาพอากาศทีร่ อ นกวาปกอ น ในหลายภูมิภาค สําหรับอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ผลผลิตขยายตัวรอยละ 4.9 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอ น เนื่องจากมีคําสั่งซื้อเพิ่มขึ้นในเดือนมีนาคม แตอยางไรก็ตาม ดัชนีผลผลิตในไตรมาสที่ 1 หดตัวรอยละ 2.9 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจากความตองการในตลาดโลก ยังมีแนวโนมชะลอตัว เปนไปตามการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก การผลิตอุตสาหกรรมรถยนตดัชนีผลผลิตขยายตัว รอยละ 5.0 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจาก ความต อ งการภายในประเทศเพิ่ ม ขึ้ น โดยเฉพาะรถป  ก อั พ ที่ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นรุ  น ใหม อ อกสู  ต ลาด สํ า หรั บ การผลิ ต

6

ในไตรมาสที่ 1 นี้ดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 5.1 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจากกําลังซื้อภายในประเทศ ชะลอตัวตามรายไดเกษตรกรที่ลดลง อยางไรก็ตามการผลิตในอุตสาหกรรมสําคัญไดแก อุตสาหกรรมการผลิต Hard Disk Drive เหล็ก เสื้อผาสําเร็จรูป และสิง่ ทอตนนํา้ ดัชนีผลผลิตในเดือนมีนาคม 2559 ยังคงหดตัว เนือ่ งจากความตองการทัง้ ภายในประเทศและตางประเทศลดลง อุตสาหกรรมการผลิต Hard Disk Drive ดัชนีผลผลิต หดตัวลงรอยละ 23.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน และไตรมาสที่ 1 ดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 18.4 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจากความตองการสินคาที่ใชใน กลุม คอมพิวเตอรสว นบุคคลลดลงตามเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง อุตสาหกรรมการผลิตเหล็กดัชนีผลผลิตหดตัวรอย ละ 4.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากการนํา เขาเหล็กสําเร็จรูปราคาถูกจากประเทศจีน ซึ่งเปนผลจากกําลัง การผลิ ต สู ง ของประเทศจี น ที่ ทํ า ให สิ น ค า ล น ตลาดจึ ง ต อ ง ระบายสตอคอยางตอเนือ่ งนับตัง้ แตปก อ น สงผลใหดชั นีผลผลิต ในไตรมาสที่ 1 หดตัวรอยละ 9.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน การผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 29.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน และไตรมาสที่ 1 ดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 25.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอ น จากคําสัง่ ซือ้ ทัง้ จากภายในประเทศและตางประเทศลดลง ประกอบกับการยายฐานการผลิตไปยังประเทศเวียดนามซึ่งได รับการยกเวนสิทธิประโยชนทางภาษีจากสหภาพยุโรป และ สหรัฐอเมริกา สําหรับการผลิตสิ่งทอตนนํ้าดัชนีผลผลิตหดตัว รอยละ 10.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจาก ความตองการสิ่งทอเพื่อผลิตเครื่องนุงหมในประเทศลดลง ประกอบกั บ เริ่ ม มี ก ารตั้ ง โรงงานสิ่ ง ทอต น นํ้ า ในประเทศ เพื่อนบาน อยาง ประเทศเวียดนาม และเมียนมาร สงผลให ในไตรมาสที่ 1 ดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 9.8 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน


อัตราการใชกําลังการผลิตในเดือนมีนาคม 2559 อยูที่ระดับรอยละ 72.5

7


SPRING,

Standards and Summary สวัสดีเดือนพฤษภาคมครับ ปนี้หลายทานคงไดหยุดกัน

หลายรอบตั้งแตหยุดวันแรงงาน วันฉัตรมงคลและวันหยุด เพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรี รวมถึงวันวิสาขบูชา สําหรับ พอนองภูแมจะอดไดหยุดในวันแรงงาน แตก็ไดสิทธิ์หยุดใน วันที่เหลือ ก็ถือวาไดชารจพลังเพิ่มเติม และพรอมจะกลับมา ลุยงานเพื่อประชาชนและหาองคความรูมาฝากมิตรรักแฟน OIE Share อีกครัง้ ครับ สําหรับตอนนี้ ถือเปนตอนที่ 5 และตอนจบ เกี่ยวกับเรื่องของ SPRING Singapore ซึ่งจะนําเสนอบทบาท ในการสรางความเชือ่ มัน่ ใหแกอตุ สาหกรรมและผูบ ริโภคภายใน ประเทศ ของ SPRING รวมทั้งเปนบทสรุปสงทายวา SPRING กับประเทศไทยมีการดําเนินการที่คลายคลึงหรือแตกตางกัน อยางไร ทั้งนี้สําหรับทานผูอานที่เพิ่งอานเปนครั้งแรก สามารถ ยอนกลับไปอานในตอนเกา ๆ ไดตามลําดับครับ ในเรื่องการสรางความเชื่อมั่นใหแกอุตสาหกรรมและ ผูบริโภคภายในประเทศ SPRING ในฐานะที่เปนหนวยงาน หลั ก ในด า นมาตรฐานของประเทศสิ ง คโปร ได มี บ ทบาท ทีเ่ กีย่ วของ 4 ดาน1 เริม่ ตัง้ แต 1) การกําหนดมาตรฐาน โดยเปน ฝายเลขานุการรวมของสภาการมาตรฐานแหงประเทศสิงคโปร (Singapore Standards Council) ดําเนินการรวมกับหนวยงาน ดานมาตรฐานอื่น ๆ ในการสรางบรรยากาศเพื่อใหไดขอสรุป ในแตละมาตรฐานที่เปนฉันทามติจากทุกภาคสวน 2) การ รับรองระบบงาน จะดําเนินการผานสภาการรับรองระบบ แหงประเทศสิงคโปร (Singapore Accreditation Council) โดยจะเป น ผู  ใ ห ก ารรั บ รองทั้ ง ห อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบและ สอบเทีย บ (Testing and Calibration Laboratories)

8

สํานักขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพของประเทศ

หน ว ยตรวจสอบและหน ว ยรั บ รอง (Inspection and Certification Bodies) เพื่อใหธุรกิจเกิดความมั่นใจวาไดรับ บริการและผลิตภัณฑที่เชื่อมั่นไดตามระบบมาตรฐานสากล และไมตองมีคาใชจายในการตรวจสอบหรือทดสอบซํ้าอีก 3) การคุมครองผูบริโภค โดยสินคาควบคุมทุกรายการกอนที่ จะวางขายในประเทศสิงคโปรไดตองไดรับการรับรองผานการ ติดตราสินคาปลอดภัย (Safety Mark) จาก SPRING กอน2 รวมถึ ง อุ ป กรณ ก ารชั่ ง ตวงวั ด สํ า หรั บ การค า ก็ ต  อ งได รั บ การรับรองติดฉลากถูกตอง (Accuracy Label) กอนเชนกัน3 และเรือ่ งสุดทาย คือ 4) การสรางความเปนเลิศใหแกธรุ กิจ โดยไดจัดทํากรอบแนวทางการเปนธุรกิจชั้นเลิศ (Business Excellence Framework: BE) ซึ่งเปนแนวทางการปฏิบัติ ทีเ่ ปนเลิศระดับสากล ประกอบดวย 7 หัวขอ ไดแก การเปนผูน าํ , ผูรับบริการ, กลยุทธ, บุคลากร, กระบวนการ, องคความรู และผลลัพธ (ทานผูอานบางทานคงคุน ๆ วามันคลายกับ Baldrige Excellence Framework ซึง่ เปนทีม่ าสําหรับการให รางวัลคุณภาพระดับประเทศในประเทศตาง ๆ เชน Malcolm Baldrige National Quality Award ในสหรัฐอเมริกา หรือ Deming Prize ของประเทศญี่ปุน และอีกหลาย ๆ ประเทศทั่ว โลก รวมทั้ง Thailand Quality Award ของไทยดวย) ทั้งนี้ นอกจากกรอบ Business Excellence ที่ใชเปนการทั่วไป กับทุกธุรกิจแลว SPRING ยังไดพัฒนามาตรฐาน Business Excellence สําหรับเรื่องบุคคล นวัตกรรม และการบริการ เปนการเฉพาะอีกดวย


ซึ่งเปนที่นาสนใจกับขอคนพบของ SPRING ที่วาระหวางป พ.ศ. 2551 ถึง 2555 บริษัทที่ไดมาตรฐาน BE จะมีกําไร เฉลี่ยตอปสูงถึงรอยละ 14.1 ขณะที่บริษัทอื่น ๆ ทั่วไปในธุรกิจเดียวกันจะมีกําไรเฉลี่ยตอปประมาณรอยละ 6.9 รวมทั้งมี ความพึงพอใจของลูกคาที่มากกวา และมีอัตราการลาออกของพนักงานที่นอยกวาดวย ทั้งนี้ในเรื่องการใหรางวัลนั้น บริษัท ที่มี BE มากกวาหรือเทากับ 400 คะแนน จะไดรางวัล Singapore Quality Class หรือถาไดมากกวา 700 คะแนนขึ้นไป จะไดรางวัล Singapore Quality Award (SQA) ตามลําดับ ถึงบรรทัดนี้แลว ทานผูอานที่ไดอานเกี่ยวกับ SPRING Singapore มาครบ 5 ตอน คงจะพอนึกภาพภารกิจหนาที่และ มาตรการตาง ๆ ที่ SPRING ใชสนับสนุนผูป ระกอบการภายในประเทศ รวมถึงการสรางความเชือ่ มัน่ ใหเกิดขึน้ กับทัง้ สินคาและ บริการของประเทศสิงคโปรกันไดแลว ทั้งนี้พอนองภูขอสรุปเปรียบเทียบกับประเทศไทย (เทาที่พอรูหรือเขาใจ) ดังนี้ครับ ดาน 1. Start-Ups

2. SMEs

ภารกิจ / มาตรการ4

การดําเนินงานของไทย / หนวยงาน

การใหเงินสนับสนุน (ACE Startups Grant)

ของไทยเนนการบมเพาะการใหความรูในการ ประกอบธุรกิจการชวยเหลือทางภาษี และการ การรวมลงทุน (SPRING SEEDS, BAS, SSA) สนับสนุนดอกเบี้ยเงินกูใหกับธุรกิจ โดยหนวย งานของภาครัฐโดยตรง เชน จากสํานักงาน การใหเงินทุนสําหรับพัฒนาเทคโนโลยีเขาสูตลาด สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (TECS) (สสว.) กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค า (พค.) การใหเงินสนับสนุนแกหนวยงานบมเพาะ หรือหนวย กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ฯลฯ ส ว นเรื่ อ งการร ว มทุ น มี ก ารดํ า เนิ น งานผ า น งานตัวเรง (IDP) SMEs Bank (โดย Start-Ups รวมทุนไมเกิน 5 การลดหยอนภาษีแกนักลงทุนในกิจการ Start-Ups ลานบาท SMEs ทั่วไป รวมทุนไมเกิน 30 ลาน (AITD) บาท สัดสวนรวมทุนรอยละ 25-49)5 การใหเงินสนับสนุนแกโรงเรียนทีส่ รางจิตวิญญาณนัก ประกอบการ (YES! Schools) แบบเรียนออนไลนกลาง (Toolkits)

มีการดําเนินงานในหลายหนวยงาน เชน พค. สํานักงาน ก.พ. สํานักงาน ก.พ.ร. เปนตน

คูปองนวัตกรรมและยกระดับความสามารถ (ICV)

มีการดําเนินการคูปองนวัตกรรม โดยสํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติ (สวนคูปองเพิ่มผลิตภาพ พอนองภูไดยินแวว ๆ วาอยูระหวางการหารือ กันโดยหนวยงานที่เกี่ยวของ) เงินสนับสนุนสําหรับการพัฒนาความสามารถ (CDG) มักริเริ่มจากหนวยงานภาครัฐเอง (เชนจาก สสว., พค., กสอ. ฯลฯ) การลดหยอนภาษีแกกิจการที่ลงทุนในนวัตกรรม/ ของประเทศไทยลดหยอนได 300% ในการ เพิ่มผลิตภาพ (PIC) (400%) ลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม แตยังไมรวมถึงการเพิ่มผลิตภาพ การสนับสนุนดอกเบี้ยเงินกู (LIS/LIS+) มีการสนับสนุนเงินกูดอกเบี้ยตํ่าผานธนาคาร ออมสินสูธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงิน ที่เขารวมโครงการ ตามมติ ครม. 8 ก.ย. 2558 การสนับสนุนเงินกูดอกเบี้ยตํ่า (LEFS, MLP) และ 22 ธ.ค. 2558

9


ดาน 3. Industries

ภารกิจ / มาตรการ4

การดําเนินงานของไทย / หนวยงาน

ใหเงินสนับสนุนคาใชจา ยการยกระดับความสามารถ มักเปนไปในรูปแบบของการหารือระหวางภาค ผานสมาคม สภาหรือหอการคา (LEAD) รัฐกับสมาคม สภาหรือหอการคาที่เกี่ยวของ แลวนําความคิดทีไ่ ดมาจัดทําเปนโครงการของ ใหเงินสนับสนุนผานกลุมธุรกิจที่รวมตัวกันพัฒนา ภาครัฐ เพื่อดําเนินการสงเสริม/สนับสนุนใน นวัตกรรม/ผลิตภาพ (CIP) ประเด็นที่เกี่ยวของ ใหเงินสนับสนุนผานกลุมธุรกิจที่รวมตัวกันยกระดับ การใหบริการ (CCI) ให เ งิ น สนั บ สนุ น ให ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ ถ  า ยทอด เทคโนโลยี/ยกระดับความสามารถธุรกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (PACT)

4. Standards

การกําหนดมาตรฐาน

เปนการดําเนินงานของสํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.)

การรับรองระบบงาน การตรวจสอบสินคาควบคุม/เครือ่ งวัดใหไดมาตรฐาน สมอ. เปนผูตรวจสอบสินคาตามมาตรฐาน บังคับ สวนเรือ่ งเครือ่ งชัง่ ตวงวัดดําเนินการโดย กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชยซึ่งเปน ผูใหคํารับรองในการดําเนินการแกภาคเอกชน การใหรางวัล Singapore Quality Award ดํ า เนิ น การโดยสํ า นั ก งานรางวั ล คุ ณ ภาพ แหงชาติ ภายใตสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ โดยสรุปแลว จะเห็นวา SPRING เปนหนวย งานที่ดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องมาตรฐาน ผลิตภาพ และนวั ต กรรมไว ค  อ นข า งจะครอบคลุ ม ครบถ ว น ทั้ ง ในสาขาที่ เ ป น การผลิ ต และสาขาที่ เ ป น บริ ก าร ตั้งแตเริ่มตนธุรกิจ จนถึงขั้นเปนองคกรที่เปนเลิศ โดยดึงเอากําลังจากทุกภาคสวน (ทั้งนักลงทุนใน และตางประเทศที่มีประสบการณและความรูความ สามารถ ธุรกิจที่เกี่ยวของกับการบมเพาะ สถาบัน การเงิน สถาบันการศึกษา สมาคมและหอการคา ฯลฯ) มาใชใหเกิดประโยชน ในขณะทีป่ ระเทศไทยเอง แมโดยเนื้องานแลวจะมีมาตรการและการดําเนิน งานในหลาย ๆ ด า น ใกล เ คี ย งกั บ SPRING แตยงั เปนการดําเนินงานทีเ่ กิดจากตางหนวยงาน และ ตางกระทรวงกัน

10


อยางไรก็ตามพอนองภูหวังวาการริเริ่มของ กระทรวงอุตสาหกรรม ที่แตงตั้งคณะทํางาน ชี้นํายุทธศาสตรขับเคลื่อนการเพิ่มผลิตภาพ นวัตกรรม และมาตรฐานภาคอุตสาหกรรม ที่ ป ระกอบด ว ยรั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวง อุตสาหกรรมเปนประธาน และมีคณะทํางาน จากภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการทีเ่ กีย่ วของ จะสามารถบูรณาการเอาศักยภาพที่มีทั้งใน กระทรวงอุตสาหกรรมเอง และนอกกระทรวง อุตสาหกรรมมาใชไดเพิ่มขึ้น เพื่อยกระดับขีด ความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย โดยเฉพาะในดานมาตรฐาน ผลิตภาพ และนวัตกรรม ใหสามารถแขงขันไดในระยะยาวตอไป แตทั้งนี้ทั้งนั้นในระยะยาว คงตอง มีการปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุงโครงสรางของบางหนวยงานเพื่อรองรับทิศทางการทํางานที่นับวันจะยิ่งซับซอน ยุงยาก และลงลึก ขึน้ ทุกที ซึง่ หวังวาในอนาคตสิง่ นีจ้ ะไดรบั ความสําคัญและไดรบั การสนับสนุน ทัง้ งบประมาณและบุคลากร และเชนเคย ณ จุด ๆ นี้ ... สวัสดี แลวพบกันใหมเมื่อ OIE Share ตองการ (บทความอีก) นะครับ จัดทําโดย .. พอนองภู (นายจักรพันธ เดนดวงบริพันธ) สินคาควบคุม เชน เครื่องใชไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และผลิตภัณฑที่เกี่ยวแกสที่ใชในครัวเรือน 45 ชนิด รวมถึงของเลนเด็ก เสื้อผา เฟอรนิเจอร และ อุปกรณกีฬา ทั้งนี้ รายละเอียดสินคาควบคุมเพิ่มเติม ดูไดใน http://www.spring.gov.sg/Building-Trust/Pages/building-trust-overview.aspx

1

2

รายการสินคาควบคุมของประเทศสิงคโปร ดูไดจาก https://cpsa.spring.gov.sg/totalagility/forms/cpssite/PUBSearchCOC.form

รายละเอียดเกีย่ วกับ Accuracy Label ดูไดใน http://www.spring.gov.sg/Building-Trust/Raising-Confidence/Weights-Measures-Programme/ Documents/FAQs_Accuracy_Label.pdf 3

SPRING SEEDS หมายถึง SPRING Startup Enterprise Development Scheme BAS หมายถึง Business Angel Scheme SSA หมายถึง Sector Specific Accelerator Programme TECS หมายถึง Technology Enterprise Commercialisation Scheme IDP หมายถึง Incubator Development Programme AITD หมายถึง Angel Investor Tax Deduction Scheme YES! Schools หมายถึง Young Entrepreneurs Scheme for Schools ICV หมายถึง The Innovation & Capability Voucher CDG หมายถึง Capability Development Grant PIC หมายถึง Productivity and Innovation Credit LIS/LIS+ หมายถึง Loan Insurance Scheme LEFS หมายถึง Local Enterprise Finance Scheme MLP หมายถึง Micro Loan Programme LEAD หมายถึง Local Enterprise and Association Development Programme CIP หมายถึง Collaborative Industry Projects CCI หมายถึง Customer-Centric Initiative PACT หมายถึง Partnerships for Capability Transformation

4

5

รายละเอียดเกี่ยวกับการรวมทุนของ SMEs Bank ดูไดใน http://www.smebank.co.th/th/service4.php

11


เก็บมาเลา

Easy Life

by Easy Card ก

สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา1

ารเดินทางเยือน “ไตหวัน” เกาะรูปมันเทศตั้งอยูระหวางทะเลจีนตะวันออกและทะเลจีนใต มีระยะหางจากจีนแผนดินใหญประมาณ 160 กิโลเมตร (ตรงขามมณฑลฝูเจีย้ นของจีน) สวน ดานทิศตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญีป่ นุ เปนสวนหนึง่ ของสํารวจขอมูลเชิงลึกภายใต โครงการเตรียมความพรอมภาคอุตสาหกรรมไทยเพื่อรองรับการเชื่อมโยงในภูมิภาคดวยเศรษฐกิจ ดิจติ อล ทําใหพบวาไตหวันมีแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจดิจติ อล รวมถึงเทคโนโลยีทเี่ ห็นภาพชัดเจน จากการดําเนินงานของภาครัฐรวมมือกับภาคเอกชนที่เขมแข็งทําใหมีการพัฒนาดานเทคโนโลยี อยางรวดเร็ว จึงไมแปลกที่ไตหวันมีเสนหดึงดูดคนจากทั่วทุกมุมโลกใหมาสัมผัสถึงอารยธรรมที่ งดงาม พรอมทั้งการศึกษาดูงานดานเทคโนโลยีในดินแดนนี้ การเดินทางสํารวจขอมูล ครั้งนี้จึงมุงตรงสูไทเป (Taipei) เมืองหลวงที่มีประชาชนอาศัยอยูอยาง หนาแน น ที่ สุ ด ของเกาะ ถื อ ว า เป น ศู น ย ก ลางทางเศรษฐกิ จ และ การพั ฒ นาทางด า นเทคโนโลยี รวมถึ ง เป น ที่ ตั้ ง ของหน ว ยงาน ที่สนับสนุนดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม อยางเชน Institute for Information Industry (III) Industrial Technology Research Institute (ITRI) รวมไปถึงบริษทั ทีม่ คี วามกาวหนาทางเทคโนโลยีอยาง ACER และบริษัท Easycard Corporation ที่สามารถเปนแบบอยาง ของการนําเทคโนโลยี นวัตกรรมมาประยุกตใช เพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดในการใชชีวิตประจําวันของคนไตหวัน

12


Easy Card เปนตัวอยางผลิตภัณฑที่ประสบความสําเร็จ ทางด า นระบบคมนาคมขนส ง และเทคโนโลยี ข องไต ห วั น เนือ่ งจากบัตรนีส้ ามารถใชไดครอบคลุมทัง้ รถบัส รถไฟฟาใตดนิ (MRT) รถไฟระหวางเมือง รถแทกซี่ รถจักรยาน กระเชาลอยฟา เรือดวน ที่จอดรถ นอกจากนี้บัตร Easy Card ไดถูกพัฒนา โดย ขยายการใชงานสําหรับการซื้อของในรานสะดวกซื้อและสินคา ตามรานที่มีสัญลักษณของ Easy Card ภาคบริการ รานคา ตั๋ว เขาชมคอนเสิรต จึงตอบโจทยคนรุน ใหมในสังคมปจจุบนั ไดเปน อยางดี ทั้งคนวัยทํางานที่เรงรีบ นักทองเที่ยวที่ตองการความ สะดวกสบายและรวดเร็ว ดังนั้น “Easy Life by Easy Card” หรือ “ชีวิตงายขึ้นดวย Easy Card” ถือเปนชื่อเรียกที่เหมาะ สมและแสดงใหเห็นภาพในการใชงานรูปแบบ Touch and Go ไดเปนอยางดี โดยสามารถใช Easy Card กับทุกรูปแบบ บริษัท Easycard Corporation กอตั้งในเดือนมีนาคม การคมนาคมตามสัญลักษณในภาพ 1 อีกทั้งใชกับรานคาตาง ๆ พ.ศ. 2543 เปนการรวมทุนระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ตามตัวอยางภาพ 2 ดานลาง จึงถือเปนอีกหนึ่งกรณีศึกษาที่นา โดยผูถือหุนหลักเปนภาครัฐ (Taipei City Government) รอย สนใจสําหรับการมาเยือนไตหวันในครั้งนี้ ละ 40 และภาคเอกชน (Bus Services 25% Construction Team and Others 21% Banks 14%) รวมรอยละ 60 โดย มีจุดเริ่มตนในการใหบริการดานคมนาคมขนสงที่ครอบคลุมทั้ง ทางบก นํ้า อากาศ จนกระทั่งในป พ.ศ. 2552 มีผูใชงานถึง 18 ลานบัตร พรอมทั้งเปดกลยุทธใหมดวยการขยายการใหบริการ ที่หลากหลาย โดยมีจุดหมายคือ การเดินทางทั่วไตหวันไดดวย เพียงบัตรเดียว (All in One) เพื่อใหมีผูใชงานเพิ่มขึ้น โดยในป พ.ศ. 2557 บัตรถูกจําหนายไปแลวถึง 50 ลานบัตร

ภาพ 1 สัญลักษณที่สามารถใช Easy Card ได

ภาพ 2 ตัวอยางรานคาที่สามารถใช Easy Card ได

13


ประเภทของบัตร Easy Card แบงเปน 2 ประเภทหลัก ของ Easy Card ดังนั้น ผูใชงานสามารถ ลดจํานวนบัตรที่ตอง ดังนี้ พกพา มีความคลองตัวและเพิ่มความสะดวกในการใชงาน แม 1. Deposit-Based Easy Card เปนบัตรแบบวางมัดจํา จะเปนการดเล็ก ๆ ขนาดพกพาในกระเปา แต Easy Card ให โดยมีคามัดจําบัตร NT$100 ผลทางธุรกิจในวงกวาง ซึ่งเปนตัวอยางที่ดีในการพัฒนาดาน 2. Second-Generation Easy Card เปนบัตรแบบซื้อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทยตอไป ขาด โดยมีคาบัตร NT$100 ซึ่งบัตรแบบนี้จะมีความพิเศษคือ ไตหวันถือไดวาเปนตนแบบสําคัญในการกําหนดทิศทาง ความหลากหลายของรูปแบบบัตรใหผูใชงานไดเลือกสรรตาม การพัฒนาเศรษฐกิจดิจติ อล รวมถึงเทคโนโลยีของประเทศไทย ความชอบ ทั้งแบบลวดลายนารัก แบบลายพิเศษ แบบลายที่ โดยตองเริ่มจากการวางระบบโครงสรางพื้นฐานที่จําเปน การ ออกมาเฉพาะงานเทศกาลในจํานวนจํากัด หรือหากตองการ วางโครงขายที่ครอบคลุม รวมถึงการบริหารจัดการที่ดีและ เก็บสะสมและเปนที่ระลึกไดออกแบบมาใหลักษณะพวงกุญแจ มี ค วามปลอดภั ย ดั ง นั้ น หน ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนต อ ง ที่หอยโทรศัพท โดยสามารถหาซื้อไดใน 7-ELEVEN, Family พรอมรวมมือกันผลักดันประเทศไทยใหมีความทัดเทียมกับ Mart, Hi-Life, OK Mart ในราคา NT$390 ซึ่งการใชงาน อารยประเทศ จะเหมือนกับรูปแบบการดคือ Touch and Go เชนเดียวกัน นอกจากนี้ บางธนาคารจะฝงชิปรวมอยูในบัตรเครดิต/เดบิต เพื่อความสะดวกตอการใชงาน สมกับชื่อ “Easy Card” บัตร Easy Card จึงเปนบัตรอเนกประสงคที่คนไตหวันใช ในชีวิตประจําวัน เนื่องจากบัตรนี้ไดถูกออกแบบมาอยางดีจาก ภาครัฐที่สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดระบบขนสงสาธารณะที่ มีประสิทธิภาพ โดยสามารถใชไดในระบบขนสงมวลชนเกือบ ทั้งหมดในไตหวัน อีกทั้งใชในบริการที่เกี่ยวของกับการขนสง รานสะดวกซือ้ รวมถึงรานคาพันธมิตรอีกมากมายทีม่ สี ญ ั ลักษณ จัดทําโดย : นางสาวทิพจุฑา รวบยอด

นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ แหลงอางอิง :

บริษัท EASYCARD CORPORATION, TAIWAN สํานักงานการคาและเศรษฐกิจไทย (ไทเป)

14


Movement นางอรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เปนประธานการประชุมคณะกรรมการเรงรัดนโยบายเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร โดยมี หนวยงานที่เกี่ยวของ และนายศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม กรรมการและเลขานุการ เขารวมประชุม เมื่อวันอังคารที่ 26 เมษายน 2559 ณ สศอ.

นายศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พรอม ผูบ ริหารสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรวมแถลงผลการดําเนินงานของสํานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรมในรอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 - มีนาคม 2559) ที่ผานมา เมื่อวันอังคารที่ 12 เมษายน 2559 ณ สศอ.

นายศิรริ จุ จุลกะรัตน ผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กลาวปาฐกถา พิเศษ เรื่องเครือขายนวัตกรรมภาคอุตสาหกรรมเพื่ออนาคตอุตสาหกรรมไทย เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน 2559 ณ โรงแรมแกรนดเมอรเคียว ฟอรจูน

นายศิ ริ รุ จ จุ ล กะรั ต น ผู  อํ า นวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พรอม ผูบริหารสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รวมแถลงขาว ดัชนีอุตสาหกรรมไตรมาส แรกป 2559 เมื่อวันศุกรที่ 29 เมษายน 2559 ณ สศอ.

สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมร ว มกั บ สถาบั น วิ จั ย และให คํ า ปรึ ก ษา แหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จัดการประชุมระดมความเห็นการวางแผนพัฒนา อุตสาหกรรมชิน้ สวนอากาศยานและซอมบํารุง และการวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรม อาหารในอนาคต เมื่อวันศุกรที่ 22 เมษายน 2559 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่พารค

15


แนะนํา รายงานการศึ ก ษาและวิ จั ย ด า นอุ ต สาหกรรม รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาการเตรียมความพรอม ของภาคอุตสาหกรรมสําหรับการจัดทําเขตการคาเสรีเอเปค (FTAAP) ผานขอตกลง TPP

รายงานฉบั บ สมบู ร ณ โครงการพั ฒ นา นวัตกรรมชุดตํารับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ เชิงพาณิชย รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ย างและไม ย างพารา ภายใต เ ครื อ ข า ยความร ว มมื อ ระหว า ง ผูประกอบการและหนวยงานวิจัย

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาศักยภาพชิน้ สวนประกอบรถยนต ที่เปน Product Champion ของไทย

นอกจากที่ แ นะนํ า มาด า นบนแล ว หองสมุดสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ยังมีรายงานการศึกษาและวิจยั ดานอุตสาหกรรมในรายสาขาอืน่ ๆ ใหบริการอีกมากมาย ท า นสามารถใช บ ริ ก ารได ที่ ห อ งสมุ ด สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม ชั้ น 2 อาคารสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม โทร 0 2202 4349 หรือที่ Website : http://intra.oie.go.th/elibrary/

16

75/6 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2202 4274, 0 2202 4284 โทรสาร 0 2644 7136 www.oie.go.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.